The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอนวิชานาฏศิลป์ ป.1-3 เทอม1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-17 10:46:20

โครงสร้างและแผนการสอนวิชานาฏศิลป์ ป.1-3 เทอม1-63

โครงสร้างและแผนการสอนวิชานาฏศิลป์ ป.1-3 เทอม1-63

สะทอ้ นอารมณ์ อยา่ งอิสระ ได้ถกู ต้อง อยา่ งอิสระ ได้ถูกตอ้ งเป็น อยา่ งอิสระได้ แตไ่ ม่ตรงตาม
ของตนเองอยา่ ง ชดั เจน ตรงตามประเภท
อิสระ ของเพลง สว่ นใหญ่ ประเภทของเพลง

ตรงตามประเภทของเพลง

3. การคิดประดิษฐ์ คิดประดษิ ฐท์ า่ ทางในการ คดิ ประดษิ ฐ์ท่าทางการ คิดประดษิ ฐ์ท่าทางการ
เคล่อื นไหวประกอบเพลงที่ เคลอื่ นไหวประกอบเพลงที่
ท่าทางในการ เคล่อื นไหวประกอบเพลงท่ี สอ่ื ความหมายในเพลงได้ สอื่ ความหมายในเพลงได้
ถูกต้อง เป็นสว่ นใหญ่ ตรง แต่ไมต่ รงตามเน้อื หาและ
เคลื่อนไหวประกอบ สอื่ ความหมายในเพลงได้ ตามเนือ้ หาและความหมาย ความหมายของเพลง
ของเพลง
เพลงทส่ี ื่อ ถูกต้อง ชัดเจน ตรงตาม

ความหมายในเพลง เนอ้ื หาและความหมายของ

เพลง

4. การแสดงการ แสดงการเคลอ่ื นไหว แสดงการเคลือ่ นไหว แสดงการเคล่ือนไหว
เคล่อื นไหวประกอบ ประกอบเพลงได้สวยงาม
เพลง คลอ่ งแคลว่ มีความพร้อม ประกอบเพลงไดส้ วยงาม ประกอบเพลงได้ แต่ไม่
เพรยี งกัน
คอ่ นขา้ งคลอ่ งแคลว่ มคี วาม สวยงาม ไม่

พรอ้ มเพรยี งกนั เป็นส่วน คลอ่ งแคลว่

ใหญ่

ช่วงคะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ตา่ กว่า 5
ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี น ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ป.2
2) เอกสารประกอบการสอน
3) ซีดีเพลงเดิน เพลงม้าว่ิง เพลงฟงั ฟ้าล่นั เพลงแมงมุม
4) บัตรภาพ
5) ใบงานที่ 6.1 เรือ่ ง การเคลอ่ื นไหวอย่างมรี ปู แบบ
6) ใบงานที่ 6.2 เร่ือง การเคล่ือนไหวประกอบเพลง

7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1. หอ้ งเรยี น

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)

ใบงานท่ี
6.1 การเคลอื่ นไหวอยา่ งมีรปู แบบ

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นแตล่ ะคู่แสดงการเคล่ือนไหวอย่างมรี ูปแบบ ตามท่าที่กาหนด แลว้ ใหค้ รหู รือเพือ่ น
ประเมินผล

ทา่ น่งั ทา่ ยืน ท่าเดนิ

รายการประเมิน ผลการประเมนิ
คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้
1. ความถกู ต้องของทา่ รา
2. ลีลาความสวยงาม 5
3. จังหวะการผสมกลมกลืนระหวา่ งการราและ 5
ดนตรี 5
4. การวางรปู แบบแถวและความพรอ้ มเพรียง
5
รวมคะแนน 20

ลงชื่อ .................................................... ผปู้ ระเมนิ
(................................................)

ใบงานท่ี
6.2 การเคล่อื นไหวประกอบเพลง

คาช้ีแจง ให้นักเรยี นฝกึ ร้องเพลงกังหนั ตอ้ งลม แล้วคดิ ท่าทางประกอบเพลงแบบงา่ ยๆ

เพลงกงั หันต้องลม

ยามกงั หันตอ้ งลม เปน็ วงกลมเม่ือลมโชยมา

ยามเย็นเห็นสรุ ิยา (ซำ้ ) จากฟากฟา้ มาสแู่ ดนดนิ (ซ้ำ)

รดิ ดงิ ริดดิง รดิ ดงิ รดิ ดิง (ซ้ำ) ถ้ารกั น้องจริงอย่าทง้ิ นอ้ งไป

ถ้ารักพี่จริงอย่าท้ิงพีไ่ ป

ทา่ ประกอบ มดี งั นี้

1) ยามกงั หันต้องลม ทาท่า

2) เปน็ วงกลมเมอ่ื ลมโชยมา ทาท่า

3) ยามเย็นเหน็ สุริยา ทาท่า

4) จากฟากฟ้ามาสแู่ ดนดิน ทาท่า
ทาท่า
5) รดิ ดิง รดิ ดงิ รดิ ดิง รดิ ดงิ

6) ถ้ารกั น้องจรงิ อย่าทง้ิ นอ้ งไป ทาท่า

7) ถา้ รักพจ่ี ริงอย่าท้งิ พไี่ ป ทาท่า

สปั ดาห์ท่ี 8-12

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี 1/ ……………… ชื่อผสู้ อน …………………………………………….
กลุ่มสาระ ศิลปะ (นาฏศลิ ป์) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 5 คาบ
หน่วยการเรยี นท่ี 2 ภาษาทา่ และนาฏยศัพท์ เร่อื ง ภาษาท่า

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ดั
มาตรฐานท่ี ศ 3.1เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฎศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ ค่านาฏศิลป์
ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั

ตวั ชีว้ ดั ที่ ป.2/3 แสดงท่าทาง เพอื่ ส่ือความหมายแทนคาพูด
ป.2/4 แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสรา้ งสรรค์

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ เป็นทกั ษะพื้นฐานในการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยและการละคร จงึ ตอ้ งฝกึ ให้มคี วามอ่อน

ชอ้ ย สวยงาม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. แสดงภาษาท่าเพอื่ ส่อื ความหมายแทนคาพดู ได้
2. แสดงท่าทางนาฏยศัพท์เพอื่ สอ่ื ความหมายแทนคาพดู ได้
3. อธิบายท่าประกอบเพลงอธิษฐานได้
4. แสดงท่าประกอบเพลงอธิษฐานได้
5. แสดงท่าประกอบเพลงนกเขามะราปไี ด้

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน

1) หลกั และวิธกี ารปฏิบัตินาฏศิลป์ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา

- การฝึกภาษาท่าส่ือความหมาย

แทนอากปั กิริยา

- การฝึกนาฏยศพั ทใ์ นส่วนลาตวั

2) การใชภ้ าษาท่าและนาฏยศพั ท์

ประกอบจงั หวะ

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี 1

ขนั้ นา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ
1. ครูเตรียมการสาธติ โดยการนาภาพการแสดงภาษาท่า มาให้นักเรยี นดู เพื่อให้ครูอธิบายประกอบใน แตล่ ะ

ขัน้ ตอนไดง้ า่ ย
2. ครูอธิบายความรู้เพมิ่ เตมิ ให้นักเรียนเข้าใจเกยี่ วกับภาษาท่า ซง่ึ เปน็ การแสดงท่าทางแทนคาพดู และอารมณ์

ต่างๆ ประดิษฐค์ ดิ ค้นมาจากทา่ ทางการแสดงออกของคนเรา

ขั้นสอน

ขน้ั สารวจค้นหา

1. ครแู จ้งให้นักเรยี นทราบวา่ ครจู ะสาธติ การแสดงภาษาท่าใหน้ ักเรียนดเู ปน็ ตวั อย่าง

2. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ตามความสมคั รใจ ใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศกึ ษาความรู้เร่ือง ภาษาท่า จาก

หนังสอื เรียน

3. ครูสาธิตการแสดงภาษาท่า ให้นกั เรียนดูเปน็ ตวั อยา่ ง พรอ้ มอธบิ ายประกอบในแต่ละทา่ ดังนี้

1) ท่าฉนั 2) ท่าปฏิเสธ

3) ทา่ รัก

4. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ฝึกการแสดงภาษาท่าตามแบบทีค่ รูสาธิต

5. ครสู ังเกตการฝกึ การแสดงภาษาท่าของนกั เรียน หากนักเรยี นคนใดทาไม่ถูกตอ้ งใหข้ อ้ เสนอแนะเพิม่ เติม เพื่อ

แกไ้ ขใหป้ ฏบิ ัตไิ ด้ถูกตอ้ ง

ข้นั สรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ
1. ครูสุม่ นกั เรยี น 2-3 คน แสดงภาษาท่า ไดแ้ ก่ ท่าฉัน ท่าปฏเิ สธ และท่ารัก ให้เพอ่ื นดทู ีห่ น้าชั้นเรียน จากน้นั ครู

และนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั ภาษาท่าท่ีเพือ่ นออกมาแสดง
2. ครูใหน้ ักเรียนฝึกปฏบิ ตั ิภาษาท่าของนาฏศิลป์ไทยพร้อมกัน โดยครูคอยใหค้ าแนะนาเพิม่ เตมิ เพ่ือให้นกั เรียนทุก

คนปฏิบตั ไิ ด้ถกู ตอ้ ง

คาบที่ 2

ขน้ั นา
ขนั้ กระตุ้นความสนใจ
1. ครูนาภาพนาฏยศพั ท์ท่าโย้ตัว ทา่ กล่อมไหล่ และท่าตไี หล่ มาใหน้ ักเรียนดู แล้วใหน้ กั เรียนร่วมกันแสดงความ

คิดเห็น จากนน้ั ครอู ธิบายให้นักเรยี นเข้าใจว่า นาฏยศัพทเ์ ปน็ ศัพทเ์ ฉพาะทางนาฏศลิ ป์ เป็นชอ่ื ลกั ษณะท่ารา
เบื้องต้นของนาฏศิลป์ไทย
2. นักเรยี นแตล่ ะคนศึกษาความรู้เรื่อง นาฏยศัพท์ จากหนังสอื เรียน

ข้นั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา
1. ครขู ออาสาสมคั รนกั เรยี น 4-5 คน ออกมาสาธิตท่าโย้ตวั ท่ากลอ่ มไหล่ และทา่ ตไี หล่ ให้เพ่ือนดเู ปน็ ตัวอย่างท่ี

หน้าช้ันเรยี น
2. สมาชิกแต่ละกลุ่มฝึกทา่ โย้ตวั ทา่ กล่อมไหล่ และท่าตไี หล่ ตามแบบท่เี พือ่ นออกมาสาธิต โดยมคี รอู ธิบาย

ประกอบในแตล่ ะข้ันตอน
3. ครเู สนอแนะขอ้ บกพรอ่ งใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาไปแกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง

ขั้นสรปุ

ขั้นสารวจค้นหา
1. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานท่ี 7.1 เรอื่ ง ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ เสรจ็ แลว้ นาส่งครู
2. ครูส่มุ นักเรยี น 5-6 คน ออกมาเฉลยคาตอบหน้าชัน้ เรยี น โดยครแู ละเพือ่ นนกั เรียนช่วยกันตรวจสอบ

ความถกู ต้อง

คาบที่ 3

ข้ันนา
ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
1. ครเู ปิดเพลงอธษิ ฐานใหน้ กั เรยี นฟัง แล้วใหน้ กั เรยี นช่วยกันรอ้ งเพลงท่ีครูเปิด (ครูติดเนือเพลงบนกระดำน)

พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั ท่าประกอบเพลง
2. ครูอธบิ ายความรู้ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจว่า ท่าประกอบเพลง เปน็ การนาภาษาท่าและนาฏยศัพทม์ าประกอบจังหวะ

