The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-11 10:06:27

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ป.4 เทอม 1-63

เข้าใจ (K) ถ่วงที่มีต่อวัตถุได้ ความคดิ ผา่ นเกณฑก์ าร
ประเมนิ
2.สงั เกตและอธบิ ายการวดั น้าหนกั

ของวตั ถโุ ดยใชเ้ ครื่องชง่ั สปรงิ ได้

ทักษะ/ 1.ใชเ้ ครื่องชง่ั สปริงวัดน้าหนักของ 1. บนั ทึกกจิ กรรมเรอ่ื ง 70% ขึน้ ไป ถือว่า
กระบวนการ (P)
วตั ถตุ า่ งๆ ได้ ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ นา้ หนกั ผา่ นเกณฑก์ าร

ของวตั ถุ ประเมนิ

คุณลกั ษณะนิสัย (A) 1. ให้ความรว่ มมอื ในการทา 1. แบบสังเกต 70% ข้ึนไป ถือวา่
กจิ กรรมกลมุ่ พฤติกรรม ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมิน

7. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้

7.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2แรงโน้มถว่ งของโลกฯ
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2แรงโนม้ ถว่ งของโลกฯ

3) วัสดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกจิ กรรมที่ 2 เชน่ ถา่ นไฟฉายถงุ ทราย ถงุ พลาสติก เป็นต้น
4) QR Code เรอื่ ง ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อน้าหนกั ของวัตถุ

5) สมุดประจาตัวนกั เรยี น
6) เครอ่ื งชั่งสปริงแบบแขวน
7) เครื่องช่ังสปริงแบบตง้ั

8) เครอื่ งช่ังสปรงิ แบบต้ัง
7.2 แหลง่ การเรียนรู้

1) ห้องเรียน
2) หอ้ งสมดุ
3) อนิ เทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ...................................................ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ี่ 15-17

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี……1…/…2563……... ชื่อผ้สู อน….……........................................

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 9 คาบ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง เรือ่ ง มวลกบั การเปล่ียนแปลงการ

เคลอื่ นทขี่ องวัตถุ

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั
มาตรฐาน ว 2.2เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนที่แบบ

ต่างๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ตัวชว้ี ดั ป.4/1ระบผุ ลของแรงโนม้ ถ่วงทีม่ ีต่อวัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

มวลของวัตถคุ ือปริมาณเน้อื ของสารท้งั หมดทปี่ ระกอบกันเป็นวตั ถุ ซง่ึ มีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทีข่ องวัตถุ

วตั ถุท่มี มี วลมากจะเปลีย่ นแปลงการเคลือ่ นทห่ี รอื เคล่อื นย้ายไดย้ ากวัตถุท่ีมมี วลน้อย ดังนน้ั มวลของวัตถุจึงเป็นการตา้ นการ
เปลี่ยนแปลงการเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถนุ ั้นด้วย

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สงั เกตและบรรยายมวลของวตั ถุทีม่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนทขี่ องวตั ถุได้ (K)
2. ทาการทดลองเพอ่ื อธบิ ายมวลของวัตถุทม่ี ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุได้ (P)
3. มคี วามกระตอื รือร้นในการเรียนรู้และการทากิจกรรม (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ

มวลของวัตถุ คือ ปริมาณเน้ือของสารทั้งหมดที่ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

ประกอบกันเป็นวัตถุ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการ

เคลื่อนท่ขี องวตั ถุ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครสู นทนาทกั ทายกับนกั เรียน จากนน้ั ครแู จง้ ช่อื เรือ่ งและผลการเรียนรู้ท่จี ะเรียนในวนั นีใ้ หน้ ักเรียนทราบ
2. ครถู ามคาถามเพอื่ กระตุน้ ความคดิ ของนักเรียน โดยใหน้ กั เรยี นช่วยตอบคาถามอยา่ งอิสระ และครูยังไม่เฉลยคาตอบ
ดงั น้ี
1) วัตถใุ นห้องเรยี น สงิ่ ใดบา้ งท่มี ขี นาดใหญ่ และสงิ่ ใดบา้ งที่มขี นาดเลก็

