The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Annual Report 2565 - Ranong

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ranong Cooprative Office, 2024-01-25 23:58:07

Annual Report 2565

Annual Report 2565 - Ranong

ANNUAL พ.ศ. 2565 REPORT สำ นักนังานสหกรณ์จัณ์งจัหวัดวัระนอง กรมส่งส่เสริมริสหกรณ์ มกราคม 2566 สำ นั ก ง า น ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง รายงานประจำ ปี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 1 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สารจาก สหกรณ์จังหวัดระนอง ใ น ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินงาน การแนะนําส่งเสริม สหกรณ์ จํานวน 27 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 17 แห่ง และกลุ่มอาชีพ จํานวน 13 แห่ง ได้ปฏิบัติงานภายใต้นโยบายของรัฐบาล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมส่งเสริม สหกรณ์ในการขับเคลื่อนสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง เพื่อแก้ไขปัญหาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัด ระนอง ให้สามารถพัฒนาบนพื้นฐานของความรู้ และความเข้าใจในรูปแบบของการบริหารและ จัดการด้วยวิธีการสหกรณ์อย่างแท้จริง สถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เ ป็ น ร ะ ล อ ก ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ส ห ก ร ณ์ / ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร ทํ า ใ ห้ ส ม า ชิ ก ส ห ก ร ณ์ / กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาต่อรายได้และ ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีวิต สํานักงานสหกรณ์ จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการตามนโยบายอธิบดี กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปฏิบัติตามประกาศ นายทะเบียนสหกรณ์ในมาตรการให้ความ ช่วยเหลือด้านหนี้สินและการปรับโครงสร้างหนี้ ของสมาชิก เพื่อแก้ไขปัญหาและบรรเทา ผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง รายงานผลการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2565 (Annual Report) ของสํานักงาน สหกรณ์จังหวัดระนอง เป็นรายงานผลการ ปฏิบัติงานของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ใน ร อ บ ปี ง บ ปร ะ ม าณที่ ผ่ าน ม า ทั้ ง ด้ า น ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เป็น เปูาหมายทั้งหมด โดยความร่วมมือของ หน่วยงานภาครัฐ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ภาคเอกชน สหกรณ์ กลุ่มเกษตร รวมถึงบุคลากรของสํานักงาน สหกรณ์จังหวัดระนอง ที่ได้ให้ความร่วมมือและ สนับสนุนการปฏิบัติราชการให้สําเร็จลุล่วงตาม เปูาหมายและแผนงาน ขอขอบคุณในความร่วมมือของทุกภาค ส่วน หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของ ข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองให้มีความ เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนสืบต่อไป (นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์) สหกรณ์จังหวัดระนอง มกราคม 2566


WE ARE HOPE เรา คือ ท าเนียบบุคลากร ของสหกรณ์จังหวัดระนอง - ว่าง - ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจดัตง้ัและสง่เสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒน าธุรนางสาวปัณฑิตา บัวฉิม นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายจิตรวิระ หีตดาษ พนักงานพิมพ์ดีด นายสมพร กลับหลังสวน พนักงานบริการเอกสารทั่วไป นายธีระทัศน์ ควรวินิจ พนักงานขับรถยนต์ นางสาวนิภาพร มีศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสุฑามาศ สุวัณจรรยากุล เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี นางกาญจนา ว่าวทอง เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานธุรการ นางสาวพัฑฒิดา มณีโชติ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นักวิชาการสหกรณ์ช นักวิชาการสหกรณ์ชนักวิชาการสหกรณ์ นักวิชาการสหกรณ์นักวิชาการมาตรฐานนางสาวดวงรัตน์ เมฆพยับ นางสาววราภรณ์ นุ่นเหว่า นายสุนทร โนรัตน์ นางสาวธนวรรณ ปานางสาวปัทมา รัตนนางสาวบุษรา ช่วยพนางสาวเจสิญา เกษ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ก ความหวังของเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ รกิจสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์1 (อ าเภอเมือง กะเปอร์ สุขส าราญ) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอละอุ่น กระบุรี) ช านาญการ ช านาญการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นิติกรปฏิบัติการ นิติกร ณ์ นสินค้า นักวิชาการสหกรณ์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ านโชติ นวรรณ พัฒน์ ษแก้ว นางสาวจรรยาวรรณ พูลสวน นางสาวอติกานต์ วงษณรัตน์ นางสาวหทัยกาญจน์ เลิศไกร นายภักดี เลิศไกร นายจักรวาล คเชนทร นายดุรยิะศกัด์ิเดชฤดี นางสาวผานิตย์ แสวงหาสินทรัพย์ นางสาวจิรายุ ศรีใส นางสาวทิพย์มาศ ทองดี นางสาวนิพาภรณ์ ท าทอง นางสาววิไลลักษณ์ ตันโสภณ นายมนชัย ใจชื่น นายอาคม มีมาก นายจริศกัด์ิบรบิูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ก WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร บทสร ุปผู้บริหาร (Executive Summary) สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ ประจําปี พ.ศ. 2565 โดยมีผลการดําเนินงานโดยสรุป ดังนี้ สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการส่งเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดระนอง มีสหกรณ์ จํานวน 27 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จํานวน 17 แห่ง โดยได้รับ แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 5 แผนงาน การจัดสรร งบประมาณทั้งสิ้น 6.83 ล้านบาท และสามารถปฏิบัติงานตามแผนและเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตาม แผนงานที่ได้รับ ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) การส่งเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการแนะนํา ส่งเสริม สหกรณ์ จํานวน 27 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 17 แห่ง สมาชิกสหกรณ์ 22,369 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1,920 คน 2) โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จํานวน 10 แห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ฐาน จํานวน 14 แห่ง และสามารถ รักษามาตรฐานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในภาพรวม ยังคงรักษามาตรฐานได้ตามเกณฑ์ที่กรมฯ กําหนด 3) โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น สหกรณ์มีผลการให้คะแนนผ่านเกณฑ์ ตามที่กําหนด จํานวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด 4) โครงการการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนา จํานวน 39 แห่ง 5) งานกํากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ รักษาสถานะภาพสหกรณ์ จํานวน 23 แห่ง และ กลุ่มเกษตรกร จํานวน 16 แห่ง ไม่ให้มีข้อบกพร่องเกิดขึ้นใหม่ 6)การตรวจการสหกรณ์ แต่งตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ จํานวน 4 ทีม เข้าตรวจการสหกรณ์ จํานวน 12 สหกรณ์ สหกรณ์ดําเนินงานได้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 7) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน (ปี 2564) ปริมาณ ธุรกิจปี 2564 มีปริมาณธุรกิจรวม 2,897,075,499.19 บาท และปริมาณธุรกิจปี 2565 มีปริมาณธุรกิจ รวม 3,954,084,767.74 บาท เพิ่มขึ้น 1,057,009,268.55 บาท คิดเป็นร้อยละ 36.49 8) การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้างที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ จํานวน 7 แห่ง โดยมีสหกรณ์ จํานวน 5 แห่ง สหกรณ์ได้ใช้อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ได้รับอย่างเต็มศักยภาพ และปริมาณ ธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้น 9) โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) จํานวน 3 ราย ที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ 10) โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน สหกรณ์ จํานวน 2 แห่ง ได้รับการอบรมการใช้นวัตกรรมการแปรรูปกาแฟเกล็ด การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด และได้รับการผลักดันการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 11) โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน (GAP) ได้รับการส่งเสริมการทําเกษตรปลอดภัยอย่าง ถูกวิธี มีความรู้และสามารถผลิตผลไม้ได้ตามมาตรฐาน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) 12) โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวงใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดีนักเรียน ครู และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์สามารถนําไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ การดําเนินและพัฒนากิจกรรม สหกรณ์ในโรงเรียนและชีวิตประจําได้ 13) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง กรณบดินทร เทพยวรางกูร เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปในพื้นที่จัดโครงการ สามารถเข้าถึง การให้บริการและได้รับทราบข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ การรวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ การจัดตั้ง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้มากขึ้น 14) โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินงานและสมาชิกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรได้นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจําวัน 15) โครงการวันสหกรณ์นักเรียน 7 มิถุนายน 2565 คุณครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับ ความรู้ ความเข้าใจด้านการสหกรณ์ ร้อยละ 80 16) โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทํากินของเกษตรกร เกษตรกรที่ได้รับการ จัดสรรที่ดินทํากินในพื้นที่ได้รับการแนะนํา ส่งเสริม และพัฒนาอาชีพ ภายใต้การอนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทําให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความกินดีอยู่ดี มีสันติสุข ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง 17) โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสําหรับสินค้าเกษตร มีการเชื่อมโยงเครือข่าย คลัสเตอร์ระหว่างกัน โดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการการตลาดสินค้า เกษตร และทําให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีตลาดรองรับผลผลิต 18) โครงการสนับสนุนการรวบรวมและกระจายผลไม้เพื่อยกระดับราคาไม่ให้ตกต่ําของสถาบัน เกษตรกรกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อบรรจุ ภัณฑ์ (ตะกร้าผลไม้) จํานวน 2,000 ใบ สําหรับบรรจุมังคุดกระจายออกนอกแหล่งผลิต 19) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและการตลาดสินค้าคุณภาพ (ผลไม้) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด ได้ตกลงทํา MOU กับสหกรณ์การเกษตรกะสัง จํากัด จังหวัดบุรีรัมย์ เชื่อมโยงมังคุดกับข้าวสาร จํานวน 3 ตัน และตกลงทํา MOU กับสหกรณ์การเกษตร จอมทอง จํากัด จังหวัดเชียงใหม่ เชื่อมโยงมังคุดกับลําไย จํานวน 3 ตัน 20) การดําเนินงานขับเคลื่อนตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ “เกษตรผลิตพาณิชย์ตลาด” กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ดําเนินการรวบรวมผลผลิตมังคุดจากสมาชิก จําหน่าย ไปยังเครือข่ายสหกรณ์ และเครือข่ายของสํานักงานพาณิชย์จังหวัด กระจายผ่านจังหวัดต่าง ๆ รวม 22 ตัน 21) โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ แปลงใหญ่ 10 แปลง สามารถลด ต้นทุนเฉลี่ย 4,880 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.19 ผลผลิตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2,560 บาท คิดเป็นร้อยละ 27 และ ราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 297.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 31.45 22) การกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกเกษตรกรจาก สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 กระจายลําไย จํานวน 3.8 ตัน เป็นเงิน 152,230 บาท ช่วยเหลือ เครือข่ายสหกรณ์ให้มีที่จําหน่าย เป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ค WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 23) กําหนดแนวทางการส่งเสริมสหกรณ์ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกที่มีปัญหาในการประกอบ อาชีพทางการเกษตร (สนับสนุนวงเงินกู้จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์) สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ย ต่ํา จํานวน 4 แห่ง เป็นเงิน 6.60 ล้านบาท สามารถช่วยลดภาระดอกเบี้ยและต้นทุนในการประกอบอาชีพแก่ สมาชิกสหกรณ์ จํานวน 200 ราย 24) โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ย ต่ํา จํานวน 2 แห่ง เป็นเงิน 300,000 บาท สามารถช่วยลดภาระดอกเบี้ยให้กับสหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์ ได้รับเงินทุนในการประกอบอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้จํานวน 10 ราย อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี ซึ่งต่ํากว่า อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะสั้นปกติของสหกรณ์ที่อัตราร้อยละ 10 ต่อปี เป็นการช่วยลดต้นทุนในการประกอบ อาชีพของสมาชิก 25) เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้เบิกจ่ายเงินกู้ให้กับสหกรณ์ จํานวน 33.35 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 92.46 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรร มีสหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนจํานวน 6 สหกรณ์16 สัญญา มีสมาชิกได้รับประโยชน์ จํานวน 1,349 ราย สามารถลดต้นทุนการผลิตเพิ่มรายได้ ให้กับสมาชิกสหกรณ์เป็นเงิน จํานวน 3,427,414.96 บาท 27) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร : โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด ทําให้กลุ่มเกษตรกรมีทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจปลอดดอกเบี้ย เป็นการ เสริมสภาพคล่องด้านการเงินให้กับกลุ่มเกษตรกร ----------------------------------------------------


