รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศึกษา
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
จังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดสมุทรสงคราม
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ก
คำนำ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการจัดการศึกษา ได้จัดทำรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศึกษา (ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการสะท้อน
ภาพความสำเร็จที่เกิดขึ้น จากการดำเนินงานพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ
ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ไปสู่การปฏิบัติตามกรอบภารกิจในสถานศึกษา ในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู คุณภาพการบริหารจัดการ ตลอดจนปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ข้อมูลผลของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ที่ได้จะเป็นข้อมูลสารสนเทศ
ที่มีประโยชน์ เพื่อนำไปใช้ในการปรบั ปรุง พัฒนาและกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา
ในระดับโรงเรยี นและภาพรวมของสถานศึกษาในสังกัดที่เหมาะสมตอ่ ไป
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ขอขอบคุณคณะกรรมการ
และอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ผู้บริหารสถานศึกษา
คณะครู และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนทำให้รายงานฉบับนี้มีความสมบูรณ์และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) จะเป็นประโยชน์
ต่อการกำหนดนโยบาย การวางแผน ตลอดจนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน
ท่นี ำไปสู่การพฒั นาการศกึ ษาของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาให้เกดิ ผลสำเร็จตอ่ ไป
กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสมทุ รสาคร สมุทรสงคราม
สารบัญ ข
คำนำ หน้า
สารบญั ก
บทท่ี 1 บทนำ ข
- ความเป็นมาและความสำคญั 1
- วตั ถปุ ระสงค์ 1
- ขอบเขตของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา 2
- นยิ ามศัพท์ 2
- ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกย่ี วข้องกบั การนเิ ทศ ติดตาม
- คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา 4
ของเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา 4
- บทบาทหน้าท่แี ละแนวทางดาํ เนนิ งานของคณะอนุกรรมการนเิ ทศ ติดตามฯ 5
- นโยบาย สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
28
ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 31
บทที่ 3 แนวทางการรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา 31
32
- ขอ้ มลู พนื้ ฐานท่ัวไป 32
- ประชากร 33
- รูปแบบของนเิ ทศ ติดตาม และ ประเมนิ ผลการศกึ ษา 33
- การเก็บรวบรวมข้อมูลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา 33
- เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา 34
- การตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูลเชงิ คุณภาพ
- การวิเคราะหข์ ้อมลู
- สถิติท่ใี ชใ้ นการประมวลผลขอ้ มูล
- เกณฑ์การประเมิน
สารบัญ ค
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู หนา้
- ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
35
บทท่ี 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
- วตั ถปุ ระสงค์ 60
- ขอบเขตของการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา 60
- กลมุ่ เป้าหมาย 60
- เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา 60
- สรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา 61
- การติดตามการนำนโยบายและยุทธศาสตรไ์ ปสกู่ ารปฏิบัติ 63
- ผลงานความสำเร็จท่เี ป็นแบบอย่างได้ (Best Practice) 68
- ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ 69
ภาคผนวก
ง
สารบญั ตาราง หนา้
28
ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลแสดงจำนวนโรงเรียนตามขนาดทตี่ ้ัง และเว็บไซต์ 30
35
ตารางที่ 2 ข้อมูลจำนวนผ้บู รหิ าร ครู นักเรยี น ลกู จ้างประจำ และอัตราจ้าง 35
36
ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของโรงเรยี นสงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 37
สมุทรสาคร สมุทรสงคราม จำแนกตามขนาดโรงเรยี น 38
39
ตารางที่ 4 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบัติ คา่ ร้อยละ ค่าเฉลยี่ การดำเนนิ ตามประเดน็ 40
แบบการตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาใน 4 ดา้ น 42
44
ตารางท่ี 5 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบัติ การดำเนนิ ตามประเด็นแบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม 45
ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ใน 4 ดา้ น สหวทิ ยาเขตสาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรยี น 46
47
ตารางที่ 6 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบตั ิ การดำเนนิ ตามประเด็นแบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม 49
ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ใน 4 ดา้ น สหวิทยาเขตเมอื งสมุทร จำแนกรายโรงเรียน 51
ตารางท่ี 7 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบัติ การดำเนนิ ตามประเดน็ แบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม
ประเมินผลการจดั การศกึ ษา ใน 4 ดา้ น สหวทิ ยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรยี น
ตารางที่ 8 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบตั ิ คา่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี การดำเนินงาน
ด้านบรหิ ารงานวชิ าการ สหวิทยาเขตสาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรยี น
ตารางท่ี 9 แสดงคา่ ระดบั ปฏบิ ัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ยี การดำเนนิ งาน
ดา้ นบรหิ ารงานวชิ าการ สหวิทยาเขตเมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรยี น
ตารางที่ 10 แสดงคา่ ระดับปฏิบตั ิ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี การดำเนินงาน
ดา้ นบรหิ ารงานวิชาการ สหวิทยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรียน
ตารางท่ี 11 แสดงคา่ ระดับปฏิบตั ิ คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี การดำเนินงาน
ดา้ นบริหารงานบคุ คล สหวิทยาเขตสาครบุรี จำแนกรายโรงเรยี น
ตารางที่ 12 แสดงคา่ ระดับปฏิบัติ คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี การดำเนินงาน
ดา้ นบริหารงานบคุ คล สหวิทยาเขตเมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรียน
ตารางท่ี 13 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ัติ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ยี การดำเนนิ งาน
ดา้ นบริหารงานบุคคล สหวิทยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรียน
ตารางที่ 14 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ัติ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ยี การดำเนนิ งาน
ดา้ นบรหิ ารงานงบประมาณ สหวทิ ยาเขตสาครบุรี จำแนกรายโรงเรยี น
ตารางที่ 15 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ตั ิ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี การดำเนินงาน
ดา้ นบรหิ ารงานงบประมาณ สหวทิ ยาเขตเมอื งสมุทร จำแนกรายโรงเรียน
ตารางที่ 16 แสดงคา่ ระดบั ปฏบิ ตั ิ ค่าร้อยละ คา่ เฉลี่ย การดำเนินงาน
ด้านบริหารงานงบประมาณ สหวิทยาเขตแมก่ ลอง จำแนกรายโรงเรียน
สารบญั ตาราง (ต่อ) จ
ตารางท่ี 17 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ตั ิ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย การดำเนินงาน หนา้
ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป สหวิทยาเขตสาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรียน 53
55
ตารางท่ี 18 แสดงคา่ ระดับปฏิบตั ิ คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี การดำเนินงาน 57
ด้านบรหิ ารงานทวั่ ไป สหวิทยาเขตเมืองสมุทร จำแนกรายโรงเรียน
ตารางท่ี 19 แสดงคา่ ระดบั ปฏบิ ัติ คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย การดำเนนิ งาน
ดา้ นบริหารงานท่วั ไป สหวทิ ยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรยี น
๑
บทท่ี 1
บทนำ
1. ความเปน็ มาและความสำคัญ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2
พ.ศ. 2545 ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562
และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 ที่มุ่งปฏิรูปการศึกษา
เน้นการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยกำหนด
ให้มีองค์คณะบุคคลระดับเขตพื้นที่การศึกษาจำนวน 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ทางด้านการบรหิ ารวิชาการ
การพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศ เสนอแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย การพัฒนาคุณภาพ การเสนอ
รายงานการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การพัฒนาคุณภาพ การจัดทำ การเสนอแผน การติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษา การเสนอแต่งตั้งอนุกรรมการฯการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
และนิเทศการศึกษา ร่วมกับคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
ของเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งมุ่งที่จะยกระดับคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาในสงั กดั
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ได้กำหนดแผนในการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา กำหนดให้มีคณะอนุกรรมการฯออกปฏิบัติงาน
ตามบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
ณ สถานศึกษา จำนวน 2 ครั้งในเดือน มีนาคมและกันยายน โดยทำงานแบบบูรณาการ เพื่อนำผล
การวเิ คราะห์ วิจัยสรปุ การดำเนินงานสู่องค์คณะบคุ คลทุกคณะ ให้สามารถขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาและการบริหารจัดการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมทุ รสงคราม ต่อไป
เพื่อให้การขับเคลื่อนการนิเทศกำกับติดตามประเมินผลมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม มอบหมายให้คณะกรรมการและ
อนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อกำกับติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษา จากการดำเนินงาน
พัฒนาการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบุคคล ด้านการบริหารท่วั ไป
และการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสมุทรสาคร สมทุ รสงคราม ไปสูก่ ารปฏิบัติตามกรอบ
ภารกิจในสถานศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
2. เพื่อรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษา จากการ
ดำเนินงานพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการ
บริหารทั่วไป และการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ
๒
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ไปสู่
การปฏิบัตติ ามกรอบภารกิจในสถานศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
3. ขอบเขตของการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ครั้งนี้ เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน
พฒั นาการบรหิ ารจัดการ ด้านวิชาการ ดา้ นงบประมาณ ดา้ นการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทว่ั ไป
และการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ไปสู่การปฏิบัติตาม
กรอบภารกิจในสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนในสังกัดสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม จำนวน 20 โรงเรียน แบ่งเป็นสหวิทยาเขต
จำนวน 3 สหวทิ ยาเขต ดังนี้
1. สหวิทยาเขตสาครบุรี จำนวน 5 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย โรงเรียน
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร โรงเรียนวัดธรรมจริยาภิรมย์ โรงเรียนหลักสอง
สง่ เสริมวทิ ยา โรงเรียนวัดหลกั ส่พี ิพฒั นร์ าษฎร์อุปถัมภ์
2. สหวิทยาเขตเมืองสมุทร จำนวน 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ โรงเรียน
กระทุ่มแบน “วิเศษสมทุ คุณ” โรงเรียนออ้ มน้อยโสภณชนูปถมั ภ์ โรงเรยี นพนั ทา้ ยนรสงิ หว์ ทิ ยา โรงเรียน
สมทุ รสาครวุฒชิ ัย โรงเรียนกศุ ลวิทยา
3. สหวิทยาเขตแม่กลอง จำนวน 9 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนศรัทธาสมุทร โรงเรียนถาวรานุกลู
โรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย โรงเรียนเมธีชุณหะวัณวิทยาลัย โรงเรียนวัดแก้วเจริญอำนวยวิทย์ โรงเรียน
วัดบางกะพอ้ ม(คงลาภย่ิงประชานุสรณ์) โรงเรียนท้ายหาด โรงเรียนสกลวิสุทธิ โรงเรียนเทพสุวรรณชาญ
วทิ ยา
4. นยิ ามศพั ท์
1. ครู ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สมุทรสาคร สมุทรสงคราม จำนวน 20 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย โรงเรียนเฉลิม
พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร โรงเรียนวัดธรรมจริยาภิรมย์ โรงเรียนหลักสองส่งเสริม
วิทยา โรงเรียนวัดหลักสี่พิพัฒน์ราษฎร์อุปถัมภ์ โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ โรงเรียนกระทุ่มแบน
“วิเศษสมุทคุณ” โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ โรงเรียนพันท้ายนรสิงห์วิทยา โรงเรียนสมุทรสาคร
วุฒิชัย โรงเรยี นกศุ ลวิทยา โรงเรียนศรทั ธาสมุทร โรงเรียนถาวรานกุ ลู โรงเรยี นอมั พวนั วิทยาลยั โรงเรยี น
เมธีชุณหะวัณวิทยาลัย โรงเรียนวัดแก้วเจริญอำนวยวิทย์ โรงเรียนวัดบางกะพ้อม(คงลาภยิ่งประชา
นสุ รณ)์ โรงเรียนท้ายหาด โรงเรียนสกลวสิ ุทธิ โรงเรียนเทพสวุ รรณชาญวทิ ยา
2. ผู้บริหารสถานศึกษา คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือรองผู้อำนวยการโรงเรียน และ/หรือ
หัวหน้าฝ่ายวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร
สมุทรสงคราม จำนวน 20 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร โรงเรียนวัดธรรมจริยาภิรมย์ โรงเรียนหลักสองส่งเสริมวิทยา
โรงเรียนวัดหลักสี่พิพัฒน์ราษฎร์อุปถัมภ์ โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ โรงเรียนกระทุ่มแบน“วิเศษ
สมุทคุณ” โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ โรงเรียนพันท้ายนรสิงห์วิทยา โรงเรียนสมุทรสาครวุฒิชัย
โรงเรยี นกุศลวทิ ยา โรงเรยี นศรัทธาสมุทร โรงเรยี นถาวรานกุ ูล โรงเรยี นอัมพวันวิทยาลยั โรงเรยี นเมธีชุณ
หะวัณวิทยาลัย โรงเรียนวัดแก้วเจริญอำนวยวิทย์ โรงเรียนวัดบางกะพ้อม(คงลาภยิ่งประชานุสรณ์)
โรงเรยี นทา้ ยหาด โรงเรยี นสกลวิสทุ ธิ โรงเรียนเทพสุวรรณชาญวทิ ยา