(แนวตอบ :สงิ่ ท่ีมขี นาดใหญ่ เชน่ โตะ๊ เกา้ อี้ กระเป๋านักเรยี น เป็นตน้ สง่ิ ท่มี ีขนาดเล็ก เช่น ยางลบ ดินสอ
สมดุ หนังสอื เป็นตน้ )
2) นักเรียนคดิ ว่า สิ่งของท่มี ขี นาดใหญก่ บั ส่งิ ของทมี่ ีขนาดเล็ก ส่งิ ใดเคล่ือนทีไ่ ด้ยากกว่ากนั เพราะอะไร
(แนวตอบ : สิง่ ของท่มี ีขนาดใหญ่เคล่อื นทไี่ ด้ยากกว่า เพราะมีมวลและมีนา้ หนักมากกว่า)
3) นกั เรียนคิดวา่ ระหว่างโต๊ะเรียนกบั กระเป๋านกั เรยี น ส่งิ ใดเคลือ่ นที่ได้งา่ ยกวา่ กัน เพราะอะไร
(แนวตอบ : กระเป๋านักเรียน เพราะมีขนาดเล็กกว่าโต๊ะเรียน จึงมีมวลน้อยกว่า และสามารถเคล่ือนท่ีได้
งา่ ยและสะดวกกว่าโตะ๊ เรียน )
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ขน้ั สอน

ข้ันสารวจค้นหา (Explore)
1. ครูนาบตั รภาพชงิ ช้าที่มขี นาดเล็กกบั ขนาดใหญ่ติดไวบ้ นกระดาน จากน้ันใหน้ กั เรียนชว่ ยกันสังเกตความแตกต่างของ
ชิงช้า จากน้ันตั้งคาถามว่า ชิงช้าที่มีมวลมากกว่าจะมีการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ได้ง่ายกว่าช่ิงช้าที่มีมวลน้อยกว่า
หรอื ไม่ อย่างไร แลว้ ใหน้ ักเรยี นแสดงความคิดเหน็ ร่วมกัน
2. ครูช้แี จงวา่ นกั เรยี นสามารถหาคาตอบไดจ้ ากการทากิจกรรมที่ 3 เรือ่ งมวลของวตั ถกุ บั การเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนที่
หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 63-64

คาบท่ี 2

3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยคละตามความสามารถ(เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) จากน้ันให้
สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันศึกษาวิธีการทากิจกรรมท่ี 3 เรื่อง มวลของวัตถุกับการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ี จาก
หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หนา้ 63-64 จากนนั้ ลงมอื ทากจิ กรรม ดงั นี้

1) เติมน้าใส่ขวดพลาสติกใบท่ี 1 ให้เต็มขวด และเติมน้าใส่ขวดพลาสติกใบท่ี 2 คร่ึงขวด แล้วปิดฝาขวด
จากน้ันใชเ้ ชือกขนาดเท่ากนั มดั ทป่ี ากขวดทัง้ สองใบ

2) แต่ละกลุ่มชว่ ยกนั คาดคะเนว่า ถ้านาปลายเชอื กทมี่ ัดปากขวดทั้ง 2 ใบ ไปผูกกับคานไม้ท่ีพาดระหว่างโต๊ะ
2 ตวั แล้วแกว่งขวดทั้ง 2 ใบ ไปมาด้วยแรงท่ีเท่ากัน 1 รอบ ขวดใบใดจะเคลื่อนที่ก่อน และขวดใบใดจะ
หยดุ เคลือ่ นท่ีกอ่ น

3) สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันทากิจกรรมเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยทดลองกับขวดใบที่ 1 และ
ขวดใบที่ 2 ตามลาดับ จากนั้นให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มบันทึกผลลงในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 64

4) แต่ละกลุ่มใชเ้ ครอ่ื งชง่ั สปริงแบบตั้งชงั่ มวลของขวดทั้ง 2 ใบ จากนั้นอ่านค่าที่ได้ แล้วให้ตัวแทนของแต่ละ
กล่มุ บนั ทกึ ผล

(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ )

คาบที่ 3

ข้นั อธิบายความรู้ (Explain)
1. แต่ละกลุ่มช่วยกันเปรียบเทียบมวลและเวลาในการเคล่ือนท่ีของขวดทั้งสองใบ จากน้ันช่วยกันรวบรวมข้อมูลและ
สรปุ ผลการทดลอง แล้วให้แตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนของกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรม
2.นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายผลการทากิจกรรมจนได้ข้อสรุปว่า ขวดที่มีน้าเต็มขวดมีมวลมากกว่าขวดที่มีน้าอยู่ครึ่งขวด

จึงทาใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทไ่ี ด้ยากกว่าและชา้ กวา่ และเม่ือขวดน้าน้ันเคล่ือนที่ไปแล้วจะทาให้หยุดการเคลื่อนที่ได้
ยากกว่าขวดท่ีมีน้าอยู่ครึ่งขวด แสดงว่ามวลของวัตถุมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ โดยวัตถุที่มีมวลมากจะ
เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนทไี่ ด้ยากกวา่ วตั ถทุ ่ีมมี วลนอ้ ย จึงเกดิ เปน็ การต้านการเคลอื่ นทีข่ องวัตถุ

คาบที่ 4

ขน้ั สรปุ

ขั้นขยายความเขา้ ใจ(Elaborate)
1.ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนทากิจกรรมหนตู อบได้จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 64 ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียนหรือ
ทาในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 65
2.ครูใหน้ กั เรยี นศึกษาข้อมลู จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 65 จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมเพื่อขยาย
ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมวลของวัตถุกับการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ี โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทา
กจิ กรรม ดงั นี้
 ทดลองเคลือ่ นย้ายเพ่อื นท่ีมีมวลมากทีส่ ุด(อว้ น) กบั เพือ่ นท่ีมีมวลนอ้ ยท่ีสดุ (ผอม)
 ทดลองเคลอ่ื นยา้ ยโต๊ะเรยี นกบั เคลอื่ นยา้ ยเกา้ อี้
 ทดลองเคล่ือนย้ายโตะ๊ เรียนกับเคล่ือนยา้ ยกระเป๋านกั เรียน
 ทดลองเคลอ่ื นยา้ ยกระเปา๋ นกั เรยี นกับสมดุ
3.หลังจากทากิจกรรมครูให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายว่า วัตถุที่มีมวลมากกับวัตถุที่มวลน้อย ส่ิงใดเคล่ือนท่ีหรือ
เคล่อื นยา้ ยได้ง่ายและสะดวกท่สี ดุ เพราะอะไร จากน้นั ให้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนนาผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียนเพื่อสรุป
รว่ มกันกบั เพือ่ นกลุ่มอื่นๆ

3. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจวา่
 วัตถทุ มี่ มี วลมาก จะมนี า้ หนักมาก จึงเปลีย่ นแปลงการเคล่อื นท่ีไดย้ ากกวา่ วตั ถุท่มี ีมวลน้อย
 วตั ถทุ ม่ี ีมวลนอ้ ย จะมนี า้ หนกั กวา่ จงึ เปล่ยี นแปลงการเคล่ือนท่ีได้ง่ายกวา่ วตั ถุท่มี ีมวลมาก


คาบท่ี 5

4.ครูสนทนากับนักเรยี นเพอ่ื ทบทวนความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เนือ้ หาทไ่ี ด้เรยี นผ่านมาจากหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 บทท่ี 1
แรงโน้มถว่ งของโลก โดยส่มุ เรยี กช่อื นักเรยี นใหอ้ อกมาเลา่ ว่าตนเองไดร้ บั ความร้อู ะไรบ้าง
5.ให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนมาจากบทที่ 1 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ
เป็นตน้ ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรียนหรืออาจทากิจกรรมสรปุ ความรู้ประจาบทท่ี 1 ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 66

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

คาบท่ี 6

ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) (ต่อ)
1. ให้นักเรียนทากิจกรรมฝึกทักษะบทที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 66-67 ข้อ 1-4 ลงในสมุดประจาตัว
นักเรียน หรือทาในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หน้า 67-69
2. ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนทากิจกรรมท้าทายการคดิ ขน้ั สูง จากแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์หน้า 70
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

คาบที่ 7

3.นักเรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 3-4 คน จากนั้นศึกษากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 67 แล้วให้
ปฏิบัตกิ ิจกรรมโดยมีขนั้ ตอน ดังน้ี

1) ชว่ ยกนั ออกแบบและสร้างกล่องกนั กระแทกเพือ่ ปอ้ งกันของตกหล่นจากทส่ี งู
2) กาหนดให้ใช้วสั ดเุ หลอื ใช้ 2-3 ชนิด เท่าน้นั เพอ่ื มาสร้างผลงาน
3) นาเสนอแนวคดิ ของผลงานและทดสอบผลงานหน้าชั้นเรียน
4) ปรับปรุงแกไ้ ขผลงาน เพื่อนาไปจดั แสดงในวนั วิชาการของโรงเรียน
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )

คาบท่ี 8

ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1.ให้นกั เรียนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 65 จากนั้นถามนักเรียนเป็นรายบุคคลตาม
รายการขอ้ 1-5 จากตาราง เพือ่ เป็นการตรวจสอบความรคู้ วามเขา้ ใจของนกั เรยี นหลังจากการเรียน หากนักเรียนคนใด
ตรวจสอบตนเองโดยให้อยใู่ นเกณฑ์ควรปรับปรุง ให้ครูทบทวนบทเรียนหรือหากิจกรรมอ่ืนซ่อมเสริม เพื่อให้นักเรียนมี
ความร้คู วามใจในบทเรียนมากขน้ึ
2.ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ช้ันเรยี น

คาบที่ 9

3.ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 3 เร่ืองมวลของวัตถุกับการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ ในสมุดประจาตัวนักเรียน
หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 64
4.ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบไดใ้ นสมุดประจาตวั นกั เรียนหรอื แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตรห์ น้า 65

5.ครตู รวจผลการสรุปความรู้เก่ียวกับมวลของวัตถุกับการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีจากสมุดประจาตัวนักเรียนหรือใน
แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หน้า 66

6.ครตู รวจผลการทากจิ กรรมฝกึ ฝนทักษะบทที่ 1 ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรือในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์หนา้ 67-69
7.ครูตรวจผลการทากจิ กรรมท้าทายการคิดขนั้ สูงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรห์ นา้ 70
8.ครูตรวจชิน้ งาน/ผลงานกล่องกนั กระแทก และการนาเสนอชิน้ งาน/ผลงาน หน้าชั้นเรียน

6. การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมือวัด เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล

ความรู้ความ 1. สังเกตและบรรยายมวลของวัตถุ 1.คาถามกระตุ้นความคดิ 70% ข้ึนไป ถอื วา่
เขา้ ใจ (K) ทม่ี ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงการ ผ่านเกณฑ์การ
เคล่ือนทีข่ องวัตถุได้ ประเมิน

ทักษะ/ 1.ทาการทดลองเพื่ออธิบายมวล 1.แบบบันทกึ กิจกรรมการ 70% ขึน้ ไป ถอื วา่
กระบวนการ (P) ของวตั ถุทมี่ ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลง ทดลองมวลของวัตถุท่ีมี ผ่านเกณฑ์การ

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) การเคลื่อนทขี่ องวัตถุได้ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลง ประเมิน
การเคลือ่ นทขี่ องวัตถุ

1. มคี วามกระตือรอื ร้นในการ 1. แบบสงั เกตพฤติกรรม 70% ขนึ้ ไป ถือวา่
เรียนรแู้ ละการทากจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์การ
ประเมนิ

7. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้

7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2แรงโน้มถว่ งของโลกฯ
2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.4เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2แรงโนม้ ถว่ งของโลกฯ
3) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกจิ กรรมท่ี 3 เช่น คานไม้ นาฬกิ าจบั เวลา ขวดน้าพลาสตกิ เป็นต้น
4) วัสดุ-อปุ กรณใ์ นการทากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน เช่น กลอ่ งลัง กระดาษสี เปน็ ตน้
5) บัตรภาพชิงช้าที่มขี นาดเล็กและขนาดใหญ่
6) เคร่ืองชั่งสปรงิ แบบต้งั
7) สมุดประจาตวั นกั เรียน

7.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) อนิ เทอร์เน็ต

8.กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ ............................................

ลงชื่อ............................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ...................................................ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 18-19

โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี……1…/…2563……... ช่ือผูส้ อน….……...........................................

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 8 คาบ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสงเร่อื ง ตวั กลางของแสงและวัตถุทึบแสง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ว 2.3เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง

สสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณ์ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับเสียง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้

รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชี้วัด ป.4/1จาแนกวตั ถุเป็นตวั กลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่ แสง และวัตถทุ ึบแสง โดยใช้ลกั ษณะการมองเห็นสิ่งต่าง

ๆ ผ่านวตั ถุน้ันเป็นเกณฑจ์ ากหลักฐานเชงิ ประจักษ์

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

เมือ่ มองส่ิงต่าง ๆ โดยมวี ตั ถตุ ่างชนิดกนั มากน้ั แสง จะทาให้มองเห็นสิง่ น้ัน ๆ ชดั เจนได้แตกตา่ งกันไปจึงจาแนกวตั ถุท่ี
กน้ั แสงไดเ้ ป็นตัวกลางโปร่งใส ตวั กลางโปร่งแสง และวัตถุทบึ แสง

