รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สหกรณ์ที่ไม่สามารถรักษาระดับ ชั้น 1 ได้ จํานวน 1 สหกรณ์ คือสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิต กระบุรี จํากัด ตกเกณฑ์อัตราส่วนทางการเงิน เนื่องจากผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ส่งผลต่อการ ดําเนินธุรกิจของสหกรณ์1) ด้านธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย สมาชิกมีรายได้ลดลงทําให้การซื้อสินค้าอุปโภค บริโภคลดลง ผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกในปีปัจจุบันลดลงจากปีก่อนทําให้ปริมาณการซื้อปุยเพื่อบํารุง ต้นลดลง สมาชิกสหกรณ์ที่เลี้ยงสุกรได้รับผลกระทบจากโรคระบาด ไม่มีหมูแม่พันธุ์และลูกหมู อาหารสัตว์ ขายได้น้อยลง 2) ด้านธุรกิจสินเชื่อ ความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกลดลง และ 3) ด้านธุรกิจรวบรวม ผลผลิตกาแฟ แม้ว่าในปีปัจจุบันราคาเฉลี่ยกาแฟจะสูงกว่าปีที่ผ่านมา แต่ปริมาณผลผลิตกาแฟที่ลดลงกว่าปี ก่อนทําให้รายได้/ผลกําไรจากการดําเนินธุรกิจต่ํากว่าแผนที่กําหนดไว้ มีการส่งเสริม “เครือข่ายสหกรณ์ภาคการเกษตรจังหวัดระนอง” เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนอง ด้านการดําเนินธุรกิจ การซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยน สินค้าระหว่างกันการรวบรวมผลผลิตปาล์มน้ํามัน ยางพารา ผลไม้ และการสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร ผ่านการประชุมคณะกรรมการดําเนินการ การประชุมสัมมนาต่าง ๆ และกลุ่มไลน์ของเครือข่ายสหกรณ์ 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จ านวน 12 สหกรณ์ จากผลการประเมินสหกรณ์นอกภาคการเกษตร ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 มีสหกรณ์นอกภาค การเกษตรชั้น 1 จํานวน 9 สหกรณ์ ชั้น 2 จํานวน 2 สหกรณ์ และชั้น 3 จํานวน 1 สหกรณ์ ผลการดําเนินการ เข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 สามารถรักษาสหกรณ์ชั้น 1 ได้ จํานวน 6 สหกรณ์ ไม่สามารถรักษาระดับ ชั้น 1 ได้ จํานวน 3 สหกรณ์ รักษาสหกรณ์ ชั้น 2 ได้จํานวน 1 สหกรณ์ยกระดับจากชั้น 3 สู่ 2 ได้ จํานวน 1 สหกรณ์และมีสหกรณ์สถานะ “เลิกสหกรณ์” 1 แห่ง (ชั้น 4) คือ สหกรณ์บริการเดินเรือหมู่เกาะ อันดามัน จํากัด สหกรณ์ที่ไม่สามารถรักษาระดับ ชั้น 1 ได้ จํานวน 3 สหกรณ์ คือสหกรณ์รถยนต์โดยสารระนอง จํากัด สหกรณ์บริการผู้ใช้น้ําเกาะพยาม จํากัด และร้านสหกรณ์โรงพยาบาลระนอง จํากัด ตกเกณฑ์อัตราส่วน ทางการเงิน เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 รวมถึง ค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้น ทําให้รายได้ลดลง ความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์จึงลดลงด้วย ทั้งนี้ ในด้านการแนะนําส่งเสริมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ได้แนะนําให้สมาชิกสหกรณ์หาอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ในระหว่างสถานการณ์ดังกล่าว และแนะนําเงินกู้ดอกเบี้ยต่ําโครงการพิเศษต่าง ๆ จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และสมาชิกอีกทางหนึ่ง 1 2 3 4 1 2 3 4 1 สอ. ร.25 พัน.2 จก. 30-ก.ย. 1 4 3 4 4 1 4 (100) 3 4 4 ผา่น รักษา 2 สอ.ครูระนอง จก. 30-ก.ย. 1 4 3 4 4 1 4 (100) 3 4 4 ผา่น รักษา 3 สอ.ตา้รวจภูธรจงัหวัดฯ จก. 30-ก.ย. 1 4 3 4 4 1 4 (95.54) 3 4 4 ผา่น รักษา 4 สอ.พนักงานราชการฯ จก. 30-ก.ย. 1 4 3 3 4 1 4 (100) 3 3 4 ผา่น รักษา 5 สอ.โรงพยาบาลระนอง จก. 30-ก.ย. 1 4 3 4 4 1 4 (100) 3 4 4 ผา่น รักษา 6 สอ.สาธารณสขุระนอง จก. 30-ม.ิย. 1 4 3 4 4 1 4 (100) 3 4 4 ผา่น รักษา 7 สบ.ผใู้ช้น ้าเกาะพยาม จก. 31-ธ.ค. 1 4 4 3 4 2 4 (100) 0 3 4 ไม่ผา่น ตกรักษา ชั้น 1 8 สก.รถยนตโ์ดยสารระนอง จก. 31-ธ.ค. 1 4 2 3 4 2 4 (100) 1 3 4 ไม่ผา่น ตกรักษา ชั้น 1 9 ร้านสหกรณ์โรงพยาบาลฯ จก. 31-ธ.ค. 1 4 2 3 4 2 4 (83.90) 1 3 4 ไม่ผา่น ตกรักษา ชั้น 1 10 สค.ทองหลางร่วมใจพัฒนา จก. 31-ธ.ค. 2 4 3 2 4 2 4 (92.86) 4 1 4 ผา่น รักษา 11 สค.อามานะหส์ขุสา้ราญ จก. 31-ธ.ค. 3 0 0 1 2 2 4 (70.71) 2 0 2 ผา่น ยกจาก 3 สู่ 2 ได้ 12 สบ.เดนิเรือหมู่เกาะอนัดามัน จก. 31-ธ.ค. 2 4 3 0 4 4 0 (0.00) 0 0 4 หมายเหตุ การยกระดบัชั น 2564 การยกระดบัชั น 2565 เลกิสหกรณ์ ผลยกชั น 2564 ผลยกชั น 2565 มีสว่นร่วม อตัราสว่น ทาง การเงิน ควบคมุ ภายใน ข้อ บกพร่อง มีสว่นร่วม อตัราสว่น ทาง การเงิน ควบคมุ ภายใน ข้อ บกพร่อง สหกรณ์ ปบีญัชี
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1 2 3 4 1 2 3 4 1 กลมุ่เกษตรกรทา้ ประมงปากน ้า 30-ก.ย. 1 4 2 3 4 2 4 (71.72) 1 3 4 ไม่ผา่น รกัษาชั้น 1 ไม่ได้ 2 กลมุ่เกษตรกรทา้นาน ้าจดืน้อยมะมุ 31-ธ.ค. 2 0 2 1 4 2 0 (41.94) 2 2 4 ผา่น รักษา 3 กลมุ่เกษตรกรทา้นาปากจนั่ 31-ธ.ค. 2 4 3 1 4 2 4 (81.40) 2 1 4 ผา่น รักษา 4 กลมุ่เกษตรกรทา้สวนเกาะช้าง 31-ธ.ค. 2 4 3 0 4 2 4 (80.30) 3 0 4 ผา่น รักษา 5 ก.ทา้สวนเกาะพยาม (ยก 2 > 1) 31-ธ.ค. 2 4 1 2 4 2 2 (66.67) 1 2 4 ไม่ผา่น ยกจาก 2 สู่ 1 ไม่ได้ 6 ก.ทา้สวนปากจนั่ (ยก 2 > 1) 31-ธ.ค. 2 0 3 2 4 2 4 (87.50) 4 0 4 ไม่ผา่น ยกจาก 2 สู่ 1 ไม่ได้ 7 กลมุ่เกษตรกรทา้สวนมะมุ 31-ธ.ค. 2 4 2 0 4 2 4 (94.67) 3 0 4 ผา่น รักษา 8 ก.ทา้สวนมังคดุบา้นในวง 31-ธ.ค. 2 0 4 0 4 2 0 (25.81) 2 0 4 ผา่น รักษา 9 ก.ทา้สวนนาคา (ยก 2 > 1) 31-ม.ีค. 2 0 3 1 4 2 0 (40.58) 4 1 4 ไม่ผา่น ยกจาก 2 สู่ 1 ไม่ได้ 10 ก.ทา้สวนบางแกว้ (ยก 2 > 1) 31-ม.ีค. 2 4 2 1 4 2 4 (94.68) 2 1 4 ไม่ผา่น ยกจาก 2 สู่ 1 ไม่ได้ 11 ก.ทา้สวนผสมบา้นในกรัง 31-ม.ีค. 2 4 3 2 4 2 4 (75.81) 3 2 4 ผา่น รักษา 12 ก.ท้าสวนยาง สกย.บ้านฝา่ยคลองน ้าจืด 31-ม.ีค. 2 4 0 3 4 2 4 (84.76) 0 2 4 ผา่น รักษา 13 กลมุ่เกษตรกรผเู้ลยี งโคเนอื กระบรุี 31-ธ.ค. 2 4 0 1 4 2 4 (91.60) 1 1 4 ผา่น รักษา 14 กลมุ่เกษตรกรทา้สวนปากน ้า 30-เม.ย. 2 0 1 2 4 2 0 (51.09) 1 2 4 ผา่น รักษา 15 กลมุ่เกษตรกรเลยี งสตัว์ทรายแดง 30-เม.ย. 2 4 0 1 4 2 4 (92.40) 0 1 4 ผา่น รักษา 16 กลมุ่เกษตรกรทา้สวน จปร. 31-ม.ีค. 3 0 0 0 4 3 0 (0) 0 0 4 กลมุ่เกษตรกร ปบีญัชี การยกระดบัชั น 2564 การยกระดบัชั น 2565 ผลยกชั น หมายเหตุ 2564 ผลยกชั น 2565 มีสว่นร่วม อตัราสว่น ทาง การเงิน ควบคมุ ภายใน ข้อ บกพร่อง มีสว่นร่วม อตัราสว่น ทาง การเงิน ควบคมุ ภายใน ข้อ บกพร่อง มีการส่งเสริม “เครือข่ายสหกรณ์ออมทรัพย์จังหวัดระนอง” เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ นอกภาคการเกษตรในจังหวัดระนองด้านเงินทุนและข้อมูลข่าวสาร และการสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสารผ่านการ ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ การประชุมสัมมนาต่าง ๆ และกลุ่มไลน์ของเครือข่ายสหกรณ์ 3) กลุ่มเกษตรกร จ านวน 16 กลุ่ม จากผลการประเมินกลุ่มเกษตรกร ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 มีกลุ่มเกษตรกรชั้น 1 จํานวน 1 กลุ่ม ชั้น 2 จํานวน 14 กลุ่ม และชั้น 3 จํานวน 1 กลุ่ม ผลการดําเนินการเข้าแนะนําส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 กลุ่มเกษตรกรไม่สามารถรักษาชั้น 1 ได้ จํานวน 1 กลุ่ม รักษากลุ่มเกษตรกร ชั้น 2 ได้จํานวน 14 กลุ่ม และมีกลุ่มเกษตรกรชั้น 3 จํานวน 1 กลุ่ม กลุ่มเกษตรกรที่ไม่สามารถรักษาระดับ ชั้น 1 ได้ จํานวน 1 กลุ่ม คือ กลุ่มเกษตรกรทําประมงปากน้ํา ตกเกณฑ์อัตราส่วนทางการเงิน เนื่องจากในปีบัญชี 30 กันยายน 2564 กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจมีผลขาดทุน กลุ่มเกษตรกรดําเนินธุรกิจจัดหาน้ํามันเชื้อเพลิงมาจําหน่ายเพียงธุรกิจเดียว และมีค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานสูง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผลการดําเนินการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนา จํานวน 39 แห่ง จากผลการประเมิน ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 ดังนี้ สหกรณ์(จํานวน 27 สหกรณ์มีสถานะ “ดําเนินการ” 22 สหกรณ์ และสถานะ “เลิก” 5 สหกรณ์) - สหกรณ์ชั้น 1 จํานวน 7 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 25.92 - สหกรณ์ ชั้น 2 จํานวน 13 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 48.15 - สหกรณ์ ชั้น 3 จํานวน 2 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 7.41 - สหกรณ์ ชั้น 4 จํานวน 5 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 18.52 กลุ่มเกษตรกร (จํานวน 17 กลุ่ม มีสถานะ “ดําเนินการ” 16 กลุ่ม และสถานะ “เลิก” 1 กลุ่ม) - กลุ่มเกษตรกร ชั้น 1 จํานวน - กลุ่ม - กลุ่มเกษตรกร ชั้น 2 จํานวน 15 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 88.24
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร - กลุ่มเกษตรกร ชั้น 3 จํานวน 1 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 5.88 - กลุ่มเกษตรกร ชั้น 4 จํานวน 1 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 5.88 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองดําเนินการขับเคลื่อนการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความ เข้มแข็ง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก การบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล กํากับดูแลอย่างใกล้ชิดทําให้ไม่มี การทุจริตเกิดขึ้นในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ยต่ําจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์และ เงินทุนปลอดดอกเบี้ยจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองผ่านช่องทางต่าง ๆ และเครือข่ายสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นและมั่นคง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความ เข้มแข็งเป็นที่พึ่งของสมาชิกได้โดยการลดต้นทุนการผลิต สร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยวิธีการสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดําเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทําให้ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจลดลง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กไม่มีฝุายจัดการ เนื่องจากขาดความพร้อมด้านทุนดําเนินงาน แนวทางแก้ไข 1) แนะนําส่งเสริมอาชีพเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มรายได้และแนะนําเงินกู้ ดอกเบี้ยต่ําโครงการพิเศษต่าง ๆ จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ และเงินทุนปลอดดอกเบี้ยจากกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกอีกทางหนึ่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมอบหมายคณะกรรมการทําหน้าที่ต่าง ๆ และได้รับความช่วยเหลือจาก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ 1. กิจกรรม : ส่งเสริมและพัฒนายกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคเกษตร/กลุ่มเกษตรกร ผ่านการประชุมคณะกรรมการด าเนินการ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี การประชุมเครือข่าย
