The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้หลักสูตรวิทยาการคำนวณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auikung.k, 2021-04-29 09:12:16

CS_manual

คู่มือการใช้หลักสูตรวิทยาการคำนวณ

ชววชิิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิทิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

143

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
1. ความครบถว้ น
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)

สารสนเทศทไ่ี ดค้ รบถว้ น สารสนเทศที่ได้ รอ้ ยละ สารสนเทศที่ได้

ตามวตั ถุประสงค์ท่ไี ด้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 80 ตรงตาม ไม่ครบถ้วนตาม

กำหนดไว้ วตั ถุประสงค์ท่ไี ด้ วัตถปุ ระสงคท์ ไ่ี ด้

กำหนดเอาไว้ กำหนดเอาไว้

2. ความถูกตอ้ ง สารสนเทศทีไ่ ดถ้ กู ต้อง สารสนเทศท่ไี ดม้ ี สารสนเทศทไี่ ด้
สว่ นใหญม่ ีขอ้ ผดิ พลาด
ไมม่ ีข้อผดิ พลาด ข้อผดิ พลาดเล็กน้อย ไมส่ ามารถนำไปใชไ้ ด้

สามารถนำไปใชไ้ ดท้ นั ที แต่สามารถแกไ้ ขได้

กอ่ นนำไปใช้

3. การใช้สารสนเทศ ใช้สารสนเทศในการ ใชส้ ารสนเทศในการ ไมส่ ามารถใชส้ ารสนเทศ
เพ่อื การตัดสนิ ใจ ในการตัดสินใจได้
ตัดสินใจไดอ้ ยา่ งมี ตดั สินใจได้ตรง

ประสทิ ธภิ าพตรงตาม ตามวตั ถปุ ระสงค์

วตั ถปุ ระสงคท์ กุ ประการ บางประการ

ระดับคุณภาพ ระดบั สรุปผลการประเมนิ
ดี ผ่าน มีระดบั คุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป
คะแนนรวม ไม่ผ่าน    มีระดบั คุณภาพ ควรปรบั ปรุง
8-9 พอใช้
5-7 ควรปรับปรุง
3-4

ชววชิชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิททิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

144

แบบประเมินการนำเสนอ

คำชี้แจง ให้ผู้สอนประเมินการนำเสนอของผู้เรียน ตามรายการประเมิน โดยใช้เกณฑ์การ
ประเมินท่ีกำหนดให้

รายการประเมนิ สรปุ ผล

ที่ ชือ่ -สกุล เนอ้ื หา วธิ กี าร ความมน่ั ใจ เวลาในการ รวม ระดบั การประเมิน
นำเสนอ ในการ นำเสนอ (12 คะแนน) ผา่ น ไมผ่ า่ น
นำเสนอ

3 21 3 21 3 213 21

ลงชอ่ื .............................................................. ผูป้ ระเมนิ
(................................................................)

วชวิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ททิิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

เกณฑ์การให้คะแนน 145

รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คะแนน ควรปรับปรุง (1)
1. เน้ือหา เน้ือหาถูกต้อง เนื้อหาบางส่วน
ตรงประเด็นและมี พอใช้ (2) ไม่ถูกต้องและ
2. วธิ กี ารนำเสนอ รายละเอยี ดครอบคลมุ ไมค่ รอบคลมุ
เน้ือหาถกู ต้อง
มีรปู แบบและเทคนิค ตรงประเดน็ แตม่ ี มีรปู แบบและ
การนำเสนอทน่ี า่ สนใจ รายละเอียดบางส่วน เทคนคิ การนำเสนอ
และนำเสนอได้อย่าง ไม่ครอบคลุม ไม่น่าสนใจ หรือ
ชดั เจน เข้าใจงา่ ย นำเสนอไดไ้ ม่ชัดเจน
มีรูปแบบและเทคนิค
การนำเสนอทน่ี า่ สนใจ
หรือนำเสนอไดอ้ ยา่ ง
ชดั เจน เขา้ ใจง่าย

3. ความมน่ั ใจในการ - เสยี งดงั ฟังชัด - เสยี งดังฟังชดั - เสยี งดงั ฟังชดั
ออกเสยี งชัดเจน ออกเสียงชดั เจน แบง่
นำเสนอ ออกเสียงชดั เจน แบง่ วรรคตอน วรรคตอนได้ถูกตอ้ ง
ได้ถกู ต้อง - กิรยิ าท่าทางเป็น
แบง่ วรรคตอน - กิริยาทา่ ทางเปน็ ธรรมชาติ
ธรรมชาติ - มีปฏิสมั พันธก์ บั ผู้ฟงั
ไดถ้ ูกต้อง - มีปฏิสมั พนั ธก์ ับผ้ฟู งั (ปรากฏ 1 ประเด็น
(ปรากฏ 2 ประเดน็ จาก 3 ประเดน็ )
- กริ ิยาทา่ ทางเป็น จาก 3 ประเดน็ )

ธรรมชาติ

- มีปฏสิ ัมพนั ธก์ บั ผู้ฟัง

(ครบ 3 ประเดน็ )

4. เวลาในการ นำเสนอตรงตามเวลา ใช้เวลานอ้ ยหรอื ใช้เวลาน้อยหรอื
นำเสนอ ที่กำหนด มากกวา่ เวลาที่กำหนด มากกว่าเวลาท่กี ำหนด
เลก็ นอ้ ย ไปมาก

ระดบั คณุ ภาพ ระดับ สรปุ ผลการประเมนิ
ดี ผ่าน มีระดับคณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป
คะแนนรวม ไม่ผา่ น    มีระดบั คณุ ภาพ ควรปรับปรุง
10 - 12 พอใช้
7-9 ควรปรับปรุง
4-6

ชววิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิททิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

146

กิจกรรมที่ 2 แรกพบไพทอน

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 240 นาที

จดุ ประสงค์
1. เขียนโปรแกรมภาษาไพทอนที่มีคำสั่งรับ แสดงผลข้อมูล ใช้งานตัวแปร และ
ตัวดำเนินการ
2. ออกแบบ เขียนโปรแกรมแก้ปัญหาทางคณิตศาสตรห์ รือวทิ ยาศาตร์อย่างง่าย

วชิ าท่ีเก่ยี วข้อง
คณติ ศาสตร์ เรอื่ ง คา่ เฉลีย่

ทักษะในศตวรรษที่ 21 ทเี่ กย่ี วข้อง
ทกั ษะการแก้ปัญหา
ทักษะการคดิ วิเคราะห์
ทกั ษะการเรียนรู้ร่วมกนั

แนวคิด/สาระสำคัญ
กระบวนการแกป้ ญั หาเป็นสว่ นสำคญั ในการพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เพอ่ื แกป้ ญั หา
จากการทำงานหรอื ชวี ติ ประจำวนั การพฒั นาโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน สามารถนำไปสรา้ ง
โปรแกรมทม่ี กี ารรบั คา่ ขอ้ มลู ประมวลผลขอ้ มลู และแสดงผลขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการแกป้ ญั หาทาง
คณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้ โดยนำความรู้เรื่องชนิดข้อมูล ค่าคงท่ี และตัวแปร
มาเป็นส่วนประกอบในการวิเคราะห์ประเภทของขอ้ มลู เข้า ขอ้ มูลออก เพื่อนำมาประมวลผล
ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

ส่อื -อปุ กรณ์
ใบกิจกรรมที่ 2.1- 2.3
เคร่อื งคอมพิวเตอร์ทต่ี ดิ ตัง้ โปรแกรมภาษาไพทอนและ Pycharm Edu ตามจำนวน
นกั เรียน

ชววชิชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 147
1. ครูแนะนำเครอ่ื งมอื เขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนทง้ั โหมดอมิ มิเดียทและโหมดสครปิ ต์
พร้อมแสดงตวั อย่างการใช้งานในแต่ละโหมด
2. ครใู หน้ กั เรยี นทำใบกจิ กรรมท่ี 2.1 เครอ่ื งมอื พฒั นาโปรแกรม แลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ
3. ครใู หน้ กั เรยี นอภปิ รายขอ้ มูลที่นักเรียนพบในชวี ติ ประจำวนั  เชน่ ใบแสดงผลการเรยี น
ใบเสรจ็ ร้านสะดวกซอ้ื เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน ์  เกม แล้วนกั เรยี นช่วยกนั พจิ ารณาถงึ
ขอ้ มลู ทแ่ี สดงผลวา่ มขี อ้ มลู ประเภทใดบา้ ง เชน่ ขอ้ ความ จำนวน หรอื อกั ขระ        
4. ครูตั้งคำถามว่า ถ้าต้องการนำชื่อ-นามสกุลมาแสดงผลหลายครั้ง และมีรูปแบบ
ไมเ่ หมอื นกนั ควรทำอย่างไร ตัวอยา่ งการแสดงผล เชน่
ชอื่ อรุณ สามารถ
ช่อื อรณุ  นามสกลุ สามารถ
คุณ อรุณ สามารถ
และถา้ มีการแก้ไขหรือเปลีย่ นช่อื จะมปี ญั หาอะไรบ้าง
5. ครใู หน้ กั เรยี นทำใบกจิ กรรมท่ี 2.2 เรอ่ื ง ตวั แปร ขอ้ ท่ี 1 แลว้ ใหน้ กั เรยี น รว่ มกนั เฉลย
6. ครใู หน้ กั เรยี นดตู วั อยา่ งการรบั ขอ้ มลู ผา่ นคยี บ์ อรด์ ดว้ ยคำสง่ั input() และการแปลงค่า
ให้เหมาะสมกับการใช้งาน แล้วให้ทดลองเขียนโปรแกรมที่มีการรับค่าข้อมูลเขา้
และแสดงผล
7. ครูนำเสนอตัวอย่างโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปรเก็บข้อมูลและแสดงผลแบบตา่ ง ๆ
แล้วให้นกั เรียนบอกผลลพั ธท์ ไี่ ด้
ตัวอยา่ ง
snack = 20
drink = 33
price = snack+drink
print(“ราคารวม =”,price)
 
snack = input()
snack = int(snack)
price = snack+drink
print(“ราคารวม =”,price)

ชววชิชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ทิทิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

148

 
8. ครอู ธบิ ายเรอ่ื งตง้ั ชอ่ื แปรและกำหนดคา่ ใหก้ บั ตวั แปร แลว้ ใหน้ กั เรยี นทำใบกจิ กรรมที่ 2.2
ขอ้ ท่ี 2
9. ครนู ำเสนอตัวอยา่ งโปรแกรมทใี่ ช้ตวั ดำเนนิ การทางคณติ ศาสตร์  
ตวั อย่าง
a=2, b=3, c=4
a=b+c*10
 
10. นกั เรยี นชว่ ยกนั เฉลยคำตอบ ในใบกิจกรรรมท่ี 2.2 ขอ้ ที่ 2  แลว้ ครูอธิบายเพิม่ เตมิ
เรือ่ งตัวดำเนินการอื่น ๆ เช่น // ,% หลังจากนั้นให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 2.2
ขอ้ ท่ี 3
11. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันทบทวนขั้นตอนการแก้ปญั หา แลว้ ให้นกั เรยี นทำใบกจิ กรรม
ท่ี 2.3 เร่อื ง การแกป้ ญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์อย่างง่าย
12. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ รอ่ื งการเขยี นโปรแกรมทม่ี กี ารรับข้อมูลเขา้ และ
การแสดงผล การใช้งานตวั แปร และตวั ดำเนนิ การ  
 
การวดั ผลประเมนิ ผล
1. ตรวจคำตอบจากใบงาน
2. สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วมในชน้ั เรียน
 
สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื เรียนรายวิชาเพิ่มเติม เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ภาษาไพทอน
2. ระบบเรยี นออนไลนภ์ าษาไพทอน NINJAPY ที่ http://oho.ipst.ac.th
3. เวบ็ ไซตศ์ กึ ษาความรภู้ าษาไพทอน https://repl.it/languages/python3, เวบ็ ไซต์
ไพทอน https://www.python.org/
4. เว็บไซต์ดาวน์โหลดโปรแกรม http://oho.ipst.ac.th/goto/pycharm
https://www.jetbrains.com/pycharm-edu/ หรือ https://download-cf.
jetbrains.com/python/pycharm-edu-3.5.1.exe

ชววิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิิททยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

149

ใบกิจกรรมที่ 2.1

เครอื่ งมอื พัฒนาโปรแกรม

ชื่อ-สกลุ ...........................................................................................................................

1. เปิดโปรแกรม PyCharm Edu แล้วสร้างโปรเจกต์และไฟล์เพื่อเขียนโปรแกรม
ภาษาไพทอน ดังนี้

1) สรา้ งโปรเจกต์ใหม่ (File -> New Project…)
ตง้ั ช่ือโปรเจกตค์ ือ ………………………………………………………………………………

2) สร้างไฟล์ไพทอนในโปรเจกต์ (File -> New -> Python File)
ต้งั ชอื่ ไฟล์ไพทอนคอื ……...…………..…………………………………………………………

ชววิชชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิิททยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

150

2. ทดสอบเขยี นโปรแกรมตอ่ ไปน้ี ทง้ั ในโหมดอมิ มเิ ดยี ทและโหมดสครปิ ต์ แลว้ รนั โปรแกรม
สังเกตและบันทกึ ผลลพั ธ์ลงในตาราง

โปรแกรม ผลลพั ธ์
print(“โปรแกรมภาษาไพทอน”)

print(‘Hello world!’)

3. ใช้โหมดอิมมิเดียท หาผลลัพธ์ของสว่ นของโปรแกรมต่อไปนี้ แล้วสังเกตและบันทึก
ผลลพั ธ์

1) print(“1+2 = 1+2”) ผลลัพธ์คือ……………………………………………………
2) print(“1+2 =”,1+2) ผลลัพธ์คือ……………………………………………………
3) ผลลัพธท์ ่ีไดใ้ นข้อ 3.1 กับขอ้ 3.2 เหมอื นหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตใุ ด

…………………………………………………………………………………………………………

4. ใหน้ กั เรยี นสรา้ งไฟลไ์ พทอนใหมแ่ ลว้ เขยี นโปรแกรมแสดงชอ่ื ตนเอง และอายทุ ค่ี ำนวณ
จากปีเกิด
แนวคดิ 1.  แสดงชอ่ื -นามสกลุ
2.  แสดงข้อความว่า “อายุปจั จุบนั ”, (ปีปจั จบุ นั - ปีเกดิ ), “ป”ี

ชววชิชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ททิิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

151

ใบกจิ กรรมที่ 2.2
ตวั แปร

ชื่อ-สกลุ ...........................................................................................................................

