The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by naboon1960, 2021-03-21 02:15:38

หนังสือสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

หนังสือสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

1

สัมมนาการสอนศลี ธรรมในโรงเรียน

Seminar on School Morality Teaching

มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
Mahachulalongkornrajavidyalaya University

2

สมั มนาการสอนศีลธรรมในโรงเรยี น

Seminar on School Morality Teaching

ผู5ช6วยศาสตราจารย8นเรศร8 บุญเลิศ
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

วทิ ยาลัยสงฆเ8 ชยี งราย

พมิ พท8 ี่ บีเอ็นคอมพิวเตอร8
๒๕๖๑



สมั มนาการสอนศีลธรรมในโรงเรียน
Seminar on School Morality Teaching

ผแ5ู ต6ง : ผชู วยศาสตราจารยนเรศร บุญเลศิ

คณะบรรณาธิการ : นายชาญกิจ พรชยั สขุ ศิริ

ผ5ูทรงคณุ วฒุ ติ รวจสอบ : ดร.ศศิธร ศรีเฟ#"องฟุ&ง

ศิลปะและจัดรปู เล6ม : ร.ต.บุญศรี วิลัยรัตน

พสิ จู น8อักษร : นางสวุ รรณา ป)กษาศร

ออกแบบปก : นายสุรศกั ดิ์ พนั ธมะวงค

ราคา ๒๕๐ บาท

พิมพ8คร้ังท่ี ๑ : มีนาคม ๒๕๖๑

จาํ นวนพิมพ8 : ๕๐๐ เลม

ลขิ สทิ ธ์ิ : ลขิ สิทธเิ์ ปน5 ของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

หามการลอกเลยี นไมวาสวนใด ๆ ของหนงั สือเลมน้ี

นอกจากจะไดรบั อนุญาตเปน5 ลายลกั ษณอกั ษรเทานั้น

จัดพิมพโ8 ดย
บเี อ็นคอมพิวเตอร ตาํ บลรอบเวียง อาํ เภอเมืองเชียงราย จงั หวดั เชยี งราย ๕๗๐๐๐

พมิ พ8ท่ี : บเี อ็นคอมพวิ เตอร
๑๘๔ ถนนราชโยธา ตําบลรอบเวียง อาํ เภอเมืองเชยี งราย จงั หวดั เชยี งราย ๕๗๐๐๐
โทรศัพท ๐๙-๓๑๙๔-๙๐๕๕ โทรสาร ๐๕๓-๗๑๕๑๑๖



คํานาํ

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสัมมนาการสอนศีลธรรมในโรงเรียน (Seminar on
School Morality Teaching) ๒๐๐ ๓๐๗ เลมนี้จัดทําขึ้นเพ่ือมุงหมายใชเป5นตําราในการจัดการ
เรยี นรใู นหลักสตู รและการสอนของมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

การเรียนการสอนในปจ) จุบนั ไดนําสัมมนาและการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศมาชวยในการเรียน
การสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหกับรายวิชา ตลอดจนการแกไขการรับรูเป5นรายบุคคล จากสภาพ
ของป)ญหาทางสิ่งแวดลอม สังคม และครอบครัวท่ีมีความแตกตางกันจึงทําใหผูสอนไดศึกษาหาวิธี
การบูรณาการศึกษาที่จะชวยแกป)ญหาแตละพ้ืนท่ีดวยสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กระท้ังเป5น
เคร่อื งมอื ในการท่จี ะชวยผสู อนไดสวนหนงึ่ เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสัมมนาการสอนศีลธรรม
ในโรงเรียน เลมนี้ เป5นสวนหน่ึงของรายวิชาทักษะในการนําการสัมมนา การวิเคราะหเนื้อหาขอมูล
เทคโนโลยี-สารสนเทศ (Content Analysis Skills for Information Technology Data) จัดทําข้ึน
เพื่อเผยแพรเน้ือหาความรูเก่ียวกับความหมาย ประเภทและตัวอยางของนวัตวิถีซึ่งเป5นเน้ือหาท่ีเกิด
จากการรวบรวมขอมลู ประเมินคา วิเคราะหและสังเคราะหขอมูล อันเป5นขั้นตอนการสรางความรูให
มีประสิทธิผลตรงตามจุดประสงค ภายในนอกจากจะบรรจุเน้ือหาที่สังเคราะหไดแลว ยังมีสวนแสดง
ขนั้ ตอนใหเหน็ เดนชดั อกี ดวย

ผจู ัดทําหวังเปน5 อยางยงิ่ วา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้จะเป5นประโยชนแกผูที่ไดศึกษาไม
มากกน็ อยและหากมีขอผิดพลาดประการใดตองขออภัยมา ณ ท่นี ี้ดวย

ผชู วยศาสตราจารยนเรศร บญุ เลิศ
๑ มีนาคม ๒๕๖๑

1

บทท่ี ๑
สมั มนา

ผู5ช6วยศาสตราจารย8นเรศร8 บญุ เลศิ

วตั ถปุ ระสงค8

เม่อื ไดศ5 กึ ษาเนอ้ื หาในบทนี้แลว5 ผูศ5 ึกษาสามารถ

๑. อธบิ ายสัมมนาได5
๒. อธบิ ายความหมายของสัมมนาได5
๓. อธิบายวตั ถปุ ระสงค8และเปTาหมายของการสัมมนาได5
๔. อธบิ ายลกั ษณะของการสัมมนาได5
๕. อธบิ ายประโยชนข8 องการสัมมนาได5
๖. อธิบายขอบเขตของสมั มนาได5
๗. บอกความสาํ คัญของจดุ มุงหมายของสมั มนาได5
๘. อธิบายองคประกอบของสมั มนาได5

ขอบข6ายเนอื้ หา

๑. สัมมนา
๒. ความหมายของสัมมนา
๓. วัตถุประสงคแ8 ละเปTาหมายของการสัมมนา
๔. ลักษณะของการสัมมนา
๕. ประโยชน8ของการสัมมนา
๖. ขอบเขตของสัมมนา
๗. จุดมุงหมายของสมั มนา
๘. องคประกอบของสมั มนา

2

๑.๑ ความนาํ

สัมมนา (seminar) หมายถึง รูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาหรือ
บริษัทตาง ๆ โดยแบงกลุมผูเรียนเป5นกลุมเล็กเพ่ืออภิปรายเร่ืองราวเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของ
บทเรียนดวยบทบาททส่ี งู

ปรชั ญาเบ้อื งหลังการเรียนการสอนแบบสมั มนา ไดแก การสอนผเู รยี นใหเผชญิ และคุนเคยกับ
วิธีการ (methodology) ในการคนควาสาขาวิชาการที่ตนเลือก สัมมนาประกอบดวยการการยก
ป)ญหา การถาม-ตอบแลวอภิปรายหาขอสรุปหรือคําตอบ ปกติเอกสารที่เตรียมมาสัมมนาจะตองเป5น
เอกสารที่มีรูปแบบวิชาการและจะตองมีการวิจารณซึ่งกันและกัน สัมมนาใชมากในการศึกษาระดับ
บัณฑติ ศกึ ษา

"สมั มนา" มาจากคําภาษาบาลีสมาสกัน คือ สํ (รวม) + มนา (ใจ) = รวมใจ

๑.๒ สัมมนา

สัมมนาเป5นการประชุมแบบหนึ่ง ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพ่ือแลกเปล่ียนความรูความคิดเห็น และ
หาขอสรุปหรอื ขอเสนอแนะในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงผลสรุปท่ีไดถือวาเป5นเพียงขอเสนอแนะ ผูเกี่ยวของจะ
นาํ ไปปฏบิ ัติตามหรือไมกไ็ ด เชน สมั มนาการศึกษา

สัมมนา หมายถงึ การประชุมทางวชิ าการเพ่ือปรกึ ษาหารือในการดําเนนิ งานอยางใดอยาง
หน่งึ

สัมมนา หมายถึง การประชุมเพื่อแลกเปล่ียนความรูและความคิดเห็นเพ่ือหาขอสรุปในเรื่อง
ใดเรอ่ื งหนึ่ง ผลของการสัมมนาถอื วาเปน5 เพียงขอเสนอแนะ ผูเกี่ยวของจะนําไปปฏิบัติตามหรือไมก็ได
เชน ตัวแทนจากภาครัฐฯ และเอกชนกวา ๓๐ คน เดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกาเพ่ือจัดสัมมนา
ชักชวนการลงทุนดานส่ิงแวดลอมและพลังงานสปู ระเทศไทย

3

๑.๓ ความหมายของสัมมนา

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ ไดใหความหมายของคําวา นวัตกรรม (innovation) คือ สิ่ง
ใหมที่เกิดจากการใชความรูและความคิดสรางสรรคที่มีประโยชนตอเศรษฐกิจและสังคม และหมาย
รวมถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจากความสามารถในการใชความรู ความคิดสรางสรรค ทักษะ และประสบการณ
ทางเทคโนโลยีหรือการจัดการมาพัฒนาใหเกิดผลิตภัณฑ หรือกระบวนการผลิต หรือบริการใหม เพื่อ
ตอบสนองความตองการของตลาด ตลอดจนการปรับปรุงเทคโนโลยี การแพรกระจายเทคโนโลยี การ
ออกแบบผลิตภัณฑ และการฝrกอบรมท่ีนํามาใชเพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจและกอใหเกิดประโยชน
สาธารณะในรูปแบบของการเกิดธุรกิจ การลงทุน ผูประกอบการ หรือตลาดใหมหรือรายไดแหลงใหม
รวมทงั้ การจางงานใหม นวตั กรรมจงึ เปน5 กระบวนการท่เี กิด

การสมั มนาการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรูและความคิดเห็นเพื่อหาขอสรุปในเร่ืองใดเร่ือง
หนง่ึ ผลของการสัมมนาถือวาเป5นเพียงขอเสนอแนะ ผูเกี่ยวของจะนําไปปฏิบัติตามหรือไมก็ได1 แต
ในอกี ความหมายหนึ่งน้ันกระทรวงศึกษาธิการไดใหความหมายของคําวา “สัมมนา” มาจากคําวา สํา
+ มน หรอื สํา + มนา เทากับ สัมมนา เป5นศพั ทบญั ญตั ใิ หตรงกบั คาํ วา Seminar ซึง่ แปลวา การรวม
ใจกัน การประชุมรวมกัน เพ่ือขบคิดป)ญหาโดยอาศัยการคนควาเป5นหลักฐานน่ันคือความหมายที่
คอนขางเป5นทางการของคําวา สัมมนา ทั้งน้ีโดยความหมายแทจริงอาจอยูท่ีจุดมุงหมายหรือ
วตั ถุประสงค

สัมมนาเป5นคําท่ีไดยินเสมอในวงราชการหรือธุรกิจเอกชนขาวการจัดสัมมนาในหัวขอตาง ๆ
มักจะปรากฎใหเห็นเสมอ การสัมมนาตามความหมายท่ีใหไวในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
(พ.ศ. ๒๕๒๕) คือ “เป5นการประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนความรูและความคิดเห็น เพ่ือหาขอสรุปในเรื่อง
ใดเร่ืองหนงึ่ ผลของการสัมมนาถอื วาเป5นเพียงขอเสนอแนะผูเก่ียวของจะนําไปปฏิบัติตามหรือไมก็ได
“ อีกความหมายหน่ึงคือ “การท่ีบุคคลกลุมใดกลุมหน่ึงหรือหลายกลุมมีความสนใจ ในเร่ืองใดเรื่อง
หนงึ่ หรอื หลายเรอ่ื งรวมกันและมีการมารวมกลมุ เพ่ือปรกึ ษาหารือแสดงความรู ความคิดเห็น โดยใช
เหตุผล หลักการ ประสบการณและความรูตาง ๆ เพ่ือชวยแกป)ญหา บางประการใหลุลวง” ทั้ง ๒
ความหมายเป5นการใชสําหรบั การประชมุ เพอื่ แสวงหาแนวทางปฏิบัติงาน

1 ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๒๕. หนา ๗๙๗

4

การสัมมนาที่ใชสําหรับการเรียนการสอนนั้น เป5นวิธีการท่ีนิสิตนักศึกษากลุมหน่ึง ๆ มารวม
กันทําวจิ ยั หรอื ทําการศกึ ษาคนควาเพื่อหาความรูในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะภายใตการสอนการให
คําแนะนําและการควบคุมดูแลของอาจารยหรือผูเช่ียวชาญในเรื่องน้ัน ๆ เพ่ือใหเกิดผลตามตองการ
ของหลักสูตรมักจัดใหเรียนสําหรับนักศึกษาปริญญาตรีเรียนในภาคสุดทายหรือปxสุดทายสวนมาก
มักจะจดั สอนในระดบั ปริญญาโท หรือปริญญาเอกเพราะผูเรียนตองใชวิธีการเรียนที่ตองวิจัย คนควา
แกป)ญหา ซ่ึงตองอาศัยการคิด การพูดอยางมีเหตุผล รวมท้ังตองใชประสบการณที่มีอยูมาใชในการ
เสนอปญ) หาและแกป)ญหาดวย

การสัมมนาจึงมีความหมาย ๒ นัย คือ การประชุมหรือการสอนก็ได แมวาการนําวิธีการ
สัมมนามาใชในสถานการณท่ีตางกัน แตแนวคิดหลักของสัมมนาเหมือนกัน คือ การสัมมนาจะตองมี
ป)ญหาหรือเรื่องที่ตองการศึกษาอยางลึกซ้ึง เพื่อหาคําตอบตองมีกลุมคนมารวมกันคิด รวมกัน
วิเคราะห มาชวยกันสํารวจหรือถกเถียงป)ญหา โดยมีกระบวนการทํางานอยางมีระบบและตองมี
วัตถุประสงค เฉพาะท่ีชัดเจนวาจะสัมมนาเพ่ือใหไดผลอะไร เชน สัมมนาเพ่ือหาแนวทางในการ
แกป)ญหาเพอ่ื รวมกันกาํ หนดนโยบายในเชงิ ปฏบิ ัติงาน เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรือประสบการณ
เพอ่ื หาขอสรุปที่จะนําไปสกู ารปฏิบัติ เพื่อใหไดมาซ่ึงความรูใหมหรือเพื่อการกระตุนใหเกิดความสนใจ
ท่ีจะหาแนวทางปฏิบตั ิงานที่ดีกวา เปน5 ตน

สัมมนาตรงกับภาษาอังกฤษแตประมวลศัพทบัญญัติวิชาการศึกษาหนวยหองสมุดกรม
วิชาการกระทรวงศึกษาธิการใหมี ม. ๒ ตัว ซึ่งเป5นเรื่องของคณะกรรมการพิจารณาศัพทวิชา
การศึกษาเพื่อเพียงบัญญัติศัพทขึ้นมาใหมีเสียงคลาย ๆ กันเทาน้ันมิไดถอดคําจาก Seminer
โดยตรงเหตุที่ใช ม. ๒ ตัว เพราะคําน้ีเป5นคําประกอบซ่ึงประกอบดวย ส๐ คํา ส๐ เป5นภาษาบาลี
เป5นคําอุปสรรค (prefic) แปลวา พรอมกับดรี วม และคาํ วา มนะ คือ มน ซง่ึ แปลวาใจเมื่อเอาคํา
ส๐ + มนะ มาสนธิเป5น ม จึง เป5นสัมมนา (meeting of the mids) ฉะนั้น สัมมนาจึงเขียนสัมมนา
มิใช สัมมนา เพราะไมใชทับศพั ทหาเป5นการผูกศัพทขึ้นใหมใหมีเสียงคลาย ๆ กันและมีความหมายไป
ดวยกัน

๑.๔ วัตถุประสงคแ8 ละเปTาหมายของการสมั มนา

5

๑. เพอ่ื หาคาํ ตอบหาขอยุติแนวทางปฏบิ ัติการในการแกป)ญหาหรือเปลี่ยนแปลงปรับปรุงวิธี
ปฏบิ ัติงาน โดยการระดมความรูความคดิ จากผูเขามาสมั มนา

๒. เพื่อสํารวจป)ญหา โดยการรวบรวมขอมูล ความรู ประสบการณจากผูรูหรือผูที่
เกี่ยวของกบั ปญ) หานน้ั ๆ

