The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ต้นฉบับแผนบูรณาการม.ปลาย264

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sittipong Saenphonmat, 2022-05-04 23:25:35

ต้นฉบับแผนบูรณาการม.ปลาย264

ต้นฉบับแผนบูรณาการม.ปลาย264

แผนบรู ณาการการจดั การเรียนการสอน

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรียนท่ี ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหว้ ยเม็ก
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั กาฬสินธุ์
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

คู่มือการจดั กระบวนการเรียนรู้แผนบูรณาการการจดั การเรียนการสอนแผนใหม่ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดบั
การศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๒ / ๒๕๖๒ จดั ทาข้ึนเพื่อใหค้ รูผสู้ อน กศน. ทุกกลุ่มเป้าหมายใชเ้ ป็ นแนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้โดยมีเน้ือหาสาระเกี่ยวกบั โครงสร้าง
หลกั สูตร แผนจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการและแนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่ครอบคลุมเน้ือหารายวิชาบงั คบั และรายวชิ าเลือก ในภาคเรียนท่ี ๒ / ๒๕๖๒

ในการจดั ทาคู่มือการจดั กระบวนการเรียนรู้แผนบูรณาการการจดั การเรียนการสอนแผนใหม่ สาหรับครู กศน. คร้ังน้ี ไดร้ ับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างดียิ่ง จากวิทยากร
ทา่ นผอ.เกศรัตน์ ภูกิ่งเงิน คณะครูอาสาสมคั ร ครู กศน.ตาบล ครูศูนยก์ ารเรียนชุมชน จาก กศน.อาเภอหว้ ยเม็ก ร่วมกนั ระดมความคดิ และแลกเปล่ียนเรียนรู้ นามาจดั ทาเป็นคูม่ ือ
ครูเพื่อให้ครู กศน.สามารถนาไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผูเ้ รียนกลุ่มเป้าหมายของ กศน. มีคุณภาพ ครบตามตวั ช้ีวดั ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั และพฒั นาผูเ้ รียนให้มี
คุณสมบตั ิอนั พงึ ประสงคข์ องสถานศึกษา

คร้ังน้ีขอขอบคุณ สานกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์ และคณะอาจารยท์ ่ีปรึกษาทุกทา่ นท่ีใหค้ วามรู้ คาแนะนา และให้คาปรึกษาเป็นแนวทางในการจดั ทาคู่มือครู กศน. เล่ม
น้ีจนสาเร็จเป็นรูปเล่มสมบูรณ์ คณะผูจ้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่ เอกสารเลม่ น้ี จะเป็นประโยชนส์ าหรับผนู้ าไปใชจ้ ดั กระบวนการเรียนรู้ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ หากพบขอ้ ผดิ พลาด
หรือมีขอ้ เสนอแนะประการใด คณะผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ กไ้ ข ปรับปรุง ดว้ ยความขอบคณุ ยง่ิ

กศน. อาเภอหว้ ยเมก็

สำรบญั หน้ำ

เนื้อหำ ๑

หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การการศึกษานอกโรงเรียน ๔
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ๗
อตั ลกั ษณ์,เอกลกั ษณ์,ปรัชญา,วสิ ัยทศั น,์ พนั ธกิจสถานศึกษา ๘
โครงสร้างหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑๕
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ ๑๖
วธิ ีสร้างหน่วยการเรียนรู้แบบบรู ณาการ ๑๗
วิชาท่ีลงทะเบียน ภาคเรียนท่ี ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๒ ๒๐
ปฏิทินการจดั การเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ ๒๖
วเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้รายวชิ า ๒๙
ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้
แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ

หลกั เกณฑ์และวิธีกำรจดั กำรกำรศึกษำนอกโรงเรียน

ตำมหลกั สูตรกำรศึกษำนอกระบบระดบั กำรศึกษำข้นั พื้นฐำนพุทธศักรำช ๒๕๕๑

ควำมนำ
การพฒั นาประเทศในปัจจุบนั ท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเกินกวา่ จะคาดการณ์ไดแ้ น่นอนท้งั ภาคเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สังคม และ

วฒั นธรรมลว้ นส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนท้ังมวล ประเทศต่างๆ พยายามท่ีจะปฏิรูปหรือปรับเปล่ียนระบบหรือกลไกทางสังคมต่างๆ เพื่อรับรองความ
เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวตั น์ ให้นาพาสังคมไปสู่ความมน่ั คง ยง่ั ยืน สาหรับประเทศไทย การพฒั นาประเทศทุกข้นั ตอนตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ รอบคอบเป็นไปตามลาดบั
ข้นั ตอน และความสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของสังคมไทย รวมท้งั การเสริมสร้างศีลธรรมและสานึกในคุณธรรม จริยธรรมในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีและดาเนินชีวิตดว้ ยความเพียร อนั จะ
เป็ นภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีท่ีสุด ให้พร้อมเผชิญกบั การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน ท้งั ในระดบั ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ด้งั น้นั จะเห็นว่าแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติในระยะหลงั ๆ ใหค้ วามสาคญั กบั การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมและมุ่งให้ “ คนเป็นศูนยก์ ลางการพฒั นา ” ปรับเปล่ียนวิธีการพฒั นาแบบแยกส่วนมาเป็นแบบ
บูรณการแบบองคร์ วม เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือนาไปสู่การพฒั นาที่ยงั่ ยนื และความอยเู่ ยน็ เป็นสุข
ร่วมกนั ดงั น้นั เพื่อใหก้ ารพฒั นาประเทศเป็นไปในทิศทางเดียวกนั ตอ้ งอาศยั ความร่วมมือกนั ของหน่วยงานต่างๆ

กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่จดั การศึกษาให้กบั ประชาชน โดยเฉพาะการศึกษาข้นั พ้ืนฐานซ่ึงกาหนดไวใ้ นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐
มาตรา ๔๙ ว่า บุคคลยินยอมมีสิทธิเสมอกนั ในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะตอ้ งจดั ให้อย่างทวั่ ถึงและมีคุณภาพและมาตรา ๘๐ ได้กาหนดเป็ นนโยบายด้าน
การศึกษา ว่า ตอ้ งดาเนินการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการจดั การศึกษาในทุกระดบั และทุกรูปแบบ ให้สอดคลอ้ งกบั ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ จและสังคม จดั ให้มี
แผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพ่ือการพฒั นาการศึกษาของชาติ ซ่ึงกฎหมายเพ่ือการพฒั นาการศึกษาของชาติกาหนดให้มีก ารส่งเสริมการศึกษา ในระบบการศึกษานอก
ระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ตลอดชีวิต วิทยาลยั ชุมชน หรือ รูปแบบอ่ืน รวมทงั ปรับปรุงกฎหมายเพื่อกาห นดหน่วยงานรับผิดชอบ การจดั การ
ศึกษาท่ีเหมาะสมละสอดคลอ้ งกบั ระบบการศึกษาทุกระดบั ของการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม ( ฉบบั ที่ ๒ ) พ.ศ.
๒๕๔๕ มาตรา ๑๕ กาหนดนิยามการศึกษานอกระบบว่าเป็ นการศึกษาที่ยืดหยุ่น ในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจดั การศึกษา ระยะเวลาของ การศึกษา การวดั และ
ประเมินผล ซ่ึงเป็นเง่ือนไขของการสาเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลกั สูตรจะตอ้ งมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการของบุคคลแตล่ ะกลุ่ม การศึกษา

นอกระบบไดก้ ล่าวถึงการแบ่งระดบั ไวใ้ นมาตรา ๑๖ วรรคทา้ ย ว่าใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ท้งั น้ี กฎกระทรวงว่าดว้ ยการแบ่งระดบั และการเทียบระดบั การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดก้ าหนดใหม้ ีการแบ่งระดบั เช่นเดียวกนั กบั การแบง่ ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และยงั ไดก้ าหนดใหก้ ารศึกษานอกระบบที่มี
ระดบั เดียวกนั กบั การศึกษาในระบบใหถ้ ือวา่ มีมาตรฐานการศึกษาเทา่ เทียมกนั

เม่ือประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิส่งเสริมการศึกษานอกระบบและศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. ๒๕๕๑ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จึง

เห็นสมควรพฒั นาหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็ นหลกั สูตรที่มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการ
ของบุคคลท่ีอย่นู อกระบบโรงเรียนซ่ึงเป็ นผูม้ ีความรู้และประสบการณ์จากการทางาน และการประกอบอาชีพ โดยการกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐ านการเรียนรู้ การจดั การ

เรียนรู้ การวดั และประเมินผล ให้ความสาคญั กบั การพฒั นากลุ่มเป้าหมาย ดา้ นจิตใจ ใหม้ ีคุณธรรม ควบคู่ไปกับการพฒั นาการเรียนรู้ สร้างภูมคมุ้ กนั สมารถจดั การกบั องคค์ วามรู้

ท้งั ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และเทคโนโลยี เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถปรับตวั อยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุม้ กนั ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงรวมท้งั คานึงถึง
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผทู้ ี่อยนู่ อกระบบ และสอดคลอ้ งกบั สภาพ เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การปกครอง ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยแี ละการส่ือสาร

คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของสถำนศึกษำ
๑. มีความขยนั อดทน อดกล้นั
๒. มีความซ่ือสัตย์
๓. เป็นคนที่รู้จกั ประหยดั อดออม
๔. เป็นคนดีมีความรับผิดชอบ
๕. เป็นคนท่ีรู้จกั เอ้ือเฟ้ื อเผ่ือแผ่

คณุ ธรรม ๑๑ ประกำร ๒. สุภาพ ๓. กตญั ญู ๔. ขยนั ๕. ประหยดั ๖. ซื่อสัตย์
๑. สะอาด ๘. มีน้าใจ ๙. มีวนิ ยั
๗. สามคั คี ๑๐. มีจิตสานึก ภมู ิใจในความเป็นไทย ๑๑. ศรัทธา ยดึ มน่ั การปกครองระบบประชาธิปไตย

ค่ำนิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร
๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ซ่ึงเป็นสถาบนั หลกั ของชาติในปัจจุบนั
๒. ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพ่ือส่วนรวม
๓. กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศึกษา เล่าเรียน ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม
๕. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดีต่อผอู้ ่ืน เผ่ือแผแ่ ละแบ่งปัน
๗. เขา้ ใจ เรียนรู้ การเป็นประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ที่ถูกตอ้ ง
๘. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่
๙. มีสติ รู้ตวั รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบตั ิ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
๑๐. รู้จกั ดารงตนอยโู่ ดยใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของสมเดจ็ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รู้จกั อดออมไวใ้ ชเ้ มื่อยามจาเป็น มีไวพ้ อกินพอใช้ ถา้
เหลือกแ็ จกจ่าย และขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม โดยมีภูมิคุม้ กนั ที่ดี
๑๑. มีความเขม้ แขง็ ท้งั ร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลวั ต่อบาป ตามหลกั ของศาสนา
๑๒. คานึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และต่อชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