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ง WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สารบัญ เรื่อง หน้า สารจากสหกรณ์จังหวัดระนอง ท าเนียบบุคลากรส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง บทสรุปผู้บริหาร ก ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1) วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอํานาจหน้าที่ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 2 2) แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริม สหกรณ์ 3 3) โครงสร้างและกรอบอัตรากําลัง ประจําปี 2565 5 4) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรร งบประมาณ) 6 5) สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 7 ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ 14 1) ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ 15 แผนงานพื้นฐาน 15 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 58 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 67 แผนงานบูรณาการ 82 2) ผลการดําเนินงาน/โครงการตามนโยบายสําคัญ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 88 งานส่งเสริมและพัฒนา 88 งานกํากับติดตามและงานแก้ปัญหา 95 เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) 103 กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 107 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ 110 1) งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด 111 2) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในสหกรณ์แห่งชาติ 114 3) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครอบรอบ 50 ปี 115 4) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 116 ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) 118 1) งบแสดงฐานะการเงิน 119 2) งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน 120 3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน 121 ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสําเร็จตามตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) 125 ส่วนที่ 6 บรรณานุกรม 136


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง วิสัยทัศน์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง เป็นองค์กรที่มุ่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง และเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิก พันธกิจ 1. ส่งเสริมเผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 2. คุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็ง และเป็นไปตามกฎหมาย 3. พัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4. พัฒนาการด าเนินธุรกิจให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. เสริมสร้างโอกาสเข้าหาแหล่งเงินทุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ านาจหน้าที่ 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพและ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ทุกประเภท กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มลักษณะอื่น 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากร สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มลักษณะอื่น 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย


WE ARE HOPE เรา คือ แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3การพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่ นโยบาย/แผนงาน/โครงการ ค่าเป้าหมาย และตวัช้ีวดัในระดบัผลสมัฤทธิ์ล าดับ แผนงาน/โครงการ แผนงาน บุคลากรภาครัฐ รายการ บุคลากรภาครัฐ 1 กิจกรรม ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักย2 กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุน) 3 กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ) 4 กิจกรรม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภา(งบด าเนินงาน) แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ5 กิจกรรม ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชด าริสมเด็จพระกนิษฐาธิรากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 6 กิจกรรม ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญสิริวัฒนาพรรณวดี 7 กิจกรรม ขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 3 ความหวังของเกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์รวมถึงนโยบายและทิศทาง ธ์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผลการปฏิบัติงาน ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ งบประมาณ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ อัตรา 11 11 100 3,321,900.00 3,321,900.00 100 ยภาพ แห่ง 1 1 100 1,580,000.00 1,580,000.00 100 เครื่อง 3 3 100 115,400.00 115,400.00 100 าพ แห่ง 39 39 100 1,521,900.00 1,521,900.00 100 าชเจ้า แห่ง 1 1 100 11,300.00 11,300.00 100 ญญา แห่ง 1 1 100 10,300.00 10,300.00 100 ษตรกร แห่ง 5 5 100 1,900.00 1,900.00 100


WE ARE HOPE เรา คือ ล าดับ แผนงาน/โครงการ แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 8 กิจกรรม คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 9 โครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 10 กิจกรรม พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน (Gโครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 11 กิจกรรม พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสมูลค่าเพิ่ม แผนงานบูรณาการ พัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 12 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร 13 กิจกรรมหลักพัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรรวมงบประมาณทั้


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 4 ความหวังของเกษตรกร ผลการปฏิบัติงาน ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ งบประมาณ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ ครั้ง 4 3 75 9,100.00 9,100.00 100 ราย 3 3 100 1,280.00 1,2880.00 100 GAP) แห่ง 4 4 100 131,520.00 131,520.00 100 สร้าง แห่ง 1 1 100 91,900.00 91,900.00 100 พื้นที่ 2 2 100 8,700.00 8,700.00 100 รกร แห่ง 3 3 100 18,000.00 18,000.00 100 ทั้งหมด 6,823,200.00 6,823,200.00 100


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 5 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงสร้างและกรอบอัตราก าลัง ประจ าปี 2565 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ฝ่าย/กลุ่ม ข้าราชการ (ราย) ลูกจ้างประจ า (ราย) พนักงานราชการ (ราย) รวม (ราย) สหกรณ์จังหวัดระนอง 1 - - 1 ฝ่ายบริหารทั่วไป 2 3 4 9 กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ 2 - 1 3 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 2 - 2 4 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ 2 - 1 3 กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 2 - 1 3 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 (อ าเภอเมือง กะเปอร์ และสุขส าราญ) 3 - 1 4 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอละอุ่น และกระบุรี) 2 - 1 3 รวม 16 3 11 30 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สหกรณ์จังหวัดระนอง ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการ บริหารจัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 - อ าเภอเมือง - อ าเภอกะเปอร์ - อ าเภอสุขส าราญ - อ าเภอละอุ่น - อ าเภอกระบุรี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 6 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร งบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ) 48% 47% 4% 1% แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานบูรณาการ ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ร้อยละ หมายเหตุ รวมทั้งสิ้น 6,830,400.00 100 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 3,321,900.00 48 แผนงานพื้นฐาน 3,217,300.00 47 แผนงานยุทธศาสตร์ 264,100.00 4 แผนงานบูรณาการ 26,700.00 1