1. ใหน้ ักเรียนเปดิ โปรแกรม PyCharm Edu สรา้ งโปรเจค และไฟล์ไพทอนขึ้นมาใหม่
พมิ พ์คำสัง่ ต่อไปน้ี แล้วรันโปรแกรม เพ่ือแสดงผลลัพธ์ที่เกิดข้นึ
name = “อรุณ สามารถ” # 1
#print(name) # 2
print(“คุณ”,name) # 3
#-----------------------------# 4
name = “อริสา” # 5
name = name+” “+”มันตรา”# 6
print(“คุณ”,name) # 7
 
1.1 มีตัวแปรท้งั หมด....................ตัว   มกี ารแสดงผล.................................บรรทัด
1.2 เครอ่ื งหมาย ....................... เมื่อใส่ไว้หน้าข้อความหรือคำสั่งจะไม่มีผลใด ๆ
กับโปรแกรม
1.3 คำสงั่ กำหนดคา่ ตัวแปร   ในบรรทดั ที่ ..........................................
1.4 คำสงั่ นำค่าในตวั แปรไปใช้งาน   ในบรรทัดที่ ..........................................
1.5 มีการนำคา่ ในตวั แปรไปแสดงผล   ในบรรทดั ที่ ..........................................
1.6 เพราะเหตุใด คำสั่งแสดงผลในบรรทัดที่ 3 และ 7 ซึ่งเหมือนกัน จงึ แสดงผล
ทีแ่ ตกตา่ งกนั .......................................................................

ชววิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

152

2. ใหน้ ักเรยี นพิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้ แล้วเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนรบั ข้อมูล
และแสดงผลดังตัวอย่าง เม่ือไดผ้ ลลพั ธท์ ี่ถกู ตอ้ งแล้ว ให้เขียนโปรแกรมลงในตาราง
  ตัวอยา่ งการแสดงผล   ##  น้ำมนั ดีเซล ราคาลติ รละ 25.49 บาท  ##

สถานการณ์ โปรแกรม

ต้องการแสดงช่อื ชนดิ น้ำมัน
พร้อมราคาขาย (หน่วยเป็นบาท)
โดยรบั ข้อมลู ชื่อชนดิ น้ำมนั เช้อื เพลงิ
และราคาน้ำมนั เปน็ จำนวนทศนิยม

3. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาโปรแกรมตอ่ ไปน้ี โดยยงั ไมต่ อ้ งรนั โปรแกรม แลว้ เขยี นผลลพั ธท์ ไ่ี ด้
3.1

โปรแกรม width = 10
length = 15
perimeter = 2 * width + 2 * length
print(“เสน้ รอบรปู สเี่ หล่ียมขนาด”,width,“x”,length, เท่ากบั ”,perimeter)

ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้

ชววชิชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

153

3.2

โปรแกรม mg = 550
kg = (1/1000)*mg/1000
print(“น้ำหนัก”,mg, “มิลลิกรัม คิดเป็น” ,kg, “กิโลกรัม”)

ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้

3.3

โปรแกรม dozen = 3
orange = dozen*12
children = 5
gain = orange//children
remain = orange%children
print(“ส้มจำนวน”,dozen,“โหล แบ่งให้เด็ก”,children,“คน”)
print(“จะได้รับคนละ”,gain,“ผล เหลือ”,remain,“ผล”)

ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้

4. เขียนโปรแกรมตามข้อ 4 แล้วตรวจสอบผลลพั ธท์ ่ไี ด้วา่ ถกู ตอ้ งตรงกันหรอื ไม่

ชววิิชชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ททิิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

154

ใบกิจกรรมที่ 2.3

การแกป้ ญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งง่าย

ชื่อ-สกลุ ...........................................................................................................................

1. ให้นกั เรียนพจิ ารณาสถานการณ์ตอ่ ไปนี้ แลว้ แสดงการแกป้ ญั หาทง้ั 4 ขัน้ ตอน

สถานการณ์
โปรแกรมรับข้อมูล รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน คะแนนเก็บ คะแนน
กลางภาคและคะแนนปลายภาค เพื่อคำนวณหาคะแนนรวม แล้วแสดงผล
รหัสนกั เรียน ชอ่ื และคะแนนรวม
ขอ้ มูลเข้า :
รหสั นกั เรยี น : 35000
ชื่อ : สมชาย
คะแนนเกบ็ : 50
คะแนนกลางภาค : 16
คะแนนปลายภาค : 16
ขอ้ มูลออก :
รหสั นกั เรยี น : 35000
ชอ่ื : สมชาย
คะแนนรวม : 82.0

ชววิิชชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิิททยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

155

ขน้ั ตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอยี ดของปัญหา
1. ขอ้ มูลเขา้ : …………………………………………….……………………...
2. ข้อมูลออก : …………………………………………………………………...
3. วธิ ีการตรวจสอบข้อมลู (สมมติข้อมูลทดสอบและแสดงผลลัพธ์ทไ่ี ด้)
ชุด 1
ข้อมูลเข้า   
รหัสนกั เรียน : ……………….........
ชือ่ : ………………........................
คะแนนเกบ็ : ………………...........
คะแนนกลางภาค : …………….….
คะแนนปลายภาค : ……………….
ข้อมลู ออก
รหัสนกั เรียน : ……………..….......
ชอื่ : ………………........................
คะแนนรวม : ………………...........   

ชดุ 2
ขอ้ มูลเขา้  
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
ข้อมูลออก  
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….

ชววิชชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิททิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

156

ข้นั ตอนท่ี 2 การวางแผนการแก้ปัญหา (รหัสลำลองหรือผงั งาน)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ขน้ั ตอนที่ 3 การดำเนินการแก้ปัญหา โดยการเขียนโปรแกรมดงั น้ี
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ข้นั ตอนท่ี 4 การตรวจสอบและประเมนิ ผล
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ชววิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ิทิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

157

แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ มในชัน้ เรยี น

คำชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน โดยใช้เกณฑ์การประเมิน
ที่กำหนด

รายการสังเกต สรุปผล

ท่ี ช่ือ – สกลุ มคี วามสนใจ ตอบคำถาม ใหค้ วามรว่ มมอื ระดบั การประเมิน
และมกี าร
ไดต้ รง ในการทำ รวม (9)

ซกั ถาม ประเดน็ กจิ กรรม ผ่าน ไมผ่ า่ น

321321 321

ลงช่ือ .............................................................. ผู้ประเมิน
(................................................................)

ชววชชิิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 1ททิิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

158

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

รายการสงั เกต ระดบั คะแนน

1. การซักถาม ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1)
และรว่ มแสดง
ความคดิ เหน็ มกี ารซักถามปญั หาและ มกี ารซกั ถามปญั หาหรือ ไม่ซกั ถามและไมร่ ่วม

รว่ มแสดงความคิดเหน็ รว่ มแสดงความคดิ เห็น แสดงความคิดเหน็

อย่างสม่ำเสมอ ไม่สม่ำเสมอ

2. การตอบคำถาม ตอบคำถามอยา่ ง ตอบคำถามแต่ไม่ ไม่มีการตอบคำถาม
สมำ่ เสมอ สม่ำเสมอ

3. ความรว่ มมือ ใหค้ วามร่วมมอื ในการ ให้ความรว่ มมือในการ ไม่ให้ความร่วมมือ
ในการทำกิจกรรม
ทำกิจกรรมทีค่ รูกำหนด ทำกิจกรรมทค่ี รกู ำหนด ในการทำกิจกรรม

อยา่ งสม่ำเสมอ ไม่สมำ่ เสมอ ท่คี รูกำหนด

ระดับคณุ ภาพ ระดับ สรุปผลการประเมนิ
ดี ผ่าน มรี ะดับคณุ ภาพ พอใช้ ข้ึนไป
คะแนนรวม ไมผ่ ่าน    มรี ะดบั คุณภาพ ควรปรบั ปรุง
8-9 พอใช้
5-7 ควรปรับปรุง
3-4

ชววิชชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

159

ภาคผนวก จ
ตวั อย่างกิจกรรมการเรยี นรูช้ ้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4

ชววิิชชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ททิิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

160

ววชิิชชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ิททิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

161

กจิ กรรมท่ี 1 ตามหาตัวเลข

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 120 นาที

จุดประสงค์
1. ใชว้ ธิ คี น้ หาข้อมลู ได้หลายรูปแบบ
2. อธบิ ายการค้นหาข้อมูลและนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวัน

วชิ าทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
คณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง สถติ พิ น้ื ฐาน, ตรรกศาสตร์
 
ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารญาณและการแกป้ ญั หา
ทกั ษะการสอ่ื สารและความรว่ มมอื

แนวคดิ /สาระสำคญั
การคน้ หาข้อมูลในระบบคอมพวิ เตอร์มีความสำคัญเป็นอย่างมาก การเลือกใช้รูปแบบ
การคน้ หาทเ่ี หมาะสม จะชว่ ยใหค้ น้ หาขอ้ มลู จำนวนมากไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และไดผ้ ลลพั ธท์ ส่ี ามารถ
นำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น ระบบการค้นหาข้อมูลของโปรแกรมคน้ หา
(search engine)

สอ่ื -อปุ กรณ์
กระดาษโปสเตอรต์ ามจำนวนกลมุ่ ของนกั เรยี น
บตั รตวั เลข

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมค้นหาตัวเลข โดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 10 กลมุ่ เทา่ ๆ กนั
เพอ่ื คน้ หาตวั เลข 2 แบบ คอื

ชววชชิิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

162

แบบท่ี 1 ขอ้ มลู ของตวั เลข 10 ตวั ไมเ่ รยี งตามลำดบั
แบบท่ี 2 ขอ้ มลู ของตวั เลข 10 ตวั เรยี งลำดบั จากนอ้ ยไปมาก
วธิ กี ารเลน่ มดี งั น้ี

กลมุ่ ท่ี 1-5 ทำกจิ กรรมแบบท่ี 1 การคน้ หาขอ้ มลู แบบลำดบั
1. ครวู างบตั รตวั เลขแบบสมุ่ เปน็ แถวจากซา้ ยไปขวาโดยควำ่ บตั รไว้
แลว้ กำหนดตวั เลขสำหรบั การคน้ หา 1 ตวั จากตวั เลขทค่ี วำ่ ไว้

กลมุ่ ยอ่ ย สลาก ตวั เลข
ทก่ี ำหนด

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 1 2 10 7 4 5 8 1 3 9 6 1

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 2 10 2 6 5 9 8 7 4 3 1 8
กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 3 9 5 3 7 10 4 8 1 6 2 2
กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 4 1 7 10 9 3 6 5 8 4 2 9
กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 5 4 7 3 6 8 2 1 10 9 5 6

ตวั อยา่ งการวางบตั รตวั เลข

2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มเปดิ บตั รตัวเลขจากซ้ายไปขวาทลี ะใบ แล้วเปรยี บเทยี บว่า
เท่ากบั ตัวเลขทีก่ ำหนดหรือไม่ และนับจำนวนคร้ังทเ่ี ปดิ
3. นักเรยี นเปิดบตั รตวั เลขจนกวา่ จะพบตัวเลขตรงกับทก่ี ำหนดไว้
4. นกั เรยี นทุกคนในกลุม่ ทดลองทำกิจกรรมในข้อ 2-4 จนครบทุกคน
5. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำจำนวนคร้ังของการเปดิ บัตรของสมาชิกในกลุม่ มาหา
คา่ เฉล่ยี

ววชิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ิทิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

163

กลมุ่ ที่ 6-10 ทำกิจกรรมแบบท่ี 2 การค้นหาขอ้ มูลแบบไบนารี

6. ครวู างบตั รตวั เลขแบบเรยี งลำดบั จากนอ้ ยไปหามากโดยควำ่ บตั รไว้ แลว้ กำหนด

ตวั เลข สำหรบั การคน้ หา 1 ตวั จากตวั เลขทค่ี วำ่ ไว้

กลมุ่ ยอ่ ย สลาก ตวั เลข
ทก่ี ำหนด

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 1 1 2 3 5 7 8 9 10 11 13 5

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 2 1 3 5 6 7 8 10 12 13 15 3

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 3 11 12 21 24 29 30 31 35 40 45 40

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 4 2 4 9 12 18 22 30 44 47 48 9

กลมุ่ ยอ่ ยท่ี 5 1 5 9 10 15 16 22 28 35 50 50

7. นกั เรยี นเปดิ บตั รตวั เลขตำแหนง่ กลางขน้ึ มาใหพ้ จิ ารณาดวู า่ ตวั เลขตรงกบั ท่ี
กำหนดหรอื ไม่
7.1 ถา้ ขอ้ มลู ตรงกนั ใหห้ ยดุ การคน้ หา และบนั ทกึ จำนวนครง้ั ของการคน้ หา
ทน่ี บั ได้
7.2 ถา้ ขอ้ มลู ไมต่ รงใหเ้ ปรยี บเทยี บคา่ ในบตั รตวั เลขทเ่ี ปดิ มาวา่
มากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่
1) ถา้ ตัวเลขในบัตรที่เปิดมามีค่ามากกว่าตัวเลขที่กำหนด
ให้ตัดตวั เลขตงั้ แต่ค่าตรงกลางกับขอ้ มูลทางขวาทง้ิ
2) ถ้าตัวเลขในบัตรที่เปิดมามีค่าน้อยกวา่ ตัวเลขที่กำหนด
ให้ตัดตัวเลขตง้ั แตค่ า่ ตรงกลางกบั ขอ้ มลู ทางซา้ ยทง้ิ
8. ทำซำ้ ขอ้ 7 จนกวา่ จะพบตวั เลขทก่ี ำหนด
9. นกั เรยี นทกุ คนในกลมุ่ ทดลองทำกจิ กรรมในขอ้ 6-8 จนครบทกุ คน
10. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ หาคา่ เฉลย่ี จำนวนครง้ั ของการเปดิ บตั รตวั เลข

2. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นแผนภาพคา่ เฉลย่ี ลงกระดาษโปสเตอร์ โดยใหค้ า่ เฉลย่ี จำนวนครง้ั
ของการเปดิ บตั รตวั เลขอยตู่ รงกลาง และจำนวนครง้ั ของแตล่ ะกลมุ่ ยอ่ ยลอ้ มรอบ

ชววิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

164

3. นกั เรยี นอภปิ รายในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
3.1 การคน้ หาแตล่ ะวธิ แี ตกตา่ งกนั อยา่ งไร วธิ ใี ดนา่ จะมปี ระสทิ ธภิ าพดกี วา่ กนั
3.2 ในกรณที ม่ี ขี อ้ มลู จำนวนมาก วธิ ใี ดทน่ี า่ จะมปี ระสทิ ธภิ าพดกี วา่ กนั เพราะเหตใุ ด
3.3 ในกรณกี ารคน้ หาแลว้ ไมพ่ บ หรอื กรณขี อ้ มลู ซำ้ ผลการคน้ หาจะเปน็ อยา่ งไร
จะมเี ทคนคิ เพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหค้ น้ หาไดเ้ รว็ ขน้ึ
4. นกั เรยี นยกตวั อยา่ งสถานการณข์ องการนำวธิ คี น้ หาขอ้ มลู ไปใชใ้ นขวี ติ ประจำวนั เชน่
การคน้ หาเสอ้ื ผา้ ในตเู้ สอ้ื ผา้ การคน้ หาหนงั สอื ในหอ้ งสมดุ
5. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและรว่ มสรปุ เกย่ี วกบั การคน้ หาขอ้ มลู

การวดั ผลประเมนิ ผล
แบบประเมนิ ความสำเรจ็ ของงานและการทำงานกลมุ่

สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี น สสวท. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
2. เวบ็ ไซต์
https://teachinglondoncomputing.org/secondary-computing-topics/
https://www.khanacademy.org/computing/computer-science/algorithms
https://www.khanacademy.org/computing/computer-science/algorithms/
intro-to-algorithms/a/a-guessing-game