เพลงทาใหเ้ กิดความสวยงาม

ขนั้ สอน

ข้นั สารวจคน้ หา
1. สมาชิกแตล่ ะกลุม่ นาความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศึกษาเกี่ยวกับท่าประกอบเพลงอธิษฐาน มาผลดั กันอธบิ าย

ภายในกลมุ่
2. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มผลดั กนั อภปิ รายความรทู้ ี่ไดก้ ับสมาชกิ กลุม่ อื่นๆ พรอ้ มท้งั ผลัดกนั ซกั ถามจนมีความเขา้ ใจ

ตรงกัน

ขัน้ สรปุ

ข้ันสารวจคน้ หา
1. ครสู มุ่ ตวั แทนนักเรยี น 2-3 กลุ่ม ออกมาแสดงท่าประกอบเพลงอธิษฐานที่นักเรียนคดิ เองหนา้ ชน้ั เรียน โดยมคี รู

เป็นผู้ใหข้ ้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ
2. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ กยี่ วกับทา่ ประกอบเพลงอธษิ ฐาน

คาบที่ 4

ขั้นนา
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ

1. ครนู าวดี ทิ ศั นห์ รอื ภาพการแสดงท่าประกอบเพลงอธิษฐาน มาให้นกั เรียนดู แลว้ ให้นักเรียนร่วมกันแสดง
ความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั ท่าประกอบเพลง
2. ครูอธบิ ายให้นักเรียนเข้าใจวา่ เพลงอธิษฐานเปน็ เพลงที่มเี น้อื หาเก่ยี วกบั การอธษิ ฐานให้ทุกคนในชาตสิ ามคั คี
3. ครชู ีแ้ จงใหน้ กั เรียนทราบว่า จะให้นกั เรียนแสดงท่าประกอบเพลงอธิษฐาน

ขน้ั สอน

ขั้นสารวจคน้ หา
1. ครเู ปิดวดี ิทัศนก์ ารแสดงท่าประกอบเพลงอธษิ ฐาน ให้นกั เรียนดเู ป็นตวั อย่าง
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกแสดงท่าประกอบเพลงอธิษฐาน ตามแบบวีดทิ ัศน์ท่คี รนู ามาสาธิต โดยมีครอู ธิบายประกอบ

ในแต่ละทา่
3. ครสู งั เกตการแสดงท่าประกอบเพลงอธิษฐานของนกั เรียน พรอ้ มทั้งเสนอแนะเพิม่ เติมในสว่ นท่ียงั ไมส่ มบูรณ์

ขัน้ สรุป
ขัน้ สารวจค้นหา

ครูมอบหมายให้สมาชิกแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันฝึกการแสดงทา่ ประกอบเพลงอธษิ ฐานใหถ้ ูกตอ้ ง จนมคี วามชานาญ
และคล่องแคล่ว แลว้ มาทดสอบกับครู (นอกเวลาเรียน) เปน็ รายกล่มุ

คาบที่ 5

ขนั้ นา
ขัน้ กระตุน้ ความสนใจ
1. ครเู ชญิ วิทยากรมาลว่ งหน้า เพอ่ื สาธิตการแสดงท่าประกอบเพลงนกเขามะราปี ให้นกั เรียนดู เพือ่ ให้ครูอธิบาย

ประกอบในแตล่ ะข้นั ตอนไดง้ า่ ย
2. ครูแจง้ ให้นกั เรียนทราบวา่ ครเู ชิญวิทยากรมาสาธติ การแสดงทา่ ประกอบเพลงนกเขามะราปี ให้นกั เรียนดเู ปน็

ตวั อยา่ ง พร้อมทัง้ ช้แี จงจุดประสงค์การสาธติ ใหน้ กั เรียนทราบ
3. ครูเปิดเพลงนกเขามะราปี ใหน้ ักเรยี นฟงั และใหน้ ักเรียนรอ้ งตามจนจบเพลง หรือรอ้ งตามครู

ขน้ั สอน
ข้นั สารวจค้นหา
1. ครใู ห้นักเรียนกลุม่ เดิมรว่ มกันศกึ ษาความรเู้ รื่อง ทา่ ประกอบเพลงนกเขามะราปี จากหนงั สือเรียน
2. วิทยากรหรอื ครสู าธิตการแสดงทา่ ประกอบเพลงนกเขามะราปใี ห้นกั เรียนดู พร้อมกบั ครูอธบิ ายประกอบ ในแต่
ละท่า
3. ครเู ปิดเพลงนกเขามะราปี แล้วใหส้ มาชิกแตล่ ะกลมุ่ ฝึกแสดงท่าประกอบเพลงนกเขามะราปี ตามแบบที่
วทิ ยากรหรือครสู าธติ
4. ครูสงั เกตการแสดงท่าประกอบเพลงนกเขามะราปขี องนักเรียน หากนกั เรียนคนใดทาไม่ถูกตอ้ งให้
เสนอแนะเพื่อแกไ้ ขใหป้ ฏบิ ัติไดถ้ ูกตอ้ ง

ข้นั สรุป
ข้นั สารวจค้นหา

ครสู ่มุ นกั เรยี น 2-3 คน (สุ่มเลขท)่ี ออกมาแสดงท่าประกอบเพลงนกเขามะราปีหนา้ ช้ันเรียน ครูตรวจสอบ
ความถูกต้อง จากน้ันครนู ัดหมายกบั นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ มาแสดงทา่ ประกอบเพลงนกเขามะราปี เพ่อื ใหค้ รปู ระเมนิ ผล

6. การวดั และประเมนิ ผล

รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ / ระดบั คะแนน

1. การคิดท่า ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ประกอบเพลง คิดท่าประกอบเพลงได้ คิดทา่ ประกอบเพลงได้
สรา้ งสรรค์ และนาภาษาท่า คดิ ท่าประกอบเพลงได้ สร้างสรรคเ์ พยี งเล็กน้อย และ
2. การใชภ้ าษา และนาฏยศพั ท์ที่ไดเ้ รยี นมา สรา้ งสรรคเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ ไม่ได้นาภาษาทา่ และนาฏย
ท่าเพื่อสือ่ ปรบั ใชใ้ นการแสดง และนาภาษาท่าและนาฏย ศัพท์ ท่ไี ด้เรียนมาปรับใชใ้ น
ความหมายแทน ศัพท์ท่ไี ดเ้ รยี นมาปรับใช้ใน การแสดง
คาพดู ใชภ้ าษาท่าเพอ่ื สอื่ การแสดง ใช้ภาษาท่าเพื่อสือ่ ความหมาย
ความหมายแทนคาพูดได้ แทนคาพูดไดถ้ ูกตอ้ งเพยี ง
3. การแสดง ถูกตอ้ งทุกทา่ และสื่อ ใชภ้ าษาทา่ เพอื่ สอ่ื ส่วนนอ้ ย และสอ่ื ความหมาย
ท่าทางประกอบ ความหมายตรงตามเนือ้ ความหมายแทนคาพดู ได้ ตรงตามเนื้อเพลง
เพลง เพลง ถกู ต้องเปน็
สว่ นใหญ่ และส่อื แสดงท่าทางประกอบเพลงได้
แสดงทา่ ทางประกอบเพลง ความหมายตรงตามเนือ้ ถกู ตอ้ ง ทา่ รามีลีลาออ่ นช้อย
ไดถ้ ูกตอ้ ง ทา่ รามีลีลาอ่อน เพลง สวยงาม และมคี วามพรอ้ ม
ช้อย สวยงาม และมคี วาม แสดงทา่ ทางประกอบเพลง เพรียงกันเพียงสว่ นนอ้ ย
พร้อมเพรยี งกนั ไดถ้ ูกตอ้ ง ท่ารามลี ลี าอ่อน
ชอ้ ย สวยงาม และมีความ
พร้อมเพรยี งกนั เป็นส่วน
ใหญ่

ช่วงคะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ต่ากว่า 5
ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สือ่ การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี น ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ป.2
2) เอกสารประกอบการสอน
3) ซีดีเพลงอธษิ ฐาน เพลงนกเขามะราปี
4) วีดทิ ัศน์
5) บัตรภาพ
6) ใบงานที่ 7.1 เร่อื ง ภาษาท่าและนาฏยศัพท์

7.2 แหล่งกำรเรยี นรู้
2) หอ้ งสมุด
3) หอ้ งนาฏศิลป์

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ครูผสู้ อน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ใบงานท่ี
7.1 ภาษาท่าและนาฏยศัพท์

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตอ่ ไปน้ี
1. บอกความหมายของ ภาษาท่า

2. อธบิ ายการแสดงภาษาท่า ตอ่ ไปนี้
1) ท่าโกรธ
2) ทา่ ดีใจ
3) ท่าปฏเิ สธ
4) ท่าเสยี ใจ

3. บอกความหมายของ นาฏยศพั ท์

4. อธบิ ายการแสดงนาฏยศพั ท์ ตอ่ ไปนี้
1) ท่าโย้ตัว
2) ท่ากล่อมไหล่
3) ท่าตไี หล่

สปั ดาห์ท่ี 13-14

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นที่ 1/ ……………… ชอ่ื ผูส้ อน …………………………………………….
กลุม่ สาระ ศลิ ปะ(นาฏศลิ ป์) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 2 คาบ
หน่วยการเรียนท่ี 3 การชมการแสดง เรอื่ ง การเป็นผ้ชู มท่ดี ี

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานที่ ศ 3.1เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฎศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศลิ ป์
ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั

ตัวช้ีวัดที่ ป.2/5 ระบมุ ารยาทในการชมการแสดง

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การชมการแสดงท่ีดี ผ้ชู มจะตอ้ งมหี ลกั การชมทถ่ี ูกตอ้ ง รวมทั้งแสดงออกและปฏบิ ตั ิอย่างเหมาะสม

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกหลักในการชมการแสดงเพ่ือการเปน็ ผู้ชมท่ีดไี ด้
2. ระบปุ ระโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการชมการแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทยได้

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

มารยาทในการชมการแสดง การเข้าชม หรือมี พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

ส่วนรว่ ม

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขนั้ นา
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ

1. ครถู ามนกั เรียนว่า นกั เรียนเคยมีโอกาสเข้าชมการแสดงอะไรบา้ ง และนักเรียนปฏิบัตติ นอยา่ งไร
โดยครคู อยกระตุ้นให้นักเรยี นทุกคนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็
2. ครอู ธบิ ายความรู้ให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า การเปน็ ผชู้ มท่ีดจี ะต้องมหี ลกั การชมทถ่ี กู ต้อง

ขนั้ สอน

ข้ันสารวจค้นหา
1. ครแู บง่ นักเรียนเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน โดยวธิ กี ารจับสลาก ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาความรูเ้ ร่อื ง การเปน็

ผู้ชมทีด่ ี จากหนังสือเรียน จากนน้ั ครอู ธิบายความรเู้ พมิ่ เติมให้นักเรียนเขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั การและมารยาทใน
การชมการแสดง
2. เม่ือสมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ ศกึ ษาจบแลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั วิเคราะห์วิจารณใ์ นประเด็นท่ีครกู าหนด ดังนี้
1) การชมการแสดงมหี ลักการอะไรบ้าง
2) การชมการแสดงท่ถี กู ตอ้ งมคี วามสาคัญอย่างไร
3) การชมการแสดงท่ถี ูกต้องตามหลกั การจะสง่ ผลตอ่ การแสดงอยา่ งไร
4) นักเรยี นมแี นวทางในการชมการแสดงทีม่ ีมารยาทอย่างไร
3. ครสู มุ่ ตวั แทนของแต่ละกลมุ่ ออกมารายงานผลการวิเคราะห์วจิ ารณ์ในแตล่ ะประเด็นหนา้ ชัน้ เรยี น
4. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันนาความรู้ทีไ่ ด้มาทาใบงานท่ี 8.1 เร่อื ง หลักการและมารยาทในการชม การ
แสดง เมอ่ื ทาเสร็จแล้วนาสง่ ครู

