The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-11 10:06:27

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

โครงสรา้ งการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา …………… เวลา 80 ชวั่ โมง

หน่วยที่ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ตัวชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน
1
ความ การจดั กล่มุ สิ่งมีชีวิต มาตร ฐาน ว 1.3 เ ข้าใ จ - ส่ิงมีชีวิตรอบตัวเรามี 4
หลากหลาย กระบวนการและความสาคัญ หลายชนิด ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ ส.1
ของสง่ิ มีชวี ิต
ของการถ่ายทอดลักษณะทาง ละชนิดจะมีลกั ษณะสาคัญ

พันธุกรรมสารพันธุกรรม การ บางอย่างเหมือนกัน และมี

เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่ ลักษณะสาคัญบางอย่าง

มี ผ ล ต่ อ ส่ิ ง มี ชี วิ ต ค ว า ม แตกต่างกันไป โดยเรา

หลากหลายทางชีวภาพและ สามารถใช้ความเหมือน

วิวั ฒน าการ ขอ งส่ิง มีชีวิ ต และความแตกต่างของ

ร ว ม ทั้ ง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ข อ ง

ประโยชน์ สิ่ ง มี ชี วิ ต ม า จั ด ก ลุ่ ม

ส่ิงมีชีวิตออกจากกันได้ 3

ตัวชี้วัด ป.4/1จาแนก กลุ่ม คือ กลุ่มพืช กลุ่ม

สิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือน สัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืช

แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง และสตั ว์

ลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็น

กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่

ไม่ใชพ่ ืชและสตั ว์

ความหลากหลาย มา ตรฐ า น ว 1. 3 ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในโลก 4

ของพืช เ ข้ า ใ จ ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ถู ก จ า แ น ก อ อ ก เ ป็ น ส.2
ความสาคัญของการถ่ายทอด หมว ดหมู่ เพ่ื อ ง่า ยต่ อ

ลักษณะทางพันธุกรรมสาร การศึกษา โดยสิง่ มีชีวิตท่ีมี

พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลง ลักษณะสาคัญร่วมกันจะ

ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม ท่ี มี ผ ล ต่ อ ถูกจาแนกเอาไว้ในกลุ่ม

ส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย เดียวกัน ซ่ึงในการจาแนก

ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ พืช เราสามารถใช้ลักษณะ

ของสง่ิ มีชวี ิต รวมทัง้ นาความรู้ ภายนอกของพืชที่สังเกต

ไปใชป้ ระโยชน์ ไ ด้ ม า เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ ใ น ก า ร

ตัว ชี้วั ด ป . 4/ 1จ าแ น ก จาแนกพืชออกเป็นกลุ่ม

สิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือน เช่น ใช้ก าร มีดอ ก ม า

แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง จาแนกพืชได้เปน็ พืชมีดอก

ลักษณะของส่ิงมีชีวิตออกเป็น และพืชไม่มีดอก

กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่

ไม่ใชพ่ ชื และสัต

โครงสรา้ งการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา……………...... เวลา 80 ช่วั โมง

หน่วยที่ ช่ือหนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
เรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
1
ความ ศกึ ษากลุ่ม มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการ พืชดอก เป็นพืชท่ีมีส่วน 4
หลากหลาย ส.3
ของสง่ิ มีชวี ิต พืชดอก และความสาคัญของการถ่ายทอด สาคัญ ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ
6
ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมสารพันธุกรรม ดอก ผลและเมล็ด เมื่อพืช ส.4-5

การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมี ดอกเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะ

ผลตอ่ ส่ิงมชี ีวติ ความหลากหลายทาง ผลิตดอกเพื่อใช้สาหรับการ

ชวี ภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สืบพันธ์ุ หากจัดกลุ่มพืชดอก

รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็น

ตัวชี้วัด ป.4/2 จาแนกพชื ออก เกณฑ์ จะแบ่งได้เป็น2 กลุ่ม

เป็นพชื ดอกและพืชไมม่ ีดอกโดย ใหญ่ คือพืชใบเล้ียงเดี่ยวและ
ใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้
ข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ พชื ใบเลี้ยงคู่ โดยพืชดอกท้ัง 2
กลุ่มน้ีจะมีลักษณะโครงสร้าง
ส่วนต่างๆ แตกตา่ งกนั ไป

ความ ม า ต ร ฐ า น ว 1. 3 เ ข้ า ใ จ สัตว์ต่างๆ มีมากมาย

หลากหลาย กระบวนการและความสาคัญของ หลายชนิด ในการจาแนกสัตว์
ของสัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ออกเป็นกลุ่มสามารถใช้การมี

สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทาง กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ จึง

พันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความ จาแน ก สัตว์ ไ ด้เป็น สัตว์ มี

ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ แ ล ะ กระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี

วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต รวมท้ังนา กระดูกสันหลงั

ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ สั ต ว์ มี ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง มี

ตัว ชี้วั ด ป . 4/ 3 จ า แน ก สั ต ว์ หลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา

ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและ กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมี กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก

กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ และกลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วย

ข้อมูลท่รี วบรวมได้ น้านม ซึ่งสัตว์แต่ละกลุ่มจะมี

ตั ว ช้ี วั ด ป . 4/ 4บ ร ร ย า ย ลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้

ลักษณะเฉพาะท่สี งั เกตได้ของ แตกต่างกันไป

โครงสร้างการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
เวลา 80 ชั่วโมง
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา ………………
สาระสาคญั
หน่วยที่ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ เวลา นา้ หนัก
ตัวชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน

สัตวม์ ีกระดกู สนั หลงั ใน

กลมุ่ ปลากลมุ่ สัตว์สะเทนิ นา้

สะเทนิ บก กลุ่มสตั ว์ เล้อื ย

คลาน กลุ่มนก และกลุ่ม

สตั วเ์ ล้ียงลูกด้วยน้านม และ

ยกตัวอยา่ งสิง่ มชี ีวิตในแต่ละ

กลุ่ม

1 หน้าทีข่ องสว่ นตา่ งๆ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจ พชื ดอกมสี ่วนตา่ ง ๆ ท่ี 3
ความ ของพืชดอก สมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วย สาคัญ ได้แก่ ราก ลาตน้ ใบ ส. 5-6

หลากหลาย พื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การ ดอก ผล และเมลด็ ซ่ึงสว่ น
ของสง่ิ มีชวี ิต ล า เ ลี ย ง ส า ร ผ่ า น เ ซ ล ล์ ตา่ ง ๆ เหล่านีจ้ ะทาหน้าท่ี

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ตา่ งกันไป
และหน้าที่ของระบบต่างๆ
ของสัตว์ทท่ี างานสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ

ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน
ร ว ม ทั้ ง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้
ประโยชน์

ตัวช้ีวัด ป.4/1 บรรยาย
หน้าท่ีของราก ลาต้น ใบ

และดอก ของพืชดอก โดย
ใชข้ ้อมลู ทร่ี วบรวมได้

โครงสรา้ งการสอน วชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา ………….. เวลา 80 ชวั่ โมง

หนว่ ยที่ ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
ตวั ชวี้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน
1
ศึกษาทอ่ ลาเลียง มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจ รากเป็นโครงสร้างของพืช 3
ความ ของพชื ส.6
หลากหลาย สมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วย ท่ีอยู่ใต้ดินและแผ่ขยาย

ของ พ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การ ออกไป เพื่อยึดลาต้นให้
ส่งิ มชี ีวติ
ล า เ ลี ย ง ส า ร ผ่ า น เ ซ ล ล์ ตั้งอยูบ่ นดิน รากมีหน้าท่ีดูด

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง น้าและแร่ธาตุจากดินข้ึน

และหน้าท่ีของระบบต่างๆ ไปสู่ส่วนต่างๆ ของพืชโดย

ของสตั วท์ ่ีทางานสัมพันธ์กัน ผ่านทางลาต้น ส่วนลาต้นมี

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง หน้าท่ีลาเลียงน้า แร่ธาตุ

และหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ และอาหาร ไปเล้ียงส่วน

ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน ตา่ งๆ ของพชื โดยภายในลา

ร ว ม ทั้ ง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ต้นของพืชมีท่อลาเลียง ซึ่ง

ประโยชน์ ประกอบด้วยท่อลาเลียงน้า

ตัวช้ีวัด ป.4/1 บรรยาย และท่อลาเลียงอาหาร เพื่อ

หน้าท่ีของราก ลาต้น ใบ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุจาก

และดอก ของพืชดอก โดย ดิน และลาเลียงอาหารจาก

ใช้ขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ใบพืช

การคายนา้ ของพืช มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจ ใบเป็นโครงสร้างที่สาคัญ 4
ส.7
สมบตั ขิ องส่งิ มชี วี ติ หนว่ ย ขอ ง พื ช ทาห น้าที่ สร้ า ง

พนื้ ฐานของสิง่ มชี ีวิต การ อาหาร และหายใจซ่ึงเป็น

ลาเลียงสารผ่านเซลล์ ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น แ ก๊ ส

ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง เช่นเดียวกับคนและสัตว์ ใบ

และหนา้ ท่ีของระบบตา่ งๆ ของพืชทาหน้าที่คายน้า ซ่ึง

ของสัตวท์ ี่ทางานสัมพนั ธ์กัน การคายน้ามีประโยชน์ต่อ

ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง พืช เพราะชว่ ยทาให้เกิดการ

และหน้าทข่ี องอวยั วะตา่ งๆ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุอย่าง

ของพืชที่ทางานสมั พนั ธก์ นั ต่อเน่อื ง

รวมท้ังนาความรู้ไปใช้

โครงสรา้ งการสอน วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา…………… เวลา 80 ชั่วโมง

หน่วยท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
ตัวชว้ี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน

ประโยชน์

ตัวชี้วัด ป.4/1 บรรยาย

หน้าท่ีของราก ลาต้น ใบ

และดอก ของพืชดอก โดย

ใช้ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้

1 การสร้างอาหารของ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจ ใบเป็นโครงสร้างท่ีสาคัญ 4
ความ พชื ส.8
หลากหลาย สมบตั ขิ องส่ิงมีชวี ิต หนว่ ย ขอ ง พื ช ทาห น้าที่ สร้ า ง
ของ
ส่งิ มีชีวติ พนื้ ฐานของสิ่งมชี วี ิต การ อาหาร และหายใจซ่ึงเป็น

ลาเลียงสารผา่ นเซลล์ ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น แ ก๊ ส

ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง เช่นเดียวกับคนและสัตว์ใบ

และหน้าทข่ี องระบบต่างๆ พืชทาหน้าท่ีสร้างอาหาร

ของสตั ว์ที่ทางานสัมพันธก์ นั โดยกระบวนการสังเคราะห์

ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง ด้วยแสง ซ่งึ การสร้างอาหาร

และหน้าท่ีของอวยั วะต่างๆ ของพืชจะเกิดข้ึนได้เมื่อมี

ของพืชทที่ างานสมั พนั ธ์กัน แสง การสร้างอาหารของพืช

รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ จึงเกิดข้ึนในเวลากลางวัน

ประโยชน์ โ ด ย พื ช จ ะ ใ ช้ แ ก๊ ส

ตัวชี้วัด ป.4/1 บรรยาย คาร์บอนไดออกไซด์จาก

หน้าท่ีของราก ลาต้น ใบ อ า ก า ศ แ ล ะ ค า ย แ ก๊ ส

และดอก ของพืชดอก โดย ออกซิเจนสู่อากาศ อาหารที่

ใชข้ อ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ พืชสร้างข้ึนมาคร้ังแรกจะ

เป็ น น้ า ตา ล แ ล้ว จ ะ ถู ก

เปล่ียนเป็นแป้งเก็บสะสมไว้

ในสว่ นตา่ งๆ ของพืช

โครงสรา้ งการสอน วชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา ………….. เวลา 80 ชัว่ โมง

หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
ตวั ชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน
1
ความ สว่ นประกอบของดอก มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจ ดอกของพืชทาหน้าท่ี 4
หลากหลาย
ของส่งิ มชี ีวิต สมบัติของสิ่งมีชีวิตหน่วย สื บ พั น ธุ์ ด อ ก ข อ ง พื ช ส.9

พ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การ โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วน

ล า เ ลี ย ง ส า ร ผ่ า น เ ซ ล ล์ ตา่ งๆ ได้แก่ กลีบเล้ียง กลีบ

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ดอก เกสรเพศผู้ และเกสร

และหน้าท่ีของระบบต่างๆ เ พ ศ เ มี ย ซึ่ ง แ ต่ ล ะ

ของสัตว์ทท่ี างานสัมพันธ์กัน ส่วนประกอบของดอก จะ

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ทาหน้าทแี่ ตกตา่ งกัน

และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ

ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน

ร ว ม ท้ั ง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้

ประโยชน์

ตัวชี้วัด ป.4/1 บรรยาย

หน้าที่ของราก ลาต้น ใบ

และดอก ของพืชดอก โดย

ใช้ข้อมลู ทร่ี วบรวมได้

สอบกลางภาคภาคเรยี นท่ี 1 ส.10 10

โครงสรา้ งการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา ……………. เวลา 80 ชั่วโมง

หนว่ ยท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
ตัวชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน
2
แรงโนม้ ถ่วง ผลของแรงโนม้ ถว่ งของ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจ แรงโน้มถ่วงของโลกเป็น 9
ของโลกและ
ตวั กลางของ โลก ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง แ ร ง ใ น แรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อ ส.11-13

แสง ชวี ิตประจาวัน ผลของแรงที่ มวลของวัตถุทุกชนิดท่ีอยู่

กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ บนโลกและท่ีอยู่ใกล้โลก ซึ่ง

เคลอ่ื นท่แี บบต่างๆ ของวัตถุ เป็นแรงไม่สัมผัส และมีทิศ

ร ว ม ทั้ ง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ทางเข้าสู่จุดศูนย์กลางของ

