The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-11 10:06:27

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

3. ครใู ห้นักเรียนศกึ ษาภาพและเรียนรคู้ าศัพท์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การเรยี นในบทที่ 2 จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 34 โดย
ครูเป็นผู้อ่านนาและให้นักเรยี นอ่านตาม แลว้ ให้นักเรยี นเขียนคาศพั ทล์ งในใบงานท่ี 1 ดงั นี้

Stoma (สโตมา) ปากใบ
เซลล์คุม
Guard cell (กาด เซ็ล)
ท่อลาเลียงน้า
Xylem (ไซเลม็ ) ทอ่ ลาเลยี งอาหาร
การสงั เคราะห์ด้วยแสง
Phloem (โฟลเอม็ )

Photosynthesis (โฟโทซิน’ธซิ ิส)

4. ครูแจกใบงานที่ 1.7 เรือ่ ง คาศพั ท์โครงสรา้ งส่วนตา่ งๆ ของพชื ดอก ใหน้ ักเรยี นนากลบั ไปทาเป็นการบ้าน โดยให้วาดภาพ
หรือตดิ ภาพของคาศพั ท์ขา้ งตน้ จากนัน้ หาข้อมูลเกยี่ วกับหน้าท่ีของคาศัพท์นั้น แลว้ นามาส่งในช่วั โมงถัดไป

5. ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนวาดภาพตน้ พชื ดอก พร้อมระบุโครงสรา้ งตา่ งๆ และหน้าท่ีของสว่ นตา่ งๆของพชื ดอกลงในสมดุ
ประจาตัวนกั เรยี น หรอื ใหท้ ากิจกรรมนาสกู่ ารเรียนในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 27

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั สอน

ขนั้ สารวจค้นหา (Explore)

1. ครูให้นกั เรยี นร่วมกนั ศกึ ษาขอ้ มูลและภาพพชื ในหัวขอ้ หนา้ ทข่ี องสว่ นต่างๆ ของพืชในหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า
35 แล้วถามคาถามเพอ่ื ทบทวนความรู้เดิมว่า ส่วนต่างๆ ของพชื ทาหนา้ ที่อะไรบา้ ง
(แนวคาตอบ : หนา้ ทีต่ ่างกนั คอื

ราก – ดูดซมึ นา้ และแร่ธาตุในดิน
ลาต้น - ชกู ิ่ง ก้าน ใบ ใหไ้ ด้รับแสงแดด และเปน็ ทางลาเลยี งนา้ และอาหาร

ใบ - สรา้ งอาหาร
ดอก - ชว่ ยในการสืบพนั ธุ์
ผล - ห่อหุ้มเมลด็ )
2. ให้นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายเพ่อื ให้ไดข้ ้อสรปุ วา่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผลและเมล็ด มีหนา้ ท่อี ะไรบ้าง

คาบที่ 2

ข้ันสารวจคน้ หา (Explore)

3.ครูนาภาพโครงสรา้ งภายนอกของพืชมาติดบนกระดาน แล้วใหน้ กั เรยี นสังเกตและรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นจากภาพวา่
หมายเลข 1-5 เปน็ โครงสร้างสว่ นใดของพืช

4.ครสู ่มุ นักเรียน 5-6 คน ให้ออกมาแสดงความคดิ เหน็ หนา้ ช้ันเรยี น จากนน้ั ใหน้ กั เรียนแต่ละคนในหอ้ งยกตวั อยา่ งตน้ พชื
ดอกที่นกั เรียนรูจ้ ักมาคนละ 1 ชนิด

5.ครูแบ่งนักเรยี นเป็นกลมุ่ กลุม่ ละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เกง่ -คอ่ นข้างเก่ง-ปานกลาง-ออ่ น ให้แตล่ ะกลุ่ม
ร่วมกนั ศกึ ษาความรูเ้ รอื่ ง โครงสรา้ งสว่ นตา่ งๆ ภายนอกของพืช จาก PPT เรอื่ ง หนา้ ทข่ี องส่วนตา่ งๆ ของพชื ดอก จากนน้ั ให้
แตล่ ะกลุม่ นาข้อมลู มาอภปิ รายและสรุปรว่ มกนั ภายในกลมุ่ แลว้ จัดทาเปน็ แผนผัง แผนภาพ หรอื อน่ื ๆ ลงในกระดาษแข็ง เพ่ือ
สรปุ ความร้เู กี่ยวกับ โครงสรา้ งส่วนตา่ งๆ ภายนอกของพชื และหน้าท่ขี องสว่ นต่างๆ เหลา่ นนั้
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ขน้ั อธบิ ายความรู้ (Explain)

1.ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานของกลุม่ หน้าชน้ั เรยี น โดยครูสมุ่ จับสลากเลือกนักเรยี นทลี ะกล่มุ
2. นกั เรยี นแต่ละกมุ่ ออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน จากนั้นรว่ มกนั สรปุ ขอ้ มูล

3.ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันตอบคาถามกระตนุ้ ความคิดวา่ ลกั ษณะโครงสรา้ งภายนอกของพชื แตล่ ะชนดิ เหมอื นกนั
หรอื ไม่ จากนน้ั ขออาสาสมัครนกั เรยี น 3-4 คน จากกลุ่มต่างๆ ใหต้ อบคาถาม
(แนวคาตอบ : ไมเ่ หมอื นกัน เพราะพืชตา่ งชนิดกัน ลักษณะโครงสร้างสว่ นตา่ งๆ ภายนอกกจ็ ะแตกตา่ งกันดว้ ย)
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

คาบท่ี 3

ขั้นขยายความเข้าใจ (Elaborate)

ครูถามคาถามกระตุ้นความคิดนกั เรยี น โดยให้นักเรียนภายในช้ันเรยี นแสดงความคิดเหน็ และอภปิ รายคาตอบร่วมกัน ดงั น้ี

1)นักเรยี นคิดว่า โครงสรา้ งภายนอกของพืชสว่ นใดสาคญั ท่ีสุด เพราะอะไร
2)ตน้ มะเขือกบั ตน้ ถัว่ มลี กั ษณะโครงสร้างภายนอกท่เี หมือนกนั หรือไม่ อยา่ งไร
3)โครงสร้างส่วนตา่ งๆ ของพืช มคี วามสาคัญต่อการเจริญเตบิ โตของพืชหรือไม่ อยา่ งไร

(แนวตอบ : ขึน้ อยกู่ บั คาตอบของนกั เรียน โดยให้อยู่ในดลุ ยพินิจของครูผูส้ อน)
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate)

1.ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ยี วกับลักษณะโครงสร้างสว่ นต่างๆ ภายนอกของพชื ดอกว่า โครงสรา้ งภายนอกของพชื ดอก

ที่สาคญั ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก และผล ซึ่งโครงสร้างเหล่านท้ี าหน้าท่แี ตกต่างกัน และมีการทางานประสานกนั เป็นระบบ
จงึ ทาใหพ้ ชื สามารถดารงชีวติ อย่ไู ด้

2. ครูประเมนิ ผลนักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบคุ คล พฤติกรรมการทางาน
กลุม่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชน้ั เรยี น

3.ครูตรวจสอบผลการทาใบงานท่ี 1.7 เรอื่ ง คาศัพท์โครงสร้างส่วนต่างๆ ของพชื ดอก

4.ครูตรวจผลการวาดภาพต้นพืชดอกในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรือตรวจผลการทากิจกรรมนาสูก่ ารเรียนในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หน้า 27

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมินผล วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ 1.คาถามกระต้นุ ความคดิ ประเมนิ ผล

ความรคู้ วาม 1.สงั เกตและบรรยายหนา้ ทีข่ อง 1.ใบงานท่ี 1.7เรื่อง 70% ข้นึ ไป
เขา้ ใจ (K) ส่วนตา่ งๆ ของพืชดอกได้ คาศัพท์โครงสร้างสว่ น ถือวา่ ผา่ น
ต่างๆ ของพชื ดอก เกณฑก์ าร
ทกั ษะ/ 1.เปรยี บเทยี บพืชดอกทีม่ ลี กั ษณะ 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ประเมนิ
กระบวนการ (P) โครงสรา้ งเหมือนกันและแตกตา่ ง
กันได้ 70% ข้นึ ไป
ถอื วา่ ผา่ น
คณุ ลักษณะนสิ ยั (A) 1.ความสนใจและกระตือรอื รน้ ใน เกณฑ์การ
การเรยี นรู้ ประเมิน

70% ขึ้นไป
ถอื วา่ ผ่าน
เกณฑก์ าร
ประเมนิ

7. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สื่อการเรยี นรู้

1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวติ
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ
3) ภาพโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น ตน้ ทานตะวนั ต้นมะเขือเทศ เปน็ ตน้
4) ใบงานท่ี 1.7 เร่ือง คาศพั ท์โครงสรา้ งสว่ นต่างๆ ของพืชดอก
5) PowerPoint เร่ือง หน้าที่ของสว่ นตา่ งๆ ของพืชดอก
6) กระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่

7) สมุดประจาตวั นกั เรยี น

7.2 แหล่งการเรียนรู้

1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมดุ
3) อนิ เทอร์เน็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................ครผู ู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผูบ้ ริหาร
(...........................................................)

ใบงานที่ 1.7
เรือ่ ง คาศัพท์โครงสรา้ งสว่ นต่างๆ ของพืชดอก
คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนวาดภาพหรอื ติดภาพโครงสรา้ งสว่ นตา่ ง ๆ ของพืชดอก พรอ้ มบอกหนา้ ท่ี
ของโครงสร้างสว่ นนน้ั

คาศพั ท:์
คาอ่าน:
คาแปล:
หน้าท:่ี

คาศัพท:์
คาอ่าน:
คาแปล:
หนา้ ท่ี:

คาศัพท:์
คาอา่ น:
คาแปล:
หน้าท่ี:

คาศัพท:์
คาอ่าน:
คาแปล:
หน้าท:่ี

คาศพั ท:์
คาอา่ น:
คาแปล:
หน้าที:่

ใบงานท่ี 1.7 เฉลย

เร่อื ง คาศัพทโ์ ครงสร้างส่วนต่างๆ ของพืชดอก

คาชแี้ จง : ให้นักเรยี นวาดภาพหรือตดิ ภาพโครงสรา้ งส่วนตา่ ง ๆ ของพืชดอก พร้อมบอกหน้าท่ี
ของโครงสรา้ งส่วนนน้ั

คาศพั ท์:STOMA”

..

คาอ่าน:สโตรมา.

..

คาแปล:ปากใบ .

..

หน้าท:่ี หายใจ โดยมีการแลกเปลย่ี นแกส๊ ทางปากใบ และคายน้าออกมา ซ่ึงพชื จะ

คายนา้ ออกมาในรปู ของไอนา้ ผา่ นทางปากใบ.

คาศัพท์:XYLEM ”

..

คาอา่ น:ไซเล็ม .

..

คาแปล:ท่อลาเลยี งนา้ .

..

หน้าที่:ทอ่ ลาเลียงนา้ ทาหนา้ ทล่ี าเลียงนา้ และแรธ่ าตไุ ปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพืชและ

ลาเลยี งนา้ ไปสใู่ บของพืช เพือ่ ใช้ในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง .

คาศัพท:์ PHLOEM ”

..

คาอา่ น:โฟลเอ็ม.

..

คาแปล:ท่อลาเลยี งอาหาร.

..

หน้าท:ี่ ท่อลาเลยี งอาหาร ทาหนา้ ท่ลี าเลยี งอาหารทสี่ รา้ งจากใบไปเลย้ี งส่วนตา่ งๆ

ของพชื .

คาศพั ท:์ STEM ”

..

คาอา่ น:สะเตม็ .

..

คาแปล:ลาต้น .

..

หนา้ ท่ี:ลาตน้ ทาหน้าที่ชกู ่ิง ก้าน ใบ เป็นทางผา่ นในการลาเลยี งน้าและแรธ่ าตทุ ี่ราก.

ดูดขนึ้ มา และเป็นทางผา่ นลาเลียงอาหารท่สี ร้างจากใบไปเลย้ี งส่วนตา่ งๆ ของพืช.

คาศพั ท์:ROOT ”

..

คาอ่าน:รูท .

..

คาแปล:ราก .

..

หนา้ ท่ี:ราก ทาหนา้ ท่ยี ดึ ลาตน้ ของพืช ใหต้ ง้ั บนดินไดโ้ ดยไม่ให้ลม้ รวมทั้งดูดน้า .

และแร่ธาตใุ นดินไปเลีย้ งส่วนต่าง ๆ ของพืช .

สัปดาห์ที่ 6

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี……1…/…2563……... ชื่อผู้สอน….……...................................................……...