ขนั้ สรปุ

ขน้ั ขยายความเข้าใจ
ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้เรอ่ื ง การเป็นผชู้ มท่ีดี

คาบที่ 2

ข้นั นา
ข้นั กระตุ้นความสนใจ
1. ครถู ามนกั เรยี นวา่ ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการชมการแสดงมีอะไรบ้าง โดยครคู อยกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนทุกคนมสี ว่ น

ร่วมในการแสดงความคดิ เห็น
2. ครเู ฉลยคาตอบให้นักเรยี นฟัง พรอ้ มท้ังอธบิ ายความรู้เพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเข้าใจเกยี่ วกับประโยชน์การชมการ

แสดง

ขนั้ สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา
1. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มนาความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาเก่ยี วกับประโยชน์การชมการแสดง มาอภปิ รายกับเพื่อน

สมาชกิ ในกลมุ่ ในประเด็นสาคัญ
2. สมาชกิ แต่ละกลุ่มผลดั กนั ซักถามขอ้ สงสัย หรือรว่ มกนั อภปิ รายประเด็นความรทู้ ีค่ รกู าหนด จนเกดิ ความรคู้ วาม

เข้าใจ
3. ครูส่มุ ตัวแทนกลุม่ 2-3 กล่มุ ออกมาอภิปรายผลการศึกษาเกีย่ วกบั ประโยชน์การชมการแสดงหน้าช้ันเรียน โดย

มีครูเสนอแนะเพ่มิ เตมิ

ขนั้ สรปุ

ข้ันสารวจคน้ หา
1. ครูส่มุ นักเรยี น 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน ครตู รวจสอบความถูกต้อง และให้

ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ในสว่ นทยี่ ังไม่สมบรู ณ์
2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้เกย่ี วกับประโยชน์การชมการแสดง

6. การวัดและประเมนิ ผล

รายการประเมิน คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)

1. การบอกหลัก บอกหลกั ในการชมการแสดง บอกหลักในการชมการ บอกหลกั ในการชมการแสดง

ในการชมการ นาฏศิลป์และละครไทยเพ่ือ แสดงนาฏศิลป์และละคร นาฏศลิ ป์และละครไทยเพื่อ

แสดงนาฏศลิ ป์ การเปน็ ผู้ชมท่ดี ีได้ถกู ต้อง ไทยเพอ่ื การเป็นผชู้ มท่ีดีได้ การเป็นผู้ชมทีด่ ีไดถ้ ูกตอ้ ง 1-

และละครไทยเพ่อื 5 ข้อ ข้ึนไป ถูกตอ้ ง 3-4 2 ข้อ

การเปน็ ผู้ชมทีด่ ี ข้อ

2. การระบปุ ระโยชน์ ระบปุ ระโยชนท์ ่ไี ด้รับจาก ระบปุ ระโยชน์ทไี่ ด้รับจาก ระบุประโยชน์ที่ได้รับจาก

ท่ีได้รับจากการชม การชมการแสดงนาฏศิลป์ การชมการแสดงนาฏศลิ ป์ การชมการแสดงนาฏศิลป์

การแสดงนาฏศิลป์ และละครไทยไดช้ ดั เจน และละครไทยได้ถกู ต้องเปน็ และละครไทยได้ แต่ไม่

และละครไทย ถูกตอ้ ง สว่ นใหญ่ ถูกต้อง

ชว่ งคะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ต่ากว่า 5
ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรยี น ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.2
3) วีดทิ ศั น์
4) ใบงานท่ี 8.1 เรอ่ื ง หลกั การชมการแสดง
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
2) หอ้ งสมุด
3) หอ้ งนาฏศลิ ป์

8. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)

ใบงานท่ี
8.1 หลกั การและมารยาทในการชมการแสดง

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนขีด  หนา้ ข้อความทีถ่ ูกตอ้ ง และกา  หนา้ ขอ้ ความทผ่ี ดิ

1. ศึกษาสูจิบัตรให้เข้าใจก่อนชมการแสดง
2. ไปถงึ สถานทีแ่ สดงไม่ทันการแสดงเรมิ่
3. แตง่ กายสุภาพ เรียบร้อย และเหมาะสมกับสถานที่
4. น่ังตามเลขทบ่ี ตั ร หรือท่ีที่กาหนดไว้
5. ส่งเสยี งดังโหร่ อ้ งเยาะเย้ยผู้แสดง
6. มอี ารมณ์ร่วมในการแสดง
7. มอี คติตอ่ ผ้แู สดง
8. แสดงความชืน่ ชมและให้กาลังใจผแู้ สดง
9. นาขอ้ คดิ ท่ีไดม้ าปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
10. ตะโกนคุยกับเพอ่ื นขณะชมการแสดง

สัปดาหท์ ี่ 15-20

โรงเรยี นขจรเกยี รติพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี 1/ ……………… ช่อื ผู้สอน …………………………………………….
กลุ่มสาระ ศลิ ปะ(นาฏศลิ ป์) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 6 คาบ
หนว่ ยการเรียนท่ี 4 การละเลน่ พื้นบ้าน เรื่อง ท่ีมาของการละเล่น

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด
มาตรฐานที่ ศ 3.2เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ ของ

นาฏศลิ ป์ทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและสากล

ตวั ชีว้ ดั ที่ ป.2/1 ระบแุ ละเลน่ การละเลน่ พ้ืนบ้าน
ป.2/2 เช่อื มโยงสงิ่ ที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับสิง่ ทีพ่ บเหน็ ในการดารงชวี ิตของคนไทย
ป.2/3 ระบสุ ิ่งทชี่ ่ืนชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพื้นบา้ น

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การละเลน่ พ้นื บ้าน สามารถเช่ือมโยงกับวถิ ีการดารงชวี ิตของคนไทยในภูมิภาคต่างๆ การละเล่นทาใหเ้ กิด

ความสนุกสนานเพลิดเพลิน คนในท้องถนิ่ เกิดความภาคภมู ิใจ
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกท่มี าของการละเล่นพนื้ บ้านได้
2. ระบุการละเลน่ พน้ื บ้านภาคเหนือได้
3. ระบกุ ารละเลน่ พนื้ บ้านภาคอีสานได้
4. ระบกุ ารละเล่นพืน้ บ้านภาคกลางได้
5. ระบกุ ารละเล่นพน้ื บ้านภาคใตไ้ ด้

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน
พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
1) การละเล่นพื้นบ้าน
- วิธีการเล่น
- กตกิ า

2) ท่มี าของการละเล่นพ้ืนบา้ น
3) การละเล่นพื้นบ้าน

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ข้นั นา

ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ

1. ครูนาภาพการละเลน่ พื้นบ้านของภาคต่างๆ มาให้นกั เรียนดู แลว้ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นวา่
การละเลน่ พื้นบ้านในภาพมที ่มี าจากภาคอะไร

2. ครูเฉลยคาตอบให้นักเรียนฟัง พรอ้ มท้ังอธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจวา่ การละเลน่ พ้ืนบ้านเกดิ ขึน้ มาพรอ้ มกบั วิถี
ชวี ิตและวัฒนธรรมประเพณีของคนในท้องถิน่

ขัน้ สอน

ขนั้ สารวจคน้ หา
1. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน ตามความสมคั รใจ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ศึกษาความรเู้ ร่ือง ท่ีมาของ

การละเลน่ พื้นบ้าน จากหนังสอื เรียน
2. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันเล่าความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาเก่ยี วกับทม่ี าของการละเล่นพื้นบ้านให้

สมาชิกภายในกล่มุ ฟงั พร้อมทั้งสรุปเป็นมติของกลมุ่
3. ครสู ุม่ ตัวแทนกล่มุ 2-3 กล่มุ ออกมานาเสนอผลการศึกษาเกย่ี วกับทม่ี าของการละเลน่ พ้ืนบา้ นหน้าชน้ั เรียน โดย

มีครูเปน็ ผู้ให้ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ ในสว่ นท่ียงั มขี อ้ บกพร่องอยู่
4. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั นาความรู้ท่ีได้มาทาใบงานท่ี 9.1 เรอ่ื ง ทมี่ าของการละเล่นพื้นบ้าน เสร็จแลว้ นาส่ง

ครู

ข้ันสรปุ

ขนั้ ขยายความเข้าใจ
สมาชกิ ในแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกันสรุปความรู้เก่ียวกับทีม่ าของการละเล่นพื้นบา้ น และนาแนวทางไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ
แยกประเภทของการละเล่นพื้นบ้านในแต่ละภาค

คาบท่ี 2

ขนั้ นา
ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
1. ครูนาภาพการละเลน่ พ้ืนบ้าน มาให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรยี นวา่ นักเรยี นเคยเห็นการละเลน่ หรือเคย เข้ารว่ ม

การละเลน่ ในภาพบ้างหรอื ไม่
2. ครใู หน้ ักเรียนชว่ ยกันยกตัวอย่างการละเล่นพ้นื บ้านทีน่ กั เรยี นรู้จกั โดยครูบันทึกบนกระดาน จากนั้นครูอธบิ าย

ความรู้เพ่มิ เตมิ ให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า การละเล่นพ้นื บา้ นมักจะมคี วามแตกตา่ งกนั ตามสภาพของท้องถิ่น
3. ครมู อบหมายให้สมาชิกกลุ่มเดมิ แต่ละคนศกึ ษาความรเู้ ก่ียวกบั การละเลน่ พนื้ บ้านท้องถนิ่ ต่างๆ ตาม

ประเด็นท่ีกาหนด

ขัน้ สอน

ข้นั สารวจคน้ หา
1. สมาชิกแต่ละคนนาผลการศกึ ษาค้นคว้ามาอภิปรายให้สมาชิกภายในกล่มุ ฟัง พร้อมท้ังผลดั กันซักถามจนมี

ความเข้าใจตรงกนั
2. สมาชกิ แตล่ ะกลุม่ นาความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้ามาทาใบงานที่ 9.2 เร่ือง การละเลน่ พน้ื บ้านไทย เสรจ็

แลว้ ตรวจสอบความถกู ต้อง
3. ครูสมุ่ ตวั แทนกลุ่ม 2-3 กลมุ่ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานท่ี 9.2 ครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง

ข้ันสรปุ

ขั้นสารวจค้นหา
ครูและนักเรียนช่วยกนั สรุปความรู้เกี่ยวกบั การละเล่นพื้นบา้ นท้องถ่ินต่างๆ

คาบที่ 3

ข้ันนา

ขั้นกระตุน้ ความสนใจ
1. ครูเตรยี มการสาธิต โดยจัดเตรยี มอปุ กรณ์ในการสาธิตการเลน่ ตากระโดด พร้อมทงั้ นาเอกสารประกอบ การ

สอน มาใหน้ กั เรียนอ่าน เพ่อื ใหค้ รูอธบิ ายในแตล่ ะขนั้ ตอนได้ง่าย
2. ครูอธบิ ายความรู้เพม่ิ เตมิ เก่ียวกับการเล่นตากระโดด พรอ้ มท้งั ขออาสาสมคั รนักเรยี น 4-5 คน เพอ่ื มาสาธิตการ