ตวั กลางของแสง คอื วตั ถุทก่ี ั้นทางเดินของแสง แล้วแสงสามารถเดนิ ทางผ่านไปได้ สว่ นวตั ถุทบึ แสง คือ วตั ถุทเ่ี มื่อ
นามากนั้ แสงแลว้ มองไม่เหน็ แสงท่ีผา่ นมาได้ และไม่สามารถมองเห็นส่งิ ทีอ่ ยู่ด้านหลังวตั ถทุ ี่นามาก้นั แสงนนั้ ได้

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สังเกตและอธิบายการมองเห็นแสงผ่านวตั ถุต่างๆ ได้ (K)
2. จาแนกวัตถทุ ่นี ามาใช้กนั้ แสงได้เป็นวตั ถโุ ปร่งใส วัตถโุ ปรง่ แสง และวัตถทุ ึบแสง (P)
3. มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมายและสง่ งานตรงเวลา (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ

เม่ือนาวัตถุต่างชนิดกันมากั้นแสงจะทาให้มองเห็นส่ิง พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

ต่างๆ ผ่านวัตถุน้ันได้ต่างกันจึงจาแนกวัตถุได้เป็น

ตวั กลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปร่งแสง และวตั ถุทึบแสง

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1
ขน้ั นา

ขนั้ กระตุน้ ความสนใจ (Engage)
1. ครแู จง้ ชือ่ เรอ่ื งท่จี ะเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันสังเกตภาพในหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 68 จากนั้นใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความ

คิดเห็นร่วมกันว่า ภาพนเ้ี กี่ยวข้องกบั การมองเห็นแสงผ่านวตั ถอุ ยา่ งไร โดยครคู อยเสรมิ ขอ้ มูลในส่วนทบี่ กพร่อง
3. ให้นักเรียนเรียนรู้คาศัพท์ที่เก่ียวข้องกับการเรียนในบทที่ 2 เร่ือง ตัวกลางของแสงจากภาพในน้ี โดยครูสุ่มเลือก
ตัวแทนหรอื ขออาสาสมคั รนกั เรยี น 1 คน ออกมาหนา้ ชั้นเรียนเพือ่ เป็นผอู้ ่านนา และใหเ้ พ่อื นคนอ่ืน ๆ อ่านตาม ดงั น้ี

Transparent object (แทร็นซ’แพรึนท ‘อ็อบเจ็คท) วัตถโุ ปรง่ ใส
Translucent object
(แทรน็ ส’ลูซนึ ท ‘ออ็ บเจค็ ท) วัตถุโปรง่ แสง
Opaque object
(โอ’เพค‘ออ็ บเจค็ ท) วตั ถุทบึ แสง

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
4. ครูถามคาถามสาคญั ประจาบทเพอ่ื กระตุ้นนกั เรียนกอ่ นเข้าสเู่ นื้อหาวา่ เราใชป้ ระโยชน์จากตวั กลางของแสงอย่างไร

บา้ ง แล้วใหน้ กั เรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ

(แนวตอบ : เช่น ใช้ทากระจกหน้าตา่ งเพ่ือใหม้ องเหน็ สิ่งตา่ งๆ นอกบา้ นได้ชดั เจน หรือทากาแพง
บา้ นเพือ่ ปอ้ งกันแสงเขา้ มา เปน็ ตน้ )

5. ให้นักเรียนเขียนการใช้ประโยชน์จากตัวกลางของแสงในบ้านของตนเองมา 5 ข้อโดยทาลงในสมุดประจาตัว

นักเรยี น หรอื ใหท้ ากิจกรรมนาส่กู ารเรยี นในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 72