ประโยชน์ โลก แรงโน้มถ่วงของโลกทา

ตัวช้ีวัด ป.4/1ระบุผลของ ให้วัตถุต่าง ๆ บน โลก มี

แรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุจาก น้าหนักและตกลงสู่พื้นโลก

หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เสมอ

การหานา้ หนกั ของวตั ถุ มาตร ฐาน ว 2 .2 เข้าใจ แรงโน้มถ่วงของโลกเป็น 10

ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง แ ร ง ใ น แรงดึงดูดของโลกท่ีกระทา ส.13-15

ชวี ิตประจาวัน ผลของแรงท่ี ต่อมวลของวัตถุต่างๆ จึงทา

กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ ให้วัตถุเหล่าน้ันมีน้าหนัก ที่

เคลื่อนทแี่ บบตา่ งๆ ของวัตถุ ตาแหน่งเดียวกันบนโลก ถ้า

ร ว ม ท้ั ง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ วัตถุใดมีมวลน้อย แรงดึงดูด

ประโยชน์ ของโลกที่กระทาต่อวัตถุนั้น

ตัวช้ีวัด ป.4/1ระบุผลของ จ ะ มี ค่ า น้ อ ย วั ต ถุ จึ ง มี

แรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวัตถุจาก น้าหนักน้อย ถ้าวัตถุใดมี

หลักฐานเชงิ ประจักษ์ มวลมาก แรงดึงดูดของโลก

ป.4/2 ใช้เครอื่ งชั่งสปริง ที่กระทาต่อวัตถุนั้นจะมีค่า

ในการวัดนา้ หนักของวัตถุ มาก วัตถุจึงมีน้าหนักมาก

ซ่ึงเราสามารถวัดน้าหนัก

ของวัตถุต่างๆ ได้โดยใช้

เคร่ืองชัง่ สปริง

โครงสร้างการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา……………. เวลา 80 ชว่ั โมง

หนว่ ยท่ี ช่อื หนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
เรียนรู้ ตวั ช้วี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน
2
แรงโนม้ ถว่ ง ม ว ล กั บ ก า ร ม า ต ร ฐ า น ว 2 . 2 เ ข้ า ใ จ มวลของวัตถุคือปริมาณ 9
ของโลกและ
ตวั กลางของ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน เ นื้ อ ข อ ง ส า ร ทั้ ง ห ม ด ที่ ส.15-17

แสง ก า ร เ ค ลื่ อ น ท่ี ผ ล ข อ ง แ ร ง ท่ี ก ร ะ ท า ต่ อ วั ต ถุ ประกอบกันเป็นวัตถุ ซ่ึงมี

ของวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบต่างๆ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงการ

ของวัตถุ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ เคล่ือนที่ของวัตถุ วัตถุที่มี

ประโยชน์ มวลมากจะเปลยี่ นแปลงการ

ตัวช้ีวัด ป.4/1ระบุผลของแรง เคล่ือนท่ีหรือเคล่ือนย้ายได้

โน้มถว่ งท่มี ีตอ่ วตั ถจุ ากหลักฐานเชิง ยากวัตถุที่มีมวลน้อย ดังน้ัน

ประจักษ์ มวลของวตั ถุจึงเป็นการต้าน

ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก า ร

เคลอื่ นท่ขี องวตั ถุน้นั ดว้ ย

ตัวกลางของ ม า ต ร ฐ า น ว 2 . 3 เ ข้ า ใ จ เมอื่ มองสิ่งต่าง ๆ โดยมี 8
แสงและวัตถุ ส.18-19
ความหมายของพลังงาน การ วตั ถุต่างชนิดกันมาก้นั แสง
ทบึ แสง
เปล่ียนแปลงและการถ่ายโอน จะทาใหม้ องเหน็ สง่ิ น้นั ๆ

พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร ชัดเจนได้แตกต่างกันไปจึง

แ ล ะ พ ลั ง ง า น พ ลั ง ง า น ใ น จาแนกวัตถทุ ่กี ัน้ แสงไดเ้ ป็น

ชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลาง

ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง โปร่งแสง และวตั ถุทบึ แสง

แสง และ คลื่น แม่เหล็ก ไ ฟ ฟ้ า ตัวกลางของแสง คอื วัตถุ

รวมทงั้ นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ท่ีก้ันทางเดินของแสง แลว้

ตัวชี้วัด ป.4/1จาแนกวัตถุเป็น แสงสามารถเดินทางผา่ นไป

ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง ได้ ส่วนวตั ถทุ บึ แสง คือ

และวัตถุทึบแสง โดยใช้ลักษณะ วตั ถทุ ่เี ม่ือนามากั้นแสงแล้ว

การมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผ่านวัตถุนั้น มองไม่เห็นแสงที่ผ่านมาได้

เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ จ า ก ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง และไม่สามารถมองเห็นส่ิงที่

ประจักษ์ อย่ดู ้านหลงั วัตถทุ นี่ ามาก้ัน

แสงนน้ั ได้

สอบปลายภาคภาคเรียนที่ 1 ส.20 20

สปั ดาห์ที่ 1

โรงเรียนขจรเกยี รติพัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนที่……1…/…2563……... ช่ือผู้สอน….…...................................................……...

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 4 คาบ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวิต เร่ือง การจดั กล่มุ สิ่งมีชวี ิต

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การ
เปลีย่ นแปลงทางพันธกุ รรมท่ีมผี ลตอ่ สิ่งมชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสิง่ มชี วี ติ รวมท้ังนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ชี้วดั ป.4/1จาแนกสิง่ มชี ีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์
และกลุม่ ที่ไมใ่ ชพ่ ชื และสตั ว์

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

สง่ิ มีชีวิตรอบตัวเรามีหลายชนิด ซ่ึงสิ่งมีชวี ติ แต่ละชนดิ จะมีลักษณะสาคัญบางอย่างเหมอื นกัน และมลี กั ษณะสาคญั
บางอยา่ งแตกต่างกนั ไป โดยเราสามารถใช้ความเหมอื นและความแตกตา่ งของลกั ษณะต่างๆ ของสงิ่ มีชวี ติ มาจดั กลุ่มสง่ิ มชี ีวิต
ออกจากกันได้ 3 กลมุ่ คือ กลุ่มพืช กลมุ่ สัตว์ และกลมุ่ ทีไ่ มใ่ ช่พชื และสตั ว์

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. สังเกตและบรรยายลกั ษณะของสิ่งมีชวี ิตแต่ละกลุ่มได้ (K)
2. เปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกตา่ งของลักษณะตา่ งๆ ของสงิ่ มชี วี ติ แตล่ ะกลุ่มได้(P)
3. จาแนกสงิ่ มีชีวติ ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ความเหมือนและความแตกตา่ งของลกั ษณะสง่ิ มชี วี ิตเปน็ เกณฑ์ได้ (P)
4. มีความสนใจใฝ่เรียนรแู้ ละมงุ่ ม่นั ในการทางาน (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น

ใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะต่างๆ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

ของสง่ิ มชี วี ติ มาจดั กลุ่มสง่ิ มชี วี ติ ได้

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ
1. ครูทกั ทายกบั นกั เรียน แล้วแจ้งผลการเรียนรู้ท่ีจะเรยี นในวนั น้ีใหน้ ักเรยี นทราบ
2. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอ่ื วดั ความรู้เดมิ ของนักเรียนก่อนเขา้ สกู่ จิ กรรม

3. ครูกระตุน้ ความสนใจของนักเรยี นก่อนทจ่ี ะเรยี นในวนั น้ี โดยนาลกู อมท่ีมีสีตา่ งๆ คละกันมาแจกนกั เรียนคนละ 1
เมด็

4. ครสู ุ่มเลือกสีของลกู อม โดยให้นกั เรียนยกมอื ชลู กู อมท่ตี นเองได้รับ จากนนั้ ครูเลือกสลี กู อมทีม่ ีจานวนนักเรียนอยใู่ น
สีน้ันน้อยทส่ี ดุ ออกมาหนา้ ชั้นเรยี น

5. ให้นักเรยี นในห้องสงั เกตลกั ษณะต่างๆ ของเพอื่ นทีอ่ ยูห่ นา้ ช้ัน จากน้ันต้งั คาถามเพื่อกระตนุ้ ความคิด เชน่

1) นกั เรยี นสงั เกตเหน็ อะไรเกี่ยวกับเพือ่ นๆ ท่อี ยูห่ น้าชน้ั เรียนบ้าง
2) ลักษณะของเพ่ือนทีอ่ ยหู่ น้าห้องเปน็ อยา่ งไร มจี ดุ สังเกตอะไรบ้าง

(แนวตอบ : ข้ึนอยกู่ บั ส่งิ ทีน่ ักเรยี นสังเกตเห็น เชน่ มที ัง้ ผ้หู ญิงและผู้ชาย มีทั้งใส่แว่นและไม่ใส่แว่น มีทั้ง
ใสก่ างเกงและใส่กระโปรง มที ั้งผมสัน้ และผมยาว เปน็ ต้น)
6. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ส่ิงท่ีนักเรียนสังเกตเห็นและตอบมานั้น เป็นลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ง่าย ซ่ึงสามารถใช้

กาหนดเปน็ เกณฑ์ในการจดั กลุ่มเพ่อื นๆ ได้
7. ครูตง้ั คาถามเพิม่ เตมิ ว่า หากต้องการจดั กลุ่มหรอื จาแนกเพอ่ื นหน้าชั้นเรียนออกเป็นกลุ่ม นักเรียนจะใช้เกณฑ์ใดได้

บา้ ง จากนัน้ ใหน้ กั เรยี นช่วยกนั ระดมความคิดในการตอบคาถาม
8. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2 คน กาหนดเกณฑ์ท่ีใช้สาหรับจัดกลุ่มเพื่อหน้าห้องเรียนคนละ1 เกณฑ์ แล้วเพื่อนใน

ห้องช่วยกันตรวจสอบว่าสามารถจดั กลุ่มเพื่อนตามเกณฑน์ นั้ ได้หรอื ไม่

9. ครูให้คาชมเชยนักเรียนทั้งห้องที่ช่วยกันทากิจกรรม แล้วมอบรางวัลหรือของขวัญให้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างท่ี
ออกมายนื หนา้ ชัน้ เรยี น

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

ขน้ั สอน

ข้ันสารวจคน้ หา

1. ครูให้นักเรียนอ่านสาระสาคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.4 จากน้ันถามนักเรียนว่า ภาพน้ีมีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง นักเรียนรู้จักหรือไม่ แล้วให้นักเรียนช่วยกัน
ตอบคาถามอยา่ งอสิ ระ
(แนวตอบ : ผีเสือ้ กับดอกไม้)

2. ครูให้นักเรียนดูภาพ กลุ่มสิ่งมีชีวิต แล้วถามคาถามว่า นักเรียนสามารถใช้เกณฑ์ใดในการจาแนกกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้
บ้างจากนั้นให้นักเรียนช่วยกันอธิบายคาตอบ โดยครูช้ีแจงเพิ่มเติมว่า ให้นักเรียนนึกถึงกิจกรรมท่ีมีการจัดกลุ่ม
เพื่อนหน้าชนั้ เรียนทผ่ี า่ นมา
(แนวตอบ : ลกั ษณะของส่งิ มีชวี ติ การกินอาหาร การสร้างอาหาร การยอ่ ยสลายสิ่งมชี ีวิตอน่ื เปน็ อาหาร เปน็ ต้น)

คาบท่ี2

ข้ันสารวจคน้ หา

3. ครูใหน้ กั เรยี นเรียนรคู้ าศพั ท์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการเรยี นในบทที่ 1 โดยครเู ป็นผูอ้ า่ นนาและให้นกั เรียนอา่ นตามดงั น้ี

Organism(‘ออกะนิซึม) ส่ิงมีชีวติ
พืช
Plant (พลาน) สตั ว์

Animal (‘แอ็นนมิ ลั ) เห็ดรา

Fungus (‘ฟังกัส)

4. ครใู ห้นักเรียนวาดภาพหรอื ตดิ ภาพสงิ่ มชี ีวติ ต่างๆ ทีน่ กั เรยี นรจู้ กั 5-10ภาพ ลงในสมุด แล้วจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ัน
โดยใช้เกณฑ์ทก่ี าหนดเอง
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

คาบที่3
ข้นั สารวจคน้ หา

5. ครูให้นักเรียนเลน่ เกมผง้ึ สรา้ งรัง เพื่อแบง่ กลมุ่ นกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยครู อธิบายวิธีการเล่นให้
นักเรียนฟัง จากนน้ั ให้นกั เรียนเลน่ เกม 2-3 ครั้งจนได้กลมุ่ ครบทุกคน ซ่งึ มีวิธีการเลน่ ดงั นี้

ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนคดิ ว่าตนเองตอ้ งการเป็นตัวผ้ึง หรือต้องการเป็นรังผึ้ง โดยครู
จะออกคาสั่งแล้วให้นักเรียนวิ่งไปรวมกลุ่มกัน ซึ่งกาหนดให้นักเรียนยืนล้อมวงคือ รังผึ้ง และ
นกั เรียนที่ยืนอย่ใู นวง คอื ตวั ผึง้ ท้งั น้นี ักเรยี นคนใดทไ่ี มม่ ีกลมุ่ หรือนักเรียนกลุ่มใดมีจานวนรังผึ้ง
หรือจานวนตัวผึ้งไม่ครบตามจานวนที่ครูออกคาส่ัง จะถูกลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ กันไป เช่น
การเต้นตามเพลง การร้องเพลง หรืออ่ืนๆ ตามความเหมาะสม ตัวอย่างการออกคาส่ังของครู
เชน่

 มีผึง้ 2 ตัว อยูใ่ นรังผึ้ง 4 รงั
 มรี งั ผงึ้ 6 รงั ล้อมผ้งึ 3 ตัว
 มีผงึ้ และรังผึ้งล้อมวง 8 ตวั