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 7 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สร ุปข้อมูลสหกรณ์ กล ุ่มเกษตรกร และกล ุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวนสหกรณ์และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิกสามัญ (คน) สมาชิกสมทบ (คน) 1. สหกรณ์การเกษตร 14 14,762 14,762 - 9,107 56.86 2. สหกรณ์ประมง 1 - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 6,542 5,821 721 5,765 35.99 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 828 828 - 688 4.29 6. สหกรณ์บริการ 3 252 252 - 252 1.58 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 268 268 - 205 1.28 รวม 27 22,369 21,931 721 16,017 100 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สถานะสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 11 - 3 - 14 2. สหกรณ์ประมง - 1 - 1 3. สหกรณ์นิคม - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 - - - 6 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - - 1 6. สหกรณ์บริการ 2 - 1 - 3 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - - - 2 รวม 22 - 5 - 27 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 8 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณ ธุรกิจ ของ สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. สหกรณ์การเกษตร 11 1.61 13.95 35.20 925.12 7.68 3.58 987.14 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 453.65 2,464.37 - - - - 2,918.02 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - 6.53 - - - 6.53 6. สหกรณ์บริการ 3 0.19 0.49 0.11 - - 1.65 1.87 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน 2 0.03 3.38 - - - - 3.42 รวมทั้งสิ้น 23 445.49 2,482.19 41.84 925.12 7.68 5.44 3,917.76 ที่มา : ระบบรายงานปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2565 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) สหกรณ์ที่มีผลก าไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (5) ก าไร (ล้านบาท) (6) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้านบาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 10 470.22 470.55 6 1.54 4 -1.87 -0.33 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 272.95 83.00 6 189.95 - - 189.95 5. สหกรณ์ร้านค้า 1 7.52 7.62 - - 1 -0.10 -0.10 6. สหกรณ์บริการ 3 3.60 2.93 1 0.69 2 -0.02 0.67 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน 1 0.21 0.19 1 0.02 - - 0.02 รวมทั้งสิ้น 21 754.50 564.29 14 192.20 7 -1.99 190.21 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณ์ในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 9 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์จ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ ชั้น 1 สหกรณ์ ชั้น 2 สหกรณ์ ชั้น 3 สหกรณ์ ชั้น 4 รวม สหกรณ์ภาคการเกษตร 2 7 2 3 14 1. สหกรณ์การเกษตร - - - - - 2. สหกรณ์นิคม - - - 1 1 3. สหกรณ์ประมง - - - - - สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 6 - - - 6 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ - 1 1 - 2 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 1 - - 3 6. สหกรณ์บริการ 1 - - - 1 7. สหกรณ์ร้านค้า 11 9 3 4 27 รวม 2 7 2 3 14 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2563 – 2565) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 (แห่ง/ร้อยละ) ชั้น 1 10/34.48 11/40.74 7/25.92 ชั้น 2 8/27.59 9/33.33 13/48.15 ชั้น 3 6/20.69 3/11.11 2/7.41 ชั้น 4 5/17.24 4/14.82 5/18.52 รวม 29/100 27/100 27/100 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 10 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวนกลุ่มเกษตรกรและจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิก สามัญ (คน) สมาชิก สมทบ (คน) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 191 191 - 191 10.40 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 1,339 1,339 - 793 62.88 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 212 212 - 193 15.30 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 178 178 - 144 11.42 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - รวม 16 1,920 1,920 - 1,261 100 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 - - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 - - - 11 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 - - - 2 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 - 1 - 2 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - รวม 16 - 1 - 17 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 11 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณ ธุรกิจ ของ สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 0.146 1.405 0.64 - - - 2.191 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 0.068 9.218 8.555 10.504 - - 28.345 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 0.016 1.079 1.005 - - - 2.100 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 - 0.145 2.732 - - 0.810 3.687 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 16 0.23 11.847 12.932 10.504 - 0.810 36.323 ที่มา : ระบบรายงานปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2565 ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลก าไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา 2 0.46 0.32 2 0.14 - - 0.14 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 11 11.70 11.08 10 0.63 1 -0.01 0.62 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 0.29 0.29 1 0.005 1 -0.004 0.001 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง 1 3.58 4.45 - - 1 -0.87 -0.87 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 16 16.03 16.14 13 0.775 3 -0.884 -0.109 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุ ผลรวมของกลุ่มเกษตรกรในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 12 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2565 ประเภทสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 1 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 2 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 3 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 4 รวม 1. กลุ่มเกษตรกรทํานา - 2 - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน - 10 1 - 11 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 2 - 1 3 4. กลุ่มเกษตรกรทําไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทําประมง - - - - 1 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) - - - - - รวม - 15 1 1 17 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2565 ชั้น 4 ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ข้อมูลสถิติของกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวนกลุ่มอาชีพและสถานะ ประเภทกลุ่มอาชีพ จ านวน (กลุ่ม) จ านวนกลุ่มอาชีพด าเนินงาน/ธุรกิจ (กลุ่ม) 1. อาหารแปรรูป 6 6 2. ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - 3. ของใช้/ของตกแต่ง 2 2 4. เลี้ยงสัตว์ - - 5. บริการ 1 1 6. เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 2 2 7. สมุนไพรไม่ใช่ยา - - 8. เพาะปลูก 1 1 9. ปัจจัยการผลิต 1 1 รวม 13 13 กลุ่มอาชีพและจ านวนสมาชิกกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ กลุ่มอาชีพ สินค้าหลัก สังกัดสหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) 1. กลุ่มพัฒนาอาชีพบ้านมารีย์ กาแฟโบราณ สหกรณ์กองทุนสวนยาง จ.ป.ร. 3 จํากัด 15 2. กลุ่มส่งเสริมอาชีพไม้กวาด ดอกอ้อบ้านหินใหญ่ หมู่ที่ 9 ไม้กวาดดอกอ้อ สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 46 3. กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านบางกุ้ง น้ําพริกต่าง ๆ สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 17 4. กลุ่มสตรีบ้านบางขุนเพ่ง ไข่เค็ม, น้ําพริกไข่เค็ม สหกรณ์การเกษตรละอุ่น จํากัด 18 5. กลุ่มฟื้นฟูนาข้าวตําบลกําพวน ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ พันธุ์ลูกหวาย สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด 12 6. กลุ่มทําปุ฻ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ บ้านบางพรวด หมู่ที่ 8 ปุ฻ยอินทรีย์ สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 53 7. กลุ่มออมทรัพย์ปลูกพืช เครื่องแกงเพื่อการผลิต เครื่องแกง สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 58 8. กลุ่มกะปิกุ้งเคยเสริมไอโอดีน บ้านอ่าวเคย กะปิ, กะปิผง, กุ้งเคย อบแห้ง สหกรณ์การเกษตรกะเปอร์ จํากัด 12 9. กลุ่มแปรรูปอาหารทะเลระนอง แปรรูปอาหารทะเล สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 15 10. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตําบล บางแก้ว (ห้วยนายร้อย) ไม้กวาดดอกอ้อ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 17 11. กลุ่มผู้ผลิตเครื่องแกงบ้านระวิ เครื่องแกง สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 15 12. กลุ่มแปรรูปผลไม้ปากจั่น แปรรูปผลไม้ กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 15 13. กลุ่มกาแฟคั่วบดไร่ใน กาแฟคั่วบด กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา 35 รวม 13 กลุ่ม 328 ที่มา : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ ผลสัมฤทธิ์ ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/ โครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1) ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง อ าเภอเมือง ประกอบด้วย สหกรณ์ 11 แห่ง สมาชิก 7,241 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 521 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) แนะนําการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในการแก้ไขข้อบังคับสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2) การกําหนดระเบียบ เพื่อถือใช้ ทั้งที่ขอความเห็นชอบต่อนายทะเบียนสหกรณ์ และเพื่อทราบ เช่น ระเบียบว่าด้วยการรับฝากเงินจากสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ระเบียบว่าด้วยการรับฝากเงินจากนิติบุคคล อื่น ระเบียบว่าด้วยเจ้าหน้าที่และข้อบังคับเกี่ยวกับการท างาน ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกสหกรณ์ ระเบียบว่าด้วยการรับจ่ายและเก็บรักษาเงิน ระเบียบว่าด้วยการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาหรือข้อร้องเรียน ของสมาชิก จํานวน 10 สหกรณ์ 3) รายงานการส่งเสริมตามกฎกระทรวง การดําเนินงานและการกํากับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 จํานวน 6 สหกรณ์ 4) นําเรื่องและประเด็นที่นําเสนอในการปูองกันการเกิดข้อบกพร่องต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ดําเนินการ และสรุปผลการแนะนําปูองกันการเกิดข้อบกพร่องเสนอต่อนายทะเบียนสหกรณ์ จํานวน 10 แห่ง 5) แนะนําการจัดทํารายงานประจําปีแสดงผลการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 15 แห่ง 6) การเสนองบแสดงฐานะการเงินของสหกรณ์ให้ที่ประชุมใหญ่อนุมัติภายใน 150 วัน นับแต่วัน สิ้นปีทางบัญชีสหกรณ์ 7) แนะนําส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดีเด่น ประจําปี 2564/2565 โดยบูรณาการทํางานร่วมกันกับกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์ออม ทรัพย์ครูระนอง จํากัด เข้ารับการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติประจําปี 2564/2565 8) ติดตามการใช้และเร่งรัดหนี้เงินกู้ โดยมีสหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จํานวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์รถยนต์โดยสารระนอง จํากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จํากัด ซึ่งสามารถชําระหนี้ได้ตามกําหนด 9) แนะนําส่งเสริมเพื่อให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรโดยรักษาเปูาหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 10) แนะนําการสร้างความเข้มแข็งในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อพัฒนาการจัดชั้นของสหกรณ์ ในด้าน 1) ความสามารถในการบริการสมาชิก (การมีส่วนร่วมของสมาชิก) 2) ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจ (อัตราส่วนทางการเงิน) 3) ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) 4) ประสิทธิภาพการ บริหาร (ข้อบกพร่อง) ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข้อบังคับ การบริหารธุรกิจ สหกรณ์ ตลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3) ผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์และไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามข้อบังคับของสหกรณ์ 4) การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 5) สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอใน การปฏิบัติงาน ทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) ส่งเสริมให้กรรมการดําเนินการ เข้าใจบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้การศึกษาอบรม เกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่ําเสมอ 2) มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ้างโดยให้ค่าตอบแทนกับผู้มีความรู้ในเรื่องบัญชี กําหนดระเบียบ บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้อง กําชับ ให้ผู้รับลงบัญชีจัดทําบัญชีให้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามแบบ ให้เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให้บันทึกรายการในวันที่เกิดเหตุ สําหรับรายการที่ ไม่เกี่ยวกับกระแสเงินสด ให้บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแต่วันที่มีเหตุต้องบันทึก 3) การปูองกันและการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์โดยมีการสํารวจข้อมูลการจัดการ กลุ่มลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผนอาชีพของ สมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ของสมาชิก ภาพ : การเข้าแนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์ ในพื้นที่อําเภอเมืองระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์ออมทรัพย์ออมทรัพย์ครูระนอง จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 17 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2512 ประเภท สหกรณ์ออมทรัพย์ ปีบัญชี 30 กันยายนของทุกปี ปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 มีสมาชิก จํานวน 3,409 คน ประกอบด้วย สมาชิกสามัญ 2,890 คน สมาชิกสมทบ 519 คน ทุนดําเนินทั้งสิ้น 2,747,764,456.00 บาท ทุนของสหกรณ์ 1,998,779,654.25 บาท กําไรสุทธิ 97,675,546.98 บาท สหกรณ์ดําเนินธุรกิจ 2 ด้าน ด้านสินเชื่อและด้านเงินรับฝากเงิน มีผลการดําเนินเป็นไปตามแผนปฏิบัติ งานที่กําหนดไว้ ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ระดับชั้น 1 มาตรฐานสหกรณ์ระดับดีเลิศ สหกรณ์มีการดําเนินธุรกิจตรงตามวัตถุประสงค์โดยสนับสนุนให้เกิดการออมทรัพย์ และอําน วย ประโยชน์ให้แก่สมาชิกได้เป็นอย่างดี สามารถให้บริการและช่วยเหลือด้านเงินทุนแก่สมาชิกเพื่อนําไปเป็น ทุนหมุนเวียนในการดํารงชีพ ตลอดถึงส่งเสริมให้เกิดการออมซึ่งทําให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1) การให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้ง การบริหารงานสหกรณ์แก่คณะกรรมการดําเนินการและฝุายจัดการ 2) สหกรณ์ปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ประกาศ คําสั่ง คําแนะนําของนายทะเบียน สหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กําหนดระเบียบต่างๆ ขึ้นถือใช้เพื่อเป็นแนวทางใน การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบ และมติที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ 3) ส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดรายจ่าย โดยสนับสนุนให้สมาชิกนําเงินส่วนเกินของรายได้มาฝากไว้กับ สหกรณ์ 4) สหกรณ์มีทุนดําเนินงาน ทุนสํารอง ทุนสะสมตามข้อบังคับ เพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจ และการ จัดสวัสดิการต่างๆ ให้กับสมาชิก 5) การกําหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติด้านจริยธรรมของคณะกรรมการดําเนินการ 6) การกําหนดบทบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการดําเนินการ และฝุายจัดการ เป็นลายลักษณ์อักษร 7) การจัดทําแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการของสหกรณ์ การควบคุม และการประเมินผล 8) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีให้ทันสมัย ลดเวลา ค่าใช้จ่ายของสหกรณ์และสมาชิก 9) การจัดทําข้อมูลสมาชิก เพื่อให้สมาชิกสามารถตรวจสอบข้อมูลของตนเองได้โดยจัดทํา แอปพลิเคชันผ่านระบบมือถือของสมาชิก 10) การจัดสวัสดิการต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือสมาชิก และครอบครัว 11) จัดทุนสาธารณประโยชน์ เพื่อช่วยเหลือ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม 12) การยึดหลักการควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : กิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร อ าเภอกะเปอร์ ประกอบด้วย สหกรณ์3 แห่ง สมาชิก 606 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) การแนะนําส่งเสริมสหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์มีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเข้า แนะนําส่งเสริมสหกรณ์ในปี 2565 จากสหกรณ์ทั้งหมด จํานวน 3 แห่ง มีผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ ไม่ผ่านมาตรฐาน จํานวน 3 แห่ง 2) การแนะนําส่งเสริม โดยนําการประเมินการควบคุมภายในจากผู้สอบบัญชี ชี้แจงให้สหกรณ์ รับทราบตลอดจนหาแนวทางในการปรับปรุงการดําเนินงานด้านการควบคุมภายใน เพื่อผลักดันให้สหกรณ์มีผล การจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับที่ดีขึ้น ผลการจัดชั้นสหกรณ์ มีสหกรณ์ที่อยู่ ่ในชั้น 2 จํานวน 2 สหกรณ์ ชั้น 3 จํานวน 1 สหกรณ์ 3) แนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ ทั้งที่เป็นข้อบกพร่องเดิมและข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นใหม่ระหว่างปี 4) แนะนําส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขการดําเนินงานตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี สหกรณ์ และติดตามการแก้ไขข้อสังเกตของสหกรณ์ ทั้งที่เป็นข้อสังเกตผู้สอบบัญชีที่เกิดขึ้นใหม่ระหว่างปี และข้อสังเกตผู้สอบบัญชีประจําปี 5) การแก้ปัญหาสหกรณ์ที่ปิดบัญชีไม่ได้ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์แนะนําส่งเสริมให้คําแนะนํา ติดตาม และช่วยเหลือสหกรณ์ที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้อย่างใกล้ชิด ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการ ขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข้อบังคับ การบริหารธุรกิจ สหกรณ์ ตลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3) ผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์และไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามข้อบังคับของสหกรณ์ 4) การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้กําหนดไว้ 5) การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ และปัญหาเงินฝากไหลเข้าสู่ระบบสหกรณ์ 6) สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี หรือมีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชีแต่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอ ในการปฏิบัติงาน ทําให้ไม่สามารถจัดทําบัญชีให้เป็นปัจจุบัน 7) สหกรณ์การเกษตรไม่ได้ดําเนินงานเป็นไปตามหลักการควบคุมภายในที่ดีไม่มีการแบ่งแยกหน้าที่ ในการปฏิบัติงาน เนื่องจากยังขาดเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานสหกรณ์การเกษตร ไม่ได้ดําเนินการจัดจ้าง เจ้าหน้าที่และบางแห่งรายได้ไม่เพียงพอกับการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ 8) สมาชิกสหกรณ์การเกษตร ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ขาดการรับช่วงต่อของบุคคลรุ่นใหม่ ทําให้การ ดําเนินธุรกิจของกลุ่มไม่คล่องตัวเท่าที่ควร 9) สหกรณ์การเกษตรมีผลการดําเนินงานขาดทุนเนื่องจากหนี้ค้างนานมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญ ลงทุนในทรัพย์สินมากมีการคิดค่าเสื่อมราคา มีค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานสูงสหกรณ์ยังไม่สามารถ ให้บริการกับสมาชิกได้อย่างครอบคลุมความต้องการ ทั้งนี้สหกรณ์การเกษตรยังต้องอาศัยทุนจากภายนอกใน การดําเนินธุรกิจ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 10) สมาชิกสหกรณ์การเกษตร มีส่วนร่วมในการทําธุรกิจน้อย เนื่องจากสหกรณ์ไม่ได้จัดทําฐานข้อมูล สมาชิกมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนงานการดําเนินธุรกิจต่าง ๆ และไม่มีการสํารวจความต้องการของสมาชิก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) ส่งเสริมแนะนําสมาชิกสหกรณ์ให้มีความจงรักภักดีกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น ๒) จัดอบรมสมาชิก/กรรมการ/ฝุายจัดการสหกรณ์ให้เข้าใจหลักการอุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์แบบ ปลูกฝังอย่างจริงจังให้มีความรักในสหกรณ์ส่งเสริมให้กรรมการดําเนินการ เข้าใจบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้การศึกษาอบรมเกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่ําเสมอ ๓) แนะนําให้สหกรณ์การเกษตร ขยายการดําเนินธุรกิจโดยเพิ่มปริมาณธุรกิจ การ ซื้อ/ขาย เพื่อให้มี รายได้เพียงพอต่อการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ ๔) แนะนําสหกรณ์ ในการระดมทุนจากสมาชิกในรูปทุนเรือนหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิก เพื่อมีทุน ในการดําเนินงานอย่างเพียงพอ ๕) แนะนําสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทําฐานข้อมูลสมาชิก และการจัดชั้นสมาชิกเพื่อให้สมาชิกมีส่วน ร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ ๖) แนะนําคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์และการควบคุมภายใน ที่ดีการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบแผน-ผลในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด ๗) แนะนําสหกรณ์ ดําเนินการติดตามผลการปฏิบัติงานของสหกรณ์อย่างต่อเนื่องทุกครั้งที่มีการ ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ 8) แนะนําการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ้างโดยให้ค่าตอบแทนกับผู้มีความรู้ในเรื่อง บัญชีกําหนดระเบียบ บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้อง กําชับ ให้ผู้รับลงบัญชีจัดทําบัญชีให้ครบถ้วน ถูกต้องตามแบบ ให้เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให้บันทึกรายการในวันที่เกิดเหตุ สําหรับ รายการที่ไม่เกี่ยวกับกระแสเงินสด ให้บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแต่วันที่มีเหตุต้องบันทึก 9) เก็บข้อมูลสถิติการร่วมทําธุรกิจของสมาชิกสหกรณ์ที่ฝาก และถอนเงิน รวมถึงข้อมูลการจ่ายสินเชื่อ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การเงินที่จะช่วยให้สหกรณ์สามารถวิเคราะห์วัฎจักร รวมถึงการบริหาร จัดการ การกู้เงินหรือการถอนเงินในช่วงระยะเวลาใดมากน้อยเพียงใด ทําให้สหกรณ์สามารถรู้ได้ว่าช่วงเวลาใด จะต้องรักษาสภาพคล่องเท่าใด 10) การปูองกันและการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์ โดยมีการสํารวจข้อมูล การจัดการกลุ่มลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผน อาชีพของสมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ของสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด เกิดจากการรวมตัวกันของประชาชนในพื้นที่ ตําบลบ้านนา อําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ร่วมกันจัดตั้งขึ้นโดยจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 ธันวาคม 2564 มีสมาชิกสามัญจํานวน 68 คน ไม่มี สมาชิกสมทบ ดําเนินธุรกิจ 2 ประเภท คือ ธุรกิจสินเชื่อและธุรกิจเงินรับฝาก มีทุนดําเนินงานทั้งสิ้น 2,050,589.21 บาท ทุนเรือนหุ้นทั้งสิ้น จํานวน 1,140,990 บาท ทุนสํารอง 355,876.71 บาท กําไร สุทธิ 167,232.64 บาท มีคณะกรรมการดําเนินการ จํานวน 9 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ จํานวน 3 คน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลการดําเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด คือเป็นแหล่งเงินทุนแก่ สมาชิกสหกรณ์ ใช้ทุนภายในของสหกรณ์ร้อยละ 100 ในการดําเนินงานโดยเงินทุนมาจากการถือหุ้นและเงิน รับฝากจากสมาชิก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อมั่นของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์ในระดับสูง สมาชิกมีการถือหุ้น และเงินฝากกับสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง ในรอบปีที่ผ่านมาสหกรณ์ได้รับสนับสนุนเงินทุนจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ในโครงการสนับสนุนเงินทุน เพื่อส่งเสริมการทําเกษตรอัจฉริยะของสมาชิกสหกรณ์ เพื่อต่อยอดการประกอบอาชีพเกษตรให้แก่สมาชิก สหกรณ์ ด้วยการนําระบบเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อลดปัญหาด้านแรงงาน ต้นทุน และสามารถเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตรได้ สมาชิกได้รับเงินทุนดอกเบี้ยต่ํา โดยผ่านสหกรณ์ในการบริหารจัดการให้แก่สมาชิก จึงทําให้ทาง สหกรณ์สามารถช่วยเหลือสมาชิกในเรื่องเงินทุนได้อย่างเป็นรูปธรรม ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ด าเนินการในการแนะน า ส่งเสริม และผลักดันให้สหกรณ์สามารถ ด าเนินงานได้ประสบความส าเร็จทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และชุมชน สามารถเป็นที่พึ่งให้กับสมาชิกได้อย่าง ยั่งยืน โดยอาศัยการบูรณาการท างานร่วมกันของบุคลากรในหน่วยงานทั้งกลุ่มงานวิชาการและเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ในส่วนของการผลักดันการด าเนินงานของสหกรณ์ได้ด าเนินการแนะน าส่งเสริมผ่านที่ประชุม คณะด าเนินการสหกรณ์ติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นประจ าทุกเดือนจนท าให้สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหา การปิดบัญชีไม่เป็นปัจจุบันได้ รวมทั้งแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระได้ ส่งผลให้สหกรณ์สามารถขับเคลื่อนธุรกิจ ต่อไปได้โดยมีผลก าไรและสามารถอ านวยประโยชน์แก่สมาชิกได้ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1) แนะนําส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาให้เงินกู้แก่สมาชิก 2) ประชุมสมาชิกสหกรณ์ให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของ สมาชิกสหกรณ์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้บริการจากสหกรณ์ ในการขอกู้เงิน การฝากเงิน การชําระ หนี้คืน การถือหุ้นของสมาชิก 3) สหกรณ์ได้มีการจัดประชุมสมาชิกอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สหกรณ์ สร้างการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาการดําเนินธุรกิจที่ตอบสนองความต้องการของสมาชิก พร้อมทั้ง หาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม 4) ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการบริหารงานสหกรณ์ การดําเนินธุรกิจ และการติดตามผลการดําเนินงาน ของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยให้สหกรณ์จัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสาธารณะประโยชน์ ร่วมกันทํา กิจกรรมต่างๆ ในวันสําคัญ สําหรับสมาชิกที่ไม่สามารถชําระหนี้ได้ สหกรณ์แก้ไขปัญหาด้วยการเจรจา วิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขปัญหาตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น 5) สหกรณ์ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์ได้เพิ่มพูน ความรู้ด้านต่างๆ โดยมอบหมายให้กรรมการและสมาชิกเข้ารับการอบรมทุกครั้งที่หน่วยงานมีการจัดอบรม ให้ความรู้ เพื่อนําหลักความรู้มาใช้ในการบริหารจัดการสหกรณ์ 6) คณะกรรมการดําเนินการของสหกรณ์บริหารงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ และบริการ สมาชิกด้วยความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียมกัน สามารถบริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : ลงพื้นที่เยี่ยมแปลงเกษตรสมาชิกสหกรณ์ฯ ภาพ : ติดตามการดําเนินงานผ่านที่ประชุมคณะกรรมการ อ าเภอสุขส าราญ ประกอบด้วย สหกรณ์2 แห่ง สมาชิก 354 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 343 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) การแนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินงาน ตามมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลการเข้าแนะนําส่งเสริมในปี 2565 จากสหกรณ์ทั้งหมด จํานวน 2 แห่ง มีผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ผ่านมาตรฐาน 1 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จํานวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จํานวน 1 แห่ง ผ่านมาตรฐาน 2) ผลการจัดชั้นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอยู่ในชั้น 2 3) แนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ ทั้งที่เป็นข้อบกพร่องที่มีอยู่เดิมและข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นให ม่ ระหว่างปี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4) การแนะนําส่งเสริมการใช้หลักธรรมาภิบาลและการควบคุมภายในที่ดีสําหรับสหกรณ์มาใช้ในการ บริหารงานของสหกรณ์เพื่อให้การบริหารงานมีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ ปูองกันการทุจริตที่อาจจะ เกิดขึ้นกับสหกรณ์ 5) การดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ตามคําสั่งของนายทะเบียนสหกรณ์ ในพื้นที่อําเภอ สุขสําราญมีสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง ซึ่งนายทะเบียนสหกรณ์สั่งการให้แก้ไข จํานวน 1 สหกรณ์ ซึ่งแก้ไขแล้ว เสร็จอยู่ระหว่างติดตามการแก้ไขได้แก่สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชี และได้มอบหมายคณะกรรมการดําเนินการรับผิดชอบจัดท าบัญชี ซึ่งมีความรู้ความสามารถไม่เพียงพอในการปฏิบัติงาน ท าให้ไม่สามารถจัดท าบัญชีให้เป็นปัจจุบัน และไม่ สามารถจัดท างบการเงินได้ 2) กรรมการของสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข้อบังคับการบริหารธุรกิจ สหกรณ์ตลอดจนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ 3) สมาชิกสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่อุดมการณ์หลักการ และวิธีการ สหกรณ์ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 4) ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ เมื่อได้รับการเลือกตั้ง ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบกิจการ หรือปฏิบัติ หน้าที่แล้วตรวจสอบแล้วไม่มีรายงานผลการตรวจสอบกิจการสหกรณ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร 5) สหกรณ์การเกษตรขาดแคลนเกษตรกรรุ่นใหม่ที่จะเข้ามาพัฒนาหรือเป็นคณะกรรมการดําเนินการ สหกรณ์เนื่องจากจังหวัดระนองเป็นเมืองท่องเที่ยวสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตรส่วนใหญ่เปลี่ยนอาชีพไป ประกอบธุรกิจส่วนตัว 6) สหกรณ์ไม่สามารถหาเงินทุนหมุนเวียนมาพัฒนาธุรกิจได้อย่างเต็มที่ การติดตามลูกหนี้ค้างชําระไม่ ได้ผลเท่าที่ควร และมีภาระต้องจ่ายชําระเจ้าหนี้ตามกําหนดสัญญา 7) ปัญหาการสร้างความเชื่อมั่น : จากปัญหาข้อบกพร่องที่เกิดกับสหกรณ์ในอดีตทําให้สมาชิกขาด ความเชื่อมั่น การร่วมดําเนินธุรกิจสหกรณ์ (ลดลง) การร่วมกิจกรรมสหกรณ์(เข้าร่วมน้อย) ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนําให้ทบทวนแผนงานการฟื้นฟูสหกรณ์และประมาณการรายได้-ค่าใช้จ่าย ให้เหมาะสมกับ ธุรกิจของสหกรณ์ตามสภาวการณ์ 2) แนะนําให้สหกรณ์ลงประชุมสมาชิกติดตามเร่งรัดหนี้อย่างต่อเนื่องและจริงจัง , การดําเนินการ เจรจาประนอมหนี้ , การฟูองดําเนินคดีกับลูกหนี้ที่ค้างนาน 3) ติดตามผลการดําเนินงานตามแผนการฟื้นฟู และแนวทางการแก้ไข ในการประชุมคณะกรรมการ สหกรณ์ ไตรมาสละ 1 ครั้ง 4) หาแนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจให้ดําเนินต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้สภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสหกรณ์ 5) แนะนําสหกรณ์ประชาสัมพันธ์สมาชิกให้มาร่วมกิจกรรมและดําเนินธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้น 6) เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โดยการเข้ารับการอบรมในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานอย่างสม่ําเสมอ เช่น ความรู้ในด้านการจัดทําบัญชี การตรวจสอบกิจการตลอดจน ให้มีการจัดทําคู่มือในการปฏิบัติงานของสหกรณ์หากมีการเปลี่ยนแปลงผู้ปฏิบัติงานจะทําให้สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างต่อเนื่อง 7) ส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการดําเนินการ ความรู้ เกี่ยวกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และความรู้เกี่ยวกับการบริการธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อย่างสม่ําเสมอ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 8) ให้มีการจัดทําองค์ความรู้ของสหกรณ์หรือ คู่มือการปฏิบัติงานเพื่อความต่อเนื่องกรณีมีการเปลี่ยน เจ้าหน้าที่สหกรณ์คนใหม่ 9) ส่งเสริมการประกอบอาชีพอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากอาชีพหลักที่สมาชิก ทําอยู่เช่นอบรมอาชีพเสริมระยะสั้น ส่งเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อลดค่าใช้จ่ายฟุุมเฟือยและไม่จําเป็น สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขส าราญ จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด เกิดจากการรวมตัวกันของประชาชนในพื้นที่ ตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง ร่วมกันจัดตั้งขึ้นโดยจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 ธันวาคม 2564 มีสมาชิกสามัญจํานวน 198 คน ไม่มีสมาชิกสมทบ ดําเนินธุรกิจ 2 ประเภท คือ ธุรกิจสินเชื่อและธุรกิจเงินรับฝาก มีทุนดําเนินงานทั้งสิ้น 218,717.75 บาท ทุนเรือนหุ้นทั้งสิ้น จํานวน 890,920 บาท กําไรสุทธิ 3,438.33 บาท มีคณะกรรมการดําเนินการ จํานวน 11 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ จํานวน 2 คน ผลการดําเนินงานที่โดดเด่นของ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด คือเป็นแหล่งเงินทุนแก่สมาชิกสหกรณ์ ใช้ทุนภายในของ สหกรณ์ร้อยละ 100 ในการดําเนินงานโดยเงินทุนมาจากการถือหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิก รวมถึงได้รับ อุดหนุนจากรัฐบาล ในรอบปีที่ผ่านมาสหกรณ์ฯได้แก้ไข ปัญหาหนี้ค้างชําระร้อยละ 100 ของลูกหนี้เงินกู้ทั้งหมด ซึ่งเป็นลูกหนี้ค้างชําระนานเกิน 5 ปี โดยได้จัดโครงการ ช่วยเหลือบรรเทาปัญหาหนี้สินของสมาชิก เพื่อช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์ที่ประสบปัญหา ความเดือดร้อนขาดรายได้หรือมีรายได้ไม่เพียงพอกับการ ดํารงชีพ ขาดความสามารถในการชําระหนี้คืนสหกรณ์ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการ ในการแนะนํา ส่งเสริม และผลักดันให้สหกรณ์สามารถ ดําเนินงานได้ประสบความสําเร็จทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และชุมชน สามารถเป็นที่พึ่งให้กับสมาชิกได้อย่างยั่งยืน โดยอาศัยการบูรณาการทํางานร่วมกันของบุคลากรใน หน่วยงานทั้งกลุ่มงานวิชาการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริม สหกรณ์ ในส่วนของการผลักดันการดําเนินงานของสหกรณ์ ได้ดําเนินการแนะนําส่งเสริมผ่านที่ประชุมคณะดําเนินการ สหกรณ์ติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นประจําทุกเดือนจนทํา ให้สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระได้ร้อยละ 45 ของลูกหนี้ค้างชําระทั้งสิ้น ส่งผลให้สหกรณ์สามารถ ขับเคลื่อนธุรกิจต่อไปได้โดยมีผลกําไรและสามารถอํานวยประโยชน์แก่สมาชิกได้ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ ภาพ : สมาชิกเข้าร่วมโครงการช่วยเหลือบรรเทา ปัญหาหนี้สินของสมาชิก