๓
3. นักเรียน ได้แก่ นักเรียนขั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายที่เรียนอยู่ในโรงเรียน
มัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม จำนวน 20
โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
สมุทรสาคร โรงเรียนวัดธรรมจริยาภิรมย์ โรงเรียนหลักสองส่งเสริมวิทยา โรงเรียนวัดหลักสี่พิพัฒน์
ราษฎร์อุปถัมภ์ โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ โรงเรียนกระทุ่มแบน“วิเศษสมุทคุณ” โรงเรียนอ้อมน้อย
โสภณชนูปถัมภ์ โรงเรียนพันท้ายนรสิงห์วิทยา โรงเรียนสมุทรสาครวุฒิชัย โรงเรียนกุศลวิทยา โรงเรียน
ศรัทธาสมุทร โรงเรยี นถาวรานกุ ูล โรงเรียนอัมพวนั วทิ ยาลยั โรงเรียนเมธชี ณุ หะวณั วทิ ยาลยั โรงเรียนวัด
แก้วเจริญอำนวยวทิ ย์ โรงเรียนวัดบางกะพ้อม(คงลาภยิ่งประชานุสรณ์) โรงเรียนท้ายหาด โรงเรียนสกล
วิสุทธิ โรงเรียนเทพสวุ รรณชาญวิทยา
5. ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
1. สถานศึกษาในสังกัดได้เห็นภาพความสำเร็จการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และการขับเคลื่อนนโยบายและ
จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ในการปฏิบัติตามกรอบภารกิจของสถานศึกษา
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม สามารถนำข้อมูล
จากรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ไปใช้กำหนด
เปา้ หมายและ วางแผน การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
๔
บทที่ 2
เอกสารที่เกย่ี วขอ้ งกับการนิเทศ ติดตาม
รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) สำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ปีการศึกษา 2564 ครั้งนี้ ได้มีศึกษาทบทวน
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา นโยบายและแนว
ทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีงบประมาณ 2564 และแนวคิดทฤษฎี ดงั นี้
1. คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
หมายถึง องค์คณะบุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ทำงานร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในการศึกษา
วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการดำเนินการ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา เพ่อื ปรับปรุงพฒั นาและเตรียมการนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลจากหน่วยงานภายนอก
การติดตาม (Monitoring) หมายถึง การศึกษาความก้าวหน้าการบริหารการจัดการ
และการดำเนินการของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกดั เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
การตรวจสอบ (Inspection) หมายถึง การกำกับ ดูแล เพื่อปรับปรงุ พัฒนาการบริหาร การจัดการ
ศึกษาและการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐานท่ีกำหนดไว้
การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตีค่าผลการบริหารการจัดการศึกษาและ
การดำเนินการตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน โดยเปรยี บเทียบกับเกณฑ์และเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้
การนิเทศการศึกษา (Supervision) หมายถึง ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและสถานศึกษา
ในเขตพื้นที่การศึกษากับคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
โดยการใหค้ ำปรึกษา แนะนํา ส่งเสริม สนับสนนุ เพ่อื ปรบั ปรงุ พัฒนา
2. บทบาทหนา้ ท่ีและแนวทางดาํ เนนิ งานของคณะอนกุ รรมการนเิ ทศ ตดิ ตามฯ มีดังนี้
มีผู้อํานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ในฐานะกรรมการ
และเลขานุการ พร้อมด้วยกลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา ทำหนา้ ท่ี ดงั นี้
1. ใช้และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการบริหารและการดําเนินงานของหน่วยงาน
และสถานศกึ ษา
2. เสนอแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดำเนินการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา
3. เสนอแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา
4. เสนอรายงานการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา
5. จดั ทำและเสนอแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา
6. เสนอแตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
7. รว่ มกบั คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา
๕
8. เสนอแนวทาง ข้อเสนอแนะ จากรายงานการศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย และรายงาน การติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
9. เสนอรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษาประจำปี
10. ดําเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการประชุมของคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา
11. ประสานงานกบั คณะกรรมการและหน่วยงานอ่นื ท่ีเก่ียวข้อง
3. นโยบาย สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565
1. ดา้ นความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อม
ทเี่ อ้ือต่อการมีสุขภาวะที่ดี สามมารถปรบั ตัวตอ่ โรคอบุ ตั ิใหมแ่ ละโรคอบุ ัตซิ ำ้
๒. ดา้ นโอกาส
๒.๑ สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรยี นทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ
วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหส้ มกบั วัย
2.2 ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อย่างมีคุณภาพตามมาตราฐาน วางรากฐานการศกึ ษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตวั เองเพื่อการศึกษา
ต่อ และประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนันของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
ที่มีความสามารถพิเศษสคู่ วามเปน็ เลิศ เพ่ือเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อป้องกันไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นหรือออกกลางคันให้ได้รับ
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานอย่างเท่าเทียมกนั
2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. ด้านคุณภาพ
๓.1 ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ มที กั ษะการเรียนรแู้ ละทักษะท่ีจำเป็น
ของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนะคติที่ถูกต้อง
ตอ่ บ้านเมอื ง
3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขัน และการเลือกศกึ ษาต่อ เพือ่ การมงี านทำ
๓.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลัก
ที่จำเป็นในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้
ท่สี ร้างสมดุลทุกด้าน สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาพหปุ ญั ญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผล
ผเู้ รยี นทกุ ระดบั
๖
3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการ
เรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั มีการพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อย่างตอ่ เน่ือง รวมทั้งมีจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
4. ดา้ นประสทิ ธภิ าพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลัก
ในการขบั เคลอ่ื นบนฐานขอ้ มูลสารสนเทศทถี่ ูกตอ้ ง ทนั สมยั และการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก
และโรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้อง
บริบทของพน้ื ท่ี
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบาย
โรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน
๔.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ
และสถานศึกษาท่ตี ้ังในพืน้ ทล่ี กั ษณะพเิ ศษ
5.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
และการเพิม่ ความคลอ่ งตัวในการบริหารและจัดการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
5.6 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
กลยุทธห์ น่วยงาน
กลยทุ ธท์ ่ี 1 สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาให้ผูเ้ รียนมคี วามปลอดภัยจากภยั ทุกรปู แบบ
1.1 เปา้ หมาย
ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแล
ความปลอดภัยจากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ
และรองรับวถิ ีชีวติ ใหม่รวมถึงการจัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การมีสุขภวะท่ีดี
1.2 ตวั ชี้วดั คา่ เปา้ หมาย
ท่ี ตัวชวี้ ดั คา่ เปา้ หมาย
รอ้ ยละ 85
1. ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกัน ร้อยละ 80
พรอ้ มรับมือการเปล่ยี นแปลงและภยั คกุ คามแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
ร้อยละ 80
2. ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้รบั การพัฒนาการจัดการศึกษาตามบริบท รอ้ ยละ 80
ร้อยละ 80
ร้อยละของครูบุคลากรทางการศึกษา ดำเนินการตามแนวทางในการจัดการ
3. ภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ ให้สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และ
โรคอุบัตซิ ำ้ รองรบั วถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal)
4. ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ ีแผน/มาตรการในการจัดการภัยพิบัติ ภัยคุกคามทุก
รูปแบบ โรคอุบตั ใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ิซำ้ รองรับวิถชี วี ติ ใหม่ (New Normal)
5. ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดระบบ
ความปลอดภัยต่าง ๆ สามารถนำความรไู้ ปถา่ ยทอดสโู่ รงเรียนได้
๗
1.3 รายละเอียดตวั ชว้ี ดั
ประเด็น รายละเอียด
ตวั ชี้วดั ๑ ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกัน
พร้อมรบั มอื การเปลี่ยนแปลงและภยั คกุ คามแบบใหม่ ทุกรปู แบบ
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 85
1. ผู้เรียน หมายถงึ นกั เรยี นในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
2. รปู แบบภยั คกุ คาม ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพตติ ภยั ความรนุ แรง การคุกคามในชีวิตและ
ทรัพย์สิน การคำ้ มนุษยอ์ าชญากรรมไซเบอรภ์ ยั พิบัติต่าง ๆ อุบตั เิ หตุ โรคอุบัติใหม่
คำอธบิ าย (โควดิ -19) ฝุ่น PM 2.5
3. จำนวนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันการเข้าไป
เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และภัยคุกคามทุกรูปแบบ และเข้าร่วมโครงการตาม
มาตรฐานโรงเรียนความปลอดภยั
A จำนวนผู้เรียนที่เข้าร่วมกจิ กรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันพร้อม
ขอ้ มลู ทใี่ ช้ รับมอื กบั การเปลยี่ นแปลงและภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
B จำนวนผู้เรยี นในสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานท้ังหมด
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมลู
แหลง่ ขอ้ มูล ฉก.ชน.
ตัวชวี้ ัด 2 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
ไดร้ บั การพัฒนาการจัดการศกึ ษาตามบริบท
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 80
1. สถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ หมายถึง สถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดยะละ จังหวัด
ปัตตานจี ังหวัดนราธวิ าสจังหวดั สตลู และสี่อำเภอจังหวดั สงขลา ได้แก่ อำเภอจะนะ
คำอธบิ าย อำเภอนำทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา
2. การได้การพัฒนาการจัดการศึกษา หมายถึง การได้รับการจัดโอนสรร
งบบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2565
A จำนวนสถานศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดน
ขอ้ มูลทีใ่ ช้ ภาคใต้ได้รบั การพัฒนาการจดั การศกึ ษาตามบรบิ ท
B จำนวนสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิธีการวเิ คราะห์ (A / B) * 100
ขอ้ มลู
แหล่งข้อมลู สพก.จชต.
๘
ประเดน็ รายละเอียด
ร้อยละของครบู ุคลากรทางการศกึ ษา ดำเนนิ การตามแนวทางในการ
ตัวชี้วัด 3 จัดการภยั พบิ ัตแิ ละภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ ใหส้ ามารถปรับตัวต่อโรคอุบตั ิ
ใหมแ่ ละโรคอบุ ัติซ้ำ รองรบั วิถชี ีวิตใหม่ (NEW NORMAL)
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 80
1. รูปแบบภยั คกุ คาม ได้แก่ ภัยยาเสพติต ภยั ความรนุ แรง การคกุ คามในชวี ิต และ
คำอธิบาย ทรัพยส์ ิน การค้ามนุษยอ์ าชญากรรมไซเบอร์ ภยั พิบตั ติ ่าง ๆ อุบัติเหตุโรคอุบัติใหม่
(โควดิ -19) ฝุน่ PM 2.5
2. แนวทางในการจัดการภัยพบิ ัติ
A จำนวนครูบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพตามแนว
ทางการจัดการภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ ให้เกิดการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
ขอ้ มลู ที่ใช้ และสามารถปรับตวั ตอ่ โรคอบุ ตั ซิ ้ำ รบั รองวถิ ีชวี ิตใหม่ (NEW NORMAL)
B จำนวนครูบคุ ลากรทางการศึกษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมลู
แหล่งข้อมูล ฉก.ชน. / ฉก.คส.
ตวั ช้ีวัด 4 ร้อยละของสถานศึกษาทีม่ ีแผน/มาตรการในการจัดการภยั พบิ ตั ภิ ัย
คา่ เป้าหมาย คกุ คามทกุ รปู แบบ โรคอบุ ัตใิ หม่และโรคอบุ ัตซิ ำ้ รองรับวถิ ีชวี ติ ใหม่ (NEW
NORMAL)
ร้อยละ 80
1. รูปแบบภยั คกุ คาม ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพตติ ภยั ความรนุ แรง การคุกคามในชีวิต และ
คำอธิบาย ทรพั ย์สนิ การค้ามนุษยอ์ าชญากรรมไซเบอร์ ภัยพบิ ัติต่าง ๆ อุบตั เิ หตุโรคอุบัติใหม่
(โควิด-19) ฝ่นุ PM 2.5
A สถานศึกษามีการจัดทำแผน เพื่อรับรองมาตรการการจัดการภัยคุกคามทุก
ข้อมลู ท่ใี ช้ รูปแบบ เพื่อให้นกั เรียนได้รับการสร้างภมู ิคมุ้ กันและปอ้ งกันภยั คกคามทกุ รูปแบบ
B จำนวนสถานศกึ ษาในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ขอ้ มลู
แหล่งข้อมลู ฉก.ชน.
๙
ประเดน็ รายละเอียด
ตวั ชี้วดั 5 รอ้ ยละของบคุ ลากรทางการศกึ ษา มคี วามรู้ความเขา้ ใจเร่ืองการจัดระบบความ
ปลอดภยั ต่าง ๆ สามารถนำความรไู้ ปถ่ายทอดสู่โรงเรยี นได้
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 80
บุคลากรทางการศึกษาทุกเขตพื้นที่การศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการ
คำอธิบาย จัดระบบความปลอดภัยกับภัยพิบัติต่าง ๆ (อุทกภัย วาตภัย ภัยหนาว ภัยแล้ง)
ความปลอดภัย จากอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียน ตลอดจน ความปลอดภัย
ด้านอาชวี อนามยั
A จำนวนบุคลากรทางการศึกษาทุกเขตพื้นที่การศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง
ข้อมลู ทใ่ี ช้ การจดั ระบบความปลอดภัยต่าง ๆ
B จำนวนบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมูล
แหล่งข้อมลู สอ.