๓. เพ่ือการสรางสรรคใหเกิดความรวมมือและประสานงานทดี่ รี ะหวางบคุ คลหรือหนวยงาน
๔. เพื่อใหมีการแลกเปล่ียนความรูขอคนพบหรือแนวคิดตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชในการ
แกปญ) หาหรอื พัฒนางาน
๕. เพื่อกระตุนใหเกิดความสามัคคีและเสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคลท่ีทํางานใน
สถาบนั เดยี วกนั และหรอื ตางสถาบนั

นิรันดร จุลทรัพย ไดกลาววา การสมั มนาโดยทัว่ ไปมีวัตถปุ ระสงคทส่ี ําคัญดังน้ี2 คือ
๑. เพ่ือเพิ่มพูนความรู ความสามารถ และประสบการณแกผูเขารวมสมั มนา
๒. เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ระหวางผูเขาสัมมนาดวยกัน และผูเขา
สมั มนากบั วิทยากร
๓. เพ่ือคนหาวธิ กี ารแกป)ญหาหรือแนวทางปฏิบตั ิรวมกนั
๔. เพ่อื ใหไดแนวทางประกอบการตดั สินใจหรอื กําหนดนโยบายบางประการ
๕. เพอ่ื กระตนุ ใหผรู วมเขาสมั มนานําหลกั วธิ ีการทีไ่ ดเรยี นรไู ปใชใหเป5นประโยชน
การสัมมนาแตละครั้ง จะบรรลุวัตถุประสงคมากนอยเพียงใดนอกเหนือจากกระบวนการจัด
สัมมนาและวิทยาการแลวสมาชิกผเู ขารวมสัมมนา มคี วามสําคัญมากเชนเดียวกัน เพราะเป&าหมายท่ี
เดนชัดของการสัมมนาก็คือผูเขารวมสัมมนาทุกคนตองทําหนาที่เป5นท้ังผูใหและผูรับ คือเป5นผูฟ)ง
ความคิดเห็นจากผูเขารวมสัมมนาดวยกัน และในขณะเดียวกันก็เป5นผูเสนอความคิดเห็นใหแกกลุม
ดวย ดังน้นั หวั ใจของการสัมมนาจึงอยูท่ีวาสมาชิกทุกคนไดมีสวนรวม ไดแสดงความคิดเห็น และได
เสนอแนวคดิ ใหแกกลมุ เปน5 ประการสาํ คัญ
วตั ถุประสงคข8 องผ5ูเรียน

๑. พัฒนาทักษะในการเรียนรู ในการวิเคราะหสังเคราะหและประเมินผลโดยเฉพาะการ
ประเมนิ ผลการทาํ งานและการเรียนรขู องตนเองและของกลมุ อยางมหี ลักเกณฑ

2 นริ นั ดร จลุ ทรัพย, จติ วิทยาการประชมุ อบรม สมั มนา พมิ พค8 ร้ังท่ี ๒, (สงขลา :มหาวิทยาลัยทักษิณ,
๒๕๔๗), หนา ๒๗๐.

6

๒. พัฒนาทักษะในการสอื่ ความหมาย และการแสดงออกซงึ่ ความคิดเห็นทางดานกาพูดการ
เขียน ทางอารมณและแสดงความรูสกึ ไดอยางเหมาะสม

๓. พัฒนาความสามารถในการเป5นผูนําและการผสมผสานความรูของศาสตรเก่ียวของมา
ใชไดถกู ตอง มีความสามารถในการแสดงออกเปน5 เหตเุ ป5นผล (logic)

๔. ฝrกความสามารถในการวิเคราะห การหาขอมูลเพื่อโตแยง เพื่อสนับสนุนและหรือ
วพิ ากษวจิ ารณขอคิดเห็นไดอยางเหมาะสม และดวยความมนั่ ใจ

๕. ฝrกทักษะ ในการใชกระบวนการแกป)ญหาไดอยางดี สามารถดําเนินการเป5นขั้นตอน
เพอ่ื ใหไดมาซ่ึงขอสรุปที่ดี ซึ่งเร่ิมต่ังแต การอภิปรายป)ญหา (discussion) การถกเถียงป)ญหาเพ่ือให
ไดขอคิดขอมูลท่ีเก่ียวของ (debate) การวิเคราะหเพ่ือใหเห็นขอดีขอเสียของทางเลือก (analyse)
ดวยวิธีการตาง ๆ กันเพ่ือใหไดขอสรุป (conclusion) หรือขอยุติ (concensus) ท่ีถูกตองและเป5นท่ี
ยอมรับ

๖. สามารถเลือกใชแหลงความรูตาง ๆ ท่ีเก่ียวของในการอางพาดพิงหรือใชใหเกิด
ประโยชนตอการสัมมนาชวยใหการสัมมนาประสบความสําเร็จไดดวยดี

๗. สามารถพัฒนาทักษะ ในการสรางมนุษยสัมพันธกับทุกคนที่เกี่ยวของ ฝrกใหมีความ
อดทน อดกลนั้ ใจกวางรับฟ)งความคดิ เห็นของผูอน่ื

๘. พัฒนาเจตคติท่ีดีตอการทํางานการทํางานเป5นกลุมมองเห็นคุณคาของการแลกเปล่ียน
ความรู ความคิดและประสบการณ เพือ่ การแสวงหาความรรู วมกนั

๙. พัฒนาความสามารถในการโนมนาวใหเกิดความสนใจ ใหเห็นความสําคัญและคลอย
ตามประเด็นทีส่ อดคลองกบั ของตน โดยยดึ เหตผุ ลเชิงวิชาการและความถูกตองเหมาะสม

๑๐. พัฒนาความสามารถในการใชกระบวนการการสัมมนา ในการพัฒนาประสิทธิภาพงาน
ทร่ี ับผดิ ชอบไดดวยความถูกตองและมน่ั ใจ

๑.๕ ลกั ษณะของการสมั มนา

สมพร มันตระสูตร ไดกลาวถงึ ลกั ษณะของการสมั มานาท่ีดไี ว ดังนี้3
๑. กาํ หนดจุดมุงหมายในการสัมมนาใหแนชัดวาตองการจะไดผลอยางไรในการสัมมนาคร้ัง
นี้
๒. จัดการสัมมนาเพือ่ เสริมความรแู ละประสบการณใหมแกสัมมนาสมาชกิ

3 สมพร มนั ตระสูตร, วรรณกรรมไทยปYจจุบัน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดยี นสโตร, ๒๕๒๕), หนา ๓.

7

๓. จัดใหมีโอกาสสัมมนาสมาชิกไดแลกเปลี่ยนความรูความคิดเห็นและแลกเปล่ียน
ประสบการณกันอยางกวางขวาง

๔. ใหสมาชิกไดมีโอกาสรวมกันแกป)ญหาที่มีมากอนการสัมมนา หรือป)ญหาท่ีเกิดขึ้น
ระหวางการสัมมนาใหมากทส่ี ดุ
๕.มีอุปกรณในก่ีสัมมนาเพียบพรอม เชน หนังสือ เอกสาร สถานที่ วิทยาการ เครื่องมือ
โสตทศั นปู กรณ เครือ่ งเขียนและอน่ื ๆท่ีจาํ เป5น

๖. กําหนดชวงเวลาในการสัมมนาใหเหมาะสมกับหวั ขอปญ) หาทจ่ี ัดสัมมนา
๗. สัมมนาสมาชกิ มบี ุคลกิ ภาพทางประชาธิปไตยสูง กลาวคือสมาชิกตองใจกวางที่จะรับฟ)ง
เหตุและผลของผูเขารวมสัมมนาอ่นื อยางกวางขวางแมไมตรงกับความคิดเหน็ ของตน
๘. ผดู ําเนินการจัดการสมั มนามีคุณภาพ มคี วามเปน5 ผนู าํ และสันทัดจดั เจน ในการจัดการ
สมั มนา
๙. ผลที่ไดรับจากกาจัดการสัมมนาสามารถนําไปเป5นแนวทางทําประโยชนไดอยาง
แทจริง อยางนอยกต็ องสมารถคลี่คลายปญ) หาที่นาํ เขาสูการสมั มนาได
๑๐. มกี ารเผยแพรผลลการสมั มนาสูสาธารณชนตามควรแกกรณี
นิรันดร จุลทรัพย กลาววาการสมั มนาทด่ี คี วรมีลกั ษณะ คือ4
๑. มีจุดมุงหมายในการจัดสัมมนาอยางชัดเจน และสมาชิกทุกคนท้ังคณะกรรมการจัด
สมั มนา ผูเขาสมั มนา ตลอดจนวทิ ยาการ ควรจะไดรบั ทราบจุดมุงหมายนีด้ วย
๒. มีกาจดั ทีช่ วยเสรมิ ความรใู หแกผูเขารวมสัมมนาอยางแทจริง
๓. มีการเปด• โอกาสใหผูเขาสมั มนาไดแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ความรูซึ่งกนั และกัน
๔. มรการเป•ดโอกาสใหผูเขาสัมมนาไดรวมกันแกป)ญหาที่มีการสอดคลองกับจุดมุงหมายที่
กําหนดให
๕. ผูเขาสัมมนามีความศรัทธาในวิธีการแหงป)ญญาเป5นเคร่ืองมือในการตัดสินป)ญหา
ตางๆ (Intellectual Method)
๖. ผูเขาสัมมนามีวิญญาณแหงความเป5นประชาธิปไตย กลาวคือ เคารพและยอมรับฟ)ง
ความคิดเหน็ ของผอู ื่น มีมารยาทในการพดู และการฟง) ปฏิบัตติ ามกติกาของการสัมมนาเป5นตน

4 นิรันดร จลุ ทรพั ย, จติ วทิ ยาการประชุม อบรม สัมนา พมิ พค8 รัง้ ที่ ๒, (สงขลา :มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ ,
๒๕๔๗), หนา ๒๘๐.

8

๗. ผูเขาสัมมนาทกุ คนมีความกระตือรือรนท่ีจะทํางานรวมกัน เพ่ือใหบรรลุตามจุดมุงหมาย
ท่วี างไว

๘. มผี ูนาํ ที่ดที ่งั ในการเตรียมการและการดาํ เนนิ การสมั มนา
๙. มีการจัดการที่ดี คือ จัดผูบรรยายหรือผูอภิปรายท่ีนาสนใจ ดําเนินรายการ
ตางๆ เป5นไปตามกําหนดการอยางตอเนื่อง ไมติดขัด สับสน ผูเขาสัมมนาไดรับการตอนรับอยาง
อบอุน ตลอดจนไดรับการประชาสัมพันธชี้แจงรายละเอียด กระบวนการตางๆ ตลอดการสัมมนา
อยางชดั เจน
๑๐. มีอุปกรณสําคัญสําหรับใชประกอบสัมมนา และอํานวยความสะดวกตอการสัมมนา
อยางครบถวน เชน หนังสือหรือเอกสารตางๆ อุปกรณการเขียน เคร่ืองมืออุปกรณ
โสตทศั นูปกรณ สถานที่หองประชมุ ใหญ หองประชมกลุมยอย หองรบั ประทานอาหาร เปน5 ตน
๑๑. ผลท่ีไดจาการสัมมนา สามารถนําไปใชประโยชนไดอยางแทจริง ทั้งแกตัวสมาชิกเอง
และแกหนวยงานหรอื สถาบันทเี่ กีย่ วของ

๑.๖ ประโยชนข8 องการสัมมนา

นิรันดร จุลทรัพย การสัมมนาเป5นการเป•ดโอกาสใหคนหลายคนไดมาพบปะพูดคุย
ปรึกษาหารือกัน เป5นการระดมความคิกจากคนหลายคน ซ่ึงยอมจะมองเห็นทางที่จะแกป)ญหาได
ดีกวานอกจากน้ี การสัมมนายังกอใหเกิดประโยชนอกี หลายประการ5 เชน

๑. เป5นการรวมกันแกป)ญหาจากคนหลายคนท่ีมารวมกันผนึกความคิดแลกเปลี่ยนความรู
และประสบการณยอมไดผลดีกวาการคิดคนเดียว หรือแกป)ญหาคนเดียว และยังเป5นการกระตุนให
คนสวนใหญเขามามีสวนรวมรับผดิ ชอบดวย

๒. กอใหเกดิ ความรสู กึ รวมแรงรวมใจ มีความรสู ึกเหมอื นกิจการนั้นๆ เพราะไดมีสวนเป5นผู
กําหนดและรับรเู ร่อื งราวเก่ียวกบั ความเคลือ่ นไหวในเรอื่ งนน้ั ๆ ดวย

๓. เปน5 การชวยใหผูสัมมนาไดมโี อกาสรับฟง) ความคิดเห็นของผูอน่ื อนั จะทําใหเกิดทัศนะคติ
กวางขวางข้ึน และในบางกรณีอาจใชการสัมมนาเป5นเคร่ืองมือหลอหลอมความรูสึกนึกคิดของกลุม
คนใหเปน5 อันหนึง่ อันเดียวกนั ได

5 นริ นั ดร จุลทรัพย, จิตวทิ ยาการประชมุ อบรม สัมมนา พมิ พ8คร้ังที่ ๒, (สงขลา :มหาวิทยาลัยทักษิณ,
๒๕๔๗), หนา ๒๘๑.

9

๔. กอใหเกิดผลดีตอการประสานงานระหวางบุคคลและหนวยงาน เพราะผูเขาสัมมนา
มักจะมาจากหลายสถานท่ี หลายหนวยงาน ในระหวางการสัมมนาจะชวยใหเกิดความสัมพันธอันดี
ตอกนั เกดิ ความเขใจและเหน็ อกเห็นใจซง่ึ กันและกนั ดวยเหตุน้ีผูเขาสัมมนามีโอกาสไดเปล่ียนความ
คิดเห็นในเรอ่ื งสวนตวั และการทํางาน ทาํ ใหมคี วามรจู ักสนิทสนมคนุ เคยกนั ในเวลาเดียวกัน

๑.๗ ขอบเขตของสัมมนา

สัมมนา (Seminar) เป็นวิชาที่ใหนักศึกษาไดมีการประชุมเพื่ออภิปรายรวมกัน แลกเปลียน
ความรู ความคิดเห็นเกียวกับหัวขอทีนาสนใจทางดานเทคโนโลยีการผลิตสัตวนํ้า หรือ
ความกาวหนาทางวิชาการที่ เก่ียวของตางๆ ในหัวขอท่ีนักศึกษาจะนําเสนอ จะตองมีการคนควา
ขอมลู ทางวิชาการ เรียบเรียง และเขียน รายงานประกอบการสัมมนา

๑.๘ จุดมุ6งหมายของสมั มนา

๑. เพ่ือใหนักศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลทางวิชาการ และแลกเปล่ียนความรู
ความกาวหนาทางวิชาการ รวมถงึ งานวจิ ัยเก่ียวของทางดานเทคโนโลยี

๒. เพ่ือใหนักศึกษาฝrกทักษะในการนาเสนอผลงานท้ังงานเขียนและรูปแบบการนําเสนอการ
อภปิ ราย เสริมสรางทักษะในการสื่อสาร เพื่อเป็นแนวทางใหนักศกึ ษาสามารถเขียนบทความทาง
วิชาการไดอยางเป5นระบบและถูกตอง

๓. เพ่ือใหนักศึกษาไดใชความรูที่เรียนมา ทำความเขาใจกับเนื้อเรื่องที่นําเสนอและ
สามารถบรรยายใหผเู ขารวมสมั มนาเขาใจ รวมทงั้ สามารถตอบคําถามไดอยางเหมาะสม

๔. เพ่ือเป5นการฝrกอบรม ฝrกฝน ช้ีแจง แนะนํา สั่งสอน หรือปลูกฝ)งทัศนะคติและให
คําปรกึ ษา ในเร่ืองท่ีเก่ยี วของกบั หวั ขอของการจดั งานนั้นๆ

๕. เพื่อเป5นการพิจารณา สํารวจ ตรวจสอบ ป)ญหา หรือประเด็นตางๆ ท่ีหยิบยกขึ้นมา เพื่อ
ทาํ ความเขาใจในเรอ่ื งท่ีสอดคลองหรอื ตรงกับการจัดงาน