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1) แนะนําส่งเสริมให้ความรู้แก่กรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้จัดทําบัญชีของสหกรณ์ ให้สามารถจัดทําบันทึกข้อมูลรายการทางการเงินที่เกิดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชี บันทึกรายการทางการเงินลงสมุดบันทึกรายการขั้นต้น การผ่านรายการบัญชีไปยังสมุดบันทึกรายการขั้นปลาย จัดทําบัญชีแยกประเภทและงบทดลอง และจัดทํางบการเงินให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันหลังจากสิ้นปีทางบัญชี ของสหกรณ์ ซึ่งกรรมการดําเนินการที่ได้รับมอบหมายให้จัดทําบัญชีสามารถจัดทําบัญชีได้เองโดยไม่ต้องขอ ความช่วยเหลือจากเจ้าที่สหกรณ์จังหวัด 2) คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัด วางแผนการติดตามหนี้อย่าง เป็นระบบ และติดตามการชําระหนี้อย่างเข้มงวด โดยคณะกรรมการ คณะกรรมการพบปะลูกหนี้ค้างนาน เพื่อรับรู้สภาพปัญหา ให้คําแนะนําแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง โดยกําหนดเงื่อนไขพิเศษในการชําระหนี้ สร้างแรงจูงใจให้สมาชิกมาชําระหนี้ โดยลูกหนี้มาชําระหนี้ตามเงื่อนไขพิเศษดังกล่าว ส่งผลให้จํานวนหนี้ค้าง ที่ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลดลง สหกรณ์มีทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานเพิ่มมากขึ้น 3) แนะนําส่งเสริมให้คณะกรรมการดําเนินการใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาให้เงินกู้แก่สมาชิก 4) จัดสรรผลกําไรจากการดําเนินงานเป็นเงินปันผลตามหุ้นให้แก่สมาชิก รวมทั้งเป็นทุนสวัสดิการ สมาชิกสหกรณ์ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้สมาชิกถือหุ้นเพิ่มและดําเนินธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ สร้างความเชื่อมั่นใน ระบบสหกรณ์ 5) ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการบริหารงานสหกรณ์ การดําเนินธุรกิจ และการติดตามผลการดําเนินงาน ของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยให้สหกรณ์จัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสาธารณะประโยชน์ ร่วมกันทํา กิจกรรมต่างๆ ในวันสําคัญ สําหรับสมาชิกที่ไม่สามารถชําระหนี้ได้ สหกรณ์แก้ไขปัญหาด้วยการเจรจา วิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขปัญหาตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ภาพ : การเข้าแนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์ และติดตามการดําเนินงาน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร อ าเภอกระบุรี ประกอบด้วย สหกรณ์6 แห่ง สมาชิก 13,566 คน ที่ สหกรณ์ จ านวน สมาชิก (คน) จ านวน สมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 10,984 334 2 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 880 - 3 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรีจํากัด 493 - 4 สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด 367 - 5 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 660 - 6 สหกรณ์กองทุนสวนยาง จ.ป.ร.3 จํากัด 175 - รวม 13,566 334 กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 774 คน ที่ กลุ่มเกษตรกร จ านวนสมาชิก (คน) 1 กลุ่มเกษตรกรทํานาปากจั่น 129 2 กลุ่มเกษตรกรทํานาน้ําจืดน้อยมะมุ 62 3 กลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุ 75 4 กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 104 5 กลุ่มเกษตรกรทําสวน จปร. 106 6 กลุ่มเกษตรกรทําสวนยาง สกย. บ้านฝุายคลองน้ําจืด 105 7 กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง 62 8 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี 131 รวม 774 ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในความรับผิดชอบของอําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง เป็นสหกรณ์ภาคการเกษตรร้อยละ 100 สหกรณ์ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจรับฝาก เงิน ส่วนกลุ่มเกษตรกรแบ่งเป็นกลุ่มเกษตรกรทําสวน ร้อยละ 70 กลุ่มเกษตรกรทํานา ร้อยละ 20 และ กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 10 กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงินธุรกิจจัดหา สินค้ามาจําหน่าย และธุรกิจรวบรวมผลผลิต ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่อําเภอกระบุรี ประกอบด้วย กาแฟ มังคุด ปาล์มน้ํามัน และยางพารา เป็นต้น กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 มีภารกิจและหน้าที่ในการแนะนํา ส่งเสริม และกํากับดูแลสหกรณ์ในความรับผิดชอบ โดยได้เข้าแนะนําส่งเสริม และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ตามแผนงานที่กําหนด โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ให้มีความ เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ และผลักดันการดําเนินงานของสหกรณ์ให้เกิดความมั่นคง และยั่งยืน โดยมีการจัดเตรียมข้อมูลของสหกรณ์ วิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ นําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดําเนินการ เมื่อพบปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้ในทันที จะนําประเด็นปัญหาเหล่านั้น ปรึกษาหารือกับจังหวัด เพื่อขอคําแนะนําที่ถูกต้องและชัดเจน เพื่อนําข้อเสนอแนะไปแจ้งให้สหกรณ์ทราบและถือปฏิบัติ เป็นการช่วย