เลน่ ตากระโดดรว่ มกับครู

ขั้นสอน

ข้ันสารวจค้นหา
1. ครแู จ้งให้นักเรียนทราบวา่ ครูและเพือ่ นอาสาสมัครจะสาธิตการเลน่ ตากระโดด ให้นกั เรียนดเู ป็นตวั อยา่ ง
2. ครอู ธบิ ายกฎ กติกาการเล่นตากระโดดให้นกั เรยี นฟงั จากนั้นครสู าธิตการเล่นตากระโดด พรอ้ มอธบิ ายประกอบ
3. สมาชกิ แต่ละกลุ่มฝกึ เลน่ ตากระโดด ตามแบบท่ีครสู าธิต ครูสงั เกตการปฏิบัติกจิ กรรมของนักเรยี น

หากนักเรยี นคนใดทาไม่ถกู ตอ้ งใหข้ อ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม เพ่อื แก้ไขใหป้ ฏิบตั ิไดถ้ กู ตอ้ ง

ขนั้ สรปุ

ขัน้ สารวจค้นหา
นักเรียนแต่ละกลมุ่ ผลดั กันออกมาเลน่ ตากระโดด จนทกุ คนสามารถเล่นไดแ้ ละมีความเข้าใจ แลว้ ครแู ละนกั เรียน
ช่วยกนั บอกถงึ ประโยชนท์ ี่ได้จากการเล่นตากระโดด

คาบท่ี 4

ขน้ั นา
ข้ันกระต้นุ ความสนใจ
1. ครถู ามนักเรียนว่า นกั เรียนรูจ้ ักหรือเคยเลน่ เตน้ ขาเดยี วหรือไม่ โดยครกู ระตุน้ ให้นักเรียนมีส่วนรว่ มในการ ตอบ

คาถาม
2. ครูใหน้ กั เรียนกล่มุ เดมิ ช่วยกันศึกษาความรู้เรื่อง เตน้ ขาเดยี ว จากหนังสือเรียนและเอกสารประกอบการสอน

ข้นั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา
1. ครูอธบิ ายความรู้เพ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั กฎ กตกิ า และวิธีการเล่นเต้นขาเดียว ให้นกั เรียนฟังอกี รอบ เพ่ือใหน้ กั เรยี น

เขา้ ใจตรงกนั
2. ครสู ุ่มตวั แทนนกั เรียน 5-6 คน ออกมาสาธติ การเล่นเตน้ ขาเดยี ว เป็นตวั อย่างให้เพือ่ นนกั เรียนดู เพอื่ ให้นักเรยี น

แต่ละกลมุ่ ฝกึ ปฏิบตั ติ าม
3. ครคู อยให้คาแนะนาและดแู ลอย่างใกล้ชดิ ตลอดระยะเวลาท่ีนกั เรียนปฏิบัติกิจกรรม

ขั้นสรุป
ขน้ั สารวจค้นหา
1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ฝกึ เล่นเตน้ ขาเดียวจนคลอ่ ง จากน้ันครสู ุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมาเลน่

เต้นขาเดยี ว ใหน้ กั เรียนกลุ่มอนื่ ดู โดยครูและนักเรียนกลมุ่ อ่ืนแสดงความคิดเห็นเพ่มิ เตมิ

2. ครูถามนกั เรียนว่า ช่ืนชอบการเล่นเต้นขาเดยี วหรอื ไม่ เพราะเหตุใด
3. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ฝึกเลน่ เต้นขาเดียว จนมคี วามชานาญ เพือ่ มาทดสอบกับครู (นอกเวลาเรียน) เปน็ รายกลมุ่

คาบที่ 5

ขน้ั นา
ข้ันกระตุ้นความสนใจ
1. ครเู ตรยี มอปุ กรณใ์ นการเล่นหมากเก็บ และขออาสาสมัครนกั เรียนทเ่ี ล่นหมากเกบ็ ได้ เพือ่ ใหค้ รูสามารถอธบิ าย

และทบทวนการปฏิบตั ิ
2. ครูอธบิ ายกฎ กติกาการเล่นหมากเกบ็ ให้นักเรียนฟัง พรอ้ มทั้งแจกเอกสารประกอบการสอน เพ่ือให้นกั เรียน

ศึกษาทาความเข้าใจเก่ียวกับการเลน่ หมากเก็บ

ข้นั สอน
ขัน้ สารวจคน้ หา
1. ครชู ้แี จงใหน้ กั เรียนทราบว่า ครแู ละนักเรยี นอาสาสมัครจะสาธติ การเล่นหมากเกบ็ ให้นกั เรยี นดูเปน็ ตัวอย่าง
พร้อมทงั้ ช้แี จงกฎ กติกาในการเลน่ หมากเก็บ
2. ครูและนกั เรยี นอาสาสมัครสาธิตการเลน่ หมากเก็บให้นกั เรยี นดูเปน็ ตวั อย่าง พร้อมอธิบายประกอบในแต่ละ
ข้นั ตอน จากนั้นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มฝึกเลน่ หมากเก็บ ตามแบบท่ีครูสาธิต
3. ครสู ังเกตการเล่นหมากเกบ็ ของนักเรยี น หากนกั เรียนคนใดทาไม่ถกู ตอ้ งใหเ้ สนอแนะเพิ่มเตมิ เพ่ือแก้ไขให้
ปฏิบตั ไิ ดถ้ ูกตอ้ ง

ข้นั สรุป
ขน้ั สารวจคน้ หา
ครูสุม่ ตัวแทนนักเรียน โดยวิธกี ารจบั สลากออกมาเล่นหมากเก็บหนา้ ช้นั เรียน โดยมีครูเปน็ ผตู้ รวจสอบความถกู ตอ้ ง

คาบท่ี 6

ขน้ั นา
ขั้นกระตุ้นความสนใจ
1. ครถู ามนักเรียนวา่ นักเรียนรจู้ ักหรือเคยเล่นการละเล่นพื้นบา้ นภาคใต้หรอื ไม่ โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนมี

สว่ นรว่ มในการตอบคาถาม
2. ครใู ห้นักเรียนกล่มุ เดมิ ช่วยกันศกึ ษาความรเู้ รือ่ ง การเล่นกาทาย จากหนังสอื เรียน และเอกสารประกอบการ

สอน จากนน้ั ครูอธบิ ายความรเู้ พิม่ เตมิ ให้นักเรียนเข้าใจเกย่ี วกบั การเลน่ กาทาย

ขั้นสอน

ข้นั สารวจค้นหา
. 1. ครอู ธิบายเพม่ิ เติมเกี่ยวกับกฎ กติกา และวิธกี ารเล่นกาทายให้นักเรียนฟงั อีกรอบ เพอื่ ให้นกั เรยี นมีความเข้าใจ

ตรงกัน
2. ครูขออาสาสมคั รนกั เรยี น 5 คน ออกมาสาธติ การเล่นกาทาย เพอ่ื เป็นตัวอย่างใหเ้ พอ่ื นนักเรียนดู จากนั้น

นักเรยี นแต่ละกล่มุ เลน่ กาทาย ตามแบบทคี่ รแู ละเพื่อนสาธติ
3. ครเู สนอแนะข้อบกพรอ่ งใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ นาไปแกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง

ขั้นสรุป

ขั้นสารวจคน้ หา
ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มฝกึ เล่นกาทาย จนคล่อง จากน้นั ครสู ุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมาเล่นกาทาย

ใหน้ ักเรียนกลมุ่ อ่ืนดู โดยครแู ละนักเรียนกลุ่มอ่ืนแสดงความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ
ครมู อบหมายใหส้ มาชกิ แตล่ ะกลุ่มช่วยกันฝึกการแสดงการเคล่อื นไหวประกอบเพลงฟงั ฟา้ ลั่น ให้ถกู ต้องจนมีความ

ชานาญ

6. การวัดและประเมนิ ผล

รายการประเมิน คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ / ระดับคะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)

1. การระบุและ ระบแุ ละสาธิตการละเลน่ ระบแุ ละสาธติ การละเล่น ระบแุ ละสาธติ การละเล่น
สาธิตการละเลน่ พ้นื บา้ นได้อย่างเป็นลาดับ พ้ืนบา้ นไดอ้ ยา่ งเปน็ ลาดบั พนื้ บ้านไมเ่ ป็นลาดับ
พนื้ บ้าน ข้นั ตอน เข้าใจงา่ ย และมี ขั้นตอน แต่สับสนบา้ งบาง ขน้ั ตอน เขา้ ใจยาก ไมค่ ่อย
ความสนกุ สนาน ช่วง และมีความสนกุ สนาน สนุกสนาน

2. การเชื่อมโยงส่ิงท่ี เชอื่ มโยงสง่ิ ท่ีพบเห็นใน เช่ือมโยงส่งิ ทพ่ี บเหน็ ใน เชอื่ มโยงส่งิ ทพี่ บเห็นใน

พบเห็นใน การละเล่นพืน้ บ้านกับสิง่ ที่ การละเลน่ พน้ื บ้านกับสิง่ ที่ การละเลน่ พนื้ บ้านกับสิ่งที่

การละเล่นพืน้ บา้ น พบเห็นในการดารงชีวิตของ พบเห็นในการดารงชีวติ ของ พบเห็นในการดารงชวี ติ ของ

กับสิ่งทีพ่ บเหน็ ใน คนไทยไดถ้ ูกตอ้ ง ละเอยี ด คน ไทยได้ถกู ตอ้ ง ครบทุก คนไทยได้ถกู ต้อง แตไ่ มค่ รบ

การดารงชีวิตของ ชัดเจน ครบถ้วนทกุ ประเด็น ประเด็น แต่ไมค่ ่อย ทกุ ประเด็น และไมล่ ะเอียด

คนไทย ละเอียด

3. การระบสุ ง่ิ ที่ ระบสุ ิง่ ทชี่ นื่ ชอบและ ระบสุ ง่ิ ทชี่ ่นื ชอบและ ระบสุ ิ่งทช่ี น่ื ชอบและ

ชื่นชอบและ ภาคภมู ใิ จในการละเลน่ ภาคภูมิใจในการละเลน่ ภาคภูมิใจในการละเล่น
ภาคภมู ิใจในการ พื้นบา้ นได้ละเอียดและ พ้นื บ้านไดล้ ะเอียดและ พื้นบา้ นได้ แต่ไม่ละเอยี ด
ละเลน่ พืน้ บา้ น ชัดเจน ชดั เจนเปน็ และไมช่ ัดเจน

สว่ นใหญ่

ชว่ งคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ตา่ กวา่ 5
ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรยี น ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ป.2
2) เอกสารประกอบการสอน
4) บตั รภาพ
5) อปุ กรณ์ที่ใช้ในการเลน่ หมากเก็บ
6) ยางเส้น
7) ใบงานท่ี 9.1 เร่ือง ทมี่ าของการละเล่นพนื้ บ้าน
8) ใบงานที่ 9.2 เรอื่ ง การละเลน่ พ้ืนบา้ นไทย

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1. ห้องเรยี น

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ูส้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผ้บู รหิ าร

ใบงานที่
9.1 ท่มี าของการละเลน่ พื้นบ้าน

คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนดูภาพ แลว้ ตอบคาถามทกี่ าหนด

1. การละเล่นในภาพ คือ

2. การละเล่นในภาพเก่ยี วข้องกับการเลียนแบบ  คน  สัตว์
 คนในท้องถน่ิ ตา่ งๆ
 สงิ่ ของ  อ่ืนๆ

3. จากภาพเป็นการละเลน่ ของคนในทอ้ งถ่ิน

 ภาคเหนอื

 ภาคอีสาน

 ภาคกลาง

 ภาคใต้

4. ผู้ทีค่ ิดคน้ การละเลน่ ในภาพนา่ จะเป็น  คนในเมอื งหลวง

 ชาวตา่ งชาติ  อนื่ ๆ

5. ประโยชนท์ ี่ได้รับจากการละเลน่ ในภาพ คือ

 ทาให้ทราบถึงวถิ ชี ีวติ คนทอ่ี าศยั อยู่ในเมือง

 ชว่ ยฝึกทกั ษะการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายของผู้เล่น