** ปรัชญำสถำนศึกษำ
ชีวติ คอื การเรียนรู้ วิชาการดี มีระเบียบวนิ ยั ใฝ่คณุ ธรรม นาคณุ ภาพ คุณธรรม นาวิชา พฒั นาพาสุข

** วิสัยทัศน์
เรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพเทา่ เทียมทุกช่วงวยั ใฝ่คุณธรรม

** อตั ลกั ษณ์
เป็นคนดี ตามวิถีพอเพียง

** เอกลกั ษณ์

สถานศึกษาพอเพียง สร้างคน สร้างงาน

** พนั ธกจิ
๑. จดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมีคุณภาพ เพื่อยกระดบั การศึกษาของประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายเพื่อสร้างสังคมแห่งการ

เรียนรู้ตลอดชีวติ
๒. ส่งเสริม สนบั สนุนใหภ้ าคเี ครือข่ายมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๓. พฒั นาเทคโนโลยที างการศึกษาและเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ หเ้ กิดประสิทธิภาพ
๔. พฒั นาหลกั สูตรและรูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ สื่อ นวตั กรรมและการวดั ผลประเมินผลใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชน
๕. พฒั นาบุคลากรและพฒั นาระบบการบริหารจดั การ การนิเทศติดตามผล ใหม้ ีประสิทธิภาพโดยยดึ หลกั ธรรมมาภิบาล

จดุ ม่งุ หมำย
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราชการ ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาให้ผเู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีศกั ยภาพใน

การประกอบอาชีพและการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีตอ้ งการ จึงกาหนดจุดหมายดงั ต่อไปน้ี
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมที่ดีงาม และสามารถอยรู่ วมกนั ในสงั คมอยา่ งสนั ติสุข
๒. มีความรู้พ้ืนฐานสาหรับการดารงชีวติ และการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง
๓. มีความสามารถในการประกอบสมั มาอาชีพ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความถนดั และตามทนั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
๔. มีทกั ษะการดาเนินชีวิตที่ดี และสามารถจดั การกบั ชีวติ ชุมชน สังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสุขตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๕. มีความเขา้ ใจประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย โดยเฉพาะภาษาไทย ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็ นพลเมืองดี ปฏิบตั ิตนตาม

หลกั ธรรมของศาสนายดึ มนั่ ในวถิ ีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
๖. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ และการพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
๗. เป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้และบูรณาการความรู้มาใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ครอบครั ว ชุมชน สังคม และ

ประเทศชาติ

ระดับกำรศึกษำ
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดบั มธั ยมศึกษาตอน

ปลาย

โครงสร้ำง
เพ่ือใหก้ ารจดั การศึกษาเป็นไปตามหลกั การ จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ ท่ีกาหนดไวใ้ ห้สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายมีแนวปฏิบตั ิในการ จดั หลกั สูตรสถานศึกษา

จึงไดก้ าหนดโครงสร้างของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไวด้ งั น้ี
๑. ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย
๒. สำระกำรเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ประกอบดว้ ย ๕ สาระ ดงั น้ี
๒.๑ สำระทกั ษะกำรเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกบั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การใชแ้ หล่งเรียนรู้ การจดั การความรู้ การคิดเป็น และการวิจยั อยา่ งงา่ ย
๒.๒ สำระควำมรู้พื้นฐำน เป็นสาระเก่ียวกบั ภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒.๓ สำระกำรประกอบอำชีพ เป็นสาระเกี่ยวกบั การมองเห็นช่องทาง และการตดั สินใจประกอบอาชีพ ทกั ษะในอาชีพ การจดั การอาชีพอยา่ งมีคณุ ธรรม และการ

พฒั นาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คง
๒.๔ สำระทักษะกำรดำเนินชีวติ เป็นสาระเกี่ยวกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา และศิลปศึกษา
๒.๕ สำระกำรพฒั นำสังคม เป็นสาระเกี่ยวกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนา้ ท่ีพลเมือง และการ

พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
๓. กจิ กรรมพฒั นำคณุ ภำพชีวิต
กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิตเป็นกิจกรรมท่ีจดั ข้ึนเพอื่ ให้ผเู้ รียนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม

๔. มำตรฐำนกำรเรียนรู้
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดมาตรฐาน การเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ท้งั ๕ สาระ ท่ีเป็นขอ้ กาหนดคณุ ภาพ

ของผเู้ รียน ดงั น้ี
๔.๑ มำตรฐำนกำรเรียนรู้กำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ในแตล่ ะสาระการเรียนรู้ เมื่อผเู้ รียนจบหลกั สูตร การศึกษานอกระบบ

ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๔.๒ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ในแตล่ ะสาระการเรียนรู้เม่ือผเู้ รียนเรียนจบในแตล่ ะระดบั ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั

พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๕. เวลำเรียน
ในแตล่ ะระดบั ใชเ้ วลาเรียน ๔ ภาคเรียน ยกเวน้ กรณีท่ีมีการเทียบโอนผลการเรียน ท้งั น้ีผเู้ รียนตอ้ งลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอยา่ งนอ้ ย ๑ ภาคเรียน
๖. หน่วยกติ
ใชเ้ วลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง มีค่าเท่ากบั ๑ หน่วยกิต

โครงสร้ำงหลกั สูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑

จำนวนหน่วยกติ

ท่ี สำระกำรเรียนรู้ มธั ยมศึกษำตอนปลำย

๑ ทกั ษะการเรียนรู้ วชิ าบงั คบั วิชาเลือก
๒ ความรู้พ้ืนฐาน
๓ การประกอบอาชีพ ๕
๔ ทกั ษะการดาเนินชีวิต
๕ การพฒั นาสังคม ๒๐

รวม ๘

กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต ๕



๔๔ ๓๒

๗๖ หน่วยกิต

๒๐๐ ชวั่ โมง

หมำยเหตุ วชิ าเลือกในแต่ละระดบั สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รียน เรียนรู้จากการทาโครงงาน จานวนอยา่ งนอ้ ย ๓ หน่วยกิต

สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดงั น้ี
๑. สำระทกั ษะกำรเรียนรู้ ประกอบดว้ ย ๕ มาตรฐาน ดงั น้ี
มำตรฐำนท่ี ๑.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
มำตรฐำนท่ี ๑.๒ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ีดีต่อการใชแ้ หลง่ เรียนรู้
มำตรฐำนที่ ๑.๓ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีต่อการจดั การเรียนรู้
มำตรฐำนท่ี ๑.๔ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีตอ่ การคิดเป็น
มำตรฐำนที่ ๑.๕ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีต่อการวิจยั อยา่ งง่าย
๒. สำระควำมรู้พืน้ ฐำน ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน ดงั น้ี
มำตรฐำนที่ ๒.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะพ้นื ฐานเกี่ยวกบั ภาษาและการสื่อสาร
มำตรฐำนท่ี ๒.๒ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะพ้นื ฐานเก่ียวกบั คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๓. สำระกำรประกอบอำชีพ ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน ดงั น้ี
มำตรฐำนท่ี ๓.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทางและการ ตดั สินใจประกอบอาชีพไดต้ ามความตอ้ งการ และศกั ยภาพ
ของตนเอง
มำตรฐำนท่ี ๓.๒ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ีตดั สินใจเลือก
มำตรฐำนที่ ๓.๓ มีความรู้ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชีพอยา่ งมีคณุ ธรรม
มำตรฐำนที่ ๓.๔ มีความรู้ความเขา้ ใจ ในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง

๔. สำระทักษะกำรดำเนินชีวิต ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน ดงั น้ี
มำตรฐำนท่ี ๔.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ เจตคติที่ดีเก่ียวกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและ สามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
มำตรฐำนที่ ๔.๒ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติท่ีดีเก่ียวกบั การดูแล ส่งเสริมสุขภาพอนามยั และความปลอดภยั ในการดาเนินชีวติ
มำตรฐำนที่ ๔.๓ มีความรู้ความเขา้ ใจ และเจตคติท่ีดีเก่ียวกบั ศิลปะและสุนทรียภาพ

๕. สำระกำรพฒั นำสังคม ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน ดงั น้ี
มำตรฐำนที่ ๕.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ และตระหนกั ถึงความสาคญั เก่ียวกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนามาปรับใช้

ในการดารงชีวิต
มำตรฐำนที่ ๕.๒ มีความรู้ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่ือการอยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข
มำตรฐำนท่ี ๕.๓ ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะเพอ่ื ความสงบสุขของสงั คม
มำตรฐำนท่ี ๕.๔ มีความรู้ความเขา้ ใจ เห็นความสาคญั ของหลกั การพฒั นา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบ ครัว ชุมชน/สงั คม

หมำยเหตุ สาระการเรียนรู้ความรู้พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ ๒.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจทกั ษะพ้นื ฐานเกี่ยวกบั ภาษาและการสื่อสาร ซ่ึงภาษาในมาตรฐานน้ีหมายถึง ภาษาไทย และ
ภาษาต่างประเทศ

ท่ี สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ รำยวิชำ หน่วยกติ
วชิ ำบงั คับ รำยวิชำ
รหัส
๑. ทกั ษะการเรียนรู้
๒. ความรู้พ้นื ฐาน ทร๓๑๐๐๑ ทกั ษะการเรียนรู้ ๕
พท๓๑๐๐๑ ภาษาไทย ๕
๓. การประกอบอาชีพ พต๓๑๐๐๑ ภาษาองั กฤษในชีวิตประจาวนั ๕
พค๓๑๐๐๑ คณิตศาสตร์ ๕
๔. ทกั ษะการดาเนินชีวิต พว๓๑๐๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕
อช๓๑๐๐๑ ช่องทางการขยายอาชีพ ๒
๕. การพฒั นาสงั คม อช๓๑๐๐๒ ทกั ษะการขยายอาชีพ ๔
อช๓๑๐๐๓ พฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง ๒
ทช๓๑๐๐๑ เศรษฐกิจพอเพียง ๑
ทช๓๑๐๐๒ สุขศึกษา พลศึกษา ๒
ทช๓๑๐๐๓ ศิลปศึกษา ๒
สค๓๑๐๐๑ สังคมศึกษา ๓
สค๓๑๐๐๒ ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง ๒
สค๓๑๐๐๓ การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ๑

รูปแบบกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้

การศึกษานอกระบบการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมีวิธีการจดั การเรียนรู้ที่หลากหลาย ไดแ้ ก่
๑. กำรเรียนรู้แบบพบกลุ่ม เป็นวิธีการจดั การเรียนรู้ท่ีกาหนดให้ผเู้ รียนมาพบกนั โดยมีครูเป็นผดู้ าเนินการให้เกิดกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้
และหาขอ้ สรุปร่วมกนั โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและใหค้ าแนะนาในการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองจากภูมิปัญญา ผรู้ ู้ และส่ือต่างๆ
๒. กำรเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) เป็นวิธีการจดั การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนกาหนดแผนการเรียนรู้ของตนเองตามรายวชิ าท่ีลงทะเบียนเรียน
๓. กำรเรียนรู้โดยกำรสอนเสริม (สส.) เป็นวิธีการจดั การเรียนรู้จากวิทยากรท่ีมีความรู้ความสามารถ เฉพาะวิชาครูและผูเ้ รียนร่วมกนั วิเคราะห์เน้ือหาวิชาแลว้ เห็นว่ายาก
มาก ไม่เหมาะท่ีจะนามาเรียนรู้โดยวธิ ีการพบกลุ่มหรือเรียนรู้ดว้ ยตนเองได้ ตอ้ งจดั หาวทิ ยากรท่ีเชี่ยวชาญมาสอนเสริม
๔. กำรเรียนรู้แบบโดยวิธกี ำรทำโครงกำร เป็นวิธีการจดั การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนและครูร่วมกนั พิจารณาว่าควรมีการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ความสามารถเพิ่มเติมเรื่องใด การ
จดั การเรียนรู้ โดยวธิ ีการทาโครงการ อาจพิจารณาจากนโยบาย และสภาพปัญหาท่ีเกิดข้นึ ปัจจุบนั
๕. กำรเรียนรู้จำกกำรทำโครงงำน เป็ นวิธีการจดั การเรียนรู้ที่ผูเ้ รียนกาหนดเร่ืองโดยสมคั รใจตามความสนใจ ความตอ้ งการ หรือสภาพปัญหา ท่ีจะนาไปสู่การศึกษา
คน้ ควา้ ทดลอง ลงมือปฏิบตั ิจริง และมีการสรุปผลการดาเนินงานตามโครงงาน โดยมีครูเป็นผใู้ หค้ าปรึกษา แนะนาอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ และกระตุน้ เสริมแรงให้เกิด
การเรียนรู้
๖. กำรเรียนรู้รูปแบบอื่นๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบอ่ืนๆไดต้ ามความตอ้ งการของผเู้ รียน
วิธีการจดั การเรียนรู้ดงั กล่าวขา้ งตน้ สถานศึกษาและผเู้ รียนร่วมกนั กาหนดวิธีการเรียนโดยเลือกเรียนวิธีใดวิธีหน่ึง หรือหลายวิธีก็ไ ดข้ ้ึนอยู่กบั ความยากง่ายของเน้ือหา
และสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวิต และการทางานของผเู้ รียน โดยขณะเดียวกนั สถานศึกษาสามารถจดั ใหม้ ีการสอนเสริมไดท้ ุกวิธีเรียน เพอ่ื เติมเตม็ ความรู้ใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรียนรู้

กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ตำมหลกั สูตรสถำนศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑
การจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมีความสามารถในการเรียนรู้ ตามปรัชญา

พ้ืนฐานของการศึกษานอกโรงเรียน “คิดเป็ น” โดยเนน้ พฒั นาทกั ษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใชค้ วามรู้และสร้างองคป์ ระกอบสาหรับตนเอง และชุมชน สังคม ซ่ึงกาหนด
รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ ดงั น้ี

๑. กาหนดสภาพปัญหา ความตอ้ งการของผเู้ รียน ชุมชน สงั คม ใหเ้ ชื่อมโยงกบั ประสบการณ์และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ของหลกั สูตร โดยผเู้ รียนทาความเขา้ ใจ
กบั สภาพปัญหาความตอ้ งการน้นั ๆ แลว้ กาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ และการวางแผนการเรียนรู้ของตนเองเพ่ือนาไปสู่การปฏิบตั ิต่อไป

๒. แสวงหาขอ้ มูลและการจดั การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิม โดยศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้ รวบรวม ขอ้ มูลของตนเอง ชุมชน สังคม และวิชาการ จากส่ือ
แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายมีการสะทอ้ นความคิด ระดมความคดิ เห็น อภิปราย วเิ คราะห์ สังเคราะหข์ อ้ มลู และสรุปเป็นความรู้

๓. ปฏิบตั ิ โดยใหค้ วามรู้ท่ีไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ที่เหมาะสมกบั สงั คมและวฒั นธรรม
๔. ประมวลผลการเรียนรู้ โดยใหม้ ีการประเมิน ทบทวนแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง และตรวจสอบผลการเรียนรู้ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายการเรียนรู้ท่ีวางไว้

ส่ือกำรเรียนรู้
ในการจดั การเรียนรู้เนน้ ให้ผเู้ รียนแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง โดยการใชส้ ่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไดแ้ ก่ ส่ือส่ิงพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ส่ือบุคคล ภูมิปัญญา แหล่ง

เรียนรู้ท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถิ่น ชุมชน และแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ ผูเ้ รียน ครู สามารถพฒั นาส่ือการเรียนรู้ข้ึนเอง หรือนาส่ือต่างๆ ท่ีมีอยใู่ กลต้ วั และขอ้ มูลสารสนเทศที่เก่ียวขอ้ งมาใชใ้ นการ
เรียนรู้ โดยใชว้ ิจารณญาณในการเลือกใชส้ ื่อต่างๆ ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมใหก้ ารเรียนรู้เป็นไปอยา่ งคมุ้ คา่ น่าสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม เข้าใจงา่ ย เป็นการกระตนุ้ ให้ผเู้ รียนรู้จกั วธิ ีการ
แสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้อยา่ งกวา้ งขวาง ลึกซ้ึง และตอ่ เนื่องตลอดเวลา

กำรเทียบโอน
สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรียนหรือเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ของผเู้ รียน ใหเ้ ป็นส่วนหน่ึงของผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ

ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยสถานศึกษาตอ้ งจดั ทาระเบียบหรือแนวปฏิบตั ิการเทียบโอนใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางการเทียบโอนที่สานกั งาน กศน. กาหนด

กำรวดั ผลและประเมินผล
การวดั และการประเมินผลการเรียน เป็นกระบวนการที่ให้ไดม้ าซ่ึงขอ้ มูลสารสนเทศท่ีแสดงถึงการพฒั นา ความกา้ วหนา้ ความสาเร็จ ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผเู้ รียน

และขอ้ มูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเกิดการพฒั นาและการเรียนรู้ไดเ้ ต็มศกั ยภาพ เกิดทกั ษะกระบวนการและค่านิยมท่ีพึ งประสงค์ ซ่ึงสถานศึกษาในฐานะเป็ น
ผรู้ ับผิดชอบการจดั การศึกษา จะตอ้ งจดั ทาระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ิ

ในการวดั และประเมินผลกาเรียนของสถานศึกษา เพอื่ ใหบ้ ุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายถือปฏิบตั ิร่วมกนั และเป็นไปในมาตรฐานเดียวกนั
๑. กำรวัดและประเมินผลรำยวิชำ เป็นการประเมินการเรียนรายวิชา สถานศึกษาตอ้ งดาเนินการควบคู่ไปกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน เพ่ือใหท้ ราบวา่ ผเู้ รียนมี
กา้ วหนา้ ท้งั ทางดา้ นความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม และค่านิยมอนั พึงประสงค์ อนั เป็นผลเน่ืองมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพียงใด และตอ้ งมีการประเมินผลรวม เพ่ือ
ทราบว่าผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้หรือไม่อย่างไร ดงั น้นั การวดั และประเมินผลจึงตอ้ งใชเ้ ครื่องมือละวิธีการท่ีหลากหลายใหส้ อดคลอ้ งกบั
สาระมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั
๒. กำรประเมินกจิ กรรมพัฒนำคุณภำพชีวิต เป็ นการประเมินส่ิงที่ผูเ้ รียนปฏิบตั ิ เพื่อการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม โดยพิจารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม
การปฏิบตั ิกิจกรรม และผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรมของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด
๓. กำรประเมินคุณธรรม เป็นการประเมินสิ่งท่ีตอ้ งการปลูกฝังในตวั ผเู้ รียนปฏิบตั ิ โดยประเมินจากกิจกรรมการเรียนรู้ท้งั ทางดา้ นการพฒั นาตนเอง การพฒั นางาน การอยู่
ร่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุขการพฒั นาคุณภาพชีวิต การเขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้รายวิชาต่างๆ และกิจกรรมในลกั ษณะอื่นๆท่ีสถานศึกษาจดั ข้นึ เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมให้
เกิดข้ึนกบั ผเู้ รียน
๔. กำรประเมนิ คุณภำพกำรศึกษำนอกระบบระดับชำติ สถานศึกษาตอ้ งจดั ให้ผเู้ รียนเขา้ รับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ ในภาคเรียนสุดทา้ ยของทุก
ระดบั การศึกษาในสาระการเรียนรู้ ท่ีสานกั งาน กศน. กาหนดการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือทราบผลการเรียนของผเู้ รียนสาหรับนาไปใช้
ในการวางแผนปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบต่อไป การประเมินดงั กลา่ ว ม่ีผลไดห้ รือตกของผเู้ รียน

กำรจบหลกั สูตร
ผจู้ บการศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในแตล่ ะระดบั การศึกษาตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารจบหลกั สูตรดงั น้ี
๑. ผา่ นการประเมินและไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด ท้งั ๕ สาระ
การเรียนรู้และไดต้ ามจานวนหน่วยกิจที่กาหนดตามโครงสร้างหลกั สูตร
๒. ผา่ นกระบวนการประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐๐ ชว่ั โมง
๓. ผา่ นกระบวนการประเมินคณุ ธรรม
๔. เขา้ รับการประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ

เอกสำรหลักฐำนกำรศึกษำ
เอกสารหลกั ฐานการศึกษาใหเ้ ป็นไปตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด สถานศึกษาทุกแห่งตอ้ ง ใชเ้ อกสารหลกั ฐานการศึกษาเหมือนกนั เพ่ือประโยชน์ในการส่ือความ

เขา้ ใจที่ตรงกนั และการส่งต่อ ไดแ้ ก่
๑.ระเบียนแสดงผลการเรียน
๒.หลกั ฐานแสดงวุฒิการศึกษา(ประกาศนียบตั ร)
๓.แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา
เอกสารหลกั ฐานการศึกษาอ่ืนๆ สถานศึกษาตอ้ งพิจารณาจดั เพ่ือใชป้ ระกอบการจดั การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช

๒๕๕๑ ตามที่เห็นสมควร เช่น แบบประเมินผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต

วิธกี ำรสร้ำงหน่วยกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร
ข้นั ท่ี ๑ วเิ คราะห์สภาพปัญหาความตอ้ งการเรียนรู้ของผเู้ รียน / ชุมชน สงั คม
ข้นั ท่ี ๒ จดั กล่มุ สภาพปัญหา ความตอ้ งการของผูเ้ รียนและต้งั ช่ือหน่วยการเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๓ วิเคราะห์องคป์ ระกอบของหลกั สูตรและจดั กระบวนการเรียนรู้
ข้นั ที่ ๔ วเิ คราะหส์ าระและมาตรฐานของหลกั สูตรในหมวดวชิ าที่ลงทะเบียนเรียน
ข้นั ที่ ๕ ดึงเน้ือหาสาระที่คลา้ ยคลึงกนั และสอดคลอ้ งกบั ช่ือหน่วยการเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๖ คิดประเด็น / ปัญหา จากเน้ือหาสาระ
ข้นั ท่ี ๗ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๘ นาหน่วยการเรียนรู้ไปจดั ทาแผนการเรียนรู้รายภาค อยา่ งนอ้ ย ๑๘ คร้ัง
ข้นั ที่ ๙ สาระที่เหลือจากการทาหน่วยการเรียนรู้ นามาจดั ทาแผนการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง แผนการเรียนรู้ดว้ ยการสอนเสริม แผนการเรียนรู้โดยการทาโครงงาน แผนการ

เรียนรู้โดยการทาโครงการ ฯลฯ

ท่ี สำระ วิชำที่ลงทะเบียน ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒ หน่วยกติ
วชิ ำบงั คบั
๒ การประกอบอาชีพ ๒
๓ ทกั ษะการดาเนินชีวิต รำยวิชำ ๑
๔ การพฒั นาสังคม ๑
อช ๓๑๐๐๓ พฒั นาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คง ๔
วิชำบังคบั ทช ๓๑๐๐๑ เศรษฐกิจพอเพียง
สค ๓๑๐๐๓ การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม หน่วยกติ
ท่ี สำระ
รวม ๓
๑ ทกั ษะการเรียนรู้ วชิ ำเลือก ๔
๒ ความรู้พ้นื ฐาน(คณิตศาสตร์) ๒
๓ ความรู้พ้นื ฐาน(ภาษาต่างประเทศ) รำยวิชำ ๙

วิชำเลือก ทร ๐๒๐๐๖ โครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
พค ๓๓๐๑๒ คณิตศาสตร์เพื่อการศึกษาต่อ 2
พต๓๒๐๑๘ ภาษาองั กฤษอ่าน – เขยี น 6

รวม

ปฏทิ ินกำรจดั กำรเรียนรู้ กศน.แบบบูรณำกำร

คร้ังท่ี วนั /เดือน/ปี กจิ กรรม รูปแบบกำรจดั กจิ กรรม สถำนที่

๑ ๒๐ พย. ๖๒ ปฐมนเิ ทศ โครงการ กศน.ตาบล ทกุ ตาบล

๑. แนะนาสถานศึกษา/กศน.ตาบล/ครู กศน.ตาบล

๒. การสมคั รข้ึนทะเบียน/ลงทะเบียนของนกั ศึกษา

๓. โครงสร้างหลกั สูตร

๔. กระบวนการจดั การเรียนรู้

๕. กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ของหลกั สูตร

๖. การเทียบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานระดบั สูง

๒ ๒๗ พย. ๖๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพม่ันคง การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล
การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล
- ศกั ยภาพธุรกิจ การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล

๓ ๔ ธค. ๖๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพม่ันคง

- การจดั ทาแผนพฒั นาการตลาด

๔ ๑๑ ธค. ๖๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพม่ันคง

- การจดั ทาแผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการ

๕ ๑๘ ธค. ๖๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพมั่นคง การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล
- การพฒั นาธุรกิจเชิงรุก การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล
การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล
๖ ๒๕ ธค. ๖๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพม่ันคง
- การวิเคราะห์แผนและโครงการอาชีพ

๗ ๒ มค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพมั่นคง
- การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ

ปฏทิ ินกำรจัดกำรเรียนรู้ กศน.แบบบูรณำกำร

คร้ังที่ วัน/เดือน/ปี กจิ กรรม รูปแบบกำรจัดกจิ กรรม สถำนท่ี
กศน.ตาบล
๘ ๘ มค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพม่ันคง การจดั การเรียนการ
กศน.ตาบล
- การเตรียมการวางแผนและข้นั ตอนกระบวนการทาโครงงานเพอ่ื พฒั นา สอน กศน.ตาบล
ทกั ษะการเรียนรู้ กศน.ตาบล
กศน.ตาบล
๙ ๙ มค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๒ ชุมชนพอเพยี ง การจดั การเรียนการ
กศน.ตาบล
- ชุมชนพอเพียง สอน กศน.ตาบล
กศน.ตาบล
๑๐ ๑๖ มค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๒ ชุมชนพอเพยี ง การจดั การเรียนการ กศน.ตาบล

- การแกป้ ัญหาชุมชน สอน

๑๑ ๒๓ มค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนพอพยี ง การจดั การเรียนการ

- สถานการณ์ประเทศไทยกบั ความพอเพยี ง สอน

๑๒ ๓๐ มค ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๒ ชุมชนพอเพยี ง การจดั การเรียนการ

- การการประกอบอาชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอน

๑๓ ๖ กพ. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ ชุมชนน่ำอยู่ การจดั การเรียนการ

- การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คมจดั ทาแผนพฒั นา สอน

๑๔ ๑๒ กพ. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๓ ชุมชนน่ำอยู่ การจดั การเรียนการ

- การจดั เก็บขอ้ มูลและวิเคราะห์ขอ้ มลู สอน

๑๕ ๑๓ กพ. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๓ ชุมชนน่ำอยู่ การจดั การเรียนการ

- การมีส่วนร่วมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม สอน

๑๖ ๒๐ กพ. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ ชุมชนน่ำอยู่ การจดั การเรียนการ

- บทบาทหนา้ ท่ีของผนู้ าสมาชิกที่ดีของชุมชน สงั คม สอน

ปฏิทนิ กำรจัดกำรเรียนรู้ กศน.แบบบูรณำกำร

คร้ังท่ี วนั /เดือน/ปี กจิ กรรม รูปแบบกำรจัดกจิ กรรม สถำนท่ี
การจดั การเรียนการ กศน.ตาบล
๑๗ ๒๗ กพ. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๔ ภำษำทำงคณติ
สอน กศน.ตาบล
- ภาษาองั กฤษอ่าน-เขยี น
การจดั การเรียนการ กศน.ตาบล
๑๘ ๕ มีค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๔ ภำษำทำงคณิต สอน

- ความสมั พนั ธ์เชิงฟังชนั ระหว่างขอ้ มลู การจดั การเรียนการ
สอน
๑๙ ๑๒ มีค. ๖๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ ภำษำทำงคณติ

- การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเบ้ืองตน้

๒๐ - ปัจฉิมนเิ ทศ

ตำรำงวิเครำะห์สำระกำรเรียนรู้
รำยวชิ ำ พฒั นำอำชีพให้มคี วำมมน่ั คง อช ๓๑๐๐๓

ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย

สำระสำคัญ
การพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง จาเป็นตอ้ งศึกษา วิเคราะห์ศกั ยภาพของธุรกิจแลว้ จดั ทาแผนพฒั นากระบวนการตลาด กระบวนการการผลิตหรือการบริการ

กาหนดระบบกากบั ดูแลเพื่อใหอ้ าชีพสู่ความมน่ั คง

ตวั ชี้วัด

ขยายอาชีพ 1. อธิบายความหมาย ความสาคญั ความเขา้ ใจในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีผลิตภณั ฑห์ รืองานบริการ สร้างรายไดพ้ อเพยี งตอ่ การดารงชีวิต มีเงินออมและมีทุนในการ

2. วิเคราะหศ์ กั ยภาพธุรกิจ การตลาด การผลิตหรือการบริการ แผนธุรกิจ เพ่ือสร้างธุรกิจใหม้ ีความมน่ั คง
3. อธิบายวธิ ีการตรวจสอบการพฒั นาอาชีพใหเ้ ขา้ สู่ความมนั่ คง
4. ปฏิบตั ิการจดั ทาแผนโครงการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง

ตำรำงวเิ ครำะห์สำระกำรเรียนรู้
รำยวชิ ำ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช ๓๑๐๐๑

ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย

สำระสำคญั
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ทรงพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และการปฎิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ให้

ดาเนินชีวติ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพอื่ ให้กา้ วทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภิวฒั น์ ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็น
ท่ีจะตอ้ งมีระบบภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควรต่อผลกระทบใดๆอนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้งั ภายในและภายนอก ท้งั น้ีจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบครอบและความ
ระมดั ระวงั อยา่ งยงิ่ ในการนาวชิ าการต่างๆมาใชใ้ นการวางแผนและดาเนินการทุกข้นั ตอน และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติให้มีสานึกในคณุ ธรรม
ความซื่อสัตยส์ ุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดาเนินชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบครอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกวา้ งขวาง ท้งั ดา้ นวตั ถุ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้ พร้อมท้งั สามารถนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปใชป้ ระกอบอาชีพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ตัวชีว้ ัด

๑. อธิบายแนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสาคญั ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้
๒. บอกแนวทางในการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิต
๓. เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ิตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
๔. ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งในการดาเนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในชุมชน
๕. เผยแพร่หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหช้ ุมชนเห็นคุณคา่ แลว้ นาไปปฏิบตั ิในการดาเนินชีวิต
๖. มีส่วนร่วมในชุมชนในการปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๗. สามารถนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชป้ ระกอบอาชีพได้

ตำรำงวเิ ครำะห์สำระกำรเรียนรู้
รำยวชิ ำ กำรพฒั นำตนเอง ชุมชน สังคม สค ๓๑๐๐๓

ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย

สำระสำคัญ
การพฒั นาตนเอง เป็นการพฒั นาความสามารถของตนเองใหม้ ีศกั ยภาพ สมรรถนะที่ทนั ต่อสภาพความจาเป็นตามความกา้ วหนา้ และการเปล่ียนแปลงของสังคม

เพื่อให้ตนเองมีชีวิตท่ีดีข้ึน ดงั น้นั การท่ีจะพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมไดจ้ ะตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ความสาคญั ของขอ้ มูล
ประโยชน์ของขอ้ มูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ในดา้ นต่างๆ รู้วิธีการจดั เก็บ วิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย และการเผยแพร่ขอ้ มูล การมีส่วนร่วมในการวางแผน
พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม รู้เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจดั ทาแผนครอบครัว ชุมชน สังคม เขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่ของผนู้ าชุมชน ในฐานะผนู้ า และผตู้ ามในการจดั ทา
และขบั เคลื่อน แผนพฒั นาตนเอง ชุมชนและสังคม