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กิจกรรม : ส่งเสริมพัฒนายกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคเกษตร/กลุ่มเกษตรกร จากระดับชั้น 2 สู่ชั้น 1 1) สหกรณ์การเกษตรกรกระบุรี จ ากัด ครั้งที่ 1 วันที่ 20 พฤษภาคม 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 9 มิถุนายน 2565 2) กลุ่มเกษตรกรท าสวนผสมบ้านในกรัง ครั้งที่ 1 วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 28 มิถุนายน 2565
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. กิจกรรม : ส่งเสริมพัฒนายกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคเกษตร/กลุ่มเกษตรกร จากระดับชั้น 3 สู่ชั้น 2 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางแก้ว จ ากัด ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 14 มิถุนายน 2565 ครั้งที่ 3 วันที่ 26 กรกฎาคม 2565
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. กิจกรรม : การเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนงานโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร งานก ากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อรักษาสถานะภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ไม่มีข้อบกพร่อง 2) เพื่อผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่องให้ได้รับการแก้ไขให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ 1.2 เป้าหมาย สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 มีสหกรณ์ที่ดําเนินงาน จํานวน 23 แห่ง และมีกลุ่มเกษตรกร จํานวน 16 แห่ง ซึ่งมีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่องที่นายทะเบียน สหกรณ์สั่งการให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง และมีการรายงานในระบบการจัดการ ข้อบกพร่องของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จํานวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน 1) รักษาสถานะภาพสหกรณ์ จํานวน 23 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 16 แห่ง ไม่ให้มี ข้อบกพร่อง 2) ผลักดันสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด ให้ได้รับการแก้ไขข้อบกพร่อง ให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองได้เข้ากํากับ ดูแล สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่ให้เกิดข้อบกพร่อง ขึ้นใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และเข้าติดตามผลักดัน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องที่ นายทะเบียนสหกรณ์สั่งการให้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง และมีการรายงานในระบบ การจัดการข้อบกพร่องของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จํานวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์ สุขสําราญ จํากัด ซึ่งเป็นสหกรณ์ที่ได้รับการแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จแต่ยังคงต้องติดตาม เพื่อให้สหกรณ์ สามารถแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จสมบูรณ์ต่อไป 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สามารถรักษาสถานะภาพสหกรณ์ จํานวน 23 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 16 แห่ง ไม่ให้มี ข้อบกพร่องเกิดขึ้นใหม่ 2) สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จแต่ยังคงต้องติดตาม จํานวน ๑ สหกรณ์ คือ สหกรณ์เครดิตยู เนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด ได้รับการชําระหนี้ตามเงื่อนไข ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สามารถรักษาสถานะภาพของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่ให้มีข้อบกพร่องเกิดขึ้นใหม่ และสามารถดําเนินการติดตามผลักดัน การแก้ไขข้อบกพร่องที่แล้วเสร็จแต่ยังคงต้องติดตาม ให้เป็นไปตามแนวทางที่กําหนด เพื่อให้สหกรณ์สามารถ แก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จสมบูรณ์ต่อไป 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข – ไม่มี
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง เข้าติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๔๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร การตรวจการสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการกํากับดูแลสหกรณ์ให้ดําเนินการเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และเพื่อปูองกันการเกิดข้อบกพร่อง ข้อสังเกต ข้อร้องเรียน หรือปัญหาต่างๆ ในการดําเนินงานของสหกรณ์ 1.2 เป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานพื้นฐานด้าน การสร้างความสามารถในการแข่งขัน กิจกรรมกํากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ กิจกรรมการ ตรวจการสหกรณ์โดยนําผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง รายงานของผู้สอบบัญชี รายงานข้อสังเกตผู้สอบบัญชี ข้อมูลการวิเคราะห์สหกรณ์จากนักการเงินประจําจังหวัด มาเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกเปูาหมายที่จะเข้าตรวจ การสหกรณ์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดังนี้ ๑. ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ทั้งหมด (โดยตรวจประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์และเครดิตยูเนี่ยนก่อน ถ้าจํานวนสหกรณ์ไม่ครบเปูาหมาย ร้อยละ 25 จึงตรวจสหกรณ์ประเภทอื่นตามลําดับ) ได้แก่ ๑.๑ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด ๑.2 สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จํากัด 1.๓ สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนอง จํากัด ๑.๔ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขระนอง จํากัด 1.5 สหกรณ์ออมทรัพย์ ร.25 พัน 2 จํากัด 1.6 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด ๒. ตรวจสอบสหกรณ์ตามคําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ ๑๕ ของสหกรณ์ทั้งหมด ได้แก่ ๒.๑ สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด ๒.๒ สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด ๒.๓ สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ๒.๔ สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์ จํากัด 2.5 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 2.6 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน การตรวจการสหกรณ์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ได้ดําเนินการเข้าตรวจการสหกรณ์ จํานวน 12 สหกรณ์โดยเข้าตรวจสอบครบทุกประเด็นตามรายการ ที่กําหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ดังนี้
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : วันที่ ๒0 พฤษภาคม ๒๕๖5 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ทีมที่ 2 เข้าตรวจการสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด ภาพ : วันที่ 17 พฤษภาคม ๒๕๖5 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ทีมที่ 1 เข้าตรวจการสหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด 2. ผลการด าเนินงาน ที่ สหกรณ์เป้าหมาย วันที่เข้าตรวจการสหกรณ์ ทีมตรวจ ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจระดับจังหวัดฯ ๑ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด ๑๒ พฤษภาคม 25๖๕ ๒๐ พฤษภาคม 25๖๕ ทีม 2 ๒ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จํากัด ๓ พฤษภาคม 25๖๕ ทีม ๒ ๓ สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนอง จํากัด ๑๗ พฤษภาคม 25๖๕ ทีม ๑ 4 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขระนอง จํากัด ๒๓ พฤษภาคม 25๖๕ ทีม 4 5 สหกรณ์ออมทรัพย์ ร.25 พัน 2 จํากัด ๖ พฤษภาคม 25๖๕ ทีม 2 6 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด ๒๔ มิถุนายน 25๖๕ ทีม 4 ตรวจสอบสหกรณ์ตามค าสั่งฯ ร้อยละ 15 ๑ สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด 1๓ มิถุนายน ๒๕๖5 ทีม ๑ ๒ สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖5 ทีม 3 ๓ สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 18 พฤษภาคม ๒๕๖5 ทีม 3 ๔ สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์ จํากัด ๒3 มิถุนายน ๒๕๖5 ทีม 4 5 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 20 พฤษภาคม 2565 ทีม 3 6 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 16 มิถุนายน 2565 ทีม 1 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การตรวจการสหกรณ์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ได้ดําเนินการแต่งตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ จํานวน 4 ทีม และได้ดําเนินการเข้าตรวจการสหกรณ์ จํานวน 12 สหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์สามารถดําเนินงานได้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ ตลอดจนกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้อง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข – ไม่มี 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ เพิ่มทักษะและประสบการณ์แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ให้ก้าวทัน สถานการณ์ และนําไปใช้ในปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง 2) เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ได้ตามแนวทางที่ นายทะเบียนสหกรณ์กําหนด 1.2 เป้าหมาย 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ตรวจการสหกรณ์จากนายทะเบียนสหกรณ์ 2) ผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจําจังหวัดระนอง 3) เจ้าหน้าที่โครงการและผู้ที่เกี่ยวข้อง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน ณ ห้องประชุมสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง เลขที่ 15 ถนนลุวัง ตําบลเขานิเวศน์ อําเภอเมือง ระนอง จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการจัดโครงการประชุมซักซ้อม การตรวจการสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีผู้ตรวจการสหกรณ์ของสํานักงานสหกรณ์ จังหวัดระนอง ผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจําจังหวัดระนอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมฯ เพื่อกําหนดแนวทางการตรวจการ กระบวนการตรวจสอบกิจการ/ฐานะการเงิน และแนวทางการตรวจการ ที่เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ ข้อสังเกตทางการเงิน การบัญชี และธุรกิจต่างๆของสหกรณ์ในจังหวัดระนอง รวมทั้ง พัฒนาองค์ความรู้ เพิ่มทักษะและประสบการณ์แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ให้ก้าวทันสถานการณ์ปัจจุบันและ นําไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์กําหนด 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้ตรวจการสหกรณ์ประจําจังหวัดระนอง ผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจําจังหวัดระนอง เจ้าหน้าที่โครงการและผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมโครงการประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕ รวมจํานวน 20 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถดําเนินการตรวจสอบสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไป ในทิศทางเดียวกัน 2) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถเขียนรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อ นายทะเบียนสหกรณ์ เพื่อพิจารณาสั่งการตามอํานาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการจัดโครงการประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน (ปี 2564) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อแนะนําส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้เพิ่มขึ้น และเป็นไปตามตัวชี้วัดของ แผนงานงบประมาณประจําปี 2565 โดยเปรียบเทียบปริมาณธุรกิจระหว่างปี 2564 และปี 2565 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์ จํานวน 23 แห่ง / กลุ่มเกษตรกร จํานวน 16 แห่ง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) วิเคราะห์ข้อมูลการดําเนินธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแนวโน้มการเพิ่มขึ้นหรือลดลง 2) กําหนดแนวทางการส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพิ่มปริมาณธุรกิจ 3) จัดเก็บข้อมูลปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ปริมาณธุรกิจปี 2564 มีปริมาณธุรกิจรวม 2,897,075,499.19 บาท และปริมาณธุรกิจปี 2565 มีปริมาณธุรกิจรวม 3,954,084,767.74 บาท เพิ่มขึ้น 1,057,009,268.55 บาท คิดเป็นร้อยละ 36.49 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น เป็นศูนย์กลางรวบรวมผลผลิต และเป็นที่พึ่งของมวล สมาชิกมากยิ่งขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางราย ไม่ทราบการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้ไม่นํา ผลผลิตมาจําหน่ายกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ให้กับสมาชิกอย่างทั่วถึง 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : ลงพื้นที่ การแนะนํา ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพิ่มปริมาณธุรกิจ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้างที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากกรม 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนให้สหกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้าง ได้ใช้ประโยชน์จาก อุปกรณ์ที่ได้รับอย่างเต็มประสิทธิภาพ 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์ จํานวน 7 แห่ง ประกอบด้วย 1) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 2) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 3) สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 4) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 5) สหกรณ์กองทุนสวนยาง จปร.3 จํากัด 6) สหกรณ์การเกษตรเมืองระนอง จํากัด 7) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางแก้ว จํากัด 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอเมือง อําเภอละอุ่น และอําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) แนะนําการจัดทําแผนการใช้ประโยชน์ของอุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ได้รับ 2) ติดตาม ตรวจสอบ ร่วมแก้ไขปัญหา ผลักดันให้ใช้อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างตามวัตถุประสงค์อย่าง ต่อเนื่อง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แนะนํา ติดตาม ตรวจสอบ ร่วมแก้ไขปัญหา ผลักดันให้ใช้อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างตามวัตถุประสงค์อย่าง ต่อเนื่อง สหกรณ์ จํานวน 7 แห่ง โดยมีสหกรณ์ จํานวน 5 แห่ง รวบรวมผลผลิตจากสมาชิก ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิต จํานวน 101,420,112.28 บาท 2) สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิต จํานวน 33,599,294.37 บาท 3) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิต จํานวน 749,111,349.01 บาท 4) สหกรณ์กองทุนสวนยาง จปร.3 จํากัด มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิต จํานวน 2,886,613 บาท 5)สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางแก้ว จํากัด มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิต จํานวน 9,912,186 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้ใช้อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ได้รับอย่างเต็มศักยภาพ และปริมาณธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างของสหกรณ์บางแห่งชํารุด ทําให้ไม่สามารถใช้การได้ 2) สหกรณ์เลิกดําเนินธุรกิจที่ต้องใช้อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้าง
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร แนวทางแก้ไข 1) ซ่อมแซมอุปกรณ์/สิ่งก่อสร้าง หากประเมินแล้วมีความคุ้มกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น 2) ผลักดันให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์ โดยหาแนวทางร่วมกันทุกฝุาย ทั้ง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ คณะกรรมการและฝุายจัดการของสหกรณ์ รวมสร้างการรับรู้ให้กับสมาชิก 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การลงพื้นที่แนะน า ติดตามการใช้ประโยชน์และการรวมรวมผลผลิตกาแฟของ สกต.ธกส.ระนอง จ ากัด ภาพ : การติดตามการใช้ประโยชน์และการรวมรวมผลผลิตกาแฟของ สกก.ศุภนิมิตกระบุรีจ ากัด
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : การประชุม แนะน า ติดตามการใช้ประโยชน์ สกก.กระบุรี จ ากัด ภาพ : การติดตามการใช้ประโยชน์และการรวมรวมผลผลิตยางพาราของ สกย.คอคอดกระ จ ากัด
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่อ อาชีพการเกษตร) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ได้เข้าถึง องค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบ อาชีพการเกษตร 2) เพื่อให้สหกรณ์เป็นศูนย์กลางในการสร้างอาชีพทางการเกษตรที่มั่นคง มีการสร้างงาน สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน รวมทั้งสามารถยกระดับสหกรณ์ให้เป็นที่พึ่ง ของสมาชิกอย่างแท้จริง 1.2 เป้าหมาย เกษตรกรในโครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบาน สานตออาชีพการเกษตร จํานวน 3 ราย 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี จํานวน 3 ราย 2. ผลการด าเนินงาน ดําเนินการคัดเลือกลูกหลานเกษตรกรที่มีความพร้อมตามหลักเกณฑ์จากผู้เข้าร่วมโครงการ ในปี 2563 จํานวน 3 ราย คือ นายรุ่ง คําแปูน นางสาวพรลภัทร แสงทอง และนายอมรเทพ ทองจับ จัดทําทะเบียนเกษตรกรและแผนธุรกิจรายบุคคลทั้ง 3 ราย 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบ อาชีพ จํานวน 3 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 3 ราย ที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการพัฒนาทักษะในการ ประกอบอาชีพ โดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ได้จัดกิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เรียนรู้จากเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ ตรงตามความสนใจ มีแรงบันดาลใจ และได้รับความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตรให้ประสบความสําเร็จ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๕๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การท าฟาร์มโคเนื้อแบบต้นทุนต่ าเน้นการใช้วัตถุดิบในพื้นที่ เช่น ทางปาล์มน้ ามันและกากปาล์ม และ การบริหารจัดการฟาร์มโดยใช้หลักการเลี้ยงแบบ “โคออมสิน” ของคุณวรพจน์ ศิลบุตร ภาพ : การท าการเกษตรผสมผสาน โดยปลูกกล้วยในสวนทุเรียน ท าให้มีรายได้จากกล้วยระหว่างที่ทุเรียนยัง ไม่ได้รับผลผลิต ของคุณณัชนันท์ ประเสริฐสกุล ภาพ : การปลูกและแปรรูปผลผลิตโกโก้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ของคุณนิตย์ ตั่นอนุพันธ์(โกโก้โกเหนียว)