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ลดปัญหาข้อบกพร่องหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ซึ่งผล การเข้าแนะนํา ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับความรู้ความเข้าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ทําให้เห็นความสําคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามข้อบังคับระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหารจัดการสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 5) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล้วเสร็จ และสามารถ จัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถ จัดประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 6) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว้ในที่ประชุมใหญ่ โดยมีการแนะนําและ ส่งเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 7) สหกรณ์มีการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการสนับสนุน จากภาครัฐ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์และคุ้มค่ากับงบประมาณ 8) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให้ครอบคลุมกับการดําเนินงานและสอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์บางแห่งประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดต่อกันหลายปี ทําให้สมาชิกขาดความเชื่อมั่นและ ไม่ศรัทธาในสหกรณ์ สมาชิกจึงไม่มาทําธุรกิจสหกรณ์ 2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจทําให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่มีความผันผวน มีการปรับราคาขึ้นลง สหกรณ์ไม่สามารถคาดเดาถึงสถานการณ์หรือแนวโน้มด้านราคาได้ 3) การรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร (กาแฟสาร) ของสมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพไม่ได้ ตามเกณฑ์ ไม่สามารถหาตลาดรองรับที่แน่นอน สหกรณ์ต้องสต๊อกสินค้ารอการจําหน่ายไว้เป็นเวลานาน ทําให้ส่งผลต่อ คุณภาพสินค้าและการขาดหายของน้ําหนักสินค้า 4) การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้ไม่สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านธุรกิจของสมาชิกได้ตรงตามความต้องการ 5) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งการจัดทําบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความพร้อมด้านบุคลากรและ ความรู้ความเข้าใจ เนื่องจากไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี มีเพียงมอบหมายกรรมการ ซึ่งไม่ได้มีความรู้ด้าน บัญชี จึงไม่สามารถจัดทํารายละเอียดและงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในกําหนดได้ 6) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งมุ่งเน้นช่วยเหลือสมาชิกในด้านการให้สินเชื่อ โดยมิได้คํานึงถึง ความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก อัตราสภาพคล่องทางการเงิน ไม่มีการวิเคราะห์ผลการดําเนินธุรกิจ ของสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์ขาดสภาพคล่องทางการเงิน รวมทั้งการกําหนดระเบียบไม่สอดคล้องกับธุรกิจ และไม่มีระบบการควบคุมภายในที่ดี 7) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่ง ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่กําหนดไว้