 อน่ื ๆ

ใบงานที่
9.2 การละเลน่ พน้ื บา้ นไทย

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนศกึ ษาค้นคว้าการละเลน่ พื้นบ้านทสี่ นใจ มา 1 ประเภท และบนั ทึกขอ้ มูล พร้อมติด
ภาพประกอบ

(ภาพการละเลน่ )

1. ช่อื การละเลน่

2. เปน็ การละเลน่ ของท้องถนิ่

 ภาคกลาง  ภาคเหนือ  ภาคอีสาน  ภาคใต้

3. วิธีการเล่น มีดงั นี้



แบบบนั ทึกผลการจดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ า

โครงสร้างรายวิชา ศิลปะ( นาฏศลิ ป์ )

ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ ………………….. เวลา 20 ชว่ั โมง

หน่วยที่ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
เรียนรู้ ตัวชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน

1 ลีลาการ มาตรฐาน ศ 3.1 การราวงมาตรฐาน 6 20

เคลื่อนไหว เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิลป์ การแสดงท่า
อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ ประกอบเพลงพระ
วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ราชนพิ นธ์ การ
ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคดิ เคลือ่ นไหวใน
อยา่ งอิสระ ช่นื ชม และ
สถานการณ์ส้นั ๆ
ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั หรอื สถานการณ์ที่
ตัวชี้วัดท่ี ป 3/1
กาหนด เป็นการ
สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหวใน เคลอื่ นไหวร่างกาย
รูปแบบต่างๆ ในสถานการณ์ ในรูปแบบตา่ งๆ
สัน้ ๆ โดยผู้เคล่อื นไหว

จะต้องคานึงถงึ

องค์ประกอบต่างๆ

ในการแสดงอยา่ ง

เหมาะสม

2 ภาษาทา่ และท่า มาตรฐาน ศ 3.1 การแสดง 6 20
นาฏยศัพท์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ป์ นาฏศิลป์ไทยมหี ลกั
อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ และวิธกี ารในการ
วิพากษ์ วิจารณ์ คุณคา่ นาฏศิลป์ ปฏบิ ัตินาฏศลิ ป์
ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคดิ โดยมกี ารฝึกภาษา
อยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และ
ทา่ เพ่อื สอ่ื อารมณ์
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ของมนษุ ย์ และการ
ตัวชี้วดั ที่ ป 3/2
ฝกึ นาฏยศพั ท์
แสดงท่าทางประกอบ

เพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์

3 การแสดง มาตรฐาน ศ 3.1 ผแู้ สดงและผชู้ ม 3 40

นาฏศลิ ป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ป์ จะต้องปฏบิ ัตติ าม
อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ บทบาทหนา้ ท่ขี อง
วจิ ารณ์ คณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอด ตนเอง รวมทง้ั รู้จกั
ความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชื่น การนาความรู้ทาง
ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั นาฏศิลปไ์ ปใชใ้ ห้
ตัวช้วี ดั ท่ี ป 3/3 เกิดประโยชน์ใน
เปรียบเทยี บบทบาทหนา้ ทขี่ องผ้แู ดง
ชวี ิตประจาวัน
และผู้ชม

ตวั ช้ีวดั ท่ี ป 3/4

มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการแสดงท่ี

เหมาะสมกบั วยั

ตวั ชว้ี ัดที่ ป 3/5

บอกประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ใน

ชีวิตประจาวัน

4 ความเป็นมา มาตรฐาน ศ 3.2 นาฏศิลป์ไทยถอื 3 20
เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์
นาฏศลิ ป์ไทย ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ กาเนดิ มาพรอ้ มกับ
คุณค่าของนาฏศลิ ป์ที่เป็นมรดกทาง ชนชาตไิ ทย จึงเปน็
วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภูมิ ส่วนหน่ึงของ
ปญั ญาไทยและสากล วฒั นธรรมไทยทถี่ ูก
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 3/2 สรา้ งสรรค์ให้มี

ระบุสิ่งทเี่ ปน็ ลักษณะเด่นและ เอกลักษณ์ทางการ

เอกลกั ษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ แสดงที่อ่อนช้อย
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 3/3
สวยงาม มี
บอกประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ใน
ชีวติ ประจาวัน ความสาคัญและ
คุณคา่ ต่อคนไทย

5 ลลี าการ มาตรฐานที่ ศ 3. 2 การแสดง 4

เคลอ่ื นไหว เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่าง นาฏศิลปพ์ ื้นบา้ นใน

นาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และ แตล่ ะทอ้ งถิ่น มี

วฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ ของ ลักษณะแตกต่างกัน

นาฏศลิ ป์ทเ่ี ปน็ มรดกทาง ไปตามวฒั นธรรม

วฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ขนบธรรมเนยี ม

ภูมิปญั ญาไทยและสากล ประเพณี และวิถี

ตัวชว้ี ดั ที่ ป.3/1 การดาเนนิ ชวี ิตของ

เลา่ การแสดงนาฏศลิ ปท์ ่ีเคย คนในทอ้ งถิ่น

เห็นในทอ้ งถิน่

สัปดาห์ท่ี 1-6

โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี 1/ ……………… ช่ือผสู้ อน …………………………………………….
กลุม่ สาระ ศิลปะ (นาฏศิลป์) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 6 คาบ
หน่วยการเรยี นที่ 1 ลลี าการเคลอ่ื นไหว เรอ่ื ง ลกั ษณะเฉพาะของราวงมาตรฐาน

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั
มาตรฐานท่ี ศ 3.1เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิลป์อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลป์
ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน

ตัวช้วี ัดที่ ป.3/1 สร้างสรรคก์ ารเคล่อื นไหวในรูปแบบตา่ งๆ ในสถานการณส์ ้นั ๆ

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การราวงมาตรฐาน การแสดงทา่ ประกอบเพลงพระราชนพิ นธ์ การเคล่ือนไหวในสถานการณ์สัน้ ๆ หรือ

สถานการณ์ที่กาหนด เป็นการเคลอ่ื นไหวร่างกายในรูปแบบตา่ งๆ โดยผู้เคลอ่ื นไหวจะต้องคานึงถึงองคป์ ระกอบตา่ งๆ
ในการแสดงอยา่ งเหมาะสม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายลกั ษณะเฉพาะของราวงมาตรฐานได้
2. แสดงราวงมาตรฐานได้
3. อธิบายลักษณะและร้องเพลงพระราชนพิ นธ์ได้
4. แสดงท่าประกอบเพลงพระราชนพิ นธ์ได้
5. แสดงการเคลื่อนไหวในสถานการณ์สั้นๆ ได้
6. แสดงการเคลื่อนไหวในสถานการณ์ทีก่ าหนดได้

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น
พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
 การเคล่ือนไหวในรปู แบบตา่ งๆ
- ราวงมาตรฐาน
- เพลงพระราชนิพนธ์
- การเคลอื่ นไหวในสถานการณ์สัน้ ๆ
- การเคล่อื นไหวในสถานการณท์ ่กี าหนด

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครเู ปดิ คลปิ วดิ ีโอสาธติ การแสดงราวงมาตรฐานให้นักเรยี นดู แล้วใหน้ ักเรยี นช่วยกนั สงั เกตและตอบคาถามที่
กาหนด

2. ครอู ธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเขา้ ใจเกยี่ วกบั ลกั ษณะของราวงมาตรฐาน

ขั้นสอน

ข้นั สารวจคน้ หา
1. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มร่วมกันนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษามาผลัดกนั อธิบายความรู้เกยี่ วกบั การเคล่ือนไหวอยา่ ง

อสิ ระ พรอ้ มทัง้ ผลัดกันซกั ถามจนมีความเขา้ ใจตรงกัน
2. ครูส่มุ นักเรียน 2-3 กลุ่ม นาเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรยี น
3. ครอู ธบิ ายความรู้เกีย่ วกับการเคลือ่ นไหวอยา่ งอิสระใหน้ กั เรยี นฟงั
4.นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 6 คน ตามความสมคั รใจ ให้แต่ละกลุ่มร่วมกนั ศึกษาความรู้เรอ่ื ง การเคล่ือนไหวอย่าง
อสิ ระ จากหนงั สือเรียน
5. ครูนาเนือ้ เพลงเดิน มาใหน้ ักเรยี นดูอกี ครั้ง แลว้ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกนั แปลความหมายของบทเพลง
6. เมอ่ื นกั เรยี นแปลความหมายของบทเพลงแลว้ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันคดิ ทา่ ประกอบเพลงเดิน

ขั้นสรปุ

ขั้นขยายความเข้าใจ
นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั สรปุ ความร้เู รอ่ื ง ลกั ษณะเฉพาะของราวงมาตรฐาน ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง

คาบท่ี 2

ข้ันนา
ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ
1. ครเู ปิดคลปิ วิดโี อสาธติ การแสดงราวงมาตรฐานในเพลงงามแสงเดือน ให้นักเรียนช่วยกันสังเกตและรว่ มกนั

อภปิ รายเก่ียวกับการแตง่ กาย และทา่ ราท่ีใชป้ ระกอบเพลง
2. ครตู ิดเนื้อเพลงงามแสงเดือนบนกระดานให้นกั เรยี นทุกคนมองเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน แล้วให้นกั เรียนร่วมกนั ขบั รอ้ ง

จนทกุ คนสามารถร้องไดค้ ล่อง

ข้นั สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา
1. ครขู ออาสาสมัครนกั เรยี นชาย 1 คน และหญงิ 1 คน ออกมาสาธิตการราวงมาตรฐานเพลงงามแสงเดือน
โดยครคู อยอธิบายเพ่ิมเตมิ ในการแสดงแตล่ ะทา่
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มจบั คู่กันเป็น 3 คู่ ใหแ้ ตล่ ะค่รู ว่ มกันฝกึ ราวงมาตรฐานเพลงงามแสงเดอื นตามแบบทีไ่ ดด้ ู
จากการสาธิต หากมขี ้อสงสยั ใหศ้ ึกษาความรเู้ พม่ิ เติมจากหนงั สอื เรียน หรือเอกสารประกอบการสอน หรือ
สอบถามจากครู
3. ครคู อยสังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรมของนักเรยี นแตล่ ะคน และคอยใหค้ าแนะนา

ขัน้ สรปุ

ข้ันสารวจคน้ หา
1. นกั เรยี นแตล่ ะครู่ ว่ มกนั ฝึกราวงมาตรฐานเพลงงามแสงเดอื น จนสามารถปฏบิ ัติได้คลอ่ ง
2. ครแู นะนาใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ฝึกราวงมาตรฐานอย่างสม่าเสมอ แล้วนาผลที่ได้มาเล่าส่กู นั ฟัง

(นอกเวลาเรียน)

คาบท่ี 3

ข้ันนา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ
1. ครเู ปิดเพลงใกล้รงุ่ ให้นักเรียนฟัง แลว้ ใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับเนอ้ื หา และความร้สู ึกท่ไี ด้

จากการฟังเพลงดังกล่าว
2. ครอู ธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจเก่ียวกบั ลักษณะของเพลงพระราชนพิ นธ์ แล้วให้นักเรียนศกึ ษาความรู้เพิ่มเติม จาก