1.4 แนวทางการพฒั นา
1.4.1 สร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจแก่ครู บุคลากรทางการศึกษา
ให้สามารถวิเคราะห์ ประเมินสถานกรณ์ความเสี่ยง และดำเนินการตามแนวทางในการจัดการภัยพิบัติ
และภัยคุกคามทุกรูปแบบ ให้สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับวิถีชีวิตใหม่
(New Normal)
1.4.2 ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ รู้จักวิธีการป้องกัน
และแกไ้ ขเกย่ี วกบั ภัยคกุ คาม ภยั จากยาเสพติด ความรุนแรง การคกุ คามในชวี ติ และทรพั ย์สิน การคา้ มนษุ ย์
อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ ตลอดจนพฤติกรรม
ที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ความปลอดภัย
1.4.3 พัฒนากระบวนการเรียน รู้ที่มุ่งเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ
ให้แกผ่ ้เู รยี น เพ่ือรองรบั ภยั พิบัตแิ ละภยั คุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ัตซิ ำ้
1.4.4 ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
ที่นำไปสู่ Digital Life & Learning รวมถึงความพร้อมของครูผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
เพ่ือความปลอดภัยเมือ่ ตอ้ งเผชญิ กบั สถานการณ์ภัยพบิ ตั ิและภยั คุกคาม
1.4.5 ส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อม และสร้างระบบนิเวศน์ การเรียนรู้
ทีป่ ลอดภยั ในสถานศึกษา ให้ผู้เรยี นมีความปลอดภัย มคี วามอบอ่นุ และมีความสุขในสถานศกึ ษา
1.4.6 เสริมสร้างแนวทางการป้องกันและแก้ปัญหาจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ
ได้อย่างทันท่วงที เช่น ภัยคุกคามทางไซเบอร์ การแสดงออกที่ไม่เหมาะสม พฤติกรรมกลั่นแกลง้ รังแกผู้อืน่
(Bully) ความรุนแรงในสถานศึกษา การล่วงละเมิดทางเพศ และยาเสพติด โดยความร่วมมือจากภาคี
เครอื ขา่ ย
๑๐
1.4.7 พัฒนาระบบและรูปแบบการป้องกันภัยทุกรูปแบบ รวมทั้งเสริมสร้าง
สวัสดิการให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะภัยที่เกิดจาก
ความไม่สงบ ในพนื้ ท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
กลยุทธท์ ่ี 2 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหก้ ับประชากรวยั เรียนทุกคน
2.1 เป้าหมาย
2.1.1 เดก็ ปฐมวัยไดเ้ ขา้ เรียนทุกคน มพี ฒั นาการสมวยั
2.1.2 ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับโอกาสทางการศึกษา
อย่างเสมอภาคจนจบการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
2.1.3 ผเู้ รยี นทมี่ ีความสามารถพเิ ศษไดร้ บั การสง่ เสริมและพัฒนาส่คู วามเป็นเลิศ
2.1.4 เด็กกลุ่มเสี่ยงที่จะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่นและเด็กออก
กลางคันไดร้ บั การชว่ ยเหลือให้ได้รับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
2.1.5 เด็กพกิ ารและผ้ดู อ้ ยโอกาส ได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ
2.2 ตัวช้ีวัด ค่าเปา้ หมาย
ท่ี ตัวช้วี ัด คา่ เป้าหมาย
1. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สำนักงานคณะกรรมการ รอ้ ยละ 70
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
2. จำนวนผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา และ 3,315,554
พัฒนาสมรรถภาพหรอื บริการทางการศกึ ษาที่เหมาะสม ตามความจำเปน็ คน
3. รอ้ ยละของผูเ้ รียนทไี่ ดร้ บั เงนิ อดุ หนุนปจั จยั พ้ืนฐานสำหรบั นกั เรียนยากจน ร้อยละ 20
4. จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และ 40,436
ความสามารถ (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี กฬี า) คน
2.3 รายละเอยี ดตวั ชวี้ ดั รายละเอยี ด
ประเด็น
ตวั ชีว้ ัด ๑ อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงาน
คา่ เป้าหมาย คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ร้อยละ 70
คำอธิบาย อตั ราดงั กล่าว จำกัดเฉพาะในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
A จำนวนนักเรียนในสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
ขอ้ มูลทใี่ ช้ พื้นฐานที่กำลังศึกษาหรือได้รับบริการการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(ม.1 - ม.3)
B จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 12 - 15 ปี
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมลู
แหล่งขอ้ มลู สนผ.
๑๑
ประเด็น รายละเอียด
ตวั ชว้ี ัด 2 จำนวนผู้เรยี นที่เป็นผพู้ ิการ ผดู้ อ้ ยโอกาสเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาและพัฒนา
สมรรถภาพหรือบรกิ ารทางการศกึ ษาท่ีเหมาะสม ตามความจำเป็น
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 703,315,554 คน
1. ผูเ้ รียน หมายถงึ นกั เรียนในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
2. ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสม
ตามความต้องการจำเป็น หมายถึง ผู้เรียนพิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะ หรือ
ได้รับบริการทางการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับประเภทความ
พิการตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (INDIVIDUALIZED
คำอธบิ าย EDUCATION PROGRAM: IEP)
3. ผู้เรียนด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่
เหมาะสมตามความต้องการจำเป็น หมายถึง ผู้เรียนด้อยโอกาสที่อยู่ในสภาวะ
ยากลำบาก มีชีวิตความเป็นอยู่ด้อยกว่าเด็กปกติทั่วไปเนื่องจากประสบปัญหา
ต่าง ๆ และได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
และพึง่ พำตนเองได้
A จำนวนผู้เรียนพิการในสถานศึกษาที่ได้รับโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา
และการพฒั นาสมรรถภาพหรอื บรกิ ารทางการศกึ ษาทเ่ี หมาะสมตามความต้องการ
ขอ้ มูลท่ใี ช้ จำเป็น
B จำนวนผู้เรียนด้อยโอกาสในสถานศึกษา ที่ได้รับโอกาสในการเข้าถึงบริการ
การศกึ ษา
C จำนวนผูพ้ กิ ารและผดู้ อ้ ยโอกาสทง้ั หมดทเ่ี ข้าเรยี นในสถานศกึ ษา
วิธีการวิเคราะห์ A+B+C
ขอ้ มูล
แหลง่ ขอ้ มูล สนผ./ สศศ.
ตัวชีว้ ดั 3
คา่ เป้าหมาย ร้อยละของผเู้ รียนท่ีได้รบั เงนิ อุดหนุนปจั จัยพ้ืนฐานสำหรบั นักเรยี นยากจน
คำอธบิ าย ร้อยละ 20
1. ผเู้ รียน หมายถึง นกั เรียนในสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
2. นักเรียนยากจน หมายถึง นักเรียนที่พิจารณาจากเกณฑ์การคัดกรองนักเรียน
ยากจนมรี ายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ ครวั เรือนไมเ่ กิน 3,000 บาท/เดือน
3. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน คือ เงินงบประมาณที่จัดสรร
ให้แก่สถานศึกษาที่มีนักเรียนยากจน เพื่อจัดหาปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นต่อการ
ดำรงชีวิต และเพิ่มโอกาสทางการศึกษา เป็นการช่วยเหลือนักเรียนที่ยากจน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนจบการศึกษาภาคบังคับและให้มีโอกาสได้รับ
การศกึ ษาในระดบั ท่ีสูงขึ้น
๑๒
ประเดน็ รายละเอยี ด
ขอ้ มลู ที่ใช้ A จำนวนนักเรียนยากจนทีไ่ ดร้ บั เงินอดุ หนนุ ปจั จัยพน้ื ฐานสำหรบั นักเรยี นยากจน
B จำนวนนกั เรียนในสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมลู
แหล่งข้อมูล สนผ.
ตัวชี้วดั 4 จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และ
ความสามารถ (วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี กีฬา)
คา่ เป้าหมาย สวก.= 3,246 คน สบว.= 28,440 คน ศบศ.= 8,750 คน
- ผู้เรียนที่ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพดังกล่าว หมายถึงผู้เรียนที่เรียนใน
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย ผู้เรียนในห้องเรียนพิเศษผู้เรียน
ภายใต้โครงการ ที่ส่งเสริมการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และ
ความสามารถ (วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทศั นศิลป์ นาฏศลิ ป์ ดนตรี กีฬา)
- ผเู้ รยี นภายใตโ้ ครงการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนดั และความสามารถ
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หมายถึง นักเรียนผู้มีศักยภาพสูงผ่านมาตรฐานค่าย
สอวน.
คำอธิบาย - ผเู้ รียนภายใต้โครงการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพตามความถนัด และความสามารถ
ทัศนศิลป์ นำฏศิลป์ดนตรีกีฬา หมายถึง นักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษด้าน
ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ที่ผ่านการคัดกรองเข้าร่วมโครงการและกิจกรรม
ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และตามความถนัด ตามกลุ่มเป้าหมายของการ
พัฒนา 3 กล่มุ ดงั นี้
1. นักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษด้านดนตรีของโรงเรียนในโครงการห้องเรียน
ดนตรี 19 โรงเรียน จำนวน 1,840 คน (ชั้น ม.1- ม.6 ภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศึกษา 2564) นักเรียนชั้น ม.1 จำนวน 387 คน และ ม.4 จำนวน 188 คน
(ปีการศึกษา 2565))
2. นักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษด้านทัศนศิลป์ด้านดนตรีและด้านนาฏศิลป์ ใน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม
กจิ กรรมพัฒนาผมู้ คี วามสามารถพิเศษ จำนวน 160 คน
ขอ้ มลู ทีใ่ ช้ 3. นักเรียนของโรงเรียนในโครงการห้องเรียนกีฬา จำนวน 9 โรงเรียน จำนวน
1,246 คน
A จำนวนนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย 12 แห่ง จำนวน
8,640คน
B จำนวนนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สิ่งแวดลอ้ ม 220 โรง จำนวน 19,800 คน
๑๓
ประเด็น รายละเอียด
วธิ กี ารวเิ คราะห์ A+B+C+D
ข้อมูล
แหลง่ ขอ้ มูล สวก. / สบว. / ศบศ.
2.4 แนวทางการพฒั นา
2.4.1 สร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาระดับปฐมวัยอย่างเสมอภาค
โดยการค้นหาเฝ้าระวัง ติดตาม และช่วยเหลือเด็กปฐมวัย (3 - 5 ปี) ทุกคน ให้ได้รับการดูแลและส่งเสริม
พัฒนาการจากสถานศึกษาระดับปฐมวยั ทมี่ คี ุณภาพ ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
2.4.2 สร้างโอกาสและความเสมอภาคการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่มีคุณภาพให้แก่ประชากรวัยเรียนทุกคนอย่างต่อเนื่อง โดยจัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียน
ความถนดั และศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล วางรากฐานการศกึ ษาเพอื่ อาชีพ
2.4.3 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการค้นหา เฝ้าระวัง ติดตาม
และประสานช่วยเหลือ ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้เข้าถึง
การศึกษาที่มีคุณภาพ และได้รับการพัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล และสนับสนุนให้มีข้อมูล
องค์ความรู้ และแนวทาง/วิธกี าร/เครือ่ งมอื ท่จี ำเปน็ ในการป้องกนั นกั เรยี นออกจากระบบการศึกษา
2.4.4 พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความ
สะดวกทางการศึกษาสำหรับคนพิการ การวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็ก
พิการและเด็กดอ้ ยโอกาส
2.4.5 สง่ เสรมิ พฒั นาการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการสร้างโอกาส ทางการศึกษา
2.4.6 ระดมการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างโอกาสและลด
ความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ่ี 3 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
3.1 เป้าหมาย
3.1.1 ผู้เรียนทุกช่วงวยั ในระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีความรักในสถาบันหลัก
ของชาติและยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมือง
ทร่ี ู้สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ี อย่างมีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มคี วามรัก และความภมู ิใจในความเป็นไทย
3.1.2 ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษา
ที่มคี ุณภาพตามมาตรฐาน สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพ ให้เป็นผูม้ ีสมรรถนะและทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
3.1.3 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐาน
วชิ าชพี มีความพร้อมท้งั ทางด้านวชิ าการ เช่ยี วชาญวิชาชีพ มจี รรยาบรรณ และจติ วิญญาณความเปน็ ครู
3.1.4 สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่ำงยั่งยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs) โดยเฉพาะ SDG เป้าหมายที่ 4 การศึกษาที่มีคุณภาพ
และสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๑๔
3.2 ตวั ชี้วัด คา่ เปา้ หมาย
ท่ี ตัวชว้ี ดั ค่าเปา้ หมาย
รอ้ ยละ ๘0
1. ร้อยละของนักเรียนปฐมวัยมคี ุณภาพตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย รอ้ ยละ 90
ร้อยละ ๘0
2. ร้อยละของผเู้ รียนมคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ระดบั ดขี น้ึ ไป ร้อยละ ๔0
3. ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพ่ือ ร้อยละ 90
เสริมสร้างสมรรถนะผ้เู รียนท่ตี อบสนองกำรเปลยี่ นแปลงศตวรรษท่ี 21
รอ้ ยละ ๗0
4. คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET)
รอ้ ยละ 10
ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา รอ้ ยละ ๑0
5. ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนา
ทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ี่กำหนด
ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการเตรียม
6. ความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) ในการประเมิน
ระดับนานาชาติตามโครงการ PISA
7. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่สี ามารถจัดการเรยี นการสอนตามพหุปัญญา
8. ร้อยละของนกั เรียนที่ไดร้ บั การคัดกรองเพ่อื พัฒนาพหุปัญญารายบุคคล
๓.3 รายละเอยี ดตวั ช้ีวัด
ประเด็น รายละเอียด
ตัวชวี้ ัด ๑ รอ้ ยละของนักเรียนปฐมวยั มคี ุณภาพตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ ๘0
นกั เรียนปฐมวัยมคี ณุ ภาพตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย หมายถึง นักเรยี นปฐมวยั
คำอธิบาย ที่มผี ลการประเมินพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญาผ่าน
เกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับดขี ้ึนไปทัง้ 4 ด้าน
A จำนวนนักเรียนปฐมวัยในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขอ้ มลู ท่ใี ช้ ขน้ั พื้นฐาน ท่มี ีคุณภาพตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
B จำนวนนักเรียนปฐมวัยในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐานทัง้ หมด
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมูล
แหลง่ ข้อมูล - ผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนปฐมวัยตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ซง่ึ ตรวจสอบคณุ ภาพ
ผ้เู รยี นระดบั ปฐมวัย ทั้ง 4 ด้าน
- สพป. รายงานผลในระบบ E-MES (ELECTRONIC MONITORING AND EVALUATION
SYSTEM)
๑๕
ประเดน็ รายละเอียด
แหล่งข้อมูล - สวก. (ทำรายงานวิจัยแบบปีเว้นปีการศึกษาโดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างเฉพาะนักเรียน
อนบุ าลปที ่ี 3)
- สตผ. (สพป.รายงานในระบบ E-MES ทกุ ป)ี
ตัวชีว้ ดั 2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ระดบั ดขี ึ้นไป
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 90
นักเรียนที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรระดับดีขึ้นไป
หมายถึง นักเรียนในสถานศึกษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่เข้ารับการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้
คำอธบิ าย พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 8 ประการ
ได้แก่ 1.รักชาติศาสน์กษัตริย์ 2. ชื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่าง
พอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ และมีผล
การประเมินระดบั ดขี ึ้นไป
A จำนวนนักเรียนที่เข้ารับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
ข้อมลู ที่ใช้ และมผี ลการประเมนิ ระดบั ดีข้นึ ไป
B จำนวนนกั เรียนในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ข้อมูล
แหลง่ ขอ้ มลู สวก.