ขอ้ เสนอแนะ
1. เพอ่ื ใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งของประสทิ ธภิ าพการคน้ หาขอ้ มลู แบบลำดบั และแบบไบนารี
อาจจะตอ้ งใชจ้ ำนวนขอ้ มลู ทม่ี ากพอ
2. ควรแนะนำให้นักเรียนเห็นถึงความสำคัญของการจัดเรียงข้อมูล เพราะจะทำให้
การคน้ หาขอ้ มลู มคี วามรวดเรว็ มากยง่ิ ขน้ึ
3. สามารถใช้สื่อเพื่อให้นักเรียนเข้าใจวิธีการค้นหาข้อมูลและความแตกต่างของ
วิธีการค้นหาข้อมูลแต่ละวิธีได้ดียิ่งขน้ึ

ววชิชชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ททิิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

165

กิจกรรมท่ี 2 จัดระเบียบกันหนอ่ ย

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 120 นาที

จดุ ประสงค์
1. จดั เรยี งข้อมลู ได้หลายรูปแบบ
2. อธบิ ายวิธกี ารจัดเรยี งข้อมลู รปู แบบต่าง ๆ
3. ออกแบบวิธกี ารจดั เรียงในชีวิตประจำวนั

วชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
คณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง คา่ เฉลย่ี ตรรกศาสตร์
 
ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ทเ่ี กี่ยวข้อง
ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารญาณและการแกป้ ญั หา
ทกั ษะการสอ่ื สารและความรว่ มมอื

แนวคดิ /สาระสำคญั
การออกแบบและเปรียบเทียบเพื่อหาวิธีการเรียงข้อมูลที่ดี เพื่อนำไปใช้ให้เหมาะกับ
สถานการณ์ ซง่ึ ขอ้ มลู ทถ่ี กู จดั เรยี งไวแ้ ลว้ จะชว่ ยใหค้ น้ หาไดร้ วดเรว็ และการทำงานมปี ระสทิ ธภิ าพ

สอ่ื -อปุ กรณ์
บตั รตวั เลข

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. นกั เรยี นอภปิ รายหลกั การทจ่ี ะชว่ ยใหค้ น้ หาขอ้ มลู ไดร้ วดเรว็ วา่ มวี ธิ กี ารอยา่ งไร
2. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั ความสำคญั ของการจดั เรยี งขอ้ มลู โดยยกตวั อยา่ งขอ้ มลู ดงั รปู

ชววิชชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิทิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ)) 7 3
9
166 5 6
10
4 8
1 2

รูปท่ี 1 ขอ้ มูลทไ่ี มเ่ ป็นระเบียบ

2 10 7 4 5 8 1 3 9 6

รปู ท่ี 2 ขอ้ มลู ท่ีเปน็ ระเบียบ
จะเห็นว่าข้อมูลในรูปไม่ได้ถูกวางให้เป็นระเบียบ แต่เมื่อนำมาจัดวางให้เป็นระเบียบ
จะพบว่าไดผ้ ลลพั ธ์ดงั รูปที่ 2 ซ่ึงขอ้ มลู มีการจัดวางท่ีเปน็ ระเบียบมากยิง่ ขนึ้ แตย่ ังไมม่ ีระเบยี บ
มากเพยี งพอทจ่ี ะชว่ ยใหก้ ารคน้ หาขอ้ มลู มคี วามสะดวกและรวดเรว็ มากยง่ิ ขน้ึ ดงั รปู ท่ี 3

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รูปที่ 3 ขอ้ มูลท่จี ดั เรยี งแล้ว

ชววิชิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ิทิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

167

3. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มรับชุดของข้อมูลกลุ่มละ 1 ชุด แล้วให้
รว่ มกนั พจิ ารณาในกลมุ่ วา่ จะมวี ธิ กี ารเรยี งขอ้ มลู จากนอ้ ยไปมาก หรอื มากไปนอ้ ย ดว้ ยวธิ กี ารใดบา้ ง
4. ครแู จกชดุ ขอ้ มลู เพม่ิ อกี กลมุ่ ละ 2 ชดุ โดยไมซ่ ำ้ กบั ชดุ ท่ี 1

ชดุ ท่ี 1 8 11 3 2 7 5 9 10 1 13

ชุดที่ 2 12 29 21 24 11 30 31 45 40 35

ชดุ ที่ 3 22 44 48 12 18 2 30 4 47 9

รปู ที่ 4 ตัวอยา่ งขอ้ มูล 3 ชุด

5. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ หาวธิ กี ารจดั เรยี งขอ้ มลู ทง้ั 3 ชดุ โดยใชว้ ธิ กี ารเรยี งขอ้ มลู แบบเดยี ว
กนั แลว้ นบั จำนวนครง้ั ของการจดั เรยี งขอ้ มลู พรอ้ มกบั หาคา่ เฉลย่ี ของจำนวนครง้ั ทง้ั 3 ครง้ั
6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอวิธีที่จะจัดเรียงข้อมูลโดยอาจเรียงจากน้อยไปมากหรอื
จากมากไปนอ้ ย พรอ้ มบอกคา่ เฉลย่ี ของจำนวนครง้ั ในการจดั เรยี งขอ้ มลู
7. ครแู นะนำการจดั เรยี งขอ้ มลู โดยอาจให้นักเรียนหาข้อมูลเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การจดั เรยี ง
ขอ้ มลู วธิ อี น่ื ๆ เชน่ Bubble sort, Selection sort, Insertion sort, Merge sort, Quick sort
8. นกั เรียนยกตัวอยา่ งสถานการณข์ องการนำวิธีเรยี งข้อมลู ไปใชใ้ นขวี ิตประจำวนั เชน่
เรยี งภาชนะในทเ่ี กบ็ เรยี งลำดบั กจิ วตั รประจำวนั ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะวนั เรยี งเอกสาร
9. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปขั้นตอนการจัดเรียงข้อมูลและประสิทธภิ าพการจัดเรียง
ขอ้ มลู แตล่ ะวธิ ี

ชววชิชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิทิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

168

การวดั ผลประเมนิ ผล
1. แบบประเมนิ ความสำเรจ็ ของงานและการทำงานกลมุ่
2. แบบประเมนิ จากการอภปิ รายและตอบคำถาม

สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี น สสวท. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
2. เวบ็ ไซต์
https://visualgo.net/en/sorting
https://www.toptal.com/developers/sorting-algorithms
http://csunplugged.org/wp-content/uploads/2014/12/
unplugged-07-sorting_algorithms.pdf
https://teachinglondoncomputing.org/the-bubblesort-activity/
https://teachinglondoncomputing.org/the-divide-and-conquer-
sorting-activity/
https://teachinglondoncomputing.org/the-punch-card-sorting-activity/
https://teachinglondoncomputing.org/spot-the-difference/
https://teachinglondoncomputing.org/resources/inspiring-unplugged-
classroom-activities/the-invisible-palming-activity/

ขอ้ เสนอแนะ
1. การจัดเรียงข้อมูลมีหลายวิธี และอาจจะเป็นไปได้ที่นักเรียนจะสามารถคิดค้น
วธิ กี ารใหม่ ๆ ดงั นน้ั จงึ ควรใหน้ กั เรยี นไดแ้ สดงความคดิ และหาวธิ กี ารจดั เรยี งขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง
2. ควรใช้สื่อจากอินเทอร์เน็ตช่วยใหเ้ ข้าใจวิธีการจดั เรียงขอ้ มูลวิธีการตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ยขน้ึ
เชน่ https://visualgo.net/en/sorting

ชววิชชิั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิทิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

169

แบบประเมนิ ความสำเรจ็ ของงานและการทำงานกลมุ่

คำช้แี จง ให้ผู้สอนประเมินพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม

กลุม่ ที่ ความสำเรจ็ การวางแผน ความรว่ มมอื ความคดิ ความ รวม
ของงาน การทำงาน ของสมาชกิ สร้างสรรค์ รบั ผิดชอบ 15 คะแนน

รว่ มกนั ในกลมุ่

321321 321321321

ลงช่อื .............................................................. ผู้ประเมนิ
............../.................../................

ชววชิิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ิททิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

170

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
13 - 15 ดีมาก
10 - 12 ดี
7-9 พอใช้
ต่ำกว่า 7
ควรปรับปรงุ

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

รายการประเมนิ 3 2 1

ความสำเรจ็ ผลงานถูกตอ้ ง ครบถ้วน ผลงานถกู ต้อง พบขอ้ ผิดพลาดของ
ของงาน
ตามคำสงั่ ท่ีได้รับ แต่ไม่ครบถ้วนตามคำส่ัง ผลงาน และไมค่ รบถว้ น

มอบหมาย ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ตามคำส่ังท่ไี ด้รับ

มอบหมาย

การวางแผน สมาชกิ ทกุ คนรว่ มกนั สมาชกิ สว่ นใหญร่ ่วมกัน สมาชกิ กลมุ่ สว่ นนอ้ ย
การทำงานร่วมกนั วางแผนการทำงาน วางแผนการทำงานทกุ รว่ มกนั วางแผนการ
ทกุ ขน้ั ตอนอยา่ งละเอยี ด ข้ันตอนอย่างละเอียด ทำงานไมค่ รบทกุ ขน้ั ตอน

ความรว่ มมือของ สมาชิกกลุ่มทกุ คน สมาชิกส่วนใหญ่ สมาชิกส่วนน้อย
สมาชกิ ในกลุม่ มสี ว่ นรว่ มในการ มีส่วนร่วมในการ มีส่วนร่วมในการ
ปฏบิ ตั ิงานกลมุ่ ปฏิบัตงิ านกล่มุ ปฏบิ ตั งิ านกลุม่

ความคิดสร้างสรรค์ มแี นวคดิ /วธิ ีการแปลก มีแนวคดิ /วิธีการ มแี นวคดิ /วิธีการ
ใหมท่ ส่ี ามารถนำไป แปลกใหม่ แต่นำไปใช้ แปลกใหม่ แตไ่ มส่ ามารถ
ปฏิบตั ไิ ด้อยา่ งสมบูรณ์ จรงิ ได้บา้ ง นำไปใชจ้ รงิ

ความรบั ผิดชอบ สง่ งานกอ่ นหรอื สง่ ตาม สง่ งานชา้ กว่ากำหนด สง่ งานช้ากวา่ ทก่ี ำหนด

เวลาทก่ี ำหนด แต่มเี หตผุ ลทีร่ ับฟงั ได้

วชวชิิชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิิทยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

171

แบบประเมนิ จากการอภิปรายและตอบคำถาม

คำชี้แจง ให้ผู้สอนประเมินพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละคน

เลขที่ ช่อื – นามสกุล การรว่ มอภปิ ราย การอภปิ ราย การตอบคำถาม รวม
ในชน้ั เรยี นกบั ภายในกลมุ่ 321

ผสู้ อน 321

321

ลงชื่อ .............................................................. ผูป้ ระเมนิ
............../.................../................

ชววิิชชั้นาามเเัธททยคคมโโศนนึกโโษลลายยปีี ีท((ววี่ 4ทิทิ ยยาากกาารรคคำำนนววณณ))

172

เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดี
ได้คะแนน 7 - 9 คะแนน ผ่านเกณฑร์ ะดบั พอใช้
ไดค้ ะแนน 5 - 6 คะแนน ควรปรบั ปรงุ
ได้คะแนน 3 - 4 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ดี (3) ระดบั คะแนน ควรปรบั ปรุง (1)
ประเมินผล
การร่วมอภปิ ราย นกั เรยี นต้งั ใจฟงั สง่ิ ท่ี พอใช้ (2) นกั เรียนต้ังใจฟงั ส่ิงที่
ในช้ันเรยี นกับ ครสู อน และให้ความ ครสู อน และใหค้ วาม
ผูส้ อน รว่ มมือในการอภิปราย นักเรียนตั้งใจฟงั ส่ิงท่ี รว่ มมือในการ
กับครูทุกกิจกรรม ครสู อน และใหค้ วาม อภปิ รายกบั ครู
การอภปิ รายภาย ร่วมมือในการอภิปราย เป็นสว่ นนอ้ ย
ในกลมุ่ กับครูเปน็ ส่วนใหญ่

การตอบคำถาม นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มใน นกั เรียนมสี ่วนร่วมใน นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มใน
การแสดงความคดิ เหน็ การแสดงความคิดเห็น การแสดงความคดิ เหน็
และรว่ มอภปิ รายกบั และร่วมอภิปรายกับ และรว่ มอภปิ รายกบั
เพอ่ื นรว่ มกลมุ่ อยา่ งมี เพ่ือนรว่ มกลุม่ อย่างมี เพอ่ื นรว่ มกลมุ่ อยา่ งมี
เหตผุ ล ยอมรบั ฟงั เหตุผล ยอมรบั ฟัง เหตผุ ล ยอมรบั ฟงั
ความคดิ ทแ่ี ตกตา่ งจาก ความคดิ ทีแ่ ตกตา่ งจาก ความคดิ ทแ่ี ตกตา่ งจาก
ของตนเอง ของตนเอง ปานกลาง ของตนเอง นอ้ ย

นกั เรยี นตอบคำถาม นักเรียนตอบคำถาม นักเรยี นตอบคำถาม
ของครไู ด้ถกู ตอ้ งได้ ของครไู ดถ้ กู ต้องได้ ของครูได้ถูกต้องได้
มากกวา่ ร้อยละ 60 ร้อยละ 40-60 ของ น้อยกวา่ ร้อยละ 40
ของจำนวนคำถาม จำนวนคำถามท้ังหมด ของจำนวนคำถาม
ท้งั หมด ทงั้ หมด

วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

173

อภธิ านศพั ท์

ที่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย

1. การรวบรวมขอ้ มลู data collection กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลที่
เกี่ยวข้องจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2. ข้อมลู ปฐมภมู ิ primary data
ข้อมลู ทร่ี วบรวมโดยตรงจากแหลง่ ข้อมลู
ข้นั ต้น เชน่ การสังเกต การทดลอง
การสำรวจ การสมั ภาษณ์

3. การประมวลผล data processing การดำเนินการตา่ ง ๆ กับขอ้ มูลเพอื่ ให้ได้
ผลลพั ธ์ท่ีมคี วามหมาย และมีประโยชน์
ตอ่ การนำไปใชง้ านมากยงิ่ ข้ึน

4. อลั กอริทมึ algorithm ข้ันตอนในการแกป้ ัญหาหรือการทำงาน
โดยมลี ำดบั ของคำสั่งหรือวธิ ีการทีช่ ัดเจน
ทค่ี อมพิวเตอร์สามารถปฏบิ ตั ติ ามได้

5. การตรวจและแกไ้ ข debugging กระบวนการในการคน้ หาขอ้ ผดิ พลาดของ
ข้อผิดพลาด โปรแกรม เพ่อื แก้ไขใหท้ ำงานไดถ้ ูกต้อง

6. เหตผุ ลเชิงตรรกะ logical reasoning การใช้เหตผุ ล กฎ กฎเกณฑ์ หรอื เงอื่ นไข
ทีเ่ ก่ยี วข้อง เพอื่ แก้ปญั หาได้ครอบคลมุ
ทุกกรณ ี