10

๖. เพ่ือเป5นการนําเสนอ สาระ ความรู สิ่งนาสนใจ เรื่องที่ทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณ
วิทยาการท่เี กดิ ขน้ึ ใหม เร่ืองทคี่ ดิ คนขึ้นไดใหมๆ

๗. เพื่อใชแสวงหาขอตกลง ดวยวิธกี ารอภิปราย อธิบาย มีการแลกเปลยี่ นความคดิ เห็น กันได
โดยเสรี ซกั -ถาม-ตอบ ถกเถยี ง ปรกึ ษา หรือหารอื ภายใตหัวขอที่จดั ข้ึน

๘. เพ่ือใชในการรวมตัดสินใจหรือกําหนดนโยบาย หรือแนวทางสําหรับนําไปปฏิบัติงานตาง
ๆ หรือดําเนนิ แผนการตางๆ ใหลุลวง

๙. เพื่อหาใหไดมาซง่ึ ขอสรปุ ผลของการนาํ เสนอหวั ขอ หรือการวิจยั

๑.๙ องคประกอบของสมั มนา

การเลอื กหัวข5อเรื่อง

หัวขอเร่ืองท่ีนักศึกษาจะทาสัมมนาจะตองเป5นหัวขอท่ีนาสนใจทางดานเทคโนโลยีการผลิต
การศึกษา โดย เป็นเร่ืองท่ีตองใชความสามารถในการวิเคราะห ประเมิน เปรยี บเทยี บหรอื รวบรวม
สรุป (review) จากขอมูล ทางวชิ าการตางๆ เพื่อประกอบในการสมั มนา

หลักการตั้งช่ือเร่อื งสัมมนา

๑. ตั้งขอบขาย (scope) ของหัวเรื่องสัมมนาอยางคราวๆ ในหัวขอที่สนใจ
๒. กอนเลือกหวั ขอเรอ่ื งสัมมนา ใหตอบคําถามตอไปนี้ใหไดกอน

- สาเหตุของการเลือกหวั ขอสัมมนาเร่ืองดงั กลาว
- อะไรคือประเด็นของเร่อื ง

- ตองการใหผอู านหรือผูเขารวมฟง) สมั มนาทราบอะไรจากการสมั มนาในครง้ั น้ี
ตัวอยา6 ง เชน

ชื่อเรอ่ื ง : ความเปน5 ไปไดในการปลูกถายยีนตานโรคของกุงกามกรามในประเทศไทยเป5นเร่ือง
ใหม ตองใชความสามารถในการประเมินวาทําไดหรือไมได ประเด็น คือ การใชเทคโนโลยีชีวภาพกับ
สตั วเศรษฐกจิ มีความจาํ เปน5 หรือความเป5นไปไดหรอื ไมของเรื่องนี้

11

ชื่อเร่ือง : การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เป5นเร่ืองใหม ตอง
ใชความสามารถในการประเมนิ วาทาํ ไดหรอื ไมได ประเด็น คือ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรม
ทางการศึกษา มีความจาํ เป5นหรือความเป5นไปไดหรือไมของเร่ืองนี้กับศักยภาพของครูพระสอนศีลธรรมใน

ป)จจบุ นั

๓. การต้ังช่ือเร่ือง ควรเลือกคำท่ีนาสนใจและจูงใจใหอานเร่ืองเต็ม ชื่อเร่ืองควรส้ัน
กะทดั รัดและคลุมใจความในเร่ืองไวทัง้ หมด

๔. หลกี เลี่ยงการใชคาํ ที่ไมมีความหมายหรือไมมีความสาํ คัญท่ีชัดเจน และไมควรใชชือ่ ยอ
คาํ ยอ เชน พรบ., Zn, WHO เป5นตน
หลกั การเลือกและต้ังช่ือเรอื่ งบทความสมั มนา

๑. เป5นเร่อื งใหมทย่ี งั ไมมีใครเคยเขยี นมากอน
๒. หรือเป5นเรอื่ งเกาทมี่ ีมุมมองใหมทน่ี าสังเกตกวาท่ีทราบกนั อยู
๓. ตองเปน5 เรื่องทต่ี องใชความสามารถในการวเิ คราะห ประเมนิ เปรยี บเทยี บ หรือรวบรวม
สรปุ (review) ซง่ึ เป5นสวนใหสัมมนาแตกตางจากการบรรยาย (lecture note)ทั่วไป
วธิ ีการเลือกเรอ่ื งสัมมนา
๑. ตั้งขอบขาย (scope) ของเร่อื งคราวๆ กําหนดกรอบท่ีจะเขยี น
๒. กอนเลือกหัวขอใด ใหตอบส่ิงตอไปนี้ใหได

๑) สาเหตขุ องการเลอื กเรื่องดังกลาว
๒) อะไรคือประเด็น (argument) ของเรื่อง
๓) ตองการเรียกรอง (claim) หรือตองการใหผูอานทราบอะไรจากทําสมั มนาครงั้ น้ี

วิธีการตั้งชื่อเรือ่ งสัมมนา
๑. หาคําสาํ คัญ (key words) ของเรื่องท่เี ราเลือก
๒. นําคาํ สาํ คัญมาเขยี นเปน5 ประโยคหรือวลที ี่สือ่ ความหมาย
๓. ระดมสมองต้ังช่อื เรื่องหลายๆชือ่ จากคําสําคัญ แลวเลือกช่อื ทีม่ ลี ักษณะไมยาวเกนิ ไปได

ใจความ นาสนใจมีประเด็นใหมๆ กระตนุ ใหอยากอาน หรอื ฟ)ง
๔. ไมจําเพาะเจาะจงเกนิ ไป เพราะอาจทําใหไมมีขอมูลหรอื มนี อยในการเขียน

ตวั อยา6 ง
ช่อื เร่อื ง: ผลกระทบต6อการผลิตสัตวใ8 นภาวะโลกร5อน
(เป5นเร่ืองใหม อยใู นกระแสความสนใจ สรางความต่นื ตวั ตอผลท่ีจะเกิดขึ้น ตองใชความสามารถใน
การวิเคราะห)

ประเดน็ : การผลิตสัตวในสภาวะทโี่ ลกมอี ุณหภมู ิสงู ขึ้น

12

เรยี กรอง: ใหคนสนใจตอภาวะโลกรอนท่ีมีผลกระทบตอการผลติ สัตว

ช่อื เร่ือง: การผลติ สัตว8ส6งผลให5เกดิ ภาวะโลกร5อนจรงิ หรือ
(เปน5 เร่ืองใหม อยูในกระแสความสนใจ สรางความตนื่ ตวั ตอผลท่จี ะเกดิ ข้ึน ตองใชความสามารถใน
การวเิ คราะหสถานการณ)

ประเด็น: การผลิตสตั วมีผลทาํ ใหโลกมอี ุณหภมู สิ ูงขึ้น
เรียกรอง: ใหคนสนใจตอการผลติ สตั วท่อี าจสงผลใหเกิดภาวะโลกรอน
ชอื่ เรื่อง: การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการเลี้ยงไกไ6 ขใ6 นโรงเรือนปด_ ปรับอากาศ
(เรื่องไมใหม มกี ารวิเคราะหเปรียบเทียบกับการเลีย้ งในโรงเรอื นระบบเป•ด )
ประเดน็ : การเปรยี บเทียบเทคโนโลยโี รงเรอื นในการผลติ ไกไข
เรียกรอง: ใหผูผลิตเลอื กใชระบบโรงเรือนทเี่ หมาะสมตอการผลิต

ตัวอย6างชื่อเรอ่ื งสัมมนา
๑. อนาคตปศสุ ตั วไทยรงุ หรือรวง
๒. เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลิต-ลดตนทนุ สูการผลติ สกุ รแบบยั่งยืน
๓. การจัดการสกุ รใหสอดคลองกับสถานการณทีเ่ ปน5 จริง
๔. ผลของระดบั กรดโพรพิโอนิคตอปริมาณการกินไดในสัตวเคยี้ วเอ้อื ง

หัวข5อ

การต้ังชื่อหัวขอสัมมนา มีอิทธิพลตอการตัดสินใจของกลุมเป&าหมายมาก เคยมีผูจัดสัมมนา
ดานไอทีคนหน่ึง จัดสัมมนาเพ่ือเผยแพรความรูเกี่ยวกับการนําประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ใช ในเชิงธุรกิจ คร้ังแรกเขาตั้งชื่อหัวขอแสนธรรมดามาก ทํานอง E-Business : ความจําเป5นของนัก
ธรุ กิจ SMEs เพราะไมอยากใหผเู ขาสมั มนาตั้งความหวงั สงู เกนิ ไป แคอยากใหเห็นความสําคัญของไอที
ปรากฏวาคนมาฟง) นอยเกินคาด รายรับไมพอคาใชจาย ภายหลงั เปลี่ยนหวั ขอใหม เปน5 ทํานองวา“รวย
ดวยไอที” คนจองคบั คั่ง ทง้ั ที่มีเน้ือหาเหมอื นกัน

การต้ังชือ่ “หัวขอ” ทน่ี าสนใจ มีสวนดึงคนมาฟ)งในครั้งแรก แตถาหากผูเขารวมสัมมนา รูวา
“เนื้อหา”ของการบรรยายในคร้ังนั้น มีสวนเกี่ยวของกับหัวขอท่ีต้ังนอยมาก เขาก็จะจดจําชื่อผูจัด
และไมเขารวมงานที่ทีมงานนนั้ จดั ขึ้นอกี เลย

13

ผูจดั สมั มนาบางคนบอกวา การต้ังชื่อ “หัวข5อ” ก็เหมือนการพาดหัวขาวหนังสือพิมพ ที่ตอง
ตัง้ ใหดึงดูดความสนใจเสยี กอน คนจงึ จะตามเขาไปอานรายละเอียดของเนื้อขาว และขาวท่ีนาสนใจก็
คือ ขาวที่อยูในกระแสความตองการของกลุมเป&าหมาย ขาวที่รับรูแลวสามารถนําไปใชประโยชนใน
สถานการณขณะนั้นไดทนั ที

การตง้ั ชือ่ หัวข5อสัมมนาท่ีดี จึงต5องมีความเกี่ยวข5องกับเน้ือหา และเนื้อหาที่ดีจะต5องสอดคล5องกับ
ความต5องการของกล6ุมเปาT หมายในเวลาน้นั

กรณีศึกษาอยางการตั้งหัวขอเรื่อง “รวยดว5 ยไอที” อาจตีความไดวา ความรวยเกิดจากการท่ี
ธุรกิจมีกําไรมาก และการท่ีธุรกิจจะมีกําไรเกิดจาก ๒ สาเหตุคือ ลดค6าใช5จ6าย กับเพิ่มยอดขาย ซ่ึง
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถทําหนาท่ีทั้งสองได หากผูใชรูวิธี เชน การใชประโยชนจาก
อนิ เทอรเน็ต เพื่อลดคาใชจายในการติดตอสอ่ื สารกับลกู คา ประหยัดเวลา ลดตนทุน หรือขยายตลาด
ขามประเทศดวยการนําสินคาไปประมูลขายในเว็บไซตอีเบย รายละเอียดตางๆ เหลานี้ วิทยากร
ผูรับผิดชอบจะตองรูจักวิเคราะหและสะทอนใหเห็นวาเนื้อหาของการบรรยายในครั้งนี้ตรง
กบั “หัวข5อ” ที่ตง้ั ไว สวนรายละเอียดจะลงลกึ ในระดับใด กต็ องพิจารณาความรูพื้นฐานของผูเขารวม
สัมมนา และเวลาในการบรรยายใหเหมาะสมอีกครงั้

ป)ญหาการตงั้ หัวขอสมั มนาจะเปน5 การบรรยายเรอื่ งอคี อมเมริ ช ซ่ึงผูประกอบการธุรกิจ SMEs
สวนใหญยังเขาใจวาเปน5 เรอื่ งเทคนิค และเหมาะสําหรับพวกนักโปรแกรมเมอรหรือคนใชคอมพิวเตอร
เทานั้น ในขณะที่ตัวของเขาเองไมมีพ้ืนฐานความรูดานนี้ และที่สําคัญที่สุด คือ ไม6ร5ูจะเอาไปใช5
ประโยชน8อะไร

การตั้งหัวขอสัมมนา จึงตองทําให พวกเขารูสึกวาเป5นเร่ืองใกลตัว และไมใชเร่ืองยาก
โดยเฉพาะการสัมมนาในครั้งนี้จัดขึ้นก็เพื่อตอบคําถามวาเขาจะไดรับประโยชนอะไรจากการใช
พาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส เมื่อรูจกั ต้ังโจทยท่ถี ูกตอง การหาคําตอบก็ไมใชเร่อื งยาก แตถาตั้งโจทยผิดเสีย
ต้ังแตแรกแลว คงเปน5 การยากทจี่ ะหาคําตอบท่ถี กู ตอง
การสัมมนาจึงต้ังชอื่ วา “ดอทคอมเร่ืองกล5วยๆ” โดยมีเหตุผล ๓ ประการดังตอไปน้ี

๑. หากใชช่ืออีคอมเมิรชตรงๆ ก็อาจไปซํ้ากับการจัดสัมมนาของหนวยงานอ่ืน ทําใหผูรับ
สารไมรถู งึ ความแตกตาง ดังน้นั จึงใชคําแทนวา “ดอทคอม” ซ่ึงมีความหมายใกลเคียงกัน และชวงน้ัน

14

ธุรกิจเริ่มแขงขันกันทําเว็บไซตกันเพิ่มมากข้ึน แมไมเขาใจอยางลึกซึ้ง แตชวงนั้นทุกคนก็รูจักเว็บไซต
รูจกั อินเทอรเนต็ และรจู ักคาํ วาดอทคอมวา หมายถงึ ธรุ กิจบนโลกออนไลน

๒. เรอื่ งกลวยๆ เป5นสํานวนไทยท่ีเปรียบเปรยกับความงาย เชน ปอกกลวยเขาปาก เพราะ
การเป•ดผลไมประเภทนไ้ี มจาํ เป5นตองใชอุปกรณ เพียงมือเปลาก็สามารถแกะเปลือกลิ้มรสไดแลว การ
นาํ สาํ นวนนม้ี าใช เพื่อใหผูประกอบการรวู าหวั ขอน้ีไมใชเรอื่ งยากท่ีจะเขาใจ

๓. การบรรยายเน้ือหาสวนใหญวาดวยเร่ืองราว ข้ันตอนการนํากลวยตากจากพิษณุโลกมา
ทํารานขายบนโลกออนไลนวามีขั้นตอนเร่ิมตน จนถึงกระบวนการประชาสัมพันธเว็บไซตอยางไร จึง
ประสบความสําเรจ็ ดงั น้ัน หวั ขอ “ดอทคอมเรื่องกลว5 ยๆ” กส็ อื่ ถึงเน้ือหาท่ีจะบรรยายไดอยางตรงตวั

องคป8 ระกอบของสมั มนา
ในการเขียนสัมมนา (Seminar Paper) ตองเขียนเรยี งลาํ ดับตอไปดังน้ี

1. ชือ่ เร่ือง (Title)
เปน5 เรื่องที่สนใจ ชวยเพ่มิ ส่ิงใหมๆ ไมใชเรื่องลอก หรือ เร่อื งแปลมา

๒. ชอ่ื ผู5สมั มนา (Author)

เปน5 ผเู ขียน และสามารถนาํ ไปใชอางองิ ได

3. บทคัดยอ6 (Abstract)
เพ่ือใหทราบงานเขียนทงั้ หมดคราว ๆ

4. คําสาํ คญั (Keywords)
เปน5 คาํ แสดงจดุ เดนของเรื่อง ทราบถงึ ประเด็นของสมั มนา และ มีความสาํ คญั ตอการ

คนควาขอมลู โดยคําสาํ คญั จะเขยี นตอจากบทคัดยอ ประมาณ ๔ – ๕ คํา

5. คาํ นาํ (Introduction)
จะบอกความเป5นมาของสัมมนา ส่ิงที่เคยทํามา ป)ญหา และ วัตถุประสงคในการเขียน

สมั มนาในครง้ั นี้

6. เน้ือเรื่อง (Body)

15

อธิบายประเด็นตางๆ ท่ีเก่ียวของ เสนอแนะแนวคิด การวิเคราะหทั้งเป5นไปในทาง
เดียวกัน และตรงขาม มีแหลงอางอิงสนับสนุนแตละประเด็น รวบถึงการสังเคราะห
ขอมูล หรอื รวบรวมขอมูลเป5นหมวดหมู เพือ่ งายตอการนําเสนอ และการทําความเขาใจ

7. สรุป (Conclusion)
ควรสรุปในประเด็นที่นําเสนอใหชัดเจน สอดคลองกับช่ือเร่ือง และ วัตถุประสงคในการ

ทําสัมมนา

8. กติ ตกิ รรมประกาศ (Acknowledgment)
เปน5 การคาํ ขอบคณุ ผูทช่ี วยเหลือ อํานวยความสะดวก หรอื ผูเสนอแนะแนวทางในการ

ทําสมั มนา

9. เอกสารอ5างองิ (References)
คอื แหลงขอมูลทน่ี ํามาอางอิง มคี วามละเอยี ด และสามารถสบื คนขอมลู ตอได

16

แบบฟอร8มองค8ประกอบสัมมนา

………………..ชื่อเร่อื ง………………….