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตรมาใช้ ในการแปรรูปผลผลิตการเกษตร สร้างความหลากหลายของสินค้า รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพ และเพิ่มทักษะด้านการผลิต การแปรรูป การรวบรวม รวมทั้ง การบริหาร จัดการการผลิต การตลาดแก่สหกรณ์ ให้เป็นที่พึ่งในการแก้ไขปัญหาการตลาดสินค้าเกษตรในชุมชนและ เชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจการผลิต การตลาด 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด และสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์นําเทคโนโลยี และนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตรมาใช้ ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สร้างความหลากหลายของสินค้า รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด - จัดอบรมหลักสูตร การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การทําสื่อประชาสัมพันธ์ และการวางแผนการตลาดของสหกรณ์ ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน 2565 ถึง วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 - วิทยากรจากศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10 จํานวน 2 คน - จํานวนผู้เข้ารับการอบรม จํานวน 30 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด และเจ้าหน้าที่สํานักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง - สถานที่จัดอบรม ณ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค ที่ 10 อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มทักษะด้านการผลิต การรวบรวมและแปรรูป รวมทั้งการบริหาร จัดการการผลิต การตลาด สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง จัดประชุมผลักดันสหกรณ์ให้เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ อุปกรณ์การตลาด เพื่อเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้กับคณะกรรมการ ฝุายจัดการ จํานวน 20 คน ของสหกรณ์ การเกษตรกระบุรี จํากัด จํานวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เพื่อวางแผนและและจัดทําแผนขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ อุปกรณ์การตลาด เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2565 ครั้งที่ 2 ประชุมสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์ การตลาด เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2565 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กิจกรรมที่ 1 คณะกรรมการ/ฝุายจัดการ/สมาชิก จํานวน 30 คน ได้รับความรู้การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ การทําสื่อประชาสัมพันธ์ และการวางแผน การตลาดของสหกรณ์ กิจกรรมที่ 2 คณะกรรมการ/ฝุายจัดการ/สมาชิก จํานวน 30 คน ได้ร่วมกันคิดและจัดทําแผน ขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาด
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด ได้รับการอบรมการใช้นวัตกรรม การแปรรูปกาแฟเกล็ด การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด โดยสหกรณ์ได้มีการ ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สวยงาม ทันสมัย และตรงตามความต้องการของผู้บริโภคภายใต้แบรนด์ 84 คอฟฟี่ สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด ได้รับการผลักดันการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์อุปกรณ์ การตลาด โดยสหกรณ์มีการจัดทําแผนการรวบรวมผลผลิตกาแฟจากสมาชิกในฤดูกาลผลิต 2565/2566 จํานวน 20 ตัน เพื่อใช้อุปกรณ์การตลาด (เครื่องสีกาแฟกะลา และเครื่องอบเมล็ดกาแฟ) 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ กาแฟเกล็ดท าได้ยาก เนื่องจากการผลิตกาแฟเกล็ด สหกรณ์ยัง ไม่มีอุปกรณ์ในการผลิต หากต้องซื้ออุปกรณ์ ราคาของอุปกรณ์ค่อนข้างสูง การผลิตในแต่ละครั้งต้องผลิต จ านวนมาก และต้องมีห้องบรรจุภัณฑ์ที่สามารถเก็บอุปกรณ์ผลิตกาแฟอย่างเหมาะสม ดังนั้น สหกรณ์ต้อง ลงทุนในการพัฒนากาแฟเกล็ด โดยใช้เงินทุนจ านวนมาก อาจไม่คุ้มค่าในการลงทุน กิจรรมที่ 2 สหกรณ์ไม่ได้ใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาด เนื่องจากมีมติที่ประชุมใหญ่ให้สหกรณ์เลิก ดําเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตกาแฟ ตั้งแต่ปี 2562 เพราะสหกรณ์ดําเนินธุรกิจรวบรวมกาแฟขาดทุน แนวทางแก้ไข แนะนําให้สหกรณ์ ส่งเมล็ดกาแฟคั่วของสหกรณ์จ้างบริษัทในการผลิตกาแฟเกล็ด แล้วให้สหกรณ์นํามา บรรจุภายใต้แบรนด์ของสหกรณ์ เนื่องจากสหกรณ์มีห้องบรรจุที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน อย. 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : จัดอบรมหลักสูตร การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การทําสื่อประชาสัมพันธ์ และการวางแผนการตลาดของสหกรณ์ ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน 2565 ถึง วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ณ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10 จ.สุราษฎร์ธานี
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : ครั้งที่ 1 เพื่อวางแผนและและจัดทําแผนขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาด วันที่ 28 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง ภาพ : ครั้งที่ 2 ประชุมสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์การตลาด เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องประชุมกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน (GAP) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เสริมองค์ความรู้ความรู้ด้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อหมั่นการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัยและเพื่อส่งเสริมการจัดทําฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกสหกรณ์ 2) ส่งเสริมและพัฒนาสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความองค์ความรู้ในการผลิตผลไม้ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน GAP ตามหลักวิธีการที่ถูกต้อง 1.2 เป้าหมาย 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง ในพื้นที่จังหวัดระนอง (สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ภายใต้โครงการเพื่อยกระดับการผลิตผักและผลไม้คุณภาพของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 64 ราย) ประกอบด้วย (1)สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด อําเภอกระบุรีจํานวน 22 ราย (2) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด อําเภอกระบุรี จํานวน 2 ราย (3) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด จํานวน 11 ราย (4) กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น จํานวน 29 ราย 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง ในพื้นที่จังหวัดระนอง (สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 53 ราย) (1) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด อําเภอกระบุรี จํานวน 20 ราย (2) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด อําเภอกระบุรี จํานวน 8 ราย (3) สหกรณ์เครดิตยูเนียนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด อําเภอกะเปอร์ จํานวน 15 ราย (4) กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง อําเภอกระบุรี จํานวน 10 ราย 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี และอําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) ประสาน แนะนํา กํากับ ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปูาหมายให้ส่งเสริมสมาชิกทําการเกษตร ปลอดภัย โดยดําเนินการตามกระบวนการผลิตสินค้าตามขั้นตอนของมาตรฐาน GAP ส่งเสริมสมาชิกทํา การเกษตรปลอดภัย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จํานวน 4 แห่ง เกษตรกรสมาชิก จํานวน 117 ราย 2) จัดทําฐานข้อมูลด้านสินค้าผัก/ผลไม้ ร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐาน ปี 2564 โดยปรับปรุงและ จัดเก็บ ข้อมูลเพิ่มเติมจากฐานข้อมูลเดิมที่ได้ดําเนินการในปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 และจัดทําฐานข้อมูล ด้านการเกษตร ปลอดภัยร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐานในปี 2565 เกษตรกรสมาชิกจํานวนทั้งสิ้น 117 ราย 3) กลุ่มเปูาหมาย ภายใต้โครงการเพื่อยกระดับการผลิตผักและผลไม้คุณภาพของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - อบรมให้ความรู้ด้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้า ปลอดภัย โดยจัดอบรม ดังนี้ (1) วันที่ 4 เมษายน 2565 เปูาหมาย สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด จํานวน 22 ราย และสมาชิกสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด จํานวน 2 ราย (2) วันที่ 8 เมษายน 2565 เปูาหมาย สมาชิกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น จํานวน 29 ราย และสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด จํานวน 11 ราย
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร - แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดทําฐานข้อมูลด้านสินค้าผักและผลไม้ปลอดภัย ร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐาน GAP ในปี 2564 โดยปรับปรุงและจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากฐานข้อมูลเดิมที่ ได้ดําเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สนับสนุนการผลิตและรวบรวมผลผลิตเกษตร ปลอดภัยของสมาชิก เพื่อเพิ่มปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และเพิ่มรายได้ของสมาชิก (ด้านสินค้า เกษตรปลอดภัย) - ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักและผลไม้ ปลูกผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อขอตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) - ติดตามประเมินผลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพื่อยกระดับการผลิตผักและผลไม้ คุณภาพของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ในปีงบประมาณ 2563 4) กลุ่มเปูาหมาย ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ปีงบประมาณ 2564 - ประสานงานร่วมกับที่ปรึกษา/กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร ในการเข้า ร่วมตรวจประเมินแปลงและติดตามผลการตรวจประเมินแปลงของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปูาหมาย - แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สมาชิกทําการผลิตสินค้าผักและผลไม้ให้ได้ มาตรฐาน GAP โดยจัดทําฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐาน GAP ปี 2565 - แนะนํา ส่งเสริม สนับสนุน ขับเคลื่อนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทําแผนการรวบรวมผลผลิต จากเกษตรกรที่ได้รับการรับรอง GAP ปี 2565 - ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกและผลไม้ ปลูกผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อขอตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) - ติดตามและประเมินผลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้า เกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ในปีงบประมาณ 2564 5) จัดโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน GAP จังหวัดระนอง เพื่อพัฒนา องค์ความรู้เสริมทักษะเกี่ยวกับระบบการจัดการสินค้าเกษตรเพื่อเข้าสู่ระบบมาตรฐาน GAP แก่บุคลากร สํานักงานสหกรณ์จังหวัด และเกิดการเชื่อมโยงด้านการตลาดสินค้าเกษตรที่ได้รับมาตรฐาน GAP ระหว่างวันที่ 2-4 กันยายน 2565 เปูาหมาย บุคลากรของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง จํานวน 24 ราย ณ สวนกินดีฟาร์ม อําเภอน้ําผุด จังหวัดพังงา 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทําการเกษตรปลอดภัย จํานวน 4 แห่ง 2) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการทําเกษตรปลอดภัย จํานวน 64 ราย 3) อัตราการขายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 31.66 4) ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว ร้อยละ 5.74 5) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 8.38 สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปี 2564 ผ่านการรับรอง มาตรฐาน GAP จํานวน 4 แห่ง 53 ราย