6. เม่ือนักเรยี นแบ่งกลุ่มเรยี บรอ้ ยแลว้ ครูให้แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาขอ้ มูล การจัดกลุ่มสง่ิ มีชีวิต

คาบท่ี4

ข้ันสารวจคน้ หา

7. ครเู ปิด PPT เร่อื ง กลมุ่ ส่ิงมีชีวติ ใหน้ ักเรยี นดู จากนน้ั ถามคาถามกระตุน้ ความคดิ โดยให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ อภิปราย
และหาคาตอบร่วมกนั ว่า ส่ิงมีชวี ิตแตล่ ะกลุ่มน้ันมลี ักษณะเหมอื นกนั หรือแตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ : มีลกั ษณะแตกตา่ งกันไป เช่น บางชนดิ สรา้ งอาหารได้ บางชนดิ สรา้ งอาหารไม่ได้ บางชนิดกินส่ิงมีชีวิต
อนื่ เป็นอาหาร บางชนดิ ย่อยสลายสิง่ มีชวี ติ อ่นื ได้ เปน็ ตน้ )

8. ครใู ห้นกั เรียนรวมกลมุ่ เดมิ ทไี่ ด้แบ่งไวเ้ มอื่ ชั่วโมงท่ีผ่านมา จากน้ันครูแจ้งว่าจะให้นักเรียนได้ทากิจกรรมการสารวจ
และจัดกลมุ่ สิ่งมีชวี ิตในกิจกรรมท่ี 1เรื่อง การจดั กลุ่มส่ิงมชี ีวิต โดยครูแจง้ จุดประสงคข์ องการทากิจกรรมใหน้ กั เรียน
ทราบก่อนทากจิ กรรม

9. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันทากิจกรรมท่ี 1เรอื่ ง การจดั กลมุ่ สิง่ มีชวี ิต ตอนท่ี 1-2 โดยปฏิบัติกจิ กรรม ดังน้ี
1) ศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 5 อย่างละเอียด หากมีข้อสงสัยให้
สอบถามครู
2) ร่วมกันกาหนดปัญหาและต้ังสมมติฐานในการทากิจกรรม แล้วบันทึกผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หนา้ 4
3) รว่ มกันทากิจกรรมตามข้นั ตอนให้ครบถ้วนและถูกต้องทุกขนั้ ตอน จากนัน้ บันทึกผล

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ข้นั อธิบายความรู้

1. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รายและสรุปผลจากการทากิจกรรมภายในกลุม่
2. ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงานของกล่มุ หน้าชนั้ เรียน โดยครูสุ่มจับสลากเลือกนักเรียนทีละ

กลุม่
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน จากน้ันร่วมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับการจัดกลุ่ม

สิ่งมชี วี ิต โดยใช้ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวติ ที่สงั เกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ขน้ั สรุป

ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ

1. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันศึกษาข้อมูลเกีย่ วกบั ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มต่างๆแล้วครูสุ่มเลือกตัวแทนกลุ่ม
ใหส้ รปุ เนอื้ หาทีศ่ กึ ษาให้เพอ่ื นในห้องฟัง

2. ครูขออาสามาสมัครนกั เรียน 3 คน ใหย้ กตวั อย่างส่ิงมชี วี ิตทอ่ี ยูใ่ นแต่ละกล่มุ ดงั น้ี

 คนที่ 1 ใหย้ กตัวอย่างส่ิงมีชวี ติ กลุม่ พืช 3 ตัวอยา่ ง

 คนท่ี 2 ใหย้ กตัวอย่างส่ิงมีชวี ติ กล่มุ สตั ว์ 3 ตัวอย่าง

 คนที่ 2 ให้ยกตวั อยา่ งสง่ิ มชี ีวิตกลุ่มทีไ่ ม่ใชพ่ ืชและสตั ว์ 3 ตวั อยา่ ง
3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเพ่ิมเติมเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิตกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ว่า รา แบคทีเรีย ไวรัส ยีสต์ เป็นต้น

เราเรียกรวมว่า จุลินทรีย์ ซ่ึงเป็นส่ิงมีชีวิตที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพราะมีขนาดเล็กมาก ซ่ึง
จุลินทรีย์ท่ีมีประโยชน์กับเราและเราสามารถรับประทานได้ในชีวิตประจาวัน เช่น จุลินทรีย์ท่ีอยู่ในโยเกิร์ต คือ
แบคทีเรยี ทส่ี ามารถย่อยสลายโปรตีนในนม ทาใหเ้ กดิ การหมักของสารอาหาร จงึ ทาใหเ้ กิดประโยชน์ต่อร่างกายของ
เราได้ เป็นต้น
4. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนูตอบได้ ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียนหรือทาในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์
5. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะคนนากจิ กรรมพัฒนาการเรียนรทู้ ่ี 1จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ไปทาเป็นการบ้าน โดยให้
ทาลงในสมดุ หรอื ใหน้ ักเรียนทาในใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง จาแนกส่ิงมชี วี ติ ท่คี รูแจกใหแ้ ล้วนามาส่งในช่วั โมงถดั ไป
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั ตรวจสอบผล

1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า สิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลกมีมากมายหลายชนิด ซ่ึง
ส่ิงมชี ีวติ แตล่ ะชนดิ มลี กั ษณะตา่ งๆ ท่ีแตกต่างกันไป นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ลักษณะความเหมือนและความแตกต่าง
ของสง่ิ มชี ีวิตต่างๆ มาจดั กลุ่มสง่ิ มชี ีวติ ได้เปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่ คือ ส่ิงมีชีวิตกลุ่มพืช ส่งิ มีชีวิตกลุ่มสตั ว์ และสิ่งมีชีวิตกลุ่ม
ทีไ่ ม่ใช่พืชและสตั ว์

2. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจก่อนเรียนของนักเรยี น
3. ครูประเมนิ ผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ

ทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ช้ันเรยี น
4. ครูตรวจการวาดภาพหรือติดภาพสิ่งมีชีวิตต่างๆ ท่ีนักเรียนรู้จักในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือตรวจผลการทา

กจิ กรรมนาสู่การเรียนในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 2

5. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 1 เรื่องการจดั กลุ่มสิ่งมีชีวติ ในสมดุ หรือในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
6. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนูตอบได้ในสมดุ หรอื ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์

7. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรทู้ ่ี 1 ในสมดุ หรอื ในใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง จาแนกสิง่ มชี ีวติ

6. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ าร
ประเมนิ ผล
การวัดและประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์ 70% ขึ้นไป ถือวา่
ผา่ นเกณฑก์ าร
ความรู้ความ 1. สังเกตจากการซกั ถามตอบ 1.คาถามกระตุ้น ประเมิน
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคิด

2. บรรยายลักษณะของสิง่ มีชวี ิต
แตล่ ะกลุม่ ได้

ทักษะ/ 1.เปรียบเทยี บความเหมือน ความ 1. ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง 70% ขึ้นไป ถอื ว่า
กระบวนการ (P)
แตกตา่ งของลักษณะตา่ งๆ ของ การจาแนกสงิ่ มีชีวิต ผ่านเกณฑ์การ

สิง่ มีชวี ติ แต่ละกล่มุ ได้ ประเมนิ

คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) 1. สงั เกตจากการเรียนมีความ 1. แบบสงั เกต 70% ข้นึ ไป ถือวา่
รบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีส่งั และสง่ งาน พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การ

ไดท้ ันตามทก่ี าหนด ประเมิน
2. สังเกตจากการเรยี นใฝ่เรียนรู้

3. สังเกตจากการมุ่งม่ันในการ
ทางาน

7. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวติ
2) แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ
3) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 1 เช่น แผนภาพกล่มุ พืช เปน็ ตน้
4) ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง จาแนกส่ิงมีชวี ิต
5) PowerPoint เรอ่ื ง กลุ่มส่ิงมีชวี ติ
6) สมดุ
7) ลกู อมสีต่างๆ

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) อินเทอรเ์ นต็

8.กิจกรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผู้บริหาร
(...........................................................)

ใบงานท่ี 1.1
เรอื่ ง จาแนกสง่ิ มีชวี ติ

ให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม แล้วรว่ มกนั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ดงั น้ี
1) พิจารณาลักษณะของสงิ่ มชี ีวิตทก่ี าหนดให้ โดยใช้ความเหมอื นและความแตกตา่ งเป็นเกณฑ์
2) จาแนกส่ิงมีชีวติ เป็นกลุ่มพชื กล่มุ สตั ว์ และกลุม่ ทไ่ี ม่ใช่พชื และสัตว์

3) นาเสนอหนา้ ชั้นเรยี นเพื่ออภิปรายร่วมกนั

ชมพู่ ราดา แบคทเี รยี เสือ หญ้า
หอยทาก เห็ดฟาง หนนู า มอสส์ ววั
ไสเ้ ดือนดนิ มด ยีสต์
พรกิ มะลิ

 สง่ิ มีชวี ิตกลมุ่ พชื ได้แก่

 ส่ิงมชี ีวิตกลมุ่ สัตว์ ไดแ้ ก่

 ส่ิงมชี วี ิตกลมุ่ ท่ไี ม่ใชพ่ ืชและสัตว์ไดแ้ ก่

ใบงานท่ี 1.1 เฉลย
เรื่อง จาแนกสง่ิ มีชีวิต

ให้นกั เรยี นแบ่งกล่มุ แล้วรว่ มกนั ปฏิบัตกิ จิ กรรม ดงั น้ี
1) พิจารณาลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตที่กาหนดให้ โดยใชค้ วามเหมือนและความแตกต่างเป็นเกณฑ์

2) จาแนกสิ่งมีชีวิตเป็นกลุ่มพชื กลุ่มสตั ว์ และกลุ่มทไ่ี ม่ใชพ่ ืชและสัตว์
3) นาเสนอหนา้ ชัน้ เรียนเพอ่ื อภิปรายร่วมกนั

ชมพู่ ราดา แบคทเี รีย เสือ หญา้
หอยทาก เหด็ ฟาง หนนู า มอสส์ ววั
ไส้เดอื นดิน มด ยสี ต์
พรกิ มะลิ

 สงิ่ มชี ีวิตกลมุ่ พืช ไดแ้ ก่
ชมพู่ พริก มะลิ มอสส์ หญา้

 สิ่งมีชีวิตกลมุ่ สัตว์ ไดแ้ ก่
หอยทากหนูนา ไสเ้ ดือนดิน เสอื ววั

 สิ่งมีชีวิตกลุ่มท่ีไม่ใชพ่ ืชและสัตว์ไดแ้ ก่
ราดาเหด็ ฟาง มดยสี ต์แบคทเี รีย

สัปดาห์ท่ี 2

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี……1…/…2563……... ช่ือผ้สู อน….……………………………………………….……...

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 4 คาบ

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ เรอื่ ง ความหลากหลายของพืช

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การ
เปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมที่มีผลตอ่ สิง่ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของสิ่งมชี ีวติ รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ชีว้ ดั ป.4/1จาแนกสิง่ มชี ีวติ โดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่ม
สตั ว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

สง่ิ มชี ีวติ ต่างๆ ในโลกถกู จาแนกออกเป็นหมวดหมู่ เพอ่ื ง่ายต่อการศึกษา โดยส่ิงมีชีวิตที่มีลักษณะสาคัญร่วมกันจะถูก
จาแนกเอาไว้ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งในการจาแนกพืช เราสามารถใช้ลักษณะภายนอกของพืชท่ีสังเกตได้มาเป็นเกณฑ์ในการ
จาแนกพืชออกเปน็ กลุม่ เช่น ใช้การมดี อก มาจาแนกพชื ไดเ้ ป็นพืชมดี อกและพืชไมม่ ดี อก เปน็ ต้น

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. สังเกตและอธบิ ายลกั ษณะภายนอกของพชื ชนดิ ตา่ งๆ ได้ (K)
2. จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มดี อก โดยใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ได้(P)
3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพอ่ื จาแนกพืชชนดิ ต่างๆ ออกเป็นกลุ่มไดค้ รบถ้วนทุกขนั้ ตอน (P)
4. มคี วามสนใจและกระตือรอื รน้ ในการเรยี นรู้ (A)

4.สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

ใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ในการจาแนกพืชออกเป็นพืช พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

ดอกและพชื ไมม่ ีดอก

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขน้ั นา

ขัน้ กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครเู ตรียมตัวอย่างตน้ พืชมาอย่างนอ้ ย 2 ชนิด (เชน่ มอสส์ มะเขอื เทศ) มาวางไว้หน้าชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนสังเกต
แล้วให้รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ลักษณะภายนอกของพชื ท่สี งั เกตได้
2. ครถู ามคาถามนกั เรียนเพ่อื กระตนุ้ ความคิด โดยให้นกั เรยี นตอบคาถามได้อยา่ งอสิ ระ ดงั นี้
1) พืชท้ัง 2 ชนดิ มลี กั ษณะภายนอกแตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ : ต่างกัน เช่น ใบมลี ักษณะต่างกนั ต้นหน่ึงมดี อก อีกตน้ หนึ่งไม่มดี อก เปน็ ตน้ )

2) นกั เรยี นคิดวา่ พชื ตัวอยา่ งต้นใดเปน็ พืชดอก และพืชตัวอยา่ งต้นใดเปน็ พชื ไม่มีดอก สงั เกตไดจ้ ากส่งิ ใด
(แนวตอบ : มะเขอื เทศเปน็ พชื มีดอก ส่วนมอสส์ เปน็ พชื ไม่มดี อก)

