แบบบันทกึ ผลการจัดทาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศลิ ปะ ( นาฏศลิ ป์ )
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี ………………….. เวลา 20 ชวั่ โมง
หน่วย ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
ที่ เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน
1 การแสดง มาตรฐานที่ ศ 3.1 การเคลื่อนไหว 7 20
บทบาทสมมตุ ิ เข้าใจและแสดงออกทาง เลยี นแบบสง่ิ ต่างๆ
นาฎศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ เป็นพืน้ ฐานการฝึก
วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ แสดงละครและ
คณุ ค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด นาฏศิลป์
ความร้สู กึ ความคดิ อย่างอสิ ระ -
ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้ใน
ชีวิตประจาวัน
ตัวช้ีวดั ที่ ป 1/1
เลียนแบบการเคล่ือนไหว
2 ภาษาท่า ตวั ชีว้ ัดท่ี ป 1/2 ภาษาท่า เปน็ ทกั ษะ 5 20
แสดงท่าทางง่ายๆ เพือ่ สื่อ พ้นื ฐานในการฝกึ การ
ความหมายแทนคาพูด แสดงนาฏศลิ ป์และ
การแสดงละคร เพอ่ื
ใช้บอกอารมณ์
ความรู้สึก หรอื การ
กระทาของตัวละคร
แทนการใชค้ าพดู
3 การละเลน่ ของเด้ก มาตรฐาน ศ 3.2 การละเล่นของ 4 20
ไทย ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง เดก็ ไทย มีวิธีเล่นและ
นาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และ กติกาการเล่นท่ี
วฒั นธรรม เห็นคณุ ค่าของ แตกต่างกนั ซึ่งเป็น
กจิ กรรมที่ให้
นาฏศลิ ป์ท่ีเปน็ มรดกทาง
วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ประโยชนท์ งั้ ความ
สนุกสนาน
ภูมิปญั ญาไทยและสากล
เพลดิ เพลิน และ
ตวั ชี้วัดที่ ป 1/1
แสดงถึงเอกลกั ษณ์
ระบุและเล่นการละเลน่ ของ ของความเปน็ ไทย
เดก็ ไทย
-
- การชมการแสดง 4 20
4 การชมการแสดง มาตรฐาน ศ 3/1
นาฏศิลป์ไทย เข้าใจและแสดงออกทาง นาฏศิลป์ ผ้ชู มท่ีดี
นาฎศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ตอ้ งมมี ารยาทในการ
วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ ชม และตั้งใจชม
คุณค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอด อยา่ งมีสมาธิ
ความรสู้ ึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ
ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ใน
ชวี ิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ 3.2
ความสมั พนั ธ์ระหว่าง
นาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และ
วัฒนธรรม เหน็ คุณค่าของ
นาฏศลิ ป์ทเี่ ปน็ มรดกทาง
วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน
ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 1/2
บอกสง่ิ ทต่ี นเองชอบในการ
แสดงนาฏศลิ ป์
ตัวชวี้ ัดท่ี ป 1/3
บอกสง่ิ ทตี่ นเองชอบจากการ
ดหู รือร่วมการแสดง
สปั ดาหท์ ่ี 1-7
โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา
แผนการจดั การเรยี นรู้
ภาคเรยี นที่ 1/ ……………… ชอื่ ผู้สอน …………………………………………….
กล่มุ สาระ ศิลปะ (นาฏศลิ ป์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 7 คาบ
หน่วยการเรียนท่ี 1 การแสดงบทบาทสมมุติ เรอ่ื ง การเลียนแบบสัตว์
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
มาตรฐานท่ี ศ 3.1เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน
ตัวชี้วัดที่ ป 1/1 เลยี นแบบการเคล่อื นไหว
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
การเคลอื่ นไหวเลียนแบบส่ิงต่างๆ เป็นพน้ื ฐานการฝกึ แสดงละครและนาฏศิลป์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เคลื่อนไหวรา่ งกายเลยี นแบบพฤติกรรมของม้า กบ ลิง และกวางได้
2. แสดงบทบาทสมมตุ ิเลยี นแบบพฤตกิ รรมของสตั ว์ได้
3. เคลอื่ นไหวร่างกายเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคนร้องเพลง คนถพู ื้น คนขบั รถ และคนชราเดนิ ได้
4. แสดงบทบาทสมมตุ ิเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคนได้
5. เคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบลมพัดและต้นข้าวได้
6. เคล่ือนไหวรา่ งกายเลียนแบบฝนตกได้
7. เคลอื่ นไหวรา่ งกายเลยี นแบบส่งิ ต่างๆ ได้
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
การเคลือ่ นไหวลักษณะต่างๆ
(1) การเลยี นแบบธรรมชาติ
(2) การเลยี นแบบคน สตั ว์
5. กิจกรรมการเรียนรู้
คาบท่ี 1
ขั้นนา
ขั้นกระต้นุ ความสนใจ
1. ครูสุม่ เรียกนกั เรยี น 4 คน ออกมาแสดงท่าทางเลียนแบบสตั วห์ นา้ ช้ันเรยี น แล้วให้เพือ่ นทายวา่ เปน็ สตั ว์ชนดิ
ใด
2. ครูแจ้งใหน้ กั เรยี นทราบวา่ ครจู ะให้นักเรียนฝึกแสดงท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมของสตั ว์ จากน้ันใหน้ ักเรียน
ศึกษาความรูเ้ รือ่ ง การเคลื่อนไหวลักษณะต่างๆ : การเลยี นแบบสัตว์ จากหนังสือเรยี น
3. ครสู าธติ การแสดงทา่ ทางเลยี นแบบพฤติกรรมของสัตว์ ได้แก่ ม้า กบ ลิง และกวาง ใหน้ กั เรียนดทู ีละทา่ อย่าง
ชา้ ๆ เพอื่ ใหน้ ักเรียนสงั เกตและจดจา หรือศกึ ษาเพิม่ เตมิ จากเอกสารประกอบการสอน
ข้ันสอน
ขนั้ สารวจคน้ หา
1. นักเรยี นแต่ละคนฝึกแสดงท่าทางเลยี นแบบพฤติกรรมของมา้ กบ ลงิ และกวาง ตามแบบทคี่ รสู าธิตให้ดู
2. นกั เรียนแต่ละคนฝกึ แสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤติกรรมของมา้ กบ ลิง และกวาง ด้วยตนเองโดยไมต่ ้อง
ดแู บบ
ขน้ั สรปุ
ขั้นขยายความเข้าใจ
1. นกั เรยี นแตล่ ะคนแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤติกรรมของสตั วท์ เี่ รียนมาจนเกิดความชานาญ
2. ครูสุ่มเรยี กนกั เรยี นทีละ 10 คน ออกมาแสดงท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมของสตั วห์ น้าชัน้ เรยี น ครูหรือเพ่อื น
ช่วยกันประเมนิ ผลลงในใบงานที่ 7.1 เร่ือง การเลียนแบบท่าทางของสตั ว์
คาบที่ 2
ข้ันนา
ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครใู ห้นกั เรียนทาท่าทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของคนรอ้ งเพลง คนถูพืน้ คนขับรถ และคนชราเดิน เพือ่ ทบทวน
ความร้เู ดมิ
2. นักเรยี นแต่ละคนเลือกพฤติกรรมของคนจากที่ครกู าหนดให้ในใบงานท่ี 7.4 เรื่อง การเลยี นแบบ
พฤติกรรมของคน (2) คนละ 5 พฤติกรรม
ข้ันสอน
ขั้นสารวจค้นหา
1. นกั เรียนแต่ละคนฝกึ แสดงท่าทางเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคนที่เลอื กมาให้เกิดความชานาญ แลว้ ออกมา
นาเสนอทห่ี นา้ ชั้นเรียน เพื่อให้เพอ่ื นทายว่าเปน็ พฤตกิ รรมใดและประเมินผลลงในใบงานที่ 7.4
2. นกั เรียนแต่ละคนอภิปรายผลการแสดงท่าทางเลยี นแบบพฤติกรรมของคนของตนเอง แล้วให้เพื่อนชว่ ยแสดง
ความคดิ เห็นเพม่ิ เติมในส่วนทีบ่ กพรอ่ ง
ข้นั สรปุ
ขัน้ สารวจค้นหา
นักเรยี นร่วมกันสรุปประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับจากการแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤติกรรมของคน
คาบท่ี 3
ขน้ั นา
ขั้นกระตุ้นความสนใจ
1. ครูทบทวนความรู้เดมิ เกีย่ วกบั การแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของสตั ว์ แล้วต้ังประเดน็ คาถามให้
นกั เรยี นช่วยกันตอบ
2. ครแู จ้งใหน้ ักเรียนทราบว่า ครูจะใหน้ กั เรียนฝึกแสดงทา่ ทางเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคน จากนนั้ ใหน้ กั เรียน
ศกึ ษาความร้เู ร่ือง การเคล่ือนไหวลกั ษณะตา่ งๆ : การเลียนแบบคน จากหนังสือเรียน