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการส่งเสริมการทําเกษตรปลอดภัยอย่าง ถูกวิธีมีความรู้และสามารถผลิตผลไม้ได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ซึ่งจะช่วยลดการ สูญเสียและสร้างโอกาสทางการค้า ลดต้นทุน เพิ่มมูลค่าสินค้า โดยเกษตรกรสมาชิกสามารถจําหน่ายผลผลิตได้ ในราคาที่สูงขึ้น ผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาด ส่งผลให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ที่ดินของสมาชิกบางรายตั้งอยู่ในเขตที่ดินปุาไม้จึงมีความยุ่งยากกว่าพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ เจ้าหน้าที่ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ลงพื้นที่ร่วมกับที่ปรึกษาหาทางแก้ไข โดยให้ผู้ใหญ่บ้านรับรองสิทธิ์ในการทํา ประโยชน์ในที่ดินดังกล่าว แนวทางแก้ไข หากที่ดินของสมาชิกที่อยู่ในเขตปุาไม้ ให้สมาชิกที่ขอรับรองมาตรฐาน GAP เตรียมการล่วงหน้า โดยให้ผู้ใหญ่บ้านรับรองมาก่อน จะได้ไม่ล่าช้า 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP วันที่ 4 เมษายน 2565 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 9 ตําบล จ.ป.ร. อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP วันที่ 8 เมษายน 2565 ณ ที่ทําการกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น หมู่ที่ 4 ตําบลปากจั่น อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง ภาพ : มอบใบรับรองมาตรฐานให้เกษตรกรสมาชิก GAP ภาพ : ลงพื้นที่สวนมังคุด ทุเรียน ของเกษตรกรสมาชิก
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชด าริสมเด็จพระกนิษฐาธิราช เจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครูผู้รับผิดชอบ และเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ ได้เรียนรู้การดําเนินงานของสหกรณ์ในแต่ละประเภท เพื่อนํามาปรับใช้ในการดําเนินงานของ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2) เพื่อให้นักเรียนและผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ได้นําความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี 3) เพื่อให้นักเรียนที่เป็นสมาชิกกิจกรรมสหกรณ์ ได้ฝึกนิสัยการออม การทําความดีอย่าง สม่ําเสมอ และได้เรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ตามหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ 1.2 เป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 3 - 6 ของโรงเรียนบ้านในวง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน โรงเรียนบ้านในวง ตําบลในวงเหนือ อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) ประสานหน่วยงานกํากับดูแลโรงเรียน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมการดําเนินโครงการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ภายใต้โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี (กพด.) (โรงเรียนบ้านในวง ตําบลในวงเหนือ อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง) 2) ดําเนินการจัดประชุมหารือกับผู้บริหาร ฝุายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อชี้แจง และวางแผนการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน โดยกําหนดแผนเข้าแนะนํา ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.30 – 14.30 น. 3) แนะนํา ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ในภาคทฤษฎีโดยจัดให้มีการจัดการ เรียนรู้วิชาการสหกรณ์ในภาคทฤษฎี “ตามช่วงชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 4) จัดกิจกรรมและแนะนําการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์แก่ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหาร โรงเรียน เพื่อถ่ายทอดให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้เรื่องอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 4.1) แนะนําเกี่ยวกับการเปิดรับสมัครสมาชิกใหม่ 4.2) แนะนําเกี่ยวกับการเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน 4.3) แนะนําครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้ใช้ “กิจกรรมสหกรณ์เป็นแกนกลาง” เชื่อมโยงกับกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน 4.4) แนะนําการประชุมในสหกรณ์นักเรียน เกี่ยวกับลักษณะของการประชุมในสหกรณ์ ขั้นตอน การประชุม การจัดทําระเบียบวาระการประชุม วิธีจดรายงานการประชุม ฝึกปฏิบัติจัดการประชุมและการ บันทึกรายงานการประชุมแก่คณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4.5) แนะนําครูและกรรมการสหกรณ์นักเรียนฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีโดยแนะนําให้ครู ผู้รับผิดชอบและกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและเป็น ปัจจุบัน พร้อมทั้งสามารถปิดบัญชีได้ตามกําหนดเวลา 4.6) จัดกิจกรรมประกวด “สุดยอดเด็กดี มีเงินออม” ของโรงเรียนบ้านในวง โดยใช้กิจกรรมการ จัดทําบัญชีต้นกล้าสําหรับนักเรียนเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา 5) จัดกิจกรรมการเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ในรูปแบบ New normal กิจกรรมค่าย เยาวชนสหกรณ์ การจัดฐานการเรียนรู้ในเรื่องของการสหกรณ์ และให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ แก่นักเรียนที่ เป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์ จํานวน 15 คน และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ จํานวน 2 ราย เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 ณ โรงเรียนบ้านในวง ตําบลในวงเหนือ อําเภอละอุ่น จังหวัด ระนอง 6) ประเมินผลการเรียนเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามคําแนะนําการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน 7) ส่งเสริมแนะนํา ติดตามโครงการส่งเสริมการเชื่อมโยงกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสู่ผู้ปกครอง (เปูาหมายเดิมของปี2564) 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนไม่น้อยกว่าโรงเรียน ละ 8o คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) นักเรียน ครู และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์สามารถ นําไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ การดําเนินงานและพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนและชีวิตประจําได้ 2) เด็กนักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบวัดผลการเรียนการสอนในวิชาสหกรณ์ในภาคทฤษฎี คะแนน เฉลี่ยชั้น ป. 6 ร้อยละ 80.42 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทําให้การ ดําเนินกิจกรรม การแนะนําส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนต้องปฏิบัติภายใต้มาตรการในการ ปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) 2) เนื่องจากคณะกรรมการดําเนินการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนมีการปรับเปลี่ยนไปตาม วาระการดํารงตําแหน่ง ทําให้ขาดความต่อเนื่องในการเรียนรู้การจัดทําบัญชีสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน แนวทางแก้ไข 1) ปรับรูปแบบการแนะนํา ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนผ่านระบบออนไลน์และใช้สื่อ การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ออนไลน์ 2) แนะนําวิธีการบันทึกบัญชีสําหรับกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนแก่ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนควบคู่กับนักเรียน
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๖๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การประสานงานหารือกับผู้บริหาร ฝุายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เพื่อชี้แจงและวางแผนการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ภาพ : การส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน (บูรณาการร่วมกับสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ระนอง) ภาพ : การส่งเสริมแนะนํา ติดตามโครงการส่งเสริมการเชื่อมโยงกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสู่ผู้ปกครอง (เปูาหมายเดิมของปี2564)
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : กิจกรรมการเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ในรูปแบบ New normal กิจกรรมค่ายเยาวชนสหกรณ์และจัดฐานเรียนรู้ด้านการสหกรณ์
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครูผู้รับผิดชอบ และเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ ได้เรียนรู้การดําเนินงานของสหกรณ์ในแต่ละประเภท เพื่อนํามาปรับใช้ในการดําเนินงานของ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2) เพื่อให้นักเรียนและผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ได้นําความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี 3) เพื่อให้นักเรียนที่เป็นสมาชิกกิจกรรมสหกรณ์ ได้ฝึกนิสัยการออม การทําความดีอย่าง สม่ําเสมอ และได้เรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ตามหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ 1.2 เป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 -6 และชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 – 3 ของโรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) ตําบล จ.ป.