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
3. ครูอธิบายให้นกั เรียนฟังว่า ถา้ สังเกตรอบๆ ตวั เราจะพบวา่ พชื มมี ากมายหลายชนิด พืชบางชนิดมีลาต้นสูงใหญ่ พืช
บางชนิดมีลาต้นขนาดเลก็ พืชบางชนิดมีดอก พืชบางชนิดไม่มีดอก จะเห็นได้ว่าพืชแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่าง
แตกต่างกัน และอาจมีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน ดังน้ันเพ่ือให้ง่ายต่อการศึกษาเกี่ยวกับการดารงชีวิตของพืช
นักวิทยาศาสตร์จงึ มีการแยกประเภทออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ พชื ดอก และพืชไมม่ ีดอก
4. ครูแจง้ ชื่อเรื่องท่ีจะเรยี นรู้ในวนั น้ีและจุดประสงค์การเรียนรู้ใหน้ ักเรียนทราบ

ขน้ั สอน

ข้นั สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนอ่านข้อมูลและดูรูปภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 8 ในหัวข้อที่ 2 ความ
หลากหลายของพชื จากน้ันครูสมุ่ นักเรียนตามลาดับเลขที่ 2-3 คน ให้ตอบคาถาม ดงั นี้
1) นักเรยี นรูจ้ กั พืชท่ีอยใู่ นรปู ภาพหรอื ไม่
(แนวตอบ : ข้นึ อยู่กับคาตอบของนักเรียน ให้อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของครูผ้สู อน)
2) นกั เรยี นคิดวา่ พชื ในภาพชนดิ ใดเป็นพชื ดอก และพชื ในภาพชนิดใดเป็นพืชไมม่ ีดอก
(แนวตอบ : กหุ ลาบ บวั และมะระ เป็นพชื ดอก ส่วน เฟริ น์ ขา้ หลวง และมอสส์ เปน็ พืช
ไมม่ ีดอก)
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
2. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ ตามความสมัครใจ กลุ่มละ 4 คน แลว้ ให้ตัง้ ชื่อกลมุ่ เปน็ ช่อื ตน้ พืชทีก่ ลุ่มชอบหรือสนใจ
3. ให้แตล่ ะกลุ่มช่วยกันเขียนชื่อพืชมีดอกและพืชไม่มีดอกลงในกระดาษของกลุ่มให้ได้มากที่สุด โดยให้ครูจับเวลา 5
นาที หากหมดเวลาให้ครูส่งสัญญาณเพื่อให้ทุกกลุ่มหยุดเขียน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบว่า กลุ่มใด
เขยี นได้ถกู ต้องมากทส่ี ดุ จะเปน็ ผูช้ นะ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
4. ครมู อบรางวลั หรอื ของขวัญแก่กลุ่มทชี่ นะ เพ่อื เป็นการเสริมแรงในการทากจิ กรรม
5. ครถู ามคาถามนกั เรยี น แลว้ ให้ช่วยกันตอบคาถามไดอ้ ย่างอสิ ระ ดังน้ี
1) พชื ดอก และพืชไม่มดี อก มโี ครงสร้างภายนอกแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ : ตา่ งกนั พชื มีดอกประกอบดว้ ย ราก ลาตน้ ใบ และดอก ส่วนพชื ไมม่ ดี อก
ประกอบดว้ ย ราก ลาต้น และใบ แต่จะไม่มดี อกตลอดชีวิต)
2) พืชมดี อกจะเริ่มมีดอกเม่ือใด
(แนวตอบ : เมอ่ื พชื ดอกเจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่แี ลว้ จะออกดอกเพื่อใชใ้ นการสบื พนั ธ์ุ)
6. ครูให้นกั เรียนจบั กลุ่มเดิมจากชั่วโมงที่ผ่านมาแลว้ จากนัน้ ใหส้ มาชิกแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การจัดกลุ่มพืช
ตอนท่ี 1 โดยปฏิบัติ ดงั น้ี
1) ศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมท่ี 2 เร่ืองการจัดกลุ่มพืช ตอนที่ 1จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 9
อย่างละเอยี ด หากมีข้อสงสัยให้สอบถามครู
2) แตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนรบั บัตรภาพต้นพืชชนิดต่างๆ จากครู กลุ่มละ 1 ชุด ชุดละ 8-10 ใบ (บัตรภาพพืชมี
ดอก เช่น กหุ ลาบ ทานตะวัน กล้วยไม้ เป็นต้น และบัตรภาพพืชไม่มีดอก เช่น มอสส์เฟิร์น ผักกูด เป็น
ตน้ )
3) แต่ละกลุ่มร่วมกนั ตง้ั สมมติฐานก่อนการทากิจกรรมเก่ยี วกับการจัดกลุ่มพืช
4) ร่วมกันสงั เกตบัตรภาพพืชนิดต่างๆ จากน้ันช่วยกันจัดกลุ่มพืชโดยใช้ลักษณะภายนอกของพืชเป็นเกณฑ์
แล้วบันทึกผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 8
5) ร่วมกนั อภปิ รายและสรปุ ผลการทากจิ กรรม จากนนั้ นาขอ้ มลู การจาแนกพืชมาจัดทาเปน็ แผนผัง แผนภาพ
หรืออน่ื ๆลงในกระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ เพอื่ นาเสนอข้อมลู หนา้ ชน้ั เรยี น

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

คาบท่ี 3

ขน้ั สารวจค้นหา (Explore) (ตอ่ )
1. ครูชวนนักเรียนสนทนาเพ่ือทบทวนการทากิจกรรมจากชั่วโมงท่ีผ่านมาว่า พืชบางชนิดมีราก ลาต้น ใบ และดอก
เหมือนกนั จัดเปน็ กลุ่มพชื ดอก สว่ นพชื บางชนิดที่มีราก ลาตน้ ใบ แตไ่ มม่ ดี อกเหมอื นกนั จดั เป็นกลมุ่ พชื ไมม่ ดี อก
2. ครขู ออาสาสมัครนักเรยี น 2 คน โดยคนหน่ึงใหย้ กตัวอย่างพืชดอก 3 ชนิด และอีกคนให้ยกตัวอย่างพืชไม่มีดอก 3
ชนดิ แล้วใหน้ กั เรียนท้ังห้องช่วยกบั ตรวจสอบว่าถูกต้องหรอื ไม่ จากน้นั ครูใหค้ าชมเพ่อื เป็นกาลงั ใจ
3. ครใู หน้ กั เรียนจับกลมุ่ เดิมจากช่ัวโมงทีผ่ า่ นมาจากนั้นใหส้ มาชิกแตล่ ะกลุ่มทากจิ กรรมที่ 2 เรือ่ ง การจดั กลุ่มพืช ตอน
ที่ 2โดยปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1) ศึกษาขนั้ ตอนการทากิจกรรมท่ี 2 เรื่อง การจัดกลุ่มพืช ตอนที่ 2จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 10
อย่างละเอียด หากมขี ้อสงสยั ใหส้ อบถามครู
2) แต่ละกลุ่มร่วมกันกาหนดปัญหาและต้ังสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการทากิจกรรม แล้วบันทึกลงใน
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 9
3) รว่ มกนั สังเกตลักษณะภายนอกของต้นพืช 2 ชนดิ ทคี่ รเู ตรียมมาให้ ได้แก่ ต้นพริก และต้นเฟิร์น จากนั้น
บนั ทึกผลลงในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 9
4) สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เก่ียวกับพืชทั้ง 2 ชนิดนี้ แล้วเปรียบเทียบความแตกต่าง
จากนนั้ ร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทากจิ กรรมภายในกล่มุ
4. ครเู ปิด PPT เรอ่ื ง ความหลากหลายของพืช ใหน้ กั เรียนดู จากน้นั ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกับพืชดอก
และพืชไมม่ ีดอกเพมิ่ เตมิ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 11-12 เพ่อื ใช้เป็นข้อมูลในการนามาสรุปร่วมกับผล
การทากจิ กรรมที่ 2 ตอนที่ 1-2 โดยครคู อยอธบิ ายและตอบคาถามให้กับนักเรียนทีม่ ขี ้อสงสยั อย่างใกลช้ ิด
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )

ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครใู ชว้ ธิ กี ารสมุ่ วนั เกดิ ของนกั เรยี น เพอื่ เลือกตัวแทนกลุ่มนกั เรยี นให้ออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้น จนครบทุกกลุ่ม
จากน้ันร่วมกันสรุปผลการทากจิ กรรมที่ 2 เร่อื ง การจดั กลุม่ พชื ดังน้ี
1) ใหต้ วั แทนของแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแผนผงั แผนภาพ หรือตาราง ท่ีได้จากการทากิจกรรมที่ 2 เรื่อง
การจัดกลุ่มพชื ตอนที่ 1 จากน้ันใหร้ ว่ มกนั อภปิ รายผลการจดั กลุ่มพืช
2) ใหต้ ัวแทนของแต่ละกล่มุ ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมท่ี 2 เร่ืองการจัดกลุ่มพืช ตอนท่ี 2 จากน้ันให้
นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายผลการสังเกตความแตกต่างของลักษณะภายนอกของพชื ดอกและพืชไม่มดี อก
2. ให้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายผลการทากจิ กรรมจนได้ข้อสรุปว่าพืชบางชนิดมีโครงสร้างส่วนต่างๆ ภายนอกท่ีสาคัญ
ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ และดอก เหมือนกัน จึงจัดเป็นกลุ่มพืชดอก ส่วนพืชบางชนิดที่มีมีโครงสร้างส่วนต่างๆ
ภายนอกที่สาคญั ไดแ้ ก่ ราก ลาตน้ และใบ แต่ไมม่ ีดอกตลอดการดารงชีวติ เหมอื นกันจัดเป็นกลมุ่ พชื ไมม่ ีดอก

คาบท่ี 4

ขน้ั สรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครูถามคาถามท้าทายการคิดข้ันสูง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 12 แล้วให้นักเรียนช่วยกันนาความรู้ที่ได้
จากการศึกษาและทากิจกรรมมาตอบคาถาม ดังนี้
 พชื ดอก เป็นพืชท่มี ดี อกสาหรับใช้ในการสืบพันธ์ุ นักเรียนคิดว่า พืชดอกสามารถสืบพันธ์ุหรือขยายพันธ์ุ
ด้วยวิธกี ารอ่นื หรอื ไม่ อย่างไร

(แนวตอบ : ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ยกตัวอย่างเช่น พืชดอกสามารถขยายพันธ์ุด้วยวิธีอ่ืนได้
เชน่ การปักชา การตดิ ตา การทาบก่ิง การตอนกิง่ การเสยี บยอด เป็นตน้ )
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
2. ครชู บู ัตรภาพข้าวโพดและบัตรภาพไผ่ จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายว่า พืชท้ัง 2 ชนิดนี้มีลักษณะโครงสร้าง
ภายนอกเหมือนกันหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร
3. หากนักเรียนไม่ทราบคาตอบ ครูอาจให้ช่วยกันสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น หนังสือเรียน

หอ้ งสมดุ อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นต้น โดยมคี รคู อยแนะนาเพิ่มเตมิ ในส่วนที่บกพรอ่ ง

4. ครูขออาสาสมัครนกั เรยี น 3-4 คน ให้ออกมาอธิบายคาตอบท่ีสืบค้นได้หน้าชั้นเรียน โดยมีครูคอยตรวจสอบความ

ถกู ต้องของคาตอบ

(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

5. ให้นักเรยี นแต่ละคนทากิจกรรมหนตู อบได้จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 10 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือ
ทาในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หน้า 10

6. ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนนากจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 2จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 12ไปทาเป็นการบ้าน
โดยใหท้ าลงใสสมดุ ประจาตวั นักเรียน หรอื ให้นักเรียนทาในใบงานท่ี 1.2 เร่ือง จาแนกพืชดอกและพืชไม่มีดอก ที่
ครแู จกใหแ้ ลว้ นามาสง่ ในชัว่ โมงถดั ไป
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)

8. ครูส่มุ นกั เรยี นตามเลขที่ 4-5 คน จากนัน้ ใหแ้ ตล่ ะคนอธิบายความร้เู กี่ยวกับความหลากหลายของพืชการจัดกลุ่มพืชดอก จากนั้นให้

นกั เรยี นทง้ั ห้องสรุปความร้รู ว่ มกนั

9. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ

ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชนั้ เรียน

10. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 2 เรื่องการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิต ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด

วิทยาศาสตร์ หนา้ 8-9

11. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมหนูตอบได้ในสมดุ ประจาตวั นักเรยี นหรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรห์ น้า 10

12. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 2 ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในใบงานที่ 1.2 เรื่อง จาแนก

พชื ดอกและพืชไมม่ ดี อก

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วธิ กี ารวัดผล เครือ่ งมือวัด เกณฑ์การ

ประเมินผล

ความรู้ความ 1. สงั เกตและอธิบายลกั ษณะ 1.คาถามกระตุ้น 70% ข้นึ ไป ถอื วา่

เข้าใจ (K) ภายนอกของพชื ชนดิ ตา่ งๆ ได้ ความคดิ ผ่านเกณฑก์ าร

ประเมนิ

ทักษะ/ 1. จาแนกพชื ออกเปน็ พืชดอกและ 1. ใบงานที่ 1.2 เร่อื ง 70% ขึ้นไป ถือวา่
กระบวนการ (P)
พชื ไมม่ ดี อก โดยใช้การมีดอกเป็น จาแนกพชื ดอกและ ผา่ นเกณฑก์ าร
เกณฑ์ได้(P) พชื ไมม่ ีดอก ประเมนิ

2. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพ่อื จาแนกพชื
ชนิดต่างๆ ออกเป็นกลมุ่ ได้
ครบถ้วนทกุ ขน้ั ตอน (P)

คุณลักษณะนสิ ยั (A) 1. มคี วามสนใจและกระตอื รอื ร้น 1. แบบสงั เกต 70% ขึน้ ไป ถอื วา่
ผา่ นเกณฑก์ าร
ในการเรียนรู้ (A) พฤตกิ รรม ประเมิน

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้

7.1 ส่ือการเรียนรู้
8) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวิต
9) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
10) วัสดุ-อปุ กรณก์ ารทดลองในกจิ กรรมที่ 2 เชน่ บตั รภาพพืชมีดอกและพชื ไม่มีดอก เปน็ ต้น
11) ต้นพืชตัวอยา่ ง ได้แก่ ต้นพรกิ ต้นเฟิรน์ ตน้ มอสส์ และตน้ มะเขือเทศ
12) PowerPoint เรื่อง ความหลากหลายของพืช
13) ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง จาแนกพืชดอกและพืชไมม่ ดี อก
14) บัตรภาพพืช (ตน้ ข้าวโพด และตน้ ไผ่)
15) กระดาษแขง็ แผ่นใหญ่
16) สมดุ ประจาตวั นักเรียน

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
4) ห้องเรยี น
5) หอ้ งสมดุ
6) อนิ เทอรเ์ น็ต

8.กจิ กรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)

บตั รภาพ ตน้ ขา้ วโพด 
บตั รภาพ ตน้ ไผ่ 

ใบงานท่ี 1.2
เรอ่ื ง จาแนกพชื ดอกและพชื ไมม่ ดี อก
ให้ดูภาพแล้วบอกช่อื พืช จากนน้ั จาแนกว่าพืชใดเปน็ พืชมีดอก พืชใดเป็นพืชไมม่ ดี อก

 พืชมีดอก ไดแ้ ก่
 พืชไมม่ ีดอก ได้แก่

ใบงานท่ี 1.2 เฉลย
เรอ่ื ง จาแนกพืชดอกและพืชไม่มีดอก

ให้ดภู าพแลว้ บอกช่อื พืช จากนนั้ จาแนกว่าพชื ใดเป็นพชื มดี อก พืชใดเปน็ พืชไม่มดี อก

 พืชมีดอก ได้แก่
กล้วยไม้ ตะบองเพชร ทานตะวันชบา

 พืชไมม่ ดี อก ไดแ้ ก่
มอสสเ์ ฟิรน์

สัปดาห์ท่ี 3

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นที่……1…/…2563……... ช่ือผสู้ อน….…....................................................……...