3. ครสู าธิตการแสดงท่าทางเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคน ไดแ้ ก่ คนร้องเพลง คนถูพืน้ คนขับรถ และคนชราเดิน
ใหน้ ักเรียนดูทีละทา่ อย่างช้าๆ เพอ่ื ให้นักเรียนสังเกตและจดจา หรือศกึ ษาเพมิ่ เติมจากเอกสารประกอบ
การสอน
ขน้ั สอน
ขัน้ สารวจค้นหา
1. นกั เรยี นแตล่ ะคนฝึกแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤติกรรมของคนร้องเพลง คนถพู ้ืน คนขับรถ และคนชรา
เดิน ตามแบบทค่ี รูสาธิตให้ดู
2. นกั เรยี นแต่ละคนฝกึ แสดงท่าทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของคนร้องเพลง คนถูพื้น คนขบั รถ และคนชรา
เดนิ ดว้ ยตนเอง โดยไม่ต้องดูแบบ
ขัน้ สรปุ
ข้นั สารวจคน้ หา
1. นักเรยี นแตล่ ะคนฝึกแสดงท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมของคนตามท่เี รียนมาจนเกดิ ความชานาญ
2. ครสู ุ่มเรียกนักเรยี นทลี ะ 10 คน ออกมาแสดงท่าทางเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคนหนา้ ชนั้ เรยี น เพ่อื ใหค้ รู
ประเมนิ ผลลงในใบงานที่ 7.3 เรอื่ ง การเลยี นแบบพฤติกรรมของคน
คาบที่ 4
ขัน้ นา
ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ
1. ครใู หน้ กั เรียนทาท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมของคนรอ้ งเพลง คนถพู ืน้ คนขับรถ และคนชราเดิน เพอ่ื
ทบทวนความรู้เดิม
2. นักเรยี นแตล่ ะคนเลอื กพฤติกรรมของคนจากทค่ี รูกาหนดใหใ้ นใบงานท่ี 7.4 เรอ่ื ง การเลยี นแบบ
พฤตกิ รรมของคน (2) คนละ 5 พฤติกรรม
ข้ันสอน
ขนั้ สารวจคน้ หา
นกั เรยี นแต่ละคนฝึกแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของคนท่เี ลือกมาให้เกดิ ความชานาญ แล้วออกมานาเสนอที่
หน้าช้นั เรยี น เพ่ือให้เพ่ือนทายว่าเปน็ พฤติกรรมใดและประเมนิ ผลลงในใบงานที่ 7.4
ขั้นสรปุ
ขน้ั สารวจคน้ หา
1. นกั เรยี นแต่ละคนอภิปรายผลการแสดงท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมของคนของตนเอง แล้วใหเ้ พื่อนชว่ ยแสดง
ความคดิ เหน็ เพิ่มเติมในสว่ นท่ีบกพร่อง
2. นกั เรียนร่วมกนั สรุปประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการแสดงทา่ ทางเลยี นแบบพฤติกรรมของคน
คาบท่ี 5
ขัน้ นา
ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ
1. นกั เรียนแต่ละคนศึกษาความรูเ้ ร่ือง การเคลอ่ื นไหวลักษณะต่างๆ : การเลยี นแบบลมพดั และต้นข้าว
จากหนงั สือเรียน
2. ครแู จง้ ให้นกั เรียนทราบว่า ครูจะให้นักเรียนฝึกแสดงทา่ ทางเลียนแบบลมพัด และตน้ ข้าว
ขน้ั สอน
ข้ันสารวจค้นหา
1. ครอู ธิบายขน้ั ตอนการแสดงทา่ ทางเลยี นแบบลมพัด และต้นข้าว ให้นักเรยี นฟงั แลว้ ให้นักเรียนดภู าพ
ประกอบจากเอกสารประกอบการสอน
2. ครูสาธติ การแสดงท่าทางเลยี นแบบลมพดั และตน้ ขา้ ว ให้นักเรียนดูทีละท่าอย่างช้าๆ เพ่ือใหน้ กั เรยี นสงั เกตและ
จดจา
3. นักเรยี นแต่ละคนแสดงทา่ ทางเลยี นแบบลมพดั และต้นข้าว ตามที่ครูสาธิตให้ดู
ข้ันสรปุ
ขัน้ สารวจค้นหา
นกั เรียนช่วยกนั สรปุ การแสดงท่าทางเลียนแบบลมพัด และต้นขา้ ว ครตู รวจสอบความถกู ต้อง
คาบที่ 6
ขัน้ นา
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครใู ห้นกั เรียนแสดงท่าทางเลียนแบบลมพดั และตน้ ขา้ ว เพื่อทบทวนความรเู้ ดิม
2. ครแู จง้ ให้นกั เรยี นทราบวา่ ครูจะให้นักเรียนฝกึ แสดงท่าทางเลียนแบบฝนตก แล้วใหน้ ักเรียนศกึ ษาความรู้เรือ่ ง
การเคลือ่ นไหวลักษณะต่างๆ : การเลียนแบบฝนตก จากหนงั สือเรียน
3. ครสู าธิตการแสดงท่าทางเลยี นแบบฝนตก ให้นักเรียนดูอย่างช้าๆ เพือ่ ให้นกั เรียนสงั เกตและจดจา หรือศึกษา
เพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการสอน
ขั้นสอน
ขน้ั สารวจคน้ หา
1. นักเรียนแตล่ ะคนฝึกแสดงท่าทางเลียนแบบฝนตก ตามแบบที่ครสู าธิตใหด้ ู
2. นักเรียนแต่ละคนฝึกแสดงท่าทางเลียนแบบฝนตกด้วยตนเอง โดยไม่ต้องดูแบบ
ข้นั สรุป
ขัน้ สารวจค้นหา
1. นกั เรียนแต่ละคนคดิ ท่าทางเลียนแบบธรรมชาติ คนละ 3 ท่า แลว้ ฝกึ ทาให้เกดิ ความชานาญ
2. ครสู มุ่ เรียกนกั เรียนทีละ 10 คน ออกมาแสดงท่าทางเลียนแบบธรรมชาตทิ ีห่ น้าชนั้ เรยี น เพ่ือใหค้ รูหรอื เพื่อน
ประเมินผลลงในใบงานท่ี 7.5 เรอ่ื ง การเลยี นแบบธรรมชาติ
คาบท่ี 7
ขัน้ นา
ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ
ครทู บทวนความร้เู ดมิ เก่ียวกับการแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของคน สตั ว์ และธรรมชาติ
ขั้นสอน
ขนั้ สารวจคน้ หา
นกั เรียนแตล่ ะคนออกมาแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของคน สัตว์ และเลียนแบบธรรมชาติ ทหี่ น้า
ช้นั เรียน
ข้นั สรปุ
ข้ันสารวจค้นหา
1. นักเรียนและครรู ่วมกนั วิเคราะห์และอภิปรายผลการแสดงของนกั เรยี นทุกคนในช้ันเรียน
2. ครูและนกั เรยี นชว่ ยกนั สรุปประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสิง่ ตา่ งๆ
6. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน คาอธิบายระดบั คุณภาพ / ระดับคะแนน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
1. การเคลื่อนไหว เคลื่อนไหวร่างกาย เคลือ่ นไหวรา่ งกาย เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย
ร่างกายเลียนแบบ
เลยี นแบบ พฤตกิ รรม เลยี นแบบ พฤตกิ รรม เลียนแบบ พฤตกิ รรม
พฤติกรรมของคน
ของคนไดถ้ ูกต้อง สม ของคนได้ถกู ต้อง สม ของคนไดถ้ ูกต้อง สม
บทบาททั้ง 3 บทบาท 2 พฤตกิ รรม บทบาท 1 พฤตกิ รรม
พฤตกิ รรม
2. การเคล่อื นไหว เคลือ่ นไหวรา่ งกาย เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย เคลื่อนไหวรา่ งกาย
รา่ งกายเลียนแบบ
พฤติกรรมของสตั ว์ เลียนแบบ พฤติกรรม เลียนแบบ พฤติกรรม เลยี นแบบ พฤติกรรม
ของสตั วไ์ ด้ถกู ตอ้ ง ของสตั ว์ได้ถกู ตอ้ ง ของสัตว์ไดถ้ ูกต้อง
สมบทบาททั้ง 3 สมบทบาท 2 ชนิด สมบทบาท 1 ชนดิ
ชนดิ
3. การเคล่อื นไหว เคลอ่ื นไหวร่างกาย เคลื่อนไหวร่างกาย เคลื่อนไหวร่างกาย
รา่ งกายเลียนแบบ เลยี นแบบ ธรรมชาติ เลียนแบบ ธรรมชาติ เลียนแบบ ธรรมชาติ
ธรรมชาติ ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ ูกต้อง
สมบทบาททั้ง 3 สมบทบาท 2 แบบ สมบทบาท 1 แบบ
แบบ
ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ตา่ กวา่ 5
ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ
8-9 5-7
ดี พอใช้
7. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สอื่ การเรียนรู้
1. เทปเสยี ง
2. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.1
3. เอกสารประกอบการสอน
4. บัตรภาพ
5. ใบงานที่ 7.1 เรอื่ ง การเลียนแบบท่าทางของสตั ว์
6. ใบงานที่ 7.2 เรื่อง การเลียนแบบท่าทางของสตั ว์ทีช่ อบ
7. ใบงานท่ี 7.3 เรื่อง การเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคน
8. ใบงานที่ 7.4 เรือ่ ง การเลียนแบบพฤตกิ รรมของคน
9. ใบงานท่ี 7.5 เรือ่ ง การเลยี นแบบธรรมชาติ
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1. หอ้ งเรียน
8. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ............................................ครผู สู้ อน ลงชอ่ื ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงช่ือ................................................... ผ้บู รหิ าร
(...........................................................)