ตัวชว้ี ดั 3
คา่ เป้าหมาย ร้อยละของความสำเร็จของการดำเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อ
เสริมสร้างสมรรถนะผูเ้ รยี นท่ตี อบสนองการเปลี่ยนแปลงศตวรรษท่ี 21
คำอธบิ าย
ร้อยละ ๘0
1. ความสำเร็จของการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะ
การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 หมายถึง การดำเนินกจิ กรรม/โครงการของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
และทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
2. คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามโครงการพัฒนาการ
จดั การเรียนรทู้ ัง้ ระบบสกู่ ารยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและการเตรยี มผู้เรียน
ให้สอดคล้องกับศตวรรษท่ี 21 ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.
ในเร่อื งทกั ษะ การเรยี นรู้ (LEARNING SKILL) คอื การเรยี นรู้ 3RS8CS ดงั นี้
๑๖
ประเด็น รายละเอียด
3RS
คำอธิบาย 1. READING คือ สามารถอา่ นออก
ข้อมลู ที่ใช้ 2. (W)RITEING คือ สามารถเขียนได้
3. (A)RITHMATIC คือ มที ักษะในการคำนวณ
8CS
1. CRITICAL THINKING AND PROBLEM SOLVING คอื มีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและสามารถแก้ไขปัญหาได้
2. CREATIVITY AND INNOVATION คือ การคิดอย่างสร้างสรรค์และคิดเชิง
นวัตกรรม
3. CROSS-CULTURAL UNDERSTANDING คือ ความเข้าใจในความแตกต่างของ
วฒั นธรรมและกระบวนการคิดขา้ มวัฒนธรรม
4. COLLABORATION TEAMWORK AND LEADERSHIP คือ ความร่วมมือการ
ทำงานเปน็ ทมี และภาวะความเป็นผนู้ ำ
5. COMMUNICATION INFORMATION AND MEDIA LITERACY คือ มีทกั ษะใน
การส่อื สารและการร้เู ท่าทนั สือ่
6. COMPUTING AND IT LITERACY คือ มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และรู้เท่า
ทนั เทคโนโลยี
7. CAREER AND LEARNING SKILLS คือ มีทักษะอาชีพและการเรียนรู้
8. COMPASSION คอื มีความเมตตากรุณา มีคุณธรรม และมรี ะเบยี บวินยั
A จำนวนนักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย (245เขตพื้นที่การศึกษา เขตละ 10
โรงเรียน เท่ากับ 2,450 โรงเรียน) ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินในการพัฒนาให้มี
คุณลักษณะและทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (3RS8CS) ร้อยละ80
B จำนวนนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาให้มี
คุณลักษณะและทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3RS8CS)
วิธีการวเิ คราะห์ (A / B) * 100
ข้อมูล
แหล่งขอ้ มูล สวก. โดยมีกระบวนการได้มาซึง่ ข้อมลู ดังน้ี
1. สพป./สพม. ติดตามการดำเนินงานของโรงเรียนตามกิจกรรมที่กำหนด และ
รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ โดยส่งผ่านระบบรายงานผลการประเมิน
ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วน
ราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ระบบ KRS)
๑๗
ประเด็น รายละเอยี ด
แหล่งข้อมลู 2. สพป. / สพม. แนบไฟล์ข้อมูล (.DOCX พร้อม.PDF/.XLS/ฯลฯ) และไฟล์
ภาพถ่าย หรือวิดิทัศน์ (ถ้ำมี) ส่งผ่านระบบรายงานผลการประเมินส่วนราชการ
ตวั ชวี้ ดั 4 ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
คา่ เป้าหมาย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ระบบ KRS)
3. สพฐ. ดำเนินการรวบรวมข้อมลู วเิ คราะหส์ รปุ และรายงานผล
คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
รอ้ ยละ 40
ค่าเฉลี่ยของคะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 โดยชนั้
คำอธบิ าย ป.6 และ ม.3 ประกอบด้วย วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ ในส่วนชั้น ม.6 ประกอบด้วย วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
1. คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของ O-NET ชั้น ป.6 ประกอบด้วย วิชาภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์
ข้อมลู ที่ใช้ 2. คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของ O-NET ชั้น ม.3 ประกอบด้วย วิชาภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์
3. คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของ O-NET ชั้น ม.6 ประกอบด้วย วิชาภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
วธิ กี ารวเิ คราะห์ นำเข้าข้อมูลทีค่ ำนวนโดยสำนกั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)
ข้อมูล
แหลง่ ข้อมลู สทศ.
ตัวชวี้ ัด ๕ ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้รบั
คา่ เป้าหมาย การพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้าน
ภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ี่กำหนด
รอ้ ยละ ๙๐
คำอธบิ าย ข้อมูลของครูผู้สอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทุกคน
ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษา อังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษโดย
ใช้ระดับการพัฒนาทางภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ที่กำหนดหรือผ่านการสอบวัด
ระดับ CEFR
๑๘
ประเด็น รายละเอยี ด
A จำนวนครูผู้สอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมของ สพฐ. ที่
ขอ้ มลู ทใี่ ช้ ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้าน
ภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ี่กำหนด หรือผ่านการสอบ CEFR อย่างใดอย่างหนึ่ง
B จำนวนครผู สู้ อนภาษาอังกฤษในระดับช้ันประถมศกึ ษาและมัธยมของ สพฐ
วธิ ีการวเิ คราะห์ (A / B) * 100
ข้อมลู
แหลง่ ข้อมลู ศบศ.
ตวั ช้วี ัด ๖ ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการเตรียม
ความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) ในการประเมิน
ระดับนานาชาติตามโครงการ PISA
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 70
- สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
คำอธบิ าย พืน้ ฐาน
- การได้รับการเตรียมความพร้อม หมายถึง การนำนักเรียนเข้าใจงานระบบ PISA
STYLE ONLINE TESTING และแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการ
ประเมนิ PISA ทส่ี ำนักทดสอบทางการศกึ ษาเผยแพร่ และใหบ้ รกิ าร
ข้อมูลทใ่ี ช้ A จำนวนสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับกำรเตรียมความ
พร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) ในการประเมินระดับ
นานาชาตติ ามโครงการ PISA
B จำนวนสถานศึกษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
วิธกี ารวเิ คราะห์ (A / B) * 100
ข้อมูล
แหลง่ ขอ้ มูล สทศ.
(ข้อมูลจากฐานระบบ PISA STYLE ONLINE TESTING และหลักฐานร่องร่อยการ
ตวั ชีว้ ดั 7 ทำแบบฝึกทักษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ PISA ของนกั เรยี น)
คา่ เป้าหมาย
ร้อยละของสถานศกึ ษาทส่ี ามารถจัดการเรยี นการสอนตามพหปุ ญั ญา
รอ้ ยละ 10
คำอธบิ าย - พหุปัญญา หมายถึง ความสามารถทางปัญญาของมนุษย์ตามทฤษฎีพหุปัญญา
แบ่งออกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ ปัญญาด้านภาษา (LINGUISTIC INTELLIGENCE)
ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (LOGICAL– MATHEMATICAL INTELLIGENCE)
๑๙
ประเดน็ รายละเอยี ด
คำอธบิ าย ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์(VISUAL–SPATIAL INTELLIGENCE) ปัญญาด้านร่างกาย
ข้อมูลทใ่ี ช้ และการเคลื่อนไหว (BODILY – KINESTHETIC INTELLIGENCE) ปัญญาด้านดนตรี
(MUSICAL INTELLIGENCE) ปัญญาด้านความเข้าใจตนเอง (INTRAPERSONAL
INTELLIGENCE) ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (NATURALIST INTELLIGENCE) และ
ปญั ญาดา้ นมนษุ ย์สมั พนั ธ(์ INTERPERSONAL INTELLIGENCE)
- การจัดการเรียนการสอนตามพหุปัญญา หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการ / โครงงาน รวมถึงการจัดห้องเรียนพิเศษประเภท
ต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้มีความสามารถพิเศษ 8 ด้าน ตามทฤษฎี
พหุปัญญา ไดแ้ ก่
1. ความสามารถพิเศษด้านภาษา (VERBAL/LINGUISTIC ABILITIES) รวมถึงการ
พัฒนาเด็กผู้มีศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศผ่านการเรียนการสอนห้องเรียนพิเศษ
ภาษาองั กฤษ ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน
2. ความสามารถพเิ ศษด้านคณติ ศาสตร์ (MATHEMATICAL/REMBOLIC ABILITIES)
3. ความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ (SCIENCE/REALISTIC ABILITIES)
4. ความสามารถพิเศษด้านเครือ่ งกลและอิเล็กทรอนกิ ส์ (MECHANICAL/ELECTRONICS
ABILITIES)
5. ความสามารถพเิ ศษด้านศลิ ปะ/มติ ิสมั พันธ์ (ARTISTIC/SPATIAL ABILITIES)
6. ความสามารถพิเศษด้านการได้ยนิ (SONANCE/AUDITORY ABILITIES)
7. ความสามารถพเิ ศษด้านการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ (SOMATIC/BODILY ABILITIES)
8. ความสามารถพิเศษด้านสงั คมและอารมณ์ (SOCIAL AND EMOTIONAL ABILITIES)
A จำนวนสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนตามพหุปัญญา รวมถึง
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย 12 โรง โรงเรียนในโครงการห้องเรียน
พิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 220 โรง โรงเรียน
ในโครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ 2,200 โรง โรงเรียนซึ่งจัดให้มีการเรียนการสอน
ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษแบ่งเป็น EP 211 โรงเรียน, MEP 420 โรงเรียน,
IEP 11 โรงเรียน โรงเรียนซึ่งจัดให้มีการเรียนการสอนห้องเรียนพิเศษภาษาจีน
จำนวน 1,452 โรงเรียน และจำนวนสถานศึกษาอื่น ๆ ที่สามารถจัดการเรียน
การสอนตามพหุปัญญา
B จำนวนสถานศึกษาสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
วิธกี ารวเิ คราะห์ (A / B) * 100
ข้อมูล
แหล่งขอ้ มลู สวก. / สบว. / ศบศ. / สนผ.