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 3 คาบ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ เรื่อง ศกึ ษาท่อลาเลียงของพืช

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสง่ิ มชี ีวิต หนว่ ยพ้ืนฐานของสิง่ มชี ีวติ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธข์ อง
โครงสร้างและหนา้ ทข่ี องระบบตา่ งๆ ของสัตว์ที่ทางานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะตา่ งๆ
ของพืชที่ทางานสมั พนั ธ์กัน รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้วี ดั ป.4/1 บรรยายหน้าทขี่ องราก ลาต้น ใบ และดอก ของพชื ดอก โดยใช้ข้อมูลทร่ี วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

รากเปน็ โครงสรา้ งของพืชท่ีอยู่ใต้ดินและแผ่ขยายออกไป เพื่อยึดลาต้นให้ตั้งอยู่บนดิน รากมีหน้าท่ีดูดน้าและแร่ธาตุ
จากดินข้ึนไปสู่ส่วนต่างๆ ของพืชโดยผ่านทางลาต้น ส่วนลาต้นมีหน้าที่ลาเลียงน้า แร่ธาตุ และอาหาร ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ
ของพืช โดยภายในลาต้นของพืชมีทอ่ ลาเลียง ซึง่ ประกอบด้วยท่อลาเลียงน้า และท่อลาเลียงอาหาร เพ่ือลาเลียงน้าและแร่
ธาตจุ ากดนิ และลาเลียงอาหารจากใบพชื

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. สงั เกตและบรรยายหนา้ ท่ีรากและลาต้นของพืชดอกได้ (K)
2. สงั เกตและอธิบายเก่ยี วกบั โครงสรา้ งของทอ่ ลาเลยี งภายในต้นพืชได้ (K)
3. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมการทดลองเพอ่ื อธบิ ายหน้าที่ทอ่ ลาเลียงของพชื ได้ครบทุกข้นั ตอน (P)
4. รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไี่ ด้รับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ

รากพืช ทาหน้าท่ีดูดน้าและแร่ธาตุไปสู่ลาต้น ส่วน พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

ลาต้นพชื ทาหนา้ ทลี่ าเลยี งนา้ สง่ ต่อไปยังส่วนต่างๆ

ของพืช

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูต้งั ประเด็นคาถามเพ่อื ทบทวนความรู้เดมิ ของนกั เรยี นจากการเรียนรใู้ นชั่วโมงที่ผา่ นมา โดยใหน้ ักเรียนยกมือเพ่ือ
ตอบคาถาม ดังน้ี

1) โครงสรา้ งภายนอกของพชื ประกอบดว้ ยส่วนใดบา้ ง
2) นักเรียนคดิ วา่ รากมีความสาคญั ต่อการดารงชีวติ ของพชื หรือไม่ อยา่ งไร
3) นักเรียนคดิ วา่ พชื แตล่ ะชนดิ จะมีลักษณะของรากเหมอื นกันหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร
4) ลาตน้ มคี วามสาคัญต่อการเจริญเตบิ โตของพืชอยา่ งไร
5) ลาตน้ ของพืชแตล่ ะชนดิ เหมือนกนั หรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร
6) นกั เรยี นคิดวา่ เพราะเหตใุ ดลาต้นของพชื แตล่ ะชนดิ จึงไมเ่ หมือนกนั

(แนวตอบ : พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน)
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
2. ครูแจง้ ชือ่ เรอื่ งท่จี ะเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นร้ใู หน้ กั เรียนทราบ
3. ครูนาบตั รภาพรากและลาตน้ ของพชื ลักษณะต่างๆ มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ อธบิ ายเพ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั หน้าท่ีของรากและ
ลาต้น เพ่อื เช่ือมโยงเขา้ สกู่ ารทากิจกรรมว่า รากเป็นโครงสรา้ งของพชื ท่ีเจรญิ เติบโตลงดินและแผ่ขยายออกไป ซึ่ง
มีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามชนิดของพืชส่วนภายในลาต้นมีท่อลาเลียง ทาหน้าท่ีลาเลียงน้า แร่ธาตุ และ
อาหาร ไปเลีย้ งสว่ นต่างๆ ของพืช ลาตน้ พชื แต่ละชนดิ มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป
4. ครใู หน้ กั เรยี นเลน่ เกมหอยแบ่งฝาเพือ่ ต้องการแบ่งกลุ่มนกั เรียนออกเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยครู อธิบายวิธีการ
เล่นใหน้ ักเรยี นฟัง จากนนั้ ให้นักเรยี นเล่นเกม 2-3 คร้งั จนไดก้ ล่มุ ครบทกุ คนโดยมีวิธกี ารเล่น ดงั นี้

ครูให้นกั เรียนแต่ละคนคิดว่าตนเองต้องการเป็นตัวหอย หรือต้องการเป็นฝาหอย โดยครู
จะออกคาสั่งแล้วให้นักเรียนว่ิงไปรวมกลุ่มกัน ซึ่งกาหนดให้นักเรียนท่ียืนล้อมวงคือ ฝาหอย
และนักเรยี นทีอ่ ยูใ่ นวง คือตัวหอย ท้ังนี้นักเรียนคนใดที่ไม่มีกลุ่ม หรือนักเรียนกลุ่มใดมีจานวน
ฝาหอย หรือจานวนตัวหอยไม่ครบตามจานวนท่คี รอู อกคาสัง่ จะถูกนาออกมาทากิจกรรมพิเศษ
ดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ เช่น การเตน้ ตามเพลง การร้องเพลง หรืออ่ืนๆ ตามความเหมาะสม ตัวอย่าง
การออกคาสัง่ ของครู เชน่

1) มหี อย 2 ตวั อย่ใู นฝา 4 ฝา 2) มฝี า 6 ฝา ลอ้ มหอย 3 ตวั 3) ฝาเปลยี่ นหอย

5. เม่ือแบ่งกลุม่ นักเรียนแลว้ ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มกลับไปชว่ ยกันเตรยี มอุปกรณ์และศึกษาข้ันตอน
การทากิจกรรมที่ 1 เร่ือง หน้าที่ของส่วนต่างๆ ของพืช ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า
36-37 มาลว่ งหน้ากอ่ นการทากจิ กรรมในชว่ั โมงถัดไป

คาบที่ 2

ขน้ั สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูทบทวนความรู้เดมิ เก่ยี วกับรากและลาต้นของพืชใหน้ กั เรยี นฟงั จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นช่วยกันระดมความคิดเก่ียวกับ
หน้าทข่ี องราก และลาตน้ ของพืชว่ามกี ระบวนการลาเลียงน้าและธาตอุ าหารอย่างไร
2. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิมท่ีได้แบ่งไว้เม่ือช่ัวโมงท่ีแล้ว จากน้ันครูแจ้งจุดประสงค์ของในการทากิจกรรม แล้วให้
นักเรยี นทากิจกรรมท่ี 1เรอ่ื ง หน้าทีข่ องสว่ นตา่ งๆ ของพืช ตอนท่ี 2 จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 36-37
3. ครูใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค LT มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยกาหนดให้สมาชิกแต่ละคนภายใน
กลุ่มมบี ทบาทหน้าทข่ี องตนเอง ดังน้ี

สมาชกิ คนท่ี 1 : ทาหนา้ ท่ีเตรียมอปุ กรณต์ ่างๆ
สมาชกิ คนท่ี 2 : ทาหนา้ ท่ีอ่านลองทาดู ทาความเข้าใจ และนามาอธบิ ายให้ สมาชิก

ภายในกลมุ่ ฟงั
สมาชกิ คนท่ี 3 : ทาหนา้ ทบ่ี ันทกึ ผลการทดลอง
สมาชิกคนที่ 4 : ทาหนา้ ท่นี าเสนอผลการทดลอง

4. ครูให้สมาชิกของแต่ละกลุ่มช่วยกันกาหนดปัญหาและต้ังสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการทากิจกรรม จากน้ันร่วมกัน
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามขัน้ ตอน ดงั น้ี
1) สมาชกิ คนที่ 1 เตรยี มและตรวจสอบอปุ กรณท์ งั้ หมดท่ใี ช้ในการทากจิ กรรม
2) สมาชิกคนที่ 2 อธิบายวิธีทากิจกรรมให้เพอ่ื นภายในกลมุ่ ฟงั เพ่อื ให้ปฏิบตั ิตามได้ถูกต้อง
3) สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันลงมือทากิจกรรมโดยนาต้นเทียนมาล้างรากให้สะอาด แล้วสังเกตลักษณะ
ของรากและลาต้น จากนั้นคาดคะเนว่า เม่ือนารากและลาตน้ ของตน้ เทยี นไปแชใ่ นน้าหมกึ สีแดงทิ้งไว้ 30
นาที จะเกดิ ผลอย่างไร แล้วใหส้ มาชกิ คนที่ 3 บันทึกผลลงในสมุดหรอื แบบฝึกกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ป.4
หนา้ 4
4) สมาชกิ ทุกคนช่วยกันทากิจกรรมเพ่ือตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยเทน้าหมึกสีแดง10 มิลลิลิตร ลงใน
บกี เกอรท์ ม่ี ีน้าเปลา่ อยู่ 100 มลิ ลลิ ติ ร แล้วนาต้นเทียนแช่ทิ้งไว้ จากนั้นนาไปวางตากแดดท้ิงไว้ประมาณ
30 นาที
5) เม่ือครบ 30 นาที ให้นกั เรียนนาลาตน้ ของต้นเทียนมาตัดตามขวางและตามยาวจากนั้นใช้แว่นขยายหรือ
กล้องจุลทรรศน์ส่องดูลักษณะภายในของลาต้น แล้วให้สมาชิกคนที่ 3 บันทึกผลลงในสมุดหรือ
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรป์ .4 เลม่ 1 หนา้ 30
6) สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทากจิ กรรมภายในกลมุ่

5. ครตู ั้งคาถามหลงั การทากิจกรรมเพอื่ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันแสดงความคดิ เห็น ดังนี้
1) ก่อนและหลังนาลาตน้ ของตน้ เทยี นไปแช่ในนา้ หมึกสีแดง ลาตน้ ของตน้ เทยี นมลี ักษณะอยา่ งไร
(แนวตอบ : กอ่ นแช่ลาตน้ มลี กั ษณะสีเขยี วใส หลังแช่ลาตน้ มลี ักษณะสีแดงใส)
2) เมอ่ื นาลาต้นของตน้ เทียนมาตัดตามขวางและตามยาว นักเรียนสังเกตเห็นลักษณะภายในลาต้นของต้น
เทียนเป็นอย่างไร และมสี ว่ นประกอบอะไรบา้ ง
(แนวตอบ : ภายในลาต้นของตนเทยี นมีโครงสรา้ งท่ีเรยี กวา่ ท่อลาเลียง ซ่งึ ประกอบดว้ ย
ท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลยี งอาหาร)

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

คาบที่ 3

ข้นั อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเก่ียวกับรากและลาต้นของพืช รวมถึงท่อลาเลียงของพืชจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
หน้า 38-39 หรือแหล่งการเรียนรู้อ่ืนๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เป็นต้น แล้วให้นาข้อมูลที่ได้มารวบรวมและ
สรปุ ผลกับการทากจิ กรรม
2. ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทน (สมาชิกคนที่ 4 ของกลุ่ม) ออกมานาเสนอผลการทดลองเพื่อตรวจสอบความรู้ของ
นกั เรยี นหลงั การทากิจกรรมที่ 1 โดย โดยครูสุ่มจับสลากเลือกนกั เรยี นทีละกลมุ่ ให้ออกมานาเสนอหน้าชน้ั เรยี น
3. ตวั แทนแตล่ ะกลุม่ ออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน จากนนั้ ร่วมกนั อภปิ รายความรู้เก่ียวกับหน้าท่ีรากและลาต้น
ของพชื วา่ จากการทากิจกรรมเมอ่ื นักเรยี นสงั เกตลาตน้ ท่ตี ัดตามขวางจะเหน็ ว่ามสี แี ดงอยู่เป็นจดุ ๆ ซงึ่ เกดิ จากการที่

รากดูดน้าสแี ดงข้ึนไปสู่ลาตน้ ทีเ่ ปน็ เชน่ น้เี พราะภายในลาต้นจะมที ่อเลก็ ๆอยู่ เรยี กว่า ท่อลาเลียง เม่ือรากพืชดูดน้า
และแร่ธาตจุ ากดนิ ทอ่ ลาเลยี งน้าจะนานา้ และแรธ่ าตขุ น้ึ ไปเพือ่ เล้ยี งส่วนตา่ งๆ ของพืช
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

ขน้ั สรปุ

ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูและนักเรยี นชว่ ยกันสรุปผลการทดลองของชว่ั โมงที่แลว้ อีกคร้ัง เพ่ือเปน็ การทบทวนทบทวน
2. ครูต้ังคาถามเพื่อต่อยอดในการทดลองว่ารากและลาต้นมีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างไรอีกบ้าง
นอกเหนือจากขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากการทากจิ กรรมท่ผี ่านมา จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนสบื คน้ ข้อมลู จากแหล่งการเรียนรู้
ตา่ งๆ
3. ใหน้ กั เรียนจับคู่กันโดยใช้เทคนิคเพ่ือนคู่คิด เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีสืบค้นมา จากน้ันร่วมกัน
สรปุ ความรู้
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )

4. ครสู ่มุ เลอื กนกั เรยี น 2-3 คู่ ใหอ้ อกมานาเสนอขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการสืบค้น และให้นกั เรยี นทั้งห้องร่วมกันอภิปรายและ
สรปุ ผล

5. ครูถามคาถามทา้ ยทายการคิดข้ันสูง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 37 แล้วให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและ
สรปุ คาตอบรว่ มกนั ดงั น้ี

 รากเป็นสว่ นของพชื ทีท่ าหน้าทีด่ ดู นา้ และแร่ธาตไุ ปเลีย้ งส่วนต่างๆ ของพชื หากพืชไม่มีราก พืชจะสามารถ
ดารงชีวิตอยู่ไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบ : สามารถดารงชวี ิตอย่ไู ด้ เพราะหากพืชไม่มรี าก แต่ต้นพืยังมีลาต้นอยู่ ซ่ึงภายในลาต้นพืชมีท่อ
ลาเลียงทีส่ ามารถลาเลยี งน้าและแร่ธาตุไปสสู่ ่วนต่างๆ ของพืชได้ จึงทาใหพ้ ชื สามารถดารงชีวิตอยู่ได้)

(หมายเหตุ : ครูประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
6. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์หน้า 37 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือใน

แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 31
ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถามเพื่อสรุปความเข้าใจหลังเรียนว่า รากและลาต้นมีการทางานท่ีประสานกันเป็น
ระบบอย่างไร
(แนวตอบ : รากของพืชดดู นา้ และแรธ่ าตจุ ากดินผ่านทอ่ ลาเลียงภายในลาต้นของพืชเพ่ือนาไปเล้ียงส่วนต่างๆ ของ
พชื )

2. ครปู ระเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ช้ันเรยี น

3. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 1 เรอื่ งหน้าท่ีของสว่ นต่างๆ ของพืช ในสมดุ ประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หนา้ 30

4. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบไดใ้ นสมดุ ประจาตัวนกั เรียนหรือในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรห์ น้า 31

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมินผล วธิ ีการวดั ผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ
จุดประสงค์ ประเมินผล
1.คาถามกระตุ้นความคดิ 70% ข้ึนไป
ความรู้ความ 1.สังเกตและบรรยายหนา้ ท่ีราก ถือว่าผา่ น
เข้าใจ (K) และลาต้นของพืชดอกได้ 1. กิจกรรมกระบวนการ เกณฑ์การ
2. สังเกตและอธบิ ายเกีย่ วกับ ทางวทิ ยาศาสตร์การ ประเมนิ
ทักษะ/ โครงสร้างของท่อลาเลียงภายใน ลาเลียงนา้ และแรธ่ าตขุ อง
กระบวนการ (P) ตน้ พชื ได้ พชื 70% ขนึ้ ไป
1. แบบสงั เกตพฤติกรรม ถือว่าผ่าน
1.ปฏิบัติกจิ กรรมการทดลองเพื่อ เกณฑ์การ
อธบิ ายหนา้ ท่ีทอ่ ลาเลยี งของพืชได้ ประเมนิ
ครบทุกข้นั ตอน 70% ข้นึ ไป
ถอื วา่ ผา่ น
คณุ ลักษณะนิสัย (A) 1.รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ ับ เกณฑ์การ
มอบหมาย ประเมนิ

7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

7.1 สื่อการเรยี นรู้
17) หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ
18) แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มีชีวิต
19) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 1 เชน่ ตน้ เทยี น นา้ หมึกสแี ดง มีด บีกเกอร์ เป็นต้น
20) บตั รภาพรากและลาต้นของพืชชนิดตา่ งๆ
21) PowerPoint เรอ่ื งหนา้ ท่ีของส่วนต่างๆ ของพืชดอก
22) สมดุ ประจาตวั นกั เรียน

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) หอ้ งสมดุ
3) อนิ เทอร์เน็ต

8.กจิ กรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ...................................................ผูบ้ รหิ าร
(...........................................................)