ใบงานท่ี
7.1 การเลยี นแบบทา่ ทางของสตั ว์
คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนฝกึ แสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของมา้ กบ ลงิ และกวาง แลว้ ออกมาแสดง
หน้าชน้ั เรยี น เพ่อื ใหค้ รูหรือเพอื่ นประเมนิ ผล
1. สัตวท์ ี่แสดงทา่ เลยี นแบบไดง้ ่ายทส่ี ุด คอื ผลการประเมนิ
สัตวท์ ี่แสดงท่าเลยี นแบบไดย้ ากท่สี ดุ คือ
สมบทบาท ไมส่ มบทบาท
2. ผลการประเมินการแสดง (ให้ครหู รือเพ่ือนประเมิน)
สัตวท์ ่เี ลยี นแบบ
3. ความรสู้ ึกทมี่ ตี อ่ การแสดงของตนเอง ลงชอื่ ผปู้ ระเมนิ
เพราะ พอใจ ไม่พอใจ
ใบงานท่ี
7.2 การเลยี นแบบท่าทางของสัตว์ทชี่ อบ
คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนเลือกสตั วท์ ตี่ นเองชอบ มา 3 ชนดิ แล้วฝกึ แสดงท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมของสัตว์
เหล่านัน้ จากน้ันออกมานาเสนอหน้าช้นั เรียน เพื่อใหค้ รูหรอื เพอื่ นประเมนิ ผล
1. สัตว์ท่เี ลือกแสดง ไดแ้ ก่ ผลการประเมิน
2. สัตว์ทีแ่ สดงท่าเลียนแบบไดง้ า่ ยท่สี ดุ คือ
สมบทบาท ไม่สมบทบาท
สัตว์ทแ่ี สดงทา่ เลียนแบบไดย้ ากทสี่ ดุ คือ
3. ผลการประเมินการแสดง (ใหค้ รหู รือเพ่ือนประเมิน)
สตั วท์ ่ีเลียนแบบ
4. ความรูส้ กึ ท่มี ตี อ่ การแสดงของตนเอง ลงชอ่ื ผปู้ ระเมนิ
เพราะ พอใจ ไม่พอใจ
ใบงานที่
7.3 การเลียนแบบพฤตกิ รรมของคน (1)
คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นแต่ละคนฝกึ แสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของคนร้องเพลง คนถูพ้นื คนขบั รถ และ
คนชราเดิน แล้วออกมาแสดงหน้าชัน้ เรียน เพอ่ื ให้ครูหรอื เพอ่ื นประเมินผล
1. พฤตกิ รรมของคนทแี่ สดงท่าเลียนแบบไดง้ า่ ยทส่ี ดุ คือ ผลการประเมิน
พฤตกิ รรมของคนที่แสดงทา่ เลยี นแบบได้ยากทีส่ ุด คือ
สมบทบาท ไมส่ มบทบาท
2. ผลการประเมินการแสดง (ให้ครหู รือเพอ่ื นประเมนิ )
พฤตกิ รรมทเี่ ลียนแบบ
3. ความรสู้ ึกทีม่ ตี ่อการแสดงของตนเอง ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน
เพราะ พอใจ ไม่พอใจ
ใบงานท่ี
7.4 การเลียนแบบพฤติกรรมของคน (2)
คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นเลอื กแสดงทา่ ทางเลยี นแบบพฤติกรรมของคน จากพฤตกิ รรมทกี่ าหนดให้
คนละ 5 พฤตกิ รรม แล้วผลัดกนั ออกมาแสดงหน้าชัน้ เรยี น เพ่ือใหค้ รหู รือเพอ่ื นประเมนิ ผล
กิน ว่ิง เหนื่อย ใช่ ไมใ่ ช่
เสียใจ ดใี จ ตกใจ โกรธ ไมส่ นใจ
1. พฤตกิ รรมที่เลือกแสดง ได้แก่ ผลการประเมนิ
2. พฤติกรรมท่ีแสดงทา่ เลียนแบบไดง้ ่ายท่ีสุด คอื
สมบทบาท ไมส่ มบทบาท
พฤติกรรมที่แสดงทา่ เลียนแบบไดย้ ากที่สดุ คือ
3. ผลการประเมนิ การแสดง (ใหค้ รหู รือเพ่ือนประเมนิ )
พฤติกรรมท่เี ลยี นแบบ
ลงชื่อ ผปู้ ระเมิน
ใบงานท่ี
7.5 การเลยี นแบบธรรมชาติ
คาช้ีแจง ให้นกั เรียนแตล่ ะคนคิดท่าทางเลียนแบบธรรมชาติ คนละ 3 ท่า แล้วฝกึ แสดงท่าทางเลียนแบบธรรมชาติ
เหล่านน้ั จากนน้ั ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน เพื่อใหค้ รูหรือเพือ่ นประเมินผล
1. ทา่ เลียนแบบธรรมชาติท่ีเลอื กแสดง ได้แก่ ผลการประเมิน
2. ทา่ เลียนแบบธรรมชาติที่แสดงไดง้ ่ายที่สุด คือ
สมบทบาท ไมส่ มบทบาท
ท่าเลียนแบบธรรมชาตทิ ี่แสดงได้ยากท่ีสุด คอื
3. ผลการประเมินการแสดง (ใหค้ รหู รือเพ่ือนประเมิน)
ลักษณะธรรมชาติทเี่ ลียนแบบ
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
4. ความรสู้ ึกทม่ี ตี ่อการแสดงของตนเอง พอใจ ไม่พอใจ
เพราะ
สัปดาหท์ ่ี 8-12
โรงเรยี นขจรเกยี รติพฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้
ภาคเรยี นท่ี 1/ ……………… ชือ่ ผ้สู อน …………………………………………….
กลุ่มสาระ ศลิ ปะ (นาฏศลิ ป์) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 จานวน 5 คาบ
หนว่ ยการเรยี นที่ 2 ภาษาทา่ เร่อื ง การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด
มาตรฐานท่ี ศ 3.1เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 1/2 แสดงทา่ ทางง่ายๆ เพื่อสือ่ ความหมายแทนคาพูด
2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ภาษาทา่ เป็นทกั ษะพ้นื ฐานในการฝึกการแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละการแสดงละคร เพ่อื ใช้บอกอารมณ์ ความรู้สึก
หรอื การกระทาของตัวละครแทนการใช้คาพูด
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ใช้ภาษาทา่ เพอ่ื ส่อื ความหมายแทนคาพูดได้
2. เคลอื่ นไหวรา่ งกายประกอบเพลงกาได้
3. เคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบเพลงม้าวง่ิ ได้
4. เคลอ่ื นไหวร่างกายประกอบเพลงปลาได้
5. เคล่อื นไหวรา่ งกายประกอบเพลงได้
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
1) การใชภ้ าษาทา่ และการประดิษฐท์ า่ ประกอบ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
เพลง
2) การแสดงประกอบเพลงท่ีเกี่ยวกบั
ธรรมชาติสตั ว์
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบที่ 1
ขัน้ นา
ข้นั กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูเปิด CD การแสดงละครใบใ้ หน้ ักเรยี นดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า ทา่ ท่แี สดงนั้นตอ้ งการพูดว่าอะไร
จากนั้นครูอธิบายเกีย่ วกับภาษาท่าใหน้ ักเรียนฟัง เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกดิ ความเข้าใจมากยง่ิ ขน้ึ
2. ครแู จง้ ใหน้ ักเรียนทราบวา่ ครจู ะใหน้ กั เรียนฝึกการแสดงภาษาท่าแทนคาพูด แล้วใหน้ กั เรียนแต่ละคนศึกษา
ความรูเ้ ร่อื ง ภาษาทา่ จากหนังสือเรียน
3. ครสู าธิตการแสดงภาษาท่าใหน้ กั เรียนดูทีละท่าอยา่ งช้าๆ เพื่อให้นกั เรียนสงั เกตและจดจา หรอื ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ จาก
เอกสารประกอบการสอน
ข้ันสอน
ขน้ั สารวจคน้ หา
1. นักเรยี นแตล่ ะคนฝึกแสดงภาษาท่า ตามแบบทคี่ รูสาธิตใหด้ ู
2. นักเรียนแต่ละคนฝึกแสดงภาษาท่าด้วยตนเอง โดยไม่ตอ้ งดูแบบ
ขัน้ สรปุ
ขัน้ ขยายความเข้าใจ
1. นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ตามความสมคั รใจ ใหแ้ ต่ละกลุ่มฝกึ แสดงภาษาท่าที่เรยี นมาจนเกดิ ความ
ชานาญ
2. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ผลดั กันออกมาแสดงภาษาท่าทห่ี นา้ ชั้นเรยี น แล้วให้เพ่อื นกลุม่ อนื่ ประเมนิ ผลลงใน
ใบงานที่ 8.1 เรื่อง ภาษาท่า
คาบท่ี 2
ข้นั นา
ข้ันกระตุ้นความสนใจ
1. ครทู บทวนความรูเ้ ดมิ เกยี่ วกบั การแสดงทา่ ทางเลยี นแบบพฤติกรรมของสตั ว์ แล้วสุ่มเรียกนกั เรียน 2-3 คน
ออกมาแสดงทา่ ทางเลียนแบบพฤตกิ รรมของกาหน้าชนั้ เรยี น
2. ครแู จ้งให้นกั เรยี นทราบวา่ ครจู ะใหน้ ักเรียนฝกึ การเคลื่อนไหวประกอบเพลงกา จากนั้นใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรู้
เรอ่ื ง การเคล่ือนไหวประกอบเพลงกา จากหนังสือเรียน
3. ครแู จกเนือ้ เพลงกาใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนฝึกร้องจนเกดิ ความชานาญ
ขน้ั สอน
ขัน้ สารวจค้นหา
1. ครอู ธิบายการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงกา พรอ้ มกับสาธติ การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงกา ให้นักเรียนดู
2-3 รอบ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนสังเกตและจดจา
2. ครเู ปดิ เทปเพลงกา แลว้ ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มฝกึ การเคล่อื นไหวประกอบเพลงกา ตามแบบทคี่ รูสาธติ ให้ดู
3. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั สรปุ การเคลือ่ นไหวประกอบเพลงกา
ขั้นสรปุ
ขน้ั สารวจค้นหา
นักเรยี นแต่ละกลุม่ ทาใบงานท่ี 8.2 เรอ่ื ง การเคลือ่ นไหวประกอบเพลงกา จากนัน้ ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่
ออกมาแสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงกาท่ีหน้าช้ันเรียน พร้อมส่งใบงาน
คาบท่ี 3
ขัน้ นา
ขั้นกระต้นุ ความสนใจ
1. ครใู หน้ ักเรียนเคล่อื นไหวประกอบเพลงกา เพ่ือทบทวนความรู้เดิม
2. ครูแจง้ ใหน้ กั เรียนทราบวา่ ครูจะให้นกั เรียนฝึกเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงม้าวิ่ง จากนนั้ ครูแจกเนือ้ เพลงม้าวิ่ง
ให้นกั เรียนฝึกรอ้ งจนเกิดความชานาญ
3. ครูสาธิตการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงม้าว่งิ ใหน้ กั เรียนดู 2-3 รอบ เพื่อใหน้ กั เรียนสงั เกตและจดจา หรอื ศึกษา
เพ่มิ เติมจากเอกสารประกอบการสอน
ข้นั สอน
ข้ันสารวจคน้ หา
1. นกั เรยี นรวมกลุ่มเดิม แล้วใหแ้ ต่ละกลุ่มฝึกการเคลือ่ นไหวประกอบเพลงม้าว่ิง ตามแบบท่ีครสู าธติ ให้ดู
2. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ฝึกการเคล่ือนไหวประกอบเพลงม้าวิ่ง ด้วยตนเองโดยไมต่ ้องดูแบบ
ข้นั สรุป
ขั้นสารวจค้นหา
นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ฝกึ แสดงการเคล่ือนไหวประกอบเพลงมา้ วง่ิ ให้เกิดความชานาญ แล้วออกมาแสดงที่
หนา้ ช้ันเรยี น เพอื่ ให้ครปู ระเมนิ ผลลงในใบงานที่ 8.3 เรอ่ื ง การเคล่อื นไหวประกอบเพลงม้าว่ิง
คาบท่ี 4
ขั้นนา
ขนั้ กระต้นุ ความสนใจ
1. ครสู ุ่มเรยี กนกั เรียน 5-6 คน ออกมาแสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงกาและเพลงมา้ วงิ่ หนา้ ช้นั เรียน
เพือ่ ทบทวนความร้เู ดิม
2. ครแู จง้ ให้นักเรยี นทราบว่า ครจู ะให้นักเรียนฝึกเคลื่อนไหวประกอบเพลงปลา จากนัน้ ครแู จกเนอื้ เพลงปลาให้
นกั เรยี นฝึกร้องจนเกิดความชานาญ
3. ครสู าธิตการเคล่ือนไหวประกอบเพลงปลา ใหน้ กั เรยี นดู 2-3 รอบ เพอื่ ใหน้ ักเรียนสังเกตและจดจา หรือ
ศึกษาเพ่มิ เตมิ จากเอกสารประกอบการสอน
ขนั้ สอน
ขั้นสารวจค้นหา
1. นกั เรียนแต่ละกลุ่มฝึกการเคล่อื นไหวประกอบเพลงปลา ตามแบบที่ครสู าธิตให้ดู
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มฝกึ การเคลอื่ นไหวประกอบเพลงปลา ด้วยตนเองโดยไมต่ อ้ งดแู บบ
ขน้ั สรุป
ข้นั สารวจคน้ หา
นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ฝึกแสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงปลา ให้เกิดความชานาญ แลว้ ออกมาแสดงที่
หนา้ ช้ันเรยี น เพอื่ ใหค้ รปู ระเมนิ ผลลงในใบงานท่ี 8.4 เร่อื ง การเคลือ่ นไหวประกอบเพลงปลา
คาบที่ 5
ข้ันนา
ขนั้ กระตุน้ ความสนใจ
ครทู บทวนความร้เู ดมิ ของนักเรยี นเก่ียวกับการเคล่อื นไหวประกอบเพลงกา เพลงมา้ วิ่ง และเพลงปลา แลว้ ให้
นักเรยี นช่วยกนั บอกปัญหาทเี่ กิดขนึ้ ระหว่างปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ครูเสนอแนะแนวทางแกป้ ัญหา
ขัน้ สอน
ข้นั สารวจคน้ หา
นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ฝกึ เคล่ือนไหวรา่ งกายประกอบเพลงตามทา่ ทางทกี่ ลุ่มตนเองคดิ คน้ มา และแบ่งหน้าที่กนั ตาม
ความเหมาะสม จากนั้นให้แตล่ ะกลมุ่ ออกมาแสดงทห่ี น้าชนั้ เรยี น
นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายผลการแสดง แลว้ ใหเ้ พื่อนกลุ่มอ่นื ช่วยแสดงความคิดเห็นเพ่มิ เติมในส่วนท่ีบกพรอ่ ง
ขนั้ สรุป
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการเคล่อื นไหวประกอบเพลง
6. การวัดและประเมนิ ผล
รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การแสดงภาษา แสดงภาษาทา่ เพ่อื ส่ือ แสดงภาษาท่าเพือ่ สอื่ แสดงภาษาทา่ เพ่ือสื่อ
ทา่ ความหมายแทน ความหมายแทน ความหมายแทน
คาพดู ได้ถูกตอ้ ง ส่ือ คาพูดได้ แต่สือ่
คาพดู ไดถ้ กู ต้อง สือ่ ความหมายชัดเจน ความหมายไม่ชัดเจน
เป็นสว่ นใหญ่
ความหมายชัดเจน เคลอื่ นไหวร่างกาย
เคลอื่ นไหวรา่ งกาย ประกอบ เพลงไม่
ทกุ ท่า ประกอบ เพลงได้ ถูกต้องตามจังหวะ
ถูกต้องตามจังหวะ และไม่มคี วามพรอ้ ม
2. การเคลอ่ื นไหว เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย มคี วามพรอ้ มเพรยี ง เพรียงกนั
ประกอบเพลง ประกอบ เพลงได้ กนั เป็น สว่ นใหญ่
ถกู ตอ้ งตามจงั หวะ
มีความพร้อมเพรยี ง
กัน
ช่วงคะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ต่ากวา่ 5
ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้
7. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.1
2) แบบวดั และบนั ทึกผลการเรียนรู้ ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.1
3) เอกสารประกอบการสอน
4) เทปเพลง
5) ใบงานท่ี 8.1 เรื่อง ภาษาท่า
6) ใบงานท่ี 8.2 เรอ่ื ง การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงกา
7) ใบงานที่ 8.3 เร่อื ง การเคลื่อนไหวประกอบเพลงม้าวิง่
8) ใบงานท่ี 8.4 เรอ่ื ง การเคลือ่ นไหวประกอบเพลงปลา
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1. ห้องเรียน
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงช่อื ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงช่ือ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)
ใบงานท่ี
8.1 ภาษาท่า
คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นแสดงภาษาทา่ ทเ่ี รียนมาหน้าช้ันเรยี น จากนั้นใหเ้ พ่อื นกล่มุ อืน่ แสดงความคดิ เห็นและ
ประเมนิ ผล
ภาษาท่า ผลการประเมิน
ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
1.
2.
3.
4.
5.
ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
กลุม่ ที่
ใบงานที่
8.2 การเคลือ่ นไหวประกอบเพลงกา
คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นทาท่าประกอบเพลงกา แลว้ บนั ทกึ ขอ้ มูล จากนั้นออกมาแสดงหน้าชั้นเรียนเพื่อให้ครู
ประเมนิ ผล
นักเรยี นร้องเพลงกาไดค้ ล่องหรอื ไม่
คล่อง ไมค่ ลอ่ ง เพราะ
นกั เรยี นสามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายประกอบเพลงกาไดเ้ ขา้ กับจังหวะเพลงไดห้ รอื ไม่
ได้ ไมไ่ ด้ เพราะ
รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ
1. ความถกู ตอ้ งของท่าทาง
2. ความสอดคลอ้ งกับจังหวะ ลงช่ือ ผูป้ ระเมนิ
3. ความพรอ้ มเพรียง
4. ความสวยงามในการเคลอื่ นไหว
5. ความมีอารมณร์ ่วมในการแสดง
ใบงานที่
8.3 การเคลื่อนไหวประกอบเพลงมา้ ว่งิ
คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนทาท่าประกอบเพลงมา้ ว่งิ แลว้ บันทกึ ขอ้ มูล จากน้นั ออกมาแสดงหน้าชนั้ เรยี นเพ่อื ใหค้ รู
ประเมินผล
นักเรียนรอ้ งเพลงม้าวิ่งได้คล่องหรอื ไม่
คลอ่ ง ไม่คล่อง เพราะ
นักเรียนสามารถเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบเพลงมา้ วิ่งได้เข้ากับจงั หวะเพลงได้หรือไม่
ได้ ไมไ่ ด้ เพราะ
รายการประเมนิ ผลการประเมนิ
ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ
1. ความถกู ต้องของทา่ ทาง
2. ความสอดคลอ้ งกับจังหวะ ลงช่ือ ผูป้ ระเมนิ
3. ความพร้อมเพรยี ง
4. ความสวยงามในการเคล่ือนไหว
5. ความมีอารมณ์รว่ มในการแสดง
ใบงานที่
8.4 การเคลือ่ นไหวประกอบเพลงปลา
คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนทาท่าประกอบเพลงปลา แลว้ บันทกึ ขอ้ มลู จากนนั้ ออกมาแสดงหน้าชนั้ เรยี นเพอ่ื ใหค้ รู
ประเมนิ ผล
นักเรียนรอ้ งเพลงปลาได้คล่องหรือไม่
คล่อง ไมค่ ล่อง เพราะ
นักเรียนสามารถเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงปลาไดเ้ ขา้ กบั จงั หวะเพลงได้หรอื ไม่
ได้ ไมไ่ ด้ เพราะ
รายการประเมิน ผลการประเมนิ
ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. ความถกู ตอ้ งของท่าทาง
2. ความสอดคล้องกบั จังหวะ ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
3. ความพร้อมเพรียง
4. ความสวยงามในการเคล่อื นไหว
5. ความมีอารมณ์รว่ มในการแสดง
สปั ดาหท์ ี่ 12-15
โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้
ภาคเรียนท่ี 1/ ……………… ช่ือผ้สู อน …………………………………………….