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 8) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขาดการมีส่วนร่วม คือ สมาชิกไม่เห็นคุณค่าของการร่วมทํากิจกรรม และการทําธุรกิจต่าง ๆ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และจํานวนสมาชิกที่เข้าประชุมใหญ่สามัญประจําปี ลดน้อยลง 9) สหกรณ์ไม่สามารถดําเนินงานได้ตามแผน ส่งผลให้สิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์การตลาด ไม่ได้ใช้งานได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ มีความเสี่ยงการเสื่อมสภาพและทรุดโทรม 10) ด้วยปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ส่งผลให้สมาชิกที่มีหนี้ค้างชําระ ไม่สามารถมาชําระหนี้ได้ตามกําหนด ทําให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตามหลักเกณฑ์ ทําให้เกิดเป็นค่าใช้จ่ายซึ่งส่งผลต่อการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีปัญหาขาดทุนสะสม จํานวน 4 แห่ง ดําเนินการ เชิงรุกในทุกธุรกิจของสหกรณ์ โดยมีการจัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเพื่อให้งานเป็นไป ตามแผน เพื่อเป็นการประเมินผลการดําเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจตามความต้องการของสมาชิก เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกโดยสํารวจความต้องการของสมาชิกในด้านต่าง ๆ และควรมีการ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อให้สมาชิกได้รับทราบข่าวสารและมาร่วมทําธุรกิจ และกิจกรรมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการระดมทุนภายในก่อนที่จะไปหาแหล่งเงินทุน ภายนอก โดยส่งเสริมการออมและการระดมหุ้นของสมาชิก 4) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของสหกรณ์จากงบทดลอง และงบการเงิน เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงาน และงบประมาณในการดําเนินธุรกิจ 5) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบ แผน-ผล ในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด 6) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้ค้างชําระ จํานวน 3 แห่ง ประกอบด้วย 6.1 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ลูกหนี้เงินกู้ยืมผิดนัด จํานวน 146 ราย 289 สัญญา จํานวนเงิน 10,836,652 บาท 6.2 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด ลูกหนี้เงินกู้ยืมผิดนัด จํานวน 193 ราย 235 สัญญา จํานวนเงิน 7,742,246.34 บาท 6.3 สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด ลูกหนี้เงินกู้ยืมผิดนัด จํานวน 258 สัญญา จํานวนเงิน 3,898,981.83บาท โดยให้คณะกรรมการดําเนินการมีการติดตามผลการชําระหนี้ของสมาชิกให้เป็นไปตามที่กําหนด และต่อเนื่อง มีการกําหนดมาตรการควบคุมและปูองกันการผิดนัดชําระหนี้ของสมาชิกเพื่อสร้างวินัยในการ ชําระหนี้ 7) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการพิจารณาถึงความสามารถในการชําระหนี้ของ สมาชิกเป็นสําคัญในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการ จัดชั้นลูกหนี้เพื่อสร้างแรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 8) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจตามหลักการตลาดนําการผลิต ติดต่อผู้รับ ซื้อผลผลิตโดยมีการจัดทําข้อตกลงสัญญาระหว่างกันอย่างชัดเจน จัดประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อให้ความรู้และ ข้อตกลงในเรื่องคุณภาพผลผลิต วิธีการรวบรวม การจําหน่ายที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่าง สมาชิกและสหกรณ์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๒๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 9) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปิดประมูลราคารับซื้อผลผลิตจากเอกชน ซึ่งเป็นวิธี ที่จะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดผลขาดทุนในธุรกิจรวบรวมผลผลิตอีกทางหนึ่ง 10) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการจัดทําแผนการใช้ประโยชน์สิ่งก่อสร้างและ อุปกรณ์การตลาด และควรดําเนินการไปตามแผน รวมถึงการจัดให้มีผู้ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณ์ เพื่อปูองกันการ เสื่อมสภาพ และชํารุดทรุดโทรม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์ได้จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตรเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2538 ปีบัญชีของ สหกรณ์ คือวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี สหกรณ์มีการดําเนินธุรกิจ 4 ด้าน คือ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้า มาจําหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิตและธุรกิจรับฝากเงิน ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์ผ่าน การประเมินมาตรฐานสหกรณ์ และเป็นสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้นที่ 1 สหกรณ์มีสมาชิก จํานวน 667 คน ทุนดําเนินงาน จํานวน 4,904,329.58 บาท กําไรสุทธิ จํานวน 3,613,883.50 บาท ซึ่งผลการ ดําเนินงานของสหกรณ์ในปีบัญชีล่าสุด สามารถนํากําไรสุทธิมาชดเชยผลขาดทุนสะสม จํานวน 2,372,805.71 บาท ได้จนหมด และคงเหลือกําไรสุทธิ จํานวน 1,241,077.77 บาท นําไปจัดสรรตาม ข้อบังคับ และจ่ายคืนในรูปของเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนให้กับสมาชิก ทําให้สมาชิกเกิดความเชื่อมั่นและ หันมาร่วมทําธุรกิจกับสหกรณ์ หลังจากสหกรณ์ประสบปัญหาขาดทุนสะสมมาหลายปี อีกทั้ง สหกรณ์ยัง ให้ความสําคัญกับสมาชิก ช่วยเหลือสมาชิกด้วยธุรกิจที่ครบวงจร คือ มีการดําเนินธุรกิจสินเชื่อ โดยให้สมาชิก กู้ยืมเงินไปใช้ในการประกอบอาชีพ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ดําเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่ายให้กับ สมาชิก ด้วยราคาต่ํากว่าท้องตลาด ธุรกิจรวบรวมผลผลิตแก้ปัญหาสมาชิกถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง ส่งเสริมให้สมาชิกเห็นความสําคัญของการออม โดยธุรกิจเงินรับฝากที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าสถาบันการเงิน ในท้องที่ นอกจากนี้สหกรณ์ยังมีการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเหลือสังคมอยู่เสมอ เช่น การ ทําบุญทอดผ้าปุาสามัคคี การทําบุญทอดกฐิน การสนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ต่าง ๆ ในท้องถิ่น เป็นต้น ผลกระทบจากสภาวะทางเศรษฐกิจส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ํา สหกรณ์มีการ สนับสนุนเงินทุนให้สมาชิกกู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ํา เพื่อให้สมาชิกกู้ยืมประกอบอาชีพ ทําให้มีรายได้เพิ่ม มีความกินดีอยู่ดี และสามารถส่งคืนชําระเงินกู้ได้ตามกําหนดสัญญา สหกรณ์มีบุคลากรที่มีศักยภาพและเพียงพอในการดําเนินกิจการมีการประชุมคณะกรรมการ ดําเนินการเพื่อติดตามผลการดําเนินกิจการเป็นประจําทุกเดือนสหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการ ดําเนินงานจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ และเพื่อให้สมาชิกกู้ยืม ไปประกอบอาชีพ จํานวน 5 โครงการ ประกอบด้วย 1. โครงการปกติ วัตถุประสงค์เพื่อจัดหาสินค้ามาจําหน่าย จํานวน 2,900,000 บาท 2. โครงการจัดหาและปรับปรุงแหล่งน้ําของสมาชิกสหกรณ์ วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม จํานวน 1,500,000 บาท 3. โครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม จํานวน 100,000 บาท