หนังสอื เรยี น

ขั้นสอน

ขนั้ สารวจค้นหา
1. ครูชแ้ี จงจุดประสงคก์ ารสาธิตการขบั รอ้ งเพลงพระราชนิพนธใ์ ห้นักเรียนทราบ
2. ครูติดเนอื้ เพลงใกล้รุ่งบนกระดาน แล้วให้นักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียง จนสามารถอา่ นได้คล่อง
3. ครูสาธิตการขบั ร้องเพลงใกล้รุ่ง ใหน้ กั เรียนฟงั อยา่ งช้าๆ ทีละวรรค เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเกิดการจดจาและสามารถ

รอ้ งได้อย่างถกู ตอ้ ง
4. นกั เรยี นกล่มุ เดมิ ร่วมกนั ฝึกขบั ร้องเพลงใกล้รุง่ ตามแบบท่คี รูสาธิต 2-3 รอบ หรือจนเกดิ ความชานาญ

ครคู อยสังเกตการณแ์ ละใหข้ ้อเสนอแนะ

ขน้ั สรุป

ขั้นสารวจคน้ หา
นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ขับรอ้ งเพลงใกล้รุ่งหนา้ ชน้ั เรียน ครแู ละเพอื่ นกลุ่มอื่นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นและ
ใหข้ อ้ เสนอแนะ

คาบท่ี 4

ขนั้ นา
ขัน้ กระตุน้ ความสนใจ

1. ครูให้นักเรียนดคู ลปิ วิดีโอสาธิตการแสดงทา่ ประกอบเพลงใกล้รุ่ง แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็
2. นกั เรียนกลมุ่ เดิมร่วมกันศึกษาความรู้เร่อื ง ทา่ ราประกอบเพลงใกล้รุ่ง จากหนงั สอื เรยี น
ครตู รวจสอบผลงานจากการทาใบงานที่ 6.1 ของนกั เรยี น พร้อมท้ังใหข้ ้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ในสว่ นท่ยี ังมีขอ้ บกพร่อง
อยู่ จากนนั้ นกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้เรื่อง การเคล่ือนไหวอยา่ งมีรปู แบบ

ขน้ั สอน

ขั้นสารวจคน้ หา
1. ครูสาธิตหรอื เปิดคลปิ วิดโี อสาธิตการแสดงทา่ ประกอบเพลงใกล้รุ่ง ใหน้ ักเรยี นดูทลี ะทา่ อยา่ งช้าๆ

พร้อมอธิบายประกอบ
2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั ฝึกแสดงท่าประกอบเพลงใกล้รงุ่ ตามขน้ั ตอนที่ครูสาธติ หรอื ได้ดจู ากคลปิ วดิ ีโอ ครู

สังเกตการณ์และให้คาแนะนา

ขัน้ สรปุ
ข้ันสารวจค้นหา

1. ครูถามนกั เรียนเกยี่ วกับปัญหาระหวา่ งการฝึกกิจกรรมว่ามีอะไรบ้าง เพ่ือหาแนวทางในการแก้ไขปญั หา
2. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันฝกึ แสดงท่าประกอบเพลงใกล้รงุ่ ดว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งดูแบบ ครคู อยสังเกตการณ์
และให้คาแนะนา

คาบท่ี 5

ขั้นนา
ขน้ั กระต้นุ ความสนใจ
1. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 4 คน แลว้ ให้ท้งั 4 คน จบั คู่กันเปน็ 2 คู่ ใหแ้ ตล่ ะคสู่ ่งตวั แทนออกมาจบั สลากเลือก

สถานการณส์ นั้ ๆ คู่ละ 1 สถานการณ์ แลว้ สาธิตการเคลอ่ื นไหวในสถานการณท์ ่ีจับสลากได้ จากน้นั ให้เพื่อน
นกั เรียนคนอ่ืนๆ ร่วมกันทายวา่ การแสดงของแตล่ ะคู่นนั้ เป็นเรือ่ งเกย่ี วกับอะไร เกิดขึ้นทีไ่ หน และเกดิ ขึ้นกับ
ใคร
2. ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเก่ียวกับลักษณะของการเคลื่อนไหวในสถานการณ์สน้ั ๆ แล้วใหน้ ักเรียน
แต่ละกลุม่ ร่วมกนั ศึกษาความร้เู ร่ือง การเคลอ่ื นไหวในสถานการณ์สัน้ ๆ เพ่ิมเติมจากหนงั สือเรียน
3. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันแสดงในสถานการณ์สนั้ ๆ ตามความสนใจของตนเอง แลว้ นามาแสดง
ใหค้ รูดตู ามกาหนดเวลาที่ตกลงกัน

ข้นั สอน
ขัน้ สารวจคน้ หา
นักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันแสดงในสถานการณ์สั้นๆ ตามความสนใจของตนเองหนา้ ชั้นเรียน ครปู ระเมนิ ผลการ
แสดงในสถานการณส์ ้นั ๆ และให้คาแนะนา

ขั้นสรปุ
ขัน้ สารวจค้นหา

1. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ นาคาแนะนาที่ไดไ้ ปปรบั ปรุงและพัฒนาการแสดงในสถานการณส์ ัน้ ๆ ตามความ
สนใจของตนเองใหด้ ยี ิ่งข้นึ แลว้ มาแสดงให้ครูดอู กี คร้ัง (นอกเวลาเรียน)
2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรู้เร่อื ง การเคล่อื นไหวในสถานการณ์ส้ันๆ

คาบท่ี 6

ขนั้ นา
ขัน้ กระตุน้ ความสนใจ
1. ครขู ออาสาสมัครหรือสุ่มนักเรียน 1-2 คน อธิบายเก่ียวกับหลกั การปฏิบตั ใิ นการเคลอื่ นไหวในสถานการณส์ ้ันๆ

แลว้ ใหค้ นอื่นๆ ไดน้ าเสนอเพมิ่ เตมิ ในส่วนทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป เพื่อทบทวนความรู้เดิมของนกั เรยี น
2. นกั เรียนรวมกลุม่ เดมิ แล้วรว่ มกนั ศกึ ษาความรู้เร่อื ง การเคลื่อนไหวในสถานการณ์ทีก่ าหนด จาก

หนังสือเรียน และสรปุ สาระสาคัญ

ขนั้ สอน

ขัน้ สารวจค้นหา
. 1. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มแบ่งหนา้ ทีก่ นั ในการแสดงการเคล่ือนไหวจากนทิ านท่ีชืน่ ชอบ โดยร่วมกนั เลอื กผแู้ สดง ท่ีมี

ลักษณะใกลเ้ คยี งกบั บทบาท และแบง่ หนา้ ท่ใี ห้ทุกคนในกลุ่ม เพ่ือใหท้ กุ คนมสี ่วนร่วมในการทากิจกรรม
2. สมาชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ฝกึ ซอ้ มการแสดงการเคลอื่ นไหวจากนทิ านทีช่ ่ืนชอบ โดยนกั เรียนทท่ี าหนา้ ทเี่ ป็นผู้

กากับคอยสงั เกตการแสดงของเพอื่ นในกลมุ่
3. ครูคอยสังเกตการฝกึ ซอ้ มการแสดงของนกั เรยี น และคอยใหค้ าแนะนาเม่ือนักเรยี นเกิดปัญหา
4. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มแสดงการเคล่ือนไหวจากนทิ านท่ีช่นื ชอบหน้าช้ันเรียน โดยครกู าหนดเวลาในการแสดง กลุ่ม

ละ 3-5 นาที แลว้ ให้นักเรียนกล่มุ อื่นๆ เป็นผู้สงั เกตการณ์

ข้นั สรุป

ขัน้ สารวจคน้ หา
1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปหลกั การแสดงการเคลอื่ นไหวในสถานการณท์ กี่ าหนด
2. ครมู อบหมายให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ หมั่นฝกึ ซ้อมการแสดงการเคลื่อนไหวในสถานการณ์ที่กาหนดอย่างสมา่ เสมอ

6. การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ / ระดบั คะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)

1. การแสดงราวง แสดงท่าราวงมาตรฐานตาม แสดงทา่ ราวงมาตรฐานตาม แสดงทา่ ราวงมาตรฐานตาม
มาตรฐาน รูปแบบที่กาหนดได้ถกู ตอ้ ง รูปแบบที่กาหนดไดถ้ ูกตอ้ ง รูปแบบทีก่ าหนดไดถ้ กู ต้อง

2.การขบั รอ้ งเพลง ทุกทา่ มีความสวยงาม และ เปน็ ส่วนใหญ่ คอ่ นขา้ ง เพยี งสว่ นน้อย ไมค่ ่อย
และแสดงท่า
ประกอบเพลง พรอ้ มเพรยี งกนั สวยงาม และพรอ้ มเพรียง สวยงาม และไมพ่ ร้อม
พระราชนิพนธ์
กัน เพรยี งกนั
3. การแสดงท่าการ
เคล่อื นไหวใน ขบั รอ้ งเพลงใกล้รุง่ ไดอ้ ย่าง ขบั รอ้ งเพลงใกล้ร่งุ ไดอ้ ย่าง ขับรอ้ งเพลงใกล้รงุ่ ได้อยา่ ง
สถานการณ์สั้นๆ ถกู ต้อง ไพเราะ และแสดง ถกู ตอ้ ง ไพเราะ และแสดง ถูกต้อง คอ่ นข้างไพเราะ
หรือตาม
สถานการณท์ ี่ ท่าประกอบเพลงได้ถูกตอ้ ง ท่าประกอบเพลงได้ถูกตอ้ ง และแสดงท่าประกอบเพลง
กาหนด ทุกทา่ มีความสวยงาม ได้ถกู ตอ้ งเพยี งสว่ นนอ้ ย ไม่
และพรอ้ มเพรียงกัน เปน็ สว่ นใหญ่ มีความ ค่อยสวยงาม และไมพ่ รอ้ ม
เพรียงกัน
สวยงาม และ

พรอ้ มเพรียงกนั

แสดงทา่ การเคลอ่ื นไหวใน แสดงท่าการเคล่ือนไหวใน แสดงท่าการเคล่ือนไหวใน

สถานการณส์ ั้นๆ หรอื ตาม สถานการณ์ส้นั ๆ หรอื ตาม สถานการณส์ ัน้ ๆ หรือตาม
สถานการณ์ทก่ี าหนดไดอ้ ย่าง สถานการณ์ทีก่ าหนดได้ สถานการณ์ที่กาหนดได้

เหมาะสม สวยงาม และมี คอ่ นขา้ งเหมาะสม สวยงาม แต่ไม่เหมาะสม ไมค่ ่อย
ความพรอ้ มเพรียงกัน และมีความพร้อมเพรียงกัน สวยงาม และไมพ่ รอ้ มเพรียง

กนั

ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ต่ากว่า 5
ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.2
2) เอกสารประกอบการสอน
5) วัสดุ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการแสดง
6) คลิปวิดโี อสาธิตการแสดงราวงมาตรฐาน
7) คลิปวิดีโอสาธติ การแสดงทา่ ประกอบเพลงใกล้รุ่ง
8) ซีดีและเน้ือเพลงงามแสงเดอื น เพลงใกล้ร่งุ
9) ใบงานท่ี 6.1 เรอื่ ง ลักษณะเฉพาะของราวงมาตรฐาน
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1. ห้องเรียน

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผูบ้ รหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่
6.1 ลกั ษณะเฉพาะของราวงมาตรฐาน