สปั ดาห์ที่ 7

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนที่……1…/…2563……... ชื่อผ้สู อน….……...................................................……...

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 4 คาบ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ เรอ่ื ง การคายน้าของพชื

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของส่งิ มีชีวิต หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมชี ีวติ การลาเลยี งสารผ่านเซลล์ ความสมั พนั ธข์ อง
โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบต่างๆ ของสัตวท์ ่ที างานสัมพนั ธก์ นั ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ขี องอวยั วะตา่ งๆ
ของพชื ที่ทางานสัมพันธก์ นั รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชี้วดั ป.4/1 บรรยายหนา้ ทีข่ องราก ลาต้น ใบ และดอก ของพืชดอก โดยใช้ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

ใบเปน็ โครงสรา้ งท่สี าคัญของพืช ทาหนา้ ที่สรา้ งอาหาร และหายใจซ่ึงเป็นการแลกเปลย่ี นแก๊สเชน่ เดียวกบั คนและสัตว์
ใบของพชื ทาหน้าท่คี ายน้า ซึ่งการคายน้ามปี ระโยชนต์ ่อพืช เพราะชว่ ยทาให้เกดิ การลาเลยี งน้าและแร่ธาตอุ ยา่ งต่อเนอ่ื ง

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สังเกตและบรรยายหนา้ ท่ีใบของพืชดอกได้ (K)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมเพอ่ื อธิบายการคายนา้ ของพืชได้ครบถ้วนตามขั้นตอน (P)
3. ให้ความรว่ มมอื ในการทากิจกรรมและรบั ผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน

ใบพืช ทาหน้าท่ีสร้างอาหาร อาหารท่ีพืชสร้างข้ึน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

คอื น้าตาล ซึ่งจะถกู สะสมไว้ในรปู แปง้

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครนู าภาพรูปรา่ งลกั ษณะของใบมาให้นักเรียนดู แลว้ สนทนากบั นักเรียนวา่ นกั เรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่า ใบของพืช
ส่วนใหญ่มีลกั ษณะอย่างไร
(แนวตอบ : ขน้ึ อยู่กับส่งิ ทนี่ กั เรยี นสงั เกตเห็น เชน่ ใบสเี ขียว ใบเรยี วยาว เป็นเสน้ ขนาน เป็นต้น)
2. ครใู ห้นักเรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ วา่ ลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันของใบพชื ขน้ึ อยู่กบั ส่ิงใด
(แนวตอบ : ชนิดของใบพชื )

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครแู บ่งกลุ่มใหน้ กั เรียนกลุ่มละ 3-4 คน ใหม้ ีความสามารถคละกนั (เก่ง-คอ่ นขา้ งเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) จากน้ันให้แต่
ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง ใบของพืช จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่นหนังสือเรียน ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต
เป็นตน้
2. เมอื่ สืบค้นข้อมูลได้แล้ว ครูให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาอภิปรายร่วมกันโดยผลัดกัน
เล่าทลี ะคนเรยี งตามลาดับแบบเลา่ เร่อื งรอบวงในประเดน็ สาคัญ ดังนี้
 โครงสรา้ งสาคัญของใบ
 หนา้ ทีส่ าคญั ของใบ
3. ครูแจกใบงานที่ 1.8 เรื่อง ใบของพืช ให้นักเรียนแต่ละคนทา จากน้ันให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอธิบาย
คาตอบในใบงานที่ 1.8 โดยเรียงตามลาดบั ทลี ะคนแบบเลา่ เร่อื งรอบวง

ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain)
ครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้ันเรียน จากน้ันครูเฉลยคาตอบในใบงานที่

1.8 แล้วใหส้ มาชิกแตล่ ะกลุม่ ตรวจสอบผลงาน พร้อมปรบั ปรงุ แก้ไขให้ถูกต้อง
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )

ขน้ั สรุป

ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูถามคาถามกระตุ้นความคดิ วา่ จากนัน้ สุ่มเลอื กนกั เรยี นตามลาดับเลขท่ี 2-3 ให้ตอบคาถาม ดังนี้
1) ใบมคี วามสาคัญต่อการดารงชีวิตของพชื อยา่ งไร
(แนวตอบ : สรา้ งอาหาร แลกเปลย่ี นแกส๊ และคายน้า)
2) การคายนา้ ของพืชมีประโยชน์อย่างไร
(แนวตอบ : ชว่ ยให้ใบพชื มีความชุ่มชน้ื ชว่ ยลดความรอ้ นในใบ และลาต้นพืช)
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกันอภิปรายความรูจ้ ากการทากจิ กรรมจนไดข้ อ้ สรปุ ว่า ใบเปน็ โครงสรา้ งท่ีสาคัญของพืช มีลักษณะ
แตกตา่ งกนั ไปตามชนดิ ของพืช ใบมหี น้าท่ีสรา้ งอาหารมาใชใ้ นการเจรญิ เตบิ โตของพืช หายใจ และคายน้า
2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชน้ั เรียน
3. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 1.8 เรื่อง ใบของพชื

คาบที่ 2

ขน้ั นา

ขั้นกระต้นุ ความสนใจ (Engage)
ครูสนทนากบั นกั เรียนวา่ พืชคายนา้ ได้อยา่ งไร และด้วยวิธใี ด จากนัน้ ให้นกั เรียนช่วยกันตอบคาถามอย่างอิสระ โดยที่
ครยู งั ไม่เฉลยคาตอบ
(แนวตอบ : ข้ึนอยู่กบั คาตอบของนักเรยี น ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของครูผ้สู อน)

ขน้ั สอน

ข้ันสารวจคน้ หา (Explore)
1. ให้นกั เรยี นจับกลุ่มกัน (กลุ่มเดิมจากชั่วโมงที่ 1)ร่วมกันสืบค้นความรู้เรื่อง การคายน้าของใบไม้ จากหนังสือเรียน
หอ้ งสมดุ และแหล่งข้อมูลอน่ื ๆ จากนั้นรว่ มกนั สรุปขอ้ มูล
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การทดลองให้นักเรียนฟัง เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการคายน้าของใบไม้
จากนนั้ ถามคาถามเพอื่ กระตนุ้ ความคิดของนกั เรยี นก่อนทากิจกรรมวา่ พชื มกี ารหายใจหรือไม่ และหายใจอย่างไร
(แนวตอบ : พชื หายใจผา่ นรปู ากใบ ซึง่ อยทู่ ีท่ ้องใบ โดยรูปากใบจะเปดิ เพอื่ เปน็ ทางผ่านของน้าและอากาศ)
3. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 2 เร่ือง การคายน้าของพืช ตอนท่ี 1-2 จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 40-41 เพอ่ื ศกึ ษาการคายนา้ ของใบ โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
1.ศึกษาขัน้ ตอนการทากิจกรรมที่ 2 เร่ือง การจดั กลุ่มพืช ตอนที่ 1-2จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 40-
41 อยา่ งละเอยี ด หากมีขอ้ สงสัยใหส้ อบถามครู
2.สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันตั้งปัญหาและต้ังสมมติฐานก่อนการทากิจกรรม แล้วบันทึกผลลงในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนา้ 34
3.ทากจิ กรรมตามข้ันตอน แลว้ บันทึกผล จากน้นั รว่ มกันอภปิ รายและสรุปผลการทากิจกรรม
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )
4. ใหค้ รูคอยดแู ลนักเรียนอย่างใกล้ชดิ ตลอดระยะเวลาท่ปี ฏบิ ัติกิจกรรมและให้คาแนะนาในส่วนทบ่ี กพร่อง

ข้ันอธบิ ายความรู้ (Explain)
1. ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน แล้วให้เพ่ือนกลุ่มอ่ืนช่วยเสนอแนะ
เพิม่ เตมิ ในส่วนทแี่ ตกต่าง
2. ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งและใหน้ ักเรียนอภิปรายรว่ มกนั จนได้ขอ้ สรุปว่า พชื มีการคายน้าและการคายน้าของพืชมี
ผลต่อการลาเลียงน้าของพืช สังเกตจากภายในถุงพลาสติกท่ีครอบกิ่งไม้ท่ีมีใบมีหยดน้าเกาะท่ีข้างถุงและน้าใน
หลอดทดลองมีปรมิ าตรลดลง สว่ นภายในถุงพลาสติกทีค่ รอบกงิ่ ไม้ท่ี ไมม่ ใี บไม่มกี ารเปล่ียนแปลง

คาบที่ 3

ขน้ั สรปุ

ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มดู PPT เร่ือง การคายน้าของพืช และศึกษาเน้ือหาเพิ่มเติมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
หนา้ 44 รวมทง้ั ศึกษาข้อมูลเพิม่ เตมิ จากสื่อดิจิทัลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 44 โดยให้ใช้โทรศัพท์มือถือ
สแกน QR Codeเร่ือง การคายน้าของพืช จากนน้ั รว่ มกนั สรุปความร้ทู ี่ได้จากการศกึ ษา

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
2. ครถู ามคาถามท้าทายการคดิ ข้ันสูงจากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 44 แล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบคาถามอย่าง

อิสระ โดยครูคอยเฉลยและอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ดงั นี้

 นกั เรยี นคดิ ว่า ส่วนต่างๆ ของพืชสามารถทาหนา้ ทีแ่ ทนใบไดห้ รอื ไม่ เพราะอะไร

(แนวตอบ:ไม่ได้ เพราะส่วนต่างๆ ของพืชมีหน้าที่แตกต่างกันไป โดยใบทาหน้าที่สร้างอาหาร เน่ืองจากมี
คลอโรฟิลล์ และทาหน้าที่หายใจ และคายน้า ซ่ึงภายในโครงสร้างของใบมีใบปาก ทาหน้าที่ในการ
แลกเปล่ียนแกส๊ ตา่ งๆ จากภายนอกและภายในใบพืช และปากใบกท็ าหนา้ ท่ีคายน้าเพื่อลดอุณหภูมิภายใน
ต้นพชื )
3. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 41 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน

หรือทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 35

(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

คาบท่ี 4

ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูใหน้ ักเรียนร่วมกันสรปุ เกยี่ วกับการคายนา้ ของพืช โดยให้ครอู ธิบายเสรมิ ในส่วนทบ่ี กพรอ่ ง
2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าช้นั เรียน
3. ครูตรวจผลการทาใบงานที่ 1.8 เรอื่ ง ใบของพืช
4. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 2 เรื่องการคายน้าของพืช ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 34
5. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจาตัวนกั เรยี นหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หนา้ 35

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวดั ผล เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การ
จดุ ประสงค์ ประเมนิ ผล
1.คาถามกระตุ้น
ความรู้ความ 1. สงั เกตและบรรยายหน้าที่ใบ ความคิด 70% ขน้ึ ไป ถอื
เข้าใจ (K) ของพชื ดอกได้ วา่ ผ่านเกณฑ์
1. ใบงานที่1.8 เรือ่ ง ใบ การประเมนิ
ทักษะ/ 1.ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพ่อื อธบิ ายการ ของพชื
กระบวนการ (P) คายนา้ ของพืชไดค้ รบถ้วนตาม 70% ขึ้นไป ถอื
ขน้ั ตอน วา่ ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) 1.ใหค้ วามร่วมมอื ในการทา 1. แบบสงั เกตพฤติกรรม 70% ข้ึนไป ถือ

กิจกรรมและรับผิดชอบต่องานที่ ว่าผา่ นเกณฑ์
ไดร้ ับมอบหมาย การประเมนิ

7. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

7.1 ส่อื การเรียนรู้

1) หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มีชีวิต
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต
3) วัสดุ-อปุ กรณก์ ารทดลองในกิจกรรมที่ 2 เช่น ดินน้ามัน ถงุ พลาสตกิ หลอดทดลอง เป็นตน้
4) PowerPoint เรอื่ ง การคายน้าของพชื
5) QR Code เรอ่ื ง การคายน้าของพืช
6) ใบงานท่ี 1.8 เร่ือง ใบของพืช
7) ตน้ พชื ขนาดไมใ่ หญ่มาก
8) ภาพรูปรา่ งลักษณะของใบ
9) สมุดประจาตัวนักเรยี น

7.2 แหล่งการเรียนรู้

1)หอ้ งเรยี น
2)ห้องสมุด
3)อนิ เทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ...................................................ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