……………………..ชอื่ ผส5ู ัมมนา……………………….

(ไมตองมี นาย หรอื น.ส. นําหนา)

……………………..ชอื่ อาจารย8ท่ีปรกึ ษา………………………..
หลกั สูตรใบประกาศนียบตั รการสอนศีลธรรมในโรงเรียน คณะครุศาสตร

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

บทคดั ยอ

…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……

……………………………………………………..…………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….……………………………………………………
คาํ สาํ คัญ : ………………….(ไมเกิน ๔ คํา)…………………………………………….……………………..

17

คาํ นาํ

(เวน ๑ บรรทดั )
…………………………………………………………………….…………………………………………...

………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

(เวน ๒ บรรทดั )

หวั ข5อของเนื้อเร่ือง
…………(เนอ้ื เร่อื ง)…………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………….……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..………….

(เวน ๑ บรรทัด)
…………(เนื้อเรื่อง)……………………………………………………………………..……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………
(เวน ๑ บรรทัด)
………….(เนอื้ เรื่อง)………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..…………
(เวน ๒ บรรทัด)

18

สรปุ และขอเสนอแนะ

(เวน 1 บรรทดั )

…………………………………………………………….…………………………………………………...

………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..…

(เวน 2 บรรทัด)

กติ ตกิ รรมประกาศ (อาจจะไมเขียนก็ได)

(เวน 1 บรรทดั )

…………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………(เขยี นขอบคุณอาจารยท่ปี รึกษาและผทู ใ่ี หความอนุเคราะห)………………...............
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

19

ก )

(1

………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..

20

ขอ5 กําหนดการจดั พมิ พแ8 ละการทําสมั มนา
สัมมนาเป5นหลักฐานทางวิชาการท่ีสามารถอางอิงได ฉะน้ันสัมมนาจึงตองมีความถูกตอง ท้ัง

ดานเนื้อหา และรปู แบบ หลกั เกณฑในการจัดพมิ พสมั มนามดี งั นี้

การพิมพ8
พิมพดวย Computer โปรแกรมไมต่ํากวา Microsoft Word, Window ๙๘

การตัง้ คา6 หน5ากระดาษ (เพือ่ รวมเลมเป5นหนาค่ี)

ขอบบน ๓.๐๐ เซนตเิ มตร

ขอบลาง ๓.๐๐ เซนตเิ มตร

ขอบซาย ๓.๘๐ เซนติเมตร

ขอบขวา ๒.๕๐ เซนตเิ มตร

แบบตัวอักษร
สามารถเลือกใชตัวพมิ พ (Font type) แบบใดแบบหนึ่ง แตตองใชตัวพิมพนัน้ ตลอดท้ังหมด

Cordia UPC

Eucrosia UPC

Angsana UPC

Angsana New

ขนาดของตัวอกั ษรตามกาํ หนด

- รายละเอยี ดทั่วไปทงั้ หมดใชขนาด ๑๖ ตวั พิมพธรรมดา (Normal)
- หัวขอใหญสําคัญๆ เชน ชือ่ เรือ่ ง, ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, ช่อื ผทู าํ , บทคดั ยอ,

คาํ นํา, สรปุ และขอเสนอแนะ, กิตติกรรมประกาศ และเอกสารอางอิง ใชขนาด ๑๘

ตวั พิมพ หนา

- หวั ขอใหญในเน้ือหา ใหใชขนาด ๑๖ ตวั พิมพ หนา

21

ระยะหา6 งระหว6างบรรทัด
- ระยะหางระหวาง ชื่อบทกบั หัวขอ หรอื บรรทดั แรกของเน้ือหา ใหเวน ๑ บรรทัด
- เมื่อขน้ึ หัวขอใหม ระหวางหัวขอใหมกับบรรทัดสดุ ทายของหวั ขอเดมิ ใหเวน ๒ บรรทดั
- ระยะระหวาง ยอหนาตอยอหนาในหัวขอเดียวกัน ใหเวน ๑ บรรทัด

การย6อหนา5
จะยอในระยะหางจากขอบซายของเนื้อหา (ไมใชขอบกระดาษ) เคาะประมาณ ๖ ชวง

ตัวอักษร แลวพิมพตรงตวั อักษรที่ ๗ และอกั ษรทายบรรทดั ตองตรงกัน

การใส6เลขหน5า (หนาคี่)

โดยจะพิมพ8ไว5ทม่ี ุมบนดา5 นขวาของหนา5 กระดาษ

- หวั ข5อใหญ6 สาํ คัญๆ ทีป่ รากฏอยู จะไมพิมพเลขหนา เชน หนาแรก (ช่ือเร่ือง, ภาษาไทย,
ภาษาอังกฤษ, ช่ือผูทํา, บทคัดยอ) หนาสรุปและขอเสนอแนะ, หนากิตติกรรมประกาศ
และหนาเอกสารอางอิง (เอกสารอางอิงที่มากกวา ๑ หนา หนาตอไปของเอกสารอางอิง
นั้นจะตองใสเลขหนา โดยนับเรียงเลขหนาของเอกสารอางอิงหนาแรกดวย)

- เน้ือหา เรมิ่ พมิ พเลขหนา หนาท่ี ๒ (หนาท่ไี มพมิ พเลขหนา ตองเรียง หรือนับเป5นจํานวน
หนาดวย) เชน ๒, ๓,… ตามลําดับ

การเตรยี มการเขยี นสมั มนา
ควรพิจารณาหลักพืน้ ฐานในการเขียน เชน ส่ิงท่ีเรามีความรู หรือ การเขียนเพ่ือเอาใจผูอาน

ซึง่ หลักทงั้ ๒ จะเป5นเรอื่ ง ทมี่ ีความสนใจ มคี ุณคาในตัวมนั และตองคํานึงถึง ใครคือผูอาน อะไรท่ีเรา
ตองการส่ือใหผูอาน หรือนําเสนออยางไรใหผูอาน ผูฟ)งสนใจ และเขาใจงาย ถูกตอง เพื่อใหสัมมนามี
คาตอผูอาน หรอื ผูฟ)งสูงสุด

การเลือกหัวขอ5 เร่อื งสัมมนา
จะมหี ลายลักษณะ เชน เปน5 เรื่องใหมท่ียังไมมีใครเคยเขียน หรือ เป5นเรื่องเกาท่ีมีมุมมองใหม

และอาจจะเปน5 เรอ่ื งท่ตี องใชความสามารถในการวเิ คราะห ประเมิน เปรียบเทียบ หรอื รวบรวม

สรุป จากพนื้ ฐานขอมูลคนอื่นหลายๆ งาน

22

การอา6 นเพอื่ คน5 ควา5 ขอ5 มลู
จําเป5นตองมีการคนควาขอมูลเพิ่มในหัวขอที่สนใจ เชน จากหนังสือ วารสาร รายงาน

ผลการวิจัยตางๆ ท่ีไดตีพิมพเผยแพร ซ่ึงมีอยูมาก ฉะน้ันควร อานในประเด็นท่ีสําคัญ เพ่ือจับใจ หรือ
จุดประสงคน้ันๆ เพื่อใหทราบถึงสาระกวาง ๆ หรือ หัวเรื่อง (Topics) แนวความคิดน้ัน และการอาน
จับใจความ ควรอานคร้ังแรกคราวๆ อานจับใจความหลัก และควรอานทบทวน หรือทํา Note จด
ประเดน็ สาํ คัญท่เี กย่ี วของ พรอมจดแหลงอางอิงเพ่อื ประโยชนในการสบื คนเพมิ่ เตมิ ตอไป

การอ6านงานวจิ ัยเพื่อค5นคว5า
ในการอานไมควรแปลคําศัพททุกตัว ควรอานรูปประโยค เพ่ือตีความของวัตถุประสงค

คราวๆ ของงานนน้ั หรือเฉพาะประเด็นบางจุดท่ีตองการ เพ่ือพิจารณากอนการตัดสินใจอานงานวิจัย
น้นั อยางละเอียด และการอานควรพิจารณา เร่ืองท่ีนาสนใจ รวมถึงความนาเชื่อถือ ทรีทเมนตท่ีใช
เป5นเรอื่ งที่เขาใจยากหรอื ไม ใหจบั ประเด็นงานวิจัยนั้น โดยพิจารณาจาก

บทนาํ หรอื คํานํา (Introduction)
- ทําอะไร ทาํ ไมตองทาํ และใครทาํ มาบางแลว

อุปกรณ และวธิ กี าร (Material and Methods)
- ทําอยางไร

ผลการทดลอง (Results)
- ทําแลวพบอะไร

วจิ ารณ (Discussion)
- สงิ่ ทพ่ี บมคี วามหมายวาอะไร และนําไปใชประโยชนไดอยางไร

23

ตารางท่ี ๑ ตัวอยา6 ง แสดงรายชื่อหนังสือ วารสาร ที่ใชคนควาในวิชาสัมมนาทางการเกษตรสตั ว
บาล6

ลาํ ดบั ที่ ไทย ต6างประเทศ
๑ เกษตรสาร Animal Biotechnology

๒ ชมุ ทางเกษตร ASEAN Food Journal

๓ เพือ่ นไก Animal Science (เดิมช่อื Animal
Production)
ฟารมขาว
๔ สุกรสาสน Australian Journal of Agriculture Research

๕ โลกเกษตร Behavioral Science

๖ วารสารเกษตรพระจอมเกลา Canadian Journal of Animal Science

๗ วารสารปศสุ ตั ว Farm Journal

๘ วารสารวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี Food Technology

๙ วารสารสัตวแพทย Indian Journal of Animal Science
๑๐ กสิกร International Wildlife
๑๑ การเกษตรแหงยุค
๑๒ เกษตรกร Journal of Animal Science

Journal of Nutrition

6 สุนทร เกตุสุขาวดี, สัมมนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, พิมพคร้ังที่ ๑, (กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราช
ภัฏธนบุรี, ๒๕๕๓).

๑๓ เกษตรไทย 24
๑๔ เกษตรกาวหนา
๑๕ Journal of Wildlife Management
Pig Journal
Journal of Dairy Science

ตารางท่ี ๑ ตัวอย6างแสดงรายช่อื หนงั สอื วารสาร ที่ใชคนควาในวชิ าสัมมนาทางการเกษตรสัตวบาล (ตอ)

ลาํ ดับที่ ไทย ตา6 งประเทศ
Journal of General Physiology
๑๖ เกษตรสัมพันธ Livestock Production Science
American Rabbit Breeders
๑๗ แกนเกษตร Association Membership
Meat Science
๑๘ ถนนปศสุ ตั ว Milk Industry
Nutrition Reviews
๑๙ เพ่อื นสัตวเล้ยี ง Poultry Science
Rabbit Gazette
๒๐ โภชนาการสาร Tropical Grassland
Vitamins and Hormones
๒๑ เอเซยี ปศสุ ตั ว

๒๒ วารสารการสตั ว

๒๓ วารสารโคนม

๒๔ วารสารวิทยาศาสตรเกษตร

๒๕ วารสารสตั วบาลสาสนไก

๒๖ วทิ ยาสารสัตวแพทย

25

๒๗ เวชสารสัตวแพทย World Rabbit Science
๒๘ สตั วเศรษฐกิจ Animal Reproduction Science
๒๙ สาสนไก Poultry Digest
๓๐ สตั วแพทยสาร Asian-Australian Journal of Animal Science
๓๑ สัตวสาสน

ตัวอยา6 งโครงการสมั มนา

โครงการสัมมนาวชิ าการ : แลกเปล่ียนเรยี นรู5การจัดการภยั พบิ ัติ : จติ อาสาและการพฒั นา
ภูมิศาสตร8สารสนเทศในพ้ืนท่ีจังหวดั เชยี งราย เขตการศึกษาจงั หวัดเชยี งราย

ผ5รู ับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการวจิ ัยวทิ ยาลัยสงฆเชียงรายและ
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

ทป่ี รกึ ษาโครงการ ผูอาํ นวยการสถาบนั วิจยั พุทธศาสตร
กลุมงานวิจัยวทิ ยาลัยสงฆเชียงราย
ฝาš ยวชิ าการวิทยาลยั สงฆเชียงราย

หลกั การและเหตผุ ล

การวิจัยและการสรางสรรคผลงานทางวิจัยและวิชาการถือเป5นภารกิจสําคัญของอาจารย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและเป5นหน่ึงในดัชนีช้ีวัดคุณภาพที่สําคัญของการประเมิน
คุณภาพมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เนื่องจากผลงานวิจัยและงานสรางสรรคดาน

26

วิชาการจะกอใหเกิดประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศชาติในดานตาง ๆ ท้ังดานเศรษฐกิจและ
สังคม อีกทั้งยงั เปน5 ประโยชนตอการเรยี นการสอนของสถาบันอีกดวย

ผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทางวิชาการตอปx และจํานวนรอยละของอาจารยที่อยูระหวางการ
ดําเนินโครงการวิจัยของวิทยาลัยสงฆเชียงรายยังอยูในระดับคอนขางตํ่า ท้ัง ๆ ที่ มีกองทุนสนับสนุน
ดานการวิจัยอยูเป5นจํานวนมาก สาเหตุมาจากอาจารยสวนใหญมีอายุงานนอยใชเวลาสวนใหญเพื่อ
ปฏิบัติภารกิจหลัก คือ งานสอนอีกท้ังยังขาดประสบการณดานการวิจัย ดังน้ันวิทยาลัยสงฆเชียงราย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จึงมีนโยบายสงเสริมกิจกรรมดานการวิจัยแกคณาจารย จัด
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิชาการและการวิจัยขึ้น เพ่ือเป5นการสงเสริมบรรยากาศทางวิชาการ
เพ่ิมพูนประสบการณจากการเสวนา การเลาสูกันฟ)ง การแลกเปล่ียน และกระตุนใหคณาจารยไดมี
การต่ืนตัวดานการผลิตผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทางวิชาการ นําไปสูการพัฒนาตนเองเขาสู
ตําแหนงทางวิชาการ การศึกษาตอ และอ่ืน ๆ อันจะเป5นประโยชนในระดับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัยตอไป

วตั ถุประสงค8
๑. เพ่ือใหคณาจารยวทิ ยาลยั สงฆเชยี งรายไดแลกเปลยี่ นเรียนรูดานวิชาการระหวางกัน
๒. เพือ่ เปน5 การกระตุนและสงเสริมใหคณาจารยพัฒนาตนเองดานวชิ าการและการวจิ ยั
๓. เพอ่ื พฒั นาศักยภาพดานวิชาการและการวิจยั แกคณาจารยวทิ ยาลัยสงฆเชียงราย
๔. เพ่ือสงเสริมบรรยากาศทางวิชาการในวทิ ยาลัยสงฆเชยี งราย