๒๐
ประเดน็ รายละเอยี ด
ตวั ชีว้ ดั ๘ ร้อยละของนกั เรยี นท่ีได้รับการคดั กรองเพอ่ื พัฒนาพหปุ ัญญารายบคุ คล
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ ๑0
- พหุปัญญา หมายถึง ความสามารถทางปัญญาของมนุษย์ตามทฤษฎีพหุปัญญาแบ่ง
ออกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ ปัญญาด้านภาษา (LINGUISTIC INTELLIGENCE) ปัญญาด้าน
ตรรกะและคณติ ศาสตร์ (LOGICAL– MATHEMATICAL INTELLIGENCE) ปัญญาดา้ น
มิต ิสัมพ ันธ์(VISUAL–SPATIAL INTELLIGENCE) ปัญญาด้ านร่ างกาย และ
การเคลื่อนไหว (BODILY–KINESTHETIC INTELLIGENCE) ปัญญาด้านดนตรี (MUSICAL
INTELLIGENCE) ปัญญาด้านมนุษย์สัมพันธ์(INTERPERSONAL INTELLIGENCE)
ปัญญาด้านความเข้าใจตนเอง (INTRAPERSONAL INTELLIGENCE) และปัญญาด้าน
ธรรมชาติวิทยา (NATURALIST INTELLIGENCE)
- ความสามารถพเิ ศษ หมายถึง ความสามารถที่โดดเดน่ ของบคุ คลด้านใดด้านหนึง่ หรือ
หลายด้านเหนือบุคคลในวัยเดียวกันซึ่งอาจเป็นความสามารถทางสติปัญญา
ความสามารถทางวิชาการเฉพาะด้าน จำแนกออกเปน็ 8 ด้าน ได้แก่
1. ความสามารถพิเศษด้านภาษา (VERBAL/LINGUISTIC ABILITIES)
คำอธบิ าย 2. ความสามารถพเิ ศษด้านคณติ ศาสตร์ (MATHEMATICAL/REMBOLIC ABILITIES)
3. ความสามารถพิเศษด้านวทิ ยาศาสตร์ (SCIENCE/REALISTIC ABILITIES)
4. ความสามารถพเิ ศษด้านเครื่องกลและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (MECHANICAL/ELECTRONICS
ABILITIES)
5. ความสามารถพิเศษด้านศลิ ปะ/มติ สิ ัมพนั ธ์ (ARTISTIC/SPATIAL ABILITIES)
6. ความสามารถพิเศษด้านการไดย้ นิ (SONANCE/AUDITORY ABILITIES)
7. ความสามารถพเิ ศษด้านการเคล่ือนไหวกล้ามเนื้อ (SOMATIC/BODILY ABILITIES)
8. ความสามารถพิเศษด้านสังคมและอารมณ์ (SOCIAL AND EMOTIONAL
ABILITIES)
- การคัดกรอง หมายถึง ผลการสำรวจจากการคัดกรองผ่านโปรแกรมสำรวจแวว
ความสามารถพเิ ศษที่สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษาพฒั นาขนึ้
- การพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล หมายถึง การนำแนวทางการพัฒนาพหุปัญญา 8
ด้าน ไปพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามผลการคัดกรองผ่านโปรแกรมสำรวจแวว
ความสามารถพิเศษทส่ี ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาพฒั นาข้ึน
A จำนวนนักเรียนที่ได้รับการคัดกรองด้วยระบบสำรวจแววความสามารถพิเศษ
ข้อมูลทใี่ ช้ ดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์จำแนกตามระดับชนั้ (ป.3-6 และ ม. 1-6)
B จำนวนนักเรียนระดับช้ัน ป 3- ม.6 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ขอ้ มลู
แหลง่ ข้อมูล สวก.
๒๑
3.4 แนวทางการพฒั นา
คณุ ภาพผู้เรียน
๓.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะ
ที่จำเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เปน็ คนดี มวี นิ ัย มีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ ยดึ ม่ัน
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนำพระบรมราโชบาย
ดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้ำเจา้ อยหู่ ัว สูก่ ารปฏิบตั ิ
๓.๒ พัฒนาผเู้ รียนตามแนวทางพหปุ ัญญา (Multiple Intelligences)
3.3 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิด
ขั้นสูงนวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั เช่อื มโยงสอู่ าชพี และการมงี านทำ มีทกั ษะอาชีพทีส่ อดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศ
๓.4 ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่นำไปสู่
Digital Life & Learning
๓.5 ดำเนินการคัดกรอง/วัดความสามารถและความถนัดของผู้เรียน เพื่อพัฒนา
ใหส้ อดคล้องกบั ศกั ยภาพและสง่ เสรมิ ขดี ความสามารถตามศกั ยภาพ
คณุ ภาพครู
3.6 ส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้รูปแบบ Active
Learning /Co-creation ใหก้ ับผู้เรยี นในทกุ ระดับชั้น
3.7 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มศี กั ยภาพในการจดั การเรยี นการ
สอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ มีความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึง
มีความรู้และทักษะในสังคมยุคชวี ิตวถิ ีใหม่ (New Normal) มแี รงจูงใจในความเปน็ ครมู ืออาชีพ
3.8 ส่งเสริม สนับสนุนครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเอง
ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โดยมีการพัฒนารายบุคคล ส่งเสริมการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูง
ตามมาตรฐานนานาชาตขิ องครู มจี รรยาบรรณ และจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู
หลักสูตรและอ่นื ๆ
3.9 พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และหลักสตู รสถานศกึ ษาบนฐานของสามมโนทัศน์หลกั คือ Career Education, Competency Building,
Creative Education
๓.๑๐ ส่งเสริม สนับสนุนการวัดประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ (Assessment for
Learning)ที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของสถานศึกษา โดยให้มีรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เช่น
การทดสอบด้วยข้อสอบปรนัยและอัตนัย การประเมินภาคปฏิบัติ (Performance-based Assessment)
และการประเมิน ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) เป็นตน้
๓.๑๑ เพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษาและบูรณาการอย่างยั่งยืนในการจัดการ
เรยี นรวม
๓.๑๒ พัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการศกึ ษาของผ้เู รยี น รวมท้งั ดำเนนิ การให้มกี ารขยายผล
3.13 สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนผ่านแพลตฟอร์ม ด้านการศึกษา
เพื่อความเปน็ เลศิ
๒๒
3.14 บูรณาการการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อด้านอาชีพ และการประกอบอาชีพ
หรือการมีงานทำตามความตอ้ งการและความถนดั ของผ้เู รียน
3.15 พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยแห่งชาติ
3.16 สนับสนุนการปรับปรุงหลกั สูตรการผลติ ครู สายสามัญ ปฐมวัย การศึกษา
พเิ ศษการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สอดคล้องกับบรบิ ทพื้นท่ี สนบั สนนุ การพฒั นาระบบและกระบวนการบริหาร
จดั การกระบวนการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู และระบบการนเิ ทศการศึกษา และการสอนงานของครูพเ่ี ลยี้ ง
ในสถานศึกษา
3.17 เสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคล เพื่อความเป็นเลิศ
(HCEC) เพื่อเปน็ ศนู ยก์ ลางในการบริหารจดั การพฒั นาศักยภาพบุคคลสคู่ วามเปน็ เลิศ
กลยทุ ธ์ท่ี 4 เพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศึกษา
4.1 เป้าหมาย
4.1.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาสถานศึกษามีการนำระบบข้อมูลสำรสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ
อย่างมีประสิทธภิ าพ
4.1.2 สถานศึกษาและพื้นที่นวัตกรรมได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มี
ความคลอ่ งตัวและเอื้อต่อการบริหารและการจดั การศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพที่เหมาะสมกบั บริบท
4.1.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาสถานศึกษา มีการบริหารจัดการ โดยเฉพาะด้านงบประมาณ และการบริหารงานบุคคล
ท่มี ปี ระสิทธิภาพเหมาะสมกบั บรบิ ท
4.1.4 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาสถานศึกษามีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วม ที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสม
กับบรบิ ท
๔.2 ตัวชีว้ ดั คา่ เป้าหมาย
ท่ี ตัวช้วี ดั คา่ เปา้ หมาย
1. รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจดั การท่เี ป็นดจิ ิทัล ร้อยละ ๘0
2. สัดส่วนของเวลาของครูในการจัดการเรียนการสอนต่องานอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก สดั สว่ น ๓ : 2
การจดั การเรยี นการสอน
ร้อยละของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศกึ ษา ในเขตพื้นที่ลักษณะพิเศษ
3. และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการจดั การศึกษา ร้อยละ ๘0
ตามบรบิ ทพืน้ ท่ี
4. รอ้ ยละของหน่วยงานในสงั กดั สพฐ. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA รอ้ ยละ ๔0
5. ร้อยละของโครงการของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา รอ้ ยละ 90
ขั้นพ้ืนฐาน ทบ่ี รรลผุ ลสัมฤทธ์ิตามค่าเปา้ หมายยทุ ธศาสตรช์ าติ
๒๓
4.3 รายละเอียดตัวช้วี ดั
ประเดน็ รายละเอียด
ตัวชว้ี ดั ๑ รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบบริหารจัดการท่ีเป็นดจิ ิทลั
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 80
- หน่วยงาน หมายถึง สำนัก/หน่วยงานเทียบเท่าในสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สว่ นกลาง) และสำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
- สถานศกึ ษา หมายถึง สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
คำอธบิ าย พืน้ ฐาน ตามกลมุ่ เป้าหมายทก่ี ำหนด
- ระบบบริหารจัดการที่เป็นดิจิทัล หมายถึง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์
หรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่ใช้ในการสนับสนุนการบริหารจัดการของหน่วยงาน
และสถานศึกษา 4 ด้านได้ครบถ้วน ได้แก่ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านแผนงาน
และงบประมาณ ด้านบริหารงานบุคคล และด้านวชิ าการ
A จำนวนหน่วยงานและสถานศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการที่เป็นดิจิทัล
ขอ้ มลู ทีใ่ ช้ ได้ครบถ้วน
B จำนวนหนว่ ยงานและสถานศึกษาทั้งหมดตามกลุ่มเปา้ หมาย
วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100
ขอ้ มลู
แหลง่ ข้อมลู กพร. สทร.
ตัวชวี้ ดั 2 สัดส่วนของเวลาของครูในการจัดการเรียนการสอนต่องานอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก
การจัดการเรยี นการสอน
คา่ เป้าหมาย สัดสว่ น 3 : 2
- เวลาของครูในการจัดการเรียนการสอน หมายถึง ภาระของครูในการจัดการ
เรียนการสอนโดยตรงต่อนักเรียนตามระยะเวลาที่กำหนดในมาตรฐานงานหรือ
คำอธิบาย เวลาทใ่ี ชใ้ นภาระงานเพอ่ื การพัฒนาผเู้ รียนโดยตรง
- งานอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอน หมายถึง ภาระงานอื่น ๆ
ทีน่ อกเหนือจากเวลาของครใู นการจัดการเรยี นการสอน
A ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการจดั การเรยี นการสอน
ข้อมูลท่ีใช้ B ระยะเวลาทใี่ ช้นอกเหนือจากการจดั การเรยี นการสอน
C ระยะเวลาทัง้ หมดท่คี รูใช้ในโรงเรยี น
วิธกี ารวิเคราะห์ A:B
ข้อมูล
แหล่งข้อมลู กพร.
๒๔
ประเดน็ รายละเอยี ด
ตัวชีว้ ดั 3 ร้อยละของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในเขตพื้นที่ลักษณะพิเศษ
และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
ตามบรบิ ทพ้นื ที่
คา่ เป้าหมาย ร้อยละ 80
1. สถานศึกษาในพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา หมายถึง สถานศึกษานำร่องในพื้นท่ี
นวัตกรรมการศึกษา จำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสตูล จังหวัดระยอง จังหวัด
เชียงใหม่ จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และ
จงั หวัดนราธวิ าส
๒. สถานศึกษาในเขตพื้นที่ลักษณะพิเศษ หมายถึง โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่
คำอธิบาย ลักษณะพิเศษ กลุ่มโรงเรยี นพน้ื ท่สี ูงในถิน่ ทุรกนั ดารและโรงเรยี นพน้ื ที่เกาะ
๓. สถานศึกษาเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ หมายถงึ สถานศึกษาทตี่ ัง้ อย่ใู นเขตพ้ืนที่
เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดน โดยตั้งอยู่ใน 10 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย
กาญจนบุรี นราธิวาส หนองคาย นครพนม ตราด สงขลา ตาก สระแก้ว และ
มกุ ดาหาร รวมถงึ สถานศกึ ษาที่ตง้ั อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC ใน 3
จงั หวดั ภาคตะวนั ออก ได้แก่ ชลบรุ ี ระยอง และฉะเชิงเทรา
A จำนวนสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพ
การจดั การศกึ ษา
B จำนวนสถานศึกษาในเขตพื้นที่ลักษณะพิเศษที่ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพ
ข้อมลู ทใ่ี ช้ การจดั การศึกษา
C จำนวนสถานศึกษาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทีได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพ
การจดั การศึกษา
D จำนวนสถานศกึ ษาในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
วิธีการวิเคราะห์ (A+B+C/D) * 100
ข้อมลู
แหลง่ ข้อมูล สบน. / สนผ. / สมป.
(ศึกษาจากการรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในโครงการจากการ
ตวั ชี้วัด 4 สนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการ
คา่ เป้าหมาย สอน สื่อ นวัตกรรม ที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายของเขตพัฒนาพิเศษ
คำอธิบาย ภาคตะวันออก (EASTERN ECONOMIC CORRIDOR : EEC) ตามบริบทของ
โรงเรียน รวมถึงการใช้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว)้
รอ้ ยละของหนว่ ยงานในสงั กดั สพฐ. ทผี่ ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
รอ้ ยละ 80
หน่วยงานในสังกัด สพฐ. หมายถึง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
ในสงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
๒๕
ประเดน็ รายละเอยี ด
ข้อมลู ท่ีใช้ 1. ผลการประเมิน ITA ของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
2. ผลการประเมิน ITA ของสถานศกึ ษา
วธิ กี ารวิเคราะห์ นำเข้าข้อมลู จากระบบการประเมนิ ITA ONLINE
ขอ้ มลู
แหล่งขอ้ มูล สนก. (ผลการประเมนิ ITA ของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา)
ตัวชวี้ ดั ๕ สพท. (ผลการประเมนิ ITA ของสถานศกึ ษา)
คา่ เป้าหมาย รอ้ ยละของโครงการของหนว่ ยงานในสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐานทบี่ รรลผุ ลสมั ฤทธ์ติ ามคา่ เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ
ร้อยละ 10
1. โครงการของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หมายถึง โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มี
คำอธบิ าย การดำเนินการและนำเข้าข้อมูลโครงการในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ
(EMENSCR)
2. การบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามค่าเป้าหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง การนำผลการ
ดำเนินงานโครงการไปเปรียบเทียบกับค่ำเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติท่ี
สอดคล้องกับโครงการน้นั ๆ
A จำนวนโครงการที่มีการดำเนินการและนำเข้าข้อมูลจากระบบติดตามและ
ประเมินผลแห่งชาติ (EMENSCR) ที่บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามค่าเป้าหมายยุทธศาสตร์
ข้อมลู ท่ใี ช้ ชาติที่สอดคลอ้ งกับโครงการน้นั ๆ
B จำนวนโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
วิธกี ารวเิ คราะห์ (A / B) * 100
ขอ้ มลู
สตผ.