กล่มุ สาระ ศิลปะ (นาฏศลิ ป์) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จานวน 4 คาบ
หนว่ ยการเรียนที่ 3 การละเลน่ ของเดก็ ไทย เรอื่ ง การละเล่นของไทย
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
มาตรฐานท่ี ศ 3.2เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่าของ
นาฏศลิ ป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล
ตัวชว้ี ดั ที่ ป 1/1 ระบุและเล่นการละเลน่ ของเด็กไทย
2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การละเลน่ ของเดก็ ไทย มวี ิธีเลน่ และกตกิ าการเลน่ ท่ีแตกตา่ งกัน ซ่ึงเปน็ กิจกรรมทีใ่ ห้ประโยชน์ท้งั ความ
สนกุ สนาน เพลดิ เพลิน และแสดงถึงเอกลักษณข์ องความเป็นไทย
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. เล่นการละเลน่ รีรขี า้ วสารได้ถูกต้องตามขัน้ ตอนและกติกา
2. เล่นการละเลน่ งูกินหางได้ถกู ตอ้ งตามข้นั ตอนและกตกิ า
3. เลน่ การละเล่นจา้ จไ้ี ดถ้ กู ต้องตามข้นั ตอนและกตกิ า
4. เลน่ การละเลน่ พน้ื บ้านของเดก็ ไทยได้ถูกต้องตามขัน้ ตอนและกติกา
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น
การละเลน่ ของเดก็ ไทย พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
(1) วธิ ีการเลน่
(2) กติกา
5. กจิ กรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1
ขั้นนา
ข้นั กระตุ้นความสนใจ
1. ครนู าภาพการละเลน่ ของเดก็ ไทย มาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ ใครเคยเลน่ กิจกรรมแบบในภาพ
นี้บ้าง แล้วใหอ้ าสาสมคั รออกมาอธบิ ายขั้นตอนการเลน่ หนา้ ช้นั เรียน
2. ครูแบง่ นักเรียนออกเป็น 4 กลุม่ กลุ่มละเทา่ ๆ กนั ให้แต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาวิธกี ารเล่นและกติกาการเล่น
รรี ขี า้ วสาร จากหนังสือเรียน หรอื จากเอกสารประกอบการสอน
3. นักเรียนฝึกร้องเพลงท่ใี ชป้ ระกอบการเลน่ รรี ขี ้าวสาร จนเกิดความชานาญ
4. ครขู ออาสาสมัครนกั เรียน 5-6 คน ออกมาสาธติ การเลน่ รรี ีข้าวสาร ตามข้ันตอนท่ีครูอธิบาย เพือ่ ให้เพื่อนสังเกต
และจดจา
ขนั้ สอน
ขั้นสารวจค้นหา
นักเรยี นแต่ละกลมุ่ เล่นรีรีขา้ วสาร ตามแบบอย่างที่อาสาสมคั รนักเรียนปฏิบัตใิ หด้ ู
ขน้ั สรปุ
ขน้ั ขยายความเข้าใจ
นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ฝึกเล่นรีรีข้าวสาร จนเกิดความชานาญ แล้วบันทกึ ข้อมลู ลงในใบงานที่ 9.1 เร่อื ง การละเลน่ รีรี
ขา้ วสาร เสรจ็ แลว้ นาใบงานส่งครู
คาบท่ี 2
ขั้นนา
ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครูนาภาพการละเลน่ งกู ินหาง มาให้นักเรียนดู แลว้ ถามนกั เรียนว่า กิจกรรมในภาพเป็นการละเลน่ ทม่ี ชี ่ือว่าอะไร
2. นักเรียนรวมกลุ่มเดมิ แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุม่ ศกึ ษาวธิ กี ารเล่นและกตกิ าการเล่นงูกนิ หาง จากหนงั สอื เรียน หรือจาก
เอกสารประกอบการสอน
3. นกั เรยี นฝึกร้องเพลงทใี่ ชป้ ระกอบการเลน่ งกู ินหาง จนเกิดความชานาญ
4. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 5-6 คน ออกมาสาธิตการเลน่ งูกนิ หาง ตามข้ันตอนที่ครอู ธบิ าย เพื่อให้เพือ่ นสังเกตและ
จดจา
ขั้นสอน
ขน้ั สารวจคน้ หา
นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มเล่นงกู ินหาง ตามแบบอย่างทอ่ี าสาสมัครนกั เรยี นปฏิบัติให้ดู
ขั้นสรปุ
ขน้ั สารวจค้นหา
นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกเล่นงูกินหาง จนเกดิ ความชานาญ แล้วบันทกึ ข้อมลู ลงในใบงานที่ 9.2 เรือ่ ง การละเลน่ งู
กนิ หาง เสรจ็ แล้วนาใบงานส่งครู
คาบท่ี 3
ข้ันนา
ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ
1. ครตู ดิ เนื้อเพลงจา้ จ้ีบนกระดาน และรอ้ งเพลงจา้ จี้ให้นกั เรยี นฟงั จากนน้ั ให้นักเรียนชว่ ยกันบอกว่า เพลงที่ไดย้ นิ นี้
ใช้ประกอบการละเลน่ ท่ีมีชอื่ ว่าอะไร
2. นักเรียนรวมกลุม่ เดิม แล้วใหแ้ ต่ละกลุ่มศกึ ษาวธิ เี ลน่ และกติกาการเล่นจ้าจี้ จากหนงั สือเรยี น หรอื จากเอกสาร
ประกอบการสอน
3. นกั เรียนฝึกร้องเพลงทใี่ ชป้ ระกอบการเล่นจ้าจี้ทั้ง 2 แบบ
4. ครูขออาสาสมคั รนักเรยี น 5-6 คน ออกมาสาธิตการเล่นจ้าจ้ี ตามขัน้ ตอนท่คี รูอธบิ าย เพอื่ ให้เพื่อนสงั เกตและ
จดจา
ข้นั สอน
ข้นั สารวจค้นหา
นกั เรยี นแต่ละกล่มุ เล่นจ้าจี้ ตามแบบอย่างที่อาสาสมคั รนกั เรยี นปฏิบัติใหด้ ู
ข้ันสรุป
ข้ันสารวจคน้ หา
1.นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ฝึกเล่นจ้าจี้ จนเกดิ ความชานาญ แล้วบันทึกข้อมลู ลงในใบงานที่ 9.3 เร่อื ง การละเล่นจ้าจ้ี
เสร็จแลว้ นาใบงานส่งครู
2. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ สบื คน้ ข้อมลู เกยี่ วกบั การละเลน่ พ้ืนบา้ นของเดก็ ไทย กลมุ่ ละ 1 การละเล่น แลว้
ฝึกเลน่ ใหเ้ กดิ ความชานาญ เพ่อื ออกมาสาธติ ในชั่วโมงเรยี นต่อไป
คาบที่ 4
ขัน้ นา
ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
ครทู บทวนความรเู้ ดมิ เก่ยี วกับการละเล่นของเดก็ ไทย แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกประโยชน์ทีไ่ ด้จาก
การเล่น
ข้ันสอน
ขัน้ สารวจคน้ หา
นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ศกึ ษาข้อมลู เกย่ี วกับวิธกี ารเลน่ การละเลน่ พื้นบา้ นทกี่ ลุ่มตนเองเลอื ก และแบง่ หนา้ ท่ีให้
สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ ตามความเหมาะสม จากน้นั ใหแ้ ต่ละกล่มุ ออกมาแสดงที่หนา้ ชั้นเรยี น
ขั้นสรุป
ข้นั สารวจค้นหา
นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รายผลการแสดง และให้เพอ่ื นกลมุ่ อืน่ ช่วยแสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เติมในส่วนท่ี
บกพร่องครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ข้อคดิ และประโยชน์ท่ไี ด้จากการแสดงการละเลน่ พื้นบา้ นของเด็กไทย
6. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)
1. การอธิบายวิธีเล่น และ อธบิ ายวธิ เี ลน่ และกตกิ า การ อธบิ ายวธิ เี ล่นและกตกิ า การ อธบิ ายวธิ เี ลน่ และกตกิ า การ
กติกาการเล่น เลน่ ไดถ้ กู ตอ้ ง ละเอยี ด เลน่ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็น เลน่ ไดถ้ กู ตอ้ งเป็น
ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย สว่ นใหญ่ สว่ นน้อย
2. การสาธิตการเลน่
สาธติ การเล่นไดถ้ กู ตอ้ ง สาธติ การเลน่ ไดถ้ กู ตอ้ ง สาธติ การเล่นไมถ่ กู ตอ้ ง
ตามลาดบั ขนั้ ตอน และ ตามลาดบั ขนั้ ตอน และ ตามลาดบั ขนั้ ตอน
ครบทกุ ขนั้ ตอน ครบทกุ ขนั้ ตอน แต่มี
จดุ บกพร่อง บา้ งเลก็ น้อย
3. ความรว่ มมือใน การ สมาชกิ ทกุ คนในกลุ่มใหค้ วาม สมาชกิ สว่ นใหญใ่ นกลุ่มใหค้ วาม สมาชกิ สว่ นใหญไ่ มใ่ หค้ วาม
เล่น รว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ิ ร่วมมอื ในการปฏบิ ตั ิ รว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม ตามหน้าทท่ี ่ี กจิ กรรมตามหน้าทท่ี ่ี กจิ กรรม ตามหน้าทท่ี ่ี
ไดร้ บั มอบหมาย ไดร้ บั มอบหมาย ไดร้ บั มอบหมาย
ชว่ งคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ต่ากว่า 5
ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้
7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สอื่ การเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี น ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ป.1
2) แบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ป.1
3) บตั รภาพ
4) CD การแสดงนาฏศลิ ป์
5) ใบงานท่ี 10.1 เรอ่ื ง การเป็นผชู้ มทด่ี ี
6) ใบงานท่ี 10.2 เรอ่ื ง รา
7) ใบงานท่ี 10.3 เรอ่ื ง ระบา
8) ใบงานท่ี 10.4 เรอ่ื ง ฟ้อน
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1. หอ้ งเรียน
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงช่อื ............................................ครูผูส้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงช่ือ................................................... ผูบ้ รหิ าร
(...........................................................)
ใบงานท่ี
9.1 การละเล่นรีรขี ้าวสาร
คาช้ีแจง ให้นักเรยี นฝกึ เล่นรีรีขา้ วสาร แล้วบนั ทกึ ข้อมูล
1. นักเรยี นที่เลน่ เปน็ คนทาซุ้ม ได้แก่ ได้ ไมไ่ ด้
2. นักเรยี นรอ้ งเพลงรีรีข้าวสารได้หรือไม่
เพราะ
เน้อื เพลงรรี ีข้าวสาร
3. ความรูส้ กึ ที่มตี ่อการเลน่ รรี ีข้าวสาร สนุกสนาน น่าเบอ่ื
อืน่ ๆ
ชอบ ไม่ชอบ
4. นกั เรียนไดร้ บั ประโยชน์จากการเลน่ รีรีข้าวสาร ดงั น้ี
ใบงานท่ี
9.2 การละเลน่ งกู นิ หาง
คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นฝึกเลน่ งกู นิ หาง แล้วบันทกึ ขอ้ มลู
1. นักเรียนท่ีเล่นเปน็ พอ่ งู ได้แก่
2. นักเรยี นท่ีเลน่ เปน็ แมง่ ู ได้แก่
3. นักเรียนท่ีเลน่ เปน็ ลูกงู ประกอบดว้ ย
4. นักเรยี นร้องเพลงงูกินหางได้หรอื ไม่ ได้ ไมไ่ ด้
เพราะ
เนือ้ เพลงงกู นิ หาง
5. นักเรียนไดร้ บั ประโยชน์จากการเลน่ งกู นิ หาง ดงั น้ี
ใบงานที่
9.3 การละเล่นจ้าจี้
คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นฝกึ เล่นจ้าจี้ แล้วบันทกึ ข้อมลู
1. เพลงทกี่ ลุ่มนกั เรียนรอ้ ง คือ
เนอื้ เพลงจ้าจ้ี
2. ความรสู้ กึ ที่มตี อ่ การเลน่ จ้าจ้ี สนุกสนาน น่าเบอ่ื
อืน่ ๆ
ชอบ ไม่ชอบ
3. นกั เรยี นได้รบั ประโยชน์จากการเลน่ จ้าจ้ี ดังน้ี
สัปดาหท์ ่ี 16-20
โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้
ภาคเรยี นท่ี 1/ ……………… ช่อื ผู้สอน …………………………………………….