ระยะเวลาดําเนินการ ปกx ารศกึ ษาละ ๕ คร้ัง
ภาคเรยี นท่ี ๑ ครัง้ ท่ี ๑ เดอื นกรกฎาคม
ครงั้ ที่ ๒ เดือนตลุ าคม
ภาคเรียนที่ ๒ ครัง้ ที่ ๓ เดือนธันวาคม
ครั้งที่ ๔ เดือนกมุ ภาพันธ

27

ภาคฤดูรอน ครงั้ ที่ ๕ เดือนพฤษภาคม

ขอบเขต

ดําเนินการเสวนาดานวิชาการและการวิจยั

๑. ดานวชิ าการ
๑. การนําเสนอผลจากการเขารวมอบรม ประชุม สัมมนาทางวิชาการท่จี ดั โดยหนวยงาน
ตาง ๆ
๒. ประเด็นที่นาสนใจทางวิชาการ

๒. ดานการวิจยั
๑. นาํ เสนอผลการวจิ ยั
๒. งานวจิ ัยท่ีอยูระหวางดําเนินการ
๓. งานวิจัยท่ีรวมกับหนวยงานภายนอก
๔. โครงการวิจยั ทนี่ าสนใจ หรือไดรบั ทนุ จากภายนอก และตองการผูรวมวจิ ยั
๕. อืน่ ๆ

๓. ดานอื่นทเ่ี กย่ี วของ เชน การเขาสตู าํ แหนงวชิ าการ การผลิตตําราและผลงานวิชาการอ่นื ๆ

ลกั ษณะการดาํ เนินการ

๑. กาํ หนดเวลาการประชมุ คณะกรรมการผรู ับผดิ ชอบโครงการ
๒. คณะกรรมการดําเนนิ การสรรหา/กําหนดหัวขอการเสวนาในแตละครั้ง
๓. กําหนดทศิ ทางและรูปแบบการเสวนา
๔. ประชาสัมพันธและเชญิ ชวนอาจารยผสู นใจเขารวมกจิ กรรม
๕. สรปุ ประเด็น/ส่ิงที่ไดจากการเสวนา และประชาสัมพันธเผยแพร

งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท
๑. คาวสั ดุ

28

๒. คาของทรี่ ะลกึ วทิ ยากร (๕ ครง้ั ๆ ละ ๕๐๐ บาท) ๒,๕๐๐ บาท

๓. คาอาหารวางผูเขารวมโครงการ (๕ คร้งั ๆ ละ ๒๐ คน ๆ ละ ๓๕ บาท) ๓,๕๐๐ บาท

รวม ๑๑,๐๐๐ บาท

คณะกรรมการวิจยั วิทยาลัยสงฆเ8 ชียงราย

๑. นายดาํ เนิน ปญ) ญาผองใส ประธานคณะกรรมการ

๒. พระมหาผดงุ ศักดิ์ เสสปุœฺโญ กรรมการ

๓. นายกําพล สกุ นั โท กรรมการ

๔. นายสุรศักด์ิ เข่ือนขันต กรรมการ

๙. นายนเรศร บญุ ลิศ กรรมการและเลขานกุ าร

สรปุ ทา5 ยบท

การเรียนรูของมนุษยเกิดขึ้นไดตลอดเวลา ไมวาจะเกิดข้ึนภายในตนเองหรือไดรับอิทธิพล
จากผูอื่น และสาเหตุสําคัญประการหน่ึงที่กระตุนใหมนุษยตองเรียนรูอยูตลอดเวลา คือป)ญหาท่ี
มนุษยตองเผชิญทั้งในแงของการดําเนินชีวิต การทํางานและการศึกษาเลาเรียน จึงทําใหมนุษยเรา
คิดวิธีการท่ีจะนํามาใชในการศึกษาคนควา เพ่ือหาวิธีแกไขป)ญหารวมกัน โดยรวมกันปรึกษาหารือ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกันและกันเพื่อหาขอสรุปจากเร่ืองท่ีนํามาหารือกัน ซ่ึงวิธีการลักษณะ
เชนนีไ้ ดมกี ารบัญญตั เิ ปน5 ศพั ททางวิชาการขึ้นเรียกวา “การสมั มนา” เปน5 การรวมกันแกป)ญหาจากคน
หลายคนท่ีมารวมกันผนึกความคิดแลกเปล่ียนความรูและประสบการณยอมไดผลดีกวาการคิดคน
เดียว หรือแกป)ญหาคนเดียว และยังเป5นการกระตุนใหคนสวนใหญเขามามีสวนรวมรับผิดชอบดวย
กอใหเกิดความรสู กึ รวมแรงรวมใจ มีความรูสึกเหมือนกิจการนั้นๆ เพราะไดมีสวนเป5นผูกําหนดและ
รับรูเรื่องราวเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในเร่ืองนั้น ๆ ดวย เป5นการชวยใหผูสัมมนาไดมีโอกาสรับฟ)ง

29

ความคดิ เหน็ ของผอู ืน่ อันจะทาํ ใหเกิดทศั นะคตกิ วางขวางขึ้น และในบางกรณีอาจใชการสัมมนาเป5น
เครื่องมือหลอหลอมความรูสึกนึกคิดของกลุมคนใหเป5นอันหน่ึงอันเดียวกันได กอใหเกิดผลดีตอการ
ประสานงานระหวางบุคคลและหนวยงาน เพราะผูเขาสัมมนามักจะมาจากหลายสถานท่ี หลาย
หนวยงาน ในระหวางการสัมมนาจะชวยใหเกิดความสัมพันธอันดีตอกัน เกิดความเขใจและเห็นอก
เห็นใจซ่ึงกันและกัน ดวยเหตุน้ีผูเขาสัมมนามีโอกาสไดเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องสวนตัวและการ
ทาํ งาน ทําใหมคี วามรูจกั สนิทสนมคุนเคยกันในเวลาเดยี วกนั

30

คาํ ถามท5ายบท

๑. จงอธบิ ายเร่ืองของสมั มนามาให5เข5าใจ
๒. จงอธิบายความหมายของสัมมนาอยา6 งละเอยี ด
๓. ขอบเขตของสัมมนามีเพื่ออะไร
๔. จุดมงุ หมายของสมั มนามีความสาํ คัญอยางไร
๕. องคประกอบของสัมมนาทําไมตองรู เพราะอะไร

31

เอกสารอา5 งอิงประจําบท

ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๒๕.
นิรันดร จุลทรัพย, จิตวิทยาการประชุม อบรม สัมนา พิมพ8ครั้งที่ ๒, สงขลา :มหาวิทยาลัย

ทักษิณ, ๒๕๔๗.
สมพร มนั ตระสตู ร, วรรณกรรมไทยปYจจุบัน, กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพโอเดยี นสโตร, ๒๕๒๕.
สุนทร เกตุสุขาวดี, สัมมนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, พิมพคร้ังท่ี ๑, มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ธนบรุ ี, ๒๕๕๓.

32

บทท่ี ๒
เทคนคิ ของการประชมุ สัมมนา

ผชู วยศาสตราจารยนเรศร8 บญุ เลิศ

วัตถุประสงค8

เมอื่ ได5ศกึ ษาเนอ้ื หาในบทน้แี ล5ว ผศ5ู กึ ษาสามารถ
๙. อธบิ ายการอภปิ รายได5
๑๐.อธิบายการประชมุ กลุมได5
๑๑.อธิบายเทคนิคการประชมุ ได5

ขอบขา6 ยเนื้อหา

๑. การอภิปราย
๒. การประชุมกลมุ
๓. เทคนิคการประชมุ

33

๒.๑ ความนาํ

เทคนิคการฝrกอบรมเป5นกิจกรรมที่สําคัญตอการจัดฝrกอบรมเป5นอยางมากเพราะการ
อบรม เพ่ือเพิ่มพูนสรรถภาพและประสิทธิภาพของบุคคล ในดานความรูความเขาใจ ทักษะและ
ทัศนคติของผูเขารับการฝrกอบรมอันจะทําใหสามารถนําส่ิงที่ฝrกอบรมใหนั้นไปปรับใชไดกับการ
ปฏบิ ตั ิงานจริง ซ่ึงการสรางภาวการณเรยี นรเู พอื่ เพ่ิมพนู สง่ิ ตาง ๆ ดังกลาวนัน้ สวนหน่งึ ขึ้นอยูกับการ
ประยุกต และเลือกใชเทคนิคและวิธีการฝrกอบรมรวมถึงส่ือการสอนท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับ
วัตถุประสงคของการฝrกอบรม เน้ือหาสาระในการหลักสูตร ผูเขารับการฝrกอบรม ความรูและ
ความสามารถของผูเป5นวิทยากรในการเลือกเทคนิคที่จะถายทอด สถานท่ี ส่ิงอํานวยความ
สะดวก เคร่ืองมอื เครื่องใช และวัสดุอุปกรณ รวมทั้งโสตทัศนูปกรณ ภายในระยะเวลาท่ีกําหนดให
ในแตละโครงการฝกr อบรม ตลอดจนคาใชจาย ฯลฯ

๒.๒ การอภปิ ราย

คํานํา หรือ บทนํา (Introduction) เป5นสวนของเนื้อหาที่กลาวนาเขาสูตัวเร่ืองมีเน้ือหา
ครอบคลุมใน เร่อื งทจ่ี ะนาเสนอ ความสําคัญของเรอ่ื งท่ีศึกษา ผเู ขยี นควรแสดงใหผอู านเห็นวาทําไมจึง
เลือกทําสัมมนาเร่ืองนี้ หรือสัมมนาเรืองนีมคี วามสำคญั และจําเปน็ อยางไรจึงดึงดดู หรอื ทําใหผูทำ
สมั มนานามาศึกษาและบอกถึงวัตถุประสงคของการทำสัมมนา รวมท้ังประโยชนท่ีจะไดรับจาก
การศึกษา อาจเขียนในทำนอง สมั มนา เรื่องน้ีจะเป5นประโยชนทั้งในทางวิชาการและในทางปฏิบัติ
ตอหนวยงาน บคุ คล รวมตลอดถงึ ประชาชนอยางไร
รปู แบบการเรยี นการสอนแบบสมั มนา แบบอภปิ ราย
๑ การอภปิ ราย

นักศึกษาไดเรียนรูเกี่ยวกับการอภิปรายการเตรียมตัวเพื่อเป5นผูอภิปรายหรือวิทยากร การ
เป5นผูดําเนินการอภิปราย และการเป5นพิธีกรในการอภิปราย ทั้งนี้เพ่ือใหสามารถปฏิบัติตนไดอยาง
ถกู ตอง เปน5 ลําดับขั้นตอน ทาํ ไดอยางเหมาะตามความคาดหวังของผฟู ง) และตามส่ิงที่พงึ เปน5

34

๑. การอภปิ ราย
การอภิปรายเพ่ือจะไดเตรียมความคิดและเตรียมตัวไดถูกตอง การอภิปราย7 หมายถึงการ

รวมกนั แสดงความคดิ เหน็ ตอเรอ่ื งใดเร่ืองหนงึ่ รวมไปถึงการพดู ใหความรูขอมูลใหมดวยการอภิปรายที่
ไดยนิ กันบอยปจ) จบุ นั เชน การอภิปรายไมไววางใจรัฐบาล การอภิปรายเก่ียวกับป)ญหาเศรษฐกิจ การ
อภปิ รายเรื่องวิกฤติวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน เป5นตน ปกติจะมีผูมารวมอภิปรายตั้งแตสองคนขึ้นไป
หรืออาจเปน5 กลุมคนท่สี นใจเรอ่ื งเดยี วกัน อาจเปน5 การอภิปรายในท่ีประชมุ สํานกั งาน กลางแจง หรือ
ในสภา กไ็ ด โดยมกั เปด• โอกาสใหแตละคนไดแสดงความคิดเห็นของตนไดอยางเต็มท่ี แตในระยะเวลา
จาํ กดั ทั้งน้เี พ่ือใหทกุ คนสามารถเขามามีสวนรวมได
๒. วตั ถุประสงค8ของการอภิปราย

การอภิปรายแสดงความคิดเห็นท่ีจัดขึ้นมักมีจุดมุงหมายแนนอน น่ันคือ เพ่ือบรรลุ
วัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึงดังตอไปน้ีคือ เพ่ือมาแสดงความคิดเห็น ใหความรู เสนอแนะ โตแยง
หรอื สนบั สนนุ ดวยขอมลู เหตผุ ล หลักการ ตวั อยาง เพ่ือโนมนาวใหผูฟ)งคลอยตาม หรือเพ่ือใหผูฟ)งคิด
ช่ังนํ้าหนัก ไตรตรอง ฉุกคิด หรือตอกยํ้าความเช่ือในแงมุมเดิมหรือเพ่ือใหเกิดความคิดใหม ก็ไดปกติ
แลวหากมีขอถกเถียง ป)ญหา และความไมเขาใจกันของสาธารณชน หนวยงาน หรือองคกรเกี่ยวกับ
เรอื่ งใดเรื่องหนง่ึ กม็ กั จะจัดการอภิปรายขนึ้ เพอ่ื แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ทศั นคติ และใหขอมูลความรู
เพอ่ื ท่ีผฟู )งจะไดนําความรู ความคดิ เห็นทไ่ี ดเหลาน้ไี ปไตรตรองเพือ่ ตดั สินใจดําเนินการตอไป
วตั ถุประสงค8ของการอภปิ ราย

๑. เพื่อหาขอเท็จจรงิ
๒. เพ่ือแลกเปล่ยี นความรูและความคดิ เหน็
๓. เพ่ือวดั และตรวจสอบทศิ ทางหรอื ความรูสึกของสมาชิกของสงั คมหรือกลุมตอเร่ืองใดเร่ือง
หนึง่ ทีเ่ ป5นประเดน็ สนใจ
๔. เพื่อกระตนุ ใหผฟู )งเกิดความสนใจและเรียนรูเก่ยี วกบั ประเดน็ ป)ญหา
๕. เพ่ือนําขอมูลความรูและความคิดเห็นไปประกอบการตัดสินใจ
๖. เพ่ือแกป)ญหาและหาทางออกรวมกันของกลมุ
๓. ลกั ษณะ/ประเภทของการอภิปราย
การอภิปรายมีลักษณะท่ัวไป ๓ ลักษณะ คือ การอภิปรายในที่ประชุม การอภิปรายทั่วไป
การอภิปรายแบบมวี ิทยากรหรือจาํ กดั ผูรวมอภปิ ราย
๑. การอภิปรายในท่ีประชุม หมายถึงการเป•ดโอกาสใหสมาชิกของที่ประชุมท่ีมีลักษณะป•ด
ไดแสดงความคิดเห็นอยางกวางขวางเกี่ยวกบั ประเด็นใดประเดน็ หน่ึง เพ่อื นําไปสูการตัดสินใจหรือการ
แกไขป)ญหา หรือมติของท่ีประชุม โดยมีประธานในท่ีประชุมทําหนาท่ีควบคุมการอภิปราย หลังจาก

7 มัลลกิ า ผองแผว, วิชาภาษาไทย, (ระยอง : วทิ ยาลัยเฉลมิ กาญจนา, ๒๕๕๘).