แหลง่ ข้อมลู (นำผลการดำเนินงานโครงการเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติที่
สอดคล้องกบั โครงการนนั้ ๆ)
๔.4 แนวทางการพฒั นา
การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
4.4.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง (Big Data) ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย และเป็นปัจจุบัน เพื่อสามารถตอบสนอง
ความต้องการที่แตกต่างของนักเรียน และผู้รับบริการทุกประเภท รวมทั้งพัฒนาระบบฐานข้อมูล
เพื่อปรับปรุงการบริการกระบวนงาน ตลอดจนการพัฒนาจนเกิดเป็นนวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการ
ทั้งในภาพรวม และเฉพาะกลุ่มได้ โดยสามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลกลางของหน่วยงานอื่น ๆ
ได้อย่างมีประสิทธภิ าพและปลอดภัยในทุกมติ ิ
๒๖
๔.4.2 พัฒนาและจัดระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา สำหรับประชาชน
และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียไดม้ กี ารเขา้ ถึงขอ้ มูลได้อย่างสะดวก
๔.4.๓ ส่งเสริม การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ
ให้มปี ระสทิ ธิภาพทุกระดบั
การพัฒนาประสทิ ธภิ าพสถานศึกษาและพืน้ ทนี่ วตั กรรม
๔.4.๔ สนับสนุนการจัดทำมาตรฐานสำหรับโรงเรียนที่สามารถดำเนินการ
จดั การเรียนการสอนได้อย่างมคี ณุ ภาพ
๔.4.5 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทุกด้านให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา
ที่มีคุณภาพ
๔.4.6 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียน
ขนาดเล็กและโรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับบริบท
ของพน้ื ที่
๔.4.7 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ให้ผู้เรียน ได้มีโอกาส
รบั การศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ
๔.4.8 ส่งเสริมการจัดการศึกษาในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะและพื้นที่
พิเศษ อาทิ โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ โรงเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โรงเรียนในเขตพัฒนา
พเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ เปน็ ตน้
๔.4.9 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรม
การศกึ ษาและการเพ่ิมความคล่องตวั ในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
๔.4.10 พัฒนาระบบประกันคุณภาพสถานศึกษา และส่งเสริมให้สถานศึกษา
มคี วามเข้มแขง็ ในระบบประกันคุณภาพ
การบรหิ ารจดั การ
๔.4.11 จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรด้านการศกึ ษในกำรขับเคลื่อนนโยบาย
ตามความต้องการและจำเป็นของผู้เรียนและสถานศึกษาในบริบทของแต่ละพื้นที่ และกระจายอำนาจการ
บริหารและงบประมาณไปสู่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา โดยลดกิจกรรมที่ดำเนินการ
จากส่วนกลาง เนน้ กำกับทศิ ทาง และตดิ ตามประเมนิ ผล
๔.4.12. สนับสนุนให้มีการปรับอัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐานให้เหมาะสม
๔.4.13. พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลให้เปน็ ไปตามหลักธรรมาภิบาล
๔.4.14. พัฒนาบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านการวางกลยุทธ์องค์กร การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานและการสร้างสุขในองค์กร และพัฒนาบุคลากร
ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ด้านความเชื่อมโยงจากนโยบายสู่การปฏิบัติ วัฒนธรรมการให้บริการ
และการสร้างเครือข่ายการทำงาน และให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ มาตรฐานตำแหน่ง และวิทยฐานะ
พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ คี วามก้าวหนา้ ในอาชพี มาตรฐานตำแหนง่ และวทิ ยฐาน
๔.4.15 บริหารอัตรากำลังในสถานศึกษา เพื่อลดภาระงานอื่นของครูที่ไม่ใช่
การสอนและบรหิ ารอตั รากำลังในสำนักงานทกุ ระดับ ให้สอดคลอ้ งกับภารกิจ เพือ่ ส่งเสรมิ การพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
๒๗
๔.4.1๖ พัฒนาระบบการประเมิน คุณธรรม และความโปร่งใสในการดำเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) โดยให้บุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ นำหลักธรรมาภิบาลไปสู่การปฏิบัติ
อย่างเปน็ รูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพและตอ่ เนื่อง
๔.4.17 เพม่ิ ประสิทธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
๔.4.18 บูรณาการระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
ในเชิงนโยบาย Agenda Based และ Area-based ระดับคลัสเตอร์ (Cluster) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศกึ ษา
๔.4.19 ส่งเสริมการมสี ่วนร่วม และจัดการศึกษาร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคมและองค์กรอื่น ๆ โดยเพิ่มบทบาทและกรอบภารกิจที่ตอบสนองต่อนโยบายของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานและกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมากข้ึน
โดยสรุปแล้ว แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีวิสัยทัศน์
สร้างคุณภาพทุนมนษุ ย์สู่สงั คมอนาคตที่ยง่ั ยืน ผ่านการขับเคลอ่ื นใน 4 กลยทุ ธ์หน่วยงาน ไดแ้ ก่ กลยุทธ์ท่ี 1
ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ กลยุทธ์ที่ 2 สร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษา
ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และกลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการศึกษา เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของแผนในระดับต่าง ๆ ตามที่ได้กล่าว
มาแล้วในส่วนที่ 2 ซึ่งในแต่ละกลยุทธ์ของการดำเนินงานได้กำหนดประเด็นสำคัญ โดยมีเป้าหมาย
ในการดำเนนิ การ ตัวชวี้ ดั แนวทางในการดำเนินการ และแผนงาน/โครงการ โดยสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนการปฏริ ูปประเทศ และแผนอ่ืน ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๒๘
บทที่ 3
แนวทางการรายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
การรายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา (ก.ต.ป.น) ภาคเรียนท่ี 2
ปกี ารศกึ ษา 2564 เพื่อต้องการสะท้อนภาพความสำเรจ็ ท่ีเกิดขึ้น จากการดำเนนิ งานพฒั นาการบริหาร
จัดการด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป
และการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ไปสู่การปฏิบัติตาม
กรอบภารกิจในสถานศึกษา ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู คุณภาพการบริหารจัดการ
โดยใช้ระเบียบวิธีการเชิงคุณภาพและสถิติค่าเฉลี่ยร้อยละ ซึ่งจะนำเสนอขั้นตอนและรายละเอียด
การดำเนนิ การ ดังน้ี
1. ขอ้ มลู พ้นื ฐานทั่วไป
ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู แสดงจำนวนโรงเรยี นตามขนาดท่ตี ง้ั และเวบ็ ไซต์
ท่ี ช่อื โรงเรยี น ขนาด ที่ตั้ง เว็บไซตข์ องโรงเรียน
โรงเรียน
1 สมทุ รสาครวทิ ยาลยั ใหญ่ 1200 ถ.เอกชยั
พิเศษ ต.มหาชยั อ. เมอื งฯ http://www.sksc.ac.th/
จ. สมทุ รสาคร 74000
เฉลิมพระเกียรติ 35/5 หมู่ 6
2 สมเดจ็ พระศรี กลาง ต.บางโทรดั อ.เมอื งฯ http://www.swsakhon.ac.th/
นครินทร์ สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสาคร 74000
71 หมู่ 1 ต.หลักสาม
3 วดั ธรรมจริยาภริ มย์ กลาง อ.บา้ นแพ้ว http://www.wd.ac.th/
จ.สมทุ รสาคร 74120
หลกั สองสง่ เสริม 80 หมู่ 2 ต.หลักสอง http://www.lak2.ac.th/
วิทยา
4 เล็ก อ.บ้านแพ้ว
จ.สมทุ รสาคร 74120
17 หมู่ 2 ต.
5 วัดหลักสพี่ พิ ฒั น์ เลก็ ยกกระบัตร อ.บา้ น http://watlaksipipat.ac.th/
ราษฎรอ์ ปุ ถมั ภ์ แพ้ว
จ.สมทุ รสาคร 74120
6 สมุทรสาครบูรณะ ใหญ่ 919 ถ. นรสิงห์
พิเศษ ต.มหาชยั อ.เมอื ง https://www3.skburana.ac.th/
จ.สมุทรสาคร 74000
๒๙
ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู แสดงจำนวนโรงเรียนตามขนาดท่ตี งั้ และเว็บไซต์ (ตอ่ )
ท่ี ชื่อโรงเรยี น ขนาด ทีต่ ั้ง เวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน
โรงเรยี น
442/30 ต.ตลาด
7 กระทุ่มแบน“วเิ ศษ ใหญ่ กระท่มุ แบน อ.กระทมุ่ http://www.wsk.ac.th/wwwwsk/
สมุทคุณ” แบน จ.สมุทรสาคร
74110
อ้อมน้อยโสภณชนูป 1/13 หม4ู่ ต.ออ้ ม
ถัมภ์
8 ใหญ่ น้อย อ.กระทมุ่ แบน http://osc.ac.th/
จ.สมทุ รสาคร 74130
58 ต.โคกขาม อ.เมือง
เลก็ สมทุ รสาคร สมุทรสาคร http://www.phanthai.ac.th/
9 พนั ทา้ ยนรสงิ หว์ ทิ ยา
74000
144/1 หมู่ 4 ต.บ้าน
10 สมุทรสาครวุฒิชยั กลาง เกาะ อ.เมอื งสมทุ รสาคร https://skwc.ac.th/
จ.สมุทรสาคร 74000
1 หมู่ 1 ต.บางยาง
11 กุศลวทิ ยา เลก็ อ.กระทมุ่ แบน http://www.kusolwittaya.ac.th/
จ.สมทุ รสาคร 74110
122 ถนนเอกชยั
12 ศรัทธาสมทุ ร ใหญ่ ต.ลาดใหญ่ อ.เมอื งฯ http://www.sattha.ac.th/
จ.สมุทรสงคราม
75000
34/9 ถ.สมุทรสงคราม
13 ถาวรานกุ ลู ใหญ่ - บางแพ ต.แม่กลอง http://thawara.ac.th/
อ.เมอื งฯ จ.