กลุ่มสาระ ศลิ ปะ(นาฏศิลป์) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จานวน 4 คาบ
หนว่ ยการเรียนที่ 2 การชมการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย เรื่อง นาฏศลิ ปไ์ ทย
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั
มาตรฐานที่ ศ 3.1เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ คณุ ค่า
นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
มาตรฐานท่ี ศ 3.2เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ
นาฏศลิ ปท์ เ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล
ตัวช้ีวัดท่ี ป.1/3 บอกสง่ิ ทตี่ นเองชอบจากการดูหรอื ร่วมการแสดง
ป.1/2 บอกสิ่งท่ตี นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์
2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ผู้ชมท่ีดีตอ้ งมีมารยาทในการชม และตงั้ ใจชมอยา่ งมสี มาธิ
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายหลักการปฏบิ ตั ิตนในการเป็นผูช้ มทีด่ ีได้
2. อธิบายการแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทราได้
3. อธิบายการแสดงนาฏศิลป์ประเภทระบาได้
4. อธบิ ายการแสดงนาฏศิลปป์ ระเภทการฟอ้ นได้
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่
พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา
1) การเปน็ ผชู้ มทด่ี ี
2) การแสดงนาฏศิลป์
5. กิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1
ข้นั นา
ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
1. ครูซักถามนกั เรยี นว่า เคยไปชมการแสดงต่างๆ หรือไม่ และการไปชมการแสดงนนั้ ตอ้ งปฏิบตั ิตนอย่างไร
2. ครนู าภาพการน่ังชมการแสดงนาฏศลิ ป์ มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ให้นักเรยี นสังเกตวา่ บุคคลในภาพปฏิบตั ิตนอยา่ งไร
ขน้ั สอน
ขัน้ สารวจคน้ หา
1. นกั เรียนแตล่ ะคนศึกษาความรูเ้ ร่ือง การเป็นผชู้ มที่ดี จากหนงั สอื เรียน
2. ครใู ห้นักเรียนช่วยกนั วิเคราะหก์ ารปฏิบตั ิตนของบคุ คลในภาพจากขน้ั ที่ 1 วา่ ปฏบิ ัติตนไดเ้ หมาะสมหรอื ไม่
และจะเกิดผลตามมาอยา่ งไร
3. นกั เรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี 10.1 เรื่อง การเปน็ ผู้ชมทด่ี ี จากนน้ั ครสู มุ่ เรยี กนักเรียน 5-6 คน ออกมานาเสนอ
ใบงานทห่ี นา้ ชนั้ เรยี น แล้วเกบ็ รวบรวมใบงานส่งครู
ขั้นสรปุ
ขนั้ ขยายความเข้าใจ
ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปหลักการปฏิบัตติ นในการชมการแสดง
คาบที่ 2
ขนั้ นา
ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ
1. ครูนาภาพการแสดงโขน มาใหน้ ักเรียนดู แลว้ นักเรียนช่วยกันแสดงความคดิ เห็นว่า จากภาพเปน็ การแสดง
นาฏศิลป์ประเภทใด
2. ครูอธิบายความหมายของนาฏศิลป์ไทยให้นกั เรยี นฟัง
ข้นั สอน
ข้นั สารวจคน้ หา
1. ครใู ห้นกั เรียนชว่ ยกนั ยกตัวอยา่ งการราที่นกั เรยี นร้จู ัก จากนน้ั ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมเพอ่ื ให้นกั เรียนเกดิ ความเขา้ ใจ
2. นักเรียนแต่ละคนศกึ ษาความรูเ้ รื่อง การแสดงนาฏศลิ ป์ไทยประเภทรา จากหนังสือเรยี น และทา
ใบงานท่ี 10.2 เร่อื ง รา
3. เม่ือนักเรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี 10.2 เสรจ็ แลว้ ให้จับคู่กบั เพ่ือนผลดั กันอธิบายคาตอบให้เพือ่ นท่ีเป็นคู่ฟัง
4. ครสู ุ่มเรียกนกั เรยี น 5-6 คน ออกมานาเสนอใบงานท่ี 10.2 หน้าชั้นเรยี น แล้วเกบ็ รวบรวมใบงานสง่ ครู
ขั้นสรุป
ขน้ั สารวจค้นหา
นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปเกยี่ วกบั การแสดงนาฏศิลปไ์ ทยประเภทรา
คาบท่ี 3
ขั้นนา
ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
ครเู ปิด CD การแสดงระบาเกบ็ ใบชา ให้นกั เรียนดู แล้วใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ การแสดงชุด
นี้เปน็ การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทใด จากนนั้ ครูเฉลยคาตอบและอธบิ ายเพ่มิ เตมิ
ข้นั สอน
ข้ันสารวจค้นหา
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน ตามความสมคั รใจ ให้สมาชิกในกลมุ่ จับคูก่ ันเป็น 2 คู่ ใหแ้ ต่ละคู่รว่ มกนั ศึกษา
ความรเู้ ร่อื ง การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยประเภทระบา จากหนงั สือเรยี น โดยแบง่ หน้าทก่ี ัน ดงั น้ี
- คนที่ 1 ศึกษาความรู้เร่ือง ระบาเบ็ดเตล็ด
- คนที่ 2 ศกึ ษาความรู้เร่ือง ระบาประกอบการแสดงละคร
2. เมื่อแต่ละคนศึกษาความร้ทู ี่ได้รบั มอบหมายจนเข้าใจแล้ว ใหผ้ ลดั กันอธบิ ายความรู้ท่ีได้จากการศกึ ษาให้สมาชกิ ท่ี
เปน็ คู่ฟัง แล้วใหแ้ ต่ละคูช่ ว่ ยกันทาใบงานท่ี 10.3 เรือ่ ง ระบา
3. นกั เรียนแตล่ ะคู่กลับมารวมกลมุ่ เดมิ (4 คน) แล้วให้แต่ละคู่ผลดั กันอธบิ ายคาตอบในใบงานท่ี 10.3 และช่วยกัน
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
4. ครูส่มุ เรยี กนักเรยี น 3-4 กลุ่ม ออกมานาเสนอใบงานที่ 10.3 หนา้ ชัน้ เรยี น
ขน้ั สรุป
ขน้ั สารวจคน้ หา
นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกีย่ วกับการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยประเภทระบา
คาบที่ 4
ข้ันนา
ขั้นกระตุ้นความสนใจ
นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยประเภทระบาครูทบทวนความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั
การละเล่นของเด็กไทย แล้วให้นักเรียนช่วยกนั บอกประโยชน์ทีไ่ ด้จาก
การเล่น
ข้ันสอน
ขัน้ สารวจค้นหา
1. นกั เรียนรวมกลมุ่ เดิม แลว้ จับคูก่ ันเปน็ 2 คู่ ใหแ้ ตล่ ะคู่รว่ มกันศกึ ษาความรู้เร่ือง การแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทฟอ้ น
จากหนังสอื เรียน โดยแบง่ หนา้ ทก่ี นั ดงั นี้
- คู่ที่ 1 ศกึ ษาความรู้เร่อื ง การฟอ้ นของภาคเหนอื
- คู่ที่ 2 ศกึ ษาความรู้เร่ือง การฟอ้ นของภาคอสี าน
2. นักเรียนแต่ละคกู่ ลับมารวมกลุ่มเดิม (4 คน) แล้วให้แตล่ ะคู่ผลัดกันอธิบายความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาให้สมาชิกอกี
คหู่ น่ึงฟัง จากน้ันใหแ้ ต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั ทาใบงานท่ี 10.4 เรือ่ ง ฟ้อน
3.นกั เรยี นแต่ละกลุ่มผลดั กันออกมานาเสนอใบงานท่ี 10.4 หน้าชั้นเรยี น แลว้ เกบ็ รวบรวมใบงานส่งครู
ขน้ั สรุป
ข้นั สารวจคน้ หา
นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุปเก่ยี วกบั การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยประเภทฟอ้ น
6. การวดั และประเมนิ ผล
รายการประเมิน คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)
1. การอธิบายหลกั ปฏิบตั ิ อธบิ ายหลกั ปฏบิ ตั ติ นในการ ชม อธบิ ายหลกั ปฏบิ ตั ติ นในการ ชม อธบิ ายหลกั ปฏบิ ตั ติ นในการ ชม
ตนในการ การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย
ชมการแสดงนาฏศิลป์ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน 5 ขอ้ ไดถ้ กู ตอ้ ง 3-4 ขอ้ ไดถ้ กู ตอ้ ง 1-2 ขอ้
ไทย ขน้ึ ไป
2. การอธิบายส่ิงท่ี อธบิ ายสง่ิ ทต่ี นเองชอบจาก การ อธบิ ายสง่ิ ทต่ี นเองชอบจาก การ อธบิ ายสง่ิ ทต่ี นเองชอบจาก การ
ตนเองชอบจาก การ ชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ชมการแสดงนาฏศลิ ป์
ชมการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ได้ 5 ขอ้ พรอ้ มกบั
ไทย บอกเหตุผล ไทย ได้ 3-4 ขอ้ พรอ้ มกบั ไทย ได้ 1-2 ขอ้ พรอ้ มกบั
บอกเหตุผล บอกเหตุผล
ชว่ งคะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ตา่ กว่า 5
ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้
7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี น ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ป.1
2) แบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ป.1
3) บตั รภาพ
4) CD การแสดงนาฏศลิ ป์
5) ใบงานท่ี 10.1 เรอ่ื ง การเป็นผชู้ มทด่ี ี
6) ใบงานท่ี 10.2 เรอ่ื ง รา
7) ใบงานท่ี 10.3 เรอ่ื ง ระบา
8) ใบงานท่ี 10.4 เรอ่ื ง ฟ้อน
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1. ห้องเรียน
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงช่อื ............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงชือ่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)
ใบงานที่
10.1 การเปน็ ผูช้ มทด่ี ี
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนสารวจตนเอง แล้วขีด ลงในตารางตามความเป็นจริง แลว้ บันทกึ ข้อมลู
รายการสารวจ เคย ไม่เคย
1. ไปถึงสถานท่แี สดง หลังจากทีก่ ารแสดงเรม่ิ แล้ว
2. ศกึ ษารายละเอยี ดของการแสดงทจี่ ะชม
3. ปรบมือให้เกียรติผูแ้ สดง