35

การอภิปรายอาจมีการใหลงมติ หรือสรุปผลการอภิปราย โดยที่ประชุมอาจแบงออกไดเป5น สามฝšาย
คือฝšายเห็นดวย ฝšายไมเห็นดวย และฝšายยังไมตัดสินใจ การอภิปรายของทุกฝšายเป5นไปเพื่อใหเหตุผล
ขอมูล และความคิดเห็นเพ่ือโนมนาวใหอีก ๒ ฝšายมาเห็นดวยเพื่อใหที่ประชุมมีความเห็นคลอย
ตามหรือลงมติตามที่ฝšายตนตองการ เชน การอภิปรายในที่ประชุมรัฐสภาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหน่ึง
เชน เร่ืองงบประมาณ เรื่องกระทูเกี่ยวกับอาชญากรรมและยาเสพติด ฯลฯ หรือการอภิปรายในที่
ประชมุ ขององคกร หนวยงาน เป5นตน

การอภิปรายในที่ประชุมมีลักษณะพิเศษคือเป•ดโอกาสใหทุกคนไดแสดงความคิดเห็น ให
ขอมูลความรูไดโดยเทาเทียมกัน โดยถือวาสมาชิกแตละคนมีความรู มีสิทธ์ิ และมีโอกาสอภิปรายได
เน่ืองจากผูเขาประชุมมีความรูความเขาใจงานและประเด็นท่ีกําลังถกเถียงอภิปรายกันอยูคอนขางดี
ปกตมิ ักใหมีการแจงวาระการประชมุ เพื่อใหสมาชกิ เตรยี มตวั ลวงหนาได

๒. การอภิปรายท่วั ไป เป5นลกั ษณะของการอภิปรายที่เป•ดโอกาสใหทุกคนท่ีเป5นสมาชิกของท่ี
ประชมุ หรอื ผูเขารวมประชุมท่ีสนใจป)ญหาเดียวกันแสดงความคิดเห็นได การอภิปรายทั่วไปทําไดสอง
ลักษณะ คือ ลักษณะแรกทําในหมูสมาชิกผูเขารวมประชุมเทาน้ัน แตเป•ดโอกาสใหทุกคนแสดงความ
คิดเห็นได ดังเชนการอภิปรายในท่ีประชุมดังกลาวขางตน หรือเป5นการเป•ดโอกาสใหผูฟ)งที่เป5น
สาธารณชนเขารวมประชุมและแสดงความคิดเห็นไดดวย ปกติกอนจะมีการอภิปรายท่ัวไปมักเร่ิมตน
ใหมีวิทยากร หรือผูรวมอภิปรายที่กําหนดบุคคลไวแลวพูดอภิปรายเสนอความคิดจนครบทุกคนแลว
กอน จากน้ันก็เป•ดโอกาสใหผูฟ)งรวมแสดงความคิดเหน็ เพ่มิ เติมได

๓. การอภิปรายแบบมีวิทยากร/ผูรวมอภิปราย ลักษณะน้ีเป5นท่ีนิยมในป)จจุบันมาก การ
อภิปรายแบบน้ีมักมีวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายประมาณ ๒-๔ จนถึง มารวมแสดงความคิดเห็น อาจ
เป5นการใหความรูความเขาใจในเรื่องเดียวกัน หรือเป5นการเสนอแนวทาง ทางออกของป)ญหา หรือ
ความคิดเห็นเกยี่ วกับเรอ่ื งใดเร่อื งหน่งึ ที่กําลังเปน5 ประเดน็ สนใจของกลุมหรือสาธารณชน การอภิปราย
ลักษณะนี้ ผูอภิปรายมักไดรับเชิญในฐานะเป5นผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เป5นบุคคลที่สังคมยอมรับ เป5น
บุคคลที่มีความคิดเห็นนาสนใจ เป5นผูมีช่ือเสียง และเป5นผูที่สังคมกําลังใหความสนใจ เป5นตน มีคํา
เรียก ๒ คําสําหรับผูอภิปราย คือ วิทยากร และผูรวมอภิปราย ทั้งสองคํามีความหมายเดียวกันในแง
ทว่ี ามบี ทบาทหนาทใี่ หความคิด ความรู และขอเสนอแนะตาง ๆ แกผฟู ง)

๔. การเตรยี มตัวสําหรบั การอภปิ รายไมวาจะเป5นการอภิปรายลกั ษณะใดกต็ าม ผูอภิปรายท่ีดี
มักจะเตรียมตัวเพ่ือท่ีจะพูดอภิปรายลวงหนาเสมอเพ่ือใหการพูดแตละคร้ังนาสนใจ โนมนาวใจ เป5น
เหตเุ ป5นผล สมเหตสุ มผล และเป5นจริง และตองพดู ใหครบถวนในระยะเวลาที่จํากัด ปกติหากเป5นการ
อภิปรายในที่ประชุมหรือการอภิปรายทั่วไป ผูอภิปรายมักมีเวลาเพียงนอยนิดตั้งแต ๒-๓ นาทีไป
จนถึงประมาณ ๑๐ นาที ก็เรียกวาใชเวลามากแลว เพราะมีคนอีกจํานวนมากที่รอจะอภิปรายแสดง

36

ความคิดเหน็ เชนเดยี วกัน ในขณะท่ีการอภปิ รายทม่ี ีวทิ ยากรหรอื ผูรวมอภปิ รายน้ัน วิทยากรหรือผูรวม
อภิปรายมจี าํ นวนจาํ กดั จึงมเี วลาอภปิ รายมากกวา

การเตรียมตัวท่ีดีถือเป5นหัวใจสําคัญของการอภิปราย การเตรียมตัวที่ดีมี ๒ แบบตาม
ประเภทหรือลกั ษณะของการอภปิ ราย ดงั น้ี

๑. การเตรยี มตัวอภิปรายในท่ปี ระชมุ และการอภิปรายทั่วไป การประชุมเชนนี้มักมีการแสดง
ความคิดเห็นกันตอเนื่อง หากเป5นสมาชิกของที่ประชุมหรือเป5นผูสนใจในประเด็นป)ญหาโดยเฉพาะ
จาํ เป5นตองเตรียมตวั คือ

ศึกษาหาขอมูลและความคิดเห็นตาง ๆ เก่ียวกับประเด็นดังกลาวใหกวางขวางรอบดาน รูจัก
ตนตอหรือสาเหตุ ป)จจัยที่ใหเกิดป)ญหา ขอเสนอที่ไดมีการปฏิบัติไปแลว หรือขอเสนอ ขอคิดเห็น
ตางๆ ที่ไดมีการพูดหรอื อภปิ รายมากอนหนาน้ี ผลของการปฏิบัติหรือการยอมรับ หรือความเป5นไปได
ของขอเสนอเหลานั้น ขอมูลรอบดานที่เป5นธรรมชาติของประเด็นป)ญหา เหตุการณรอบดาน และผูที่
เกยี่ วของ ฯลฯ

สภาพปญ) หาและขอคิดเหน็ ทม่ี ีอยูกอนแลว พยายามคิดหาเหตผุ ลดวยกรอบคิดหรือมุมมองท่ี
แตกตางในการเสนอแนะเพือ่ แกปญ) หาหรอื ใหความรเู กยี่ วกับเร่อื งนน้ั ๆ ทัง้ น้ีเพ่ือวาความคิดของเราจะ
ไดไมซํ้าซอนหรือเป5นความคิดดาดๆ ทั่วไปท่ีคนรูแลว ผูอภิปรายไมเพียงแตตอกยํ้าขอมูล ความคิด
ความเชื่อเดิมเทานั้น หากตองเสนอแนวคิดใหมที่นาสนใจ เป5นไปได และคิดวานาจะเป5นขอมูลใหม
หรอื ทางออกใหมท่ีดีใหกับทป่ี ระชมุ ดวย

กล่นั กรองความคดิ เหตผุ ล และขอมูลเพ่ือใหเกิดความแนใจและมั่นใจอยางเต็มที่ จากน้ันนํา
ความคิด เหตุผล และขอมูล มาเรียงลําดับเพ่ือความเป5นเหตุเป5นผล จากนั้นก็หาตัวอยางประกอบ
เพือ่ ใหผฟู )งเขาใจไดงาย สนั้ และชัดเจน ท้งั นีเ้ นือ่ งจากมเี วลาพดู อภิปรายจาํ กัด

การอภิปรายแสดงความคิดเห็นของที่ประชุมอยางตอเนื่อง จําเป5นตองใจจดใจจอตอการ
อภิปรายของสมาชิกแตละคน บนั ทกึ ประเด็น เหตุผล และตัวอยางที่ยกประกอบเพื่อทําความเขาใจได
เร็ว หากตองการเพ่ิมเติม สนับสนุน หรือโตแยง ควรเขียนสิ่งที่ตองการอภิปรายเป5นหัวขอหรือ
ประเด็นไว พรอมเหตุผล และตัวอยางอยางยอๆ โดยเขียนใหเป5นลําดับ วางเหตุและผลใหเหมาะสม
พรอมตวั อยางท่ชี ัดเจนเพอ่ื สนับสนุนความคิดของตน

หัวใจสําคัญของการอภิปรายแบบนี้คือ ฟ)งใหมากเพื่อใหไดรับขอมูลและความคิดเห็น
เพอื่ ที่จะคิดหาทางออกใหมสําหรับท่ีประชมุ และสง่ิ เหลานค้ี อื สิ่งทผ่ี ฟู )งหรือผูเขารวมประชมุ คาดหวัง

๑. การเตรียมตัวเป5นวิทยากรหรือผูรวมอภิปราย การเป5นวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายแสดง
ถึงการไดรับการยอมรับใหเป5นผูรูหรือผูเช่ียวชาญเฉพาะดานที่เก่ียวของกับประเด็นป)ญหาหรือ
เร่ืองราวท่ีมีจะการอภิปราย เหตุนี้เองทําใหวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายมีเวลาสําหรับการอภิปราย
มากกวาการอภิปรายแบบอ่ืน และการอภิปรายเชนนี้มักเนนใหวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายพูดเป5น

37

หลัก โดยอาจมีการซักถาม เป•ดอภิปรายทั่วไปตอนหลังเพื่อใหผูฟ)งมีสวนรวมไดบางในเวลาท่ีจํากัด
เทาน้ัน เมื่อเป5นเชนน้ี การเตรียมตัวของวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายจึงมีลักษณะคลายกับการเตรียม
ตวั พูดโดยทว่ั ไป นน่ั คอื

-เตรียมตัวศึกษาหาความรู ความคิดเห็นและขอมูลเก่ียวกับเรื่องท่ีจะอภิปรายอยางรอบดาน
และตรงประเด็น

-เนนเรือ่ งความคดิ ใหม ขอเสนอแนะใหม ทางออกใหม และขอมูลใหม พรอมเหตุผล ตัวอยาง
ประกอบท่ีชัดเจน ทงั้ หมดนีต้ องตรงประเดน็ เชนเดยี วกนั

-วเิ คราะหผฟู ง) โอกาส สถานที่ เวลา วัตถปุ ระสงคของการอภิปราย ฯลฯ
-จัดลาํ ดบั ความคิด เหตุผล และเลอื กตัวอยางที่เหมาะสม เพอ่ื ใหผฟู )งเขาใจงาย
-รางบทพูดดวยการเลือกคาํ สาํ นวน ประโยค หาคาํ คม คติ แงคิด และบทกวีท่ีสําคัญและเขา
กบั เรื่องท่จี ะอภิปราย โดยใหเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาํ หนด
-ฝกr ซอมใหจาํ ไดขึ้นใจ และสามารถพูดไดอยางเปน5 ธรรมชาติ เราใจ นาสนใจ
-ทําเคาโครงของบทพูดโดยกําหนดเป5นโครงเรื่องท่ีเขียนเฉพาะประเด็นสําคัญ เหตุผล และ
ตวั อยาง ท้ังหมดเขียนแบบยอ ๆ เพื่อเปน5 แนวในการพูด เขียนตัวโต ๆ เพ่ือใหดูและอานงาย หากเป5น
คําคม บทกวี ก็เขียนไวดวยเชนเดียวกัน เพราะขณะพูดอาจลืมได เคาโครงหรือโครงเร่ืองนี้อาจจะใช
กระดาษธรรมดา หรอื อาจใชแผนกระดาษแขง็ กไ็ ด เพ่อื ใหดูและอานไดอยางสะดวก
การเตรียมตัวอภิปรายแตกตางจากการเตรียมตัวพูดท่ัวไปคือ การวิเคราะหวิทยากรหรือผู
รวมอภิปรายดวยกัน เน่ืองดวยการอภิปรายเชนนี้มีวิทยากรตั้งแต ๒ คนขึ้นไป หากไดรับการ
มอบหมายหัวขอหรือประเด็นท่ีแตกตางกัน ก็นับเป5นเร่ืองดีที่สามารถเตรียมตัวไดตามประเด็นน้ัน
หลายครั้งที่การอภิปรายไมไดมีการมอบหมายหัวขอพิเศษใหแกวิทยากรแตละคน ทําใหวิทยากร
จําเป5นตองเตรียมมากข้ึน ดวยการอานใจหรือวิเคราะหวิทยากรท่ีเป5นผูรวมอภิปรายวาเขามีความรู
ความเช่ียวชาญดานใด มักมีแนวคิดหรือมุมมองอยางไร และคาดวาเขาจะเสนออยางไร เพ่ือวาการ
เตรยี มตวั จะไดไมเกิดความซาํ้ ซอนกันข้ึน หากเกิดเหตุการณเชนน้ี ผูที่อภิปรายกอนจะพูดไปหมดแลว
ทําใหผูรวมอภิปรายคนตอมาไมมีเร่ืองท่ีพูดอภิปรายเพราะเตรียมเร่ืองมาซ้ํากัน ดังน้ัน ทางที่ดีควร
เตรียมตัวใหมากและขณะเดยี วกันก็ตองอานและวิเคราะหผูรวมอภิปรายของเราดวย
ปกติแลวเพื่อใหการอภิปรายดําเนินไปอยางราบร่ืนและไดรับความรู ความคิดเห็นและ
ประโยชนสงู สุด ผูจดั การอภปิ รายจะกําหนดหวั ขอยอยใหผอู ภิปรายแตละคนลวงหนา บอยครั้งท่ีไมได
ทําเชนนี้ ผูจัดก็อาจจัดใหผูอภิปรายไดพบปะกัน โดยมีผูดําเนินการอภิปรายเป5นผูประสานงานจัด
ประเด็น ลําดับการพูดอภิปราย และเวลาใหกับวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายแตละทานกอนการ
อภปิ รายไมนานนัก ยกเวนมีการตดิ ตอลวงหนาเป5นเวลานาน

38

วิทยากรหรือผูรวมอภิปรายจึงตองเตรียมตัวใหกวางขวาง ลึกซ้ึง และมีขอมูลและความ
คิดเห็นเพื่อจะไดไมเกิดความซ้ําซอนหรืออับจนขอมูล ขอคิดเห็นไดขณะข้ึนอยูบนเวทีแลว การจะทํา
ไดแนนอนวาจะตองวเิ คราะหผูรวมอภปิ รายไดอยางถูกตองเทานั้น

๕. ผู5ดาํ เนนิ การอภปิ ราย ผูดาํ เนินการอภปิ รายมบี ทบาทสําคญั มากในการอภปิ ราย เปน5 ผทู าํ
ใหการอภปิ รายเร่ิมตนและดําเนินไปอยางราบร่ืนและนาสนใจ ปกติแลวผูดาํ เนนิ การอภิปรายมหี นาท่ี
และบทบาทตอไปนี้

๑. เป5นผูกําหนดรูปแบบการอภิปราย ประเด็นหัวขอยอยใหเป5นลําดับท่ีเหมาะสม มีความ
นาสนใจ ใหแกวิทยากรหรือผูรวมอภิปรายแตละทาน กําหนดเวลาอภิปรายของแตละคน และ
ชวงเวลาสาํ หรบั การซักถาม ทาํ หนาท่ีเปน5 ผจู ัดการ ผคู วบคมุ เวที ผูกําหนดเวลาและจับเวลา ตลอดจน
กําหนดกติกาทเี่ หมาะสมเพื่อใหการอภิปรายดําเนนิ ไดรบั ประโยชนสงู สดุ

๒. เปน5 พิธกี ร สําหรับการอภิปรายท่ไี มเป5นทางการมากนัก ผูดําเนินการอภิปรายจะทําหนาที่
เปน5 พธิ กี ร แนะนําประเดน็ ท่ีจะอภิปราย ความสําคญั ความนาสนใจ โอกาส และความคาดหวังของผู
จัดอภปิ ราย เปน5 ตน

๓. แนะนําวิทยากรหรือผูรวมอภิปราย โดยกลาวถึงประวัติท่ีสําคัญ ความนาสนใจหรือ
ลักษณะพิเศษไมวาจะเป5นหนาที่การงาน ตําแหนง ผลงาน ฯลฯ ที่เก่ียวของกับการอภิปราย โดย
คํานงึ ถงึ ความเหมาะสมดานเวลา และความสนใจของผฟู )ง