สมทุ รสงคราม 75000
75 ถ.อัมพวนั นิเวศน์
14 อมั พวันวิทยาลัย กลาง ต.อัมพวา อ.อัมพวา http://www.aw.ac.th/
จ.สมทุ รสงคราม
75110
52 หมู่ 5 ต.บางนกแขวก
15 เมธีชุณหะวัณ เล็ก อ.บางคนที http://mateechunhawan.ac.th/
วทิ ยาลยั จ.สมทุ รสงคราม
75120
๓๐
ตารางที่ 1 ขอ้ มลู แสดงจำนวนโรงเรียนตามขนาดทตี่ ัง้ และเวบ็ ไซต์ (ต่อ)
ท่ี ชอ่ื โรงเรียน ขนาด ทต่ี งั้ เวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน
โรงเรียน
16 วัดแก้วเจรญิ อำนวย 5/1 หมู่ 1 ต.วดั ประดู่
วทิ ย์ เลก็ อ.อมั พวา จังหวดั http://wa.ac.th/
สมุทรสงคราม 75110
17 วัดบางกะพ้อม(คง เล็ก 5 ต.อมั พวา อ.อัมพวา
ลาภยิ่งประชานุสรณ์) จ.สมทุ รสงคราม http://bkp-ssk.ac.th/
75110
33/4 หมู่ 5 ต.ทา้ ยหาด
18 ทา้ ยหาด กลาง อ.เมอื ง จังหวดั https://sites.google.com/view
สมุทรสงคราม /thaihaad
75000
45 หมู่ 2 ต.บางกงุ้
19 สกลวสิ ุทธิ เลก็ อ.บางคนที จังหวดั http://sakolwisuth.ac.th/
สมุทรสงคราม
75120
1 หมู่ 1 ต.ท่าคา
20 เทพสวุ รรณชาญวทิ ยา เล็ก อ.อัมพวา จงั หวดั https://www.thepsuwan.ga/
สมทุ รสงคราม home
75110
ตารางที่ 2 ขอ้ มูลจำนวนผบู้ ริหาร ครู นกั เรียน ลกู จา้ งประจำและอัตราจ้าง
ท่ี ชอื่ โรงเรียน ผู้อำนวยการ& ครู พนักงาน อัตราจา้ ง ลกู จ้าง นักเรยี น
รองฯ (คน) (คน) ราชการ (คน) ประจำ (คน)
(คน) (คน)
1 สมุทรสาครวิทยาลัย 1+4 114 - 19 3 3,033
เฉลมิ พระเกียรติ
2 สมเด็จพระศรี 1+3 64 5 6 1 1,443
นครนิ ทร์ สมทุ รสาคร
3 วัดธรรมจริยาภริ มย์ 1+3 43 2 2 1 876
4 หลักสองส่งเสริม 1 10 - 4 2 139
วิทยา
5 วัดหลกั ส่พี พิ ัฒน์ 1 17 1 4 1 354
ราษฎร์อุปถมั ภ์
๓๑
ตารางที่ 2 ข้อมลู จำนวนผบู้ รหิ าร ครู นกั เรยี น ลกู จ้างประจำและอตั ราจ้าง
ท่ี ชือ่ โรงเรียน ผอู้ ำนวยการ& ครู พนักงาน อตั ราจ้าง ลูกจา้ ง นกั เรียน
รองฯ (คน) (คน) ราชการ (คน) ประจำ (คน)
(คน) (คน)
6 สมุทรสาครบรู ณะ 1+4 125 2 9 7 2,615
7 กระทมุ่ แบน“วเิ ศษ 1+4 96 3 14 2 ๒,๐๘๔
สมุทคุณ”
8 อ้อมน้อยโสภณชนปู 1+3 ๗๘ 2 ๘ ๗ ๑,๗๗๘
ถมั ภ์
9 พนั ทา้ ยนรสิงห์ 1+1 21 0 4 1 491
วิทยา
10 สมทุ รสาครวฒุ ิชยั 1+3 56 3 4 1 1,221
11 กศุ ลวิทยา 1 12 1 1 1 97
12 ศรทั ธาสมทุ ร 1+4 106 1 9 1 2,169
13 ถาวรานกุ ูล 1+4 109 0 6 1 2,283
14 อัมพวันวิทยาลัย 1+3 58 1 10 3 1,152
15 เมธีชุณหะวัณ 1 12 0 1 1 60
วทิ ยาลัย
16 วดั แก้วเจรญิ อำนวย 1 12 0 1 0 36
วิทย์
วดั บางกะพ้อม
17 (คงลาภยิ่งประชา 1 11 0 1 0 54
นุสรณ์)
18 ท้ายหาด 1+1 29 0 3 1 615
19 สกลวสิ ทุ ธิ 1 91 2 0 102
20 เทพสุวรรณชาญวิทยา 1 90 3 1 161
2. ประชากร
1. ครู ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษาเขตสมทุ รสาคร สมุทรสงคราม จำนวน 20 โรงเรียน
2. ผู้บริหารสถานศึกษา คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือรองผู้อำนวยการโรงเรียน
และ/หรือ หัวหน้าฝ่ายวิชาการในโรงเรียนครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษาเขตสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม จำนวน 20 โรงเรียน
3. นักเรียน ได้แก่ นักเรียนที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายในโรงเรียน
สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขตสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม จำนวน 20 โรงเรยี น
3. รูปแบบของนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการศึกษา
ในการนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการศึกษาครั้งนี้ เป็นการนิเทศ การติดตาม
และประเมินผลการศึกษาแบบพหุกรณีศึกษา (Multisite case study) ที่มุ่งศึกษาในเชิงลึกด้วยการ
๓๒
อธิบายโดยใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ซึ่งจะได้มาโดยการวิเคราะห์เป็นรายกรณีศึกษาของสภาพ
การจัดการเรียนรู้ การบริหารและบริบทโรงเรียนเป็นอย่างไร รูปแบบการส่งเสริมและการพัฒนาที่มี
คณุ ภาพเปน็ อย่างไร และผลท่ีเกดิ ข้ึนเปน็ อยา่ งไร
4. การเก็บรวบรวมข้อมูลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
ระยะเวลาของการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นไปตามแผนที่คณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษากำหนดวางไว้ โดยมเี ครอ่ื งมอื ในการเก็บขอ้ มูลตามเอกสารแนบ
ในภาคผนวก
5. เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
เครื่องมือประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนและองค์ประกอบการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา การดำเนินงานของโรงเรยี น ดงั น้ี
เครือ่ งมอื นิเทศ ติดตาม และประเมินผล ภาคเรยี นที่ 2/2564 ประกอบดว้ ย ประเดน็ ต่าง ๆ ดังนี้
ตอนท่ี 1 ข้อมลู พนื้ ฐานของโรงเรยี น
ตอนท่ี 2 การดำเนนิ งานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 4 ด้าน
ด้านที่ 1 การบรหิ ารงานวิชาการ
ดา้ นท่ี 2 การบรหิ ารงานบุคคล
ด้านท่ี 3 การบริหารงานงบประมาณ
ดา้ นท่ี 4 การบริหารงานทวั่ ไป
ตอนท่ี 3 การดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร
สมทุ รสงคราม
๓.๑ การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นและพฒั นาหอ้ งสมดุ มีชวี ิต
๓.๒ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จ
พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี
๓.๓ การดำเนินการตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน”
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
๓.๔ การดำเนินโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
๓.๕ การขับเคล่ือนหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่สู ถานศกึ ษา
๓.๖ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื อาชีพมงี านทำ
๓.๗ การใชห้ ลกั สูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา
๓.๘ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School)
๓.๙ การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ (Coding)
ของสถานศกึ ษา
๓.๑๐ เตรียมความพร้อมผ้เู รยี นเพือ่ รบั การประเมิน PISA ๒๐๒๑ (๒๕๖๔)
๓.๑๑ การใช้หนังสือ เรื่อง ทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
สำหรับสถานศึกษาในพน้ื ทน่ี ำรอ้ ง (ฉบับผู้บริหารสถานศกึ ษา)
๓.๑๒ การจัดการเรียนรู้ดว้ ย STEM Education ของสถานศึกษาในพ้นื ท่ีรับผดิ ชอบ
๓.๑๓ การส่งเสริมการเรียนรู้ดา้ นส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน
๓.๑๔ เครอ่ื งมอื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ดว้ ย SKSS Model
๓๓
ตอนท่ี 4 ผลงานความสำเร็จท่เี ปน็ แบบอยา่ งได้
ตอนท่ี 5 ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ
6. การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การเชื่อมโยงแบบ 3 เส้า
(triangulation) คือ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากหลายแหง่ ไดแ้ ก่ ครูผูส้ อน นกั เรียน ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้เกี่ยวข้องอน่ื ๆ และเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากหลายวิธี เช่น การสังเกตระบบต่าง ๆ การสงั เกตสภาพท่วั ไป
ของโรงเรยี น การสมั ภาษณ์บคุ คลที่เกีย่ วขอ้ งกลุ่มตา่ ง ๆ การศกึ ษาเอกสารและหลกั ฐานร่องรอย
7. การวิเคราะหข์ ้อมลู
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ใช้วิธีการดังน้ี
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เป็นวิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์เอกสาร
โดยจะวิเคราะห์เฉพาะเนื้อหาที่ปรากฏในเอกสารเท่านั้น (Manifest Content) ไม่วิเคราะห์เนื้อหา
ที่มีความนยั แฝงอยู่ จากน้นั จะสรุปใจความในเอกสารตามประเด็นทศี่ กึ ษา
วิธีการหาแกนข้อมูล (Thematic approach) เป็นวิธีการที่ใช้กับการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้จากการสังเกต และการสัมภาษณ์ โดยจำแนก แยกกลุ่มแนวคิดออกเป็นประเด็น จากนั้นรวม
เป็นประเด็นที่ใหญ่ขึ้นเพื่อกำหนดเป็นหัวเรื่องของแกนเพื่อสรุปออกเป็นประเด็นของข้อค้นพบ
จากการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา
8. สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการประมวลผลขอ้ มลู
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณติ ชนดิ ไม่ใชค้ วามถ่ี
สตู ร x = x
N
โดย x คือ ค่าเฉล่ยี
x คือ ผลรวมของความถีข่ องคะแนนทั้งหมด
N คอื จำนวนผปู้ ระเมินทง้ั หมด
2. รอ้ ยละ
สตู ร P = F 100
n
โดย P คือ ร้อยละ
F คือ ความถ่ที ่ตี อ้ งการแปลคา่ ให้เป็นรอ้ ยละ
N คอื จำนวนความถี่ทง้ั หมด
๓๔
9. เกณฑก์ ารประเมิน
ระดับการประเมนิ มี ๕ ระดับ
ระดับ ๕ ดีเยยี่ ม
ระดับ ๔ ดีมาก
ระดับ ๓ ดี
ระดับ ๒ พอใช้
ระดับ ๑ ปรบั ปรุง
การประเมินสรปุ ผลในภาพรวมใชเ้ กณฑ์การแปลผลระดบั การปฏบิ ตั ิจากคา่ เฉล่ียดงั น้ี
๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถงึ ดีเยี่ยม
๓.๕๐ – ๔.๔๙ หมายถงึ ดมี าก
๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถงึ ดี
๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถงึ พอใช้
๑.๐๐ – ๑.๔๙ หมายถึง ปรบั ปรุง
๓๕
บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
ตามภารกิจหลัก 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหาร
ท่วั ไปและการนำนโยบายและจุดเนน้ สกู่ ารปฏบิ ตั ิในสถานศึกษา โดยนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี
1. คา่ เฉล่ียร้อยละของของจำนวนโรงเรยี น จำแนกตามสหวทิ ยาเขต และตามขนาดโรงเรียน
2. ค่าร้อยละ และค่าเฉลีย่ ค่าระดับการปฏบิ ัติ ของการดำเนินงานการดำเนินงานพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษา 4 ดา้ น ดังนี้
ดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารงานวิชาการ
ดา้ นที่ 2 การบรหิ ารงานบคุ คล
ดา้ นท่ี 3 การบริหารงานงบประมาณ
ด้านที่ 4 การบรหิ ารงานทั่วไป
โดยนำเสนอเปน็ ตารางประกอบคำบรรยาย ดังนี้
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร
สมุทรสงคราม จำแนกตามขนาดโรงเรยี น ดงั นี้
ขนาดโรงเรยี น จำนวน คิดเป็นรอ้ ยละ
ขนาดใหญพ่ เิ ศษ 2 10
4 20
ขนาดใหญ่ 5 25
ขนาดกลาง 9 45
ขนาดเล็ก 20 100
รวม
จากตารางที่ 3 พบว่า โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร
สมุทรสงคราม มจี ำนวน 20 โรงเรียน แบง่ ตามขนาด ไดแ้ ก่ โรงเรียนขนาดใหญพ่ เิ ศษ จำนวน 2 โรงเรียน
คิดเป็นร้อยละ 10 โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 4 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 20 โรงเรียนกลาง จำนวน
5 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 25 และโรงเรียนขนาดเลก็ จำนวน 9 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 45
ตารางที่ 4 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินตามประเด็นแบบการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาใน 4 ด้าน
รายดา้ น คา่ เฉล่ยี ร้อยละ ระดบั ปฏิบตั ิ
1. การบรหิ ารงานวิชาการ 4.75 95 ดีเยย่ี ม
2. การบรหิ ารงานบคุ คล 4.99 99.80 ดีเยี่ยม
3. การบรหิ ารงานงบประมาณ 4.93 98.60 ดีเยีย่ ม
4. การบริหารงานทั่วไป 4.95 99 ดีเยย่ี ม
ภาพรวม 4.91 98.20 ดเี ยย่ี ม
๓๖
จากตารางที่ 4 พบว่า การปฏิบัติงานและการยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ในการดำเนินการจัดการศึกษา
ตามภารกิจหลัก 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารงานวิชาการ มีค่าเฉลี่ย 4.75 คิดเป็นร้อยละ 95
ด้านบริหารงานบุคคล มีค่าเฉลี่ย 4.99 คิดเป็นร้อยละ 99.80 ด้านบริหารงานงบประมาณ มีค่าเฉล่ีย
4.93 คิดเป็นร้อยละ 98.60 ด้านบริหารงานทั่วไป มีค่าเฉลี่ย 4.95 คิดเป็นร้อยละ 99 และใน
ภาพรวมทัง้ 4 ด้าน มีค่าเฉล่ยี 4.91 คดิ เป็นร้อยละ 98.20