คาชี้แจง ให้นักเรยี นอธบิ ายลักษณะเฉพาะของราวงมาตรฐาน
ลกั ษณะเฉพาะของราวงมาตรฐาน

1. ความเปน็ มา

2. ลักษณะการแสดง

3. การแต่งกาย

4. ดนตรีประกอบการแสดง

5. โอกาสในการแสดง

6. ทา่ ราประกอบเพลง

สัปดาหท์ ่ี 7-10

โรงเรยี นขจรเกียรตพิ ัฒนา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี 1/ ……………… ชื่อผู้สอน …………………………………………….
กลุ่มสาระ ศิลปะ(นาฏศลิ ป์) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 6 คาบ
หนว่ ยการเรยี นที่ 2 ภาษาทา่ และท่านาฏยศัพท์ เรื่อง ภาษาสื่ออารมณ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั
มาตรฐานที่ ศ 3.1เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั

ตัวชีว้ ัดที่ ป.3/2 แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรปู แบบนาฏศิลป์

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การแสดงนาฏศิลปไ์ ทยมีหลกั และวธิ ีการในการปฏบิ ัตนิ าฏศลิ ป์ โดยมกี ารฝกึ ภาษาท่าเพ่ือสอ่ื อารมณ์ ของ

มนุษย์ และการฝึกนาฏยศัพท์

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. แสดงภาษาท่าสื่ออารมณต์ ามรูปแบบนาฏศลิ ป์ได้
2. แสดงทา่ ประเท้า กระทุ้งเท้า และกระดกเทา้ ได้
3. แสดงภาษาท่าประกอบบทเพลงทกี่ าหนดได้
4. แสดงภาษาท่าประกอบเพลงท่ชี น่ื ชอบได้

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น

 หลกั และวธิ ีการปฏิบตั ินาฏศลิ ป์ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

- การฝกึ ภาษาท่าส่ืออารมณ์ของมนษุ ย์

- การฝกึ นาฏยศัพทใ์ นส่วนขา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบที่ 1

ขั้นนา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ
1. ครูขออาสาสมคั รหรือสุ่มนักเรยี น 5 คน ออกมาจับสลากบัตรคาแสดงอารมณต์ า่ งๆ คนละ 1 ใบ แล้วแสดง

ทา่ ทางเพ่ือบอกใบ้ตามบตั รคาทตี่ นไดร้ บั ให้เพ่อื นคนอืน่ ๆ ช่วยกนั ทายใหถ้ กู ตอ้ ง
2. ครอู ธบิ ายให้นักเรียนเขา้ ใจเกีย่ วกับความสาคัญของการแสดงทา่ ทางต่างๆ เพื่อสื่อความหมายแทนคาพูดและ

อารมณต์ า่ งๆ
3. ครูแบ่งนกั เรียนเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แล้วใหแ้ ต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษาความรู้เร่อื ง

ภาษาท่าส่ืออารมณ์ จากหนงั สอื เรยี น

ขน้ั สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา
1. ครสู าธติ การใชภ้ าษาท่าสอื่ อารมณต์ า่ งๆ ตามรปู แบบนาฏศิลปแ์ ละละครไทย ให้นกั เรยี นดูทลี ะท่าอย่างช้าๆ

พรอ้ มอธิบายประกอบในแตล่ ะขัน้ ตอนอย่างละเอียด
2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันฝกึ แสดงภาษาท่าสอื่ อารมณ์ตา่ งๆ ตามรูปแบบนาฏศิลป์และละครไทย ตามขั้นตอนที่

ครสู าธิต ผลัดกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งและใหข้ อ้ เสนอแนะ จนทุกคนสามารถปฏิบัตไิ ดค้ ล่อง ครูคอย
สงั เกตการณแ์ ละใหข้ ้อเสนอแนะ

ข้นั สรุป

ขั้นขยายความเข้าใจ
ครูวัดและประเมนิ ผลนกั เรียนแตล่ ะคนในการแสดงภาษาทา่ ส่ืออารมณต์ า่ งๆ ตามรปู แบบนาฏศลิ ป์และ

ละครไทย โดยใหน้ กั เรียนจบั สลากบตั รคา คนละ 3 ใบ (หรือตามความเหมาะสม) แลว้ แสดงภาษาท่าให้ถกู ตอ้ ง
ตามบตั รคาทีไ่ ด้รับ

คาบที่ 2

ขั้นนา
ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ
1. ครูสาธิตการประเท้า การกระท้งุ เท้า และการกระดกเท้า ใหน้ ักเรียนดูทีละท่า พร้อมอธิบายประกอบในแต่ละ

ขนั้ ตอนอย่างละเอียด
2. นักเรยี นแตล่ ะคนฝึกท่าประเท้า กระทุ้งเท้า และกระดกเท้า ตามขัน้ ตอนทีค่ รูสาธิตทลี ะท่า จนสามารถปฏิบตั ิได้

คล่อง
3. ครคู อยสังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมของนักเรียนเป็นรายบุคคลและให้ข้อเสนอแนะ

ขน้ั สอน

ข้นั สารวจค้นหา
1. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั สรุปการสาธติ การประเทา้ การกระทุ้งเท้า และการกระดกเท้า
2. ครูแนะนาให้นักเรยี นหมน่ั ฝึกฝนการแสดงอย่างสม่าเสมอ

ขน้ั สรุป

ข้นั สารวจคน้ หา
1. ครูวดั และประเมินผลนกั เรียนโดยใหแ้ ตล่ ะคนมาทดสอบการแสดงประเท้า กระทงุ้ เทา้ และกระดกเท้า
กับครูเปน็ รายบคุ คล (นอกเวลาเรียน)
2. นกั เรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี 7.1 เรือ่ ง นาฏยศพั ทน์ า่ รู้ เปน็ การบา้ น เสรจ็ แล้วนาส่งครูตามกาหนดเวลา ท่ี
ตกลงกนั

คาบท่ี 3

ข้นั นา
ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ
1. ครเู ปิดเพลงลาวต่อนก ให้นักเรยี นฟัง แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกันตอบคาถาม
2. ครูอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจเกย่ี วกบั การนาภาษาท่ามาประยุกตใ์ ช้ในการแสดงประกอบเพลง
3. นกั เรยี นแตล่ ะคนศึกษาความรู้เร่ือง การใชภ้ าษาทา่ ประกอบเพลง จากหนังสอื เรียน แล้วสรุปสาระสาคัญ
4. ครูตดิ เน้ือเพลงลาวตอ่ นก บนกระดาน แล้วสาธิตการขับร้องให้นักเรียนฟงั จากนนั้ ให้นกั เรียนรอ้ งตาม

ทีละวรรค จนสามารถร้องไดค้ ล่อง

ขัน้ สอน

ขัน้ สารวจคน้ หา
ครเู ปิดวีซีดสี าธิตการแสดงท่าประกอบเพลงลาวต่อนก ให้นกั เรียนดู แล้วให้นักเรยี นกลุ่มเดมิ รว่ มกันฝึกแสดงท่า
ประกอบเพลงลาวต่อนกตามแบบอย่างท่ไี ด้ดูจากวีซดี ี

ขน้ั สรุป

ข้นั สารวจคน้ หา
1. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันฝกึ แสดงทา่ ประกอบเพลงลาวต่อนก จนเกดิ ความชานาญ แลว้ มาทดสอบกบั ครู (นอก

เวลาเรยี น)
2. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้เรอ่ื ง การใช้ภาษาท่าประกอบเพลง

คาบที่ 4

ข้นั นา

ขั้นกระตุ้นความสนใจ
นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วางแผนในการคัดเลือกเพลง และฝึกซ้อมการแสดงภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ประกอบเพลงที่

ช่ืนชอบ

ขัน้ สอน

ขน้ั สารวจค้นหา ประกอบ
1. ตัวแทนแต่ละกล่มุ จับสลากหมายเลขลาดับในการแสดง แล้วออกมาแสดงภาษาท่าและนาฏยศัพท์

เพลงท่ชี น่ื ชอบหน้าชน้ั เรยี น เรียงตามหมายเลขที่จับสลากได้
2. ครแู ละเพือ่ นกลุ่มผชู้ มรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ และใหข้ อ้ เสนอแนะ

ขน้ั สรปุ

ขนั้ สารวจคน้ หา
นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนาคาแนะนาทไี่ ด้รับจากครูและเพื่อนไปปรบั ปรงุ การแสดงภาษาทา่ และนาฏยศพั ท์ประกอบ

เพลงทชี่ ื่นชอบของตนเองให้ดียง่ิ ขน้ึ แลว้ มาแสดงใหค้ รดู อู กี คร้ัง (นอกเวลาเรยี น)

6. การวดั และประเมนิ ผล คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดับคะแนน
รายการประเมนิ
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)

1. การแสดงราวง แสดงท่าราวงมาตรฐานตาม แสดงท่าราวงมาตรฐานตาม แสดงท่าราวงมาตรฐานตาม
มาตรฐาน
รูปแบบทก่ี าหนดได้ถูกตอ้ ง รปู แบบที่กาหนดไดถ้ กู ต้อง รูปแบบที่กาหนดได้ถกู ต้อง
2.การขบั รอ้ งเพลง
และแสดงทา่ ทกุ ท่า มคี วามสวยงาม และ เป็นส่วนใหญ่ ค่อนขา้ ง เพยี งส่วนน้อย ไม่ค่อย
ประกอบเพลง
พระราชนิพนธ์ พร้อมเพรียงกัน สวยงาม และพรอ้ มเพรียง สวยงาม และไมพ่ ร้อม

กนั เพรยี งกัน

ขบั รอ้ งเพลงใกล้รุง่ ไดอ้ ยา่ ง ขับรอ้ งเพลงใกล้รุ่งไดอ้ ย่าง ขับร้องเพลงใกล้ร่งุ ได้อยา่ ง

ถกู ตอ้ ง ไพเราะ และแสดง ถกู ต้อง ไพเราะ และแสดง ถูกต้อง คอ่ นขา้ งไพเราะ
ทา่ ประกอบเพลงไดถ้ ูกตอ้ ง ทา่ ประกอบเพลงไดถ้ ูกตอ้ ง และแสดงท่าประกอบเพลง
ทุกท่า มคี วามสวยงาม เป็นสว่ นใหญ่ มีความ ได้ถูกตอ้ งเพียงส่วนน้อย ไม่

และพร้อมเพรยี งกัน สวยงาม และ คอ่ ยสวยงาม และไมพ่ รอ้ ม

พร้อมเพรยี งกนั เพรียงกัน

3.การแสดงทา่ การ แสดงท่าการเคลอื่ นไหวใน แสดงท่าการเคลอ่ื นไหวใน แสดงทา่ การเคล่อื นไหวใน
เคลอื่ นไหวใน สถานการณ์สั้นๆ หรอื ตาม สถานการณส์ ัน้ ๆ หรอื ตาม สถานการณส์ ั้นๆ หรือตาม
สถานการณส์ ัน้ ๆ สถานการณ์ท่กี าหนดได้อยา่ ง สถานการณ์ทก่ี าหนดได้ สถานการณ์ทก่ี าหนดได้
หรอื ตาม เหมาะสม สวยงาม และมี ค่อนขา้ งเหมาะสม สวยงาม แตไ่ มเ่ หมาะสม ไม่ค่อย
สถานการณ์ที่ ความพรอ้ มเพรยี งกัน และมีความพร้อมเพรยี งกัน สวยงาม และไมพ่ ร้อมเพรียง
กาหนด
กัน

ช่วงคะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ตา่ กว่า 5
ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียน ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ป.2
2) เอกสารประกอบการสอน
3) วสั ดุ อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการแสดง
4) วีซดี ีสาธติ การแสดงท่าประกอบเพลงลาวต่อนก
5) เพลงลาวตอ่ นก
6) บัตรคา
7) บัตรภาพ
8) สลาก
9) ใบงานที่ 7.1 เรอ่ื ง นาฏยศัพทน์ ่ารู้

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1. หอ้ งเรยี น

8. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผ้บู ริหาร
(...........................................................)