ตวั ชีว้ ดั
๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถมีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม
๒. บอกความหมายและความสาคญั ของแผนชีวิต และชุมชน สงั คม
๓. วิเคราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ดว้ ยเทคนิคและวิธีการที่หลากหลาย
๔. จูงใจใหส้ มาชิกของชุมชนมีส่วนร่วมในการจดั ทาแผนชีวิต และแผนชุมชน สงั คมได้
๕. เป็นผนู้ าผตู้ ามในการจดั ทาประชาคม ประชาพิจารณ์ชุมชน
๖. กาหนดแนวทางในการดาเนินการเพื่อนาไปสู่การทาแผนชีวติ ครอบครัว ชุมชน สงั คม
๗. ร่วมพฒั นาแผนชมุ ชนตามข้นั ตอน

ตำรำงวิเครำะห์สำระกำรเรียนรู้
รำยวชิ ำ โครงงำนเพ่ือพฒั นำทักษะกำรเรียนรู้ ทช 02006

ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย

สำระสำคญั
หลกั การและแนวคิดของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ความหมายของโครงงานเพื่อพฒั นา ทกั ษะการเรียนรู้ประเภทของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ

เรียนรู้การเตรียมการ วางแผนและข้นั ตอน กระบวนการจดั ทาโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ทกั ษะและกระบวนการท่ีจาเป็นในการทาโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
(การหาขอ้ มลู การเลือกใชข้ อ้ มูล การจดั ทาขอ้ มูล การนาเสนอขอ้ มลู การพฒั นาต่อ ยอดความรู้) การสะทอ้ นความคดิ เห็นต่อโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้

ตวั ชีว้ ัด

1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การและ แนวคดิ โครงงาน ความหมายของโครงงาน เพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรียนรู้ ประเภทของโครงงาน การเตรียมการทาโครงงาน ทกั ษะและ
กระบวนการในการทา โครงงาน

2. มีความสามารถ ในการดาเนินการทา โครงงาน และสะทอ้ น ความคิดเห็นต่อโครงงาน
3.มีเจตคติท่ีดี ตอ่ การทาโครงงานและ เห็นคณุ ค่าของโครงงาน

ตำรำงวเิ ครำะห์สำระกำรเรียนรู้
รำยวิชำ ภำษำองั กฤษอ่ำน - เขยี น ๖ พต ๓๒๐๑๘

ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย

สาระสาคญั
การเพมิ่ พนู ทกั ษะทางดา้ นการอา่ น - การเขียนที่มีประสิทธิภาพน้นั ผเู้ รียนจะตอ้ งไดร้ ับการฝึกฝนโดย ใหอา่ นบทความ เรื่องส้ัน ต่าง ๆ รวมท้งั เน้ือเรื่องท่ีเขยี น

เผยแพร่ในหนงั สือพิมพ์ วารสาร ท้งั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั วิชาการ บนั เทิง และการใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั สถานท่ี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เกี่ยวกบั ประเทศไทย วฒั นธรรมไทย เพื่อให้
ผเู้ รียนไดม้ ีความรู้ทางดา้ นคาศพั ทส์ านวนรูปประโยคอยา่ งลึกซ้ึงและกวา้ งขวางจนสามารถนาไป เขียนแสดงความคดิ เห็นไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

ตวั ช้ีวดั
๑. ผเู้ รียนสามารถฝึกอ่านอยา่ งวพิ ากษว์ จิ ารณ์ได้
๒. เพม่ิ พูนความรู้เรื่องโครงสร้างคาศพั ท์ และสานวนตา่ ง ๆ จากการอ่านบทความ เอกสาร จาก วารสารต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการ และเอกชนท้งั ในและ

ตา่ งประเทศ
๓. เขยี นจดหมายส่วนตวั จดหมายสมคั รงาน จดหมายเชิญ โนต้ ยอ่ และเรียงความส้ันๆ ได้

ตำรำงวิเครำะห์สำระกำรเรียนรู้
รำยวิชำ คณิตศำสตร์ พค ๓๓๐๑๒

ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย

สำระสำคญั
เวกเตอร์ในสามมิติ เวกเตอร์ การบวกเวกเตอร์ การลบเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ดว้ ยสเกลาร์ ผลคูณเชิงสเกลาร์ ผลคูณเชิงเวกเตอร์และการนาไปใชก้ ราฟเบ้ืองตน้

กราฟ กราฟออยเลอร์ การประยกุ ตข์ องกราฟ ความน่าจะเป็น กฏเกณฑเ์ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การนบั วิธีเรียงสบั เปล่ียนวิธีจดั หมู่ ทฤษฎีบท ทวินาม ความน่าจะเป็นและกฎที่สาคญั บาง
ประการของความน่าจะเป็น การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ค่ากลางของขอ้ มูล การวดั ตาแหน่งของขอ้ มูล การวดั การกระจายของ ขอ้ มูลการแจกแจงปกติ ค่ามาตรฐาน การแจกแจง
ปกติและเส้นโคง้ ปกติ ความสมั พนั ธเ์ ชิงฟังกช์ นั ระหวา่ งขอ้ มูล แผนภาพการกระจาย ระเบียบวธิ ีกาลงั สองนอ้ ยที่สุด สมการปกติ ความสมั พนั ธ์เชิงฟังกช์ นั และขอ้ มลู ในรูปอนุกรม
เวลา ลาดบั อนนั ตแ์ ละอนุกรมอนนั ต์ ลิมิตของลาดบั สัญลกั ษณ์แทนการบวกผลบวกของอนุกรม ผลบวกของอนุกรมอนนั ตแ์ ละการนาไปใช้ แคลคูลสั เบ้ืองตน้ ลิมิตของฟังก์ชนั
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ความชัน ของเส้นโคง้ การหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิตโดยใช้สูตร อนุพนั ธ์ของฟังก์ชันประกอบ (Composite Function)
อนุพนั ธ์อนั ดบั สูง การประยุกตข์ องอนุพนั ธ์ ปริพนั ธ์ ปริพนั ธ์ไม่จากดั เขต ปริพนั ธ์ จากดั เขตพ้ืนท่ีท่ีปิ ดลอ้ มดว้ ยเส้นโคง้ กาหนดการเชิงเส้น กราฟของระบบอสมการ การหาจุด
ยอดมมุ ของกราฟของระบบอสมการ การหาค่าสูงสุดหรือตา่ํ สุดของอสมการจุดประสงคแ์ ละการนาไปใช้

ตัวชีว้ ดั

๑. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั เวกเตอร์ในสองมิติและสามมิติ
๒. หาผลบวกและผลลบของเวกเตอร์ ผลคณู เวกเตอร์ดว้ ยสเกลาร์ ผลคณู เชิงสเกลาร์และหาผลคูณเชิงเวกเตอร์ได้
๓. หาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ท่ีกาหนดใหไ้ ด้
๔. นาความรู้เร่ืองเวกเตอร์ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาบางประการได้
๕. เขียนกราฟเมื่อกาหนดจุด(VERTEX)และเสน้ (EDGE) ให้
๖. ระบไุ ดว้ า่ กราฟที่กาหนดใหเ้ ป็นกราฟออยเลอร์หรือไม่
๗. นาความรู้เรื่องกราฟไปใชก้ ฎเกณฑเ์ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การนบั วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวธิ ีจดั หมวดหมู่
๘. แกโ้ จทยป์ ัญหาโดยใชก้ ฎเกณฑเ์ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การนบั วิธีเรียงสับเปล่ียนและวธิ ีจดั หมู่

๙. นาความรู้เร่ืองทฤษฎีบททวินามไปใชไ้ ด้
๑๐. หาความน่าจะเป็นของเหตกุ ารณ์ท่ีกาหนดใหไ้ ด้
๑๑. เลือกวธิ ีวิเคราะห์ขอ้ มลู เบ้ืองตน้ และอธิบายผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลไดถ้ กู ตอ้ ง
๑๒. นาความรู้เรื่องการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไปใชไ้ ด้
๑๓. นาความรู้เรื่องคา่ มาตรฐานไปใชใ้ นการเปรียบเทียบขอ้ มลู
๑๔. หาพ้ืนท่ีไดเ้ สน้ โคง้ ปกติและนาความรู้เกี่ยวกบั พ้ืนที่ไดเ้ สน้ โคง้ ปกติไปใชไ้ ด้
๑๕. เขา้ ใจความหมายของการ สร้างความสัมพนั ธ์เชิงฟังกช์ นั ของขอ้ มูลท่ีประกอบดว้ ยสองตวั แปร
๑๖. สร้างความสัมพนั ธ์เชิงฟังกช์ น่ั ของขอ้ มลู ที่ประกอบดว้ ยสองตวั แปรและทานายค่าตวั แปรตามเมื่อกาหนดตวั แปรอิสระให้
๑๗. สร้างความสมั พนั ธ์เชิงฟังกช์ นั ของขอ้ มลู ท่ีอยใู่ นรูปอนุกรมเวลาและทานายค่าตวั แปรตามเม่ือกาหนดตวั แปรอิสระให้
๑๘. หาลิมิตของลาดบั อนนั ตโ์ ดยอาศยั ทฤษฎีบทเกี่ยวกบั ลิมิต
๑๙. หาผลบวกของอนุกรมอนนั ตไ์ ด้
๒๐. นาความรู้เร่ืองลาดบั และอนุกรมไปใชแ้ กป้ ัญหาได้
๒๑. หาลิมิตของฟังกช์ นั ที่กาหนดใหไ้ ด้
๒๒. บอกไดว้ า่ ฟังกช์ นั ที่กาหนดใหเ้ ป็นฟังกช์ นั ต่อเนื่องหรือไม่
๒๓. หาอนุพนั ธ์ของฟังกช์ นั ได้

๒๔. นาความรู้เร่ืองอนุพนั ธ์ของฟังกช์ นั ไปประยกุ ตไ์ ด้

๒๕. หาปริพนั ธ์ไม่จากดั เขตของฟังกช์ นั ที่กาหนดใหไ้ ด้
๒๖. หาปริพนั ธ์จากดั เขตของฟังกช์ นั บนช่วงที่กาหนดใหแ้ ละหาพ้นื ท่ี ที่ปิ ดป้อมดว้ ยเส้นโคง้ บนช่วงท่ีกาหนดให้ได้
๒๗. แกป้ ัญหาโดยสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์และใชว้ ิธีการ ของกาหนดการเชิงเสน้ ที่ใชก้ ราฟของสมการและอสมการท่ีมีสองตวั แปร