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมอาชีพในยุค New Normal วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม จํานวน 800,000 บาท 5. โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจสหกรณ์ประมงและปศุสัตว์วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิก กู้ยืม จํานวน 500,000 บาท ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง แนะนําและส่งเสริมให้สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด ดําเนินการ ดังนี้ 1) ให้คําแนะนํา ส่งเสริมเพื่อพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การสร้างการมีส่วนร่วมของ สมาชิก 2) ให้คําแนะนํา ส่งเสริม กํากับ ติดตามการดําเนินงานให้สหกรณ์ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและคําแนะนําที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการปูองกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องในการดําเนินงาน 3) ให้คําแนะนําส่งเสริมเกี่ยวกับอัตราส่วนทางการเงินในการดําเนินธุรกิจและการบริหาร เพื่อยกระดับ ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ 4) แนะนํา ส่งเสริม ทําความเข้าใจ และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการของสหกรณ์เรื่องการควบคุม ภายใน และเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์แก้ไขปัญหาขาดทุนสะสม โดยดําเนินการเชิงรุกในทุกธุรกิจของสหกรณ์ โดยมีการจัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเพื่อให้งานเป็นไปตามแผน เพื่อเป็นการประเมินผลการ ดําเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภาพ : กิจกรรมการแนะนํา ส่งเสริมและการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร อ าเภอละอุ่น ประกอบด้วย สหกรณ์ 1 แห่ง สมาชิก 165 คน ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวน สมาชิก (คน) จ านวน สมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางแก้ว จํากัด 165 - รวม 165 - กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง สมาชิก 156 คน ที่ ชื่อกลุ่มเกษตรกร จ านวนสมาชิก (คน) 1 กลุ่มเกษตรกรทําสวนบางแก้ว 94 2 กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง 62 รวม 156 ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในความรับผิดชอบของอําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง เป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร ร้อยละ 100 สหกรณ์ประกอบธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ส่วนกลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มเกษตรกรทําสวน ร้อยละ 100 กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจ รับฝากเงิน และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่อําเภอละอุ่น ประกอบด้วย มังคุด ทุเรียน ปาล์มน้ํามัน และยางพารา เป็นต้น กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 มีภารกิจและหน้าที่ในการแนะนํา ส่งเสริม และกํากับดูแลสหกรณ์ในความรับผิดชอบ โดยได้เข้าแนะนําส่งเสริม และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ตามแผนงานที่กําหนด โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ให้มีความ เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ และผลักดันการดําเนินงานของสหกรณ์ให้เกิดความมั่นคง และยั่งยืน โดยมีการจัดเตรียมข้อมูลของสหกรณ์ วิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ นําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดําเนินการ เมื่อพบปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้ในทันที จะนําประเด็นปัญหาเหล่านั้น ปรึกษาหารือกับจังหวัด เพื่อขอคําแนะนําที่ถูกต้องและชัดเจน เพื่อนําข้อเสนอแนะไปแจ้งให้สหกรณ์ทราบและถือปฏิบัติ เป็นการช่วย ลดปัญหาข้อบกพร่องหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งผล การเข้าแนะนํา ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับความรู้ความเข้าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ทําให้เห็นความสําคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามข้อบังคับระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหารจัดการสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 5) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล้วเสร็จและสามารถ จัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถจัดประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 6) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว้ในที่ประชุมใหญ่ โดยมีการแนะนําและ ส่งเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 7) สหกรณ์มีการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์และคุ้มค่ากับงบประมาณ 8) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให้ครอบคลุมกับการดําเนินงานและสอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์ประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดต่อกันหลายปี ทําให้สมาชิกขาดความเชื่อมั่นและไม่ศรัทธา ในสหกรณ์ สมาชิกจึงไม่มาทําธุรกิจสหกรณ์ 2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจทําให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่มีความผันผวน มีการปรับราคาขึ้นลง สหกรณ์ไม่สามารถคาดเดาถึงสถานการณ์หรือแนวโน้มด้านราคาได้ 3) การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้ไม่สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านธุรกิจของสมาชิกได้ตรงตามความต้องการ 4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งการจัดทําบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความพร้อมด้านบุคลากรและ ความรู้ความเข้าใจ เนื่องจากไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี มีเพียงมอบหมายกรรมการ ซึ่งไม่ได้มีความรู้ด้านบัญชี จึงไม่สามารถจัดทํารายละเอียดและงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในกําหนดได้ 5) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งมุ่งเน้นช่วยเหลือสมาชิกในด้านการให้สินเชื่อ โดยมิได้คํานึงถึง ความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก อัตราสภาพคล่องทางการเงิน ไม่มีการวิเคราะห์ผลการดําเนินธุรกิจ ของสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์ขาดสภาพคล่องทางการเงิน รวมทั้งการกําหนดระเบียบไม่สอดคล้องกับธุรกิจ และไม่มีระบบการควบคุมภายในที่ดี 6) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่ง ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่กําหนดไว้ 7) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขาดการมีส่วนร่วม คือ สมาชิกไม่เห็นคุณค่าของการร่วมทํากิจกรรม และการทําธุรกิจต่าง ๆ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และจํานวนสมาชิกที่เข้าประชุมใหญ่สามัญประจําปี ลดน้อยลง 8) ด้วยปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ส่งผลให้สมาชิกที่มีหนี้ค้างชําระ ไม่สามารถมาชําระหนี้ได้ตามกําหนด ทําให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตาม หลักเกณฑ์ ทําให้เกิดเป็นค่าใช้จ่ายซึ่งส่งผลต่อการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์มีปัญหาขาดทุนสะสม จํานวน 1 แห่ง ดําเนินการเชิงรุกในทุกธุรกิจของ สหกรณ์ โดยมีการจัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเพื่อให้งานเป็นไปตามแผน เพื่อเป็นการ ประเมินผลการดําเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจตามความต้องการของสมาชิก เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกโดยสํารวจความต้องการของสมาชิกในด้านต่าง ๆ และควรมีการ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อให้สมาชิกได้รับทราบข่าวสารและมาร่วมทําธุรกิจ และกิจกรรมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการระดมทุนภายในก่อนที่จะไปหาแหล่งเงินทุน ภายนอก โดยส่งเสริมการออมและการระดมหุ้นของสมาชิก


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของสหกรณ์จากงบทดลอง และงบการเงิน เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงาน และงบประมาณในการดําเนินธุรกิจ 5) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควบคุมค่าใช้จ่ายโดยการเปรียบเทียบ แผน-ผลในการ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด 6) แนะนํา ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรที่มีปัญหาหนี้ค้างชําระ จํานวน 1 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรทําสวน บางแก้ว ลูกหนี้เงินกู้ยืมผิดนัด จํานวน 84 ราย จํานวนเงิน 1,132,308.27 บาท โดยให้คณะกรรมการ ดําเนินการมีการติดตามผลการชําระหนี้ของสมาชิกให้เป็นไปตามที่กําหนดและต่อเนื่อง มีการกําหนดมาตรการ ควบคุมและปูองกันการผิดนัดชําระหนี้ของสมาชิกเพื่อสร้างวินัยในการชําระหนี้ 7) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรพิจารณาถึงความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกเป็น สําคัญในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการจัดชั้น ลูกหนี้เพื่อสร้างแรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 8) ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจตามหลักการตลาดนําการผลิต ติดต่อผู้รับซื้อผลผลิต โดยมีการจัดทําข้อตกลงสัญญาระหว่างกันอย่างชัดเจน จัดประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อให้ความรู้และข้อตกลงใน เรื่องคุณภาพผลผลิต วิธีการรวบรวม การจําหน่ายที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างสมาชิกและ สหกรณ์ 9) แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปิดประมูลราคารับซื้อผลผลิตจากเอกชน เป็นวิธีที่จะ ช่วยลดความเสี่ยงการเกิด ผลขาดทุนในธุรกิจรวบรวมผลผลิตอีกทางหนึ่ง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุ่มเกษตรกรท าสวนมังคุดบ้านในวง ผลงาน/ความส าเร็จ กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง จัดตั้งเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 ปีบัญชีของ กลุ่มเกษตรกร คือวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี กลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจ 2 ด้าน คือ ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมิน มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร และเป็นกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้นที่ 2 กลุ่มเกษตรกรมีสมาชิก จํานวน 62 คน ทุนดําเนินงาน จํานวน 75,378.80 บาท กําไรสุทธิ จํานวน 12,034.55 บาท กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มเกษตรกรที่เพิ่งจัดตั้งแต่สามารถดําเนินธุรกิจต่างๆ เพื่อรองรับความต้องการและ ช่วยเหลือสมาชิกให้มีรายได้จากการขายผลผลิตที่ราคาสูงขึ้น ได้ใช้ปัจจัยการผลิตในราคาที่ต่ํากว่าท้องตลาด กลุ่มเกษตรกรมีแผนพัฒนาธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร โดยการรวบรวมทุเรียน และมังคุดซึ่งเป็น ผลผลิตหลักของสมาชิกโดยการเปิดจุดรับซื้อเพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่สมาชิกยิ่งขึ้น กลุ่มเกษตรกรมีการประชุมคณะกรรมการร่วมกับสมาชิกเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการจาก สมาชิก ทําให้สมาชิกมีความพึงพอใจจากการเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร โดยกลุ่มเกษตรกรได้กู้เงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จํานวน 600,000 บาท เป็นเงินทุนหลักในการ ดําเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มเกษตรกรได้ใช้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และสามารถส่งชําระ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ตามกําหนดสัญญา


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง แนะนําและส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง ดําเนินการ ดังนี้ 1) แนะนํา ส่งเสริม ทําความเข้าใจ และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการของกลุ่มเกษตรกร เรื่องการ ควบคุมภายใน และเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 2) ให้คําแนะนําส่งเสริมเพื่อพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร โดยหาแนวทางในการเพิ่มปริมาณธุรกิจ 3) ให้คําแนะนํา ส่งเสริม กํากับ ติดตามการดําเนินงานให้กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและคําแนะนําที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการปูองกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องในการดําเนินงาน 4) ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรมีการประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการจากสมาชิก เพื่อการพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร การติดต่อด้านธุรกิจกับเครือข่ายสหกรณ์ภายในจังหวัดเพื่อให้สมาชิกได้ ใช้ปัจจัยการผลิตมีคุณภาพและราคาถูก ภาพ : กิจกรรมการแนะนํา ส่งเสริม และการดําเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อวัดความเป็นสถาบันสหกรณ์ องค์กรสมาชิก 2) ประเมินศักยภาพในการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลจากการจัดระดับมาตรฐาน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สะท้อนให้เห็นว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร มีศักยภาพที่จะ อํานวยบริการประโยชน์แก่สมาชิก ซึ่งเป็นเจ้าของได้ดีเพียงใด มีความสามารถในการบริหารจัดการมากน้อย เพียงใด 3) แบ่งระดับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการจัดระดับมาตรฐานเป็นข้อมูล เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการแบ่งระดับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อการส่งเสริมและ พัฒนา ให้เหมาะสมกับสภาพข้อเท็จจริงและสอดคล้องกับความต้องการของสหกรณ์ และเพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งก้าวหน้าแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต่อไป 1.2 เป้าหมาย 1) สหกรณ์ที่นํามาจัดมาตรฐาน จํานวน 23 แห่ง 2) กลุ่มเกษตรกรที่นํามาจัดมาตรฐาน จํานวน 16 แห่ง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอเมือง อําเภอกะเปอร์ อําเภอสุขสําราญ อําเภอกระบุรี อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อกําหนดแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สู่เกณฑ์มาตรฐาน 2) กํากับ แนะนํา ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการรักษามาตรฐานและผลักดัน ให้ผ่านมาตรฐาน 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จํานวน 10 แห่ง 2) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ฐาน จํานวน 14 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ การรักษามาตรฐานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในภาพรวม ยังคงรักษามาตรฐานได้ตามเกณฑ์ ที่กรมฯ กําหนด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานส่วนใหญ่ประสบปัญหาภาวะขาดทุน ปิดบัญชี ไม่ได้ ไม่มีการจัดสรรกําไรสุทธิ แนวทางแก้ไข ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์มาตรฐานทุกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อใช้ในการแนะนําส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การเข้าแนะนํา ส่งเสริม ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กําหนด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เกิดการพัฒนาและยกระดับมาตรฐาน การดําเนินงาน การบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงที่ยั่งยืน และมีความพร้อมเข้ารับการเสนอชื่อ สามารถเข้าประกวดเป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับชาติ 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ หมวดที่ 4 ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ และมีระดับเสถียรภาพทางการเงิน ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป 3 ปีย้อนหลัง ได้แก่ 1) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จํานวน 2 แห่ง (1) สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด (2) สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ําเกาะพยาม จํากัด 2) สหกรณ์ภาคการเกษตร จํานวน 2 แห่ง (1) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด (2) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 3) กลุ่มเกษตรกร จํานวน 2 แห่ง (1) กลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุ (2) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอเมือง และอําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) ทบทวนคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ระดับจังหวัด 2) ร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเปูาหมาย เพื่อแนะนําส่งเสริม และเสนอเข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด 3) ร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเบื้องต้น โดยใช้ หลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น เพื่อให้ทราบคะแนนในหมวดที่ 1 – 5 นํามา ประกอบการวิเคราะห์ว่าข้อมูลหมวดใดบ้างที่ไม่สมบูรณ์และยังต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติม หรือยังไม่ได้ดําเนินการ เมื่อทราบข้อมูลที่ชัดเจนแล้ว จึงร่วมกับสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์พัฒนาและปรับปรุงการ ดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด 4) ส่งเสริม แนะนําสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อพัฒนาสู่ดีเด่นและส่งเข้าประกวดคัดเลือกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรดีเด่น 4) ติดตามและประเมินผลการเข้าแนะนําส่งเสริม 5) จัดประชุมคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรดีเด่น ระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรส่งเข้าประกวดคัดเลือกระดับภาคและระดับชาติต่อไป


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์มีผลการให้คะแนนผ่านเกณฑ์ตามที่กําหนด และยื่นแบบแสดงความจํานงเข้ารับการ คัดเลือกสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด ประจําปีพ.ศ. 2565/2566 จํานวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์ออม ทรัพย์ครูระนอง จํากัด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาจากสมาชิก รวมทั้งเป็นแบบอย่างในการส่งเสริมพัฒนาตามแนว ทางการสหกรณ์และยังเป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ในพื้นที่ให้กับสหกรณ์อื่น 2) บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น เกิดความภาคภูมิใจ ที่ได้รับการยกย่องประกาศเกียรติคุณและเผยแพร่ ผลงานดีเด่น ตลอดจนสาธารณชนทั่วไป ได้รู้จักและยึดถือเป็นแบบอย่างแนวทางการปฏิบัติงาน เกิดความศรัทธา ทําให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีความเข้มแข็งมากขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) เนื่องจากสหกรณ์ไม่ประสงค์ส่งเข้าประกวด เพราะมีความยุ่งยากในการจัดทํารูปเล่ม แนวทางแก้ไข 1) แนะนําให้สหกรณ์มอบหมายเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบการจัดทําเอกสารโดยเฉพาะและมีการ ประสานงานแผนกต่าง ๆ ในการจัดหาหรือจัดทําข้อมูล เช่น ข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ รูปภาพกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหลัก 2) ทําความเข้าใจกับสหกรณ์ว่าการจัดทํารูปเล่มจะเกิดประโยชน์ต่อสหกรณ์เอง เพราะเป็นการ รวบรวมข้อมูลของสหกรณ์ทั้งหมด อาจจะยุ่งยากในปีแรกที่จะต้องรวบรวม แต่จะเป็นฐานข้อมูลในปีถัด ๆ ไป และสหกรณ์สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ในการส่งเสริมพัฒนาต่อยอดหรือการประชาสัมพันธ์ งานของสหกรณ์ได้ด้วย 3) เข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์ตามแผนปฏิบัติงานที่กําหนดไว้ โดยเข้าแนะนํา ติดตาม สหกรณ์ให้เก็บ รวบรวมข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วนมากที่สุด โดยเฉพาะในประเด็นที่ยังขาดอยู่ 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การแนะนําและประสานงานการจัดทํารูปเล่มรายงานสหกรณ์ดีเด่น ระดับภาค ประจําปี 2565/2566


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๓๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : การประชุมคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่น ประจําปี 2565/2566


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1 2 3 4 1 2 3 4 1 สกก.ศภุนิมิตกระบรุีจก. 31-ธ.ค. 1 4 2 3 4 2 4 (75.05) 0 3 4 ไม่ผา่น ตกรักษา ชั้น 1 2 สกย.คอคอดกระ จก. 31-ม.ีค. 1 4 2 3 4 1 4 (82.31) 3 3 4 ผา่น รักษา 3 สกย.จ.ป.ร.3 จก. 31-ม.ีค. 2 0 2 0 4 2 0 (33.71) 2 0 4 ผา่น รักษา 4 สกก.กระบรุีจก. (ยก 2 > 1) 31-ม.ีค. 2 4 1 3 4 2 4 (76.36) 0 3 4 ไม่ผา่น ยกจาก 2 สู่ 1 ไม่ได้ 5 สกก.ฯปฏิรูปทดี่นิปา่น ้าขาว จก. 31-ม.ีค. 2 4 1 2 4 2 4 (77.38) 1 2 4 ผา่น รักษา 6 สกต.ธ.ก.ส.ระนอง จก. 31-ม.ีค. 2 0 1 3 4 2 2 (61.94) 1 3 4 ผา่น รักษา 7 สกก.เมืองระนอง จก. 31-ม.ีค. 2 0 2 0 4 2 0 (22.66) 2 0 4 ผา่น รักษา 8 สกก.สขุสา้ราญ จก. 31-ม.ีค. 2 4 0 3 4 2 0 (53.85) 1 3 4 ผา่น รักษา 9 สก.ชาวสวนกาแฟกะเปอร์จก. 30-เม.ย. 2 4 2 2 4 2 4 (79.34) 2 2 4 ผา่น รักษา 10 สกก.ปาลม์น ้ามันกะเปอร์จก. 31-ม.ีค. 3 0 0 1 4 3 0 (26.54) 0 1 4 11 สกย.บ้านบางแก้ว จก. (ยก 3 > 2) 31-ม.ีค. 3 0 0 0 4 3 0 (27.88) 0 0 4 ไม่ผา่น ยกจาก 3 สู่ 2 ไม่ได้ มีสว่นร่วม อตัราสว่น ทาง การเงิน ควบคมุ ภายใน ข้อ บกพร่อง สหกรณ์ ปบีญัชี มีสว่นร่วม อตัราสว่น ทาง การเงิน ควบคมุ ภายใน ข้อ บกพร่อง การยกระดบัชั น 2564 ผลยกชั น 2564 การยกระดบัชั น 2565 ผลยกชั น หมายเหตุ 2565 โครงการการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์23 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 16 แห่ง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ตามเกณฑ์การยกระดับชั้นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของกรมส่งเสริม สหกรณ์ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมีส่วนร่วม) 2) ประสิทธิภาพในการดําเนิน ธุรกิจ (อัตราส่วนทางการเงิน) 3) ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) และ 4) ประสิทธิภาพ ของการบริหารงาน (ข้อบกพร่อง) โดยจังหวัดระนองมีสหกรณ์ที่มีสถานะดําเนินการ จํานวน 23 สหกรณ์ แบ่งเป็น สหกรณ์ภาคการเกษตร 11 แห่ง สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จํานวน 12 แห่ง และมีกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะ ดําเนินการ จํานวน 16 แห่ง จากผลการดําเนินการเข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์เพื่อรักษาระดับชั้น 1 และ ยกระดับชั้นความเข้มแข็ง ชั้น 2 และชั้น 3 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1 การวางแผน (Plan) 2 การลงมือทํา (Do) 3 การตรวจสอบงาน (Check) และ 4 การปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้น (Act) ทําให้ไม่มีการทุจริตเกิดขึ้นในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และมีผลการ ดําเนินงานยกระดับชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร จ านวน 11 สหกรณ์ จากผลการประเมินสหกรณ์ภาคการเกษตร ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 มีสหกรณ์ภาคการเกษตร ชั้น 1 จํานวน 2 สหกรณ์ ชั้น 2 จํานวน 7 สหกรณ์ และชั้น 3 จํานวน 2 สหกรณ์ ผลการดําเนินการ เข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 สามารถรักษาสหกรณ์ชั้น 1 ได้ จํานวน 1 สหกรณ์ คือสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด สหกรณ์ไม่สามารถรักษาระดับ ชั้น 1 ได้ จํานวน 1 สหกรณ์ คือสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด รักษาสหกรณ์ ชั้น 2 ได้จํานวน 7 สหกรณ์และมีสหกรณ์ชั้น 3 จํานวน 2 สหกรณ์


Click to View FlipBook Version