4. หวั เราะเมื่อการแสดงมีบทตลก สนุกสนาน
5. ลกุ เดินไปมาในขณะชมการแสดง
6. พูดคุยกบั เพือ่ นเสยี งดัง ในขณะชมการแสดง
7. โห่รอ้ งเม่ือผ้แู สดง แสดงผิดพลาด
8. โยนขนมให้เพอื่ นทน่ี ่ังชมการแสดงท่อี ย่แู ถวหลงั สุด
9. นงั่ หลบั ในขณะชมการแสดง
10. ว่ิงไปจับมือผู้แสดงท่ีหนา้ เวที
จากแบบสารวจ ให้ยกตวั อย่างพฤติกรรมที่เหมาะสม และไม่เหมาะสมในการชมการแสดง มาอย่างละ 2 ขอ้
พฤติกรรมทเ่ี หมาะสม พฤตกิ รรมทีไ่ มเ่ หมาะสม
ใบงานท่ี
10.2 รา
คาช้แี จง ให้นักเรยี นติดภาพการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยประเภทการราเดยี่ ว และการราคู่ อย่างละ 1 ภาพ
แล้วบันทึกข้อมูล
(ตดิ ภาพ)
1. ช่อื การแสดง ราเด่ยี ว
2. จดั เปน็ การราประเภท ราคู่
(ตดิ ภาพ)
1. ชอ่ื การแสดง ราคู่ ราเดี่ยว
2. จัดเปน็ การราประเภท
ใบงานที่
10.3 ระบา
คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนติดภาพการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยประเภทระบา แลว้ บันทึกขอ้ มูล
1. ระบาเบ็ดเตลด็
(ตดิ ภาพ)
ชอ่ื การแสดง
2. ระบาประกอบการแสดงละคร
(ตดิ ภาพ)
ช่ือการแสดง
ใบงานท่ี
10.4 ฟ้อน
คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นตดิ ภาพการแสดงฟ้อนทช่ี ่นื ชอบ แลว้ บนั ทกึ ข้อมลู
(ตดิ ภาพ)
1. การแสดงนาฏศิลป์ในภาพ คอื
จัดเปน็ การฟ้อนของ ภาคเหนือ ภาคอสี าน
2. นักเรียนชื่นชอบการฟ้อนชุดน้ี เพราะ
แบบบันทึกผลการจดั ทาโครงสรา้ งรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศลิ ปะ( นาฏศลิ ป์ )
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ ………………….. เวลา 20 ช่วั โมง
หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
เรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน
1 การเคลื่อนไหว มาตรฐาน ศ 3.1 การเคลื่อนไหว 7 20
เบือ้ งต้น เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิลป์ ขณะอยูก่ ับท่แี ละ
อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ เคล่อื นท่ีเปน็ ทักษะ
วพิ ากษ์ วิจารณ์ คุณคา่ นาฏศลิ ป์ เบอื้ งตน้ ของการ
ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ แสดงนาฏศิลป์ ซ่ึง
อยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และ
การเคลื่อนไหวเป็น
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั การสะท้อนอารมณ์
ตัวชี้วดั ท่ี ป 2/1
ของตนอย่างอสิ ระ
เคลื่อนไหวขณะอย่กู ับทีแ่ ละ
เคลอ่ื นท่ี
ตวั ช้ีวัดท่ี ป 2/2
แสดงการเคลอ่ื นไหวที่สะท้อน
อารมณข์ องตนเองอยา่ งอิสระ
2 ภาษาทา่ และ มาตรฐาน ศ 3.1 ภาษาท่า 5 20
นาฏยศพั ท์ เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ป์ และนาฏยศพั ท์
อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ เป็นทกั ษะพ้นื ฐาน
วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ในการแสดง
ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิด นาฏศิลป์ไทยและ
อย่างอิสระ ชื่นชม และ
การละคร จงึ ตอ้ ง
ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ฝึกให้มคี วามอ่อน
ตวั ชีว้ ดั ที่ ป 2/3
ชอ้ ย สวยงาม
แสดงทา่ ทาง เพ่ือสื่อ
ความหมายแทนคาพดู
ตวั ชวี้ ัดที่ ป 2/4
แสดงท่าทางประกอบจงั หวะ
อยา่ งสร้างสรรค์
3 การชมการแสดง มาตรฐาน ศ 3.1 การชมการแสดงท่ี 2 40
เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฎศิลป์ ดี ผชู้ มจะตอ้ งมี
อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ หลกั การชมที่
วิพากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถกู ต้อง รวมท้ัง
ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิด แสดงออกและ
อย่างอสิ ระ ช่นื ชม และ
ปฏบิ ัตอิ ย่าง
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั เหมาะสม
ตัวชี้วัดที่ ป 2/5
มารยาทในการชมการแสดง
4 การละเล่นไทย มาตรฐาน ศ 3.2 การละเลน่ พ้นื บ้าน 6 20
เข้าใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ สามารถเชอ่ื มโยง
ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็
คณุ ค่าของนาฏศลิ ป์ท่เี ป็นมรดกทาง กบั วถิ กี ารดารงชีวติ
วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิ ของคนไทยใน
ปัญญาไทยและสากล ภูมิภาคตา่ งๆ
ตวั ชี้วดั ท่ี ป 2/1 การละเลน่ ทาให้
ระบุและเล่นการละเลน่ พ้ืนบ้าน เกิดความ
ตวั ชี้วัดท่ี ป 2/2 สนุกสนาน
เชอ่ื มโยงการละเลน่ พ้นื บ้านกับ เพลิดเพลิน คนใน
ชีวิตประจาวัน
ตวั ช้ีวัดที่ ป 2/3 ท้องถิน่ เกิดความ
ภมู ใิ จในการละเลน่ พื้นบา้ น
ภาคภมู ิใจ
-
สัปดาห์ที่ 1-7
โรงเรยี นขจรเกยี รติพฒั นา
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรียนท่ี 1/ ……………… ช่ือผู้สอน …………………………………………….
กลุม่ สาระ ศิลปะ (นาฏศลิ ป์) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 7 คาบ
หน่วยการเรยี นที่ 1 การเคลอ่ื นไหวเบ้ืองต้น เรื่อง การเลียนแบบสตั ว์
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐานท่ี ศ 3.1เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป.2/1 เคล่อื นไหวขณะอยกู่ ับทีแ่ ละเคลื่อนท่ี
ป.2/2 แสดงการเคลอ่ื นไหวทส่ี ะทอ้ นอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ
2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การเคลอ่ื นไหวขณะอยู่กบั ท่แี ละเคลือ่ นท่เี ปน็ ทกั ษะเบื้องตน้ ของการแสดงนาฏศิลป์ ซึ่งการเคลื่อนไหวเป็นการ
สะทอ้ นอารมณข์ องตนอย่างอสิ ระ
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. เคลอ่ื นไหวรา่ งกายตามอารมณค์ วามรูส้ ึกอย่างอิสระได้
2. เคลอ่ื นไหวอยา่ งอิสระประกอบเพลงเดนิ ได้
3. เคลอ่ื นไหวอยา่ งมีรูปแบบได้
4. เคลือ่ นไหวอย่างมีรปู แบบประกอบเพลงม้าว่งิ ได้
5. อธบิ ายความหมายการเคลือ่ นไหวประกอบเพลงได้
6. แสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงฟงั ฟ้าล่นั ได้
7. แสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงแมงมมุ ได้
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน
1) การเคลือ่ นไหวอย่างมีรปู แบบ พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
- การนงั่ - การยืน - การเดิน
2) การประดษิ ฐท์ ่าจากการ
เคลื่อนไหวอยา่ งมีรปู แบบ
3) เพลงที่เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม
5. กิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1
ขนั้ นา
ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ
1. ครเู ปดิ เพลงเดนิ ให้นักเรียนฟงั แล้วใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันรอ้ งตามเพลงท่คี รูเปดิ (ครูตดิ เนือ้ เพลงบนกระดาน)
2. ครถู ามนักเรยี นวา่ เพลงท่ีครเู ปิดให้ฟังน้นั นา่ จะมีการเคล่อื นไหวประกอบเพลงอยา่ งไร จากน้นั ครูอธบิ าย
ความรู้เพิม่ เติมใหน้ ักเรียนฟังเกีย่ วกบั การเคลอ่ื นไหวอย่างอสิ ระ
ขั้นสอน
ข้นั สารวจค้นหา
1. สมาชกิ แตล่ ะกล่มุ รว่ มกันนาความรู้ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษามาผลัดกันอธบิ ายความรู้เกย่ี วกับการเคล่อื นไหวอยา่ ง
อิสระ พรอ้ มทงั้ ผลดั กันซกั ถามจนมีความเขา้ ใจตรงกัน
2. ครูสุ่มนักเรียน 2-3 กลมุ่ นาเสนอผลการอภปิ รายหน้าชนั้ เรียน
3. ครูอธิบายความรู้เกยี่ วกับการเคลื่อนไหวอยา่ งอสิ ระใหน้ กั เรยี นฟงั
4.นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 6 คน ตามความสมคั รใจ ใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรเู้ ร่ือง การเคล่ือนไหว
อยา่ งอิสระ จากหนงั สอื เรียน
5. ครนู าเนอ้ื เพลงเดิน มาใหน้ ักเรยี นดูอีกครง้ั แล้วให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันแปลความหมายของบทเพลง
6. เม่อื นกั เรยี นแปลความหมายของบทเพลงแล้ว ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกนั คดิ ท่าประกอบเพลงเดิน
ข้นั สรุป
ขั้นขยายความเข้าใจ
1. ครสู มุ่ นกั เรยี น 2-3 คน แสดงการเคล่อื นไหวประกอบเพลงเดินทนี่ ักเรยี นคิดเองหนา้ ชน้ั เรียน โดยมคี รเู ป็นผู้ให้
ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ
2. นักเรียนร่วมกันสรปุ ความร้เู รอื่ ง การเคล่อื นไหวอย่างอิสระ
คาบที่ 2
ขั้นนา
ขนั้ กระตุ้นความสนใจ
1. ครนู าภาพการเคลื่อนไหวประกอบเพลงเดิน มาให้นักเรียนดู แล้วให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับทา่
ประกอบเพลง
2. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ การเลือกเพลงประกอบกิจกรรมการเคลอ่ื นไหวที่เหมาะสม ทาให้การปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรมมคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลินมากขึ้น