7. แนวคิดเชิงคำนวณ computational กระบวนการในการแก้ปญั หา การคิด
thinking วเิ คราะหอ์ ยา่ งมเี หตุผลเป็นขนั้ ตอน เพือ่
หาวธิ กี ารแกป้ ญั หาในรปู แบบทสี่ ามารถ
นำไปประมวลผลได้

วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

174

ที่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย
8. แอปพลเิ คชัน
software ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ทท่ี ำงานบนคอมพวิ เตอร์
application สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ์
เทคโนโลยีอื่น ๆ
9. แนวคิดเชงิ นามธรรม abstraction
การพิจารณารายละเอียดที่สำคัญของ
10. อัตลกั ษณ์ identity ปัญหา แยกแยะสาระสำคัญออกจาก
ส่วนที่ไม่สำคัญ

ลักษณะเฉพาะหรือข้อมูลสำคัญที่บ่งบอก
ถึงความเป็นตัวตนของบุคคลหรือสิ่งใด
สิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อบัญชีผู้ใช้ ใบหน้า
ลายนิ้วมือ

11. เหตผุ ลวิบัติ logical fallacy การใชเ้ หตผุ ลท่ีผิดพลาด ไมอ่ ยบู่ นพืน้ ฐาน
ของความจริง ไม่มีน้ำหนักสมเหตุสมผล
มาสนับสนุน หรือชี้นำข้อสรุปที่ผิดให้
ดูเหมือนว่าน่าเชื่อถือ

12. การใช้ลขิ สทิ ธ์ขิ อง fair use การนำสื่อหรือข้อมูลที่เป็นลิขสิทธิ์ของ
ผู้อื่นโดยชอบธรรม ผู้อื่นไปใช้โดยชอบด้วยกฎหมาย ภายใต้
เงื่อนไขบางประการ เช่น
1) นำไปใช้ในการศึกษา หรือการค้า
2) งานนั้นเป็นงานวิชาการ หรือบันเทิง
3) คัดลอกเพียงส่วนน้อย หรือคัดลอก
จำนวนมาก
4) ทำให้เจ้าของเสียผลประโยชน์ทาง
การเงินน้อย หรือมากเพียงใด

วิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

175

บรรณานกุ รม

Computational Thinking for Educators. Retrieved September 5, 2016,
from https://computationalthinkingcourse.withgoogle.com/unit
CSTA. (2013,October). A Model Curriculum for K-12 Computer
Science : Final Report of the ACM K-12 Task Force Curriculum Committee.
Retrieved January 5, 2016, from https://www.acm.org/education/curric_vols/
k12final1022.pdf
Department for Education. (2013,11 September). National Curriculum
in England : Computing Programmes of Study. Retrieved May 2, 2016, from
https://www.gov.uk/government/publications/national-curriculum-in-eng-
land-computing-programmes-of-study
Partnership for 21st Century. Framework for 21st Century Learning.
Retrieved January 15, 2016, from http://www.p21.org/our-work/
p21-framework
Wings, Jeannette M. (2010, 17 November.) Computational Thinking:
What and why?. Retrieved October 5, 2016, from http://www.cs.cmu.
edu/~CompThink/resources/TheLinkWing.pdf
ปรเมธี วิมลศิริ. (26 สิงหาคม 2559). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อนาคตประเทศไทย
เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2559, จาก http://plan.vru.ac.th/
wp-content/uploads/2016/11/แผนชาติ-20-ปี-1.pdf
วิจารณ์ พานชิ . (2555). วิธสี ร้างการเรียนรเู้ พ่อื ศิษยใ์ นศตวรรษท่ี 21. (พิมพ์ครงั้ ที่ 1).
กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สำนักนโนบายและยุทธศาสตร์ (2559, 30 พฤศจิกายน). ยุทธศาสตร์การพัฒนา
อุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2559,
จาก http://www.industry.go.th/psd/index.php?option=com_k2&view=
item&id=10820

วชิ าเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

176

คณะผพู้ ัฒนาหลกั สูตรวทิ ยาการคำนวณ

1. รศ.ยนื ภวู่ รวรรณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

2. รศ.ดร.พนั ธป์ุ ติ ิ เปย่ี มสงา่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

3. ผศ.ดร.ชวลติ ศรสี ถาพรพฒั น ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

4. ผศ.ศริ กิ ร จนั ทรน์ วล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

5. ผศ.ดร.ชยั พร ใจแกว้ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

6. ผศ.ดร.ธนาวนิ ท์ รกั ธรรมานนท์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

7. นายผนวกเดช สวุ รรณทตั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร

8. ดร.ปกปอ้ ง สอ่ งเมอื ง มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

9. ผศ.ดร.สกุ ร ี สนิ ธภุ ญิ โญ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร

10. ดร.อกั ฤทธ ์ิ สงั ขเ์ พช็ ร สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ฯ ลาดกระบงั กรงุ เทพมหานคร

11. ดร.สรรเสรญิ เจยี มอนนั ทก์ ลุ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล นครปฐม

12. นายณฐั พล บวั อไุ ร โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั รงั สติ ปทมุ ธานี

13. นายบญุ สทิ ธ ์ิ แซอ่ ง้ึ โรงเรยี นสายนำ้ ผง้ึ ในพระอปุ ถมั ภฯ์ กรงุ เทพมหานคร

14. นายกติ ตด์ิ นยั แจง้ แสงทอง โรงเรยี นหนองเสอื วทิ ยาคม ปทมุ ธานี

15. ดร.พชั รพล ธรรมแสง โรงเรยี นบญุ เหลอื วทิ ยานสุ รณ ์ นครราชสมี า

16. นายวรปรชั ญ ์ ลาวณั ยว์ ไิ ลวงศ ์ โรงเรยี นนราสกิ ขาลยั นราธวิ าส

17. นายนพดล มง่ิ สำแดง โรงเรยี นปราจณิ ราษฎรอำรงุ 2 “อดลุ ศาสนกจิ ศกึ ษา” ปราจนี บรุ ี

18. ดร.สชุ ริ า มอี าษา โรงเรยี นนครนายกวทิ ยาคม นครนายก

19. ดร.สนุ นั ทา พฒุ พนั ธ ์ โรงเรยี นบา้ นนำ้ ออ้ ม ยโสธร

20. นางสนุ นั ทา สรอ้ ยสวสั ด ์ิ โรงเรยี นวดั สระแกว้ นครราชสมี า

21. นางสาววลิ าวลั ย ์ ยาทองคำ โรงเรยี นบา้ นแมเ่ ทย ลำพนู

22. นายอรรณพ แตงออ่ น โรงเรยี นไตรประชาสามคั ค ี นครสวรรค์

23. นายวทิ ยา เมฆวนั โรงเรยี นบา้ นนาตงสหราษฎรอ์ ทุ ศิ สกลนคร

24. ดร.โรจนฤทธ ์ิ จนั นมุ่ โรงเรยี นอนบุ าลสรรคบรุ ี ชยั นาท

25. รศ.ดร.สญั ญา มติ รเอม รองผอู้ ำนวยการ สสวท. กรงุ เทพมหานคร

26. นายพรพจน ์ พฒุ วนั เพญ็ สำนกั วชิ าการ สสวท. กรงุ เทพมหานคร

27. ดร.เขมวดี พงศานนท ์ สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

28. นายนพิ นธ ์ ศภุ ศร ี สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

29. นางสาวจนิ ดาพร หมวกหมน่ื ไวย สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

30. นางสาวทศั นยี ์ กรองทอง สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

31. นางสาวพรพมิ ล ตง้ั ชยั สนิ สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

32. นายพนมยงค ์ แกว้ ประชมุ สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