ตารางที่ 5 แสดงค่าระดับปฏิบัติ การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล
การจดั การศกึ ษา ใน 4 ดา้ น สหวทิ ยาเขตสาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรียน
ระดับการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 4 ดา้ น
ท่ี โรงเรียน การบริหารงาน ิวชาการ คะแนน ระดับ
การบ ิรหารงาน ุบคคล เฉลี่ย ปฏิบัติ
การบริหารงานงบประมาณ
การบริหารงานทั่วไป
1 สมุทรสาครวทิ ยาลัย 4.56 5 5 5 4.86 ดีเย่ยี ม
เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จ
2 พระศรีนครนิ ทร์ 4.89 5 5 5 4.97 ดีเย่ยี ม
สมุทรสาคร
3 วัดธรรมจรยิ าภริ มย์ 4.44 5 4.91 5 4.84 ดีเยี่ยม
4 หลกั สองส่งเสรมิ วทิ ยา 4 5 4.46 4.75 4.55 ดเี ยย่ี ม
5 วดั หลกั สี่พพิ ัฒนร์ าษฎร์ 4.78 5 4.91 4.88 4.89 ดเี ยย่ี ม
อุปถมั ภ์
รวม 22.67 25 24.28 24.63 24.15
คะแนนเฉลยี่ 4.53 5 4.86 4.93 4.83
ร้อยละ 90.60 100 97.20 98.60 96.60
ระดับปฏบิ ัติ ดีเยี่ยม ดเี ย่ียม ดีเย่ียม ดีเยยี่ ม ดีเยยี่ ม ดเี ยี่ยม
จากตารางที่ 5 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ
และการบริหารงานทั่วไป ของสหวิทยาเขตสาครบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ย
4.83 และเม่อื พจิ ารณาแยกรายโรงเรียน อยู่ในระดบั ดเี ยย่ี มทกุ ด้าน 5 โรงเรียน คา่ เฉลี่ย 4.86, 4.97,
4.84, 4.55, 4.89 ตามลำดับ
๓๗
ตารางที่ 6 แสดงค่าระดับปฏิบัติ การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล
การจัดการศึกษา ใน 4 ดา้ น สหวทิ ยาเขตเมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรียน
ระดับการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 4 ดา้ น
ท่ี โรงเรยี น การบริหารงาน ิวชาการ คะแนน ระดบั
การบ ิรหารงาน ุบคคล เฉลี่ย ปฏบิ ตั ิ
การบริหารงานงบประมาณ
การบริหารงานทั่วไป
1 สมุทรสาครบรู ณะ 5 5 4.91 5 4.98 ดเี ยีย่ ม
2 กระทุ่มแบน“วเิ ศษ 5 5 5 4.88 4.97 ดเี ยี่ยม
สมทุ คณุ ”
3 ออ้ มน้อยโสภณชนูปถัมภ์ 5 5 5 5 5 ดีเยยี่ ม
4 พนั ท้ายนรสงิ ห์วทิ ยา 4.89 5 4.91 4.88 4.92 ดเี ยี่ยม
5 สมทุ รสาครวฒุ ชิ ัย 4.33 5 5 5 4.83 ดเี ยย่ี ม
6 กุศลวิทยา 5555 5 ดเี ยี่ยม
รวม 29.22 30 29.82 29.76 29.70
คะแนนเฉล่ีย 4.87 5 4.97 4.96 4.95
รอ้ ยละ 97.40 100 99.40 99.20 99
ระดับปฏบิ ตั ิ ดีเยยี่ ม ดีเยี่ยม ดเี ยย่ี ม ดเี ยยี่ ม ดเี ยีย่ ม ดเี ย่ียม
จากตารางที่ 6 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ
และการบริหารงานท่วั ไป ของสหวิทยาเขตเมอื งสมทุ ร ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดเี ย่ยี มทุกด้าน มีค่าเฉล่ีย
4.95 และเมอื่ พิจารณาแยกรายโรงเรยี น อยใู่ นระดบั ดเี ย่ยี มทกุ ดา้ น 5 โรงเรียน คา่ เฉลย่ี 4.98, 4.97,
5, 4.92, 4.83, 5 ตามลำดับ
๓๘
ตารางที่ 7 แสดงค่าระดับปฏิบัติ การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล
การจัดการศกึ ษา ใน 4 ด้าน สหวิทยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรยี น
ระดบั การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 4 ดา้ น
ท่ี โรงเรียน การบริหารงาน ิวชาการ คะแนน ระดบั
การบ ิรหารงาน ุบคคล เฉล่ยี ปฏิบัติ
การบริหารงานงบประมาณ
การบริหารงานทั่วไป
1 ศรัทธาสมทุ ร 5 5 5 4.75 4.94 ดเี ยย่ี ม
4.92 ดเี ยย่ี ม
2 ถาวรานกุ ูล 4.67 5 5 5 4.97 ดีเยี่ยม
4.90 ดเี ยี่ยม
3 อมั พวันวิทยาลยั 4.89 5 5 5 4.93 ดเี ยยี่ ม
ดีเยย่ี ม
4 เมธีชณุ หะวัณวิทยาลยั 4.67 5 4.91 5 5 ดเี ย่ียม
ดเี ยย่ี ม
5 วัดแก้วเจริญอำนวยวทิ ย์ 5 5 4.73 5 4.87 ดีเยยี่ ม
5
6 วัดบางกะพอ้ ม(คงลาภ 5 5 5 5 ดีเยยี่ ม
ยง่ิ ประชานุสรณ)์ 4.92
177.77
7 ท้ายหาด 4.56 5 4.91 5 4.94
98.80
8 สกลวิสทุ ธิ 5555 ดเี ยยี่ ม
9 เทพสวุ รรณชาญวิทยา 5 4.8 5 4.88
รวม 43.79 44.80 44.55 44.63
คะแนนเฉล่ีย 4.86 4.98 4.95 4.96
รอ้ ยละ 97.28 99.56 99 99.18
ระดบั ปฏิบตั ิ ดเี ยย่ี ม ดเี ยย่ี ม ดีเย่ยี ม ดีเยย่ี ม
จากตารางที่ 7 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ
และการบริหารงานทั่วไป ของสหวิทยาเขตแม่กลอง ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ย
4.94 และเมอ่ื พิจารณาแยกรายโรงเรยี น อยใู่ นระดับดเี ยยี่ มทกุ ดา้ น 9 โรงเรียน ค่าเฉล่ยี 4.94, 4.92,
4.97, 4.90, 4.93, 5, 4.87, 5, 4.92 ตามลำดับ
๓๙
ตารางที่ 8 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานวิชาการ สหวิทยา
เขตสาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น
ประเดน็ สมุทรสาคร ิวทยาลัย รวม คะแนน ระดับ
เฉ ิลมพระเ ีกยรติสมเด็จ เฉลี่ย ปฏิบัติ
พระศรีนค ิรนท ์ร
สมุทรสาคร
ัวดธรรมจริยา ิภรมย์
หลักสองส่งเส ิรม ิวทยา
ัวดหลักสี่ ิพ ัพฒ ์นราษฎร์
ุอป ัถม ์ภ
1. การบริหารหลักสตู ร 5 4 5 4 5 23 4.60 ดีเยย่ี ม
2. การใชห้ ลักสตู รใน 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยย่ี ม
ระดบั ชน้ั เรียน
3. การพัฒนาและ 5 5 5 4 5 24 4.80 ดเี ยยี่ ม
สง่ เสริมใหม้ ีแหล่ง
เรียนรู้
4. การจดั การเรยี นรู้ 1 5 3 3 5 17 3.40 ดี
โดยใช้ DLIT/ดจิ ติ อล
5. การวดั และ
ประเมินผลการจัดการ 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยยี่ ม
เรียนรู้
6. การวจิ ยั เพ่อื พฒั นา
คณุ ภาพการศกึ ษาใน 5 5 4 3 4 21 4.20 ดีมาก
สถานศึกษา
7. การมีสว่ นรว่ มของ 5 5 4 5 4 23 4.60 ดเี ย่ยี ม
ชมุ ชน
8. การนเิ ทศภายใน 5 5 4 4 5 23 4.60 ดีเยี่ยม
สถานศึกษา
9. การพฒั นาระบบ
ประกนั คณุ ภาพภายใน 5 5 5 3 5 23 4.60 ดีเยี่ยม
สถานศกึ ษา
รวม 41 44 40 36 43 40.80
คะแนนเฉลี่ย 4.56 4.89 4.44 4 4.78 4.53
91.11 97.78 88.89 80 95.56 90.67
รอ้ ยละ ดีเย่ียม ดเี ยี่ยม ดีมาก ดีมาก ดเี ย่ยี ม
ระดบั ปฏบิ ัติ ดีเยี่ยม
๔๐
จากตารางที่ 8 พบว่า การดำเนินตามประเดน็ แบบการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
ด้านบริหารงานวิชาการ ของสหวิทยาเขตสาครบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 4.53
และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การบริหารหลักสูตร
การใช้หลักสูตรในระดับชั้นเรียน การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ DLIT /
ดิจิตอล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
การมีส่วนรว่ มของชุมชน การนิเทศภายในสถานศึกษา การพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ โรงเรียนวัดหลักสี่พิพัฒน์
ราษฎรอ์ ปุ ถัมภ์ อยู่ในระดบั ดีเยี่ยม มคี า่ เฉลี่ย 4.56, 4.89, 4.78 ตามลำดับ โรงเรยี นวัดธรรมจริยาภิรมย์
และโรงเรยี นหลักสองสง่ เสริมวิทยา อยูใ่ นระดับดมี าก มคี ่าเฉลี่ย 4.44, 4 ตามลำดับ
ตารางที่ 9 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานวิชาการ สหวิทยา
เขตเมอื งสมุทร จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น
ประเดน็ สมุทรสาคร ูบรณะ รวม คะแนน ระดบั
กระ ุท่มแบน“ ิวเศษสมุทคุณ” เฉลีย่ ปฏิบัติ
้ออม ้นอยโสภณช ูนปถัม ์ภ
พัน ้ทายนร ิสง ์หวิทยา
ส ุมทรสาคร ุวฒิ ัชย
ุกศลวิทยา
1. การบรหิ าร 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเย่ียม
หลักสตู ร
2. การใชห้ ลกั สตู รใน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ย่ยี ม
ระดับช้นั เรียน
3. การพัฒนาและ
สง่ เสริมใหม้ ีแหลง่ 5 5 5 5 4 5 29 4.83 ดีเยี่ยม
เรียนรู้
4. การจดั การเรยี นรู้ 5 5 5 4 3 5 27 4.5 ดีเยย่ี ม
โดยใช้ DLIT/ดิจติ อล
5. การวดั และ
ประเมินผลการจดั การ 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ยีย่ ม
เรยี นรู้
6. การวจิ ัยเพ่ือพฒั นา
คณุ ภาพการศกึ ษาใน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเย่ยี ม
สถานศึกษา
7. การมีสว่ นร่วมของ 5 5 5 5 2 5 27 4.5 ดีเยยี่ ม
ชมุ ชน
๔๑
ตารางที่ 9 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานวิชาการ สหวิทยา
เขตเมอื งสมุทร จำแนกรายโรงเรียน (ตอ่ )
ผลการประเมินรายโรงเรยี น
ประเดน็ สมุทรสาคร ูบรณะ รวม คะแนน ระดบั
กระทุ่มแบน“ ิวเศษสมุท ุคณ” เฉลีย่ ปฏบิ ตั ิ
้ออม ้นอยโสภณช ูนป ัถม ์ภ
พันท้ายนร ิสงห์ ิวทยา
สมุทรสาคร ุวฒิ ัชย
ุกศลวิทยา
8. การนิเทศภายใน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ย่ียม
สถานศกึ ษา
9. การพัฒนาระบบ
ประกันคณุ ภาพภายใน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ย่ยี ม
สถานศึกษา
รวม 45 45 45 44 39 45 43.83
คะแนนเฉลย่ี 5 5 5 4.89 4.33 5 4.87
รอ้ ยละ 100 100 100 97.8 86.6 100 97.40
ระดบั ปฏิบตั ิ ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดีเย่ยี ม
เยีย่ ม เยย่ี ม เย่ียม เยีย่ ม เย่ียม เยย่ี ม
จากตารางท่ี 9 พบวา่ การดำเนนิ ตามประเด็นแบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการจัดการศกึ ษา
ด้านบรหิ ารงานวิชาการ ของสหวิทยาเขตเมอื งสมุทร ในภาพรวมอยูใ่ นระดับ ดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 4.87 และ
เมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การบริหารหลักสูตร การใช้หลักสูตร
ในระดับชั้นเรียน การพัฒนาและส่งเสริมใหม้ ีแหลง่ เรียนรู้ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ DLIT / ดิจิตอล การวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา การมีส่วนร่วมของชุมชน
การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา การพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ทกุ โรงเรียนอยู่ในระดับดี
เยี่ยม มีค่าเฉลย่ี 5, 5, 5, 4.89, 4.33, 5 ตามลำดับ
ตารางท่ี 10 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ัติ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ยี การดำเนินงาน ดา้ นบริหารงานวิชาการ สหวทิ ยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น
ประเดน็ ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดบั ปฏบิ ัติ
ถาวรานุกูล เฉล่ีย
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา
1. การบรหิ ารหลกั สตู ร 5 4 5 5 5 5 5 5 5 44 4.89 ดเี ย่ยี ม
5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยี่ยม
2. การใช้หลักสตู รใน 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยี่ยม
ระดับชน้ั เรยี น 4 5 5 4 5 5 41 4.56 ดเี ยี่ยม
5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม
3. การพัฒนาและ
5 5 5 3 5 5 42 4.67 ดีเยี่ยม
สง่ เสริมให้มีแหลง่ 555
เรยี นรู้
4. การจดั การเรียนรู้ 5 4 4
โดยใช้ DLIT/ดจิ ติ อล
5. การวดั และ
ประเมินผลการจดั การ 5 5 5
เรียนรู้
6. การวจิ ัยเพอ่ื พฒั นา
คณุ ภาพการศกึ ษาใน 5 4 5
สถานศกึ ษา
๔๒
ตารางท่ี 10 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบตั ิ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ การดำเนนิ งาน ด้านบริหารงานวชิ าการ สหวิทยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรยี น (ตอ่ )
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น
ประเดน็ ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดบั ปฏบิ ัติ
ถาวรานุกูล เฉลยี่
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา
7. การมีส่วนร่วมของ 5 5 5 3 5 5 4 5 5 42 4.67 ดีเยี่ยม
ชมุ ชน
8. การนิเทศภายใน 555 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม
สถานศึกษา
9. การพฒั นาระบบ
ประกันคณุ ภาพภายใน 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยี่ยม
สถานศึกษา
รวม 45 42 44 42 45 45 41 45 45 43.78
คะแนนเฉล่ีย 5 4.67 4.89 4.67 5 5 4.56 5 5 4.86
ร้อยละ 100 93.33 97.78 93.33 100 100 91.11 100 100 97.28
ระดบั ปฏิบตั ิ ดีเยี่ยม ดเี ยี่ยม ดเี ยีย่ ม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเย่ยี ม ดเี ย่ียม ดีเยย่ี ม ดเี ยีย่ ม ดเี ย่ียม
๔๓