ตำรำงวิเครำะห์สำระกำรเรียนรู้

คร้ังที่ หวั เรื่อง รำยละเอยี ดเนื้อหำ เวลำ ระดบั ควำมยำกง่ำย หมำยเหตุ
(ช่ัวโมง) ง่ำย ยำก ยำกมำก
(ศึกษำด้วย (ครูสอน) (สอน
ตนเอง) เสริม)

๑ ปฐมนิเทศ

๒ อำชีพมัน่ คง ๖✓
๖✓
- ศกั ยภาพธุรกิจ ๖ ✓✓
๖✓
๓ อำชีพม่ันคง

- การจดั ทาแผนพฒั นาการตลาด

๔ อำชีพมั่นคง

- การจดั ทาแผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการ

๕ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ อำชีพมน่ั คง

“ อำชีพม่ันคง” - การพฒั าธุรกิจเชิงรุก

๖ อำชีพมน่ั คง ๖✓
- การวเิ คราะห์แผนและโครงการอาชีพ ๖✓

๗ อำชีพมั่นคง
- การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ

๘ อำชีพมั่นคง ๖ ✓✓
- การเตรียมการวางแผนและข้นั ตอนกระบวนการทา

โครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้

ตำรำงวเิ ครำะห์สำระกำรเรียนรู้

คร้ังที่ หวั เรื่อง รำยละเอยี ดเนื้อหำ เวลำ ระดับควำมยำกง่ำย หมำยเหตุ
(ชั่วโมง) ง่ำย ยำก ยำกมำก
๙ ชุมชนพอเพยี ง (ศึกษำด้วย (ครูสอน) (สอน
- ชุมชนพอเพียง ๖ ตนเอง) เสริม)

๑๐ ชุมชนพอเพยี ง ✓✓
- การแกป้ ัญหาชุมชน
๖✓
๑๑ ชุมชนพอเพยี ง
- สถานการณ์ประเทศไทยกบั ความพอเพยี ง ๖✓

๑๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๒ ชุมชนพอเพียง ๖✓
“ ชุมชนพอเพยี ง” - การประกอบอาชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๖ ✓✓
๑๐ อำชีพมน่ั คง
- การจดั ทาแผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการ ๖✓

๑๑ อำชีพมั่นคง ๖✓
- การพฒั นาธุรกิจเชิงรุก

๑๒ อำชีพมน่ั คง
- การวิเคราะหแ์ ผนและโครงการอาชีพ

ตำรำงวิเครำะห์สำระกำรเรียนรู้

คร้ังที่ หวั เร่ือง รำยละเอยี ดเนื้อหำ เวลำ ระดับควำมยำกง่ำย หมำยเหตุ
(ชั่วโมง) ง่ำย ยำก ยำกมำก
(ศึกษำด้วย (ครูสอน) (สอน
ตนเอง) เสริม)

๑๓ ชุมชนน่ำอยู่ ๖✓
- การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงคม ๖✓

๑๔ ชุมชนน่ำอยู่ ๖✓
- การจดั เกบ็ ขอ้ มลู และวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๖✓
๖✓
๑๕ ชุมชนน่ำอยู่ ๖✓
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ - การมีส่วนร่วมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว
“ชุมชนน่ำอย่”ู ชุมชน สงคม

๑๖ ชุมชนน่ำอยู่
- บทบาทหนา้ ท่ีของผนู้ าสมาชิกที่ดีของชุมชน สังคม

๑๗ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ ภำษำทำงคณติ
“ ภำษำทำงคณติ ” - ภาษาองั กฤษอา่ น – เขียน

๑๘ ภำษำทำงคณติ
- ความสัมพนั ธเ์ ชิงฟังชนั ระหว่างขอ้ มลู

๑๙ ภำษำทำงคณติ
- การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เบ้ืองตน้

๒๐ ปัจฉิมนเิ ทศ

แผนกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเมก็ จงั หวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ ตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ที่ ประเดน็ /ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ ส่ือ/อุปกรณ์ กำรวดั ผล/
ว/ด/ป หวั เร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ช่ัวโมง คำดหวังหรือวตั ถปุ ระสงค์ สิ่งที่ควรรู้ (สอนเสริม/พบกลุ่ม/โครงงำน/ บนั ทกึ หลงั กำร
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ ONIE ๑.แผน่ พบั
โครงสร้าง เรียนรู้
MODEL) หลกั สูตรการ
จดั การศึกษา ข้นั ท่ี ๔ กำรวัด
คร้ังท่ี หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ๑. รู้และเขา้ ใจหลกั สูตร๑วธิ ี ๑. ปฐมนิเทศนกั ศึกษา (พบกล่มุ ONIE MODEL) ๒.เครื่องโปร ประเมินผลกำร
เจค็ เตอร์ เรียนรู้
๑ ระบบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เรียน๑การจดั การเรียนการสอน กศน.ตาบล เพื่อช้ีแจง ข้นั ที่ ๑ กำหนดสภำพปัญหำ ควำม ๑.ครูสรุป
สาระสาคญั การ
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒. รู้และเขา้ ใจการทากิจกรรม กระบวนการเรียนการ ต้องกำรเรียนรู้ จดั กิจกรรมการ
เรียนรู้
๑. วธิ ีเรียน กพช. สอน ขอ้ ตกลงในการ -ครูและผเู้ รียนร่วมกนั สร้างความ ๒.แบบ
ประเมินความ
๒. กระบวนการจดั การเรียนการ ๓. อธิบายกระบวนการเรียนรู้ พบกลุ่ม วเิ คราะห์ เขา้ ใจหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ พงึ พอใจ

สอน ตามหลกั สูตรการศึกษานอก เน้ือหาความยาก ง่าย ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
๓. การวดั ผลประเมินผล ระบบระดบั การศึกษาข้นั ร่วมกนั ระหวา่ งครูกบั พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๔. นโยบาย จุดเนน้ ของ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ นกั เรียน ข้ันท่ี ๒ แสวงหำข้อมูลและกำรจัด
สถานศึกษา ๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ๒. แนวทางการจบ
โครงการ จุดเนน้ นโยบายของ การศึกษา แนวทางเทียบ กจิ กรรมกำรเรียนรู้
สถานศึกษาได้ โอน วธิ ีการศึกษาตลอด -ผเู้ รียนใชท้ กั ษะการเรียนรู้ ศึกษา
๕. อธิบายการจดั การเรียนรู้ หลกั สูตร เกณฑก์ ารจบ คน้ ควา้ ดว้ ยตนเองจากคู่มือนกั ศึกษา
แบบบูรณาการ การศึกษา กิจกรรมของ แหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปัญญา อินเทอร์เน็ต
สถานศึกษา และสื่อตา่ งๆในเร่ือง
- โครงสร้างหลกั สูตร

- โครงงาน

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มัธยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จงั หวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ หวั เรื่อง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตัวชีว้ ัด/ผลกำรเรียนรู้ท่คี ำดหวัง ประเด็น/ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ สื่อ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป หรือวตั ถุประสงค์ สิ่งทค่ี วรรู้ (สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บันทึกหลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกลุ่ม กำรเรียนรู้

ONIE MODEL)

- วิธีจดั กระบวนการเรียนรู้

- การร่วมกิจกรรมต่างๆ

-การจบหลกั สูตร

- การประเมินระดบั ชาติ

- กิจกรรม กพช.

ข้นั ท่ี ๓ กำรปฏบิ ัติและนำไป

ประยุกต์ใช้

๑.ครูและผเู้ รียนสรุปสาระสาคญั

และนาความรู้เป็ นแนวทางในการ

เรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั การดาเนิน

ชีวติ

๒.ผเู้ รียนคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูล จด

บนั ทึกลงในคมู่ ือนกั ศึกษา

บนั ทกึ หลงั กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้

กจิ กรรมกำรเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

สภำพปัญหำทพ่ี บ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

วธิ กี ำรแก้ปัญหำ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ควำมคดิ เหน็ ของผ้บู ริหำร
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ………………………….ผบู้ นั ทึก ลงช่ือ...........................................ผบู้ ริหารสถานศึกษา
() ( นางเกศรัตน์ ภกู ิ่งเงิน )

ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหว้ ยเมก็

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........
ศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ หัวเร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ช่ัวโมง ตวั ชีว้ ัด/ผลกำรเรียนรู้ทค่ี ำดหวัง ประเด็น/ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ (สอนเสริม/พบกล่มุ / สื่อ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป หรือวัตถปุ ระสงค์ ส่ิงท่คี วรรู้ โครงงำน/โครงกำร) (ตนเอง) (พบ บนั ทกึ หลังกำร
กล่มุ ONIE MODEL)
เรียนรู้

คร้ังท่ี หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ ผลกำรเรียนรู้ท่คี ำดหวัง ประเดน็ /ปัญหำ วิธกี ำรเรียนรู้ ส่ือ ข้นั ท่ี ๔ กำร
(พบกล่มุ ONIE MODEL) ๑.แบบเรียน
๒ “อำชีพม่ันคง” ๑. อธิบายความหมาย ๑. ผเู้ รียนคิดวา่ เร่ือง วิชาการพฒั นา วดั
(...../...../....) รำยวชิ ำ กำรพฒั นำอำชีพให้มี ข้นั ท่ี ๑ กำหนดสภำพปัญหำ อาชีพใหม้ ี
ความสาคญั และความจาเป็น ศกั ยภาพธุรกิจเป็นเร่ือง ความมน่ั คง ประเมนิ ผล
ควำมมั่นคง (อช ๓๑๐๐๓) ควำมต้องกำรเรียนรู้ (อช ๓๑๐๐๓)
เรื่อง ศกั ยภาพธุรกิจ ของการพฒั นาอาชีพเพอ่ื ความ ไกลตวั ๑. ครูกล่าว และนาเขา้ สู่บทเรียน ๒. ใบความรู้ กำรเรียนรู้
โดยซกั ถามความเขา้ ใจในเร่ือง ๓. ใบงาน - ครูและ
ขอบข่ำยเนื้อหำ มน่ั คง ๒. ผเู้ รียนไม่มีความรู้ ความสาคญั และความจาเป็นของ ๔.ศึกษาคน้ ควา้ ผเู้ รียนร่วมกนั
- ศกั ยภาพธุรกิจ การพฒั นาอาชีพเพ่อื ความมน่ั คง จาก Internet ประเมิน
๖ ชวั่ โมง ๒. อธิบายความจาเป็นของ ศกั ยภาพธุรกิจ และความจาเป็ นของการวิเคราะห์ ๕.ส่ือ แหลง่ ความรู้ ความ
ศกั ยภาพธุรกิจ เรียนรู้ เขา้ ใจและ
การวิเคราะหศ์ กั ยภาพธุรกิจ ๓.ผเู้ รียนคิดวา่ เป็นเร่ืองที่ ๒. ครูมอบใบความรู้ หอ้ งสมดุ ทกั ษะการ
นาไปใชต้ าม
๓. วิเคราะห์ตาแหน่งธุรกิจ ยากเกินไปสาหรับตนเอง ข้ันท่ี ๒ แสวงหำข้อมูลและกำรจัด เกณฑท์ ่ี
กาหนดไว้
๔. วิเคราะห์ศกั ยภาพของ กจิ กรรมกำรเรียนรู้
๑. ครูแบง่ กล่มุ นกั ศึกษาออกเป็น ๓
ธุรกิจบนเสน้ ทางของเวลาตาม กล่มุ คน้ ควา้ ทางอินเตอร์เน็ต