๔. นําและเชื่อมโยงประเด็นการอภิปรายของวิทยากรแตละทาน หากผูรวมอภิปรายพูดยาว
และไมชัดเจนนัก ผูดําเนินการอภิปรายอาจสรุปเป5นประเด็นเพ่ือใหผูฟ)งเขาใจชัดเจนขึ้น หากเนื้อหา
ชัดเจนอยูแลวก็ไมมีความจําเป5นตองสรุปเพราะทําใหเสียเวลา แตเชื่อมโยงประเด็นและเชิญผูรวม
อภปิ รายพูดคนตอไป

๕. จัดสรรและควบคุมเวลาของผูรวมอภิปรายและผูสนใจซักถามในการอภิปรายทั่วไป เพ่ือ
ไมใหมีการผกู ขาดการพดู หรือการพูดท่ีออกนอกเรือ่ ง ไมตรงประเดน็ หรอื เยนิ่ เยอ

๖. กลาวขอบคุณวิทยากรหรือผูรวมอภิปราย ผูใหการสนับสนุนชวยเหลือ และผูฟ)ง
ผดู าํ เนินการอภปิ รายทดี่ คี วรมีลักษณะดงั ตอไปนี้

๑. มีลกั ษณะผูนาํ กลาตัดสนิ ใจ กลาทดี่ ําเนนิ การอภปิ รายใหเป5นไปตามเวลาท่ีกาํ หนด
๒. เตรียมตวั ดีสาํ หรบั การอภปิ ราย กลาวคอื มีความรูคอนขางดีเกี่ยวกับเรื่องที่จะอภิปราย มี
ขอมูล เขาใจ สามารถตง้ั คาํ ถามหรือขอสังเกตท่ดี ไี ด และเตรียมตวั มาอยางดี ทง้ั ในสวนของเน้ือหา บท
ท่ีจะเรมิ่ ตน บทแนะนําผรู วมอภปิ ราย และบทสรุปการจบอภปิ ราย วาจะพูดอยางไรใหเหมาะสม
๓. มวี าทศลิ ปใž นการตดั ขดั และแทรก หากมีการพดู เกินเวลา พูดนอกเรอ่ื ง เยน่ิ เยอ เป5นตน

39

๔. ใจจดใจจอและมีสมาธิฟ)งการอภิปรายเพ่ือที่จะสรุปไดอยางตรงประเด็น สั้น กระชับ
ถูกตอง และสามารถเชื่อมตอประเดน็ ไดอยางราบรนื่ ผดู ําเนินการอภปิ รายอาจจําเป5นตองเขียนบันทึก
อยตู ลอดเวลาขณะฟง) วิทยากรหรอื ผูรวมอภิปรายเพอื่ ไมใหลมื ประเด็น

๕. เตรียมนาฬิกาเพ่ือจับเวลา กระดาษสําหรับเตือนผูรวมอภิปรายเกี่ยวกับเวลาท่ีเหลือหรือ
การใหรบี สรปุ

๖. ดาํ เนินการอภปิ รายอยางเป5นกันเอง เปน5 ธรรมชาติ และจริงใจ
๗. แตงกายสุภาพ
๖. พิธกี ร พิธีกรเป5นบุคคลสําคัญของงานเสมอ เป5นผูท่ีจะทําใหงานการอภิปรายดําเนินไปได
อยางราบรื่นท้ังกอนการอภิปรายและภายหลังการอภิปราย ปกติแลวคนทั่วไปไมรูจักพิธีกร หาก
ทํางานไดดี ราบร่ืน ก็จะดเู หมือนวาพธิ ีกรทํางานไดตามปกติตามความคาดหวังของท่ีประชุม อยางไรก็
ตาม หากมเี ร่อื งตดิ ขัดขน้ึ ส่ิงทผี่ ฟู )งสนใจและพงุ เปา& ความสนใจไปกค็ อื พธิ ีกร น่นั เอง
การอภปิ ราย พธิ กี รมีบทบาทและหนาที่อยูเพยี ง ๒ ชวง คือชวงแรกกอนมีการอภิปราย และ
ชวงหลังเมื่อจบการอภิปราย แมดูเหมือนไมใชกลไกหลักของงาน แตก็เป5นสวนสําคัญที่จะทําใหการ
อภปิ รายนาสนใจและจบลงไดอยางประทบั ใจ หากพิธีกรไดเตรยี มตวั เขียนบท พูดอยางเป5นธรรมชาติ
มีแงคิด คติ และคําคม ที่ใหภาพรวมและความประทับใจเก่ียวกับการอภิปราย ตลอดจนย้ําความคิด
ขอเสนอท่ดี ขี องวทิ ยากรหรอื ผูรวมอภิปรายใหผูฟ)งไดฝ)งใจ ประทับใจ และนําติดไปคิดไตรตรองและมี
ความประทบั ใจทดี่ ีกบั การอภิปรายและวทิ ยากร
พิธกี รสําหรับการอภปิ รายมีบทบาทและหนา5 ที่
๑. แนะนําหัวขอการอภิปราย โอกาส และวัตถุประสงคของการอภิปราย เพื่อใหผูฟ)งเกิด
ความสนใจมากขึ้น และอาจกลาวถึงผูรวมอภิปรายและผูดําเนินการอภิปรายในแงมุมท่ีเกี่ยวกับหัวขอ
เพ่ือเพิ่มความนาสนใจ
๒. แนะนาํ ผดู าํ เนินการอภิปราย
๓. เมื่อการอภิปรายสิ้นสุดลง กลาวขอบคุณผูดําเนินการอภิปราย และวิทยากรอีกครั้ง และ
ขอบคุณผูใหการสนับสนุน ชวยเหลือ และผูฟ)ง พิธีกรที่ดีตองเขาใจและมองเห็นภาพรวมของการ
ดําเนนิ งานการอภิปรายทงั้ หมด ตองเป5นผวู างแผนเก่ียวกบั กาํ หนดเวลาของการเริ่มและการเลิกงาน รู
รายละเอียดเก่ียวกับชวงเวลาวาชวงใดมีการดําเนินการอยางไร และมีรายละเอียดเก่ียวกับ
ผูดําเนินการอภิปรายและผูรวมอภิปราย ตลอดจนรูเก่ียวกับหัวขอ วัตถุประสงคของการจัดการ
อภิปราย สามารถพดู ดงึ ความสนใจจากผฟู )งได
พิธีกรยังตองรูวาควรตองกลาวถึงและขอบคุณใครบางที่ทําใหงานเกิดข้ึนไดและประสบ
ความสําเรจ็

40

วิธีการสอนแบบอภิปราย หมายถึง วิธีการสอนท่ีมุงใหผูเรียนไดมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นหรือพิจารณาหัวขอที่กลุมสนใจรวมกัน วิธีการสอนแบบอภิปรายจึงเป5นวิธีการสอนที่
ผูเรียนมีสวนรวมในการเรยี นคือ ไดคิด ไดทาํ ไดแกปญ) หา ไดฝrกการรวมการทํางานแบบประชาธิปไตย
ผูเรียนจึงเป5นศูนยกลางของการเรียน มีลักษณะการเรียนรูแบบกระตือรือรน เป5นฯการพัฒนาผูเรียน
ทางดานความรูและดานเจตคติ และดานทักษะการเรียนรู เชน ทักษะการคิด ทักษะการพูด การฟ)ง
การแสดงความคิดเหน็ การทาํ งานรวมกันเปน5 กลุม เป5นตน
ความม6ุงหมาย

๑. เพอื่ เป•ดใหผูเรยี นไดแสดงความคดิ เห็นรวมกนั เป5นการพัฒนาทักษะการพูดการคิด
๒. เพื่อฝrกการทํางานรวมกันเป5นกลุม ฝrกการเป5นผูนํา ผูตาม การรับฟ)งความคิดของผูอื่น
และเปน5 สมาชิกที่ดีของกลุม
๓. เพือ่ ฝกr การคนควาหาความรูมาอภปิ รายใหคนอ่นื ทราบ
ข้นั ตอนการสอน
ข้นั ตอนการอภปิ รายมี ๓ ขน้ั ตอน
๑. ข้ันเตรียมการอภิปราย ผูสอนตองเตรยี ม
๑.๑ หัวขอและรูปแบบการอภิปราย เตรียมใหสอดคลองกับจุดประสงคของบทเรียน เวลา
เรียน จาํ นวนผูเรยี น สถานท่ี เชน ถาเวลาจาํ กดั ควรใชแบบซุบซบิ ปรกึ ษาถาตองการรวบรวมความคิด
อาจใชแบบระดมสมอง ถามเี วลาใหผูเรียนไดเตรียมเน้ือหาสาระความรูมาลวงหนา ควรใชแบบซิมโพ
เซียม
๑.๒ ผูเรียน ผูสอนควรใหผูเรียนเตรียมตัวการอภิปรายมาลวงหนาจะทําใหผูเรียนได
ประโยชนจากการเรยี นแบบอภปิ รายอยางแทจริง
๑.๓ หองเรียน ผูสอนควรจัดโตŸะเกาอ้ีใหเหมาะสมกับรูปแบบการอภิปราย เชน จัดแบบ
วงกลมเหมาะสําหรับการอภิปรายแบบระดมสมองจัดแบบตัวยูหรือส่ีเหล่ียมผืนผาเหมาะสําหรับกลุม
ใหญจดั แบบตวั ทีหรือแบบเรียงแถวหนากระดานเหมาะสําหรับแบบหมูพาแนล
๑.๔ สื่อการเรียน อาจตองใชเอกสารประกอบการอภิปรายของแตละกลุมผูสอนควรเตรียม
ไวใหพรอม
๒. ข้ันดําเนินการอภิปราย ผูสอนมีบทบาทสําคัญในการควบคุมและอภิปรายใหดําเนินไปไดดวยดี
ตองดําเนนิ การตอไปน้ี
๒.๑ บอกหวั ขอหรอื ป)ญหาท่ีจะอภปิ รายใหชดั เจน
๒.๒ ระบจุ ุดประสงคการอภปิ รายใหชดั เจน
๒.๓ บอกเงอื่ นไขหลกั เกณฑการอภิปรายเชนระยะเวลาที่ใช รปู แบบวธิ ีการ

41

๒.๔ ใหดําเนินการอภิปรายโดยผูสอนควรชวยเหลือใหการอภิปรายดําเนินไปไดดวยดีผูสอน
ไมควรเขาไปกาํ กบั หรือเขาไปแทรกแซงผเู รยี นตลอดควรคอยดูอยูหางๆ
๓. ขน้ั สรปุ ประกอบดวย

๓.๑ สรุปผลการอภิปรายเป5นชวงท่ีผูแทนกลุมสรุปอภิปราย นําเสนอผลการอภิปรายตอที่
ประชุม ผูสอนอาจถามคําถามผูอภิปรายไดในสาระสําคัญที่ตองการใหผูเรียนไดรับขณะเดียวกันชวย
กลุมอภิปรายใหเกดิ ความกระจางในเน้อื หาบางตอนได

๓.๒ สรุปเรียน ผูสอนเป5นผูสรุปเน้ือหาสาระสําคัญที่ไดจากการอภิปรายควรไดเสริมขอคิด
แทรกความรู ตลอดจนนําแนวทางความรูไปใชเกิดประโยชนการสรปุ นัน้ ควรสรปุ เป5นหัวขอกระดานดํา
เพ่ือใหผูเรียนไดเขาใจและบันทึกไดงาย

๓.๓ ประเมนิ ผลการเรยี น ผูสอนควรมีการประเมนิ ผลการเรียนการอภิปรายภายหลังที่ส้ินสุด
บทเรยี นเพ่ือดูวาการอภิปรายในคาบนั้นมีคณุ คาหรือมขี อบกพรองอยางไรโดยประเมินใหครอบคลุมถึง
เนื้อหาหัวขอการอภปิ ราย จุดประสงค รูปแบบ บรรยากาศฯลฯทัง้ นเี้ พื่อเป5นขอมูลในการปรับปรุงการ
เรยี นการสอนดวย

๒.๓ การประชุมกลม6ุ

การประชุมกล6ุมการประชุมกลุมเป5นองคประกอบของการสัมมนาเป5นกิจกรรมที่กลุมคนมา
ปรึกษาหารือเกี่ยวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึง มารวมกันคิดมารวมกันวิเคราะหโดยใชขอมูลแหลงความรู
หลักการและประสบการณ เพ่ือหาแนวทางการทํางานเพื่อใหไดผลตามวัตถุประสงค วัตถุประสงค
ของการประชุมกลุมก็เพ่ือใหผูเขารวมสัมมนาไดถกเถียงไดแลกเปล่ียนความคิดเห็น ประสบการณ
และขอมลู ตาง ๆ 8

การดําเนินการประชุมกลุม เริ่มดวยการเลือกประธานและเลขานุการประธานกลุมจะมี
หนาทเี่ ปน5 ผูนาํ กลมุ อภปิ ราย เลขานะการทําหนาท่ีจดบันทึกและเตรียมรายงานการประชุมกลุมเพ่ือ
เสนอตอท่ีประชุมเป5นขั้นสุดทาย ในระหวางการดําเนินการประชุมเลขานุการจะรวมแสดงความ
คิดเห็นในหัวขอท่ีนํามาเสนอก็ได หนาที่โดยตรงของประธานคือ การควบคุมการสัมมนาใหอยูใน

8 เอกรินทร สี่มหาศาล และคณะ, ภาษาไทย ป.๕ พิมพ8คร้ังท่ี ๓, (กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน,
๒๕๕๑).

42

ขอบเขตหวั ขอเร่ืองและเวลาที่กําหนดไวภายในบรรยากาศการแสดงความคิดเห็นที่เป5นประชาธิปไตย
ลกั ษณะและทัศนคตขิ องประธานกลุมท่ดี ี คือ

๑. ความรรู ะเบียบ กฎเกณฑของการประชุมอยางดี
๒. รศู ิลปะในการสรางความเปน5 กนั เอง
๓. มีอารมณขัน ใชอารมณขันเปน5
๔. เป5นนักกระตุกและนักกระตุนที่ดี ใครพูดมากก็ตองกระตุกบาง ใครไมคอยพูดตอง
กระตนุ
๕. มีความอดทนเป5นเย่ียม
๖. ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู ่ืน
๗. รืน่ เริง มชี ีวติ ชวี า
๘. แกปญ) หาเฉพาะหนาไดเกง
๙. สรปุ เกง เชื่อมโยง
๑๐. ไมทาํ ตนเปน5 ผูเผดจ็ การเอาแตใจตัว
๑๑. เป5นผูสามารถยบั ยง้ั ขอพพิ าทได
๑๒. ตองไมพูดมาก ควรพูดเฉพาะป)ญหา สรปุ ปญ) หาเทานน้ั
ผเู ขารวมประชุมทีด่ ีควรมลี ักษณะและทศั นคติสรุปไดดงั นี้

๑. ฝกr การคิดโดยการใชกระบวนการแกปญ) หา
๒. ใหความรวมมือดวยความเตม็ ใจและตั้งใจ
๓. รวมประชมุ อยางมชี วี ติ ชวี า ใหขอคดิ เห็นทเ่ี ป5นประโยชน
๔. รักษามารยาทในการประชุม ไมพูดแทรกในขณะที่ผูอ่ืนกําลังพูด ไมแสดงกิริยาท่ีชวนให

เกดิ ความรูสกึ ในทางลบ ไมแสดงขอโตแยงโดยใชอารมณ
๕. เปน5 ผฟู ง) ท่ดี ี มคี วามอดทน ใจกลาท่จี ะรบั ความคดิ เหน็ ของผูอ่ืน
๖. เป5นผูที่พูดดี พูดตรงประเด็น ไมออมคอม พูดส้ันไดใจความ ใชภาษาที่สามารถสื่อ

ความหมายไดดี
๗. แสดงความช่ืนชมตอขอมูล ขอคิดเห็นที่คนอ่ืน ๆ เสนอ รูจักกลาวสนับสนุนดวยความ

จรงิ ใจ เมอื่ ขอคดิ เหน็ นั้นมีเหตผุ ลและมีความถกู ตอง
๘. รูจักกลาวคัดคาน เมื่อเห็นวาเกิดผลเสีย ท้ังนี้โดยมีเหตุผลที่ถูกตองชัดเจนประกอบ