ใบงานท่ี
7.1 นาฏยศพั ท์นา่ รู้

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นดูภาพแลว้ เขยี นบอกวา่ เปน็ ท่านาฏยศพั ท์ใด และมวี ธิ กี ารปฏบิ ตั ิอยา่ งไร
1. ชื่อท่า
มีวธิ ีการปฏิบัติ ดังนี้

2. ชื่อท่า
มวี ธิ ีการปฏิบตั ิ ดงั นี้

3. ชื่อท่า
มวี ิธกี ารปฏิบัติ ดงั น้ี



(จงั หวะท่ี 1) (จงั หวะท่ี 2)

สัปดาหท์ ี่ 11-13

โรงเรยี นขจรเกยี รติพัฒนา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี 1/ ……………… ชื่อผู้สอน …………………………………………….
กลมุ่ สาระ ศิลปะ(นาฏศลิ ป์) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 3 คาบ
หนว่ ยการเรียนท่ี 3 การแสดงนาฏศลิ ป์ เรื่อง บทบาทหนา้ ทีข่ องผูแ้ สดง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั
มาตรฐานท่ี ศ 3.1เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฎศลิ ปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน

ตัวชีว้ ัดที่ ป.3/3 เปรียบเทียบบทบาทหนา้ ท่ีของผ้แู สดงและผ้ชู ม
ป.3/4 มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกับวัย
ป.3/5 บอกประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ในชวี ิตประจาวัน

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ผ้แู สดงและผชู้ มจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามบทบาทหนา้ ท่ขี องตนเอง รวมท้งั ร้จู ักการนาความรทู้ างนาฏศลิ ปไ์ ปใช้ให้เกดิ
ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1) อธิบายบทบาทหนา้ ทข่ี องผู้แสดงได้
2) มีส่วนร่วมในกจิ กรรมการแสดงทเ่ี หมาะสมกบั วัยได้
3) บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศลิ ปใ์ นชวี ิตประจาวนั ได้

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่

1) หลกั ในการชมการแสดง พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

- ผู้แสดง

- ผ้ชู ม

- การมสี ่วนร่วม

2) การบูรณาการนาฏศิลปก์ ับสาระการเรยี นรู้

อน่ื ๆ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขนั้ นา

ขัน้ กระตุ้นความสนใจ
ครเู ปดิ วซี ดี ีบันทึกการแสดงลเิ กเด็ก ใหน้ กั เรยี นดู แล้วให้นักเรียนรว่ มกนั สงั เกตและแสดงความคดิ เหน็ ใน

ประเดน็ ที่กาหนด

ขั้นสอน

ข้ันสารวจค้นหา
1. ครแู บ่งนักเรียนเป็นกล่มุ กลมุ่ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ ให้แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาความรู้เร่ือง

บทบาทหนา้ ที่ของผ้แู สดงในการแสดงนาฏศลิ ป์ จากหนงั สือเรียน
2. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ แสดงการเคล่อื นไหวในสถานการณ์ส้ันๆ ท่กี าหนด (ครูมอบหมายสถานการณ์ให้

นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกซอ้ มมาล่วงหน้า) โดยครกู าหนดระยะเวลาในการแสดง กลมุ่ ละ 2-3 นาที หรอื ตามความ
เหมาะสม
3. นกั เรยี นแต่ละคนวเิ คราะห์บทบาทหน้าท่ที ี่ตนเองได้รบั ในการเปน็ ผู้แสดง แลว้ รวมกลมุ่ เดิม (4 คน) จากน้ันนา
ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาและการมสี ว่ นรว่ มในการแสดงของตนเอง มาร่วมกนั วเิ คราะหเ์ ก่ียวกับบทบาทหน้าท่ี
ของผู้แสดงในการแสดงนาฏศิลป์
4. ครูสุม่ ตัวแทนกลมุ่ 1-2 กลุม่ นาเสนอผลการวิเคราะหห์ น้าชัน้ เรียน แลว้ ใหก้ ลุ่มอนื่ ไดน้ าเสนอเพม่ิ เตมิ
ในส่วนทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ
5. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันทาใบงานที่ 8.1 เร่อื ง บทบาทหน้าที่ของผแู้ สดง เสร็จแล้วนาส่งครตู รวจ

ข้ันสรปุ

ข้นั ขยายความเข้าใจ
นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันสรปุ ความร้เู รือ่ ง บทบาทหน้าท่ขี องผู้แสดงในการแสดงนาฏศลิ ป์

คาบท่ี 2

ข้นั นา
ขนั้ กระตุ้นความสนใจ
ครูใหน้ กั เรียนดูภาพเก่ียวกับการชมการแสดงในลักษณะต่างๆ แลว้ รว่ มกนั แสดงความคิดเห็น

ขน้ั สอน

ข้ันสารวจค้นหา
1. นกั เรียนกลมุ่ เดมิ ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ รอื่ ง บทบาทหน้าท่ขี องผู้ชมในการแสดงนาฏศลิ ป์ จากหนงั สือเรียน แลว้

รว่ มกนั วิเคราะห์บทบาทหน้าทข่ี องผู้ชม และมารยาทในการชมการแสดงนาฏศลิ ป์
2. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั บทบาทหน้าท่ขี องผู้ชม และมารยาทในการชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ใหน้ ักเรียนฟังเพิ่มเติม
3. ครูพานักเรียนไปชมการแสดงนาฏศลิ ปท์ ่ีโรงละครหรือสถานท่จี ดั การแสดงนาฏศิลปใ์ นท้องถ่ิน แล้วให้นักเรยี น

ปฏิบตั ิตนตามบทบาทหน้าทีข่ องผู้ชมท่ีดใี นการชมการแสดงนาฏศลิ ป์ (ครูอาจพานกั เรียนไป นอกเวลา
เรียน หรอื ใหน้ กั เรียนชมการแสดงจากวีซดี ีแทนได้)
4. นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกับผลดขี องการปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหนา้ ที่ของผู้ชมในการชมการแสดงนาฏศิลป์
5. นักเรียนแต่ละคนทาใบงานท่ี 8.2 เร่ือง บทบาทหนา้ ทขี่ องผู้ชม เมอ่ื ทาเสร็จแลว้ ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั เฉลย
คาตอบในใบงาน

ข้ันสรปุ

ขนั้ สารวจค้นหา
นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั เขยี นแผนผงั ความคดิ สรุปบทบาทหน้าท่ีของผ้ชู มในการแสดงนาฏศิลป์

ครตู รวจสอบความถกู ต้อง

คาบที่ 3

ขน้ั นา
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ
ครใู หน้ กั เรียนดภู าพนาฏศิลปก์ ับการบูรณาการ แลว้ ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเตมิ

ขั้นสอน

ขัน้ สารวจคน้ หา
1. นกั เรียนแต่ละคนทาใบงานที่ 8.3 เรอ่ื ง นาฏศลิ ป์กบั การบรู ณาการ เมอื่ ทาเสร็จแล้วนาสง่ ครตู รวจ
2. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายว่า ความรู้ทางนาฏศิลป์สามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับการเรยี นการสอน

ในรายวิชาใดไดบ้ า้ ง (นอกเหนือจากท่เี รียนมา) แล้วเขียนสรปุ ผลการอภิปรายในรูปแบบแผนผงั ความคดิ จากน้ัน
สง่ ตวั แทนกลุม่ นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน

ข้ันสรุป

ขัน้ สารวจค้นหา
1. ครูตรวจสอบผลนักเรียนจากการทาใบงานที่ 8.3 และการเขยี นแผนผงั ความคิดสรปุ ผลการอภปิ รายเกย่ี วกับ
นาฏศลิ ปก์ ับการบูรณาการ

2. นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้เรอื่ ง นาฏศลิ ป์กบั การบูรณาการ ครูตรวจสอบความถกู ต้อง

6. การวดั และประเมินผล

รายการประเมิน คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)

1. การแสดงราวง แสดงท่าราวงมาตรฐานตาม แสดงทา่ ราวงมาตรฐานตาม แสดงทา่ ราวงมาตรฐานตาม
มาตรฐาน
รปู แบบทกี่ าหนดไดถ้ กู ตอ้ ง รูปแบบที่กาหนดไดถ้ ูกตอ้ ง รูปแบบท่กี าหนดไดถ้ กู ต้อง

ทกุ ทา่ มคี วามสวยงาม และ เป็นส่วนใหญ่ ค่อนขา้ ง เพียงส่วนนอ้ ย ไมค่ อ่ ย

พร้อมเพรยี งกนั สวยงาม และพรอ้ มเพรียง สวยงาม และไมพ่ ร้อม

กนั เพรยี งกัน

2.การขบั ร้องเพลง ขับร้องเพลงใกล้รุ่งได้อยา่ ง ขบั ร้องเพลงใกล้รุง่ ไดอ้ ย่าง ขบั รอ้ งเพลงใกล้รุ่งไดอ้ ยา่ ง
และแสดงท่า ถกู ต้อง ไพเราะ และแสดง ถูกต้อง ไพเราะ และแสดง ถกู ตอ้ ง ค่อนขา้ งไพเราะ
ประกอบเพลง
พระราชนพิ นธ์ ทา่ ประกอบเพลงไดถ้ ูกตอ้ ง ท่าประกอบเพลงไดถ้ ูกตอ้ ง และแสดงทา่ ประกอบเพลง

3. การแสดงท่าการ ทกุ ทา่ มคี วามสวยงาม เปน็ ส่วนใหญ่ มีความ ได้ถูกตอ้ งเพยี งส่วนนอ้ ย ไม่
เคล่อื นไหวใน
สถานการณ์สน้ั ๆ และพร้อมเพรยี งกนั สวยงาม และ ค่อยสวยงาม และไม่พร้อม
หรือตาม
สถานการณ์ท่ี พรอ้ มเพรยี งกนั เพรียงกัน
กาหนด
แสดงท่าการเคลื่อนไหวใน แสดงท่าการเคล่ือนไหวใน แสดงทา่ การเคลื่อนไหวใน

สถานการณส์ น้ั ๆ หรอื ตาม สถานการณส์ ้นั ๆ หรอื ตาม สถานการณ์สน้ั ๆ หรอื ตาม
สถานการณ์ท่ีกาหนดไดอ้ ยา่ ง สถานการณ์ที่กาหนดได้ สถานการณ์ทกี่ าหนดได้
เหมาะสม สวยงาม และมี ค่อนขา้ งเหมาะสม สวยงาม แต่ไมเ่ หมาะสม ไมค่ อ่ ย
ความพรอ้ มเพรียงกนั และมีความพรอ้ มเพรียงกัน สวยงาม และไม่พรอ้ มเพรียง

กัน

ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ตา่ กวา่ 5
ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ
8-9 5-7
ดี พอใช้

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนงั สือเรียน ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ป.2
2) เอกสารประกอบการสอน
3) วัสดุ อปุ กรณ์ที่ใช้ในการแสดง
4) วซี ดี บี นั ทึกการแสดงลิเกเด็ก
5) วสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการแสดง
6) บตั รภาพ
7) ใบงานที่ 8.1 เร่ือง บทบาทหนา้ ทขี่ องผแู้ สดง
8) ใบงานที่ 8.2 เร่ือง บทบาทหน้าท่ขี องผูช้ ม
9) ใบงานท่ี 8.3 เรื่อง นาฏศิลป์กับการบรู ณาการ
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1. หอ้ งเรียน

8. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่
8.1 บทบาทหนา้ ทีข่ องผู้แสดง

คาช้แี จง ให้นกั เรยี นเขยี นแผนผงั ความคดิ เกีย่ วกับบทบาทหนา้ ที่ของผ้แู สดง

บทบาทหน้าท่ีของผแู้ สดง


Click to View FlipBook Version