ศกั ยภาพของแตล่ ะพ้นื ท่ี

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จงั หวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังท่ี หวั เรื่อง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ที่ ประเด็น/ปัญหำ วิธีกำรเรียนรู้ สื่อ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป คำดหวังหรือวัตถุประสงค์ สิ่งทค่ี วรรู้ (สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บันทกึ หลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ กำรเรียนรู้

ONIE MODEL) - จากการ
นาเสนอใน
อภิปรายในกลมุ่ และส่งตวั แทน ช้นั เรียน
ออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียนในเรื่อง - บนั ทึกการ
การวิเคราะห์ตาแหน่งธุรกิจ และการ เรียนรู้
วเิ คราะห์ศกั ยภาพของธุรกิจบน
เสน้ ทางของเวลาตามศกั ยภาพของ
แตล่ ะพ้นื ที่
๒. ครูอธิบายเพม่ิ เติมและให้
นกั ศึกษาทาใบงาน

ข้นั ท่ี ๓ กำรปฏิบัติและนำไป

ประยุกต์ใช้
๑.ครูใหน้ กั ศึกษาออกมานาเสนอ

ตามท่ีครูมอบหมาย กลุ่มละ ๑๐

นาที

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จงั หวดั กำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ หัวเร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตัวชีว้ ัด/ผลกำรเรียนรู้ที่ ประเด็น/ปัญหำ วิธกี ำรเรียนรู้ ส่ือ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป คำดหวงั หรือวัตถปุ ระสงค์ สิ่งที่ควรรู้ (สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บนั ทกึ หลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ กำรเรียนรู้

ONIE MODEL)

๒.ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุป

เน้ือหาท่ีนกั ศึกษานาเสนอพร้อมเปิ ด

โอกาสใหน้ กั ศึกษาซกั ถามในเน้ือหา

ท่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจ

๓.ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั เฉลยใบ

งานและอธิบายเพ่ิมเติมในขอ้ ที่

ผเู้ รียนทาผิด

๔.ครูมอบหมายใหผ้ เู้ รียนศึกษา

คน้ ควา้ เพมิ่ เติมในเน้ือหาท่ีเรียนและ

ศึกษาลว่ งหนา้ ในหวั ขอ้ ท่ีจะเรียนใน

คร้ังต่อไป

บนั ทกึ หลงั กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้

กจิ กรรมกำรเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

สภำพปัญหำท่ีพบ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

วิธีกำรแก้ปัญหำ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ควำมคิดเหน็ ของผ้บู ริหำร
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ………………………….ผบู้ นั ทึก ลงช่ือ...........................................ผบู้ ริหารสถานศึกษา
() ( นางเกศรัตน์ ภกู ่ิงเงิน )

ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหว้ ยเมก็

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มัธยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จงั หวดั กำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ ตัวชี้วดั /ผลกำรเรียนรู้ที่ ประเด็น/ปัญหำ วิธีกำรเรียนรู้ ส่ือ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป หวั เรื่อง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง คำดหวงั หรือวัตถปุ ระสงค์ สิ่งท่คี วรรู้ (สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บันทกึ หลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกลุ่ม ONIE กำรเรียนรู้

MODEL) ข้นั ท่ี ๔ กำร
วดั
คร้ังท่ี หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ ผลกำรเรียนรู้ทคี่ ำดหวงั ประเด็น/ปัญหำ วิธีกำรเรียนรู้ สื่อ ประเมินผล
กำรเรียนรู้
๓ “อำชีพม่ันคง” ๑. กาหนดทิศทางและ ๑. นกั ศึกษาไม่มีความรู้ (พบกล่มุ ONIE MODEL) ๑.แบบเรียน - ครูและ
ผเู้ รียน
(...../...../....) รำยวิชำ กำรพฒั นำอำชีพให้มี เป้าหมายการตลาดของสินคา้ ในเร่ืองการจดั ทา ข้นั ที่ ๑ กำหนดสภำพปัญหำ ควำม วชิ าการ ร่วมกนั
แผนพฒั นาการตลาด ประเมิน
ควำมมน่ั คง (อช ๓๑๐๐๓) หรือบริการได้ ๒. นกั ศึกษาคดิ วา่ ไมม่ ี ต้องกำรเรียนรู้ พฒั นาอาชีพ ความรู้ ความ
ความจาเป็นตอ้ งเรียนใน เขา้ ใจและ
เร่ือง - การจดั ทาแผนพฒั นา ๒. กาหนดและวิเคราะห์กล เน้ือหาน้ี ๑. ครูกล่าวทกั ทายช้ีแจงวตั ถุประสงค์ ใหม้ ีความ ทกั ษะการ
การเรียนรู้ และทบทวนเน้ือหาเดิม มน่ั คง นาไปใชต้ าม
การตลาด ยทุ ธ์สู่เป้าหมาการตลาดได้ โดยการสุ่มถามนกั ศึกษารายบุคคลใน (อช เกณฑท์ ่ี
กาหนดไว้
ขอบข่ำยเนื้อหำ ๓. การกาหนดกิจกรรมและ เน้ือหาที่พบกลมุ่ คร้ังท่ีผา่ นมา

๖ ชวั่ โมง - การจดั ทาแผนพฒั นาการตลาด แผนการพฒั นาการตลาด ๒. ครูมอบใบความรู้ ๓๑๐๐๓)

๒. ใบ

ข้ันท่ี ๒ แสวงหำข้อมูลและกำรจดั ความรู้

กจิ กรรมกำรเรียนรู้ ๓. ใบงาน

๑. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนและอธิบายเรื่อง ๔.ศึกษา

๑.๑ การกาหนดคณุ ภาพผลผลิต คน้ ควา้ จาก

หรือการบริการ Internet

๑.๒ การวเิ คราะห์ทุนปัจจยั การ

ผลิต

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จงั หวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ หัวเร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตวั ชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง ประเดน็ /ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ ส่ือ/อุปกรณ์ กำรวดั ผล/
ว/ด/ป หรือวตั ถุประสงค์ สิ่งที่ควรรู้ (สอนเสริม/พบกลุ่ม/โครงงำน/ บันทกึ หลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกลุ่ม กำรเรียนรู้

ONIE MODEL) - จากการ
นาเสนอใน
๑.๓ การกาหนดเป้าหมายการผลิต ๕.สื่อ แหล่ง ช้นั เรียน
- บนั ทึกการ
หรือการบริการ เรียนรู้ เรียนรู้

๒. ครูเปิ ดโอกาสใหน้ กั ศึกษา หอ้ งสมดุ

ซกั ถามในเรื่องท่ียงั ไม่เขา้ ใจ

๓. ครูใหน้ กั ศึกษาทาใบงาน

ข้นั ที่ ๓ กำรปฏิบัติและนำไป

ประยกุ ต์ใช้

๑.ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั เฉลยใบ

งานและอธิบายเพ่ิมเติมในขอ้ ที่

ผเู้ รียนทาผิด

๒.ครูมอบหมายใหผ้ เู้ รียนศึกษา

คน้ ควา้ เพ่ิมเติมในเน้ือหาท่ีเรียนและ

ศึกษาล่วงหนา้ ในหวั ขอ้ ที่จะเรียนใน

คร้ังต่อไป

บันทกึ หลงั กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้

กจิ กรรมกำรเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

สภำพปัญหำท่พี บ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

วธิ กี ำรแก้ปัญหำ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ควำมคิดเหน็ ของผ้บู ริหำร
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ………………………….ผบู้ นั ทึก ลงชื่อ...........................................ผบู้ ริหารสถานศึกษา
() ( นางเกศรัตน์ ภูกิ่งเงิน )

ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหว้ ยเมก็

แผนกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเมก็ จงั หวดั กำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ วิธีกำรเรียนรู้ กำรวดั ผล/
(สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บันทกึ หลงั
ว/ด/ป หัวเร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ช่ัวโมง ตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ทคี่ ำดหวงั ประเดน็ /ปัญหำ โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ ONIE ส่ือ/อุปกรณ์ กำรเรียนรู้
หรือวตั ถุประสงค์ สิ่งทีค่ วรรู้
MODEL)

คร้ังท่ี หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ ผลกำรเรียนรู้ท่ีคำดหวงั ประเด็น/ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ ส่ือ ข้นั ท่ี ๔ กำร

๔ “อำชีพมั่นคง” ๑. อธิบายการกาหนดคุณภาพ ๑. นกั ศึกษาคดิ วา่ ไมม่ ี (พบกลมุ่ ONIE MODEL) ๑.แบบเรียน วดั

(...../...../....) รำยวชิ ำ กำรพฒั นำอำชีพให้มี ผลผลิตหรือการบริการ ความสาคญั ข้นั ที่ ๑ กำหนดสภำพปัญหำ ควำม วิชาการ ประเมินผล

ควำมมน่ั คง (อช ๓๑๐๐๓) ๒. สามารถวิเคราะห์ ทนุ ปัจจยั ต้องกำรเรียนรู้ พฒั นาอาชีพ กำรเรียนรู้

เรื่อง - การจดั ทาแผนพฒั นาการ การผลิตหรือการบริการ ๑. ครูกล่าวทกั ทายและช้ีแจง ใหม้ ีความ - ครูและ

ผลิตหรือการบริการ ๓. กาหนดเป้าหมายการผลิต วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ มนั่ คง ผเู้ รียน

ขอบข่ำยเนื้อหำ หรือการบริการ ๒. ครูมอบใบความรู้ (อช ๓๑๐๐๓) ร่วมกนั

๖ ชวั่ โมง - การจดั ทาแผนพฒั นาการผลิต ข้ันที่ ๒ แสวงหำข้อมูลและกำรจดั ๒. ใบความรู้ ประเมิน
กจิ กรรมกำรเรียนรู้
หรือการบริการ ๓. ใบงาน ความรู้ ความ
๑. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนและอธิบายเรื่อง ๔.ศึกษา เขา้ ใจและ
๑.๑ การกาหนดคณุ ภาพผลผลิต คน้ ควา้ จาก ทกั ษะการ
หรือการบริการ
Internet นาไปใชต้ าม

๑.๒ การวเิ คราะหท์ ุนปัจจยั การ ๕.สื่อ แหล่ง เกณฑท์ ่ี
ผลิต เรียนรู้ กาหนดไว้
๑.๓ การกาหนดเป้าหมายการผลิต หอ้ งสมดุ