บตั รภาพ



ภาพใบรปู สี่เหล่ียมขนมเปี ยกปนู ภาพใบรปู รี ภาพใบรปู กลม

ภาพใบรปู หยกั ภาพใบเป็ นเส้น ภาพใบรปู ใบโพธ์ิ

ใบงานท่ี 1.8

เร่อื ง ใบของพืช
ให้นกั เรยี นศึกษาลักษณะปากใบของพชื ตามขน้ั ตอนทก่ี าหนด แล้วบันทึกข้อมูล ดังน้ี

1. พับใบพืชแลว้ ฉีกแฉลบดา้ นหลังใบใหไ้ ดเ้ ย่ือบางๆ
2. วางเย่ือผิวใบลงบนแผน่ สไลด์และหยดน้า สังเกตดจู ากกล้องจลุ ทรรศน์
 วาดภาพปากใบที่สงั เกตได้จากกลอ้ งจุลทรรศน์

 สรุปหนา้ ทข่ี องใบ

ใบงานที่ 1.8 เฉลย

เรอ่ื ง ใบของพืช

ให้นักเรียนศกึ ษาลกั ษณะปากใบของพืชตามขน้ั ตอนทก่ี าหนด แลว้ บันทึกข้อมลู ดงั น้ี
1. พับใบพชื แลว้ ฉีกแฉลบด้านหลังใบให้ไดเ้ ยื่อบางๆ
2. วางเย่อื ผิวใบลงบนแผ่นสไลดแ์ ละหยดนา้ สังเกตดจู ากกลอ้ งจุลทรรศน์

 วาดภาพปากใบทสี่ ังเกตได้จากกลอ้ งจุลทรรศน์

(ตวั อยา่ ง)

(รปู ากใบเปิด)(รปู ากใบปดิ )

 สรปุ หน้าทีข่ องใบ

1. สรา้ งอาหารมาใชใ้ นการเจรญิ เติบโตของพชื
2. หายใจ ซ่ึงเป็นการแลกเปลยี่ นแก๊สทางปากใบ
3. คายน้า ซึ่งเปน็ การกาจดั นา้ ของพชื ในรปู ของไอนา้

สัปดาหท์ ี่ 8

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี……1…/…2563……... ชื่อผู้สอน….……...................................................……...

กลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 4 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชีวิต เรื่อง การสร้างอาหารของพชื

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนว่ ยพ้นื ฐานของส่งิ มชี ีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพนั ธข์ อง
โครงสรา้ งและหน้าทขี่ องระบบต่างๆ ของสัตว์ท่ที างานสัมพันธก์ ัน ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทีข่ องอวัยวะต่างๆ
ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชีว้ ดั ป.4/1 บรรยายหน้าท่ีของราก ลาตน้ ใบ และดอก ของพืชดอก โดยใชข้ ้อมลู ท่รี วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

ใบเปน็ โครงสรา้ งทสี่ าคัญของพืช ทาหน้าท่ีสร้างอาหาร และหายใจซงึ่ เปน็ การแลกเปลย่ี นแก๊สเช่นเดยี วกับคนและสตั ว์
ใบพชื ทาหน้าทีส่ รา้ งอาหาร โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งการสร้างอาหารของพืชจะเกดิ ขึ้นได้เมอ่ื มีแสง การสรา้ ง
อาหารของพชื จงึ เกดิ ขึน้ ในเวลากลางวนั โดยพชื จะใช้แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จากอากาศ และคายแกส๊ ออกซเิ จนส่อู ากาศ
อาหารทพี่ ืชสร้างขน้ึ มาคร้งั แรกจะเปน็ น้าตาล แล้วจะถกู เปล่ียนเปน็ แปง้ เก็บสะสมไว้ในสว่ นต่างๆ ของพชื

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. สงั เกตและอธบิ ายเกยี่ วกับกระบวนการสร้างอาหารของพืชได้ (K)
2. ปฏิบัตกิ รรมการทดลองเพอื่ ตรวจสอบว่าพชื สะสมอาหารประเภทแปง้ ได้ (P)
3. ใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรมตลอดเวลา (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ

ใบพืช ทาหน้าท่ีสร้างอาหาร อาหารท่ีพืชสร้างข้ึน พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

คอื น้าตาล ซง่ึ จะถกู สะสมไวใ้ นรูปแป้ง

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูสนทนากบั นักเรียนเกยี่ วกบั กระบวนการสร้างอาหารของพชื แลว้ รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นว่า ในการสร้างอาหาร
ของพชื จะตอ้ งอาศยั ปจั จัยใดบ้าง และปัจจัยเหลา่ น้นั มคี วามสาคญั ตอ่ กระบวนการสร้างอาหารของพืชอยา่ งไร
2. ครสู มุ่ หมายเลขนกั เรยี น 3-4 คน ออกมาแสดงความคิดเห็นที่หน้าช้ันเรียน ครูและเพ่ือนคนอื่นๆ ช่วยกันเสนอแนะ
เพมิ่ เตมิ จากน้นั ครใู หค้ าชมเชยหรือมอบของรางวัลเพอ่ื เปน็ การเสรมิ แรง

3. ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคาถามกระตุ้นความคิดว่า นักเรยี นคิดว่า ปัจจัยท่ีสาคัญที่สุดในการสร้างอาหารของพืชคือ
อะไร

(แนวตอบ : พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครูผสู้ อน)
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

ขน้ั สอน

ข้ันสารวจค้นหา (Explore)
1. ครูนาใบพืชทมี่ สี สี ันแตกตา่ งกนั มาให้นักเรียนร่วมกันสังเกตเช่น ใบต้นโกสน ใบต้นคริสต์มาส ใบต้นบอนสี เป็น
ตน้
2. ครูแบง่ กล่มุ ใหน้ กั เรยี นกลมุ่ ละ 3-4 คน ให้มีความสามารถคละกนั (เกง่ -คอ่ นขา้ งเกง่ -ปานกลาง-อ่อน) จากน้ันให้แต่
ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง การสร้างอาหารของพืช จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่นหนังสือเรียน ห้องสมุด
อนิ เทอร์เนต็ เป็นต้น
3. ครูซักถามนักเรียนว่า สีของใบเกี่ยวข้องกับการสร้างอาหารของพืชหรือไม่ และคอลโรฟิลล์มีความสาคัญต่อ
กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงอย่างไร จากนัน้ ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือหาขอ้ สรปุ
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
4. ครูนาแผนภูมิกระบวนการสร้างอาหารของพืชมาให้นักเรียนดูและให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเป็นการเสริม
เพ่ิมเตมิ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับกระบวนการสรา้ งอาหารของพืช
5. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันแสดงความคดิ เห็นว่าการสร้างอาหารของพชื ต่างๆ มีผลต่อสภาพแวดลอ้ มอยา่ งไร
6. ครูสุ่มนักเรียน 3-5 กลุ่ม ออกมาแสดงความคิดเห็นหน้าช้ันเรียน แล้วให้เพ่ือนกลุ่มอื่นช่วยกันแสดงความคิดเห็น
เพิม่ เตมิ ในสว่ นที่แตกต่าง
7. ครูอธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืชเปน็ การช่วยลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ
เป็นการช่วยเพม่ิ แก๊สออกซเิ จนในอากาศ

คาบที่ 2

ขัน้ สารวจคน้ หา (Explore) (ตอ่ )
1. ครูสนทนากับนักเรียนว่าจากที่นักเรียนได้ศึกษาการสร้างอาหารของพืชแล้ว นักเรียนคิดว่า ใบพืชสามารถสร้าง
อาหารประเภทใดและสะสมไวใ้ นรปู แบบใด
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
2. ครกู าหนดปัญหาให้นกั เรยี นกลมุ่ เดมิ (จากชว่ั โมงท่ี 1) ร่วมกนั สบื ค้นขอ้ มูลว่า ใบสรา้ งอาหารประเภทใด
3. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันตง้ั สมมตฐิ านหลายๆ ขอ้ แล้วเลอื กสมมติฐานที่อาจเป็นไปได้มาดาเนินการศึกษาโดย
บนั ทกึ ลงในสมุดประจาตวั นกั เรยี น หรือในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 38
ตวั อยา่ งสมมตฐิ าน : ถ้านาใบไม้มาต้มจนสารสีเขียวหมดไป แล้วทดสอบด้วยการหยดสารละลายไอโอดีนไป
ใบไมจ้ ะเปล่ียนเป็นสนี ้าเงนิ เขม้ แสดงวา่ ใบพชื มหี น้าทีส่ ร้างอาหาร
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
4. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกล่มุ ศกึ ษาขนั้ ตอนการทากิจกรรมท่ี 3 เรื่อง พืชสร้างอาหาร จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4
เลม่ 1 หนา้ 42-43 แลว้ ร่วมกนั วางแผนและจดั เตรยี มอปุ กรณ์ในการทากิจกรรม
5.นักเรียนแต่ละกลุ่มทาการกิจกรรมตามข้ันตอนแล้วบันทึกผลการทากิจกรรมลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือใน
แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หน้า 38โดยครดู แู ลนกั เรียนอย่างใกล้ชดิ ตลอดระยะเวลาท่ปี ฏิบตั ิกิจกรรม
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ )

คาบท่ี 3

ขนั้ อธิบายความรู้ (Explain)
1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาผลการทากิจกรรมท่ี 3มาวิเคราะห์และตรวจสอบความถูกต้อง แล้วอภิปรายร่วมกันภายใน
กลมุ่ เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ที่ถูกต้อง
2. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรมที่ 3 หนา้ ชนั้ เรยี น
3. ครูและนักเรยี นชว่ ยกันสรปุ ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการทากิจกรรมท่ี 3จนได้ข้อสรุปว่า ใบพืชทาหน้าท่ีสร้างอาหาร อาหาร
ที่พืชสร้างขึ้นมาคร้ังแรกเป็นนา้ ตาล แลว้ จะเปลย่ี นเป็นแปง้ เมื่อทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน จึงเปลี่ยนเป็นสีน้า
เงินเขม้
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ขน้ั สรุป

ข้ันขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครใู ห้นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิดวา่ บรเิ วณใดของใบทม่ี แี ปง้ สะสมอยู่ แลว้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคาถาม
(แนวตอบ : บรเิ วณที่มสี เี ขียว)
2. ครูใหน้ กั เรียนดูแผนภาพกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื แลว้ สนทนากบั นกั เรยี นวา่ กระบวนการสังเคราะห์
ดว้ ยแสงของพชื มคี วามสาคัญอย่างไรบ้าง
3. นกั เรยี นจบั กลมุ่ เดมิ แล้วรว่ มกันศึกษาความรเู้ ร่อื ง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
หนา้ 45 หรือจากแหล่งการเรยี นรอู้ ืน่ ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ต้น
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชว่า มี
ประโยชนต์ อ่ การดารงชวี ติ ของมนษุ ยอ์ ย่างไร
5. ครขู ออาสาสมคั รนกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการอภิปรายทีห่ นา้ ช้นั เรียน
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

6. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทารายงาน เร่ือง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของ

พชื แลว้ ให้นามาส่งในช่ัวโมงถัดไปโดยให้ครอบคลมุ ประเดน็ ตามทกี่ าหนด ดงั นี้
1) การอธิบายปจั จยั ท่จี าเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช
2) การอธิบายกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

7. ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 43 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน
หรอื ทาในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 39
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

คาบที่ 4

ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูขออาสาสมัครตัวแทนนักเรียน 2-4 คน ออกมาสรุปเกีย่ วกับการสร้างอาหารของพืช จากนั้นใหค้ รอู ธบิ ายเสริมใน
ส่วนท่บี กพร่อง
2. ครปู ระเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
3. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมที่ 3 เร่ือง พืชสร้างอาหาร ในสมุดประจาตัวนักเรยี นหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
หน้า 38
4. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ในสมุดประจาตัวนักเรยี นหรอื ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์หน้า 39
5. ครูตรวจสอบรายงาน เร่ือง ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช

6. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมินผล

จุดประสงค์ วิธกี ารวดั ผล เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ าร

ประเมนิ ผล

ความรคู้ วาม 1. สงั เกตและอธบิ ายเก่ียวกบั 1.คาถามกระตุ้น 70% ขึ้นไป ถอื

เข้าใจ (K) กระบวนการสรา้ งอาหารของพืชได้ ความคิด วา่ ผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ

ทกั ษะ/ 1.ปฏิบัติกรรมการทดลองเพ่อื 1. กิจกรรมการทดลอง 70% ขึน้ ไป ถือ

กระบวนการ (P) ตรวจสอบวา่ พชื สะสมอาหาร เพอ่ื ตรวจสอบว่าพืช วา่ ผา่ นเกณฑ์

ประเภทแป้งได้ สะสมอาหารประเภท การประเมนิ

แปง้

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) 1.ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทา 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม 70% ขึน้ ไป ถอื

กจิ กรรมตลอดเวลา วา่ ผ่านเกณฑ์

การประเมนิ

7. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้

7.1 สอื่ การเรยี นรู้

1) หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มชี ีวติ
3) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 3 เชน่ น้าแป้งมัน จานหลุม หลอดทดลอง เปน็ ตน้
4) ใบพชื สีต่างๆ เช่น ใบตน้ โกสน ใบต้นครสิ ตม์ าส ใบต้นบอนสี เปน็ ตน้
5) แผนภมู ิกระบวนการสรา้ งอาหารของพืช
6) แผนภาพกระบวนการสร้างอาหารของพืช
7)สมุดประจาตวั นกั เรียน

7.2 แหล่งการเรยี นรู้

1) ห้องเรยี น
2) ห้องสมดุ
3) อนิ เทอร์เน็ต

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)

แผนภูมกิ ระบวนการสรา้ งอาหารของพชื

กระบวนการสรา้ งอาหารของพืช

1.พชื ดูดแก๊ส 2.พืชดดู น้าผา่ นรากเข้า 3.คลอโรฟิลลใ์ นใบพืช

คารบ์ อนไดออกไซด์จาก สูใ่ บและส่วนต่างๆ ของ เปน็ ตัวดดู กลนื แสง เข้า
อากาศสู่ใบทางปากใบ พชื มาใช้เปน็ แหลง่ พลงั งาน

แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ น้า คลอโรฟลิ ล์ และแสงอาทติ ย์
กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง

นา้ ตาล แกส๊ ออกซเิ จน น้า

- เลย้ี งส่วนต่างๆ ของลา - คายออกส่บู รรยากาศ - คายออกทางปากใบ
ชว่ ยทาใหอ้ ากาศชมุ่ ชน้ื
ตน้ ทาง ปากใบ ช่วยทาให้
- สว่ นท่เี หลือพืชเกบ็ สะสม อากาศ บรสิ ุทธิ์
ไวใ้ นสว่ นตา่ งๆ ในรูป
ของ แป้ง

แผนภาพกระบวนการสรา้ งอาหารของพชื

คลอโรฟิลลด์ ดู กลนื แสง 

น้า น้า ออกซเิ จน คารบ์ อนไดออกไซด์

การ การสงั เคราะหด์ ้วย
หายใจ
คารบ์ อนไดออกไซด์ แสง
ออกซเิ จน ออกซเิ จน
คาร์บอนไดออกไซด์

น้า น้า

แผนภาพการสรา้ งอาหารของพชื

สปั ดาห์ที่ 9

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี……1…/…2563……... ช่ือผสู้ อน….……...................................................……...