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 4 คาบ

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ เร่อื ง ศกึ ษากล่มุ พชื ดอก

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การ
เปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรมทมี่ ผี ลตอ่ ส่ิงมชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตัวช้วี ัด ป.4/2 จาแนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไม่มีดอกโดยใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลทรี่ วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

พืชดอก เป็นพืชที่มสี ว่ นสาคญั ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผลและเมล็ด เม่ือพชื ดอกเจริญเติบโตเต็มท่ีแล้วจะผลิตดอก
เพ่อื ใชส้ าหรับการสบื พันธ์ุ หากจดั กลมุ่ พืชดอกโดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็น2 กลุ่มใหญ่ คือพืชใบเล้ียง
เด่ยี วและพชื ใบเลย้ี งคู่ โดยพืชดอกท้ัง 2 กล่มุ น้จี ะมลี กั ษณะโครงสรา้ งสว่ นต่างๆ แตกตา่ งกันไป

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สงั เกตและอธบิ ายลักษณะภายนอกของพชื ดอกได้ (K)
2. จาแนกพชื ดอกเป็นพชื ใบเล้ียงเดีย่ วและพชื ใบเลีย้ งคู่ โดยใช้ลกั ษณะภายนอกของพืชเป็นเกณฑ์ (P)
3. ปฏบิ ัติกิจกรรมเพอ่ื เปรียบเทียบลักษณะภายนอกของพชื ดอกแตล่ ะชนิดได้ครบทกุ ข้ันตอน (P)
4. มีความสนใจในการเรียนรู้และมีความรบั ผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย (A)

4.สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่

พชื ดอกจาแนกไดเ้ ป็นพืชใบเล้ยี งเด่ียวและพืชใบเลย้ี งคู่ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1-2

ขน้ั นา

ขัน้ กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นสนทนากับนักเรียนเพ่ือทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับพืชดอกและพืชไม่มีดอกที่ได้
เรยี นผา่ นมาจากช่ัวโมงก่อน

2. ครูติดบตั รภาพต้นข้าวโพดและตน้ ทานตะวนั ไวท้ ก่ี ระดาน จากน้นั ตง้ั ประเด็นคาถามถามนกั เรยี นวา่ นักเรียนรู้จักต้น
ข้าวโพดกบั ตน้ ทานตะวันหรือไม่
(แนวตอบ : รจู้ กั /ไมร่ จู้ กั )

3. ครถู ามต่อวา่ นกั เรียนคิดวา่ พืช 2 ชนดิ นี้ มีลักษณะภายนอกเหมือนกันหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร โดยครูให้

นกั เรยี นตอบคาถามอยา่ งอิสระโดยและยงั ไม่เฉลยคาตอบ

(แนวตอบ : ข้ึนอยู่กับคาตอบของนักเรยี น ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู ู้สอน)
4. ครแู จ้งช่อื เรอ่ื งทจ่ี ะเรียนรู้ในวันนี้และผลการเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ

ขน้ั สอน

ขั้นสารวจคน้ หา (Explore)
5. ครูใช้เทคนิคคู่คิดสี่สหายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ให้มี

ความสามารถคละกัน (เกง่ -คอ่ นข้างเกง่ -ปานกลาง-ออ่ น)

6. ใหส้ มาชิกแต่ละกล่มุ ร่วมกันกาหนดปญั หาและตั้งสมมติฐานก่อนการทากิจกรรมน จากน้ันให้สมาชิกแต่ละคนของ
กลมุ่ ไปทากิจกรรมท่ี 3 เร่ืองการจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 13-14
จากนัน้ บันทึกลงในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 13

7. เมอ่ื นักเรียนแตล่ ะคนทากิจกรรมเสร็จแลว้ ครูใหน้ ักเรยี นจับคู่กับเพ่ือนท่ีอยู่ในกลุ่มเดียวกัน จากนั้นนาคาตอบที่ได้
จากการทากิจกรรมที่ 3 เรื่องการจัดกลุ่มพืชดอก ตอนท่ี 1 มาผลัดกันอธิบายข้อมูลหรือคาตอบที่ได้จากการทา
กจิ กรรม

8. ให้นักเรยี นทงั้ 2 คู่ กลับมารวมกลมุ่ 4 คนเหมือนเดิม จากนั้นร่วมกันอธิบายคาตอบของตนเองให้เพื่อนในกลุ่มฟัง
แล้วสรปุ ผลร่วมกนั
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ )

ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
ให้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมท่ี 3 เรื่องการจัดกลุ่มพืชดอก ตอนท่ี 1 ทีละกลุ่ม

แลว้ ร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า ต้นข้าวโพดและต้นทานตะวันเป็นพืชดอกที่โครงสร้างส่วนต่างๆ ภายนอกมี
ลกั ษณะแตกตา่ งกนั ซ่งึ สังเกตได้จาก ลกั ษณะของราก ลาต้น และใบ ดังน้ัน โครงสร้างส่วนต่างๆ ภายนอกของพืช
ดอกแต่ละชนดิ มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั

ขน้ั สรุป

ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครูแบ่งครึ่งบนกระดาน แล้วเขียนชื่อต้นข้าวโพดไว้ฝั่งซ้าย เขียนชื่อต้นทานตะวันไว้ฝั่งขวา จากน้ันแบ่งนักเรียน
ออกเป็น 2 ฝา่ ย ฝ่ายหนึ่งคือทีมต้นข้าวโพด อีกฝา่ ยหนง่ึ คือทีมต้นทานตะวนั
2. ใหน้ กั เรยี นท้ัง 2 ฝา่ ยผลัดกันออกมาเขียนช่ือพืชชนิดอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะภายนอกเหมือนต้นพืชที่เป็นช่ือฝ่ายของต้น
โดยให้เวลา 5 นาที
3. เมอ่ื หมดเวลาให้ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ งบนกระดาน จากนัน้ สรปุ ผลและให้คาชมเชยแกน่ ักเรยี นฝา่ ยทช่ี นะ
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความร้เู กีย่ วกบั ลกั ษณะภายนอกของพืชดอก
2. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้ันเรยี น
3. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมที่ 3 เรือ่ งการจดั กลุม่ พืชดอก ตอนท่ี 1 ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หนา้ 13

คาบที่ 3

ขน้ั นา

ข้ันกระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครชู วนนักเรียนสนทนาเก่ยี วกบั พืชใบเลี้ยงเด่ียวและพืชใบเลย้ี งควู่ า่ นักเรยี นรจู้ กั หรือไม่
(แนวตอบ : รู้จกั /ไม่รจู้ กั )
2. ครูนาตัวอย่างใบของพืชใบเล้ียงเด่ียวและใบของพืชใบเลี้ยงคู่อย่างละ 2-3 ชนิด มาให้นักเรียนดู แล้วให้ช่วยกัน
สังเกต
3. ครขู ออาสาสมัครหรือสุ่มตัวแทนของชั้นเรียน 2-3 คน ให้ออกมาเขียนชื่อและชนิดของใบพืชที่สังเกตบนกระดาน
โดยครูยังไมเ่ ฉลยคาตอบ
4. ครถู ามนกั เรียนว่า นกั เรยี นทราบได้อย่างไรวา่ ใบพชื ชนดิ ใดเปน็ พชื ใบเลยี้ งเด่ียว และใบใดเป็นพืชใบเลีย้ งคู่
(แนวตอบ : เช่น สังเกตได้จากเส้นใบ เนื่องจากใบของพืชใบเลี้ยงเด่ียว มีเส้นใบเรียงขนาน ใบของพืชใบเล้ียงคู่มี
เส้นใบเป็นรา่ งแห)

ขน้ั สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูเปิด PPT เร่ือง พชื ใบเล้ยี งเดี่ยวและพชื ใบเล้ยี งคู่ ให้นกั เรยี นดู จากนั้นครใู ห้นกั เรยี นจบั กล่มุ เดมิ จากช่ัวโมงทแ่ี ล้ว

2. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกนั ศึกษาและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมที่ 3 เร่ืองการจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 14จากนน้ั ใหส้ มาชิกแต่ละกลุ่มกาหนดปัญหาและต้ังสมมติฐานก่อนการทากิจกรรม

ร่วมกัน แล้วใหป้ ฏิบตั ิกจิ กรรม ดังน้ี

1) สารวจพชื ดอกชนดิ ตา่ งๆ ภายในบริเวณโรงเรยี นหรอื บา้ น มา 8-10 ชนดิ
2) ช่วยกันสังเกตราก ลาต้น และใบ ของพืชแต่ละชนิดที่สารวจมา แล้วบันทึกผลลงในแบบฝึกหัด

วทิ ยาศาสตร์ หน้า 14
3) นาข้อมลู ท่ีรวบรวมไดม้ าอภิปรายและสรปุ รว่ มกัน จากนัน้ ชว่ ยกันกาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกชนิดพืช

วา่ เปน็ พชื ดอกประเภทใบเล้ยี งเดย่ี ว หรือพชื ใบเลย้ี งคู่
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )

ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ใหน้ ักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จากน้ันนาคาตอบท่ีได้จากการทากิจกรรมท่ี 3 เรื่องการจัดกลุ่มพืช
ดอก ตอนท่ี 2 แล้วผลัดกนั อธบิ ายคาตอบ
2. ให้นักเรียน 2 คู่ กลับมารวมกลุ่ม 4 คนเหมือนเดิม จากน้ันอธิบายคาตอบของตนเองให้เพื่อนในกลุ่มฟัง จากนั้น
สรปุ คาตอบร่วมกัน
3. ครสู มุ่ เลอื กตัวแทนนักเรยี นแต่ละกลมุ่ ให้ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม โดยวิธีการจับสลากหมายเลข จากน้ัน
ตัวแทนของแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมจนครบทุกกลมุ่
นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า เราสามารถใช้ลักษณะของราก ลาต้น และใบของพืชดอกชนิด
ตา่ งๆ เปน็ เกณฑร์ ว่ มกนั เพอื่ ใชใ้ นการจัดกลมุ่ พืชดอก ซ่ึงแบ่งพืชดอกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพืชใบเล้ียงเดี่ยว และ
กลุ่มพืชใบเลีย้ งคู่
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

คาบท่ี 4
ขน้ั สรุป

ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพืชใบเล้ียงเดี่ยวและพืชใบเล้ียงคู่เพ่ิมเติมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
หน้า 15-16
2. ครสู ุม่ เลือกนักเรียน 4-5 คน จากลาดับเลขที่ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนบอกชื่อพืชคนละ 1 ชนิด และอธิบายว่า
เป็นพืชใบเลี้ยงเด่ยี วหรือพชื ใบเล้ยี งคู่ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ : ข้นึ อยกู่ บั คาตอบของนักเรยี น ให้อยูใ่ นดุลยพนิ จิ ของครผู ู้สอน)
3. ครูชบู ตั รภาพพชื ดอกทีละใบ แลว้ ใหน้ กั เรยี นผลัดกันตอบว่า เป็นพชื ใบเลย้ี งเด่ยี วหรือพชื ใบเลย้ี งคู่
4. ใหน้ ักเรียนยกตวั อยา่ งพืช 1 ชนดิ ท่ชี อบหรือสนใจ โดยใหว้ าดภาพและระบายสลี งในสมุดประจาตัวนักเรียน พร้อม
บอกวา่ พืชชนดิ นน้ั ช่ืออะไร และจัดเปน็ พืชประเภทใด (พืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือพืชใบเล้ียงคู่) หรือครูให้นักเรียนทาใบ
งานที่ 1.3 เรือ่ ง พชื ใบเลีย้ งเด่ยี วและพชื ใบเล้ยี งคูท่ ฉ่ี ันชอบ
5. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 14 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน

หรอื ทาในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 15

ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครูใหน้ ักเรียนช่วยกนั สรปุ เกย่ี วกบั การจัดกลมุ่ พืชดอก (พืชใบเล้ียงเด่ียวและพืชใบเลี้ยงคู่) จากน้ันให้ครูอธิบายเสริม
เพม่ิ เตมิ ในส่วนท่ีบกพรอ่ ง
2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ

ทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ช้นั เรยี น
3. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมที่ 3 เรื่องการจัดกลุ่มพืชดอก ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด

วิทยาศาสตร์ หนา้ 13-14
4. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบไดใ้ นสมุดประจาตัวนักเรียนหรอื ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรห์ นา้ 15
5. ครูตรวจสอบผลการยกตัวอยา่ งพชื ดอกทีน่ ักเรยี นชอบในสมุดประจาตวั นกั เรียนหรอื ในใบงานที่ 1.3 เร่ือง พืชใบเล้ียง

เดี่ยวและพืชใบเล้ียงคู่ทฉ่ี นั ชอบ

6. การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมินผล วิธีการวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล
1.คาถามกระตุ้น
ความร้คู วาม 1. สงั เกตและอธิบายลกั ษณะ ความคิด 70% ขึน้ ไป ถือ
เข้าใจ (K) ภายนอกของพืชดอกได้ ว่าผา่ นเกณฑ์
การประเมนิ

ทักษะ/ 1. จาแนกพืชดอกเปน็ พืชใบเล้ยี ง 1. ใบงานที่ 1.3 70% ขึ้นไป ถือ
กระบวนการ (P)
เด่ยี วและพชื ใบเลีย้ งคู่ โดยใช้ เรื่อง พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ว่าผ่านเกณฑ์
ลักษณะภายนอกของพืชเปน็ และพชื ใบเลีย้ งคูท่ ่ชี อบ การประเมิน

2. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพอื่ เปรยี บเทียบ
ลักษณะภายนอกของพชื ดอกแต่
ละชนิดไดค้ รบทกุ ขัน้ ตอน

คณุ ลักษณะนิสยั (A) 1. มคี วามสนใจในการเรยี นรู้และมี 1. แบบสงั เกตพฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือ

ความรับผดิ ชอบต่องานทไ่ี ด้รับ วา่ ผ่านเกณฑ์

มอบหมาย การประเมิน

7. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้

7.1 สอ่ื การเรียนรู้

1. หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ
2. แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่งิ มชี ีวติ
3.บตั รภาพพชื ดอกชนดิ ตา่ งๆ เช่น ทานตะวนั ชบา กลว้ ยไม้ ข้าวโพด กล้วย เปน็ ตน้
4. วัสดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรมท่ี 3 เชน่ แวน่ ขยาย เป็นต้น
5. ใบงาน 1.3 เร่ือง พืชใบเลีย้ งเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ท่ีชอบ
6. PowerPoint เร่ืองพชื ใบเล้ียงเดย่ี วและพชื ใบเล้ยี งคู่
7. ตัวอย่างใบพชื เชน่ ใบขา้ วโพด ใบชบา เป็นต้น
8. แผนภาพลกั ษณะภายนอกของตน้ ทานตะวนั
9. แผนภาพลักษณะภายนอกของต้นข้าวโพด
10. สมุดประจาตัวนักเรยี น
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1. หอ้ งเรยี น
2. หอ้ งสมุด
3. อนิ เทอรเ์ น็ต

8.กิจกรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครูผสู้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผบู้ ริหาร
(......................................................)

แผนภาพ ตน้ ขา้ วโพด



แผนภาพ ตน้ ทานตะวนั



ใบงานที่ 1.3

เรื่อง พืชใบเลยี้ งเดี่ยวและพชื ใบเล้ยี งคูท่ ่ชี อบ

คาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนวาดภาพพชื ใบเลี้ยงเดย่ี วและพชื ใบเลย้ี งคทู่ ีช่ อบ โดยบอกช่อื ชนดิ น้นั
พร้อมระบายสีใหส้ วยงาม

พชื ดอกที่ฉนั ชอบคือ เป็นพืชดอกประเภท

ใบงานที่ 1.3 เฉลย

เรื่อง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพชื ใบเลี้ยงคูท่ ี่ชอบ

คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นวาดภาพพชื ใบเลีย้ งเด่ยี วและพชื ใบเลีย้ งค่ทู ช่ี อบ โดยบอกชอ่ื ชนิดนัน้
พร้อมระบายสใี หส้ วยงาม

(ขนึ้ อยู่กับดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน)

สปั ดาห์ที่ 4-5

โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี……1…/…2563……... ชื่อผ้สู อน….……...................................................……...

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 6 คาบ

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวิต เรอ่ื ง ความหลากหลายของสัตว์

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การ
เปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมทีม่ ผี ลต่อสิ่งมชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี ีวิต รวมท้งั นาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ช้วี ดั ป.4/3 จาแนกสัตวอ์ อกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น
เกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มูลที่รวบรวมได้

ตัวช้ีวัด ป.4/4บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลากลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
กลุ่มสัตวเ์ ลือ้ ยคลาน กลุ่มนก และกลมุ่ สัตว์เล้ียงลกู ดว้ ยน้านม และยกตัวอย่างสิ่งมีชวี ติ ในแต่ละกลุม่

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

สัตวต์ ่างๆ มมี ากมายหลายชนิด ในการจาแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่มสามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ จึงจาแนก
สัตว์ได้เป็นสัตว์มกี ระดกู สนั หลงั และสตั วไ์ มม่ กี ระดูกสันหลงั

สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และ
กลมุ่ สตั ว์เลี้ยงลกู ดว้ ยน้านม ซ่ึงสตั ว์แต่ละกลุ่มจะมลี ักษณะเฉพาะท่สี ังเกตได้แตกต่างกนั ไป

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สังเกตและบรรยายลกั ษณะเฉพาะทสี่ งั เกตไดข้ องสัตวม์ ีกระดกู สันหลงั ได้ (K)
2. จาแนกสัตว์ออกเปน็ สัตว์มกี ระดูกสันหลังและสัตวไ์ ม่มีกระดูกสนั หลัง โดยใช้การมกี ระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑ์ได้(P)
3. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพ่อื จาแนกสัตว์ออกเปน็ กลุ่มไดถ้ ูกต้องตามขน้ั ตอน (P)
4. มคี วามสนใจและกระตอื รือรน้ ในการเรยี นรู้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่

สาระการเรียนร้แู กนกลาง

- ใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ในการจาแนก พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
สตั วม์ ีกระดกู สันหลังและสตั วไ์ มม่ กี ระดูกสันหลงั

- สตั ว์มกี ระดูกสนั หลังมหี ลายกลมุ่ ไดแ้ ก่ กลุม่ ปลา
กลุม่ สตั วส์ ะเทินน้าสะเทินบก กลุม่ สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน
กลุ่มนก และกลุ่มสัตวเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนา้ นม

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1.ครใู หน้ กั เรียนดูภาพสตั ว์ 5 ชนิดจากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนา้ 17 แล้วใหร้ ว่ มกันอภปิ ราย ดงั นี้
1) จากภาพ เปน็ สัตวช์ นิดใด นักเรยี นรู้จกั สตั ว์ทง้ั 5 ชนิดนห้ี รือไม่

(แนวตอบ : ชา้ ง ปู นก ตกั๊ แตน และววั )
2) นกั เรียนคดิ ว่า สัตว์ทง้ั 5 ชนดิ นี้ มลี ักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอยา่ งไรบ้าง

(แนวตอบ : ขึ้นอย่กู บั คาตอบของนกั เรยี น ใหอ้ ยู่กับดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน)
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั สอน

ข้นั สารวจค้นหา (Explore)
1. ครใู หน้ ักเรยี นอา่ นข้อมลู ในหวั ข้อท่ี 3 ความหลากของสตั ว์ จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 17
2. ครูถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความคิดว่า สัตว์แต่ละชนิดมีโครงสร้างภายในร่างกายเหมือนกันหรือต่างกัน อย่างไร
โดยใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันแสดงความคดิ เหน็ ได้อยา่ งอิสระ
3. ครูสนทนากบั นกั เรียนว่า นักเรียนเคยสังเกตหรอื ไม่วา่ บริเวณบ้าน โรงเรยี น หรอื ชมุ ชนที่นกั เรียนอาศยั อยนู่ ัน้ มีสัตว์
อะไรบา้ ง แล้วให้นักเรยี นชว่ ยกันยกตัวอย่าง
4. ครอู ธิบายเพิ่มเติมว่า จากการสงั เกตบริเวณบ้าน โรงเรียน หรือในชุมชน เราจะพบสัตว์ต่างๆ มากมายท้ังที่มีขนาด
เลก็ และขนาดใหญ่ ทั้งทอี่ าศยั อยบู่ นบกและอาศัยอย่ใู นนา้ ท้งั ท่มี ีขาและไมม่ ขี า ดงั น้นั เพอ่ื ใหส้ ามารถศกึ ษาเก่ียวกับ
สตั ว์ตา่ งๆ ได้สะดวกข้ึน นักวิทยาศาสตรจ์ งึ จาแนกสัตวอ์ อกเป็นกลุ่ม โดยใช้การมีกระดกู สันหลังเปน็ เกณฑ์
5. ครสู นทนากับนกั เรยี นเก่ยี วกบั ลักษณะของสัตวท์ ี่มีกระดกู สนั หลงั โดยให้นกั เรยี นจบั คกู่ ับเพื่อน (เพศเดียวกัน) แล้ว
ให้นักเรียนคนหนึ่งชี้กระดูกสันหลังของเพ่ือนว่าอยู่บริเวณใดของร่างกาย จากน้ันให้นักเรียนลองใช้มือคลาแนว
กระดกู สันหลงั ของตนเอง
6. ใหน้ กั เรยี นช่วยกนั อธบิ ายลักษณะของกระดูกสนั หลงั จากน้นั ครูอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจว่า กระดูกสันหลัง
เป็นกระดกู ท่ีมลี ักษณะตอ่ กันเปน็ ข้อๆ และทาหน้าทเี่ ปน็ แกนกลางของร่างกาย
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
7. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน โดยครูใช้วิธีการจับสลากหมายเลขกลุ่มกลุ่มท่ี 1-10 หากนักเรียนคนใดจับ
สลากไดห้ มายเลขใดก็ให้ไปอยู่ท่ีกลุ่มนั้น จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละคนเข้ากลุ่มของตนเอง แล้วให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มไปช่วยกันศึกษาวิธีการทากิจกรรมที่ 4 การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนท่ี 1-2จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 18
พร้อมกบั เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณส์ าหรบั การทากิจกรรมในช่วั โมงถดั ไปให้ครบถ้วน

คาบที่ 2

ขนั้ สารวจคน้ หา (Explore) (ต่อ)
1.ครูให้นักเรียนศกึ ษาความรู้จาก PPT เร่ือง ความหลากหลายของสตั ว์ จากนั้นสนทนากับนักเรียน เก่ียวกับการเตรียม
ตัวและการเตรยี มวัสดุ-อปุ กรณ์สาหรับการทากิจกรรมของนักเรยี นแต่ละกลมุ่
2.ครูให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ แต่ละกลุม่ ทากิจกรรมที่ 4 เร่อื ง การจดั กลุม่ สตั ว์ ตอนที่ 1โดยปฏิบัติ ดังนี้
1)ใหศ้ ึกษาขนั้ ตอนการทากจิ กรรมท่ี 4 เรื่องการจดั กลุม่ สัตว์ ตอนท่ี 1จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 18
อย่างละเอียด หากมีขอ้ สงสยั ใหส้ อบถามครู
2)สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการทากิจกรรม แล้วบันทึกลงใน
แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 18
3)แต่ละกลุ่มนาสัตว์ 3 ชนิด ท่ีน่ึงสุกแล้ว ได้แก่ กุ้ง หอย และปลาทู มาทากิจกรรม โดยวางสัตว์ลงในถาด
จากน้ันสังเกตลักษณะภายนอกของสัตว์ แล้วบนั ทึกผล
4)ศึกษาลกั ษณะภายในของสัตว์โดยใช้มีดผ่าตัดตวั สัตวต์ ามแนวยาว แลว้ บนั ทึกผล
5) รวบรวมข้อมูล จากนน้ั อภปิ รายผลการทากิจกรรมและสรปุ ผลร่วมกนั ภายในกล่มุ
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
3.ครูสุ่มเรียกนกั เรียน 2-3 กล่มุ ใหอ้ อกมานาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชั้นเรียน จากน้ันร่วมกันอภิปรายและสรุปผล
การทากิจกรรมในชน้ั เรียน

คาบท่ี 3

ขั้นสารวจค้นหา (Explore) (ต่อ)
1.ครูสนทนกับนกั เรียนเก่ยี วกบั ผลการทากิจกรรมในการสารวจโครงสร้างภายนอกและโครงสรา้ งภายในของปลาทู หอย
และกุ้ง จากชั่วโมงท่ีแล้ว จากน้ันขออาสาสมัครนักเรียน 1-2 ให้สรุปอีกคร้ังเพ่ือทบทวนร่วมกันว่า ปลามีกระดูกเป็น
ขอ้ ๆ อยภู่ ายในลาตัวจงึ จัดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง ส่วนกุ้งและหอยเม่ือผ่าดูแล้วไม่พบกระดูกภายในลาตัว จึงจัดเป็น
สัตว์ไม่มีกระดกู สันหลัง
2. ครูต้ังคาถามกระตนุ้ ความคดิ โดยให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ดังน้ี
1) นักเรียนคดิ ว่า สัตว์มกี ระดูกสันหลังกบั สัตวไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั มลี กั ษณะแตกตา่ งกันอย่างไรบ้าง
(แนวตอบ : สตั ว์มีกระดกู สันหลังมกี ระดูกแข็งเป็นแกนกลางของลาตัว ส่วนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็น
สัตวท์ ไ่ี มม่ ีกระดูกแข็งเปน็ แกนกลางของลาตัว)
2) สตั ว์ชนิดใดบา้ งเปน็ สัตว์มีกระดูกสนั หลัง สตั วช์ นิดใดบ้างเปน็ สตั ว์ไม่มีกระดูกสนั หลงั
(แนวตอบ : สัตว์มกี ระดูกสนั หลงั เชน่ สนุ ขั กระตา่ ย แมว งู จระเข้ ลิง เพนกวนิ เป็นต้น สตั ว์ไมม่ กี ระดูก
สันหลัง เชน่ กง้ิ กอื หอยทาก มด แมงปอ เป็นต้น)
4.ครใู หน้ กั เรยี นจับกล่มุ เดมิ จากช่ัวโมงก่อน แลว้ ให้แต่ละกล่มุ ทากิจกรรมท่ี 4 เรือ่ ง การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนที่ 2โดยปฏิบัติ
ดังน้ี
1) ใหศ้ กึ ษาขนั้ ตอนการทากิจกรรมที่ 4 เร่อื งการจดั กลมุ่ สัตว์ ตอนที่ 2จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 19
อยา่ งละเอียด หากมีข้อสงสัยให้สอบถามครู
2) แตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั สืบคน้ ขอ้ มูลเก่ยี วกับสตั วม์ กี ระดกู สันหลังและสัตว์ไมม่ ีกระดสู นั หลังจากแหลง่ การเรียนรู้
ต่างๆ เชน่ หอ้ งสมดุ หนังสือ อนิ เทอร์เน็ต เปน็ ตน้ จากนั้นนาขอ้ มูลท่ไี ดม้ าสรปุ ร่วมกัน

3) แตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนรบั บัตรภาพสตั วต์ ่างๆ จากครู กลมุ่ ละ 8-10 ภาพ จากนั้นให้ช่วยกนั สังเกตโครงสร้าง
และลักษณะของสัตวใ์ นภาพ

4) ช่วยกันจัดกลุ่มสัตว์ในภาพ โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ หรือจากเกณฑ์อื่นๆ ท่ีสมาชิกในกลุ่ม
ชว่ ยกนั คิด

5) นาข้อมูลการจดั กลุ่มสตั วม์ าจัดทาแผนผัง แผนภาพ หรืออ่ืนๆ ลงในกระดาษแข็งแผ่นใหญ่แล้วตกแต่งให้
สวยงาม จากนนั้ ส่งตัวแทนนาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
5.ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 กลุม่ ใหอ้ อกมานาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชั้นเรียน จากนั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปผล
การทากจิ กรรมภายในชั้นเรียน

คาบที่ 4

ข้ันอธบิ ายความรู้ (Explain)
1.ครูใหแ้ ตล่ ะกลุ่มผลดั กันออกมานาเสนอผลการจัดกลุ่มสัตว์ จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า สัตว์
บางชนดิ มีกระดกู ตอ่ กันเปน็ ข้อๆ ทาหนา้ ทีเ่ ป็นแกนกลางของรา่ งกาย เช่น ปลา แมว วัว เป็นต้น และสัตว์บางชนิดไม่มี
กระดกู ต่อกันเป็นขอ้ ๆ ทาหนา้ ที่เป็นแกนกลางของร่างกาย เช่น กุ้ง หมึก ผีเส้ือ เป็นต้น จากลักษณะเช่นน้ี จึงสามารถ
นามาใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการจาแนกสัตว์ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สตั วม์ กี ระดูกสันหลงั และสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลงั

ขน้ั สรปุ

ข้ันขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1.ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 10 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือ
ทาในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า x
2.ครใู หน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ รายวา่ นอกจากการใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลังแล้ว นักเรียนสามารถจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้
เกณฑ์อื่นอกี ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร จากน้ันครใู ห้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นอย่างอสิ ระ
(แนวตอบ : ขนึ้ อยกู่ ับดลุ ยพนิ ิจของครูผสู้ อน)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
3.ครูให้นักเรียนทุกคนศึกษาข้อมูลในหัวข้อ 3.1 สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 20
4.ครูให้นักเรียนแต่ละคนทากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 3จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 20โดยให้ทาลงใสสมุด
ประจาตัวนกั เรียน หรือทาในใบงานท่ี1.4 เร่ืองจาแนกสัตวม์ ีกระดกู สนั หลัง ท่ีครูแจกให้โดยให้ดูภาพสัตว์แล้วจาแนกว่า
เป็นสตั ว์มกี ระดูกสนั หลังประเภทใด พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบ
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
5.ครใู หน้ กั เรยี นดวู ดี ทิ ัศน์สารคดเี กีย่ วกับสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั จากนนั้ ครนู าบตั รภาพ ปลา กบ จระเข้ นก และสุนัข มา
ให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายว่า เราควรแบ่งสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็นก่ีประเภท โดยสังเกตได้จากอะไร โดยให้
นกั เรียนชว่ ยกนั คดิ และอธิบายคาตอบร่วมกนั
(แนวตอบ : ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น เราจัดประเภทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง โดยดูจากลักษณะ
สาคญั ในการเคลื่อนท่ี การหายใจ และการสบื พันธุ์)

6.ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับประเภทของสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 21-
26
7. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ ตามความสมคั รใจ กลุ่มละ 3-4 คน เพ่ือทากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 4จากหนังสือเรียน

วทิ ยาศาสตร์ หน้า 26โดยให้ทาลงใสสมุดประจาตัวนักเรียน หรือทาในใบงานที่ 1.5 เร่ืองวิเคราะห์ลักษณะของ
สัตวม์ ีกระดกู สันหลงั ที่ครแู จกใหโ้ ดยให้ร่วมกนั วิเคราะห์ลกั ษณะของสัตว์และจาแนกว่าเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ประเภทใด และยกตวั อยา่ งช่ือสัตวป์ ระเภทนี้
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
8. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน 5 คน จากกลุ่มต่างๆ ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมท่ีหน้าช้ันเรียนคนละ 1 ข้อ
โดยครเู ฉลยคาตอบทถี่ กู ต้อง พรอ้ มอธิบายเพ่อื ให้นกั เรียนเกิดความเขา้ ใจ

คาบที่ 5

ข้นั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ตอ่ )
1.ครูให้นกั เรยี นดูวดี ทิ ัศนส์ ารคดีเกี่ยวกบั สัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลัง จากนั้นครูนาบัตรภาพฟองน้าแมงกะพรุน พยาธิใบไม้
ไส้เดือน ดาวทะเล หอยแครง ผีเส้ือ มาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายว่าเราแบ่งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้เป็นกี่
ประเภท โดยสังเกตได้จากอะไร
(แนวตอบ : ข้นึ อยกู่ ับดุลยพินิจของครผู ูส้ อน)
2.ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาความรู้เพ่มิ เติมเก่ยี วกับประเภทของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 27-
29
3.ครใู ห้นกั เรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรูท้ ่ี 5จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 30โดยใหท้ าลงใสสมุด
ประจาตวั นกั เรียน หรอื ทาในใบงานที่ 1.6 เร่ืองจาแนกสตั ว์มีกระดูกสนั หลังและสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลัง ทคี่ รูแจกให้โดย
ใหด้ ภู าพและจาแนกว่าสตั ว์ชนดิ ใดเปน็ สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั หรอื สตั ว์ไม่มกี ระดูกสันหลงั พรอ้ มกับบอกเหตุผลประกอบ
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
4.ครสู ่มุ เรยี กตวั แทนนกั เรยี นประมาณ 5-6 คน ออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรมที่หน้าชน้ั เรยี น โดยให้ครูอธิบายเสริม
เพมิ่ เติมเพอื่ ให้นกั เรียนเกิดความเขา้ ใจมากยิ่งข้ึน
5.ครถู ามคาถามท้าทายการคิดขัน้ สงู จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 12 แล้วให้นักเรียนช่วยกันนาความรู้ที่ได้จาก
การศึกษาและทากิจกรรมมาตอบคาถาม ดังนี้

 ถ้านาสุนขั และเตา่ ไปอย่ดู ว้ ยกันในบริเวณท่ีมีอุณหภมู ิต่า นักเรียนคิดว่า อุณหภูมิภายในร่างกายของสัตว์
ทั้ง 2 ชนดิ น้ี จะแตกต่างกันหรอื ไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ : แตกต่างกัน เพราะสุนขั เป็นสตั วเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยน้านม จัดเป็นสัตว์เลือดอุ่น มีอุณหภูมิร่างกาย
คงท่ี ไม่เปลีย่ นแปลงไปตามสภาพแวดล้อม สว่ นเต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานจัดเป็นสัตว์เลือดเย็น มีอุณหภูมิ
ร่างกายเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ดังนั้น เมื่อนาเต่าไปอยู่ในบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า
อุณหภมู ิภายในร่างกายของเตา่ จะต่าลงไปด้วย)

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
6.ครูให้นักเรยี นชว่ ยกันพูดสรุปเกยี่ วกับลกั ษณะสาคัญของสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จากนั้นครู
อธิบายเสรมิ เพ่ิมเติมในสว่ นท่ีบกพร่อง

คาบท่ี 6

ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ต่อ)
1.ครสู นทนากับนักเรยี นเพื่อทบทวนความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกับเนอื้ หาทไ่ี ด้เรยี นผ่านมาจากหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 บทที่ 1
กลุ่มสง่ิ มชี ีวติ โดยส่มุ เรยี กช่อื นักเรียนใหอ้ อกมาเลา่ ว่าตนเองไดร้ บั ความรอู้ ะไรบ้าง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
2.ใหน้ ักเรียนเขยี นสรปุ ความร้เู กยี่ วกบั เรื่องทีไ่ ด้เรียนมาจากบทที่ 1 ในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ แผนภาพแผนผังความคิด เป็น
ตน้ ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรืออาจทากิจกรรมสรุปความรูป้ ระจาบทที่ 1 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 20
3.นักเรยี นทากิจกรรมฝึกทกั ษะบทท่ี 1 จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 31-33 ขอ้ 1-8 ลงในสมุดประจาตวั นกั เรียน
หรอื ทาในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 21-24
4.นกั เรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมท้าทายการคดิ ขนั้ สูงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 25
5.ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ 3-4 คน จากน้ันศกึ ษากจิ กรรมสรา้ งสรรค์ผลงานจากหนังสือเรียนหน้า 33 แล้วให้ปฏิบัติ
กิจกรรมโดยมขี นั้ ตอน ดังนี้

 ใหร้ วบรวมภาพพืชจากหนังสอื ต่างๆ หรือนิตยสารต่างๆ ทไี่ มใ่ ชแ้ ล้ว

 นาภาพพืชทร่ี วบรวมไดม้ าจัดทาเปน็ โมบายแขวนหน้าตา่ ง เพ่อื จาแนกกลุ่มพชื

 ตกแต่งใหส้ วยงาม แลว้ นาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น พร้อมอธิบายเกณฑท์ ีใ่ ชใ้ นการจัดกลมุ่ พชื
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate)
1.ให้นักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 30 จากนั้นครูถามนักเรียนเป็นรายบุคคล
ตามรายการขอ้ 1-5 จากตาราง เพ่อื เป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนหลังจากการเรียน หากนักเรียน
คนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ท่ีควรปรับปรุง ให้ครูทบทวนบทเรียนหรือหากิจกรรมอื่นซ่อมเสริม เพื่อให้
นักเรียนมีความรู้ความใจในบทเรยี นมากขึ้น
2.ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชั้นเรยี น
3.ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมที่ 4 เรื่องการจัดกลุ่มสัตว์ ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
หน้า 18
4.ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบไดใ้ นสมดุ ประจาตวั นกั เรยี นหรือในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตรห์ น้า 19
5.ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ท่ี 3 4 และ 5 ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในใบงานท่ี 1.4 1.5
และ 1.6
6.ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมสรุปความรู้ประจาบทที่ 1 ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
หนา้ 20
7.ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมฝึกฝนทักษะบทที่ 1 ในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หน้า
21-24
8.ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมทา้ ทายการคดิ ขัน้ สงู ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตรห์ นา้ 25
9.ครูตรวจช้ินงานโมบายแขวนจาแนกกลุม่ พชื และการนาเสนอชนิ้ งาน/ผลงาน หน้าชัน้ เรยี น

6. การวดั และประเมินผล วิธีการวัดผล เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ าร
ประเมนิ ผล
การวัดและประเมินผล
จดุ ประสงค์ 70% ขึ้นไป ถอื
ว่าผ่านเกณฑ์
ความรคู้ วาม 1. สงั เกตและบรรยายลกั ษณะ 1.คาถามกระตุ้นความคิด การประเมนิ
เข้าใจ (K) เฉพาะทีส่ งั เกตได้ของสตั ว์มีกระดูก
สนั หลงั ได้

ทักษะ/ 1.จาแนกสตั ว์ออกเปน็ สัตวม์ ี 1.ใบงานท่ี1.4เรือ่ งจาแนก 70% ขน้ึ ไป ถอื
กระบวนการ (P)
กระดกู สันหลังและสตั วไ์ ม่มกี ระดกู สัตว์มกี ระดกู สนั หลงั วา่ ผา่ นเกณฑ์
คุณลกั ษณะนิสัย (A)
สนั หลัง โดยใช้การมกี ระดูกสันหลัง 2.ใบงานที่1.5เร่ือง การประเมนิ

เป็นเกณฑ์ได้ วเิ คราะห์ลักษณะของสัตว์

2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพ่ือจาแนกสัตว์ มกี ระดกู สนั หลัง

ออกเป็นกลุ่มได้ถูกต้องตาม 3.ใบงานท1่ี .6 เร่ืองจาแนก

ขน้ั ตอน สตั ว์มีกระดูกสันหลังและ

สัตว์ไม่มีกระดกู สนั หลงั

1. มคี วามสนใจและกระตือรอื ร้น 1. แบบสงั เกตพฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือ

ในการเรียนรู้ ว่าผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ

7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

7.1 สอ่ื การเรียนรู้
1)หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ิต
2)แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
3)วัสดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรมท่ี 4 เชน่ ปลาทู กงุ้ และหอยทนี่ ึ่งสกุ แลว้ เปน็ ตน้
4)วัสดุ-อุปกรณใ์ นการทากจิ กรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เช่น เชือก หลอดพลาสตกิ กระดาษสี เปน็ ตน้
5)ใบงานท่ี 1.4 เร่ือง จาแนกสัตว์มีกระดกู สันหลงั
6)ใบงานที่ 1.5 เรอ่ื ง วเิ คราะหล์ กั ษณะของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลัง
7)ใบงานที่ 1.6 เรื่อง จาแนกสัตว์มีกระดูกสนั หลังและสตั ว์ไมม่ กี ระดูกสนั หลงั
8)วีดทิ ัศนส์ ารคดีเก่ียวกับสตั ว์มีกระดกู สนั หลังและสัตวไ์ ม่มกี ระดกู สันหลัง
9)PowerPoint เรื่อง ความหลากหลายของสตั ว์
10)บตั รภาพสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั เช่น ปลา กบ จระเข้ นก สุนัข เป็นต้น
11)บตั รภาพสตั ว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั เชน่ แมงกะพรุน ไสเ้ ดือน ดาวทะเล หอยแครง ผเี สอ้ื เปน็ ตน้
12)กระดาษแข็งแผ่นใหญ่
13)สมดุ ประจาตัวนักเรียน

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1)ห้องเรียน
2)หอ้ งสมุด

8.กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ ............................................

ลงชอื่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผู้บริหาร
(...........................................................)

ตวั อย่างบตั รภาพสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั







ตวั อย่างบตั รภาพสตั วไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลงั







ใบงานท่ี 1.4

เร่อื ง จาแนกสตั ว์มีกระดกู สนั หลัง

ดูภาพแล้วบอกชอื่ สัตว์ จากน้นั จาแนกวา่ เปน็ สตั ว์มกี ระดูกสันหลังประเภทใด พรอ้ มใหเ้ หตุผล

1. สัตวช์ นดิ นี้คอื 2. สัตว์ชนิดน้คี ือ 3. สัตวช์ นดิ นค้ี ือ

เป็นสตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั ประเภท เป็นสตั ว์มีกระดูกสันหลังประเภท เป็นสตั วม์ กี ระดูกสนั หลังประเภท

4. สตั ว์ชนิดนคี้ อื 5. สตั ว์ชนดิ น้คี ือ 6. สัตวช์ นิดนคี้ อื

เป็นสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ประเภท เป็นสัตว์มีกระดกู สนั หลงั ประเภท เป็นสตั ว์มีกระดูกสนั หลงั ประเภท

7. สตั ว์ชนดิ น้คี อื 8. สัตวช์ นดิ นีค้ ือ 9. สตั ว์ชนิดน้ีคอื

เปน็ สัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ประเภท เปน็ สตั วม์ ีกระดูกสันหลงั ประเภท เป็นสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ประเภท

ใบงานท่ี 1.4 เฉลย

เรอื่ ง จาแนกสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั

ดภู าพแล้วบอกชื่อสัตว์ จากน้ันจาแนกว่าเปน็ สตั ว์มกี ระดกู สนั หลงั ประเภทใด พรอ้ มใหเ้ หตุผล

1. สัตว์ชนิดนีค้ อื แมว 2. สตั ว์ชนดิ น้ีคือนก 3. สตั ว์ชนดิ นค้ี อื งู

เป็นสตั ว์มกี ระดกู สนั หลังประเภท เปน็ สตั วม์ ีกระดกู สันหลังประเภท เปน็ สตั ว์มีกระดกู สันหลงั ประเภท
สัตวเ์ ลี้ยงลูกด้วยน้านม นก สัตว์เลอ้ื ยคลาน

4. สตั วช์ นดิ น้คี ือกบ 5. สตั ว์ชนดิ น้ีคอื ปลาทอง 6. สตั ว์ชนิดน้คี อื ม้าน้า

เปน็ สตั ว์มกี ระดูกสันหลังประเภท เป็นสัตว์มีกระดกู สนั หลงั ประเภท เปน็ สตั ว์มีกระดกู สันหลังประเภท
สัตวส์ ะเทินนา้ สะเทินบก ปลา ปลา

7. สัตว์ชนดิ นีค้ อื ค้างคาว 8. สตั ว์ชนดิ น้ีคือไก่ 9. สัตวช์ นดิ นคี้ ือเตา่

เป็นสตั วม์ กี ระดูกสนั หลังประเภท เปน็ สตั ว์มกี ระดกู สันหลงั ประเภท เปน็ สตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั ประเภท
สตั วเ์ ล้ียงลูกด้วยน้านม นก สตั วเ์ ลื้อยคลาน

ใบงานท่ี 1.5

เรื่อง วเิ คราะหล์ กั ษณะของสตั ว์มกี ระดูกสนั หลัง

นักเรียนแบง่ กลุม่ จากนน้ั ใหแ้ น่ละกลมุ่ ร่วมกันวเิ คราะหล์ ักษณะของสตั ว์ และจาแนกว่าเป็นสัตว์มีกระดูก
สันหลงั ประเภทใด และยกตวั อย่างชอื่ สัตว์ประเภทนัน้

ลาดับ ลักษณะของสตั ว์ การหายใจ การสบื พันธุ์ ชนดิ ของสัตว์

1 เป็นสัตวเ์ ลอื ดเย็น ไมม่ ีขา ไมม่ ี ใช้ปอด - ออกลกู เปน็ ไขท่ ม่ี เี ปลือก
ขน มเี กลด็ แข็งและแห้ง แขง็ หมุ้

2 เปน็ สัตว์เลือดเย็น มีครีบ ใช้เหงือก - มกี ารปฏิสนธิภายนอก
ผวิ หนังเปน็ เมือกล่นื ๆ - ส่วนใหญอ่ อกลกู เป็นไข่

3 เปน็ สัตว์เลือดอนุ่ มตี ่อมน้านม ใช้ปอด - มกี ารปฏิสนธิภายใน
ผวิ หนงั มีขนปกคลมุ ตาม - ออกลกู เปน็ ตวั
ร่างกาย

4 เป็นสัตวเ์ ลอื ดเยน็ มีผิวหนัง ใชป้ อดและ - มกี ารปฏสิ นธิภายนอก
เปียกชื้นตลอดเวลา มีขา 2 คู่ ผวิ หนงั - ออกลูกเป็นไข่ที่มีว้นุ หุ้ม

5 เป็นสัตว์เลือดอนุ่ มขี นเปน็ แผง ใช้ปอด - มีการปฏสิ นธภิ ายใน

ปกคลมุ ลาตัวขาคูห่ น้าพฒั นาไป - ออกลกู เปน็ ไข่ท่มี เี ปลือก
เปน็ ปีก มขี า 2 ขา แขง็ หมุ้

ใบงานที่ 1.5 เฉลย

เรอ่ื ง วเิ คราะหล์ ักษณะของสัตวม์ กี ระดูกสนั หลัง

นักเรียนแบ่งกลุ่ม จากน้นั ใหแ้ น่ละกล่มุ รว่ มกนั วเิ คราะหล์ กั ษณะของสตั ว์ และจาแนกวา่ เป็นสตั วม์ ี
กระดูกสนั หลงั ประเภทใด และยกตัวอย่างชื่อสัตวป์ ระเภทนั้น

ลาดบั ลกั ษณะของสตั ว์ การหายใจ การสืบพนั ธ์ุ ชนดิ ของสัตว์

1 เป็นสตั ว์เลอื ดเย็น ไม่มขี า ไมม่ ี ใช้ปอด - ออกลกู เปน็ ไขท่ ี่มีเปลอื ก กล่มุ สตั ว์เล้ือยคลาน

ขน มเี กลด็ แขง็ และแหง้ แข็งห้มุ เชน่ งเู หา่ งเู ขียวงู

จงอาง

2 เป็นสตั ว์เลอื ดเยน็ มีครบี ใช้เหงอื ก - มกี ารปฏิสนธิภายนอก กลมุ่ ปลา เช่น
ผวิ หนังเปน็ เมอื กลืน่ ๆ - ส่วนใหญอ่ อกลูกเป็นไข่ ปลาช่อน

ปลาดุก ปลากัด

3 เปน็ สัตวเ์ ลือดอ่นุ มีตอ่ มน้านม ใชป้ อด - มีการปฏสิ นธภิ ายใน กลุ่มสัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ย
ผิวหนังมีขนปกคลุมตาม - ออกลกู เป็นตัว น้านม เช่น
ร่างกาย
ลงิ ววั ม้า

4 เป็นสตั ว์เลือดเย็น มีผวิ หนัง ใช้ปอดและ - มกี ารปฏสิ นธภิ ายนอก กลุ่มสัตว์สะเทนิ น้า
เปยี กช้นื ตลอดเวลา มีขา 2 คู่ ผิวหนงั - ออกลกู เปน็ ไข่ท่มี ีวนุ้ หมุ้ สะเทนิ บก

เช่นกบ คางคก
เขยี ด อง่ึ อา่ ง

5 เปน็ สตั วเ์ ลือดอนุ่ มีขนเปน็ แผง ใช้ปอด - มกี ารปฏสิ นธิภายใน กลมุ่ นก เชน่

ปกคลมุ ลาตวั ขาคหู่ น้าพฒั นาไป - ออกลูกเป็นไขท่ ี่มีเปลอื ก เป็ด ไก่ นก
เปน็ ปีก มีขา 2 ขา แขง็ หมุ้

ใบงานที่ 1.6

เรือ่ ง จาแนกสัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั
ดูภาพแล้วจาแนกวา่ สัตวช์ นิดเป็นสัตวม์ กี ระดกู สันหลัง และสัตว์ชนิดใดเปน็ สตั ว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั
พร้อมใหเ้ หตุผลประกอบ

1) 2) 3)

4) 5) 6)

1. สตั ว์มีกระดกู สันหลงั ไดแ้ ก่
เพราะ

2. สตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลงั ได้แก่
เพราะ

ใบงานท่ี 1.6 เฉลย

เร่อื ง จาแนกสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั และสัตว์ไมม่ ีกระดูกสันหลัง

ดูภาพแลว้ จาแนกว่า สตั ว์ชนิดเปน็ สตั ว์มีกระดูกสันหลงั และสัตว์ชนดิ ใดเปน็ สตั ว์ไม่มกี ระดกู สนั หลัง
พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ

1) 2) 3)

4) 5) 6)

1. สัตว์มกี ระดูกสนั หลังไดแ้ ก่1) ไก่ 4) ปลา 6) สนุ ขั
เพราะ มีกระดูกที่เปน็ แกนของร่างกายอยภู่ ายในลาตัว

2. สตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลังได้แก่2) กุ้ง 4) หอยทาก 6) หมกึ
เพราะ ไมม่ ีกระดกู ทเ่ี ปน็ แกนของร่างกายอย่ภู ายในลาตวั

สัปดาห์ท่ี 5-6

โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี……1…/…2563……... ชื่อผูส้ อน….……...................................................……...

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 3 คาบ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวิต เรื่อง หนา้ ที่ของสว่ นตา่ งๆ ของพชื ดอก

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสง่ิ มชี ีวิต หน่วยพื้นฐานของสง่ิ มชี ีวติ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธข์ อง
โครงสร้างและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆ ของสตั ว์ที่ทางานสัมพันธก์ ัน ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของอวยั วะต่างๆ
ของพืชท่ที างานสัมพนั ธ์กัน รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชวี้ ัด ป.4/1 บรรยายหน้าทข่ี องราก ลาต้น ใบ และดอก ของพชื ดอก โดยใชข้ อ้ มลู ทร่ี วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

พืชดอกมีส่วนตา่ ง ๆ ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสว่ นตา่ ง ๆ เหลา่ นี้จะทาหน้าท่ีตา่ งกันไป

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. สงั เกตและบรรยายหน้าที่ของสว่ นต่างๆ ของพืชดอกได้ (K)
2. เปรยี บเทียบพชื ดอกทมี่ ีลกั ษณะโครงสร้างเหมือนกนั และแตกต่างกันได้(P)
3. มคี วามสนใจและกระตอื รอื รน้ ในการเรียนรู้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิ่น
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
สว่ นตา่ งๆ ของพืชดอก ทาหนา้ ทแ่ี ตกต่างกนั

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทักทายกับนักเรยี น แลว้ แจ้งผลการเรียนร้ทู จ่ี ะเรยี นในวันนี้ให้นกั เรยี นทราบ
2. ครกู ระต้นุ ความสนใจของนกั เรียนเก่ยี วกบั เรือ่ งท่ีจะเรียนในวนั นี้ โดยใหน้ กั เรยี นดตู น้ พชื ตวั อยา่ ง (ต้นมะเขือเทศท่ียังออ่ น
อย)ู่ ทีค่ รูเตรยี มไว้ จากนัน้ ครูตัง้ คาถามกระตุ้นความคิดวา่ เมือ่ พชื มกี ารเจรญิ เติบโตจะทาให้โครงสร้างของพชื มกี าร
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร แล้วใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ระดมความคดิ ในการตอบคาถาม
(แนวตอบ : เช่น มีการเปลย่ี นแปลง ต้นพชื จะมีโครงสรา้ งส่วนตา่ งๆ ครบ ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก และผล)
ครถู ามคาถามสาคัญประจาบทจากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 34 วา่ สว่ นต่างๆ ของพชื มีหน้าทีเ่ หมือนกันหรอื
แตกตา่ งกัน อยา่ งไร แล้วใหน้ กั เรียนช่วยกันอธบิ ายคาตอบ
(แนวตอบ : โครงสร้างสว่ นตา่ งๆ ของพืช ทาหน้าที่แตกตา่ งกนั )
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)


Click to View FlipBook Version