33. นางสาววชริ พรรณ ทองวจิ ติ ร สาขาเทคโนโลย ี สสวท. กรงุ เทพมหานคร

วชิ าเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

177

คณะผพู้ ฒั นาคมู่ อื การใช้หลักสตู รและตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

1. ดร.รววิ รรณ เทนอสิ สระ ผชู้ ำนาญ สสวท. กรงุ เทพมหานคร

2. ผศ.ดร.ชวลติ ศรสี ถาพรพฒั น ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพมหานคร

3. ดร.สนั ต ิ วจิ กั ขณาลฉั ญ ์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ขอนแกน่

4. ผศ.ชยการ ครี รี ตั น ์ โรงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝา่ ยมธั ยม กรงุ เทพมหานคร

5. ผศ.ดร.นทั ท ี นภิ านนั ท ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร

6. ดร.พชิ ญะ สทิ ธอี มร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร

7. ดร.ทรรปณ ์ ปณธิ านะรกั ษ ์ นกั วชิ าการอสิ สระ ลำปาง

8. ดร.บญุ รตั น ์ เผดมิ รอด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน นครปฐม

9. นายณฐั พล บวั อไุ ร โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั รงั สติ ปทมุ ธานี

10. นายกอ่ เกยี รต ิ วริ ยิ ะสมบตั ิ โรงเรยี นสะเดา “ขรรคช์ ยั กมั พลานนทอ์ นสุ รณ”์ สงขลา

11. นายกำพล วลิ ยาลยั โรงเรยี นบรมราชนิ นี าถราชวทิ ยาลยั ราชบรุ ี

12. นายเฉลมิ พล มดี วง โรงเรยี นกะทวู้ ทิ ยา ภเู กต็

13. นางสริ ชั ชา มดี วง โรงเรยี นสว่ นบญุ โญปถมั ภ์ ลำพนู ลำพนู

14. นางปวณี า บตุ ถาวร โรงเรยี นสทงิ พระวทิ ยา สงขลา

15. ดร.สนุ นั ทา พฒุ พนั ธ ์ โรงเรยี นบา้ นนำ้ ออ้ ม ยโสธร

16. ดร.ปยิ ธนั ว ์ เบญจเทพรศั ม ี โรงเรยี นบา้ นตน้ ผง้ึ ลำพนู

17. ดร.โรจนฤทธ ์ิ จนั นมุ่ โรงเรยี นอนบุ าลสรรคบรุ ี ชยั นาท

18. นายเจษฎา กอ้ งสาคร โรงเรยี นอนบุ าลพบิ ลู ยเ์ วศม ์ กรงุ เทพมหานคร

19. น.ส.พมิ สาย อคั รพทิ ยาอำพน โรงเรยี นบา้ นโคกสหกรณเ์ ทพรกั ษา ขอนแกน่

20. น.ส.วชริ าวรรณ เทยี มทนั โรงเรยี นเมอื งเลย เลย

21. น.ส.นตุ ประวณี ์ ทศั นสวุ รรณ โรงเรยี นอนบุ าลบางมลู นาก “ราษฎรอ์ ทุ ศิ ” พจิ ติ ร

22. วา่ ทร่ี อ้ ยตรพี รชยั ชว่ ยเอยี ด โรงเรยี นบา้ นทงุ่ ปรอื กระบ่ี

23. น.ส.ชลธชิ า วงศธ์ เิ บศร ์ โรงเรยี นสนุ ทรวฒั นา ชยั ภมู ิ

24. นายภาณศุ กั ด ์ิ ขนุ ทองปาน โรงเรยี นบา้ นลากอ ยะลา

25. นายวทิ ยา เมฆวนั โรงเรยี นบา้ นนาตงสหราษฎรอ์ ทุ ศิ สกลนคร

26. นางชรนิ ทรท์ พิ ย ์ วาณชิ ประดษิ ฐ ์ โรงเรยี นวดั บวกครกเหนอื เชยี งใหม่

27. นายนพดล มง่ิ สำแดง โรงเรยี นปราจณิ ราษฎรอำรงุ 2 “อดลุ ศาสนกจิ ศกึ ษา” ปราจนี บรุ ี

28. นายกติ ตด์ิ นยั แจง้ แสงทอง โรงเรยี นหนองเสอื วทิ ยาคม ปทมุ ธานี

29. นายบญุ สทิ ธ ์ิ แซอ่ ง้ึ โรงเรยี นสายนำ้ ผง้ึ ในพระอปุ ถมั ภฯ์ กรงุ เทพมหานคร

30. นายอลงกต หาญชนะ โรงเรยี นราชสมี าวทิ ยาลยั นครราชสมี า

31. ดร.สชุ ริ า มอี าษา โรงเรยี นนครนายกวทิ ยาคม นครนายก

32. น.ส.กญั ญาวรี ์ วฒุ ศิ ริ พิ รรณ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองจอก กรงุ เทพมหานคร

33. นางสาวจริ าพร จติ กยุ โรงเรยี นสตรศี รสี รุ โิ ยทยั กรงุ เทพมหานคร

วชิ าเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

178

34. นางปลิ นั ธนา พรธาดาวทิ ย ์ โรงเรยี นสรุ ศกั ดม์ิ นตร ี กรงุ เทพมหานคร
กรงุ เทพมหานคร
35. นายประภาส สาระศาลนิ โรงเรยี นวสิ ทุ ธรงั ษี จงั หวดั กาญจนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร
เชยี งใหม่
36. นางสาวโศภษิ ฐ ์ สวนปลกิ โรงเรยี นกำแพงเพชรพทิ ยาคม ตาก
นครพนม
37. นางสาวปรยี าดา ทะพงิ คแ์ ก โรงเรยี นบา้ นสนั ปา่ สกั นครพนม
นครราชสมี า
38. นางสาวกาญจนา ตนุ่ คำแดง โรงเรยี นแมป่ ะวทิ ยาคม เพชรบรุ ี
ลำพนู
39. นางสาววารณุ ี บำรงุ สวสั ด ์ิ โรงเรยี นอนบุ าลนครพนม กรงุ เทพมหานคร
กรงุ เทพมหานคร
40. นางศรญิ ญา พนั ธเ์ุ วยี ง โรงเรยี นบา้ นนอ้ ยทวย กรงุ เทพมหานคร
กรงุ เทพมหานคร
41. นายธญั พสิ ษิ ฐ ์ ออ่ นศร ี โรงเรยี นจกั ราชวทิ ยา กรงุ เทพมหานคร
กรงุ เทพมหานคร
42. นางสาวมณฑารพ สงิ หโ์ ตเกษม โรงเรยี นพรหมานสุ รณ์ จงั หวดั เพชรบรุ ี กรงุ เทพมหานคร
กรงุ เทพมหานคร
43. นางสาววลิ าวลั ย ์ ยาทองคำ โรงเรยี นบา้ นแมเ่ ทย กรงุ เทพมหานคร

44. นายพรพจน์ พฒุ วนั เพญ็ สำนกั วชิ าการ สสวท.

45. นายนพิ นธ ์ ศภุ ศร ี สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

46. นางสาวจนิ ดาพร หมวกหมน่ื ไวย สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

47. นางสาวทศั นยี ์ กรองทอง สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

48. นางสาวพรพมิ ล ตง้ั ชยั สนิ สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

49. นางสาวจรี ะพร สงั ขะเวทยั สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

50. นายนริ มษิ เพยี รประเสรฐิ สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

51. นายพนมยงค ์ แกว้ ประชมุ สาขาเทคโนโลย ี สสวท.

52. นางสาววชริ พรรณ ทองวจิ ติ ร สาขาเทคโนโลย ี สสวท.




Click to View FlipBook Version