และไมใชอารมณหรือความไมชอบเปน5 สวนตัว
ภายหลังที่เลือกประธานและเลขากลุมแลว จึงดําเนินการประชุม โดยการใชกระบวนการ
แกป)ญหาเป5นหลัก เร่ิมดวยการทบทวนเร่ืองที่กลุมไดรับมอบหมายใหทําการศึกษา ต้ังป)ญหาหรือ

43

ประเด็นท่ีจะตองอภิปรายและกําหนดวิธีการทํางานรวมกัน ขั้นท่ีสองเป5นขั้นทําการวิเคราะห
จําแนกแยกแยะตัวป)ญหา ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับป)ญหา ตลอดถึงลักษณะของความสัมพันธในแงมุม
ตาง ๆ ผลทีไ่ ดรบั ท้ังดานบวกและดานลบ ขน้ั ท่ีสามระดมความคิดและรวมกันสืบคนหาแนวทางเลือก
ที่ถูกตองเหมาะสมมีประโยชนและมีคุณคามากที่สุด ข้ันที่ส่ี สรุปขอยุติ ขอความเห็นขอสังเกตซ่ึง
เป5นผลงานของกลุม เพื่อเสนอตอที่ประชุมใหญ สมาชิกในกลุมควรจะตกลงกันวาจะเสนอผลการ
ประชุมแบบใด เชน การบรรยายสรุปการอภิปรายคณะ การเสนอแบบซิมโปเซียม การแสดง
บทบาทสมมตุ ิ หรือการสนทนาระหวาง ๒ คน เป5นตน

เทคนิคการประชุมกลุ6มชนิดต6าง ๆ เทคนิคท่ีใชเสนอคือ การระดมสมองการอภิปราย
แบบเรียงตวั บุคคล การอภิปรายแบบโตŸะกลม

การระดมสมอง (Brain Storming) เป5นวิธีที่มุงใหสมาชิกทุกคนแสดงความคิดเห็นให
มากทสี่ ุดท่ีจะมากไดโดยใชเวลาไมมากนัก อาจใชเวลาประมาณ ๑ นาทีหรือนอยกวานั้นในการเสนอ
ของสมาชกิ แตละคน ความคดิ เห็นท่แี สดงออกจะเปน5 ขอส้ัน ๆ ใชภาษางาย ๆ ท่ีสื่อความหมายไดตรง
ไมจําเป5นตองแสดงเหตุผลประกอบก็ได ความคิดเห็นท่ีแสดงออกจะไมมีการตัดสิน หรือ
วิพากษวิจารณวาถูกหรือผิดประการใด ใครคิดอะไรไดก็เสนอใหท่ีประชุมทราบทันที ไมคํานึง
ความสําคญั กอนหลงั ของความคิดเห็นท่ีเสนอ เลขานุการกลุมตองบันทึกความคิดเห็นสรุปหรือหาขอ
ยุติภายหลังท่ีการระดมสมองจากสมาชิกไดยุติลงแลวการจัดที่น่ังสมาชิกจะใหนั่งเป5นวงกลมหรือไมก็
ได แตความสําคัญอยูที่การกระตุนและการเป•ดโอกาสใหสมาชิกทุกคนไดแสดงความรูความคิดเห็น
โดยอิสระเสรี

การอภิปรายแบบเรียงตัวบุคคล (Circular response) ผูเขาประชุมจะนั่งหนาเขาหากัน
เปน5 วงกลมเม่อื ประธานเปด• ประชมุ และเสนอประเดน็ ป)ญหาเป5นการนํา อภิปรายจบลงแลวสมาชิกคน
ท่ีอยถู ัดไปทางขวาของประธานจะแสดงความเห็นหรืออภิปรายตอทีละคน ๆ โดยประธานไมตองช้ีให
พูด การแสดงความคิดเห็นและหรือการอภิปรายจะดําเนินไปเรื่อย ๆ จนถึงประธานนับเป5น ๑ รอบ
และดําเนินการเชนเดียวกันเป5นรอบ ๆ ตอเน่ืองกันไป แตละรอบสมาชิกจะตองแสดงความคิดเห็นได
เพียงครั้งเดียวเทาน้ัน และหากยังหาขอสรุปหรือขอยุติไมไดในรอบนั้นก็ใหเวียนอภิปรายกันในรอบ
ตอไป ขอสรปุ หรือขอยุตขิ องกลมุ ในเร่อื ง ๆ ควรใหมกี ารจดบันทกึ ไวเป5นหลักฐาน

44

การอภิปรายโตŸะกลม (Round table) ผูเขารวมประชุมจะน่ังหันหนาเขาหากันเป5นวงกลม
ประธานทําหนาท่ีดําเนินการประชุมอภิปราย และจะเชิญเฉพาะผูท่ีมีความจํานงหรือยกมือขอแสดง
ความคิดเหน็ ใหเป5นผูอภปิ ราย ขอเสยี ของการประชุมแบบน้คี อื สมาชิกไมมีโอกาสพูดหรือแสดงความ
คดิ เหน็ ไดท่ัวถึงเพราะถาผูใดไมยกมือประธานก็ไมสามารถเชิญใหพูดได ดังนั้นจึงสังเกตไดวาเมื่อไมมี
ใครยกมือเลย บรรยากาศการประชุมคอนขางเงียบ ประธานก็อาจจะตองนําอภิปรายและขอความ
คิดเหน็ จากสมาชิกหรอื ขอเชิญสมาชกิ คนใดคนหนง่ึ ใหแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม บรรยากาศของการ
ประชมุ สวนใหญจะมคี วามเปน5 กันเองระหวางสมาชิก

การอภปิ รายเป5นกลุมเล็ก (Buzz Session) จํานวนสมาชิกในกลุมมีจํานวนนอย คือไมเกิน
๖ คน โดยมุงสงเสริมใหสมาชิกทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น หรือความกลาที่จะอภิปราย
เนื่องจากสมาชิกมีนอยคน มีประธานกลุมดําเนินการอภิปราย ผลการประชุมตองนําเสนอที่ประชุม
ใหญเชนกัน การอภิปรายกลุมเล็กน้ีมักจะนํามาใชในป)ญหาที่ไมยุงยากซับซอนหรือเรื่องท่ีตองการ
ปรกึ ษาหารือเพ่ือหาคาํ ตอบที่ไมยากมากนกั

การนําประสบการณของตนเองมาเลาสูกนั ฟง) เป5นอีกวิธีหนึ่งของการดําเนินการประชุมกลุม
การเลาอาจจะทําโดยความสมัครใจ หรือเป5นการเชิญจากประธานก็ได วัตถุประสงคก็เพื่อใหได
ขอมลู ทเี่ ปน5 ประโยชนตอการอภปิ รายไดกวางขวางลกึ ซง้ึ ไดมากยิ่งขึน้

การอภิปรายเป5นคณะ (Panel discussion) เป5นการอภิปรายเป5นคณะโดยกลุมบุคคลที่มี
ความรู ความเชี่ยวชาญหรือความสนใจพิเศษในเรื่องนั้น จํานวน ๓ – ๕ คน มาอภิปรายหัวขอท่ี
ไดรับมอบหมายอยางมีระเบียบตอหนาผูฟ)ง ผูฟ)งจะไดฟ)งขอเท็จจริง ขอความรูและแนวความคิดใน
แงมุมตาง ๆ จากคณะผูอภิปรายเก่ียวกับหัวขอนั้น ๆ คณะผูอภิปรายอาจจะมีการโตแยงหรือการ
สนับสนุนความคิดเหน็ ระหวางผูอภิปรายดวยกันโดยใชหลักเหตุผล ซ่ึงจะยังผลใหผูฟ)งไดความรูความ
คิดเหน็ เพิ่มเติมยิ่งขนึ้ การอภิปรายเปน5 คณะดงึ ดูดความสนใจผูฟ)งไดมากกวาการใชพูดคนเดียว แตมี
ขอจํากัด เชน พูดในเวลาจํากัด โอกาสที่ผูพูดแตละคนจะไดเสนอความคิดเห็น หรือโตแยงตามที่ตน
ตองการน้ันถูกจํากัด หรือโอกาสท่ีผูฟ)งจะไดมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมบางอาจมี
นอยหรือไมมีเลย นอกจากนี้หากความคิดเห็นของคณะผูอภิปรายมีความแตกตางกัน ผูดําเนินการ
อภปิ รายจะไมสามารถสรปุ การอภิปรายไดถูกตองสมบรู ณนัก

45

การดําเนนิ งานใหจัดทน่ี ง่ั สําหรบั คณุ ผูอภิปรายในลกั ษณะทผี่ ฟู ง) สามารถ มองเห็นไดชัดเจน ท่ี
น่ังอาจจัดเป5นรูปคร่ึงวงกลมหรือเป5นแนวตรงหันหนาเขาหาผูฟ)งดําเนินการอภิปรายจะน่ังตรงกลาง
ผูดาํ เนินการอภิปรายเปน5 ผูกลาวอภปิ รายเปน5 ผูแนะนําหัวขอเรื่องที่จะอภิปราย แนะนําผูรวมอภิปราย
เชญิ ผูเป•ดอภปิ รายใหแสดงความคดิ เห็น เมือ่ ผอู ภปิ รายแตละคนอภิปรายจบลง ผูดําเนินการอภิปราย
จะคอยประสานเนื้อหา สาระการอภปิ รายของผอู ภิปรายใหอยใู นประเด็นและอาจสรุปประเด็นสําคัญ
กอนเชิญผูอภิปรายคนตอไป เมื่อการอภิปรายสิ้นสุดลงจะเป•ดโอกาสใหผูฟ)งซักถามหรือแสดงความ
คิดเห็นเพ่ิมเติม เพ่ิมการแลกเปล่ียนความคิดเห็นส้ินสุดลง ผูดําเนินการอภิปรายจะกลาวขอบคุณ
คณะผูอภิปรายและปด• การอภิปราย ผดู าํ เนินอภิปรายตองรกั ษาเวลาใหเปน5 ไปตาทีก่ าํ หนดไว

การบรรยายเป5นชุด (Symposium) การประชุมแบบซิมโปเซียม เป5นการจัดใหมีการ
บรรยายของคณะผเู ชี่ยวชาญ จํานวน ๓ - ๕ คน หรอื ๕ – ๗ คน หนึ่งคนในคณะจะทําหนาท่ีเป5น
ผูดําเนินการประชุม ผูเช่ียวชาญแตละคนจะตองเสนอเรื่องใหตรงกับหัวขอเรื่องที่กําหนดไว
ตวั อยางเชน หัวขอเร่ืองใหญที่กําหนดไวคือ ป)ญหายาเสพติดในวัยรุนในเร่ืองนี้ไดเชิญผูเช่ียวชาญมา
ใหขอมูลขอคิดเห็นที่เก่ียวของกับยาเสพติดในวัยรุน อาจจะเป5น ๓ – ๕ คน และจัดใหบรรยายใน
หัวขอ เชน ความรูท่ัวไปเก่ียวกับยาเสพติด ยาเสพติดกับป)ญหาอาชญากรรม การป&องกันการเกิด
ป)ญหายาเสพติดในวัยรุน การดูแลรักษาผูติดยาเสพติด เป5นตน แตละหัวขอมีผูรับผิดชอบในการ
เตรียมแนะนํามาเสนอใหที่ประชุมตามลําดับ เร่ืองที่ไดวางแผนไว การประชุมแบบนี้มุงใหความรู
แนวคิดหรือเสนอขอคิดเห็นในแงมุมตาง ๆ เพื่อใหการพิจารณาหัวขอเร่ืองนั้นเป5นไปอยางยุติธรรม
หรือเป5นแนวทางใหผูฟ)งทําการศึกษาขอเท็จ เร่ืองที่หัวขอเรื่องน้ัน ๆ ตอไป ดังน้ันการบรรยายเป5น
ชุดนี้ผูบรรยายตองเตรียมเรื่องท่ีจะเสนอมาลวงหนาเป5นอยางดี ในการเสนออาจมีเอกสารประกอบ
หรืออาจตองใชส่ืออ่ืนประกอบดวยก็ได ลักษณะการประชุมแบบซิมโปเซียมคอนขางจะเป5นพิธี
มากกวาเม่ือเปรียบเทียบกับการอภิปรายเป5นคณะ ผูเสนอตองรักษาเวลาอยางเครงครัด ปกติแตละ
คนควรใชเวลาไมเกิน ๑๕ นาที การประชุมมีลักษณะเป5นหองเรียนมากเกินไป เม่ือผูเชี่ยวชาญเสนอ
เร่อื งเสร็จกป็ •ดประชุม ปลอยใหผฟู )งตองพิจารณากันเองตอไป ดวยขอจํากัดดังน้ีจึงไดมีการปรับปรุง
วิธีการเพ่ือใหผูฟ)งมีสวนรวม (Forum) โดยการใหโอกาสผูฟ)งเขามามีสวนรวม โดยอิสระเมื่อ
ผูเชี่ยวชาญบรรยายเสร็จแลว เชน ใหโอกาสซักถาม ขอคําปรึกษาหารือหรือใหขอเท็จจริงแก
ผเู ช่ียวชาญและผเู ขารวมประชมุ ดวย

46

การดาํ เนนิ งานจดั ใหผูเชยี่ วชาญและผดู าํ เนินการหันหนาเขาหาผูฟ)ง ใหผูนั่งมองเห็นไดท่ัวถึง
จัดใหนั่งรูปครึ่งวงกลมหรือแนวตรงก็ได ดานหนาที่น่ังของคณะผูเช่ียวชาญจัดใหมีโตŸะบรรยายหรือ
ยืนพูดสําหรับผูเช่ียวชาญแตละคนที่จะออกมาเสนอเรื่องท่ีตนไดเตรียมมา ผูดําเนินการเป5นผูเป•ด
ประชุม โดยการแนะนําป)ญหาหรือหัวขอเรื่องและผูนําเสนอใหที่ประชุมรับทราบและกลาวเชิญให
ผูเชีย่ วชาญเสนอเร่อื งของตนตดิ ตอกนั ผูดําเนนิ การตองควบคุมเวลาและเป5นผกู ลาวป•ดการประชุม

การประชุมแบบซินดิเกต เป5นการประชุมกลุมยอยลักษณะหน่ึงท่ีมุงใหสมาชิกในกลุมได
ทําการศึกษาคนควา ไดแลกเปลี่ยนความรูความคิดเห็นและประสบการณไดถกเถียงอภิปรายอยางมี
เหตุผลเพื่อคนหาคําตอบในป)ญหาหรือกรณีเร่ืองท่ีไดรับมอบหมายเสร็จแลวแตละกลุมตองเขียน
รายงานหรือรายงานดวยปากเปลาในท่ีประชุมใหญ มีการแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมแลวสรุปผล
ขอสรุปไดจากการประชุมนี้จะนําไปใชประโยชน เป5นแนวทางในการปรับปรุงในการแกป)ญหาเชิง
ปฏิบัติเพ่ือใหเป5นขอมูลสําหรับการวินิจฉัยสั่งการและการวางแผนตอไปไดเพราะมีความเช่ือวาการ
ประชุมแบบซินดิเกต สมาชิกในกลุมไดทําการศึกษาคนควาไดอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ความรูและประสบการณอยางกวางขวางไดพิจารณาป)ญหาหรือประเมินแนวทางปฏิบัติโดยรอบคอบ
แลว

การประชุมแบบซินดิเกตทางการศึกษาไดนํามาใชเป5นวิธีการสอน ซ่ึงเรียกวาเป5นการสอน
แบบกลุมแกป)ญหาการประชมุ กลมุ ซนิ ดิเกตจะใชเปน5 วิธีการสอนหรือใชในการประชุมสัมมนา

๒.๔ เทคนิคการประชมุ

การทํางานในยุคป)จจุบันมีลักษณะการทํางานเป5นทีม มีการแลกเปล่ียนเรียนรูซึ่งกันและกัน
เครอ่ื งมอื ทช่ี วยให การทํางานเปน5 ทีมสมั ฤทธิผ์ ลคอื วธิ กี ารประชุมอยางมีประสิทธิผล หากการประชุม
ดําเนินไปอยางไมถกู วธิ ยี อม สูญเสียทรพั ยากรและประสิทธิผลท่ีจะเกิดจากการรวมคิดรวมทําไปอยาง


Click to View FlipBook Version