ร. อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) ประสานหน่วยงานกํากับดูแลโรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมการดําเนินโครงการ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ภายใต้โครงการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี(โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน)) 2) ดําเนินการจัดประชุมหารือกับผู้บริหาร ฝุายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อชี้แจงและวางแผนการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ประสานงาน หารือกับผู้บริหาร ฝุายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เพื่อชี้แจง และวางแผนการส่งเสริม กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน โดยกําหนดแผนเข้าแนะนํา ทุกวันพุธ เวลา 14.30 – 15.30 น. 3) แนะนํา ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ในภาคทฤษฎีโดยจัดให้มีการจัดการ เรียนรู้วิชาการสหกรณ์ในภาคทฤษฎี “ตามช่วงชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 4) จัดกิจกรรมและแนะนําการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์แก่ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหาร โรงเรียน เพื่อถ่ายทอดให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้เรื่องอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 4.1) แนะนําเกี่ยวกับการเปิดรับสมัครสมาชิกใหม่ 4.2) แนะนําเกี่ยวกับการเลือกตั้งคณะกรรมการ 4.3) แนะนําครูผู้รับผิดชอบให้ใช้ “กิจกรรมสหกรณ์เป็นแกนกลาง”เชื่อมโยงกับกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน 4.4) แนะนําการประชุมในสหกรณ์นักเรียน เกี่ยวกับลักษณะของการประชุมในสหกรณ์ ขั้นตอน การประชุม การจัดทําระเบียบวาระการประชุม วิธีจดรายงานการประชุม ฝึกปฏิบัติจัดการประชุมและการ บันทึกรายงานการประชุมแก่คณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 4.5) แนะนําครูและกรรมการสหกรณ์นักเรียนฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีโดยแนะนําให้ครู ผู้รับผิดชอบและกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและเป็น ปัจจุบัน พร้อมทั้งสามารถปิดบัญชีได้ตามกําหนดเวลา
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5) จัดกิจกรรมการเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ในรูปแบบ New normal กิจกรรมค่าย เยาวชนสหกรณ์ การจัดฐานการเรียนรู้ในเรื่องของการสหกรณ์ และให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ แก่นักเรียนที่ เป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์ จํานวน 15 คน และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ จํานวน 3 ราย เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2565 ณ โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน) ตําบล จ.ป.ร. อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 6) ประเมินผลการเรียนเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามคําแนะนําการ ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนไม่น้อยกว่าโรงเรียนละ 8o คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) นักเรียน ครู และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์สามารถ นําไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ การดําเนินและพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนและชีวิตประจําได้ 2) เด็กนักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบวัดผลการเรียนการสอนในวิชาสหกรณ์ในภาคทฤษฎี ดังนี้ - คะแนนเฉลี่ยชั้น ป. 6 ร้อยละ 79.73 - คะแนนเฉลี่ยชั้น ม. 3 ร้อยละ 81.91 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทําให้การ ดําเนินกิจกรรม การแนะนําส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนต้องปฏิบัติภายใต้มาตรการในการ ปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) 2) เนื่องจากคณะกรรมการดําเนินการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนมีการปรับเปลี่ยนไปตาม วาระการดํารงตําแหน่ง ทําให้ขาดความต่อเนื่องในการเรียนรู้การจัดทําบัญชีสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน แนวทางแก้ไข 1) ปรับรูปแบบการแนะนํา ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนผ่านระบบออนไลน์และใช้สื่อ การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ออนไลน์ 2) แนะนําวิธีการบันทึกบัญชีสําหรับกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนแก่ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนควบคู่กับนักเรียน
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การประสานงานหารือกับผู้บริหาร ฝุายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เพื่อชี้แจงและวางแผนการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ภาพ : กิจกรรมการสอนและฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน พร้อมทั้ง สามารถปิดบัญชีได้ให้แก่คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน (บูรณาการร่วมกับสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ระนอง)
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : กิจกรรมการเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ในรูปแบบ New normal กิจกรรมค่ายเยาวชนสหกรณ์และจัดฐานเรียนรู้ด้านการสหกรณ์
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทร เทพยวรางกูร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความร่วมมือของงานวิจัยพัฒนา และงานบริการวิชาการเกษตร ให้สามารถนําไปใช้ ประโยชน์ในพื้นที่เปูาหมายให้มีศักยภาพการผลิตในรูปแบบบูรณาการ 2) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เปูาหมาย ไดรับความรูด้านการสหกรณและนําไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวันและพัฒนาให้มีความเป็นอยู่ที่ดี 3) เพื่อเสริมสร้างความรู ทักษะด้านการสหกรณ์และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคลองกับ อุดมการณสหกรณ์สร้างจิตสํานึกในการทํางานร่วมกันให้ประชาชน จนสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได 4) เพื่อให้ประชาชนไดมีอาชีพเสริม เพิ่มรายไดให้ครอบครัว 5) เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกร มีความรูความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ นําไปปรับใช้เพื่อประกอบอาชีพไดอย่างมั่นคงและยั่งยืน 1.2 เป้าหมาย เกษตรกรในพื้นที่ที่จัดโครงการ จังหวัดระนอง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน พื้นที่อําเภอเมือง อําเภอละอุ่น และอําเภอกระบุรี 2. ผลการด าเนินงาน 1) ประสานงาน ติดต่อ เข้าร่วมประชุมร่วมกับสํานักงานเกษตรจังหวัดระนอง และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดําเนินกิจกรรมการจัดคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ 2) ประชาสัมพันธ์การจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ โดยใช้แผ่นประชาสัมพันธ์ผ่านเพจ เฟฺซบุคสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง และผ่านช่องทาง Application Line 3) เข้าร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ จํานวน 3 ครั้ง ดังนี้ 3.1) สถานีพัฒนาที่ดินระนอง ตําบลราชกรูด อําเภอเมือง จังหวัดระนอง 3.2) ศาลาอเนกประสงค์องค์การบริหารส่วนตําบลบางพระเหนือ อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง 3.3) ศาลาอเนกประสงค์องค์การบริหารส่วนตําบลลําเลียง ตําบลลําเลียง อําเภอกระบุรี จังหวัด ระนอง ทั้งนี้ ภายในคลินิกสหกรณ์มีกิจกรรม ได้แก่ การจัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ การให้ คําปรึกษาเรื่องสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ กิจกรรมสร้างวินัยการออม และส่งเสริมการดําเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งแจกแผ่นพับความรู้เรื่องการสหกรณ์ ตัวอย่างน้ํายาล้างจาน และกระปุกออมสินแก่เกษตรกรที่มาใช้บริการ 3.5) รายงานผลการดําเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดําริกําหนด 3.6) รายงานผลการดําเนินงานในระบบข้อมูลโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ ของกรมส่งเสริม การเกษตร 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรเข้ารับบริการคลินิกสหกรณ์ จํานวน 129 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปในพื้นที่จัดโครงการ สามารถเข้าถึงการให้บริการและ ได้รับทราบข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ การรวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ การจัดตั้งสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรได้มากขึ้น
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2) สร้างการรับรู้ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน รวมถึงความประทับใจในการรับบริการจากสํานักงาน สหกรณ์จังหวัดระนอง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ทําให้การดําเนิน กิจกรรมไม่สามารถดําเนินการได้ ทําให้ผลงานการเข้าร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ไม่เป็นไปตามแผน ที่กําหนดไว้ แนวทางแก้ไข เพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรทั่วไป ให้มารับ บริการโครงการคลินิกเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ครั้งที่ 1 (ไตรมาส 1) ภาพ : การร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ครั้งที่ 2 (ไตรมาส 3) ภาพ : การร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ครั้งที่ 4 (ไตรมาส 4)