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 4 คาบ

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ เร่อื ง สว่ นประกอบของดอก

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสง่ิ มีชวี ติ หน่วยพ้นื ฐานของสิ่งมชี ีวติ การลาเลยี งสารผ่านเซลล์ ความสมั พนั ธข์ อง
โครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องระบบตา่ งๆ ของสัตว์ท่ที างานสมั พนั ธก์ นั ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าที่ของอวัยวะตา่ งๆ
ของพชื ทีท่ างานสมั พันธ์กัน รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด ป.4/1 บรรยายหน้าท่ขี องราก ลาตน้ ใบ และดอก ของพืชดอก โดยใชข้ อ้ มลู ทรี่ วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

ดอกของพืชทาหน้าท่สี ืบพนั ธุ์ ดอกของพืชโดยทั่วไปประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ ไดแ้ ก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศ
ผู้ และเกสรเพศเมยี ซ่ึงแต่ละส่วนประกอบของดอก จะทาหน้าท่แี ตกต่างกนั

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สังเกต ระบุ และบรรยายสว่ นประกอบและหน้าที่ของสว่ นประกอบของดอกได้ (K)
2. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพือ่ สังเกตส่วนประกอบของดอกไดต้ ามขน้ั ตอนได้ (P)
3. มคี วามสนใจและกระตอื รือรน้ ในการเรยี นรู้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่ิน

ดอกของพืช ทาหน้าท่ีสืบพันธ์ุ ดอกของพืช พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ซ่ึงแต่ละส่วนจะทาหน้าที่

แตกตา่ งกัน

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

ขน้ั นา คาบท่ี 1

ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครใู ห้นาตัวอย่างดอกไม้ 2 ชนิดมาให้นกั เรียนดู (เช่น ดอกกหุ ลาบและดอกชบา) แล้วให้ร่วมกันอภิปรายว่า ดอกไม้
ท้ัง 2 ดอกน้ี มสี ว่ นประกอบเหมือนกันหรอื แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
(แนวตอบ : ขนึ้ อยกู่ บั ตัวอย่างดอกไม้ท่คี รูนามาเป็นตัวอย่าง)
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า พืชในโลกน้ีมีมากมายหลายชนิด พืชบางชนิดมีดอก พืชบางชนิดไม่มีดอก พืชดอกจะ
อาศยั ดอกในการสบื พันธ์ุ ซ่งึ ต้องอาศัยส่วนประกอบของดอกทาหน้าทีเ่ ก่ียวข้องกับการสบื พนั ธุ์

ขน้ั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาบัตรภาพส่วนประกอบของดอกไม้ชนิดต่างๆ ที่ครูแจกให้ จากนั้นครูถามคาถามเพื่อ
กระตนุ้ ความคดิ นักเรยี น ดงั น้ี
1) ดอกไมท้ กุ ชนดิ มีส่วนประกอบครบท้ัง 4 สว่ นหรอื ไม่
(แนวตอบ : ขน้ึ อยู่กับตวั อย่างของดอกไมท้ ีอ่ ยใู่ นบตั รภาพ)
2) ส่วนประกอบใดของดอกไม้ที่ทาหนา้ ที่ในการสืบพันธ์ุ
(แนวตอบ : เกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมยี )
3) ดอกไม้ทม่ี ลี กั ษณะของส่วนประกอบแต่ละส่วนแตกต่างกัน เช่น มีลักษณะเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
ตา่ งกนั มสี ขี องกลบี ดอกไม่เหมือนกนั จะใชด้ อกในการสืบพนั ธไ์ุ ด้เหมอื นกนั หรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ : ได้เหมือนกนั เพราะดอกไมแ้ ตล่ ะดอกจะใชเ้ กสรเพศผู้และเกสรเพศเมียท่ีอยู่ภายในดอกใน
การสืบพนั ธุ์)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
2. ครูให้นักเรยี นแบง่ กล่มุ แบบคละความสามารถ (เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) กลุ่มละ 4 คนจากน้ันครูแจ้งว่า
จะใหน้ กั เรียนได้ทากิจกรรมการสารวจและสังเกตส่วนประกอบของดอกไม้ในกิจกรรมที่ 4เร่ืองส่วนประกอบของ
จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 46โดยครูแจง้ จุดประสงค์ของการทากิจกรรมให้นักเรียนทราบก่อน
ทากิจกรรม
3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันทากิจกรรมท่ี 4เร่ืองสว่ นประกอบของโดยปฏิบตั ิกิจกรรม ดังน้ี
1)ให้ร่วมกันศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 46 อย่างละเอียด หากมีข้อ
สงสัยใหส้ อบถามครู
2)ร่วมกนั กาหนดปญั หาและตัง้ สมมติฐานในการทากจิ กรรม แลว้ บันทกึ ผลลงในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4
เลม่ 1 หนา้ 41
3)รว่ มกันทากจิ กรรมตามข้นั ตอนให้ครบถว้ นและถกู ตอ้ งทกุ ขั้นตอน จากนัน้ บนั ทกึ ผล
4)แต่ละกล่มุ ร่วมกนั สรุปผลการทากจิ กรรมภายในกลมุ่ และบันทึกผล
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )

คาบท่ี 2

ขน้ั อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาข้อมูลเก่ียวกับหน้าที่และส่วนประกอบของดอกจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า
47 หรอื ครอู าจเปิด PPT เร่ือง ส่วนประกอบของดอก ให้นักเรียนดู จากน้ันนาให้ช่วยกันรวบรวมข้อมูลเพื่อนาไป
อภิปรายและสรปุ รวมกับผลการทากิจกรรมที่ 4 เร่อื ง สว่ นประกอบของดอก
2. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชั้นเรียน
3. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ บนั ทกึ ผลการสารวจดอกไม้ของเพ่ือนกลุ่มอ่ืนๆ ที่ไม่ซ้ากับกลุ่มของตนเอง ลงในสมุดประจาตัว
นักเรียน
4. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปว่า มีดอกไม้ที่นามาทากิจกรรมก่ีชนิด อะไรบ้าง จากน้ันให้นาข้อมูลการทากิจกรรมมา
อภปิ รายและสรปุ รว่ มกัน ดังน้ี
1) มดี อกไม้ที่มีส่วนประกอบครบท้ัง 4 สว่ นหรือไม่ เป็นดอกอะไรบา้ ง
2) มีดอกไม้ที่มีเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมยี อยู่ในดอกดยี วกนั หรือไม่ เป็นดอกอะไรบ้าง
3) มดี อกไม้ท่มี เี กสรเพศผ้หู รอื เกสรเพศเมยี เพยี งอย่างเดยี วหรือไม่ เป็นดอกอะไรบ้าง
(แนวตอบ : ขน้ึ อยกู่ บั ผลการทากจิ กรรม ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของครผู สู้ อน)

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)

คาบที่ 3

ขน้ั สรุป

ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาแผนผังความคิดการจาแนกดอกของพืชโดยใช้เกณฑ์ต่างๆ จาก ใบความรู้ท่ี 1.1
เร่ือง การจาแนกดอกของพืช ท่ีครูแจกให้ แล้วให้ช่วยกันจาแนกดอกของพืชที่นามาทากิจกรรม โดยจัดทาเป็น
แผนผังหรอื แผนภาพลงในกระดาษแขง็
2. แต่ละกลมุ่ มส่งตวั แทนนาเสนอผลการจาแนกดอกของพืช โดยครสู ุ่มเลือกตัวแทนแต่ละกลุ่มให้ออกมานาเสนอหน้า
ชน้ั เรียนดว้ ยวธิ กี ารจับสลากเลือกลาดับกลุ่ม จากน้นั แตล่ ะกลมุ่ เปรยี บเทียบข้อมลู ของกล่มุ ตนเองและกลุ่มอ่นื ๆ
3. ครูถามคาถามนักเรียนเพ่ือขยายความรู้ว่า ถ้านักเรียนไม่จาแนกดอกของพืชโดยใช้ส่วนประกอบของดอก หรือ
เกสรในดอกเป็นเกณฑ์ จะสามารถจาแนกดอกของพืช โดยใช้เกณฑ์ใดได้อกี บา้ ง
4. ครูให้นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นและตอบคาถามได้อย่างอิสระ จากนั้นครูคอยอธิบายเสริมและสรุป
เพ่ิมเติม
(แนวตอบ : เช่น จานวนกลีบดอก สีของดอก ขนาดของดอก กลิน่ ของดอก เปน็ ต้น)
5. ครูให้นักเรียนแต่ละคนติดภาพดอกไม้ที่ตนเองชอบคนละ 1 ชนิด ลงในกระดาษแข็ง แล้วลากเส้นชี้บอก
ส่วนประกอบประกอบของดอกไม้ จากนน้ั จดั ประกวดผลงานภายในชน้ั เรยี น โดยให้สมาชิกภายในห้องโหวตเพ่ือให้
คะแนนผลงาน หากนกั เรียนคนใดไดร้ ับคะแนนมากทีส่ ุดถอื เปน็ ผลงานท่ีชนะเลศิ ซ่งึ ครูอาจใหร้ างวัลหรือคาเชยเพื่อ
เป็นการเสริมแรงในการทากจิ กรรม)

6. ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้เกย่ี วกับส่วนประกอบของดอกจนได้ข้อสรปุ ว่า ดอกของพืชทาหน้าท่ีสืบพันธุ์ ดอก
ของพืชโดยท่ัวไปประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพ ศเมีย ซ่ึงแต่ละ
สว่ นประกอบของดอกจะทาหนา้ ทีแ่ ตกต่างกนั โดยดอกของพชื บางชนิดมีส่วนประกอบครบท้ัง 4 ส่วน แต่บางชนิด
อาจมีส่วนประกอบไม่ครบ 4 สว่ น

7. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทากจิ กรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 46 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน
หรอื ทาในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 42

8. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละคนนากิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ท่ี 1จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 48 ไปทาเป็นการบ้าน
โดยใหท้ าลงในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรือให้นักเรียนทาในใบงานท่ี 1.9เรื่อง ความแตกต่างของส่วนประกอบของ
ดอกไม้ ทีค่ รแู จกใหแ้ ล้วนามาส่งในช่ัวโมงถัดไป

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

คาบท่ี 4

ขัน้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ตอ่ )
1. ครูสนทนากบั นักเรียนเพือ่ ทบทวนความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั เนือ้ หาที่ได้เรียนผ่านมาจากหน่วยการเรียนรู้ที่ 1ในบท
ท่ี 2หน้าท่ีของส่วนตา่ งๆ ของพชื โดยสมุ่ เรยี กชอื่ นกั เรียนใหอ้ อกมาเลา่ ว่าตนเองไดร้ บั ความรอู้ ะไรบา้ ง
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
2. ให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้เก่ียวกับเรื่องที่ได้เรียนมาจากบทท่ี 2 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนภาพแผนผังความคิด
เปน็ ตน้ ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียนหรืออาจทากจิ กรรมสรุปความร้ปู ระจาบทที่ 2 ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 43
3.นกั เรยี นทากจิ กรรมฝกึ ทกั ษะบทที่ 2 จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หนา้ 49-50 ข้อ 1-5 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน

หรือทาในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 44-47
4.นักเรยี นแตล่ ะคนทากิจกรรมทา้ ทายการคดิ ขน้ั สูงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 48

5.ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 3-4 คน จากนัน้ ศึกษากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานจากหนงั สือเรียนหน้า 50 แล้วให้ปฏิบัติ
กจิ กรรมโดยมขี ั้นตอน ดงั น้ี

 ให้แต่ละกลุม่ ไปสารวจส่วนประกอบภายในดอกของพืชต่างๆ 10 ชนดิ ในบรเิ วณโรงเรยี นหรือชมุ ชน

 นาขอ้ มูลมาจัดทาเปน็ สมุดภาพ โดยวาดภาพหรอื ติดภาพพืช พรอ้ มบอกชอื่ และส่วนประกอบภายในดอก
ของพืชแตล่ ะชนิด

 ตกแต่งสมุดให้สวยงาม แลว้ นาไปวางไวท้ ่ีมมุ อา่ นหนงั สอื ตามจุดต่างๆ ของโรงเรยี นเพอ่ื ให้ความรู้
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
6. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต จากแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หน้า 50-53
7. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นของหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่อื ง ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต เพ่ือตรวจสอบ
ความรู้ความเขา้ ใจหลังเรยี น
ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ใหน้ ักเรยี นดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 48 จากน้ันครูถามนักเรียนเป็นรายบุคคล
ตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนหลังจากการเรียน หากนักเรียนคนใด
ตรวจสอบตนเองโดยใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ท่คี วรปรบั ปรุง ใหค้ รูทบทวนบทเรียนหรอื หากจิ กรรมอื่นซ่อมเสริม เพื่อให้นักเรียนมีความรู้
ความใจในบทเรียนมากขนึ้
2. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกนั ศกึ ษาแผนผงั ความคิดสรุปสาระสาคญั ประจาหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
หนา้ 51 จากนั้นครูส่มุ เลือกนกั เรียนเป็นรายบุคคลใหบ้ อกเล่าความรคู้ วามเข้าใจท่ีได้รบั จากการเรียนในหน่วยการเรียนร้นู ี้
3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ช้ันเรยี น
4. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมที่ 4 เร่ืองส่วนประกอบของดอก ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หนา้ 41
5. ครตู รวจสอบผลแผนผังหรือแผนภาพการจาแนกดอกของพืชในกระดาษแข็ง
6. ครูตรวจสอบผลภาพดอกไม้ท่ตี นเองชอบคนละ 1 ชนดิ ในกระดาษแข็ง
7. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ในสมดุ ประจาตวั นักเรียนหรือในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์หน้า 42
8. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมพัฒนาการเรียนร้ทู ี่ 1 ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี นหรือในใบงานท่ี 1.9
9. ครตู รวจผลการทากจิ กรรมสรุปความรู้ประจาบทท่ี 2 ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หน้า
43
10. ครูตรวจผลการทากิจกรรมฝกึ ฝนทักษะบทท่ี 2ในสมุดประจาตัวนักเรยี น หรอื ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์หน้า 44-
47
11. ครตู รวจผลการทากจิ กรรมท้าทายการคิดขน้ั สูงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หนา้ 48
12.ครตู รวจชนิ้ งานสมุดภาพดอกของพืชและส่วนประกอบของดอก และการนาเสนอชน้ิ งาน/ผลงาน หน้าช้ันเรยี น
13.ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต จากแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หน้า 50-53
13. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลังเรียนของหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ

6. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวดั ผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ าร
1.คาถามกระตนุ้ ความคดิ ประเมนิ ผล
การวดั และประเมินผล
จดุ ประสงค์ 70% ขึ้นไป ถือ
วา่ ผา่ นเกณฑ์
ความรู้ความ 1. สงั เกต ระบุ และบรรยาย การประเมนิ
เข้าใจ (K) สว่ นประกอบและหน้าทข่ี อง
ส่วนประกอบของดอกได้

ทกั ษะ/ 1.ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพอ่ื สังเกต 1. ใบงานท่ี 1.9 เรอ่ื งความ 70% ขึ้นไป ถือ
กระบวนการ (P)
ส่วนประกอบของดอกได้ตาม แตกต่างของสว่ นประกอบ ว่าผ่านเกณฑ์

ขัน้ ตอนได้ ของดอกไม้ การประเมนิ

คณุ ลักษณะนสิ ัย (A) 1.มีความสนใจและ 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม 70% ข้นึ ไป ถือ
กระตอื รอื ร้นในการเรยี นรู้ ว่าผา่ นเกณฑ์
การประเมนิ

7. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ิต

2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ
3) วสั ดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมท่ี 4 เชน่ แวน่ ขยาย คตั เตอร์ เปน็ ต้น

4) วัสดุ-อปุ กรณใ์ นการทากจิ กรรมสร้างสรรคผ์ ลงาน เช่น สไี ม้ สมดุ กระดาษสี เป็นต้น
5) บัตรภาพดอกไมช้ นดิ ต่างๆ เช่น ดอกชบา ดอกบวั ดอกมะเขือ ดอกพรกิ ดอกดาวเรอื ง เป็นต้น
6) ตัวอยา่ งดอกไม้ 2 ชนิด เช่น ดอกกหุ ลาบ ดอกชบา เป็นต้น

7) ใบงานท่ี 1.9 เร่ือง ความแตกตา่ งของสว่ นประกอบของดอกไม้
8) ใบความร้ทู ี่ 1.1 เรอ่ื ง การจาแนกดอกของพืช

9) PowerPoint เร่ือง สว่ นประกอดของดอก
10) สมุดประจาตัวนกั เรียน
11) กระดาษแขง็

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น

2) ห้องสมุด
3) อินเทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ...................................................ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ตวั อย่างบตั รภาพ 







ใบความรูท้ ่ี 1.1

เรื่อง การจาแนกดอกของพชื

ใบงานที่ 1.9

เรื่อง ความแตกตา่ งของสว่ นประกอบของดอกไม้

ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม แลว้ ร่วมกนั ปฏิบตั ิกิจกรรม ดงั นี้
1) ให้แตล่ ะกล่มุ ช่วยกันศึกษาภาพดอกของพืชทั้ง 3 ชนิด ทกี่ าหนดให้
2) สังเกตสว่ นประกอบของดอกว่า ประกอดด้วยส่วนใดบ้าง และมีความความแตกตา่ งกนั หรอื ไม่
อย่างไร
3) สบื คน้ ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ เก่ียวกบั ดอกของพชื ท้ัง 3 ชนิด จากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ
4) ร่วมกนั อภปิ รายภายในกลุ่มถงึ สงิ่ ที่ไดจ้ ากการสังเกตและการสบื คน้ ข้อมูล
5) นาเสนอความคิดของกลุ่มหน้าช้ันเรยี น และใหค้ รูชว่ ยสรุปอกี คร้งั

ดอกบัว ดอกชบา ดอกมะเขือ

 สว่ นประกอบของดอกบวั ไดแ้ ก่

 สว่ นประกอบของดอกชบา ได้แก่

 สว่ นประกอบของดอกมะเขือ ได้แก่

 ส่วนประกอบของดอกของพืชทงั้ 3 ชนดิ มคี วามแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร

ใบงานที่ 1.9 เฉลย

เร่ือง ความแตกต่างของส่วนประกอบของดอกไม้

ให้นักเรียนแบ่งกล่มุ แลว้ รว่ มกันปฏิบตั กิ จิ กรรม ดังน้ี
1) ให้แตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ศึกษาภาพดอกของพืชทง้ั 3 ชนดิ ท่กี าหนดให้
2) สงั เกตส่วนประกอบของดอกว่า ประกอดด้วยส่วนใดบา้ ง และมีความความแตกต่างกันหรอื ไม่
อยา่ งไร
3) สบื ค้นขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ เก่ยี วกับดอกของพชื ทั้ง 3 ชนดิ จากแหล่งขอ้ มูลต่างๆ
4) ร่วมกนั อภิปรายภายในกลุ่มถงึ ส่ิงทีไ่ ด้จากการสังเกตและการสบื คน้ ข้อมูล
5) นาเสนอความคดิ ของกลุ่มหน้าช้นั เรียน และให้ครูชว่ ยสรปุ อกี ครง้ั

ดอกบวั ดอกชบา ดอกมะเขอื

 สว่ นประกอบของดอกบัว ไดแ้ ก่
กลบี เลีย้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย

 สว่ นประกอบของดอกชบา ได้แก่
กลีบเลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย

 ส่วนประกอบของดอกมะเขอื ได้แก่
กลบี เลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย

 ส่วนประกอบของดอกของพืชทั้ง 3 ชนิด มีความแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร
ไม่แตกตา่ งกนั เพราะดอกของพชื ทั้ง 3 ชนิด มีสว่ นประกอบของดอกครบ 4 ส่วน
เหมอื นกัน ได้แก่ กลบี เลีย้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย

สปั ดาห์ที่ 11-13

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นที่……1…/…2563……... ช่ือผสู้ อน….……...................................................……...

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 9 คาบ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสงเรื่องผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาวนั ผลของแรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถุ ลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบ
ต่างๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตัวชี้วัด ป.4/1ระบุผลของแรงโน้มถว่ งทมี่ ีตอ่ วัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

แรงโนม้ ถ่วงของโลกเปน็ แรงดึงดดู ที่โลกกระทาต่อมวลของวัตถทุ กุ ชนดิ ทอ่ี ยบู่ นโลกและทีอ่ ยู่ใกลโ้ ลก ซึ่งเป็นแรงไม่
สมั ผสั และมีทิศทางเข้าสู่จดุ ศนู ยก์ ลางของโลก แรงโนม้ ถว่ งของโลกทาให้วตั ถุต่าง ๆ บนโลกมีน้าหนักและตกลงส่พู นื้ โลกเสมอ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. สังเกตและระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งทม่ี ีต่อวตั ถุได้ (K)
2. ปฏิบตั ิการทดลองเกย่ี วกับผลของแรงโนม้ ถ่วงทมี่ ีตอ่ วัตถไุ ด้ครบทุกข้ันตอน (P)
3. มีความสนใจและกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูท้ ้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง

แรงโน้มถว่ งของโลกมีทศิ ทางเข้าสู่จุดศนู ยก์ ลางของ
โลก มผี ลทาใหว้ ัตถุตกลงสู่พ้ืนโลกเสมอ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูสนทนากับนักเรียนโดยถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่า วันนี้จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเร่ืองอะไร แล้วให้
นกั เรยี นชว่ ยกันตอบคาถาม จากนัน้ ครูแจง้ ช่อื เรื่องทจี่ ะเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ใหน้ กั เรียนทราบ

2. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอื่ วัดความรูเ้ ดมิ ของนกั เรียนก่อนเขา้ สกู่ ิจกรรม
3. ใหน้ ักเรยี นช่วยกันสังเกตภาพหนา้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตัวกลางของแสงจากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1หนา้ 52แล้วใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ เห็นรว่ มกนั ว่า ภาพนีเ้ กี่ยวขอ้ งกับแรงโนม้ ถ่วงของโลก
หรอื ไม่ อยา่ งไร โดยครูคอยเสริมขอ้ มูลในสว่ นที่บกพรอ่ ง

คาบท่ี 2

4. ให้นักเรียนเรียนรู้คาศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนในบทที่ 1 แรงโน้มถ่วงของโลก จากภาพในหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์หน้า 53 โดยครสู ุ่มเลือกตวั แทนหรือขออาสาสมคั รนกั เรียน 1 คน ออกมาหน้าชั้นเรียนเพ่ือเป็นผู้อ่าน
นา และใหเ้ พ่ือนคนอื่น ๆ อ่านตาม ดงั น้ี

Gravitational Force (แกรฟวเิ ท’ชนั เนลิ ฟอซ) แรงโน้มถว่ ง

Mass (แมส) มวล

Weight (เวท) น้ำหนกั

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

5. ครถู ามคาถามสาคญั ประจาบทจากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 53 เพ่ือกระตุ้นนักเรียนทุกคนก่อนเข้าสู่เน้ือหา

วา่ แรงโนม้ ถ่วงของโลกมีผลตอ่ วตั ถอุ ยา่ งไร แลว้ ใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระในการตอบคาถาม

(แนวตอบ : แรงโน้มถว่ งของโลกทาใหว้ ตั ถมุ ีนา้ หนักและตกลงส่พู ืน้ โลกเสมอ)

6. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนสบื ค้นกจิ กรรมในชวี ิตประจาวนั ที่เก่ยี วข้องกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลกจากหนังสือเรียนหรือสื่ออื่น

ๆ ทค่ี รเู ตรียมไวใ้ ห้ เช่น หนังสือจดุ ประกายคิด ชดุ รู้วิทย์ คดิ เป็น เร่ืองแรงโน้มถว่ งของโลก เป็นตน้

คาบที่ 3

7. ให้นักเรียนวาดภาพหรือติดภาพเก่ียวกับกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลก 2 -3 กิจกรรม ลงในสมุด
ประจาตวั หรือให้นกั เรยี นทากิจกรรมนาสู่การเรยี นในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 54
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั สอน

ข้นั สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลและดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 54 จากนั้นครูให้นักเรียนตอบคาถามลงใน
สมุดดงั นี้
1) จากภาพตา่ งๆ ในหนังสอื เปน็ เหตกุ ารณใ์ ดบา้ ง
(แนวตอบ: น้าตก คนกระโดดร่ม กระจกหล่นแตก คนเล่นกีฬา ฝนตก และใบไมร้ ว่ ง)
2) นกั เรียนคดิ วา่ วัตถุ สิง่ ของ หรือคนในภาพจะตกลงสู่พน้ื หรือไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ: ตกลงสพู่ ื้น เพราะโลกมีแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถุต่าง ๆ จึงทาให้วัตถุ ส่ิงของ หรือคนตก
ลงส่พู น้ื เสมอ)
3) นักเรียนคิดวา่ แรงโนม้ ถ่วงเก่ียวข้องกบั การใช้ชีวติ ประจาวนั ของนักเรยี นอยา่ งไรบา้ ง
(แนวตอบ: เชน่ การยกส่ิงของทม่ี ีนา้ หนักมาก ๆ ไดย้ าก การทาสิ่งของหล่นพื้นจะเกิดความเสียหาย เป็น
ตน้ )
2. ครูขออาสาสมัครหรือสุ่มเลือกนักเรียนจากเลขที่ 4-5 คน ให้ออกมาตอบคาถาม จากน้ันให้นักเรียนทุกคนช่วยกัน
อภปิ รายคาตอบของเพอ่ื น และสรุปคาตอบทีถ่ กู ต้องรว่ มกัน โดยมีครคู อยตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
3. ครูให้คาชมเชยหรือมอบรางวัลให้ตัวแทนนักเรียนท่ีออกมาตอบคาถามได้ถูกต้อง เพ่ือเป็นการเสริมแรงในการกล้า
แสดงออก และใหค้ าชมเชยนักเรียนทกุ คนทช่ี ว่ ยกันอภิปรายคาตอบจากคาถามท่คี รูตัง้ ไว้
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

คาบที่ 4

ข้นั สารวจคน้ หา (Explore) (ตอ่ )
1. ครใู ห้นกั เรียนทุกคนดูบัตรภาพใบไม้ร่วงจากต้น หรือให้ดู PPT เร่ือง แรงโน้มถ่วงของโลก (หน้าใบไม้กาลังร่วงจาก
ต้นไม้) จากน้นั ถามคาถามเพ่ือกระตุ้นความคิดนักเรยี นว่า นักเรียนคดิ วา่ ใบไมใ้ นภาพจะหลน่ ลงสู่พ้ืนโลกหรือไม่ เพราะ
อะไร และใหน้ กั เรียนตอบคาถามโดยอิสระ ซ่ึงครยู งั ไม่เฉลยคาตอบ
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
2. ครชู แ้ี จงให้นักเรียนฟงั ว่า นกั เรียนจะไดค้ าตอบจากการทากจิ กรรมที่ 1 เร่ืองผลของแรงโน้มถ่วง
3. ครูแบง่ กลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถ (เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) ใหอ้ ยูใ่ นกล่มุ เดียวกันกลุ่มละ 3-4 คน
โดยครเู ปน็ ผูเ้ ลอื กนักเรียนเข้ากลุ่ม
4. ครูใช้วธิ ีการสอนแบบการทดลอง (Experiment)เข้ามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงน้ี โดยครูต้ังประเด็น
คาถามเพ่ือกาหนดปัญหาใหน้ กั เรียนก่อนการทากิจกรรมวา่ แรงโนม้ ถ่วงของโลกมีผลตอ่ วตั ถตุ ่าง ๆ บนโลกอย่างไร แล้ว
ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันตัง้ สมมติฐาน
5. ครูใหค้ วามรู้ความเข้าใจนกั เรยี นก่อนทากิจกรรมว่า แรงโน้มถว่ งของโลกเป็นแรงไม่สัมผัส เพราะแรงดึงดูดของโลก
สามารถดงึ ดูดวตั ถุตา่ งๆ บนโลกและท่อี ย่ใู กลโ้ ลกให้เขา้ หาจุดศนู ย์กลางของโลกได้โดยที่ไม่ตอ้ งสมั ผสั

คาบท่ี 5

6. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาวธิ กี ารทากจิ กรรมที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 55 จากน้ันให้สมาชิกแต่ละ
กลมุ่ ชว่ ยกันลงมือทากิจกรรม โดยสังเกตวตั ถตุ า่ งๆ ทน่ี ามาใช้ในการทากิจกรรม แล้วคาดคะเนวา่ เมอื่ โยนวัตถุต่างๆ
ขึ้นไปในอากาศ วตั ถุจะตกลงสพู่ น้ื หรือไม่ แล้วบนั ทกึ ผลลงในสมุดประจาตวั หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56

7. ให้สมาชกิ ทุกคนช่วยกันทากิจกรรมเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน ดงั นี้
1) ขยาแผน่ กระดาษใหเ้ ปน็ กอ้ น แลว้ โยนขน้ึ ไปในอากาศ
2) สงั เกตการเคล่อื นท่ขี องกอ้ นกระดาษและบันทึกผล พรอ้ มวาดภาพการเคล่ือนท่ีลงในสมุดหรือแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56
3) ให้ทาการทดลองซ้าโดยเปลี่ยนวัตถุเป็นใบไม้ ถุงพลาสติก และยางลบ ตามลาดับ จากนั้นสังเกตและ
บนั ทกึ ผล

8. ครูคอยสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด พร้อมกับคอยให้คาแนะนากับนักเรียนที่มีข้อ
สงสยั ระหว่างการทากิจกรรม
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )

คาบที่ 6

ขนั้ อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพใบไม้ร่วงจากต้นไม้อีกครั้ง (บัตรภาพจากต้นช่ัวโมงก่อน) จากนั้นให้นักเรียนร่วมกัน
อภปิ รายว่า เพราะเหตใุ ดใบไม้จึงรว่ งลงสู่พน้ื โลก
2. ครูจับสลากเลือกลาดับของแต่ละกลุ่มให้ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม โดยให้นักเรียนกลุ่มท่ีถูกเลือกเป็น
อนั ดับแรกสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการทดลองทีละกลุ่มจนครบ เพื่อตรวจสอบความรู้ของนักเรียนหลังการทา
กจิ กรรมที่ 1
3. ใหน้ กั เรียนทุกกลุ่มร่วมกันอภิปรายผลการทาการทดลองจนได้ข้อสรุปว่า วัตถุทุกชนิดจะต้องตกลงสู่พื้นโลกเสมอ
เพราะโลกมีแรงโน้มถ่วงทก่ี ระทาต่อวัตถตุ า่ ง ๆ ทาใหว้ ัตถุมีน้าหนัก เมอื่ โยนวตั ถขุ ้นึ ไปในอากาศหรือปล่อยวัตถุจาก
ทส่ี ูง วัตถจุ ะตกลงส่พู น้ื โลกเสมอ โดยให้ครคู อยเสนอแนะเพ่ิมเติมในสว่ นที่บกพร่อง

คาบที่ 7

ขน้ั สรุป

ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาข้อมูลลักษณะของแรงโนม้ ถ่วงของโลกจากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56-57
2. ให้นกั เรยี นจับคกู่ บั เพ่ือนแลว้ ไปเรียนรขู้ อ้ มูลเกี่ยวกับลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลกเพ่ิมเติมจากส่ือดิจิทัลจากใน
หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 56 โดยใช้โทรศัพทม์ อื ถือสแกน QR Code เร่ืองแรงโน้มถว่ งของโลก
3. ให้นักเรียนนาความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการศึกษาข้อมลู จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 56-57 และความรู้จากการสแกน
QR Code เรื่องแรงโนม้ ถว่ งของโลก มาอภิปรายเก่ียวกับลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลกผลของแรงโน้มถ่วงของ
โลกที่มตี ่อวัตถุ และรว่ มกันสรปุ ภายในช้ันเรยี น โดยให้ครูคอยอธิบายเสริมเพิม่ เติม
4. ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคาถามจากกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 1 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 57 โดยให้ครู
เปน็ ผเู้ ฉลยและอธบิ ายเพ่ิมเตมิ จากเหตผุ ลท่ีนักเรยี นช่วยกันตอบ
5. ครแู จกใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก ให้นักเรียนทุกคนนากลับไปทาเป็นการบ้านแล้วนามาส่งใน

ชวั่ โมงเรียนถัดไป

คาบที่ 8

ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) (ตอ่ )

1. ครูสอบถามนักเรียนว่า แรงโน้มถ่วงของโลกมีประโยชน์หรือมีข้อจากัดในการใช้ชีวิตประจาวันของเราอย่างไรบ้าง
จากน้นั ขออาสาสมัครนักเรียน 8 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 ทีม แล้วให้แต่ละทีมระดมความคิดและหาคาตอบเพื่อนาไป
เขียนบนกระดาน ดงั น้ี

1) ทมี ท่ี 1 ใหอ้ อกมาเขยี นบนกระดานถงึ ประโยชนข์ องแรงโนม้ ถ่วงของโลก
2) ทมี ที่ 2 ใหอ้ อกมาเขียนบนกระดานถงึ ขอ้ จากัดในการใช้ชวี ติ ประจาวนั จากแรงโนม้ ถว่ งของโลก
2. ครูให้นกั เรียนทีเ่ หลือในหอ้ งช่วยกนั ตรวจสอบคาตอบบนกระดาน แล้วใหเ้ สนอคาตอบเพมิ่ เติมได้
3. ครใู ห้คาชมหรือรางวลั กบั ท้ัง 2 ทีม และนกั เรยี นทีเ่ สนอคาตอบเพิม่ เตมิ เพ่ือเสรมิ แรงในการเรียนรู้
4. ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งอิสระวา่ เพราะเหตใุ ด เคร่อื งบินท่ีลอยอยู่บนท้องฟ้าจึงไม่ตกลงมาตาม
แรงโนม้ ถว่ งของโลก
5. ให้นกั เรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 55 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือ
ทาในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หน้า 57

คาบท่ี 9

ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูสุ่มนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากน้ันให้แต่ละคนอธิบายความรู้เก่ียวกับผลของแรงโน้มถ่วงของโลกที่มีต่อวัตถุ
จากน้ันให้นกั เรยี นทงั้ หอ้ งสรปุ ความรูร้ ว่ มกนั
2. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนกั เรยี น
3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชัน้ เรียน
4. ครตู รวจสอบการวาดภาพหรอื ติดภาพเก่ยี วกับกจิ กรรมที่เก่ียวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกในสมุดประจาตัวนักเรียน
หรือตรวจผลการทากจิ กรรมนาสกู่ ารเรียนในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 54
5. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมที่ 1 เรื่องผลของแรงโน้มถ่วงของโลก ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หน้า 56
6. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบไดใ้ นสมดุ ประจาตัวนกั เรยี นหรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์หน้า 57
7. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก

6. การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ าร
จดุ ประสงค์ ประเมนิ ผล

ความรู้ความ 1.สังเกตและระบุผลของแรงโน้ม 1.คาถามกระตุ้นความคดิ 70% ขนึ้ ไป ถอื
เขา้ ใจ (K) ถ่วงที่มีต่อวตั ถุได้ ว่าผา่ นเกณฑ์
การประเมนิ

ทกั ษะ/ 1.ปฏบิ ตั ิการทดลองเกย่ี วกับผล 1. ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง ผล 70% ขน้ึ ไป ถอื
กระบวนการ (P)
ของแรงโน้มถ่วงที่มตี ่อวตั ถุได้ ของแรงโนม้ ถว่ งของโลก วา่ ผ่านเกณฑ์

ครบทุกขน้ั ตอน การประเมนิ

คุณลกั ษณะนิสัย (A) 1. มีความสนใจและ 1. แบบสังเกตพฤติกรรม 70% ขึน้ ไป ถอื
กระตอื รือรน้ ในการเรียนรู้
วา่ ผา่ นเกณฑ์
การประเมิน

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้

7.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2แรงโน้มถ่วงของโลกฯ
2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกฯ
3) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกจิ กรรมท่ี 1 เชน่ กระดาษ ยางลบ ใบไมแ้ หง้ ถงุ พลาสติก เป็นตน้
4) หนังสือจดุ ประกายคดิ ชุด รู้วิทย์ คดิ เปน็ เรือ่ งแรงโน้มถว่ งของโลก
5) ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก
6) PowerPoint เร่ืองใบไม้รว่ งจากตน้
7) QR Code เรือ่ งแรงโนม้ ถว่ งของโลก
8) สมดุ ประจาตัวนักเรียน
9) บตั รภาพใบไม้ร่วง

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) อินเทอร์เนต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผู้บริหาร
(...........................................................)

ใบงานท่ี 2.1

เรอ่ื ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นดภู าพแลว้ บอกว่า เกี่ยวข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกอยา่ งไร
1. ภาพ

เกย่ี วข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกอยา่ งไร

2. ภาพ
เกยี่ วข้องกับแรงโนม้ ถ่วงของโลกอย่างไร

3.

ภาพ
เกยี่ วข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกอย่างไร

ใบงานที่ 2.1 เฉลย

เรื่อง ผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก

คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนดูภาพแลว้ บอกว่า เก่ียวขอ้ งกบั แรงโนม้ ถว่ งของโลกอยา่ งไร

1. ภาพ นา้ ตก
เกย่ี วขอ้ งกบั แรงโน้มถ่วงของโลกอยา่ งไร
แรงโน้มถว่ งของโลกดงึ ดดู ให้นา้ ไหลจาก
ท่ีสูงลงส่ทู ต่ี า่

2. ภาพแกว้ น้าหล่นแตก
เกี่ยวข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกอยา่ งไร
แรงโนม้ ถว่ งของโลกดึงดดู ให้สิ่งของต่างๆหล่นลง
พืน้ เสมอ แก้วน้าเมื่อหลน่ ลงพนื้ จึงเกดิ ชารุด
เสยี หาย

3.
ภาพชั่งน้าหนักส่งิ ของ
เกีย่ วขอ้ งกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลกอยา่ งไร
แรงโนม้ ถว่ งของโลกทาให้ส่ิงของหรอื วัตถตุ า่ งๆ
มนี ้าหนกั เราจึงสามารถนามาใช้วัดน้าหนกั ของ
ส่งิ ตา่ งๆ ได้

สปั ดาห์ท่ี 13-15

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นที่……1…/…2563……... ช่ือผู้สอน….……...................................................……...

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 10 คาบ

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง เร่ือง การหาน้าหนักของวัตถุ

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด
มาตรฐาน ว 2.2เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจาวนั ผลของแรงท่ีกระทาตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะการเคล่ือนทีแ่ บบ

ตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชีว้ ดั ป.4/1ระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งท่มี ตี ่อวตั ถจุ ากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
ป.4/2 ใช้เครือ่ งช่ังสปรงิ ในการวดั น้าหนกั ของวัตถุ

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

แรงโน้มถ่วงของโลกเปน็ แรงดึงดดู ของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถตุ ่างๆ จงึ ทาให้วัตถุเหล่านน้ั มีน้าหนกั ที่ตาแหนง่
เดยี วกันบนโลก ถ้าวัตถใุ ดมีมวลนอ้ ย แรงดึงดูดของโลกท่กี ระทาตอ่ วตั ถุน้นั จะมีค่าน้อย วัตถจุ งึ มีนา้ หนกั นอ้ ย ถ้าวตั ถใุ ดมีมวล
มาก แรงดึงดูดของโลกทก่ี ระทาต่อวัตถุน้นั จะมคี า่ มาก วัตถุจงึ มีนา้ หนักมาก ซึง่ เราสามารถวัดนา้ หนักของวตั ถตุ า่ งๆ ได้โดยใช้
เครื่องชงั่ สปริง

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. สังเกตและระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มตี ่อวตั ถุได้ (K)
2. สังเกตและอธบิ ายการวัดน้าหนกั ของวัตถุโดยใช้เครอ่ื งชง่ั สปริงได้ (K)
3. ใช้เคร่อื งช่ังสปริงวดั นา้ หนกั ของวตั ถตุ า่ งๆ ได้ (P)
4. ใหค้ วามร่วมมอื ในการทากิจกรรมกลุ่ม (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
แรงโน้มถว่ งของโลกทาใหว้ ัตถตุ ่างๆ มีนา้ หนัก ซ่ึง
สามารถวดั น้าหนกั ของวตั ถุไดโ้ ดยใช้เครื่องชง่ั สปริง

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขน้ั กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูสนทนากบั นักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองผลของแรงโน้มถ่วงท่ีได้เรียนจากช่ัวโมงที่ผ่านมา จากน้ันครูแจ้งชื่อเร่ืองและผล
การเรยี นร้ทู ่จี ะเรียนในวนั นใี้ ห้นกั เรยี นทราบ
2. ครูสุ่มนักเรียนตามลาดับเลขท่ีมา 1 คน ให้ออกมาหน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนที่เหลือในห้องร่วมกันคาดคะเนว่า
เพอ่ื นทอ่ี ยหู่ นา้ ห้องกับตนเองมนี า้ หนักเทา่ กันหรอื ไม่ จากน้ันครใู ห้นักเรยี นบอกนา้ หนกั ของตัวเองทีละคน

3. ครูถามคาถามเพ่ือกระตุ้นความคิดของนักเรียนต่อว่า นักเรียนคิดว่า วัตถุต่างๆ ท่ีเราพบเห็นในชีวิตประจาวันมี
นา้ หนักเท่ากันหรอื ไม่ เพราะเหตุใด จากน้นั ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนตอบคาถามอยา่ งอสิ ระ

(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

คาบที่ 2
ขน้ั สอน

ขั้นสารวจคน้ หา (Explore)
1.ครถู ามคาถามกระตนุ้ นักเรียน ดังน้ี
1) นักเรียนสามารถทราบนา้ หนกั ของตนเองไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ : ชัง่ น้าหนกั โดยใช้เครือ่ งชั่งน้าหนกั )
2) เคร่อื งมือใดทใี่ ช้ในการหานา้ หนกั ของวัตถุต่างๆ
(แนวตอบ : เคร่อื งช่ัง)
2.ครูช้แี จงใหน้ ักเรียนฟังว่า นักเรียนจะได้เรียนรู้การวัดน้าหนักของวัตถุต่างๆ จากการทากิจกรรมท่ี 2 เร่ืองแรงดึงดูด
ของโลกกบั นา้ หนักของวัตถุ ในตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2 จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 58-59

คาบที่ 3

3.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน โดยครูใช้วิธีการจับสลากหมายเลขกลุ่มกลุ่มท่ี 1-10 หากนักเรียนคนใดจับ
สลากได้หมายเลขใดกใ็ หไ้ ปอยทู่ ่ีกลุ่มนน้ั จากน้นั ครูใหน้ ักเรียนแต่ละคนเขา้ กลุ่มของตนเอง
4.ครูใช้วิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice)เข้ามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงน้ี โดยครูกาหนด
จุดม่งุ หมายและขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการทากิจกรรมให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ทราบ ดังน้ี

1) ใหส้ มาชกิ ทกุ คนในกลุ่มช่วยกันศึกษาวิธีการทากิจกรรมท่ี 2 เร่ือง แรงดึงดูดของโลกกับน้าหนักของวัตถุ
จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์หนา้ 58-59

2) เตรียมวัสดุอุปกรณใ์ นการทากจิ กรรมใหค้ รบถว้ นจากนั้นใหร้ ว่ มกันกาหนดปัญหาและต้ังสมมติฐานในการ
ทากจิ กรรม แล้วบนั ทกึ ผลลงในสมุดประจาตวั นักเรียนหรือบันทึกในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1
หนา้ 60

3) รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ และทาความเข้าใจเกยี่ วกับวธิ ีการทากจิ กรรมทถ่ี ูกตอ้ งตามทไี่ ดศ้ ึกษา
5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนและตัวเลขบนเคร่ืองชั่ง แล้ววาดภาพลงในในสมุด

ประจาตวั นกั เรียนหรอื ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 60 จากนนั้ รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวิธีการใช้งาน

เครอื่ งชั่งสปริงภายในกลุ่ม

(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

คาบที่ 4

6.ครูใหค้ วามรู้เพ่มิ เติมกอ่ นทากิจกรรมกับนักเรียนวา่ แรงดึงดูดของโลกจะกระทาต่อมวลของวัตถุต่างๆ จึงทาให้วัตถุมี
น้าหนกั ซ่งึ การวดั นา้ หนักของวัตถตุ า่ งๆ บนโลก สามารถทาไดโ้ ดยใช้เคร่อื งชง่ั สปรงิ
7.ครูใหส้ มาชกิ ทุกคนในกลุ่มช่วยกันสังเกตวัตถุท่ีใช้ในการทากิจกรรม แล้วช่วยกันคาดคะเนว่า วัตถุเหล่านั้นมีน้าหนัก
เท่าใด และบันทกึ ผลในสมุดประจาตวั นักเรยี นหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หนา้ 60 ตอนที่ 1
8.นกั เรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั ทากิจกรรมเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน ดังน้ี

1) สังเกตตัวเลขบนเคร่ืองช่ังสปริงแบบแขวน จากน้ันนาถ่านไฟฉายใส่ถุงพลาสติกแล้วแขวนกับตะขอของ
เครอื่ งชงั่ สปรงิ

2) สงั เกตตวั เลขบนเคร่อื งชงั่ อีกครั้ง แลว้ บันทึกค่าท่ีอ่านได้ (ทาซา้ อกี 2 ครง้ั แลว้ หาคา่ เฉลยี่ )
3) ทากิจกรรมซ้าโดยเปล่ียนวัตถุเป็นดินน้ามัน ถุงทราย และก้อนหิน ตามลาดับ แล้วบันทึกผลลงในสมุ ด

ประจาตวั นักเรยี นหรอื ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 60 ตอนที่ 1

4) รว่ มกันสรปุ ผลการทากิจกรรมภายในกลุ่ม
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

คาบท่ี 5

ขัน้ สารวจคน้ หา (ต่อ)(Explore)
1. ครูสนทนากับนกั เรยี นเพื่อทบทวนเก่ยี วกบั การใช้เคร่ืองช่งั สปริงแบบแขวนวดั นา้ หนักของวตั ถุจากช่วั โมงที่ผ่านมา
2. ครใู ห้นกั เรียนจบั กลมุ่ เดมิ แล้วทากิจกรรมท่ี 2 เรื่อง แรงดึงดดู ของโลกกับนา้ หนักของวตั ถุตอนที่ 2ต่อ โดยให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มสังเกตเคร่ืองชั่งสปริงแบบต้ังและตัวเลขบนเคร่ืองช่ัง แล้ววาดภาพลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือ
แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 61 จากนั้นร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั วิธกี ารใช้งานเคร่อื งชง่ั สปรงิ ภายในกลมุ่
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
3. ครูให้สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มชว่ ยกนั สงั เกตวตั ถทุ ี่ใช้ในการทากจิ กรรมตอนที่ 2 แล้วช่วยกันคาดคะเนว่า วัตถุเหล่านั้นมี
นา้ หนักเท่าใด และบันทึกผลลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรียนหรือในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์หนา้ 61

คาบที่ 6

4.นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันทากิจกรรมเพ่อื ตรวจสอบผลการคาดคะเน ดงั นี้
1) สังเกตเข็มที่ช้ีตัวเลขบนเคร่ืองชั่งสปริงแบบต้ัง จากน้ันวางเคร่ืองสปริงแบบตั้งไว้ในระดับเดียวกันกับพื้น
ราบ
2) นากล่องดินสอวางบนถาดเคร่ืองชั่งแล้วสังเกตเข็มท่ีชี้ตัวเลขจากเครื่องชั่งอีกครั้ง แล้วบันทึกค่าที่อ่านได้
(ทาซา้ อีก 2 ครั้ง แล้วหาคา่ เฉลยี่ )
3) ทากิจกรรมซ้าโดยเปล่ียนวัตถุเป็นหนังสือ ถุงทราย และผลไม้ (ครูเตรียมไว้ให้ 1 ชนิด) ตามลาดับ แล้ว
บันทึกผลลงในสมุดประจาตัวนักเรยี นหรือในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์หนา้ 61
4) รว่ มกันสรปุ ผลการทากิจกรรมภายในกลมุ่
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)

คาบท่ี 7

ข้นั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครจู บั สลากเลือกลาดับของแตล่ ะกล่มุ ให้ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมท่ี 2 ตอนท่ี 1-2 โดยให้นักเรียนกลุ่มที่ถูก
เลือกก่อนสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรม
2.นักเรียนทกุ กลมุ่ ร่วมกนั อภิปรายผลการทากิจกรรมจนได้ขอ้ สรุปว่า มวลของวัตถมุ ีผลต่อแรงดึงดดู ของโลก สงั เกตได้
จากการยดื ของสปริงในเครือ่ งชงั่ สปรงิ หากวัตถใุ ดมีมวลนอ้ ย แรงโน้มถ่วงของโลกท่ีกระทาต่อวัตถุจะน้อย ทาให้วัตถุมี

น้าหนกั นอ้ ย หากวัตถุใดมมี วลมาก แรงโนม้ ถ่วงของโลกทีก่ ระทาตอ่ วัตถจุ ะมากขึ้น ทาให้วัตถมุ นี า้ หนักมากดังนนั้ แรงโน้มถ่วง
ของโลกที่กระทาตอ่ วตั ถุแตล่ ะชนิดจึงมคี ่าแตกต่างกัน และเราสามารถวดั น้าหนกั ของวตั ถุได้โดยใชเ้ ครือ่ งชัง่ สปริง

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

คาบที่ 8
ขน้ั สรุป

ข้นั ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษาเน้ือหาเพ่มิ เตมิ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 60-62 และศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล
จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 61 โดยใหใ้ ช้โทรศัพท์มือถือสแกน QR Codeเร่ือง ปัจจัยท่ีมีผลต่อน้าหนักของวัตถุ
จากนน้ั ร่วมกนั สรุปความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษา

2. ครูถามคาถามท้าทายการคดิ ข้ันสูงจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 60 และหน้า 62 แล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบ
คาถามอย่างอิสระ โดยครคู อยเฉลยและอธิบายเพม่ิ เตมิ ดังน้ี

 “การท่ีแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้สิ่งต่างๆ ตกลงสู่พื้นโลก ทาให้ตัวเราและวัตถุต่างๆ มีน้าหนัก
เชน่ เดียวกัน เพราะถ้าไม่มีแรงโน้มถ่วง ตัวเราและวัตถุต่างๆ ก็จะอยู่ในสภาพไร้น้าหนัก” นักเรียนคิดว่า
คนเราสามารถอยู่ในสภาพไรน้ ้าหนักไดห้ รอื ไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ: คนเราไมส่ ามารถอยู่ในสภาพไร้น้าหนักได้ เพราะถ้าไม่มีแรงโน้มถ่วงของโลก คนและสิ่งต่างๆ
บนโลกจะลอยเควง้ ควา้ งไปมาในอากาศ และจะทาใหเ้ ราเคลอื่ นที่ไปในบรเิ วณท่ตี ้องการได้ยากลาบาก)

 น้าหนกั ของวัตถุ มคี วามเกยี่ วข้องกับแรงโน้มถว่ งของโลกอย่างไร
(แนวตอบ:นา้ หนกั ของวตั ถุเกิดข้นึ จากแรงโน้มถว่ งของโลกกระทาต่อมวลของวัตถุ จงึ ทาให้วตั ถมุ ีนา้ หนกั )
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

3. ครูตง้ั คาถามเพ่มิ เติมเพ่ือตรวจสอบความรขู้ องนักเรียน โดยสั่งเลือกนกั เรยี นให้ตอบคาถาม 3-4 คน ดังน้ี
 นา้ หนักของวตั ถุทนี่ ามาชัง่ บนโลกและน้าหนักของวัตถุทีช่ ่งั บนดวงจนั ทร์แตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ: น้าหนักของวตั ถุท่ีชัง่ บนโลกจะมคี า่ มากกว่าน้าหนกั ของวัตถุทช่ี ั่งบนดวงจันทร)์
 ถา้ นักบนิ อวกาศช่งั นา้ หนกั ตัวของตนเองบนโลกและบนดวงจันทร์จะได้น้าหนักแตกต่างกันหรือไม่ เพราะ
อะไร
(แนวตอบ :ตา่ งกัน เพราะดวงจันทรก์ ับโลกมแี รงโน้มถว่ งทแ่ี ตกต่างกัน 6 เท่า)

คาบท่ี 9

4. ครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน จากน้ันใหแ้ ต่ละกลุ่มไปวัดหาน้าหนักของสมาชิกภายในกลุ่มโดยใช้เคร่ืองช่ัง
สปริง แลว้ เปรียบเทียบผลว่า นา้ หนกั ของใครมากทสี่ ุดและนา้ หนกั ของใครนอ้ ยที่สุด จากนั้นนาเสนอข้อมูลหน้าชั้น
เรียน

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
5.ให้นักเรยี นแต่ละคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 59 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน
หรือทาในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 62

คาบท่ี 10

ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคลเกี่ยวกับการวัดน้าหนักของวัตถุโดยใช้เครื่องชั่งสปริงและปัจจัยที่มีผลต่อน้าหนัก

ของวัตถุ เพอ่ื เป็นการสรุปความรหู้ ลงั จากที่ไดเ้ รยี นมา
2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลุม่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน

3. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมท่ี 2 เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลกกับน้าหนักของวัตถุ ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือใน
แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 60-61

4. ครูตรวจผลการทากจิ กรรมการวัดน้าหนักของสมาชกิ ในกล่มุ จากสมดุ ประจาตัวนักเรียน
5. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ในสมุดประจาตัวนักเรยี นหรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หน้า 62

6. การวดั และประเมินผล

การวดั และประเมินผล วิธีการวดั ผล เครือ่ งมือวดั เกณฑ์การ
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล

ความร้คู วาม 1. สงั เกตและระบุผลของแรงโน้ม 1.คาถามกระต้นุ 70% ข้ึนไป ถอื ว่า


Click to View FlipBook Version