3. ครชู ้แี จงใหน้ ักเรียนทราบว่า ครจู ะให้นักเรยี นแสดงการเคล่ือนไหวประกอบเพลงเดิน
ข้ันสอน
ขน้ั สารวจค้นหา
1. ครูเปดิ เพลงเดนิ ให้นักเรยี นฟงั 1-2 รอบ และเคลอ่ื นไหวอย่างอิสระประกอบเพลง ดว้ ยการเดนิ กา้ วไปข้างหน้า
และเดนิ ยา่ เท้าอยู่กับท่ีให้นักเรียนดเู ป็นตัวอย่าง
2. นกั เรียนกลมุ่ เดิมจับคู่กันฝึกปฏิบตั กิ ารเคล่ือนไหวประกอบเพลงเดนิ ตามแบบครู โดยมคี รคู อยอธบิ ายประกอบ
3. ครูสงั เกตการแสดงการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงเดนิ ของนกั เรียน พร้อมทัง้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ในสว่ นท่ยี ังไม่
สมบูรณ์
4. นกั เรียนแต่ละคูฝ่ กึ เคล่อื นไหวร่างกายประกอบเพลงเดิน โดยไม่มแี บบ จากน้นั นาขอ้ เสนอแนะของครูมาแกไ้ ข
ขอ้ บกพร่อง
5. ครสู ุ่มนกั เรียน 2-3 คู่ แสดงการเคล่ือนไหวประกอบเพลงเดนิ หนา้ ช้ันเรียน ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
ขน้ั สรุป
ขั้นสารวจคน้ หา
ครูมอบหมายใหส้ มาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกันฝึกเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงเดนิ ให้ถูกตอ้ งจนมีความชานาญและ
คล่องแคล่ว แล้วมาทดสอบกบั ครู (นอกเวลาเรียน) เป็นรายกลุม่
คาบที่ 3
ขน้ั นา
ขนั้ กระตุ้นความสนใจ
1. ครูนาภาพการเคลอื่ นไหวตามแบบนาฏศิลป์ มาให้นักเรยี นดู แล้วให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบวา่ การเคล่อื นไหว
ในภาพเปน็ การเคล่ือนไหวในทา่ ใด
2. ครูเฉลยคาตอบใหน้ ักเรียนฟัง พร้อมทั้งอธบิ ายให้นกั เรยี นเขา้ ใจเก่ยี วกับการเคล่ือนไหวอย่างมรี ูปแบบ
ข้นั สอน
ขน้ั สารวจคน้ หา
1. นกั เรียนแตล่ ะคนนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษามาผลัดกนั อธบิ ายให้เพื่อนภายในกลุ่มฟงั พร้อมทง้ั ผลัดกนั ซกั ถาม
ขอ้ สงสยั จนมีความรคู้ วามเขา้ ใจทต่ี รงกัน
2. ตัวแทนกล่มุ นาเสนอผลการศึกษาความรู้เกย่ี วกบั การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมีรูปแบบ ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ ในส่วนท่ยี งั ไม่
สมบูรณ์
3. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มจับคกู่ ันเปน็ 3 คู่ ใหแ้ ต่ละคูน่ าความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษามาทาใบงานที่ 6.1 เร่ือง การ
เคลอ่ื นไหวอยา่ งมีรปู แบบ เสร็จแล้วนาสง่ ครผู ู้สอน
ขนั้ สรปุ
ขน้ั สารวจคน้ หา
ครูตรวจสอบผลงานจากการทาใบงานท่ี 6.1 ของนกั เรยี น พร้อมท้งั ใหข้ ้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ ในสว่ นที่ยังมี
ข้อบกพร่องอยู่ จากนัน้ นักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้เรื่อง การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมรี ูปแบบ
คาบที่ 4
ขนั้ นา
ข้นั กระตุ้นความสนใจ
ครตู รวจสอบผลงานจากการทาใบงานท่ี 6.1 ของนักเรยี น พร้อมท้งั ใหข้ อ้ เสนอแนะเพิม่ เติมในส่วนทยี่ ังมี
ขอ้ บกพรอ่ งอยู่ จากนั้นนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมรี ูปแบบ
ขน้ั สอน
ขั้นสารวจคน้ หา
1. ครเู ปิดเพลงม้าวิ่ง แล้วให้นักเรยี นอาสาสมัครแสดงการเคลือ่ นไหวประกอบเพลงมา้ ว่งิ ให้เพื่อนนกั เรียนดูเป็น
ตัวอยา่ ง โดยครูอธิบายประกอบในแตล่ ะท่า
2. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มฝกึ แสดงการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงม้าวิง่ ตามแบบเพื่อนนักเรยี นที่ออกมาสาธติ
3. ครูสงั เกตการแสดงการเคล่อื นไหวประกอบเพลงม้าวิ่งของนักเรยี น ถ้านักเรียนคนใดทาไมถ่ กู ต้องกใ็ ห้คาช้แี นะ
เพื่อแก้ไขให้ปฏบิ ัตไิ ดถ้ กู ตอ้ ง
ขนั้ สรุป
ข้ันสารวจค้นหา
สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ แสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงมา้ วงิ่ หน้าช้ันเรียนทลี ะกลุ่มจนครบทกุ กลุม่ โดยมคี รูเป็นผู้
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
คาบท่ี 5
ข้นั นา
ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูทาท่าทางตา่ งๆ ให้นกั เรียนดู แลว้ ให้นักเรยี นทายว่า ท่าทางท่นี กั เรียนได้ดไู ป เป็นท่าอะไรบ้าง โดยครูคอย
กระตนุ้ ให้นกั เรียนทกุ คนมีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น
2. ครูเฉลยคาตอบให้นกั เรียนฟงั แล้วอธิบายความรู้เพ่ิมเติมให้นกั เรยี นเข้าใจเกย่ี วกบั การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
ขัน้ สอน
ขัน้ สารวจคน้ หา
1. สมาชิกกลุ่มเดมิ รว่ มกนั ศึกษาความรเู้ ร่อื ง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง จากหนังสอื เรยี น
2. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั อภิปรายความรู้ท่ไี ดจ้ ากการศึกษา แล้วผลัดกนั ซักถามข้อสงสัย จนทกุ คนมีความ
เข้าใจตรงกนั
3. ครอู ธิบายความรู้เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง เพื่อใหน้ กั เรียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจมากยิ่งขนึ้
4. สมาชิกแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันทาใบงานท่ี 6.2 เรอ่ื ง การเคลอื่ นไหวประกอบเพลง เสรจ็ แล้วนาส่งครตู รวจ
ข้ันสรปุ
ขัน้ สารวจคน้ หา
ครูส่มุ ตัวแทนนกั เรียน 2-3 กลมุ่ นาเสนอผลงานในใบงานที่ 6.2 หน้าช้ันเรียน ครูและเพื่อนนกั เรียนตรวจสอบ
ความถกู ต้องและให้ข้อเสนอแนะ
คาบท่ี 6
ขัน้ นา
ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครูนาภาพการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงฟงั ฟ้าลน่ั มาใหน้ ักเรียนดู แลว้ ใหน้ ักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็
เก่ียวกบั ท่าประกอบ
2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เพลงฟงั ฟา้ ลน่ั เปน็ เพลงทเี่ กย่ี วกับสิ่งแวดล้อม
3. ครูเปิดเพลงฟังฟา้ ลั่น พรอ้ มท้ังตดิ เนอื้ เพลงบนกระดาน แล้วให้นกั เรียนชว่ ยกันร้องตามไปกับเพลงทค่ี รูเปิด
ข้ันสอน
ขั้นสารวจคน้ หา
. 1.ครสู าธิตการแสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงฟังฟา้ ลั่น ให้นกั เรยี นดเู ป็นตวั อย่าง พร้อมทั้งอธบิ ายประกอบในแต่
ละทา่
2. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ฝึกการแสดงการเคลอื่ นไหวประกอบเพลงฟงั ฟ้าล่นั ตามแบบทค่ี รูสาธติ โดยมคี รเู ป็นผู้ให้
คาแนะนา จากนน้ั ครูเสนอแนะขอ้ บกพร่องให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาไปแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง
ขั้นสรุป
ขนั้ สารวจค้นหา
ครมู อบหมายให้สมาชิกแต่ละกลุม่ ช่วยกนั ฝึกการแสดงการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงฟังฟ้าล่ัน ให้ถกู ตอ้ งจนมี
ความชานาญ
คาบท่ี 7
ข้ันนา
ขั้นกระตุ้นความสนใจ
1. ครูเตรยี มการสาธิต โดยการนาภาพการเคลือ่ นไหวประกอบเพลงแมงมมุ มาให้นักเรยี นดู
2. ครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนเข้าใจว่า เพลงแมงมุมเป็นเพลงทเี่ กยี่ วกบั สัตว์
3. ครเู ปิดเพลงแมงมุม พร้อมทงั้ ตดิ เนอื้ เพลงบนกระดาน แลว้ ให้นักเรียนช่วยกนั ร้องตามไปกบั เพลงท่ีครเู ปิด
ขนั้ สอน
ขน้ั สารวจคน้ หา
1. ครูแจ้งให้นกั เรียนทราบว่า ครจู ะสาธติ การเคลอื่ นไหวประกอบเพลงแมงมุม ให้นกั เรียนดูเปน็ ตวั อย่าง
2. ครูสาธติ การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงแมงมุม พรอ้ มอธิบายประกอบในแตล่ ะท่า จากนน้ั ให้สมาชกิ แตล่ ะกลุม่ ฝกึ
เคลื่อนไหวประกอบเพลงแมงมุม ตามแบบท่คี รูสาธติ
3. ครสู ังเกตการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงแมงมุมของนกั เรยี น หากนักเรียนคนใดทาไม่ถูกต้องใหเ้ สนอแนะเพ่ือ
แก้ไขใหป้ ฏิบตั ิได้ถูกตอ้ ง
ข้ันสรุป
ขั้นสารวจคน้ หา
ครสู ุ่มตวั แทนนักเรียนโดยวิธสี ่มุ เลขท่ีออกมาแสดงการเคลื่อนไหวประกอบเพลงแมงมมุ หน้าชน้ั เรียน จากนั้นครนู ดั
หมายนักเรยี นนอกเวลาเรยี นใหม้ าแสดงการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลงแมงมมุ เพอื่ ครจู ะไดว้ ัดประเมนิ ผล
6. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)
1. การแสดงการ แสดงการเคลอ่ื นไหวอยกู่ ับ แสดงการเคลื่อนไหวอยกู่ ับ แสดงการเคลือ่ นไหวอยกู่ ับ
เคล่ือนไหวอยูก่ บั ทแี่ ละเคล่อื นที่ตามรปู แบบ ทแ่ี ละเคลอ่ื นท่ีตามรูปแบบ ที่และเคล่อื นทต่ี ามรปู แบบ
ทแ่ี ละเคล่อื นที่ นาฏศลิ ปไ์ ดค้ รบถว้ นท้ัง 2 นาฏศลิ ป์ไดเ้ พียง 1 รูปแบบ นาฏศลิ ปไ์ ด้ แตไ่ มต่ รงตาม
ตามรูปแบบ รูปแบบ
นาฏศลิ ป์ รปู แบบนาฏศิลป์
2. การแสดงการ แสดงการเคลื่อนไหวท่ี แสดงการเคล่อื นไหวท่ี แสดงการเคล่ือนไหวท่ี
เคลอื่ นไหวที่ สะทอ้ นอารมณข์ องตนเอง สะท้อนอารมณข์ องตนเอง สะทอ้ นอารมณ์ของตนเอง