หรือการบริการ

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดับ......มัธยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ หัวเร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตวั ชีว้ ดั /ผลกำรเรียนรู้ทค่ี ำดหวัง ประเดน็ /ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ ส่ือ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป หรือวัตถปุ ระสงค์ ส่ิงท่ีควรรู้ (สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บนั ทึกหลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ กำรเรียนรู้

ONIE MODEL) - จากการ
นาเสนอใน
๒. ครูเปิ ดโอกาสใหน้ กั ศึกษา ช้นั เรียน
- บนั ทึกการ
ซกั ถามในเร่ืองท่ียงั ไม่เขา้ ใจ เรียนรู้

๓. ครูใหน้ กั ศึกษาทาใบงาน

ข้นั ท่ี ๓ กำรปฏิบตั แิ ละนำไป

ประยุกต์ใช้

๑.ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั เฉลยใบ

งานและอธิบายเพมิ่ เติมในขอ้ ท่ี

ผเู้ รียนทาผิด

๒.ครูมอบหมายใหผ้ เู้ รียนศึกษา

คน้ ควา้ เพ่มิ เติมในเน้ือหาท่ีเรียนและ

ศึกษาลว่ งหนา้ ในหวั ขอ้ ท่ีจะเรียนใน

คร้ังต่อไป

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ......มัธยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเมก็ จงั หวัดกำฬสินธ์ุ

คร้ังที่ หัวเร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ช่ัวโมง ตัวชีว้ ัด/ผลกำรเรียนรู้ทค่ี ำดหวงั ประเด็น/ปัญหำ วิธีกำรเรียนรู้ สื่อ/อุปกรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป หรือวตั ถุประสงค์ สิ่งทค่ี วรรู้ (สอนเสริม/พบกลุ่ม/โครงงำน/ บันทกึ หลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ สื่อ กำรเรียนรู้
- แบบเรียน
ONIE MODEL) - Internet - ครูและ
- หอ้ งสมดุ ผเู้ รียนร่วมกนั
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ ผลกำรเรียนรู้ทค่ี ำดหวัง ประเด็น/ปัญหำ วธิ กี ำรเรียนรู้แบบ กรต. ประชาชน ประเมิน
- ใบความรู้ ความรู้ ความ
“อำชีพมนั่ คง” ๔. กาหนดแผนกิจกรรมการผลิต ๑. การเดินทางไม่ ครูใหผ้ คู้ รูใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ - กศนตาบล เขา้ ใจและ
- แหล่งเรียนรู้ ทกั ษะการ
รำยวชิ ำ กำรพฒั นำอำชีพให้มี ๕. พฒั นาระบบการผลิตหรือกา สะดวก ดว้ ยตวั เองในหนงั สือเรียนรายวชิ า ในชุมชน นาไปใชต้ าม
เกณฑท์ ่ี
ควำมมั่นคง (อช ๓๑๐๐๓) รบริกา ๒. ปัญหาดา้ นสุขภาพ การพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง ( กาหนดไว้
ไมแ่ ขง็ แรง อช๓๑๐๐๓ )ทางอินเตอร์เนต็ - ส่งสมดุ
เร่ือง - การจดั ทาแผนพฒั นาการ หอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตาบล บนั ทึก
แลว้ ทาเป็นรายงานเป็นรูปเล่มมาส่ง
ผลิตหรือการบริการ

ครูเรียนศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตวั เองใน

หนงั สือเรียนรายวชิ าการพฒั นา

อาชีพใหม้ ีความมนั่ คง ( อช๓๑๐๐๓

)ทางอินเตอร์เนต็ หอ้ งสมุด

ประชาชน กศน.ตาบล แลว้ ทาเป็น

รายงานเป็นรูปเลม่ มาส่งครู

บนั ทกึ หลงั กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้
กจิ กรรมกำรเรียนรู้

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

สภำพปัญหำท่พี บ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

วิธกี ำรแก้ปัญหำ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ควำมคดิ เหน็ ของผู้บริหำร
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ………………………….ผบู้ นั ทึก ลงชื่อ...........................................ผบู้ ริหารสถานศึกษา
() ( นางเกศรัตน์ ภูก่ิงเงิน )

ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหว้ ยเมก็

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ......มัธยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเม็ก จงั หวดั กำฬสินธ์ุ

คร้ังท่ี วธิ ีกำรเรียนรู้ กำรวดั ผล/
(สอนเสริม/พบกล่มุ /โครงงำน/ บันทึกหลงั
ว/ด/ป หวั เร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ช่ัวโมง ตวั ชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ท่คี ำดหวงั ประเด็น/ปัญหำ โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ สื่อ/อปุ กรณ์ กำรเรียนรู้
หรือวตั ถุประสงค์ สิ่งท่ีควรรู้
ONIE MODEL)

คร้ังที่ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ ผลกำรเรียนรู้ทคี่ ำดหวงั ประเดน็ /ปัญหำ (วธิ ีกำรเรียนรู้) สื่อ ข้นั ที่ ๔ กำร

๕ “อำชีพมั่นคง” ๑. อธิบายความจาเป็นและคุณค่า ๑. ผเู้ รียนขาดความรู้ (พบกลมุ่ ONIE MODEL) ๑.หนงั สือ วดั
(...../...../....) รำยวชิ ำ กำรพฒั นำอำชีพให้มี ของธุรกิจเชิงรุก ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เร่ือง ข้นั ที่ ๑ กำหนดสภำพปัญหำ ควำม เรียนวชิ าการ
๒. อธิบายการแทรกความนิยม ความจาเป็ นและคุณคา่ ต้องกำรเรียนรู้ พฒั นาอาชีพ ประเมินผล
ควำมมัน่ คง อช ๓๑๐๐๓ เขา้ สู่ความตอ้ งการของผบู้ ริโภค ของธุรกิจเชิงรุก ครูอธิบายหลกั การสาคญั ของการ ใหม้ ี
เรื่อง การพฒั นาธุรกิจเชิงรุก ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง ๒. ผเู้ รียนขาดความรู้ พฒั นาธุรกิจเชิงรุกใหผ้ เู้ รียนมี ความมนั่ คง กำรเรียนรู้
๓. อธิบายการสร้างรูปลกั ษณ์ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เรื่อง ความรู้ความเขา้ ใจ ดงั น้ี (อช ๓๑๐๐๓) - ใบงาน
ขอบข่ำยเนื้อหำ คณุ ภาพสิ้นคา้ ใหม่ การแทรกความนิยมเขา้ ๑. ความจาเป็นและคุณคา่ ของธุรกิจ ๒. สื่อ - บนั ทึกการ
๑. ความจาเป็นและคณุ คา่ ของ ๔.อธิบายการพฒั นาอาชีพใหม้ ี สู่ความตอ้ งการของ เชิงรุก อินเตอร์เนต็ / เรียนรู้
๖ ชวั่ โมง ธุรกิจเชิงรุก ความมนั่ คง ผบู้ ริโภค ๒. การแทรกความนิยมเขา้ สู่ความ เวบ็ ไซต์ - การสังเกต
๒. การแทรกความนิยมเขา้ สู่ ๓. ผเู้ รียนไม่มีความรู้ ตอ้ งการของผบู้ ริโภค ๓. ใบความรู้ การนาเสนอ
ความตอ้ งการของผบู้ ริโภค เร่ืองการสร้างรูปลกั ษณ์ ๓. การสร้างรูปลกั ษณ์คุณภาพสินคา้ - การตอบ
๓. การสร้างรูปลกั ษณ์คุณภาพ คณุ ภาพสินคา้ ใหม่ ใหม่ คาถาม
สินคา้ ใหม่ ๔. การพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คง - การรายงาน
๔. การพฒั นาอาชีพใหม้ ีความ
มนั่ คง

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ......มธั ยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเมก็ จังหวดั กำฬสินธ์ุ

คร้ังท่ี หวั เร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตัวชี้วดั /ผลกำรเรียนรู้ทค่ี ำดหวัง ประเดน็ /ปัญหำ วธิ ีกำรเรียนรู้ ส่ือ/อปุ กรณ์ กำรวัดผล/
ว/ด/ป หรือวตั ถปุ ระสงค์ ส่ิงทีค่ วรรู้ (สอนเสริม/พบกลุ่ม/โครงงำน/ บนั ทึกหลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกล่มุ กำรเรียนรู้

ONIE MODEL)

๔. ผเู้ รียนขาดความรู้ใน ข้นั ที่ ๒ แสวงหำข้อมูลและกำรจัด

การพฒั นาอาชีพใหม้ ี กจิ กรรมกำรเรียนรู้

ความมน่ั คง ครูใหผ้ เู้ รียนแบ่งกลุ่มล่ะ ๕ คน

ศึกษาคน้ ควา้ จากหนงั สือเรียน

รายวชิ าการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความ

มนั่ คง สื่ออินเตอร์เน็ต เวป็ ไชต์ ใบ

ความรู้จดั ทารายงานและนาเสนอ

ตามหวั ขอ้ ที่ครูกาหนดใหด้ งั น้ี

๑. การทาธุรกิจเชิงรุก

๒. ความนิยมและความตอ้ งการของ

ผบู้ ริโภค

๓. วิธีการสร้างรูปลกั ษณ์คณุ ภาพ

สินคา้ ใหมใ่ หเ้ ป็นนิยม

๔. การพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คง

แผนกำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร ภำคเรียนท่ี ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ......มัธยมศึกษำตอนปลำย........

ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอห้วยเมก็ จงั หวดั กำฬสินธ์ุ

คร้ังท่ี หวั เร่ือง/สำระกำรเรียนรู้/ชั่วโมง ตัวชีว้ ัด/ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง ประเดน็ /ปัญหำ วิธีกำรเรียนรู้ ส่ือ/อุปกรณ์ กำรวดั ผล/
ว/ด/ป หรือวัตถปุ ระสงค์ ส่ิงทค่ี วรรู้ (สอนเสริม/พบกลุ่ม/โครงงำน/ บันทกึ หลงั
โครงกำร) (ตนเอง) (พบกลุ่ม กำรเรียนรู้

ONIE MODEL)

ข้นั ท่ี ๓ กำรปฏบิ ตั แิ ละนำไป

ประยุกต์ใช้

ครูสรุปการรายงานของผเู้ รียน

เพม่ิ เติมเกี่ยวกบั หวั ขอ้ ท่ีใหไ้ ปศึกษา

ผเู้ รียน สามารถบอกความสาคญั ของ

วธิ ีการและข้นั ตอนการพฒั นาธุรกิจ

เชิงรุก และสามารถนาความรู้ที่

ไดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั

ท้งั ในดา้ นของการเป็นเจา้ ของธุรกิจ

หรือเป็นผบู้ ริโภคได้


Click to View FlipBook Version