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

คาบท่ี 2

ขน้ั สอน

ขน้ั สารวจค้นหา (Explore)
1. ครนู าผา้ เช็ดหน้ามา 1 ผืน จากนั้นกางผ้าเช็ดหนา้ ใหน้ กั เรียนดแู ละบอกนักเรียนให้คาดเดาว่า หากครูใช้ไฟฉายส่อง
ผ้าเช็ดหน้าผืนนี้ แสงจะสามารถเคล่ือนที่ผ่านทะลุผ้าได้หรือไม่ เพราะอะไรแล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นอย่างอสิ ระ
(แนวตอบ : คาตอบข้ึนอยู่กันดิ และความหนาของผ้าที่ครนู ามาใช้)
2. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลและสังเกตภาพจากหนังสือเรียนหน้าน้ี จากน้ันครูสุ่มถามนักเรียน 4-5 คน ว่า วัตถุใน
ภาพใดบ้างเป็นตวั กลางของแสงและวัตถใุ ดเป็นวัตถทุ บึ แสง
3. ครถู ามคาถามนกั เรียนวา่ ตัวกลางของแสงแตกต่างจากวัตถทุ บึ แสงอย่างไรจากนั้นจับสลากเลือกนักเรียนให้ออกมา
ตอบคาถาม 2-3 คน
(แนวตอบ: ตวั กลางของแสง คอื วัตถทุ ่กี ัน้ ทางเดินของแสง แลว้ แสงสามารถเดินทางผา่ นไปได้ ส่วนวัตถุทึบแสง คือ
วัตถทุ ี่เมือ่ นามาก้นั แสง แล้วมองไม่เห็นแสงท่ผี า่ นมาได้ และไมส่ ามารถมองเห็นส่ิงท่ีอยู่ด้านหลังวัตถุท่ีนามากั้นแสง
น้นั )
4. ครใู หค้ าชมเชยหรือรางวัลเพ่อื เป็นการเสริมแรงนกั เรยี นทีต่ อบคาถามได้ถกู ต้อง
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

คาบท่ี 3

5. ครูใหน้ ักเรียนเลน่ เกมหอยแบ่งฝาเพื่อแบง่ กลุ่มนักเรยี นออกเปน็ กลุ่มละ 4 คน โดยครูอธิบายวิธีการเล่นให้นักเรียน
ฟังจากนั้นใหน้ ักเรยี นเลน่ เกม 2-3 คร้งั จนไดก้ ลมุ่ ครบทกุ คน

วิธีการเลม่ เกม “หอยแบ่งฝา”
ครูให้นักเรียนแต่ละคนคิดว่าตนเองต้องการเป็นตัวหอย หรือต้องการเป็นฝาหอย โดยครูจะ
ออกคาสั่งแลว้ ใหน้ ักเรียนว่งิ ไปรวมกลมุ่ กัน ซ่ึงกาหนดให้ นักเรียนที่ยืนล้อมวงคือ ฝาหอย และ
นักเรียนที่อยู่ในวง คือตัวหอย ทั้งน้ีนักเรียนคนใดท่ีไม่มีกลุ่ม หรือนักเรียนกลุ่มใดมีจานวนฝา
หอย หรือจานวนตัวหอยไม่ครบตามจานวนท่ีครูออกคาสั่ง จะถูกนาออกมาทากิจกรรมพิเศษ
ดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ เชน่ การเต้นตามเพลง การร้องเพลง หรืออ่ืนๆ ตามความเหมาะสม ตัวอย่าง
การออกคาสงั่ ของครู เชน่

1) มหี อย 2 ตวั อยใู่ นฝา 4 ฝา 2) มฝี า 6 ฝา ลอ้ มหอย 3 ตัว3) ฝาเปลย่ี นหอย

คาบท่ี 4

6. ครูชี้แจงว่าใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาขน้ั ตอนและวิธกี ารทากิจกรรมที่ 1 เร่ือง ตัวกลางของแสง จากหนังสือเรียน
หน้า 70-71 จากน้ันให้แต่ละกลุ่มไปเตรียมอุปกรณ์ให้ครบถ้วน แล้วให้ช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนครบทุกข้ันตอน
โดยใหบ้ นั ทกึ ผลการทากจิ กรรมลงในสมุดหรอื ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรห์ นา้ 75
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรม โดยให้เพ่อื นกลมุ่ อืน่ ๆซกั ถามขอ้ สงสยั และให้ครู
คอยอธิบายเพิ่มเตมิ ในส่วนท่บี กพร่อง
2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายของการทากิจกรรมจนสรุปให้ได้ว่า ตัวกลางของแสง คือ วัตถุชนิดต่างๆ ท่ีนามาก้ัน
ทางเดนิ ของแสง แลว้ แสงสามารถเดนิ ทางผา่ นไปได้มากหรอื ได้บางสว่ นเชน่ กระจกฝ้า กระจกใส เป็นต้น ส่วนวัตถุ
ทึบแสง คือ วัตถุชนิดต่างๆ ที่นามาก้ันแสงแล้วมองไม่เห็นแสงท่ีผ่านมาได้ และทาให้ไม่สามารถมองเห็นส่ิงท่ีอยู่
ดา้ นหลงั วัตถุที่นามากัน้ แสงนน้ั เช่น แผน่ กระเบอื้ ง สมดุ กล่องลัง เป็นตน้
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )

คาบท่ี 5
ขน้ั สรปุ

ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ(Elaborate)
1. ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกันศึกษาเนอ้ื หาจากหนงั สอื เรยี นหน้า 72-73และ PPT เรอ่ื ง ตัวกลางของแสงจากนัน้ ร่วมกันสรุป
ความร้เู พื่อเชือ่ มโยงกับผลการทากิจกรรมท่ี 1
2. ให้นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียน หน้า 71 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือทาในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หน้า 76
3. ครขู ยายความเข้าใจของนกั เรยี นเพิ่มเตมิ โดยนานา้ ทบ่ี รรจอุ ยู่ในภาชนะตา่ งๆ ได้แก่ ขวดพลาสติกใส ขวดพลาสติก
ขุ่น และถว้ ยกระเบอ้ื ง มาใหน้ กั เรียนทกุ คนไดส้ งั เกตหนา้ ชัน้ เรยี น แลว้ ตั้งคาถาม ดังนี้
1) นักเรยี นสามารถมองเห็นน้าผ่านภาชนะใดได้ชัดเจนท่ีสดุ เพราะอะไร

(แนวตอบ : ขวดน้าพลาสติกใส เพราะขวดมีความโปร่งใส จึงสามารถมองเห็นน้าท่ีบรรจุในขวดได้
ชัดเจน)
2) การมองเห็นนา้ ทีบ่ รรจอุ ยู่ในภาชนะเกีย่ วข้องกับการเดนิ ทางของแสงผ่านภาชนะหรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ : เกีย่ วข้อง เพราะแสงสามารถเดินทางผ่านภาชนะโปร่งใสท่ีบรรจุน้าได้ จึงทาให้เรามองเห็น
น้าทบ่ี รรจุในภาชนะได้ชดั เจน)
4. นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นและตอบคาถามท่คี รตู ้ังไว้
5. ครูสมุ่ เรยี กนักเรยี นทีละคนเพอ่ื ใหย้ กตัวอย่างวัตถุที่เป็นตวั กลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปรง่ แสง หรอื วตั ถทุ ึบแสงมาคนละ
1 ตัวอยา่ ง โดยต้องไมซ่ ้ากับตวั อยา่ งทอ่ี ยใู่ นหนังสอื เรยี นหนา้ นี้
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

คาบท่ี 6

ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ตอ่ )
1.ครสู นทนากับนักเรยี นเพือ่ ทบทวนความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั เนื้อหาที่ได้เรยี นผ่านมาจากหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 บทที่ 2
ตวั กลางของแสง โดยสุ่มเรยี กชือ่ นักเรยี นใหอ้ อกมาเล่าวา่ ตนเองไดร้ ับความรอู้ ะไรบา้ ง
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

2.ให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีได้เรียนมาจากบทที่ 2 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ
เป็นต้น ลงในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน หรอื อาจทากจิ กรรมสรปุ ความรู้ประจาบทท่ี 2 ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 77
3.ให้นักเรียนทากิจกรรมฝึกทักษะบทที่ 2 จากหนังสือเรียน หน้า 74 ข้อ 1-3 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือทาใน
แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 78-79
4.ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมท้าทายการคดิ ข้ันสูงจากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์หน้า 80

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

คาบที่ 7

5.ให้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 3-4 คน จากน้นั ศกึ ษากจิ กรรมสรา้ งสรรค์ผลงานจากหนงั สือเรียนหน้า 74 แล้วให้ปฏิบัติ
กิจกรรมโดยมีข้ันตอน ดังนี้

 สารวจวัตถุภายในโงเรยี น 20 ชนดิ
 นาขอ้ มลู ที่ได้จากการสารวจมาจัดทาเป็นสมุดภาพโดยให้ติดภาพหรือวาดภาพวัตถุเพื่อจาแนกวัตถุเป็น

วัตถุโปร่งใส วตั ถุโปร่งแสง และวัตถทุ บึ แสง
 ตกแต่งใหส้ วยงาม แลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
6. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง จากแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หน้า 82-85
7. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนของหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
เพอื่ ตรวจสอบความรูค้ วามเขา้ ใจหลังเรียน

คาบที่ 8

ข้นั ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ให้นักเรียนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 73 จากนั้นครูถามนักเรียนเป็นรายบุคคล
ตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนหลังจากการเรียน หาก
นักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควรปรับปรุง ให้ครูทบทวนบทเรียนหรือหากิจกรรมอื่นซ่อม
เสริม เพือ่ ให้นกั เรียนมีความร้คู วามใจในบทเรียนมากขน้ึ
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาแผนผังความคิดสรุปสาระสาคัญประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ในหนังสือเรียน หน้า75
จากนัน้ ครูสุ่มเลอื กนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คลใหบ้ อกเลา่ ความร้คู วามเข้าใจท่ีได้รับจากการเรยี นในหน่วยการเรียนรนู้ ี้
3. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชัน้ เรียน
4. ครูตรวจสอบผลการเขียนการใช้ประโยชน์จากตัวกลางของแสงในบ้านของตนเองในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือ
ตรวจสอบผลการทากจิ กรรมนาสู่การเรียนในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์หนา้ 72
5. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 1 เรอื่ งตวั กลางของแสง ในสมดุ ประจาตัวนกั เรยี นหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
หนา้ 75
6. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ในสมุดประจาตัวนกั เรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรห์ น้า 76
7. ครตู รวจผลการทากจิ กรรมสรุปความรู้ประจาบทที่ 2 ในสมุดประจาตวั นักเรยี นหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หน้า
77
8. ครูตรวจผลการทากจิ กรรมฝึกฝนทักษะบทท่ี 2 ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์หน้า 78-
79
9. ครูตรวจผลการทากจิ กรรมท้าทายการคิดข้นั สูงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรห์ น้า 80
10. ครตู รวจช้นิ งานสมดุ ภาพจาแนกวตั ถุโปร่งใส วตั ถุโปรง่ แสง และวัตถุทึบแสง และการนาเสนอชิ้นงาน/ผลงาน หน้า
ชั้นเรยี น
11. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตจากแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หน้า 82-85
12. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นของหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของ
แสง

6. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี ารวัดผล เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การ
ประเมนิ ผล
การวดั และประเมินผล
จดุ ประสงค์ 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่
ผ่านเกณฑก์ าร
ความรู้ความ 1. สงั เกตและอธบิ ายการมองเหน็ 1.คาถามกระต้นุ ประเมิน
เข้าใจ (K)
แสงผ่านวัตถุตา่ งๆ ได้ ความคิด

ทักษะ/ 1.จาแนกวตั ถทุ ี่นามาใช้ก้ันแสงได้ 1. บันทึกกจิ กรรมเร่ือง 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่
กระบวนการ (P) เป็นวัตถโุ ปร่งใส วตั ถุโปรง่ แสง การจาแนกวัตถุท่ี ผ่านเกณฑ์การ
และวตั ถทุ บึ แสง นามาใชก้ น้ั แสงได้เป็น ประเมนิ
วัตถุโปรง่ ใส วตั ถุโปร่ง
แสง และวตั ถทุ ึบแสง

คุณลักษณะนสิ ัย (A) 1. มีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ทีท่ ่ี 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่า
ไดร้ บั มอบหมายและส่งงานตรง ผ่านเกณฑ์การ
เวลา ประเมิน

7. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกฯ
2) แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกฯ
3) วัสดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 1 เช่น ไฟฉาย แผน่ ไม้ แกว้ พลาสตกิ ใส เป็นต้น
4) วสั ดุ-อปุ กรณใ์ นการทากิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เช่น สีไม้ สมดุ กระดาษสี เปน็ ต้น
5) ภาชนะใสบ่ รรจนุ ้า ได้แก่ ขวดพลาสติกขนุ่ ขวดพลาสติกใส และถว้ ยกระเบ้อื ง
6) PowerPoint เรอ่ื ง ตัวกลางของแสง

7) ผ้าเช็ดหนา้ 1 ผืน
8) สมดุ ประจาตัวนักเรยี น
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมดุ
3) อินเทอรเ์ น็ต

8.กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครผู ูส้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ...................................................ผบู้ ริหาร
(...........................................................)


Click to View FlipBook Version