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ในการดําเนินงาน และสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชีวิตประจําวัน 2) เพื่อคัดเลือกและยกย่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่น้อมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับองค์กรและระดับสมาชิกได้อย่างโดดเด่น สามารถเป็นแบบอย่าง ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นนําไปประยุกต์ใช้ได้ 3) เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรอื่น ได้น้อมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดําเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 1.2 เป้าหมาย 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จํานวน 5 แห่ง (1) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด อําเภอกระบุรี (2) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด อําเภอกระบุรี (3) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จํากัด อําเภอเมือง (4) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด อําเภอกะเปอร์ (5) กลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุ 2) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 5 แห่ง ๆ ละ จํานวน 10 ราย 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน พื้นที่อําเภอเมือง อําเภอกะเปอร์ และพื้นที่อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน การดําเนินงานโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นการดําเนินงานต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีกิจกรรม ที่เข้าไปดําเนินการ ดังนี้ 1) แนะนํา ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้นําแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก และให้ดําเนินกิจกรรมตามแผนการดําเนินกิจกรรมการ ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และ สามารถเป็นแบบอย่างได้ ตามแนวทางโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ที่กองประสานงานโครงการพระราชดําริกําหนด 3) รายงานผลการดําเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดําริกําหนด โดยในกิจกรรมที่ 2 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได้ดําเนินการคัดเลือกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ตามแนวทาง โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยได้ดําเนินกิจกรรมการคัดเลือก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เคยเข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึงปัจจุบัน จํานวน 14 สถาบัน ดําเนินการคัดเลือก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 2 แห่งที่มีรูปแบบการบริหารจัดการ เป็นแบบอย่างสําหรับสหกรณ์และ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรอื่นในการนําไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินงานการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และการ สนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป และเป็นการยกย่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้น้อมนําแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในระดับองค์กรและระดับสมาชิก โดยมีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ร่วมติดตามแนะนํา ส่งเสริมการประกวด ซึ่งได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลการ ดําเนินงานในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดีเด่นระดับจังหวัด และประชุมพิจารณาผลการคัดเลือก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2565 โดยมีสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด และกลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุส่งผลงาน เข้ารับการพิจารณาคัดเลือกได้รับการคัดเลือกในครั้งนี้ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการแนะนําส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้นําแนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก และให้ดําเนินกิจกรรมตาม แผนการดําเนินกิจกรรมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 5 แห่ง 2) สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการได้รับการแนะนํา ส่งเสริม และติดตามให้นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้อย่างต่อเนื่อง จํานวน 5 แห่ง ๆ ละ 10 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินงาน และสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจําวัน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีการดําเนินการโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง แต่มีขั้นตอนการดําเนินการที่ไม่ชัดเจน แนวทางแก้ไข แนะน า และส่งเสริมการด าเนินงานขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีกิจกรรมการด าเนินงานที่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการธุรกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ โดยส านักงาน สหกรณ์จังหวัดและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่ดูแลส่งเสริม 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๗๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : กิจกรรม แนะนํา ส่งเสริมโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตร ในระดับองค์กรและระดับสมาชิก ภาพ : การประชุมการพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลการดําเนินงานในการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดีเด่น ระดับจังหวัด
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการวันสหกรณ์นักเรียน 7 มิถุนายน 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 2) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสหกรณ์นักเรียนระหว่างโรงเรียนต่าง ๆ 1.2 เป้าหมาย 1) โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง 2) โรงเรียนในพระราชดําริสมเด็จพระกนิฐษาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (โรงเรียนบ้านในวง อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง) 3) โรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี(โรงเรียน เพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน)) อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอเมือง อําเภอกะเปอร์ อําเภอละอุ่น อําเภอสุขสําราญ และอําเภอกระบุรี 2. ผลการด าเนินงาน ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้โรงเรียนรับทราบการจัดกิจกรรมและเข้าร่วมกิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียน ผ่านทางเฟซบุ๊กแฟนเพจของสํานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ดังนี้ 1) โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง 2) โรงเรียนในพระราชดําริสมเด็จพระกนิฐษาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเท พรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (โรงเรียนบ้านในวง อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง) 3) โรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (โรงเรียนเพียงหลวง 15 (บ้านรังแตน)) อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คุณครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านการสหกรณ์ ร้อยละ 80 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสหกรณ์นักเรียนระหว่างโรงเรียนต่าง ๆ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค สถานการณ์การแพร่ระบาดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ค่อนข้างรุนแรง จึงทําให้ ไม่สามารถจัดกิจกรรมในรูปแบบปกติได้ แนวทางแก้ไข มีการจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ เผยแพร่ผ่านทางเฟซบุ๊กแฟนเพจของสํานักพัฒนาและถ่ายทอด เทคโนโลยีการสหกรณ์
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : บุคลากรสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมชมกิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียน 7 มิถุนายน ประจําปี 2565
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนภายในพื้นที่เปูาหมายการจัดที่ดินทํากินให้ชุมชน ในรูปแบบสหกรณ์ 2) ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืน 3) พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน 1.2 เป้าหมาย 1) คณะทํางานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการนโยบาย ที่ดินจังหวัดระนอง (คทช.จังหวัดระนอง) 2) เกษตรกรในพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติปุาคลองลําเลียง-ละอุ่น อําเภอกระบุรีจังหวัดระนอง 3) เกษตรกรในพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติปุาคลองเส็ตกวด ปุาเขาหินช้างและปุาเขาสามแหลม อําเภอเมือง จังหวัดระนอง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอเมือง อําเภอกระบุรี และอําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) จัดประชุมคณะทํางานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการ นโยบายที่ดินจังหวัดระนอง (คทช.จังหวัดระนอง) เพื่อร่วมกันวางแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งเป็นเวทีในการติดตามผลการดําเนินงาน 2) นําเสนอแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดให้ที่ประชุม คทช.จังหวัด พิจารณาให้ความ เห็นชอบตามแผนงานเป็นรายพื้นที่ เพื่อมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการตามแผนงาน 3) ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในพื้นที่ 4) จัดทําฐานข้อมูลของเกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาลจังหวัด ระนอง พร้อมรายงานผล 5) รายงานผลการดําเนินงานในพื้นที่ตามกิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณในระบบติดตามผลการ ดําเนินงานจัดที่ดินทํากินให้ชุมชน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ(คทช.) ในระบบ (http://land.onep.go.th/landallocated/management_new.aspx) 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) จัดประชุมคณะทํางานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการ นโยบายที่ดินจังหวัดระนอง (คทช.จังหวัดระนอง) จํานวน 4 ครั้ง 2) จัดทําฐานข้อมูลเกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรที่ดินทํากินในพื้นที่โครงการ จํานวน 2 พื้นที่ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3) รายงานผลการดําเนินงานในพื้นที่ตามกิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณในระบบติดตามผล การดําเนินงานจัดที่ดินทํากินให้ชุมชน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ในระบบ (http://land.onep.go.th/landallocated/management_new.aspx) จํานวน 4 ครั้ง (ไตรมาส ละ 1 ครั้ง) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) หน่วยงานต่าง ๆ ที่ร่วมเป็นคณะทํางานมีแผนการปฏิบัติงานแบบบูรณาการร่วมกันในพื้นที่ 2) เกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรที่ดินทํากินในพื้นที่ได้รับการแนะนํา ส่งเสริม และพัฒนาอาชีพ ภายใต้ การอนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทําให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) เกษตรกรในพื้นที่มีที่อยู่อาศัยกระจัดกระจาย ไม่ได้อยู่ในพื้นที่บริเวณเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ทํา ให้มีความยุ่งยากในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ 2) พื้นที่ที่ได้รับการจัดสรรที่ดินตามโครงการฯ บางพื้นที่เป็นพื้นที่สําหรับที่อยู่อาศัย (ปลูกบ้าน) และมีลักษณะเป็นชุมชนเมือง จึงไม่มีพื้นที่สําหรับทําเกษตรกรรม แนวทางแก้ไข - 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การลงพื้นที่ตรวจสอบและจัดทําฐานข้อมูลเกษตรกร ในพื้นที่ คทช.
