The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by report.skss044, 2022-03-18 06:16:53

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา รวม สอง จังหวัด

รวม

๔๔

จากตารางที่ 10 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบริหารงานวิชาการ ของสหวิทยาเขตแม่กลอง ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม มีค่าเฉล่ีย
4.86 และเมอื่ พิจารณาแยกรายโรงเรยี น ทกุ ประเดน็ ของการดำเนินงาน ได้แก่ การบรหิ ารหลักสตู ร การใช้
หลกั สตู รในระดบั ช้นั เรียน การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ แี หลง่ เรียนรู้ การจดั การเรียนรู้โดยใช้ DLIT / ดิจิตอล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา การมีส่วนร่วมของ
ชุมชน การนิเทศภายในสถานศกึ ษา การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ทุกโรงเรียนอย่ใู น
ระดับดีเยย่ี ม มีค่าเฉลีย่ 5, 4.67, 4.89, 4.67, 5, 5, 4.56, 5, 5 ตามลำดบั

ตารางที่ 11 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ การดำเนนิ งาน ด้านบริหารงานบคุ คล สหวิทยาเขต
สาครบุรี จำแนกรายโรงเรยี น

ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเด็น ส ุมทรสาคร ิวทยาลัย รวม คะแนน ระดบั
เฉ ิลมพระเกียรติสมเด็จ เฉลยี่ ปฏบิ ตั ิ
พระศรีนค ิรนท ์ร
สมุทรสาคร
ัวดธรรมจริยา ิภรมย์
หลักสองส่งเส ิรม ิวทยา
ัวดหลักสี่ ิพ ัพฒ ์นราษฎร์
อุป ัถมภ์

1. วางแผน 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยี่ยม
อัตรากำลัง 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยยี่ ม
5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยี่ยม
2. สรรหาบรรจุ
แต่งตั้ง 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยย่ี ม

3. ส่งเสริมและ 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยยี่ ม
พฒั นาบคุ ลากร 25
5 25 25 25 25 25
4. บำเหนจ็ 100 5 555 5
ความชอบและ ดเี ย่ยี ม 100 100 100 100 100
ทะเบยี นประวตั ิ ดเี ยี่ยม ดเี ยี่ยม ดีเย่ยี ม ดีเยี่ยม
ดเี ย่ยี ม
5. วินยั และนติ ิ
การ กฎหมาย
และคดี

รวม

คะแนนเฉลยี่

รอ้ ยละ

ระดบั ปฏบิ ตั ิ

๔๕

จากตารางท่ี 11 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศกึ ษา ดา้ นบรหิ ารงานบคุ คล ของสหวทิ ยาเขตสาครบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 5
และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การวางแผนอัตรากำลัง
การสรรหาและบรรจุแตง่ ตัง้ การส่งเสรมิ และพฒั นาบุคลากร การจัดทำบำเหน็จความชอบและทะเบียน
ประวตั ิ งานวินยั นติ ิการ กฎหมาย และคดี ทุกโรงเรียนอยใู่ นระดบั ดีเย่ยี ม มคี า่ เฉลย่ี 5 ทกุ โรงเรียน

ตารางที่ 12 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ตั ิ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ การดำเนินงาน ดา้ นบริหารงานบุคคล สหวิทยาเขต
เมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรียน

ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเดน็ สมุทรสาคร ูบรณะ รวม คะแนน ระดับ
กระ ุท่มแบน“ ิวเศษสมุท ุคณ” เฉลยี่ ปฏบิ ตั ิ
้ออมน้อยโสภณช ูนปถัม ์ภ
พัน ้ทายนร ิสงห์ ิวทยา
ส ุมทรสาคร ุวฒิ ัชย
ุกศลวิทยา

1. วางแผน 555555 30 5 ดเี ย่ยี ม
อัตรากำลงั 30 5 ดเี ยี่ยม
30 5 ดเี ยย่ี ม
2. สรรหาบรรจุ 5 5 5 5 5 5 30
แตง่ ต้ัง 5 ดีเยย่ี ม
30
3. สง่ เสริมและ 5 5 5 5 5 5 5 ดีเยย่ี ม
พฒั นาบคุ ลากร 5
5
4. บำเหนจ็ 100

ความชอบและ 5 5 5 5 5 5 ดเี ย่ียม

ทะเบยี นประวัติ

5. วินัยและนิติ

การ กฎหมาย 5 5 5 5 5 5

และคดี

รวม 25 25 25 25 25 25

คะแนนเฉล่ีย 5 5 5 5 5 5

ร้อยละ 100 100 100 100 100 100

ระดบั ปฏิบตั ิ ดี ดี ดี ดี ดี ดี
เย่ียม เยย่ี ม เยี่ยม เยี่ยม เย่ยี ม เย่ียม

จากตารางที่ 12 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศกึ ษา ด้านบริหารงานบคุ คล ของสหวทิ ยาเขตเมืองสมุทร ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดเี ยี่ยม มีค่าเฉล่ีย
5 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การวางแผนอัตรากำลัง
การสรรหาและบรรจุแตง่ ตัง้ การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร การจัดทำบำเหน็จความชอบและทะเบียน
ประวตั ิ งานวนิ ัย นติ ิการ กฎหมาย และคดี ทกุ โรงเรยี นอยูใ่ นระดับดีเย่ียม มคี ่าเฉลีย่ 5 ทุกโรงเรียน

ตารางท่ี 13 แสดงคา่ ระดบั ปฏบิ ตั ิ คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ การดำเนินงาน ดา้ นบริหารงานบุคคล สหวทิ ยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเด็น ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดับปฏบิ ัติ
ถาวรานุกูล เฉลี่ย
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา

1. วางแผนบริหาร 555 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม
อตั รากำลัง

2. สรรหาบรรจแุ ละ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยี่ยม
แต่งต้ัง

3. ส่งเสรมิ และพฒั นา 5 5 5 5 5 5 5 5 4 44 4.89 ดเี ย่ียม
บคุ ลากร

4. บำเหนจ็ ความชอบ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยยี่ ม
และทะเบยี นประวัติ

5. วินัยและนิติการ 555 5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ย่ียม
กฎหมาย และคดี

รวม 25 25 25 25 25 25 25 25 24 24.89

คะแนนเฉล่ยี 555 5 5 5 5 5 4.8 4.98

ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 96 99.56

ระดับปฏิบตั ิ ดเี ยย่ี ม ดเี ยย่ี ม ดเี ยยี่ ม ดีเย่ยี ม ดีเย่ยี ม ดีเยีย่ ม ดีเย่ยี ม ดเี ยี่ยม ดเี ย่ียม ดีเยย่ี ม

๔๖

๔๗

จากตารางที่ 13 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบริหารงานบุคคล ของสหวิทยาเขตแม่กลอง ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย
4.98 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การวางแผนอัตรากำลัง
การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร การจัดทำบำเหน็จความชอบและทะเบียน
ประวัติ งานวนิ ยั นิตกิ าร กฎหมาย และคดี ทุกโรงเรยี นอยู่ในระดับดเี ย่ียม มคี ่าเฉล่ยี 5, 5, 5, 5, 5, 5, 5,
5, 4.8 ตามลำดับ

ตารางที่ 14 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานงบประมาณ
สหวทิ ยาเขตสาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรยี น

ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเด็น ส ุมทรสาคร ิวทยาลัย รวม คะแนน ระดับ
เฉ ิลมพระเกียรติสมเด็จ เฉลี่ย ปฏบิ ัติ
พระศ ีรนค ิรนท ์ร
สมุทรสาคร
ัวดธรรมจริยา ิภรมย์
หลักสองส่งเส ิรม ิวทยา
ัวดหลักสี่ ิพ ัพฒ ์นราษฎร์
อุป ัถมภ์

1. การจดั ทำคำ 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ย่ียม
ขอต้ังงบประมาณ
ประจำปี 5 5 5 4 5 24 4.80 ดเี ย่ยี ม
5 5 5 5 5 25 5 ดเี ย่ียม
2. แผนปฏบิ ัติ 5 5 4 4 5 23 4.60 ดีเยี่ยม
ราชการประจำปี 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยย่ี ม
5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยี่ยม
3. การควบคมุ 5 5 5 3 5 23 4.60 ดเี ย่ยี ม
เงินคงเหลอื

4. การเกบ็ รกั ษา
เงิน

5. การควบคุม
การรบั เงิน

6. การควบคมุ
การจา่ ยเงนิ

7. การจดั ทำ
บญั ชี

๔๘

ตารางที่ 14 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานงบประมาณ
สหวทิ ยาเขตสาครบุรี จำแนกรายโรงเรยี น (ตอ่ )
ผลการประเมินรายโรงเรยี น

ประเดน็ สมุทรสาคร ิวทยาลัย รวม คะแนน ระดบั
เฉ ิลมพระเ ีกยรติสมเด็จ เฉลีย่ ปฏิบัติ
พระศรีนค ิรนท ์ร
ัวสดมุธทรรรสมาจคริรยา ิภรมย์
หลักสองส่งเส ิรม ิวทยา
ัวดหลักสี่ ิพ ัพฒ ์นราษฎร์
ุอป ัถม ์ภ

8. การจดั ทำ 5 5 5 3 4 22 4.40 ดีมาก
รายงานการเงนิ และ
การตรวจสอบรบั - 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยี่ยม
จ่ายเงนิ ประจำวัน 5 5 5 5 5 25 5 ดีเย่ียม

9. การควบคุม 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยยี่ ม
ใบเสร็จรบั เงิน
55 55 54 49 54 53.40
10. การจดั หาพัสดุ 5 5 4.91 4.45 4.91 4.85
100 100 98.20 89 98.20 97
11. ดเี ยี่ยม ดเี ยยี่ ม ดเี ย่ียม ดมี าก ดเี ยย่ี ม
การควบคมุ ดูแล ดเี ยย่ี ม
บำรงุ รักษาและ
จำหน่ายพัสดุ

รวม

คะแนนเฉลย่ี

รอ้ ยละ

ระดบั ปฏบิ ตั ิ

จากตารางที่ 14 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบรหิ ารงานงบประมาณ ของสหวิทยาเขตสาครบรุ ี ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดเี ยย่ี ม มีค่าเฉลี่ย
4.85 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดทำคำขอ
ตั้งงบประมาณประจำปี การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี การควบคุมเงินคงเหลือ การเก็บรักษาเงิน
การควบคมุ การรบั เงิน การควบคมุ การจ่ายเงินการจัดทำบัญชี การจดั ทำรายงานการเงินและการตรวจสอบ
รับ - จ่าย เงินประจำวัน การควบคุมใบเสร็จรับเงิน การจัดหาพัสดุ และการควบคุมดูแลบำรุงรักษา
และจำหน่ายพัสดุ โรงเรียนสมทุ รสาครวิทยาลัย โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระศรีนครินทร์ โรงเรียน
วัดธรรมจริยาภิรมย์ โรงเรียนวัดหลักสี่พิพัฒน์ราษฎร์อุปถัมภ์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 5, 5, 4.91,
4.91 ตามลำดบั โรงเรียนหลกั สองส่งเสรมิ วิทยา อย่ใู นระดบั ดีมาก มีค่าเฉลีย่ 4.45

๔๙

ตารางที่ 15 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานงบประมาณ
สหวิทยาเขตเมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเด็น สมุทรสาคร ูบรณะ รวม คะแนน ระดับ
กระทุ่มแบน“ ิวเศษสมุท ุคณ” เฉล่ีย ปฏิบตั ิ
้ออม ้นอยโสภณช ูนป ัถม ์ภ
พันท้ายนร ิสงห์ ิวทยา
สมุทรสาคร ุวฒิ ัชย
ุกศลวิทยา

1. การจดั ทำคา่

ขอตัง้ งบประมาณ 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม

ประจำปี

2. แผนปฏบิ ตั ิ 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม
ราชการประจำปี

3. การควบคุม 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ยย่ี ม
เงนิ คงเหลือ

4. การเกบ็ รักษา 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม
เงิน

5. การควบคุม 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ยย่ี ม
การรับเงิน

6. การควบคมุ 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ยย่ี ม
การจา่ ยเงนิ

7. การจดั ทำ 5 5 5 5 5 5 30 5 ดเี ยี่ยม
บัญชี

8. การจดั ทำ

รายงานการเงินและ 4 5 5 4 5 5 28 4.67 ดเี ย่ยี ม
การตรวจสอบรบั -

จ่ายเงนิ ประจำวนั

๕๐

ตารางที่ 15 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานงบประมาณ
สหวทิ ยาเขตเมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรียน (ตอ่ )
ผลการประเมินรายโรงเรยี น

ประเดน็ สมุทรสาคร ูบรณะ รวม คะแนน ระดบั
กระทุ่มแบน“ ิวเศษสมุท ุคณ” เฉลยี่ ปฏิบตั ิ
้ออม ้นอยโสภณช ูนป ัถม ์ภ
พันท้ายนร ิสงห์ ิวทยา
สมุทรสาคร ุวฒิ ัชย
ุกศลวิทยา

9. การควบคุม 555555 30 5 ดเี ยีย่ ม
ใบเสรจ็ รับเงิน

10. การจดั หา 555555 30 5 ดเี ย่ยี ม
พัสดุ

11.

การควบคุมดูแล 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม
บำรุงรักษาและ

จำหนา่ ยพสั ดุ

รวม 54 55 55 54 55 55 54.67

คะแนนเฉล่ีย 4.91 5 5 4.91 5 5 4.97

ร้อยละ 98.2 100 100 98.2 100 100 99.40

ระดับปฏบิ ัติ ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดเี ยยี่ ม
เยี่ยม เย่ียม เย่ยี ม เยย่ี ม เย่ยี ม เย่ยี ม

จากตารางที่ 15 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบริหารงานงบประมาณ ของสหวิทยาเขตเมืองสมุทร ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม
มีค่าเฉลี่ย 4.97 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดทำ
คำขอตั้งงบประมาณประจำปี การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี การควบคุมเงินคงเหลือ การเก็บ
รักษาเงิน การควบคุมการรับเงิน การควบคุมการจ่ายเงินการจัดทำบัญชี การจัดทำรายงานการเงินและ
การตรวจสอบรับ - จ่าย เงินประจำวัน การควบคุมใบเสร็จรับเงิน การจัดหาพัสดุ และการควบคุมดูแล
บำรุงรักษาและจำหน่ายพัสดุ ทุกโรงเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 4.91, 5, 5, 4.91, 5, 5
ตามลำดับ

ตารางท่ี 16 แสดงคา่ ระดบั ปฏิบตั ิ คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ดา้ นบริหารงานงบประมาณ สหวิทยาเขตแมก่ ลอง จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเดน็ ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดับปฏบิ ตั ิ
ถาวรานุกูล เฉลีย่
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา

1. การจดั ทำคำขอตั้ง 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยีย่ ม
งบประมาณประจำปี 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยยี่ ม
5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยย่ี ม
2. แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยี่ยม
ประจำปี 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม
5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยย่ี ม
3. การควบคุมเงิน 555 5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยี่ยม
คงเหลอื

4. การเก็บรกั ษาเงิน 5 5 5

5. การควบคมุ การรับ 5 5 5
เงิน

6. การควบคมุ การ 555
จา่ ยเงนิ

7. การจดั ทำบญั ชี 555

๕๑

ตารางท่ี 16 แสดงคา่ ระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลย่ี การดำเนินงาน ดา้ นบรหิ ารงานงบประมาณ สหวทิ ยาเขตแมก่ ลอง จำแนกรายโรงเรียน (ตอ่ )
ผลการประเมินรายโรงเรยี น

ประเดน็ ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดบั ปฏบิ ตั ิ
ถาวรานุกูล เฉลีย่
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา

8. การจดั ทำรายงาน

การเงินและการ 555 4 4 5 4 5 5 42 4.67 ดีเยย่ี ม
ตรวจสอบรบั - 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม

จ่ายเงินประจำวนั

9. การควบคุม 555
ใบเสร็จรบั เงนิ

10. การจดั หาพัสดุ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยี่ยม

11. การควบคุมดูแล

บำรุงรกั ษาและ 555 5 3 5 5 5 5 43 4.78 ดเี ยี่ยม

จำหน่ายพัสดุ

รวม 55 55 55 54 52 55 54 55 55 54.45

คะแนนเฉล่ีย 5 5 5 4.91 4.73 5 4.91 5 5 4.95

รอ้ ยละ 100 100 100 98.18 94.55 100 98.18 100 100 99

ระดบั ปฏิบตั ิ ดีเยี่ยม ดเี ยยี่ ม ดเี ยีย่ ม ดีเย่ียม ดเี ยยี่ ม ดเี ยีย่ ม ดเี ยย่ี ม ดเี ยย่ี ม ดีเย่ียม ดีเยี่ยม

๕๒

๕๓

จากตารางที่ 16 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบริหารงานงบประมาณ ของสหวิทยาเขตแม่กลอง ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม
มีค่าเฉลี่ย 4.95 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรยี น ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดทำคำ
ขอตง้ั งบประมาณประจำปี การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปี การควบคมุ เงินคงเหลอื การเกบ็ รกั ษา
เงิน การควบคุมการรับเงิน การควบคุมการจ่ายเงินการจัดทำบัญชี การจัดทำรายงานการเงินและ
การตรวจสอบรับ - จ่าย เงินประจำวัน การควบคุมใบเสร็จรับเงิน การจัดหาพัสดุ และการควบคุมดูแล
บำรุงรักษาและจำหน่ายพัสดุ ทุกโรงเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 5, 5, 5, 4.91, 4.73, 5,
4.91, 5, 5 ตามลำดบั

ตารางที่ 17 แสดงค่าระดับปฏิบัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานทั่วไป สหวิทยาเขต
สาครบุรี จำแนกรายโรงเรียน

ผลการประเมินรายโรงเรยี น

ประเด็น ส ุมทรสาคร ิวทยาลัย รวม คะแนน ระดับ
เฉ ิลมพระเกียร ิตสมเด็จ เฉลย่ี ปฏิบัติ
พระศรีนค ิรนท ์ร
สมุทรสาคร
ัวดธรรมจริยา ิภรมย์
หลักสองส่งเส ิรม ิวทยา
ัวดหลักสี่ ิพ ัพฒ ์นราษฎร์
อุป ัถมภ์

1. การพัฒนาระบบ
เ ค ร ื อ ข ่ า ย ข ้ อ มู ล 5 5 5 4 5 24 4.80 ดีเยี่ยม
สารสนเทศ

2. ก า ร ว า ง แ ผ น 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยย่ี ม
การศกึ ษา

3. การประสานงาน 5 5 5 5 4 24 4.80 ดเี ยย่ี ม
และพัฒนาเครือขา่ ย

4. การรบั นักเรียน 5 5 5 5 5 25 5 ดีเยยี่ ม

5. งานส่งเสริมกิจการ 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยี่ยม
นักเรียน

6. งานส่งเสรมิ สุขภาพ 5 5 5 5 5 25 5 ดีเย่ียม
อนามยั

๕๔

ตารางที่ 17 แสดงค่าระดับปฏบิ ัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานทั่วไป สหวิทยาเขต
สาครบรุ ี จำแนกรายโรงเรยี น (ตอ่ )
ผลการประเมินรายโรงเรยี น

ประเดน็ สมุทรสาคร ิวทยาลัย รวม คะแนน ระดบั
เฉ ิลมพระเ ีกยรติสมเด็จ เฉลี่ย ปฏิบัติ
พระศรีนค ิรนท ์ร
สมุทรสาคร
ัวดธรรมจริยา ิภรมย์
หลักสองส่งเส ิรม ิวทยา
ัวดหลักสี่ ิพ ัพฒ ์นราษฎร์
ุอป ัถม ์ภ

7.
การดูอาคารสถานที่ 5 5 5 4 5 24 4.80 ดีเยี่ยม
และสภาพแวดล้อม

8.
การประชาสัมพันธ์ 5 5 5 5 5 25 5 ดเี ยยี่ ม
การศึกษา

รวม 40 40 40 38 39 39.40

คะแนนเฉลย่ี 5 5 5 4.75 4.88 4.93

ร้อยละ 100 100 100 95 95.60 98.60

ระดบั ปฏิบัติ ดีเยีย่ ม ดีเย่ยี ม ดีเยีย่ ม ดีเยย่ี ม ดเี ยีย่ ม ดีเยย่ี ม

จากตารางท่ี 17 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบริหารงานทั่วไป ของสหวิทยาเขตสาครบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม มีค่าเฉล่ีย
4.93 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การพัฒนาระบบ
เครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ การวางแผนการศึกษา การประสานงานและการพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
การรับนักเรียน งานส่งเสริมกิจการนักเรียน งานส่งเสริมสุขภาพอนามัย การดูแลอาคารสถานที่และ
สภาพแวดล้อม และการประชาสัมพันธ์การศึกษา ทุกโรงเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 5, 5, 5,
4.75, 4.88 ตามลำดบั

๕๕

ตารางที่ 18 แสดงค่าระดับปฏบิ ัติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานทั่วไป สหวิทยาเขต
เมอื งสมทุ ร จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเด็น สมุทรสาคร ูบรณะ รวม คะแนน ระดบั
กระทุ่มแบน“ ิวเศษสมุท ุคณ” เฉลี่ย ปฏิบัติ
้ออม ้นอยโสภณช ูนป ัถม ์ภ
พันท้ายนร ิสงห์ ิวทยา
สมุทรสาคร ุวฒิ ัชย
ุกศลวิทยา

1. การพฒั นาระบบ

เครอื ขา่ ยข้อมูล 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม

สารสนเทศ

2. การวางแผน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม
การศกึ ษา

3. การประสานงาน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม
และพัฒนาเครือขา่ ย

4. การรับนกั เรียน 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยย่ี ม

5. งานส่งเสรมิ กจิ การ 5 4 5 5 5 5 29 4.83 ดีเย่ียม
นกั เรียน

6. งานส่งเสริมสขุ ภาพ 5 5 5 5 5 5 30 5 ดีเยี่ยม
อนามยั

7.

การดูอาคารสถานท่ี 5 5 5 4 5 5 29 4.83 ดเี ย่ยี ม

และสภาพแวดล้อม

8.

การประชาสมั พันธ์ 5 5 5 5 5 5 30 5.00 ดีเยี่ยม

การศกึ ษา

รวม 40 39 40 39 40 40 39.67

คะแนนเฉลีย่ 5 4.88 5 4.88 5 5 4.96

ร้อยละ 100 97.6 100 97.6 100 100 99.20

ระดบั ปฏบิ ัติ ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดเี ยีย่ ม
เยี่ยม เยี่ยม เย่ียม เยี่ยม เยย่ี ม เยี่ยม

๕๖

จากตารางที่ 18 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ด้านบริหารงานทั่วไป ของสหวิทยาเขตเมืองสมุทร ในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย
4.96 และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การพัฒนาระบบเครือข่าย
ข้อมูลสารสนเทศ การวางแผนการศึกษา การประสานงานและการพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
การรับนักเรียน งานส่งเสริมกิจการนักเรียน งานส่งเสริมสุขภาพอนามัย การดูแลอาคารสถานท่ี
และสภาพแวดล้อม และการประชาสัมพันธ์การศึกษา ทุกโรงเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 5, 4.88,
5, 4.88, 5, 5 ตามลำดับ

ตารางท่ี 19 แสดงคา่ ระดับปฏบิ ัติ คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี การดำเนนิ งาน ดา้ นบริหารงานท่วั ไป สหวทิ ยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรียน
ผลการประเมนิ รายโรงเรยี น

ประเด็น ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดับปฏบิ ตั ิ
ถาวรานุกูล เฉลย่ี
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา

1. การพฒั นาระบบ

เครอื ขา่ ยขอ้ มูล 355 5 5 5 5 5 5 43 4.78 ดีเยย่ี ม

สารสนเทศ 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยี่ยม
5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ยี่ยม
2. การวางแผน 555 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม
การศกึ ษา 5 5 5 5 5 4 44 4.89 ดีเยย่ี ม
5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยยี่ ม
3. การประสานงาน 5 5 5
และพฒั นาเครือข่าย

4. การรบั นกั เรียน 555

5. งานส่งเสรมิ กจิ การ 5 5 5
นกั เรยี น

6. งานส่งเสริมสขุ ภาพ 5 5 5
อนามยั

๕๗

ตารางที่ 19 แสดงคา่ ระดบั ปฏบิ ตั ิ คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ีย การดำเนินงาน ด้านบริหารงานท่ัวไป สหวิทยาเขตแม่กลอง จำแนกรายโรงเรียน (ตอ่ )
ผลการประเมินรายโรงเรยี น

ประเดน็ ศ ัรทธาสมุทร รวม คะแนน ระดับปฏบิ ตั ิ
ถาวรานุกูล เฉล่ีย
ัอมพวันวิทยาลัย
เมธี ุชณหะวัณ
วิทยาลัย
วัดแก้วเจ ิรญ
อำนวยวิท ์ย
วัดบางกะ ้พอม
(คงลาภ ิย่งประชา
นุสรณ์)
้ทายหาด
สกลวิสุทธิ
เทพ ุสวรรณชาญ
วิทยา

7. การดอู าคารสถานท่ี 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดเี ย่ยี ม
และสภาพแวดลอ้ ม

8. การประชาสมั พันธ์ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 45 5 ดีเยย่ี ม
การศกึ ษา

รวม 38 40 40 40 40 40 40 40 39 39.67

คะแนนเฉล่ยี 4.75 5.00 5 5.00 5 5 5 5 4.88 4.96

ร้อยละ 95 100 100 100 100 100 100 100 98 99.17

ระดับปฏิบัติ ดเี ยย่ี ม ดเี ย่ียม ดเี ยี่ยม ดีเยย่ี ม ดเี ย่ียม ดีเย่ียม ดเี ยย่ี ม ดเี ยี่ยม ดเี ยยี่ ม ดเี ยีย่ ม

๕๘

๕๙

จากตารางที่ 19 พบว่า การดำเนินตามประเด็นแบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษา ดา้ นบริหารงานทวั่ ไป ของสหวทิ ยาเขตสาครบุรี ในภาพรวมอยใู่ นระดับ ดีเย่ียม มคี า่ เฉล่ยี 4.96
และเมื่อพิจารณาแยกรายโรงเรียน ทุกประเด็นของการดำเนินงาน ได้แก่ การพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูล
สารสนเทศ การวางแผนการศึกษา การประสานงานและการพัฒนาเครือข่ายการศึกษา การรับนักเรียน
งานส่งเสริมกิจการนักเรียน งานส่งเสริมสุขภาพอนามัย การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
และการประชาสัมพันธ์การศึกษา ทุกโรงเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 4.75, 5, 5, 5, 5, 5, 5, 5,
4.88 ตามลำดบั

๖๐

บทท่ี 5

สรุปผลและข้อเสนอแนะ

1. วัตถุประสงค์
1. เพื่อกำกับติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาตามภารกิจหลัก

4 ด้าน และนำนโยบายสู่การปฏิบัติของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ตามยุทธศาสตร์ จุดเน้น นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐานและสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม ปกี ารศกึ ษา 2564

2. เพื่อประเมินติดตามผลการปฏิบัติงานและการยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ในการดำเนินการจัดการศึกษาตามภารกิจหลัก 4 ด้าน และตามยุทธศาสตร์ จุดเน้น นโยบาย
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม ปกี ารศกึ ษา 2564

2. ขอบเขตของการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ครั้งนี้ เพื่อติดตามการดำเนินงาน

ของสถานศึกษาตามนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ในปีงบประมาณ 2564 มีโรงเรียนที่ต้องติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาในครั้งนี้ 5 โรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศึกษาสมุทรสาคร สมทุ รสงคราม สหวทิ ยาเขตสาครบรุ ี

3. กลุ่มเป้าหมาย
1. ครู ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สหวทิ ยาเขตสาครบุรี จำนวน 5 โรงเรียน โดยใช้วธิ ีการสมุ่ แบบเจาะจง
2. ผู้บริหารสถานศึกษา คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน หรือรองผู้อำนวยการโรงเรียน และ/หรือ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร
สมุทรสงคราม สหวทิ ยาเขตสาครบุรี

3. นักเรียน ได้แก่ นักเรียนที่เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม สหวิทยาเขตสาครบรุ ี

4. เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา
แบบติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาฉบับน้ี แบ่งออกเป็น 5 ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 ข้อมลู พนื้ ฐานของโรงเรียน
ตอนท่ี 2 การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4 ด้าน
ด้านที่ 1 การบรหิ ารงานวชิ าการ
ด้านท่ี 2 การบริหารงานบุคคล
ด้านท่ี 3 การบรหิ ารงานงบประมาณ
ด้านที่ 4 การบริหารงานทว่ั ไป

๖๑

ตอนท่ี 3 การดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม

๓.๑ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านและพัฒนาหอ้ งสมุดมชี วี ติ
๓.๒ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐา
ธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี
๓.๓ การดำเนินการตามนโยบาย “เด็กไทยวถิ ีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน” ปีการศึกษา
๒๕๖๔
๓.๔ การดำเนนิ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
๓.๕ การขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่สู ถานศึกษา
๓.๖ การจัดการศกึ ษาเพื่ออาชีพมงี านทำ
๓.๗ การใช้หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา
๓.๘ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School)
๓.๙ การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ (Coding)
ของสถานศกึ ษา
๓.๑๐ เตรียมความพร้อมผเู้ รียนเพอ่ื รบั การประเมนิ PISA ๒๐๒๑ (๒๕๖๔)
๓.๑๑ การใช้หนังสือ เรื่อง ทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
สำหรบั สถานศึกษาในพ้ืนทนี่ ำร้อง (ฉบบั ผู้บริหารสถานศกึ ษา)
๓.๑๒ การจดั การเรียนรู้ดว้ ย STEM Education ของสถานศกึ ษาในพืน้ ทร่ี ับผิดชอบ
๓.๑๓ การสง่ เสรมิ การเรียนรดู้ า้ นสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
๓.๑๔ เคร่อื งมือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ด้วย SKSS Model
ตอนที่ 4 ผลงานความสำเร็จทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งได้
ตอนที่ 5 ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม

5. สรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา โดยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก

การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ครู นักเรียนและการตรวจสอบร่องรอยจากเอกสารการดำเนินงานของโรงเรียน
ตามยุทธศาสตร์ จุดเน้น นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และ สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 พบว่า
โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม
โรงเรียนจำนวน 20 โรงเรียน โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ 2 โรงเรียน โรงเรียนขนาดใหญ่ 4 โรงเรียน
โรงเรียนขนาดกลาง 5 โรงเรยี น และขนาดเลก็ 9 โรงเรียน จากผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ตามแบบติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาใน 4 ด้าน พบว่าการดำเนินงานติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษาโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร
สมทุ รสงคราม สมทุ รสงคราม จำนวน 20 โรงเรียน มผี ลการดำเนนิ งานในภาพรวมท้ัง 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1)
การบริหารงานวิชาการ 2) การงานบุคคล 3) การบริงานงบประมาณ และ 4) การบริงานงานทั่วไป
อยู่ในระดบั ดีเยี่ยม มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.91 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ี 2 การบริหารงานบุคคล
มีค่าสูงสุด อยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.99 และรองลงมา ได้แก่ ด้านท่ี 4 การบริหาร
งานทั่วไป อยู่ในระดบั ดเี ยี่ยม มีค่าเฉล่ียเทา่ กบั 4.95 ด้านที่ 3 การบริหารงานงบประมาณ อยู่ในระดบั

๖๒

ดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.93 และด้านที่ 1 การบริหารงานวิชาการ อยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 4.75 และมีผลการดำเนินงานของโรงเรยี นในสงั กดั ดังน้ี

ด้านท่ี 1 การบริหารงานวชิ าการ
การดำเนินตามประเดน็ การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจดั การศึกษา ดา้ นบรหิ ารงานวชิ าการ

ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 4.75 ทุกโรงเรียนมีการดำเนินงานการบริหารหลักสตู ร ได้แก่
การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลาง นำกรอบหลักสูตรทอ้ งถิ่นของเขต
พื้นที่ ไปจัดทำคำอธิบายรายวิชา จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทุกชั้นเรียนครบทั้ง 4 กิจกรรม
การใช้หลักสูตรในระดับชั้นเรียน ได้แก่ จัดทำโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ วิเคราะห์นักเรียน
รายบุคคล จัดกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning มีการวัดและประเมินผลเมินผลที่หลากหลาย
การพัฒนาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหลง่ เรยี นรู้ ไดแ้ ก่ มีทะเบยี นแหลง่ เรยี นรู้ ผลิต และใช้สื่อการเรยี นรู้ สง่ เสริม
ให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยใช้ DLIT / ดิจิตอล
มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา การมีส่วนร่วม
ของชมุ ชน ไดแ้ ก่ จดั แสดงผลงานทางวิชาการ สร้างเครือขา่ ยการเรยี นรู้ ได้แก่ เชญิ วทิ ยากรจากภายนอก
มาให้ความรู้แก่นักเรียน มีการดำเนินงานนิเทศภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตาม
นโยบาย และรายงานผลการนิเทศภายในเพื่อนำผลไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดำเนินการ
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง จัดทำรายงานผล
การประเมนิ ตนเอง SAR รายงานตอ่ ผเู้ กีย่ วข้อง

ด้านท่ี 2 การบริหารงานบคุ คล
การดำเนินตามประเด็นการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษา ด้านบริหารงานบุคคล

ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย 4.99 ทุกโรงเรียนมีการดำเนินงานวิเคราะห์และวางแผน
อัตรากำลังข้าราชการครู จัดทำข้อมูลอัตรากำลังครู ควบคุมบริหารอัตราจ้างเหมาบริการ ประเมินครู
ผู้ช่วยเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครูตามเกณฑ์ที่กำหนด ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาต่อด้วยตนเอง ในระดับที่สูงขึ้น เข้าร่วมประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาการและ
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และให้ได้รับการยกย่องชูเกียรติหรือได้รับรางวัล ในระดับต่าง ๆ ดำเนินการ
ตรวจสอบทะเบยี นประวัตขิ องข้าราชการครใู หเ้ ป็นรายบคุ คลและเป็นปัจจุบัน ประเมนิ ประสิทธิภาพการ
ปฏิบัติงานของข้าราชการและลูกจ้างตามระเบียบกฎหมายท่ีกำหนด ดำเนินการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตประพฤติมิชอบ ได้แก่ การกำหนดมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกัน รวมทั้งคุ้มครองคุณธรรม
และจริยธรรมของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

ด้านท่ี 3 การบริหารงานงบประมาณ
การดำเนินตามประเด็นการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษา ด้านบริหารงาน

งบประมาณในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย 4.93 ทุกโรงเรียนดำเนินการจัดทำคำขอต้ัง
งบประมาณประจำปี วางแผนกำหนดนโยบายในการจัดทำงบประมาณ มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ
ประจำปีที่สอดคล้องกับภารกิจของสถานศึกษา และนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา การใช้จ่ายแต่ละโครงการ/กิจกรรมเป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี มีการจัดทำ
รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่กำหนด มีการดำเนินการควบคุมเงิน
คงเหลือ จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวันทุกสิ้นวัน โดยถูกต้องและเป็นปัจจุบันและเสนอรายงาน
ให้ผู้อำนวยการลงนาม มีการเก็บรักษาเงินสดเงินฝากธนาคารแต่ละประเภทเป็นไปตามวงเงินอำนาจ

๖๓

เก็บรักษาที่กระทรวงการคลังกำหนด มีคำสั่งผู้รับผิดชอบผู้ทำหน้าที่รับจ่ายเงินอย่างชัดเจน การเบิก
จ่ายเงินแต่ละประเภทตรงตามวัตถุประสงค์และระเบียบหรือข้อกำหนดของเงินนั้นฯ มีการจัดทำ
ทะเบียนคุมการรับและนำส่งรายได้แผ่นดินเป็นปัจจุบัน จัดทำทะเบียนคุมเงินโครงการตามแผนปฏิบัติ
ราชการประจำปี มกี ารจดั ทำสมุดคู่ฝาก และจดั ทำรายงานการเงินและการตรวจสอบรบั - จ่ายประจำวนั
และการควบคุมใบเสร็จรับเงิน มีการจัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินโดยบันทึกรายงานถูกต้องครบถว้ น
และเป็นปัจจุบัน ดำเนินการจัดหาพัสดุ ควบคุมดูแลพัสดุบำรุงรักษาและจำหน่ายพัสดุ ตามรูปแบบ
และแนวทางที่กฎหมายกำหนด

ด้านท่ี 4 การบรหิ ารงานทวั่ ไป
การดำเนินตามประเด็นการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษา ด้านบริหารงานทั่วไป

ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย 4.95 ทุกโรงเรียนมีการดำเนินงานจัดทำฐานข้อมูลนักเรียน
รายบุคคล (DMC) ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ (EMIS) และฐานข้อมูลสิ่งก่อสร้าง
ภายในโรงเรียน (B-OBEC) เพื่อใช้ในการบริหารจัดการในระบบต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วนถูกต้อง
และเป็นปัจจุบันมีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานแผนปฏิบัติราชการประจำปี ที่สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาที่กำหนดไว้ ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มีการดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการ
และรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการและกิจกรรมต่อผู้เกี่ยวข้อง มีการประสานงานและ
พัฒนาเครือข่ายการศึกษากับหน่วยงานภายนอก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและผู้ปกครองใน
การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา

จัดทำแผนการรับนักเรียนโดยกำหนดเขตพื้นท่บี รกิ าร สัดส่วนการรบั นกั เรียนในเขตพ้ืนท่บี รกิ าร
ต่อนอกเขตพื้นที่บริการ และดำเนินการรับนักเรียนเป็นไปตามตามทางที่สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด มีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง ส่งเสริมสุขภาพอนามัย
นักเรียน ผ่านโครงการกิจกรรมและการจัดสภาพแวดล้อม ได้แก่ ห้องพยาบาล สถานที่ออกกำลังกาย
พร้อมท้ังจัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพอนามัยอนามัยของนักเรียน ดูแลอาคารเรียน อาคาร
ประกอบ ห้องเรียน ห้องพิเศษ โรงอาหาร ห้องน้ำ ห้องส้วม สนาม สวนหย่อม วัสดุ อุปกรณ์ และ
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน ให้สะอาด เรียบร้อย สวยงาม ปลอดภัย เพียงพอ และเอื้อต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียน และมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาต่อผู้เกี่ยวข้อง ด้วยวิธีการและช่องทาง
ทีห่ ลากหลาย

6. การตดิ ตามการนำนโยบายและยทุ ธศาสตรไ์ ปสู่การปฏบิ ัติ
โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม จำนวน 20

โรงเรียน ทุกโรงเรียนได้ดำเนินการตามจุดเน้น นโยบาย และยุทธศาสตร์ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานและสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ได้แก่

6.1 การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นและพฒั นาหอ้ งสมดุ
โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตเป็นไปตามเกณฑ์

ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด ห้องสมุดผ่านการประเมินมีกิจกรรมที่ส่งเสริม
ให้ผเู้ รียนมนี ิสัยรกั การอา่ น ใฝห่ าความรู้ใชก้ ารอ่านเพื่อการแสวงหาความรู้ และพฒั นาตนเองและสังคม
ได้แก่ กิจกรรมรักการอ่าน กิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา
กิจกรรมประกวดงานเขยี น กิจกรรมแขง่ ตอบปัญหา กจิ กรรมสดุ ยอดนกั อ่านประจำภาคเรียน เปน็ ตน้

๖๔

6.2 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิ
ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี

โรงเรียนดำเนินการตามกิจกรรม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ได้แก่ ดำเนินจัด
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และจัดเก็บหนังสือพระราชนิพนธ์ฯไว้ในที่ที่เหมาะสม ให้นักเรียน
สามารถหยิบอ่านได้ง่าย

6.3 การดำเนนิ การตามนโยบาย “เดก็ ไทยวถิ ีใหม่ อ่านออกเขียนไดท้ กุ คน” ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนดำเนินการจัดโครงการ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ โดยการส่งเสริม

การพัฒนาการอ่านขั้นสูงและประเมินทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนทุกระดับชั้น ได้แก่
โครงการพัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ การเขยี นของนักเรียน โครงการพฒั นาการเรยี น-การสอนวิชา
ภาษาไทย กจิ กรรมการอา่ นเพอื่ ความเข้าใจโดยใช้เทคนคิ บนั ได 6 ข้ัน โครงการอ่านออกเขียนได้ เป็นต้น

6.4 การดำเนนิ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
โรงเรียนดำเนินการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เป็นไปตามแนวทาง

ที่กำหนด มโี รงเรยี นผา่ นการประเมินโรงเรยี นคุณธรรม ระดับ 3 ดาว จำนวน 2 โรงเรียน ระดับ 2 ดาว
จำนวน 1 โรงเรียน และระดับ 1 ดาว จำนวน 17 โรงเรียน มกี ารกำหนดคุณธรรมเปา้ หมาย พฤติกรรม
บ่งชี้เชิงบวกของผู้บริหาร ครู นักเรียน มีโครงงานคุณธรรม ตามคุณธรรมเป้าหมายที่กำหนด กำหนด
ผู้รับผิดชอบชัดเจน ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์
ของนักเรียน ตระหนักถึงความสำคัญของการมีคุณธรรมจริยธรรมในด้านต่าง ๆ มีพฤติกรรมท่ี
พึงประสงค์ มีระเบยี บวินยั ประพฤติปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของโรงเรียน มนี ้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปันให้แก่
ครูและเพื่อนนักเรียนด้วยกัน มีความกตญั ญูตอ่ สถาบัน และสามารถนำหลักความพอเพียงมาบูรณาการ
ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์สูงขึ้น ครูตระหนักถึงบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีระเบียบวินัย
มีความรับผิดชอบและมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละเพื่อส่วนรวม รักและเอาใจใส่ดูแลนักเรียนอย่าง
ท่ัวถงึ มคี วามรู้ความสามารถท่ีทนั สมัยสอดคลอ้ งกับยคุ สมยั ท่เี ปลีย่ น ผบู้ รหิ าร มคี วามเขา้ ใจและตะหนัก
ในหน้าที่การทำงานมากขึ้น ทำให้มีประสิทธิภาพในการทำงานที่สูงขึ้น ให้ความสำคัญต่อการพัฒนา
โรงเรยี นคุณธรรม เปน็ ผู้นำในการขับเคล่ือนพฒั นาโรงเรียน การบริหารจดั การอย่างโปรง่ ใสตรวจสอบได้

6.5 การขบั เคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่สู ถานศึกษา
โรงเรียนขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยดำเนินการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน์ การพฒั นาบุคลากรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

6.6 การจัดการศึกษาเพ่อื อาชพี มีงานทำ
โรงเรียนได้ดำเนินงานด้านหลักสูตรอาชีพการมีงานทำ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

ระดับคณุ ภาพ การดำเนนิ งานของสถานศึกษาดา้ นหลกั สูตรอาชพี การมีงานทำและการนำหลักสูตรอาชพี
มีงานทำสู่การจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับ 3 มีการจัดทำหลักสูตรเพื่ออาชีพและการมีงานทำ
ทั้งรายวิชาเพิ่มเติม หน่วยสมรรถนะ บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน มีข้อมูล
สารสนเทศความถนัดทางวิชาชีพของนักเรียนเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพมีงานทำ

๖๕

มีการวางแผนพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ตอบสนองต่อการต้องการกำลังคนในพื้นที่
และศักยภาพของผู้เรียน มกี ารสร้างเครือขา่ ย ความรว่ มมือภาครัฐ เอกชนในการจัดการศึกษาเพื่อการมี
งานทำสอดคล้องกับความต้องการวิชาชีพของพื้นที่ กลุ่มจังหวัดและภูมิภาค มีกระบวนการแนะแนวให้
นักเรียนค้นพบบุคลิกภาพและความถนัดของตนเอง จัดระบบวางเส้นทางการศึกษาต่อสู่การประกอบ
อาชพี สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการสาขาวชิ พี ของพื้นท่ี

6.7 การใชห้ ลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษาศกึ ษา
โรงเรียนดำเนินงานนำหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษาไปบูรณาการกับกลุม่ สาระสงั คมศึกษา

ศาสนา และวัฒนธรรม และกิจกรรมแนะแนว ครูผู้สอนจะมีการศึกษา เตรียมสื่อ และนำหลักสูตรต้าน
ทุจริตศึกษาไปจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียน ช่วยเสริมการ
ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม เพ่อื ปอ้ งกนั การทุจริตใหแ้ ก่ผเู้ รยี น หลงั จากการประเมินพบวา่ ผูเ้ รยี นสามารถ
ผ่านเกณฑ์ท่กี ำหนดไดม้ ากกวา่ ร้อยละ 90

6.8 โครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล (World Class Standard School)
โรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลมีจำนวน 11 โรงเรียน ดำเนินงาน

ขับเคลื่อน ด้านบุคลากร โดยพจิ ารณาเจตนารมณ์และกระบวนทัศน์ของโครงการโรงเรียมาตรฐานสากล
ภาพความสำเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การบริหารจัดการด้วยระบบ
คุณภาพ ด้านบทบาทของโรงเรียน พิจารณาจากการสร้างความตระหนักและชี้แจงแนวทางการพัฒนา
โรงเรยี นมาตรฐานสากล ใหแ้ กค่ รู บคุ ลากรและผู้เกี่ยวข้อง ทบทวน ปรบั แผนกลยทุ ธแ์ ละแผนปฏิบตั ิการ
ให้สอดคลอ้ งกับแนวทางการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล ศกึ ษาทำความเข้าใจนโยบายการดำเนนิ งาน
ของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษากระบวนการเรียน
การสอน การวดั ผล การประเมนิ ผลตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรยี นจัด
เรียนการสอนสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาต่างประเทศที่สอง
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Symposium) การเรียนการสอนสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
ซึ่งทำให้โรงเรียน ผู้บริหาร และครูสามารถผ่านการประเมินและได้รับรางวัลต่าง ๆ โดยได้รับรางวัล
คุณภาพระดับ ScQA จำนวน 11 โรงเรียน ได้รับรางวัลคุณภาพระดับ OBECQA จำนวน 4 โรงเรียน
และนักเรียนมีทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดขั้นสูงเกิดแก่นักเรียน นักเรียนมี
คุณลักษณะและศักยภาพที่มีคณุ ภาพ มีทักษะทางดา้ นภาษาทดี่ ขี ้นึ มที กั ษะในการศกึ ษาค้นคว้าแสวงหา
ความรู้และมีความรู้พื้นฐานที่จะสามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ สร้างสรรค์สามารถสื่อสารอย่างมี
ประสิทธิผล ตลอดจนมีทักษะชีวิต มีกระบวนการทำงานอย่างมีระบบตามหลักสูตรโรงเรียน
มาตรฐานสากลและรว่ มมือในการทำงานกับผู้อ่ืนไดเ้ ป็นอย่างดี ครูมีศักยภาพในจัดการเรียนการสอนได้
เทียบเคียงมาตรฐานสากล เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียน
ได้ลงมือปฏิบัติ มีส่วนร่วม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผู้บริหารช่วยส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียนนั้นเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ และได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
บรรลุตามเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ โดยผบู้ ริหารปฏิบัติงานอยา่ งมีวิสยั ทัศน์ มภี าวะผู้นำ และเป็น
แบบอยา่ งท่ีดี

๖๖

6.9 การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ (Coding) ของ
สถานศกึ ษา

โรงเรียนมีการดำเนินการตามนโยบายของการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาการ
คำนวณ โดยการศึกษาคู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณและมีแนวทางดำเนินการตามที่ สสวท.
กำหนดให้ มีการจัดกิจกรรมในรปู แบบกลมุ่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มีการนำเทคโนโลยีมาปรับ
ประยกุ ต์ใช้ในทุกระดับชน้ั ของการจดั การเรียนการสอน มีการปรบั ประยกุ ตเ์ นอ้ื หาใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 โดยเนอื้ หาจะเน้นการแก้ปญั หา การปรบั ประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีในปัจจุบัน การเรียนแบบ Coding ทำให้นักเรียนคิดเป็นลำดับขั้นตอน มีการทำงาน
เปน็ กระบวนการ สามารถทำงานได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมทงั้ รูเ้ ท่าทนั การใชเ้ ทคโนโลยี

6.๑๐ เตรียมความพรอ้ มผู้เรยี นเพอ่ื รับการประเมนิ PISA ๒๐๒๑ (๒๕๖๔)
โรงเรียนมกี ารดำเนนิ การเตรียมความพร้อมสำหรับการสอบ PISA 2021 โดยกำหนด

ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานที่ชัดเจน มีโครงการ/กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวทาง
PISA ทุกกลุ่มสาระจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ส่งเสริมและ
เตรียมความพร้อมให้นักเรียน มีจัดการกิจกรรม อบรม และเสริมสร้างศักยภาพนักเรียน แบบ Active
Learning นักเรียนฝึกทำแบบทดสอบ PISA ทั้ง Online และ offline ของ สสวท. ในรายวชิ าภาษาไทย

คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์

6.11 การใช้หนังสือ เรื่อง ทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเลสำหรบั
สถานศกึ ษาในพืน้ ทน่ี ำร้อง (ฉบบั ผู้บริหารสถานศึกษา)

โรงเรียนมีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายด้วยกระบวนการบูรณาการกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในรายวิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม จัดกิจกรรมประกอบการจัดการเรียนรู้ สนับสนุนการเรียนการสอน
เรื่อง ทะเลและมหาสมุทรและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ผ่านการดำเนินงานแบบ Active
Learning โดยมอบหมายใหค้ รผู ูส้ อนในรายวิชาที่บรู ณาการ ดำเนินการนำไปออกแบบการจดั การเรียนรู้
พัฒนากิจกรรมไปสูก่ ารทำงานกับเครอื ข่ายอนื่ ๆ ในชุมชนได้

6.12 การจัดการเรียนรู้ดว้ ย STEM Education ของสถานศกึ ษาในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ
โรงเรียนการจัดการเรียนการสอน STEM Education ตามรูปแบบที่สสวท. กำหนด

ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี และในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-๑๙ ทำให้ทั้งปีการศึกษา ๒๕๖๔ นักเรียน
ได้เรียนแบบ On-Site เพียง ๒ เดือน โรงเรียนต้องปรับการเรียนการสอนในรูปแบบ Online
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วย STEM Education ของโรงเรียนที่วางแผนการดำเนินงาน
ไวบ้ างอย่างจงึ ไมส่ ามารถดำเนินการได้

6.13 การสง่ เสรมิ การเรียนรูด้ ้านสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
โรงเรยี นมีการบรหิ ารจดั การในดา้ นสงิ แวดล้อม ดงั นี้
1. การลดปริมาณขยะในโรงเรียน มีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ทางเสียงตาม

สาย มีจัดโครงการหรือกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงปัญหา
ดา้ นขยะ โดยเริม่ จาก นกั เรยี นกลุ่มเลก็ ๆ เช่น จติ อาสา สภานักเรียน เป็นต้น มกี ารจดั โครงการโรงเรียน
โรงเรียนปลอดขยะ ส่งผลให้โรงเรียนสะอาด ปริมาณขยะลดน้อยลง มีการแยกขยะลงถังได้ถูกต้องมาก

๖๗

ขึ้น ขยะถูกนำกลบั มาใชซ้ ้ำมากขึ้น และสามารถกอ่ ให้เกิดรายได้ ช่วยลดปญั หามลภาวะทางสิ่งแวดล้อม
ท่ีจะเกิดข้ึน เปดิ โครงการธนาคารขยะรีไซเคลิ จดั สรา้ งธนาคารขยะรไี ซเคลิ เพื่อให้นำขยะมาไปขายและ
นำเงนิ มาซ้ือของใชท้ เ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม

๒. การบำบัดน้ำเสียจากร้านค้าในโรงเรียน โดยกำหนดให้ร้านค้าติดต้ัง
ตะแกรงดักขยะที่ท่อระบายน้ำ ติดตั้งถังดักไขมันสำหรับโรงอาหาร ประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดแยกขยะ
ออกจากภาชนะ นกั เรียนรู้จกั การแยกขยะมูลฝอย สง่ ผลใหไ้ มม่ ขี ยะปะปนอยู่ในท่อระบายนำ้ ไมเ่ กิดการ
หมักหมมของเศษอาหาร ปรับปรุงระบบบำบัดให้มีประสิทธิภาพ เพื่อบำบัดน้ำเสียได้ตามมาตรฐาน นำ
ไขมันที่ลอยอยู่ส่วนบนของบ่อดักไขมันออกเทใส่ในบ่อพักกากตะกอน เพื่อหมักเป็นปุ๋ย และยังสามารถ
นำนำ้ ท่ีผา่ นการบำบัดขั้นสดุ ท้ายนำมาใช้ประโยชนใ์ นการรดนำ้ ตน้ ไม้หรืออื่น ๆ

๓. การจัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน โรงเรียนมีการมีการจัดแหล่ง
เรียนรู้ภายนอกห้องเรียน พัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เหมาะสมและปลอดภัย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
ตัดแต่งต้นไม้ ปลูกต้นไม้ ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ และกำจัดวัชพืช ปรับปรุงสนามกีฬา สถานที่ออกกำลังกาย
ให้นักเรียนได้เล่นกีฬาอย่างปลอดภัย ปรับปรุงพื้นถนนรอบบริเวณโรงเรียน ตรวจสอบและบำรุงรักษา
สถานที่ให้มีความเป็นระเบียบ สะอาด และปลอดภัย เพื่อให้โรงเรียนเป็นที่ ที่เหมาะสมต่อการจัดการ
เรยี นรู้

4. การปลูกฝังคุณลักษณะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการรณรงค์
ประชาสัมพันธ์และสร้างการมีส่วนร่วมให้นักเรียนมีจิตสำนึกในการปลูกฝังคุณลักษณะที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม ให้ความรู้ สร้างความตระหนักให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน
ดำเนินการโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หวงแหนและร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่ และสามารถนำความรู้ไปใช้
ในชวี ติ ประจำวนั และขยายผลส่คู รอบครวั ของนักเรยี น

6.14 เครอื่ งมือยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ด้วย SKSS Model
โรงเรียนได้นำเครื่องมือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยข้อมูลสารสนเทศ

และผลการวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพทางการศึกษาระดับสถานศึกษา และระดับห้องเรียน ร้อยละ
ของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ ๕๐ ในแต่ละ
รายวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา มีผลการการอ่าน การเขียน สื่อสาร และการคิดคำนวณ
ตลอดจนมีรูปแบบในการพัฒนา มีโครงการรองรับรูปแบบแนวทางการจัดกิจกรรม เพื่อยกระดับการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการทำงานอย่างมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาโดยใช้กระบวนการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ภายในสถานศึกษา (PLC) มีการปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลท่ี
หลากหลาย ตามสภาพจริง ส่งผล ให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการตาม ศตวรรษที่ ๒๑ ครูผู้สอน
สามารถนำผลการวิเคราะห์ Based Line และปพ.๕ มาออกแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
ที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ (ตามความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล) สอดคล้องกบั มาตรฐานและตัวช้ีวัด ใช้ในการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในหลักสูตร และเสริมหลักสูตร ด้วย Active
Learning นักเรียนมีความเป็นเลิศสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ใช้ทักษะกระบวนการ
และทกั ษะการคิดในการจัดการเรยี นรู้ได้

๖๘

7. ผลงานความสำเร็จท่เี ป็นแบบอย่างได้ (Best Practice)
จากการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

โดยคณะอนุกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม และผลจากการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด ตามนโยบาย
และจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม พบว่าโรงเรียนมีผลการดำเนินงานที่เป็นภาพความสำเร็จ
และเปน็ แบบอย่างใหก้ บั หน่วยงานอืน่ สรุปดังน้ี

1. โรงเรยี นสมุทรสาครวทิ ยาลยั ชอื่ ผลงาน SK Model
2. โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร ชื่อผลงาน โครงการ
ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม
๓. โรงเรียนวัดธรรมจริยาภิรมย์ ชื่อผลงาน การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี นของโรงเรยี นวดั ธรรมจรยิ าภิรมย์
4. โรงเรียนหลักสองส่งเสริมวิทยา ช่อื ผลงาน 5 STEP TO LS-MODEL
5. โรงเรยี นวัดหลกั ส่พี ิพฒั น์ราษฎรอ์ ุปถมั ภ์ ชอื่ ผลงาน LAKSI MODEL
6. โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ ชื่อผลงาน การบริหารข้อมูลสารสนเทศประกอบการ
ตัดสินใจดว้ ยรปู แบบ School Data: Real Time Information
7. โรงเรียนกระทุ่มแบน “วิเศษสมุทคุณ” ชื่อผลงาน การพัฒนาทักษะชีวิต ส่งเสริม
ทักษะอาชีพดว้ ยการพฒั นาหลกั สตู รต่อเนื่อง เชือ่ มโยง
8. โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ ชื่อผลงาน กลุ่มต้นกล้าโสภณธรรมสาคร
(ชมรมกลมุ่ ตน้ กลา้ )
9. โรงเรียนพันท้ายนรสิงห์วิทยา ชื่อผลงาน นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
การพฒั นาทกั ษะการอ่านผ่านการเล่นเกม Vonder Go (Game Based Learning)
10. โรงเรยี นสมทุ รสาครวุฒิชัย ชือ่ ผลงาน ฟุตซอลสคู่ วามเปน็ เลศิ
11. โรงเรยี นกศุ ลวิทยา ชอ่ื ผลงาน นวตั กรรมการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ด้วย
รปู แบบวงจรคุณภาพ KUSOL MODEL บนวถิ ที างแห่งศาสตร์พระราชา สกู่ ารพฒั นาอย่างยั่งยนื
12. โรงเรียนศรัทธาสมุทร ชื่อผลงาน การสร้างโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จด้วย
ระบบ 4A Model

13. โรงเรยี นถาวรานุกูล ชอ่ื ผลงาน THN’S BLENDED LEARNING
14. โรงเรยี นอมั พวันวทิ ยาลัย ชือ่ ผลงาน ไสเ้ ดือน เพ่อื นผกั
15. โรงเรียนวัดบางกะพ้อม(คงลาภยิง่ ประชานุสรณ์) ชื่อผลงาน กระบวนการสัมพนั ธ์
สรา้ งฝนั คนพเิ ศษ
16. โรงเรียนท้ายหาด ชื่อผลงาน “การพัฒนาและผลักดันผู้เรียนตามศักยภาพ....
เพอื่ มงุ่ สู่อนาคตทยี่ ัง่ ยนื ”
17. สกลวสิ ุทธิ ชือ่ ผลงาน การบริหารแบบมสี ว่ นร่วมโดยใช้ ส.ก.ว. โมเดล
18. เทพสวุ รรณชาญวทิ ยา ช่อื ผลงาน Window win Model (หนา้ ตา่ ง4บาน)

๖๙

8. ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จากผลการสรุปวิเคราะห์ข้อมูลในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ตามภารกิจ
หลัก 4 ได้แก่ ด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ
การบรหิ ารงานท่วั ไป และการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม โรงเรียน
ควรนำข้อมูลที่ค้นพบในการติดตาม ตรวจสอบครั้งนี้ไปวางแผนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ในประเด็นต่าง ๆ ที่พบว่า มีการดำเนินงานที่ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ยังไม่เป็นไปในแนวทางที่กำหนดไว้
และสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โควดิ -๑๙ ทำให้การทำงานมีประสทิ ธิภาพลดลง

ภาคผนวก



แบบการติดตามตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม

ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
............................................................................................................................. ............................................
คาช้แี จง

แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาท่ีสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธ ยมศึกษา
สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ได้จัดทาขึ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลผลการบริหารจัดการศึกษาทั้งด้าน
วิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และการนานโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สมุทรสาคร สมุทรสงครามไปสู่การปฏิบัติจากสถานศึกษา ซ่ึงข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการช่วยเหลือ
ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาสถานศึกษาในสังกัดให้สามารถบริหารจัดการตามกรอบภารกิจและนโยบายดังกล่าวได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพเกดิ ประสิทธผิ ลในระดับโรงเรียนและในภาพรวมตอ่ ไป อน่ึงแบบติดตามตรวจสอบประเมินผลและ
นเิ ทศการศึกษาฉบับนี้ แบ่งออกเป็น ๕ ตอน ดังน้ี

ตอนที่ ๑ ข้อมลู พ้นื ฐานของโรงเรียน
ตอนท่ี ๒ การดาเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๔ ดา้ น

ด้านที่ ๑ การบรหิ ารงานวชิ าการ
ดา้ นท่ี ๒ การบรหิ ารงานบคุ คล
ดา้ นที่ ๓ การบรหิ ารงานงบประมาณ
ดา้ นท่ี ๔ การบริหารงานทัว่ ไป
ตอนท่ี ๓ การดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาสมทุ รสาคร สมุทรสงครามไดแ้ ก่
๓.๑ การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นและพฒั นาห้องสมดุ มีชวี ติ
๓.๒ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระ

กนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี
๓.๓ การดาเนนิ การตามนโยบาย “เด็กไทยวิถใี หม่ อ่านออกเขียนไดท้ ุกคน”

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
๓.๔ การดาเนินโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
๓.๕ การขับเคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูส่ ถานศึกษา
๓.๖ การการจัดการศึกษาเพอ่ื อาชพี มงี านทา
๓.๗ การใช้หลักสูตรตา้ นทุจริตศกึ ษาศึกษา
๓.๘ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School)
๓.๙ การพฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รยี นในการจัดการเรียนรวู้ ิทยาการคานวณ (Coding)

ของสถานศึกษา
๓.๑๐ เตรียมความพรอ้ มผเู้ รยี นเพ่ือรบั การประเมิน PISA ๒๐๒๑ (๒๕๖๔)
๓.๑๑ การใชห้ นังสือ เรอื่ ง ทะเลและมหาสมทุ ร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล

สาหรับสถานศกึ ษาในพนื้ ที่นาร้อง (ฉบับผบู้ ริหารสถานศึกษา)
๓.๑๒ การจัดการเรยี นรู้ด้วย STEM Education ของสถานศกึ ษาในพ้ืนทรี่ ับผิดชอบ
๓.๑๓ การส่งเสริมการเรยี นรดู้ า้ นสง่ิ แวดล้อมในโรงเรยี น
๓.๑๔ เครอื่ งมอื ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ดว้ ย SKSS Model



ตอนที่ ๔ ผลงานความสาเร็จทเ่ี ปน็ แบบอย่างได้
ตอนท่ี ๕ ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม
คาชีแ้ จง
ตอนท่ี ๑ ข้อมูลพน้ื ฐาน
โปรดกรอกข้อมูลพ้ืนฐาน ตามประเดน็ ท่ีกาหนด
ตอนที่ ๒ การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาตามภารกิจหลกั ๔ ด้าน
๑. โปรดเขยี นเคร่อื งหมาย✓ลงในชอ่ งการปฏิบัตทิ ่ีตรงกบั ความคิดเหน็ ของผู้ติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
๒. การปฏบิ ัติมี ๕ ระดบั
ระดับ ๕ ดเี ยี่ยม
ระดบั ๔ ดีมาก
ระดบั ๓ ดี
ระดบั ๒ พอใช้
ระดับ ๑ ปรบั ปรงุ
๓. การประเมนิ สรุปผลในภาพรวมใช้เกณฑก์ ารแปลผลระดบั การปฏบิ ตั ิจากค่าเฉลย่ี ดงั น้ี
๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถึง ดีเยี่ยม
๓.๕๐ – ๔.๔๙ หมายถงึ ดีมาก
๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถงึ ดี
๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถงึ พอใช้
๑.๐๐ – ๑.๔๙ หมายถึง ปรบั ปรุง
ตอนท่ี ๓ การดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
และ สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม
๑. โปรดเขียนเครอ่ื งหมาย✓ลงในช่องการปฏบิ ตั ิทต่ี รงกับความคิดเห็นของผู้ติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
๒. กรอกข้อมูลตามรายการ/ประเด็นที่กาหนดไว้
๓. การปฏบิ ัติมี ๕ ระดบั
ระดบั ๕ ดีเย่ียม
ระดบั ๔ ดมี าก
ระดบั ๓ ดี
ระดับ ๒ พอใช้
ระดับ ๑ ปรบั ปรุง
๔. การประเมนิ สรุปผลในภาพรวมใชเ้ กณฑก์ ารแปลผลระดบั การปฏบิ ัติจากคา่ เฉล่ียดังน้ี
๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถงึ ดีเยยี่ ม
๓.๕๐ – ๔.๔๙ หมายถึง ดมี าก
๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถงึ ดี
๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถงึ พอใช้
๑.๐๐ – ๑.๔๙ หมายถึง ปรบั ปรงุ
ตอนที่ ๔ ผลงานความสาเรจ็ ท่เี ปน็ แบบอย่างได้
ตอนที่ ๕ ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม
กรอกข้อมูลตามรายการ/ประเดน็ ท่กี าหนดไว้



แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
คณะกรรมการและอนกุ รรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา
ตามนโยบายและจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม

ตอนท่ี ๑ ข้อมลู พนื้ ฐาน

๑. ชอ่ื โรงเรยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ที่ตัง้ ……………… หมู่ …… ตาบล ………………..…………อาเภอ ……………..……………….

จงั หวดั …………………………………….รหสั ไปรษณีย…์ ……….…………โทร ………………………..โทรสาร………...........

เวบ็ ไซต์ ………………………………………………………………………E – Mail : ………………………………………………….

๓. ช่ือ – สกลุ (ผู้บริหาร)………………………………………………โทร............................E – Mail :………………………........

๔. วิสยั ทศั น์ของโรงเรยี น............................................................................................................................. ............

๕. ปรชั ญาของโรงเรียน............................................................................................................................. ..............

๖. อัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น.......................................................................................................................................

๗. เอกลักษณ์ของโรงเรยี น............................................................................................................................. ...........

๘. ขนาดของสถานศกึ ษา

 ขนาดใหญ่พิเศษ  ขนาดใหญ่  ขนาดกลาง

 ขนาดเล็ก  ขนาดเลก็ (ไมเ่ กนิ ๑๒๐ คน)

๙. จานวนครแู ละบุคลากรในโรงเรียนทั้งสิน้ จานวน..........................คน

ผู้อานวยการโรงเรยี น จานวน...................คน รองผูอ้ านวยการ จานวน.....................คน

ครู จานวน................................................คน พนกั งานราชการ จานวน....................คน

ครอู ัตราจ้าง จานวน.................................คน .....นกั เรยี น จานวน.................................คน

ลูกจา้ งประจา จานวน...............................คน

๑๐. โรงเรยี นจดั การเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศ

 ภาษาอังกฤษ ภาษาจนี ภาษาญ่ปี ุ่น

 ภาษาเมียนมาร์ ภาษาฝรงั่ เศส ภาษาอืน่ ๆ ระบ.ุ ..........................................

๑๑. สถานศึกษาหรือชุมชนอย่ใู นเขตพน้ื ทส่ี ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กลุ่มใด

 พื้นท่ีเฝา้ ระวัง (สเี ขียว)  พ้ืนท่เี ฝา้ ระวงั สูง (สีเหลือง)

 พ้ืนที่ควบคุม (สีส้ม)  พ้ืนทคี่ วบคุมสงู สุด (สีแดง)

 พ้ืนทคี่ วบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (สีแดงเข้ม)

๑๒ . รปู แบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา

 สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบปกตเิ ท่าน้นั

 สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนแบบ Online หรือ On air เทา่ นัน้

 สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning)

 อน่ื ๆ โปรดระบุ ……………………………………………………………………………………………………



ตอนท่ี 2 การดาเนินงาน 4 ด้านของสถานศึกษา

ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ

ข้ รายการ การปฏิบตั ิ เกณฑ์การประเมนิ /
อ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ระดับปฏิบัติ

1 การบริหารหลกั สตู ร การดาเนินการระดับปฏิบัติ
5 ขอ้ ( ) 5 ดีเยี่ยม
1.1 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพุทธศักราช 3 ข้อ ( ) 3 ดี
2551 ที่กาหนดให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
เรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับ การดาเนนิ การระดบั ปฏิบตั ิ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) 5 ข้อ ( ) 5 ดีเยย่ี ม
4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
1.2 นากรอบหลกั สูตรระดับท้องถิ่นของสานกั งาน 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
เขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 10 จัดทา 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
คาอธิบายรายวชิ าจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ จดั ทา 1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน

1.3 ปรับปรงุ คาอธิบายรายวชิ าทกุ รายวชิ า

1.4 จัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นทกุ ชั้นเรียน
ครบท้ัง 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรียน,กจิ กรรมจติ อาสา, กจิ กรรม
เพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

1.5 การกาหนดเกณฑก์ ารจบหลกั สูตรการศกึ ษา

2 การใช้หลักสตู รในระดับช้ันเรยี น

2.1 จดั ทาโครงสร้างรายวชิ า

2.2 จัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้ และแผนการจดั การ
เรียนรู้

2.3 วิเคราะห/์ จัดทาขอ้ มลู นักเรยี นเป็นรายบุคคล

2.4 จดั กระบวนการเรียนรเู้ ชิงรุก Active
Learningทีเ่ น้นทักษะทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ 21
บูรณาการ STEM Education

2.5 มเี ครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนร้ทู ี่
หลากหลายสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้



ขอ้ รายการ การปฏิบัติ เกณฑ์การประเมนิ /
ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ัติ ระดับปฏบิ ตั ิ

3 การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหลง่ เรยี นรู้ การดาเนินการระดบั ปฏิบัติ
5 ข้อ ( ) 5 ดเี ยย่ี ม
1. ทะเบยี นแหลง่ เรียนร้ทู ี่หลากหลาย 4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
3 ข้อ ( ) 3 ดี
2. ผลติ และใชส้ อ่ื ในการจัดการเรียนรู้ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
3. จดั มมุ ความรู้เสริมประสบการณ์ในห้องเรียนท่ี
เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้ การดาเนนิ การระดับปฏบิ ตั ิ
4. ใช้สือ่ เทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอน 5 ขอ้ ( ) 5 ดีเยย่ี ม
อย่างหลากหลาย 4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
5. สง่ เสรมิ ใหค้ รูและผู้เรียนใชแ้ หล่งเรยี นรู้ 3 ข้อ ( ) 3 ดี
ทง้ั ภายในและนอกสถานที่อย่างสม่าเสมอ 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
4 การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ DLIT/ดิจิตอล 1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
4.1 ให้มรี ะบบขอ้ มูลสารสนเทศเก่ยี วกับ DLIT
ท้ัง On line และ OFF line การดาเนินการระดบั ปฏิบัติ
4.2 มีการติดต้งั /ปรบั ชุดอุปกรณ์ DLIT ได้ 5 ข้อ ( ) 5 ดีเย่ียม
ถกู ต้องตามมาตรฐานสานกั งานคณะกรรมการ 4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
4.3 ครูมแี ละใชส้ อ่ื DLIT ในการจดั กจิ กรรมการ 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
เรยี นการสอน 1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรุง
4.4 ครมู แี ผนจัดการเรียนร้ทู ่ีบรู ณาการดว้ ย DLIT
และมีบนั ทึกผลหลังแผนจัดการเรียนรู้
4.5นกั เรยี นมกี ารประเมนิ ความพึงพอใจในการใช้
สื่อ DLIT
5 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
5.1 ครแู ละนักเรยี น ใช้ระเบียบการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ทีจ่ ัดทาข้ึนตามบริบทของ
สถานศึกษาและผา่ นการเหน็ ชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา
5.2 ครนู าสารสนเทศจากการวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นรู้มาใช้วางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นอยา่ งต่อเนอื่ ง
5.3 ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตาม
สภาพจริงและใชเ้ คร่ืองมือทห่ี ลากหลาย
สอดคล้องกบั มาตรฐานและตัวชว้ี ดั

5.4 ครสู ะท้อนผลและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผูเ้ รยี น

5.5 สอนเสริมและพฒั นาผูเ้ รียนตามความ
แตกต่างระหวา่ งบุคคลอยา่ งต่อเนื่อง



ข้อ รายการ การปฏิบตั ิ เกณฑก์ ารประเมิน/
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ ระดบั ปฏิบัติ

6 การวิจยั เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา การดาเนินการระดับปฏิบัติ
5 ขอ้ ( ) 5 ดเี ยี่ยม
6.1 กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวจิ ัย 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก
เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ 3 ข้อ ( ) 3 ดี
2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
6.2 พัฒนาครูให้มีความรูเ้ กี่ยวกับการปฏริ ูปการ 1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรุง
เรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการวิจยั เป็นสาคัญ

6.3 ใชก้ ระบวนการวิจัยในการพฒั นาการเรียนรู้
ของผเู้ รียน

6.4 นาผลการวิจัยแลกเปลย่ี นเรียนรูแ้ ละเผยแพร่

6.5 รวบรวมและจดั ทาสารสนเทศผลงานวิจยั

7 การมีสว่ นร่วมของชุมชน การดาเนินการระดับปฏบิ ัติ
7.1 จดั แสดงผลงานทางวชิ าการหรอื จัดค่าย 5 ข้อ ( ) 5 ดเี ยี่ยม
วิชาการเพือ่ เปิดโอกาสให้ผปู้ กครองคณะกรรมการ 4 ข้อ ( ) 4 ดมี าก
สถานศึกษาและชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม 3 ข้อ ( ) 3 ดี
อยา่ งน้อยปกี ารศึกษาละ 1 ครง้ั 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
7.2 เชญิ หรอื ประสานความร่วมมือกบั บุคคล/ 1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรุง
วิทยากร/ครูท่ีมีผลงาน/องค์กรตา่ งๆมาให้ความรู้
แก่นกั เรยี นอยา่ งน้อยปีการศกึ ษาละ 1 ครั้ง การดาเนนิ การระดบั ปฏิบัติ
7.3 ส่งเสรมิ สนบั สนุนแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ด้าน 9 ข้อ ( ) 5 ดีเย่ียม
วิชาการแก่ผู้ปกครองชุมชนและหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องอยา่ งน้อยปีการศึกษาละ 1 ครง้ั 7-8 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
7.4 สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมอื ในการพัฒนา 5-6 ข้อ ( ) 3 ดี
วชิ าการกับองคก์ รตา่ งๆ 3-4 ข้อ ( ) 2 พอใช้
7.5 มีกจิ กรรม/บันทกึ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 1-2 ข้อ ( ) 1 ปรับปรุง
ระหว่างสถานศึกษาและชุมชน

8 การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
8.1 โรงเรียนมแี ผนงาน/โครงการ/แนวทางในการ

นิเทศภายใน

8.2 โรงเรยี นมีการขับเคลือ่ นการนิเทศภายใน

โรงเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง

โรงเรยี นมแี นวทาง/วิธีการในการส่งเสรมิ การนิเทศภายในโรงเรยี น

ในระดับห้องเรยี นตามประเด็นข้อที่ 8.3 – 8.8



ขอ้ รายการ การปฏิบัติ รอ่ งรอย หลักฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ัติ

8.3 การใช้หลักสตู รสถานศกึ ษา

8.4 การอ่านออก เขยี นได้

8.5 การจัดการเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning)

8.6 การจดั การเรยี นร้โู ดยใชส้ ่ือเทคโนโลยีทางไกล การดาเนินการระดับปฏบิ ัติ
DLTV/DLIT 8 ข้อ ( ) 5 ดเี ยี่ยม
7 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
8.7 การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของ
ผเู้ รยี น 5-6 ข้อ ( ) 3 ดี
3-4 ข้อ ( ) 2 พอใช้
8.8 การประกนั คุณภาพการศึกษา 1-2 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ

8.9 โรงเรียนมกี ารนเิ ทศภายในและรายงานผล
การนเิ ทศภายในอยา่ งเป็นระบบ มีการนาผลไปใช้
ในการปรบั ปรงุ พฒั นา
9 การพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา
9.1 จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา

9.2 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั
การศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน หรือ
เพ่ิมเติมนอกเหนอื จากที่กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศใช้
9.3 จดั ทาและดาเนนิ การตามแผนพัฒนาการจดั
การศึกษาของสถานศกึ ษา ท่สี อดคล้องกบั สภาพ
ปญั หาและความตอ้ งการจาเป็นของสถานศึกษา
อยา่ งเป็นระบบ โดยสะทอ้ นคุณภาพความสาเร็จ
อย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา

9.4 ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา กาหนดผู้รับผดิ ชอบในการ
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาอย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 ครัง้ โดย
วธิ กี ารและเครื่องมือทหี่ ลากหลายและเหมาะสม



ขอ้ รายการ การปฏิบตั ิ รอ่ งรอย หลักฐาน
ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ

9.5 ตดิ ตามผลการดาเนนิ การเพื่อพัฒนา
สถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และนาผลการติดตามไปใชป้ ระโยชนใ์ นการ
ปรับปรงุ พัฒนา

9.6จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self
Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา นาเสนอรายงานผลการ
ประเมนิ ตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขน้ั พ้นื ฐานใหค้ วามเหน็ ชอบ และจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวตอ่ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาเปน็
ประจาทกุ ปี

9.7 พัฒนาสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพโดยพจิ ารณา
จากรายงานผลการประเมินตนเอง (Self
Assessment Report : SAR) และตามคาแนะนา
ของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา เพือ่ ใหก้ าร
ประกนั คุณภาพการศึกษาเปน็ ไปอยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพและพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

9.8 จัดทาขอ้ มูลสารสนเทศท่ีเป็นปัจจุบันและ
ตอ่ เนอ่ื ง

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ เพิม่ เติม
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
...................................................................................................................................................... ...................................
................................................................................................... ............................................



ด้านบรหิ ารงานบุคคล การปฏิบัติ เกณฑ์การประเมนิ /
ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบัติ ระดบั ปฏิบตั ิ
ขอ้ รายการ
การดาเนินการระดับปฏิบัติ
1 วางแผนบริหารอตั รากาลัง 6 ข้อ ( ) 5 ดเี ยี่ยม
1.1วิเคราะห์และวางแผนอัตรากาลงั ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท 4-5 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
1.2จัดทาข้อมูลอัตรากาลงั ครู (10 มิถุนายน) และ 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
ปรมิ าณงานของสถานศึกษา 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
1.3จดั ทาแผนบรหิ ารอตั รากาลังครแู ละบุคลากร 1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
ทางการศกึ ษาทกุ ประเภท
1.4 บริหารอัตรากาลังครูและบุคลากรทางการ การดาเนนิ การระดับปฏบิ ัติ
ศกึ ษาตามแผนที่กาหนดไว้ 5 ข้อ ( ) 5 ดีเยีย่ ม
1.5 ตดิ ตาม/ประเมินผลการดาเนินการตามแผน 4 ข้อ ( ) 4 ดมี าก
1.6สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานแก่ 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรงุ
2 สรรหาบรรจแุ ละแต่งตงั้

2.1 ควบคุมและบรหิ ารอตั ราจา้ งเหมาบริการ

2.2 ประเมินครูผู้ช่วยเพื่อแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง
ครูตามหลกั เกณฑ์ทก่ี าหนด
2.3 เสนอแตง่ ตงั้ ผรู้ กั ษาราชการในตาแหนง่
ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา กรณีผูอ้ านวยการ
สถานศึกษาไม่อยู่หรืออยู่แตไ่ มส่ ามารถปฏิบัติ
หนา้ ทไ่ี ด้
2.4 ดาเนนิ การเกีย่ วกบั การเกษยี ณอายุราชการ
การลาออกและการพ้นจากราชการของขา้ ราชการ
ครพู นักงานราชการและลกู จ้างชั่วคราวทกุ ประเภท
2.5 สนับสนุนให้พนักงานราชการและลูกจ้าง
ช่ัวคราวเข้ารับการคัดเลือกเพื่อบรรจุ เป็น
ขา้ ราชการเมอื่ มีการประกาศรับสมัคร

๑๐

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑ์การประเมนิ /
ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ระดับปฏบิ ัติ

3 ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร

3.1สง่ เสรมิ ใหค้ รไู ดร้ บั ทนุ การศึกษาหรือได้ศึกษา การดาเนินการระดบั ปฏบิ ตั ิ
ต่อด้วยตนเองในระดับทส่ี ูงข้นึ 5 ขอ้ ( ) 5 ดเี ย่ียม
4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก
3.2ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีแผนพัฒนา 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
ตนเอง (ID PLAN) 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรุง
3.3สง่ เสรมิ ให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเขา้
ร่วมประชุมอบรมสมั มนาเพื่อพัฒนาตนเองทัง้ ด้าน
วิชาการและวชิ าชีพอย่างต่อเน่อื ง

3.4ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาผ่านการประเมนิ

เพือ่ เลื่อนตาแหนง่ หรือเล่อื นวิทยฐานะหรือ

ปรับระดับลูกจ้างประจาให้สูงขน้ึ

3.5 ส่งเสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ใหไ้ ด้รบั การยกย่องเชดิ ชเู กยี รติหรอื ไดร้ ับรางวัล
ในระดับต่างๆ

4 บาเหน็จความชอบและทะเบียนประวตั ิ

4.๑ ประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการ การดาเนนิ การระดับปฏบิ ตั ิ

ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ ลู ก จ้ า ง ป ร ะ จ า ๕ ขอ้ ( ) 5 ดีเยี่ยม
พนักงานราชการและลูกจ้างชั่วคราวประเภทต่างๆ ๔ ข้อ ( ) 4 ดมี าก
ตามระเบียบกฎหมายท่กี าหนด ๓ ขอ้ ( ) 3 ดี

4.๒ เสนอขอพระราชการเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์/ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรุง

4.๓ เสนอขอปรับวุฒิและอัตราเงินเดือนตาม

คณุ วฒุ ใิ หแ้ ก่ขา้ ราชการครทู ไ่ี ดร้ ับวุฒทิ ส่ี งู ข้นึ

4.๔ ออกหนังสือรับรองการเป็นข้าราชการหรือ

รบั รองเงนิ เดอื นแก่ขา้ ราชการพนักงานราชการและ
ลกู จ้างช่ัวคราวเพ่อื ใชร้ บั รองในกรณีตา่ งๆ

4.๕ พจิ ารณาอนุมตั ิการลา/ไปราชการ/ขออนุญาต
การไปต่างประเทศ

๑๑

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑก์ ารประเมนิ /
ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ระดับปฏบิ ัติ

5 วนิ ัยและนติ ิการ กฎหมาย และคดี

5.1 ดาเนินการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต การดาเนินการระดบั ปฏบิ ัติ

และประพฤติมชิ อบ เชน่ การกาหนดมาตรการ 5 ข้อ ( ) 5 ดเี ย่ียม

ต่างๆ ในการป้องกัน 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก

5.2 รายงานการรอ้ งเรียน การกระทาความผิดทาง 3 ข้อ ( ) 3 ดี
วนิ ัยของข้าราชการ และบุคลากรทางการศึกษาให้ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้

หนว่ ยงานต้นสงั กดั ทราบ 1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรงุ

5.3 คุ้มครองคุณธรรมและจริยธรรม

5.4 พัฒนามาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณ

5.5 ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรอื สนับการปฏิบตั ิงานของ

หน่วยงานอ่นื ท่ีเก่ยี วข้อง

ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆเพ่ิมเติม

............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
......................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... ......................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
..........................................................................................................................

๑๒

ด้านการบรหิ ารงานงบประมาณ

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑก์ ารประเมิน/
ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ระดับปฏบิ ตั ิ

1 การจดั ทาค่าขอต้งั งบประมาณประจาปี

1.1 คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผน การดาเนินการระดบั ปฏบิ ตั ิ

กาหนดแนวนโยบายในการจดั ตัง้ งบประมาณ 5 ข้อ ( ) 5 ดเี ยยี่ ม

1.2 ตรวจสอบทบทวนข้อมูลความขาดแคลนและจาเปน็ 4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก

1.3 เรยี งลาดับความสาคัญตามความจาเปน็ 3 ข้อ ( ) 3 ดี

1.4 จัดทาคาขอเสนองบประมาณประจาปี 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้

1.5 เสนอคาขอฯ ส่งสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาและ 1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรงุ

หนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง

2 แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี

2.1 สถานศกึ ษามกี ารจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี การดาเนินการระดบั ปฏบิ ัติ

2.2 แผนปฏบิ ตั ิการประจาปมี ีความสอดคล้องกับภารกจิ 5 ข้อ ( ) 5 ดเี ยย่ี ม

ของสถานศกึ ษาและจุดเนน้ ของสานักงานคณะกรรมการ 4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน/สานกั งานเขต 3 ข้อ ( ) 3 ดี
พืน้ ทกี่ ารศึกษา 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
2.3 แผนปฏบิ ตั ิการประจาปไี ดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

2.4 การใช้จา่ ยแตล่ ะโครงการ/กจิ กรรมเป็นไปตาม

แผนปฏบิ ตั ิการประจาป(ี กรณีมคี วามจาเปน็ ไมส่ ามารถ

ดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมให้เป็นไปตามแผนปฏบิ ัติการ

ประจาปไี ดส้ ถานศึกษาได้รายงานปัญหา/อปุ สรรคการ

ดาเนินงานให้ผู้อานวยการสถานศกึ ษาทราบ)

2.5 จัดทารายงานผลการดาเนนิ งานครบถ้วนทกุ โครงการ/

กิจกรรมตามท่กี าหนดในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปเี สนอให้

ผู้อานวยการสถานศึกษาทราบ

3 การควบคมุ เงนิ คงเหลือ

3.1 จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวันทุกสิ้นวันโดย การดาเนินการระดับปฏิบัติ

ถูกต้องเป็นปัจจุบันและเสนอรายงานให้ผู้อานวยการ 5 ข้อ ( ) 5 ดเี ย่ยี ม

สถานศึกษาลงนาม 4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
3 ขอ้ ( ) 3 ดี
3.2 ยอดเงนิ คงเหลือแตล่ ะประเภทท่ีแสดงในรายงานเงนิ 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
คงเหลือประจาวนั ตรงกบั ยอดเงนิ คงเหลือตามทะเบยี นคมุ 1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
เงนิ นอกงบประมาณและทะเบียนคมุ การรับและนาส่งเงิน
รายไดแ้ ผน่ ดิน

3.3 ยอดเงินสดคงเหลอื มีอยูจ่ ริงครบถว้ นและตรงกบั

รายงานเงินคงเหลอื ประจาวนั

๑๓

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑก์ ารประเมนิ /
ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ระดบั ปฏบิ ัติ

3.4 ยอดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือตามสมดุ เงินฝาก การดาเนนิ การระดบั ปฏิบัติ
ธนาคารตรงกับรายงานเงนิ คงเหลือประจาวัน 5 ข้อ ( ) 5 ดีเยย่ี ม
4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
3.5 ยอดเงนิ ฝากสว่ นราชการผู้เบิกตามสมุดคู่ฝาก(ส่วน 3 ข้อ ( ) 3 ดี
ราชการผู้เบิก)ตรงกับรายงานเงินคงเหลอื ประจาวัน 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
4 การเก็บรักษาเงิน
การดาเนินการระดบั ปฏิบัติ
4.1 การเกบ็ รกั ษาเงินสดเงนิ ฝากธนาคารของเงนิ 5 ข้อ ( ) 5 ดีเยยี่ ม
แต่ละประเภทเป็นไปตามวงเงินอานาจการเก็บรักษาที่ 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก
กระทรวงการคลังอนุมัตแิ ละระเบยี บท่ีเกย่ี วข้อง 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
4.2 กรณีสถานศึกษาไมม่ ตี ู้นิรภัยมีเงินสดในมอื ได้จัดทา 1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
“บันทึกการรบั เงนิ เพ่อื เก็บรกั ษา โดยนาฝากธนาคาร”

4.3 เสนอ “บนั ทกึ การรบั เงินเพ่ือเกบ็ รักษา”
ให้ผู้อานวยการสถานศึกษาลงนาม และมอบให้
เจ้าหนา้ ทีก่ ารเงินนาฝากธนาคาร

4.4 นาเงินส่งรายได้แผ่นดินอย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง
วันใดมีเงนิ รายไดเ้ กินกว่า 10,000 บาทมกี ารนาเงินส่ง
คลงั อยา่ งชา้ ไมเ่ กนิ 7 วันทาการ

4.5 เงินภาษีหกั ณ ทจ่ี า่ ยมกี ารนาส่งสรรพากรในท้องที่
ภายใน 7 วันนบั แตว่ ันสน้ิ เดอื นของเดอื นท่จี า่ ยเงนิ

5 การควบคมุ การรบั เงิน

5.1 มคี าส่ังหรือบนั ทกึ มอบหมายผทู้ าหนา้ ทร่ี บั –
จา่ ยเงนิ อยา่ งชดั เจน

5.2 ผทู้ าหน้าทจ่ี ดั เก็บหรอื รับชาระเงนิ เปน็ เจา้ หนา้ ท่ี
การเงินหรือผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย

5.3 มกี ารออกใบเสร็จรบั เงนิ ตามแบบของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหแ้ กผ่ ู้ทีช่ าระเงิน
ทุกคร้ัง

5.4 ใบเสรจ็ รบั เงินระบุข้อมูลรายละเอยี ดครบถ้วน
สมบูรณ์

5.5 ยอดเงนิ ในใบเสร็จรับเงนิ ถกู ต้องตรงกบั รายการ
ทีบ่ นั ทกึ ไว้ในทะเบียนคุมตา่ งๆ

๑๔

ขอ้ รายการ การปฏบิ ตั ิ เกณฑก์ ารประเมิน/
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบัติ ระดับปฏิบัติ
6 การควบคมุ การจา่ ยเงิน
6.1 การจ่ายเงนิ แตล่ ะประเภทตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ การดาเนินการระดับปฏบิ ัติ
และระเบยี บหรือข้อกาหนดของเงนิ นัน้ ๆ 5 ข้อ ( ) 5 ดีเย่ียม
4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
6.2 การจ่ายเงินทกุ รายการไดร้ ับอนมุ ัติจากผมู้ ีอานาจ 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
6.3 มีหลกั ฐานการจ่ายครบถ้วนสมบรู ณท์ กุ รายการ 1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรงุ
ทจ่ี า่ ยเงินและยอดเงนิ ทจ่ี า่ ยตรงกับท่ีได้รับอนุมัติ
จากผมู้ ีอานาจ การดาเนินการระดับปฏบิ ตั ิ
6.4 ใบสาคญั คจู่ ่ายทีเ่ ป็นใบเสร็จรับเงินเจ้าหน้มี ี 5 ข้อ ( ) 5 ดีเย่ยี ม
สาระสาคัญครบถว้ นตามแบบที่กระทรวงการคลงั 4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
กาหนด 3 ข้อ ( ) 3 ดี
6.5 ผจู้ ่ายเงินไดล้ งลายมอื ช่ือรบั รองการจ่ายพร้อมทงั้ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
ชอ่ื บรรจงและวนั เดือนปที ่ีจา่ ยเงินกากับไวท้ ่ีหลกั ฐาน 1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
การจา่ ยทกุ รายการ
7 การจดั ทาบญั ชี
7.1 มกี ารจดั ทาทะเบียนคมุ การรับและนาสง่ เงนิ รายได้
แผ่นดนิ เปน็ ปจั จบุ นั และบนั ทึกรายการรับและนาส่งเงิน
ถกู ต้องตรงตามหลักฐาน
7.2 มีการจัดทาทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณเพ่ือ
ควบคุมเงินแต่ละประเภทครบถ้วนเป็นปัจจุบันและ
บนั ทกึ รายการรบั -จา่ ยถกู ต้องตรงตามหลักฐาน
7.3 มกี ารจัดทาทะเบียนคุมเงนิ โครงการตาม
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี
7.4 การจัดทาสมดุ คฝู่ าก (สว่ นราชการผ้เู บกิ ) เป็น
ปจั จุบนั และมกี ารบนั ทึกควบคมุ การฝากถอนเงนิ กับ
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาถกู ต้องครบถว้ น
7.5 ทุกสน้ิ วันทาการผู้อานวยการสถานศึกษาหรือ
ผู้ที่ได้รบั มอบหมายทาการตรวจสอบการบนั ทึกรายการ
เคลือ่ นไหวในทะเบยี นตา่ งๆตามทีร่ ะบบการควบคมุ
การเงินของหนว่ ยงานย่อยกาหนด

๑๕

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑ์การประเมิน/
ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ ระดบั ปฏบิ ัติ

8 การจดั ทารายงานการเงนิ และการตรวจสอบรับ-จ่ายประจาวัน

8.1 นาส่งรายงานเงินคงเหลือประจาวัน ณ วันทาการสุดท้าย การดาเนนิ การระดับปฏิบตั ิ
ของเดือนให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาทราบเพื่อตรวจสอบ 5 ขอ้ ( ) 5 ดเี ยย่ี ม
และกากับดแู ลภายในวันท่ี 15 ของเดือนถดั ไป 4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
3 ขอ้ ( ) 3 ดี
8.2 ยอดเงินคงเหลือแต่ละประเภทในรายงานเงินคงเหลือ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
ประจาวนั ถกู ตอ้ งตรงกับทะเบยี นคมุ ทุกทะเบียน 1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรงุ

8.3 นาส่งรายงานการรับ-จ่ายเงินรายได้สถานศึกษาประจาปี
งบประมาณตามแบบท่ีกาหนดเสนอให้สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาทราบภายใน 30 วนั
นับแตว่ ันสนิ้ ปีงบประมาณ

8.4 มีการแต่งตั้งหรือมอบหมายให้มีผทู้ าหน้าท่ีตรวจสอบการ
รับ-จ่ายประจาวันตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนา
เงินส่งคลังในหน้าที่ของอาเภอ พ.ศ. 2520 ข้อ 20 และข้อ
37

8.5 ผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมายมีการตรวจสอบการรับ-จ่ายประจาวัน
ตามทร่ี ะเบียบกาหนด

9 การควบคุมใบเสร็จรับเงนิ การดาเนินการระดับปฏิบัติ
5 ขอ้ ( ) 5 ดเี ยี่ยม
9.1 มกี ารจดั ทาทะเบียนคุมใบเสรจ็ รับเงินโดยบนั ทึกรายงาน 4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
ถกู ต้องครบถว้ นเป็นปัจจบุ นั 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
9.2 ใบเสร็จรับเงนิ ทีล่ งรายการผิดพลาดสถานศึกษาใชว้ ิธีการ 1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรงุ
ขดี ฆ่าจานวนเงนิ และเขยี นใหมท่ ั้งจานวนโดยผรู้ บั เงนิ ลง
ลายมอื ชอื่ กากับกรณียกเลกิ ใบเสร็จรับเงิน
มกี ารแนบใบเสรจ็ รับเงนิ ไว้สาเนาในเลม่

9.3 ไม่มีการใชใ้ บเสร็จขา้ มปีงบประมาณ

9.4 ใบเสรจ็ รบั เงนิ ของปงี บประมาณปีก่อนที่ใชไ้ ม่หมดเลม่
สถานศกึ ษามีการประทบั ตราเลกิ ใชป้ รหุ รอื เจาะรู
ใบเสรจ็ รับเงนิ ฉบบั ท่เี หลือตดิ อย่กู บั เลม่ ไมใ่ ห้นามาใช้
รับเงินได้อีก

9.5สิ้นปงี บประมาณมีการรายงานการใช้ใบเสรจ็ รับเงินให้
ผู้อานวยการสถานศกึ ษาทราบไม่เกนิ วันที่ 15 ตลุ าคมของ
ปีงบประมาณถดั ไป

๑๖

ขอ้ รายการ การปฏิบตั ิ เกณฑก์ ารประเมิน/
ระดบั ปฏบิ ัติ
10 การจดั หาพัสดุ
10.1 สถานศกึ ษาดาเนินการจัดหาพัสดุตาม พ.ร.บ. การดาเนินการระดบั ปฏิบตั ิ
การจดั ซ้ือจัดจ้างฯพ.ศ.2560 และระเบยี บท่ีเกย่ี วข้อง 5 ขอ้ ( ) 5 ดีเยีย่ ม
10.2 สถานศกึ ษามีการจัดทาแผนการจดั ซื้อจดั จ้าง 4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
10.3 สถานศึกษามีการแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนด 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
คณุ ลกั ษณะเฉพาะหรือแบบรูปรายการ/ ราคากลาง 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
10.4 สถานศกึ ษาจัดทาประกาศผู้ชนะการเสนอราคา 1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรงุ

10.5 การจัดซือ้ จดั จา้ งมเี อกสารประกอบครบถว้ น การดาเนินการระดบั ปฏบิ ตั ิ
11 การควบคุมดูแลบารงุ รกั ษาและจาหนา่ ยพัสดุ 5 ข้อ ( ) 5 ดีเยีย่ ม
4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
11.1สถานศึกษาจัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สนิ ตาม 3 ข้อ ( ) 3 ดี
รูปแบบทีก่ รมบญั ชกี ลางกาหนดและเปน็ ปจั จุบนั 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
11.2 สถานศึกษาจัดทาบัญชคี ุมวัสดแุ ละใบเบิกพสั ดุ 1 ข้อ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
ตามรปู แบบท่ีกรมบัญชีกลางกาหนดและเป็นปัจจุบนั
11.3 สถานศึกษามีการตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปีและ
รายงานตอ่ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาเพื่อทราบ
11.4 มที รัพย์สินจรงิ ตามทะเบียนคมุ ทรัพย์สนิ
11.5 สถานท่ีเก็บทรพั ยส์ นิ มีความมน่ั คงปลอดภยั และ
เหมาะสม

ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆเพมิ่ เติม
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................... ........................................................... .....................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
....................................................................................................................................................... ..................................
................................................................................................. ........................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................

๑๗

ดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป การปฏบิ ตั ิ เกณฑ์การประเมิน/
ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ ระดบั ปฏบิ ตั ิ
ขอ้ รายการ
การดาเนนิ การระดับปฏบิ ตั ิ
1 การพฒั นาระบบเครือขา่ ยข้อมูลสารสนเทศ 6 ขอ้ ( ) 5 ดเี ยีย่ ม
5 ข้อ ( ) 4 ดมี าก
1.1 สถานศกึ ษามีการจัดทาฐานข้อมูลเพ่ือใช้ในการ 4 ข้อ ( ) 3 ดี
บรหิ ารจดั การในระบบต่างๆไดอ้ ยา่ งครบถว้ นถูกต้อง
และเปน็ ปจั จุบนั เช่น 2-3 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
-ฐานขอ้ มลู นกั เรียนรายบคุ คล (DMC)
-ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจดั การข้อมลู การดาเนินการระดับปฏบิ ตั ิ
สารสนเทศ (EMIS) 5 ข้อ ( ) 5 ดีเย่ียม
-ฐานข้อมูลส่งิ ก่อสรา้ งภายในโรงเรยี น (B-OBEC) 4 ข้อ ( ) 4 ดมี าก
1.2 สถานศึกษาใช้ประโยชน์จากข้อมลู สารสนเทศท่มี ี 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
อยอู่ ย่างมีประสิทธิภาพ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
1.3 สถานศกึ ษาสนบั สนุนข้อมลู สารสนเทศใหแ้ ก่ 1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
หน่วยงานในพน้ื ท่ใี นการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น
โรงพยาบาล สถานีตารวจ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นท้องถน่ิ
1.4 สถานศึกษามีการพัฒนาระบบเครือขา่ ยขอ้ มูล
สารสนเทศใหม้ คี วามพร้อมและเช่อื มโยงข้อมลู กับ
สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
1.5 สถานศึกษามีการเผยแพร่ประชาสมั พันธข์ ้อมลู
สารสนเทศให้แกผ่ สู้ นใจและหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
อย่างสมา่ เสมอ
1.6 สถานศึกษามีการประเมินความพงึ พอใจจากรบั
บรกิ ารข้อมูลสารสนเทศและมีการพฒั นาเป็นระยะๆ
2 การวางแผนการศกึ ษา

2.1 สถานศกึ ษามีการจดั ทาแผนพัฒนาการศึกษาขนั้
พนื้ ฐาน 4 ปที ีส่ อดคล้องกับยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา
การศึกษา

-จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 4 ปี
-มีคาส่ังแตง่ ต้ังคณะทางานจัดทาแผนพัฒนา
การศกึ ษาโดยการมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการ
สถานศึกษาผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี หรือหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง

๑๘

ข้อ รายการ การปฏบิ ตั ิ เกณฑ์การประเมิน/
ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ระดับปฏิบัติ
2.2 สถานศึกษามกี ารจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
งบประมาณท่เี นน้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และสอดคล้องกับนโยบาย การดาเนนิ การระดับปฏิบัติ
ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สานกั งาน 5 ข้อ ( ) 5 ดีเยยี่ ม
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ตลอดจนความตอ้ งการของชุมชน โดยการ 4 ขอ้ ( ) 4 ดีมาก
มีส่วนรว่ มจากชุมชนและหนว่ ยงานในพ้นื ที่และเสนอ 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
แผนพัฒนาการศึกษาใหส้ านักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษารบั ทราบ 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรงุ
- จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ
- มคี าสัง่ แต่งตง้ั คณะทางานประกอบดว้ ยผ้มู สี ่วนไดส้ ่วน
เสยี คณะกรรมการสถานศกึ ษาชมุ ชนหรือหน่วยงานอ่ืนๆท่ี
เกย่ี วข้อง
- เสนอแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณใหส้ านักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาทราบ
2.3 สถานศึกษามแี ผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณทส่ี อดคลอ้ งกบั
การจดั สรรงบประมาณของสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาและ
งบประมาณทสี่ ถานศกึ ษาจัดหาได้
2.4 สถานศกึ ษามีการปรบั แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ
ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายในรปู แบบ
ของคณะกรรมการ
2.5 สถานศึกษาจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งานโครงการตาม
แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณและเผยแพรใ่ หส้ าธารณชน
ทราบ
-มีการจัดทารายงานผลการดาเนินงานโครงการตาม
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ
3 การประสานงานและพฒั นาเครอื ข่ายการศึกษา

3.1 สถานศกึ ษามีการประสานความรว่ มมอื ในการจดั
การศกึ ษากบั หน่วยงานภาครัฐ
3.2 สถานศกึ ษามกี ารประสานความรว่ มมอื ในการจดั
การศกึ ษากบั องค์กรเอกชน
3.3 สถานศกึ ษามีการประสานความรว่ มมือในการจดั
การศึกษากับชมุ ชนและเครือข่ายตา่ งๆ
3.4 สถานศกึ ษามกี ารระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษาจาก
หน่วยงานภาครฐั องคก์ รเอกชนชุมชนและเครอื ขา่ ยต่างๆ

3.5 สถานศกึ ษามีเครอื ข่ายในการจัดการศกึ ษา

๑๙

ขอ้ รายการ การปฏิบัติ เกณฑก์ ารประเมนิ /
ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ระดับปฏบิ ัติ

4 การรับนกั เรยี น การดาเนินการระดบั ปฏิบัติ
5 ข้อ ( ) 5 ดเี ยย่ี ม
4.1 จัดทาแผนการรับนักเรียนของเขตพื้นที่บริการ 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก
สัดส่วนการรับนักเรียนในเขตพื้นท่ีบริการต่อนอกเขต 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
พน้ื ทบี่ รกิ ารรวมถึงความสามารถพเิ ศษ (ถ้าม)ี 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
1 ขอ้ ( ) 1 ปรบั ปรุง
4.2 สถานศึกษามกี ารประชาสัมพนั ธ์การรบั นกั เรยี น
ผา่ นช่องทางท่ีหลากหลายเช่นป้ายประชาสมั พนั ธ์
เว็บไซตป์ ระชาสัมพันธ์ social line การจดั กิจกรรม
เปิดร้วั โรงเรยี นเพอื่ ใหผ้ ูป้ กครองและผทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ ง

4.3 ประกาศการรับนกั เรียนของโรงเรียนให้เป็นไปดว้ ย
ความโปร่งใสตรวจสอบได้

4.4 สถานศึกษารายงานเกณฑ์การรบั นกั เรยี นให้
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาทราบ

4.5 สถานศึกษาดาเนินงานรับนักเรียนตามนโยบาย
และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียนสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

5 งานส่งเสรมิ กจิ การนกั เรยี น

5.1 สถานศกึ ษามีการจัดระบบชว่ ยเหลือดูแลนกั เรยี น การดาเนินการระดบั ปฏิบตั ิ
5 ข้อ ( ) 5 ดเี ย่ียม
5.2 สถานศกึ ษามีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
ลูกเสือเนตรนารตี ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
พนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
2560) 1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรงุ
5.3 สถานศกึ ษามีการจัดตงั้ สภานกั เรียนและ
ดาเนินงานตามมาตรการในการดาเนนิ งานกิจกรรมสภา
นกั เรียนระดับสถานศึกษาของสานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

5.4 สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมชมรม TO BE
NUMBER ONE

5.5 สถานศึกษามีการดาเนินงานโครงการสถานศกึ ษา
สีขาว

๒๐

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑก์ ารประเมิน/
ปฏิบัติ ไม่ปฏิบตั ิ ระดับปฏบิ ตั ิ
6 งานสง่ เสริมสขุ ภาพอนามัย
การดาเนินการระดับปฏบิ ตั ิ
6.1 มหี อ้ งพยาบาล ถูกสุขลกั ษณะ และพร้อมตอ่ การใช้ 5 ขอ้ ( ) 5 ดีเย่ียม
งานและมีเจา้ หน้าท่/ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก
6.2 มกี ารรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศทางด้านสุขภาพ 3 ขอ้ ( ) 3 ดี
อนามยั ของนักเรยี นเพื่อใชส้ ่งเสริมสขุ ภาพอนามัยเชน่ 2 ข้อ ( ) 2 พอใช้
นา้ หนัก ส่วนสงู การทดสอบสมรรถภาพของรา่ งกาย 1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
6.3 มีโครงการ/กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ สุขภาพอนามัยและ
ความปลอดภยั ของผู้เรียน การดาเนนิ การระดบั ปฏิบตั ิ
6.4 มกี ารประสานงานการดาเนนิ งานในการส่งเสริม 7 ข้อ ( ) 5 ดีเยย่ี ม
สขุ ภาพอนามัยอยา่ งต่อเน่ืองสม่าเสมอและสง่ ต่อไปยงั 6 ข้อ ( ) 4 ดีมาก
หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง 4-5 ขอ้ ( ) 3 ดี
6.5 มกี ารนิเทศกากบั ติดตามและประเมนิ ผล ส่งเสริม 2-3 ขอ้ ( ) 2 พอใช้
และพัฒนาคุณภาพนกั เรียนเพอื่ นาไปใชป้ รบั ปรุงพฒั นา 1 ขอ้ ( ) 1 ปรับปรงุ
คุณภาพนักเรียน
7 การดูแลอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดล้อม

7.1 สถานศึกษามีอาคารเรียนและอาคารประกอบ
เพยี งพอต่อการจดั การเรียนการสอน
7.2 มกี ารกาหนดหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบของคร/ู
บคุ ลากร/นกั เรยี นและเวลาท่ีแนน่ อนในการดแู ลรกั ษา
ความสะอาดความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยท้งั ทีเ่ ป็น
บริเวณทม่ี ีผ้รู บั ผิดชอบเฉพาะและบรเิ วณความ
รับผดิ ชอบท่วั ไปท่ีทุกคนต้องปฏบิ ตั ิ
7.3 มีการกาหนดพื้นทใ่ี ชง้ านอย่างชัดเจนเชน่ หอ้ งเรยี น
ห้องละหมาดห้องพักครหู อ้ งพยาบาลห้องสมุด
หอ้ งส้วมโรงอาหารพร้อมทง้ั มีป้ายแสดงบอกไว้
7.4 มีการตรวจสอบและซ่อมแซมบารงุ รักษาอาคาร
และวสั ดุอปุ กรณต์ า่ งๆเช่นประตหู นา้ ต่างขน้ั บนั ไดราว
บนั ไดโต๊ะ-เก้าอ้หี ลอดไฟฟ้าสวิตช์สายไฟใหอ้ ยู่ในสภาพ
ทด่ี มี นั่ คงปลอดภยั และมีการทาความสะอาดอยู่เสมอ

๒๑

ข้อ รายการ การปฏบิ ตั ิ เกณฑก์ ารประเมิน/
ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ระดบั ปฏบิ ตั ิ

7.5 โรงอาหารมีความสะอาดเปน็ ระเบียบเรียบร้อยโต๊ะ

เกา้ อีส้ ะอาดแข็งแรงและจัดเป็นระเบียบบรเิ วณท่ี

เตรยี ม-ปรงุ อาหารต้องสะอาดมีการระบายอากาศ

รวมทั้งกลิน่ และควันจากการทาอาหารได้ดี ภาชนะ

อุปกรณ์ เชน่ จาน ชาม ชอ้ นส้อม แกว้ นา้ ต้องทาจาก

วสั ดุที่ไม่เปน็ อันตรายและมกี ารทาความสะอาดอยา่ ง

ถูกต้อง

7.6 ห้องน้า-หอ้ งส้วมมกี ารรักษาความสะอาดอยู่เสมอ

ท้ังพ้ืนผนังโถสว้ ม-โถปัสสาวะไม่มีคราบสกปรกอ่างล้าง

มอื ก๊อกน้ากระจกอยใู่ นสภาพดใี ช้งานได้และมแี สงสว่าง

เพยี งพอสามารถมองเห็นได้ชดั เจนทัว่ บริเวณมีการ

ระบายอากาศทดี่ ีไมม่ ีกลิ่นเหมน็ กรณีมีห้องส้วมแยก

ชาย-หญิงต้องตดิ ป้ายบอกหรอื สญั ลักษณท์ ี่ชดั เจนและ

จัดให้มีการทาความสะอาดเป็นประจา

7.7 สนามหญา้ สวนหย่อมสนามกีฬามีการดูแลรกั ษา

มีการจดั ตกแต่งให้อยูใ่ นสภาพที่เรียบร้อยสวยงามและ

ปลอดภยั มีการจัดการส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพเช่นเสยี ง

แสงสวา่ งอณุ หภูมริ วมทั้งสารเคมอี ย่างเหมาะสมไม่

กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อสุขภาพ

8 การประชาสมั พันธง์ านการศึกษา

8.1 สถานศกึ ษามีการเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์และ การดาเนินการ ระดับปฏิบตั ิ

สอ่ื สารหลายช่องทาง 5 ข้อ ( ) 5 ดเี ยีย่ ม

8.2 สถานศกึ ษามีคาสง่ั มอบหมายผู้ปฏิบตั ิงานด้าน 4 ขอ้ ( ) 4 ดมี าก

ประชาสมั พันธ์ 3 ข้อ ( ) 3 ดี

8.3 สถานศกึ ษามจี ุดประชาสัมพนั ธ์แกผ่ ูม้ าติดต่อ 2 ขอ้ ( ) 2 พอใช้

ราชการ 1 ข้อ ( ) 1 ปรับปรงุ

8.4 สถานศกึ ษามีการประชาสมั พนั ธก์ ารศึกษาอย่าง

ตอ่ เนอ่ื งโดยมีผู้รับผดิ ชอบชัดเจน

8.5 สถานศึกษามเี ครอื ขา่ ยประชาสัมพันธข์ อง

สถานศกึ ษา

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆเพิ่มเติม

............................................................................................................................. ............................................................

...........................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................

๒๒

๓.๑ การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านและพัฒนาหอ้ งสมุดมชี ีวิต

ขอ้ รายการ การปฏบิ ัติ เกณฑ์การประเมิน/
ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ ระดับปฏบิ ตั ิ

๑ การกาหนดนโยบาย แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมท่ี การดาเนนิ การ ระดบั ปฏิบัติ

รองรบั โครงการส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่านและ ๑๑-๑๒ ข้อ ( ) ๕ ดเี ยยี่ ม

การพัฒนาห้องสมดุ มชี วี ติ ๙-๑๐ ขอ้ ( ) ๔ ดมี าก

๒ การจัดหอ้ งสมุดใหม้ ีสภาพแวดล้อม (สะอาด แสง ๗-๘ ขอ้ ( ) ๓ ดี

สวา่ ง เสียง และการถา่ ยเทอากาศ) อยา่ งเหมาะสม ๕-๖ ข้อ ( ) ๒ พอใช้

และสวยงาม ๑-๔ ขอ้ ( ) ๑ ปรบั ปรงุ

๓ ห้องสมดุ มีเครือ่ งมือวสั ดุอุปกรณ์และทรัพยากร

สารสนเทศประเภทวสั ดุตีพิมพ์ทีเ่ หมาะสม

๔ ครูผ้สู อน/ครูบรรณารักษ์มกี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสริม

นิสยั รกั การอ่านแกน่ ักเรียน

๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรมู้ ีการจดั กิจกรรมสง่ เสริม

การอ่านตามแนวทางการดาเนนิ งานส่งเสรมิ นสิ ยั

รักการอ่านและการพฒั นาห้องสมดุ โรงเรยี นของ สพฐ.

๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้มสี ่วนร่วมในการพฒั นา

ห้องสมุด ตามแนวทางการดาเนินงานสง่ เสริมนิสยั

รักการอา่ นและการพฒั นาห้องสมุดโรงเรยี นของ สพฐ.

๗ ครูผูส้ อนใชห้ ้องสมุดเพ่ือการเรียนการสอน

๘ ส่งเสริมให้นักเรียนอ่านหนังสือ (ไม่รวมหนงั สอื

เรยี น) เป็นไปตามเกณฑ์ท่ี สพฐ. กาหนด (ระดบั

มัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 อา่ นหนงั สือไม่น้อยกวา่ 20

เล่มตอ่ ปี หรือเฉล่ียวันละ 90 นาทีระดับ

มัธยมศึกษาปที ่ี 4–6 อ่านหนังสอื ไม่น้อยกวา่

20 เล่มต่อปี หรือเฉลี่ยวันละ 120 นาท)ี

๙ ใช้โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. หรือโปรแกรม

อ่ืนในการดาเนินงานห้องสมุด

๑๐ จดั เก็บสถิติผู้เข้าใช้ห้องสมดุ

๑๑ กากับ ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงาน

ส่งเสริมการอา่ นและพฒั นาห้องสมุด

๑๒ การสรุปรายงานผลการดาเนินงานสง่ เสรมิ การอ่าน

และพฒั นาห้องสมดุ

ขอ้ มูลเพ่ิมเติมเพื่อตอบตัวชีว้ ัดของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.)

๑. ครูบรรณารกั ษ์ตรงสาขาวชิ าเอกจานวน........คน สาขาวชิ าอ่นื ......... คน (ระบสุ าขาวชิ า ..................................)

๒. ครบู รรณารักษ์ ชอ่ื ................................................................... โทรศพั ท์ .............................................

ช่ือ ................................................................... โทรศัพท์ .............................................

ช่ือ ................................................................... โทรศัพท์ .............................................

๒๓

๓. กจิ กรรมท่สี ่งเสริมให้ผเู้ รียนมีนิสยั รกั การอ่าน ใฝห่ าความรู้ใชก้ ารอ่านเพ่อื การแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเอง
และสังคม (ช่อื กจิ กรรม)
............................................................................................................................. .....................................................
............................................................................................................................. .....................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................
๔. กิจกรรมหรือวิธีดาเนนิ การท่ีส่งเสรมิ ในการพฒั นาห้องสมุดหรอื ห้องสมดุ มชี ีวิต (ช่อื กจิ กรรม/วธิ ีการดาเนินงานพอ
สังเขป)
.................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. .....................................................
........................................................................................................................................... .......................................
........................................................................................... .......................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................
............................................................................................................................. .....................................................
๕. แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรียน
............................................................................................................................. .....................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................
............................................................................................................................. .....................................................
................................................................................................................................................................................. .
๖. แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรียน
.................................................................................................. ................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................
............................................................................................................................. .....................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................


Click to View FlipBook Version