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : การแนะนํา และส่งเสริม และบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ในการสํารวจศักยภาพรายพื้นที่ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใต้กรอบภารกิจ 6 ด้าน ภาพ : การประชุมคณะทํางานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดระนอง (คทช.จังหวัดระนอง)
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้า คลัสเตอร์ของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 6 แห่ง ประกอบด้วย 1) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 2) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด 3) สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์ จํากัด 4) สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 5) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 6) กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี อําเภอกะเปอร์ และอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 คัดเลือกสถาบันเกษตรกรที่มีความพร้อมในด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร รวมถึง คัดเลือกสินค้าหลักของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปูาหมายที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการสินค้าเกษตร/ธุรกิจ ด้านการผลิตและการตลาด 2.2 ประสานงาน แนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ตลาดสินค้าเกษตรและการเชื่อมโยงเครือข่าย 2.3 ทบทวนและส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนการดําเนินการตามแผน OPP ของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่ได้จัดทําแผนOPP ในปีงบประมาณ 2564 2.4 ดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับ จังหวัด ครั้งที่ 1 โดยมีเปูาหมาย คือ ผู้แทนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จํานวน 20 ราย เพื่อคัดเลือกผู้แทน แต่ละกลุ่มคลัสเตอร์แต่ละกลุ่มสินค้า เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2565 ณ ห้องประชุมสํานักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง 2.5 ดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 เปูาหมายประกอบด้วย ผู้แทนสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จํานวน 18 ราย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 ณ ศิริมงคลฟรุ๊ต อําเภอสวี จังหวัดระนอง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด รวบรวมผลผลิตกาแฟ และทุเรียน จํานวน 101,420,112.28 บาท -สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์ จํากัด รวบรวมผลผลิตปาล์มน้ํามัน จํานวน 28,194,249 บาท - สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด รวบรวมผลผลิตกาแฟ จํานวน 33,599,294.37 บาท - สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด รวบรวมผลผลิตยางพาราและปาล์มน้ํามัน จํานวน 749,111,349.01 บาท
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาด มีการ เชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ระหว่างกัน โดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการ การตลาดสินค้าเกษตร และทําให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีตลาดรองรับผลผลิต 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ฤดูกาลผลิต 2565 ผลผลิตของสมาชิกมีน้อย สมาชิกขายผลผลิตเอง ไม่ได้ผ่าน สหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร แนวทางแก้ไข แนะนําให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดทําแผนการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกในปีถัดไป 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : ประชุมเชิงปฏิบัติการการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 วันที่ 10 มีนาคม 2565 ณ ห้องประชุมสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพ : ประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 ณ ศิริมงคลฟรุ๊ต อําเภอสวี จังหวัดชุมพร
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2) ผลการด าเนินงาน/โครงการตามนโยบายส าคัญ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โครงการสนับสนุนการรวบรวมและกระจายผลไม้เพื่อยกระดับราคาไม่ให้ตกต่ าของสถาบันเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ บรรเทาผลกระทบของสมาชิกสหกรณ์ที่ไม่สามารถกระจายผลไม้ออกนอกแหล่งผลิตได้ และเพื่อ เป็นการสร้างเสถียรภาพด้านราคาผลผลิตของสมาชิกและสหกรณ์ 1.2 เป้าหมาย สนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อบรรจุภัณฑ์ (ตะกร้าผลไม้) จํานวน 2,400 ใบ ให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ดําเนินธุรกิจรวบรวมผลไม้ จํานวน 3 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 2. สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 3. กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) สํานักงานสหกรณ์จังหวัดคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ ยื่นความประสงค์ เข้าร่วมโครงการ และจัดส่งให้กรมส่งเสริมสหกรณ์พิจารณา โดยจังหวัดระนองมีสหกรณ์ จํานวน 3 แห่ง ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด สหกรณ์การเกษตร ศุภนิมิตกระบุรี จํากัด และกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 2) กรมส่งเสริมสหกรณ์ พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์ผู้รวบรวมผลไม้และสหกรณ์กระจายผลไม้เข้าร่วม โครงการฯ และจัดสรรงบประมาณให้สํานักงานสหกรณ์จังหวัดเบิกจ่าย 3) สนับสนุนเงินให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามแผนการกระจายผลไม้ 4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการจัดซื้อบรรจุภัณฑ์ (ตะกร้าผลไม้) ดังนี้ กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น มีการจัดซื้อตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่กําหนด จํานวน 2,000 ใบ และสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด และสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ไม่ได้รวบรวมผลไม้มังคุด เนื่องจากผลผลิต มีปริมาณน้อย จึงคืนเงินไปยังกรมส่งเสริมสหกรณ์ตามระยะเวลาที่กําหนด 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อบรรจุ ภัณฑ์ (ตะกร้าผลไม้) จํานวน 2,000 ใบ สําหรับบรรจุมังคุดกระจายออกนอกแหล่งผลิต ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ได้รับการสนับสนุนบรรจุภัณฑ์ตะกร้า เพื่อใช้ในธุรกิจรวบรวมผลผลิต มังคุดจากสมาชิก แล้วนํามาคัดแยกเกรด ซึ่งรวบรวมผลผลิตทั้งสิ้น 132 ตัน มูลค่า 2.8 ล้านบาท จําหน่ายไป ยังเครือข่ายสหกรณ์ และเครือข่ายของสํานักงานพาณิชย์จังหวัด กระจายผ่านจังหวัดต่าง ๆ รวม 22 ตัน ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดกระบี่ และจังหวัดสตูล อีกทั้ง กลุ่มฯ ยังใช้ระบบประมูล โดยเปิดให้แม่ค้าเข้าประมูล ปริมาณรวม 108 ตัน ทําให้สมาชิกได้ราคาสูงกว่า งานส่งเสริมและพัฒนา
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๘๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ท้องตลาด ซึ่งทําให้กลุ่มฯ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น สร้างรายได้/ผลตอบแทนให้กับสมาชิกเพิ่มขึ้น ทําให้สมาชิก อยู่ดี กินดี ตามหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกให้จําหน่ายผลผลิต มังคุดได้ในราคาที่สูงกว่าท้องตลาด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค กรมส่งเสริมสหกรณ์อนุมัติงบประมาณในการจัดซื้อตะกร้าล่าช้า ทําให้ตะกร้าที่กลุ่มฯจัดซื้อ ไม่สามารถ นํามาใช้ได้ทันในฤดูกาลผลิต 2565 แนวทางแก้ไข แนะนํา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการวางแผนการขอรับงบประมาณไว้ล่วงหน้า เมื่อมี งบประมาณมาจะได้ดําเนินการได้ทันที 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : ประชุมคณะกรรมการดําเนินการชี้แจงรายละเอียดโครงการ ภาพ : รวบรวมผลผลิตมังคุดของกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น เพื่อกระจายไปยังต่างจังหวัด
รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและการตลาดสินค้าคุณภาพ (ผลไม้) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าคลัสเตอร์ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.2 เป้าหมาย เจ้าหน้าที่สํานักงานสหกรณ์จังหวัด จํานวน 1 ราย คณะกรรมการ/ฝุายจัดการสหกรณ์การเกษตร เพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด จํานวน 2 ราย 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดสุราษฏร์ธานี 2. ผลการด าเนินงาน วันที่ 15 - 17 มิถุนายน 2565 ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการผลิตและ การตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า จังหวัดสุราษฎร์ธานีกลุ่มเปูาหมายเป็นผู้แทน จากสหกรณ์ที่ดําเนินธุรกิจ ผลิตและจําหน่ายผลไม้จากทั่วประเทศ และเจ้าหน้าที่จากสํานักงานสหกรณ์จังหวัด เพื่อเป็นการเชื่อมโยงเครือข่าย และศึกษาดูงานสินค้าเกษตร (กุ้งขาวแวนนาไม และเงาะโรงเรียน) ในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีการเสวนาแนวทางพัฒนาและเชื่อมโยงตลาดผลไม้ จัดโดยกองพัฒนาสหกรณ์ ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ ทําให้สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด ได้ตกลงทํา MOU กับสหกรณ์การเกษตรกะสัง จํากัด จังหวัดบุรีรัมย์ เชื่อมโยงมังคุดกับข้าวสาร จํานวน 3 ตัน และตกลงทํา MOU กับสหกรณ์การเกษตรจอมทอง จํากัด จังหวัดเชียงใหม่ เชื่อมโยงมังคุดกับลําไย จํานวน 3 ตัน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด มีปริมาณธุรกิจ รวบรวมผลผลิต และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย เพิ่มขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากผลผลิตมังคุดฤดูกาลผลิต ปี 2565 มีปริมาณน้อย ทําให้ราคาสูง จึงไม่ สามารถรวบรวมผลผลิตได้ในฤดูกาลผลิตนี้ได้ แนวทางแก้ไข ตกลงกับสหกรณ์ที่ได้ทํา MOU เชื่อมโยงผลผลิตระหว่างกันในฤดูกาลถัดไป 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : ศึกษาดูงาน และการลงนาม MOU ของ สกต. ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด