The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Annual Report 2565 - Ranong

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ranong Cooprative Office, 2024-01-25 23:58:07

Annual Report 2565

Annual Report 2565 - Ranong

รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร การด าเนินงานขับเคลื่อนตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ “เกษตรผลิตพาณิชย์ตลาด” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์เพื่อเป็นช่องทางในการจําหน่ายสินค้าให้กับเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.2 เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน แนะนํา ส่งเสริม และเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โดยนํานโยบายการตลาดนําการผลิต มาปรับใช้ ดังนี้ 1) ร่วมประชุมคณะกรรมการดําเนินการของกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น 2) ร่วมแนะนําการจัดทําแผนธุรกิจ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ได้จัดทําแผนธุรกิจ โดยมีแผนการรวบรวบผลผลิต (มังคุด) จากสมาชิก จํานวน 120 ราย พร้อมทั้งได้ เข้าช่วยเหลือในการประสานหาตลาดเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรจําหน่ายผลผลิตของสมาชิกให้ได้ราคาที่เป็นธรรม 3) ร่วมแนะนํา สนับสนุนเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตโดยใช้นโยบายตลาดนําการผลิต ได้แก่ การรวบรวมผลผลิตมังคุดจากสมาชิกเพื่อกระจายผลิตผลสู่ต่างจังหวัด ซึ่งมีสํานักงานสหกรณ์จังหวัดต่าง ๆ สํานักงานพาณิชย์จังหวัดระนอง และสํานักงานพาณิชย์จังหวัดปลายทาง รับผลผลิตมังคุดและให้ความ ช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิก 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น ดําเนินการรวบรวมผลผลิตมังคุดจากสมาชิก นํามาคัดแยกเกรด รวบรวม ผลผลิตทั้งสิ้น 132 ตัน มูลค่า 2.8 ล้านบาท จําหน่ายไปยังเครือข่ายสหกรณ์ และเครือข่ายของสํานักงาน พาณิชย์จังหวัด กระจายผ่านจังหวัดต่าง ๆ รวม 22 ตัน ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัด ศรีสะเกษ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดกระบี่ และจังหวัดสตูล อีกทั้ง กลุ่มฯ ยังใช้ระบบประมูล โดยเปิดให้แม่ค้า เข้าประมูล ปริมาณรวม 108 ตัน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรสมาชิกได้ราคาสูงกว่าท้องตลาด และทําให้กลุ่มกลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น มีปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้น สร้างรายได้/ผลตอบแทนให้กับสมาชิกเพิ่มขึ้น ทําให้สมาชิกอยู่ดี กินดี ตามหลักการ อุดมการณ์ และ วิธีการสหกรณ์ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกให้จําหน่ายผลผลิตมังคุดได้ในราคาที่สูงกว่าท้องตลาด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : ร่วมประชุมคณะกรรมการ แนะน าการจัดท าแผนธุรกิจ ภาพ : แนะน า สนับสนุนการด าเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตโดยใช้นโยบายตลาดน าการผลิต ภาพ : รวบรวมผลผลิตมังคุด และกระจายไปยังปลายทางจังหวัดต่าง ๆ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ให้มีตลาดรองรับ โดยการเชื่อมโยงตลาดร่วมกันระหว่าง ผู้ผลิตแปลง ใหญ่และผู้ซื้อ 2) เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต การจําหน่าย และการบริหารจัดการร่วมกัน 1.2 เป้าหมาย แปลงใหญ่ปี 2563 จํานวน 10 แปลง ประกอบด้วย 1) แปลงใหญ่มังคุด หมู่ที่ 5 ตําบล จ.ป.ร. อําเภอกระบุรี 2) แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 7 ตําบลลําเลียง อําเภอกระบุรี 3) แปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 10 ตําบลลําเลียง อําเภอกระบุรี 4) แปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 8 ตําบลบ้านนา อําเภอกะเปอร์ 5) แปลงใหญ่ผึ้งโพรง หมู่ที่ 5 ตําบลหงาว อําเภอเมือง 6) แปลงใหญ่ผึ้งโพรง หมู่ที่ 5 ตําบลราชกรูด อําเภอเมือง 7) แปลงใหญ่มังคุด หมู่ที่ 4 ตําบลราชกรูด อําเภอเมือง 8) แปลงใหญ่ปาล์มน้ํามัน หมู่ที่ 6 ตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ 9) แปลงใหญ่ปาล์มน้ํามัน หมู่ที่ 2 ตําบลบางแก้ว อําเภอละอุ่น 10) แปลงใหญ่ยางพารากลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง สกย.บ้านโตนกลอย หมู่ที่ 6 ตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน อําเภอกระบุรี อําเภอเมือง อําเภอสุขสําราญ และอําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน ดําเนินการสนับสนุนด้านการตลาด ดังนี้ 1) ศึกษาวิเคราะห์ กําหนดเปูาหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการตลาด เช่น ประสานสํานักงานเกษตรจังหวัด เกษตรอําเภอ เกษตรตําบล 2) สื่อสารทําความเข้าใจแผนปฏิบัติด้านการตลาด แปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้จัดการแปลงใหญ่ คณะกรรมการแปลงใหญ่ และสมาชิกแปลงใหญ่ 3) ประเมินผลข้อมูลการดําเนินการของกลุ่ม/สมาชิกในปีที่ผ่านมา 4) ประสานหน่วยงานที่มีงบประมาณเพื่อร่วมกิจกรรม/อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านการรวมกลุ่ม/ ด้านการตลาด ในพื้นที่ เช่น ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 7 ตําบลลําเลียง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แปลงใหญ่ 10 แปลง สามารถลดต้นทุนเฉลี่ย 4,880 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.19 ผลผลิตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2,560 บาท คิดเป็นร้อยละ 27 และราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 297.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 31.45 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ การดําเนินงานในรูปแบบของแปลงใหญ่ ทําให้เกิดการรวมกลุ่ม มีการเชื่อมโยงระหว่างกัน และมีตลาด รองรับ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค กิจกรรมอบรมถ่ายทอดความรู้ตามแปลงใหญ่เปูาหมายกรมส่งเสริมสหกรณ์สํานักงานเกษตรจังหวัด ได้จัดอบรมฯ ไปแล้ว จากการประสาน จึงใช้เวทีการจัดประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น ในการให้ความรู้แก่สมาชิก แปลงใหญ่ ซึ่งแปลงใหญ่เปูาหมาย มีเพียง 1 แปลง ที่ได้ผ่านเข้าร่วมประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด แนวทางแก้ไข เข้าร่วมบูรณาการ กิจกรรมต่างๆ โดยประสานงานกับสํานักงานเกษตรจังหวัด อย่างต่อเนื่อง 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : ให้ความรู้การจัดทําแผนการตลาด การรวมกลุ่ม แปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 10 ต.ลําเลียง อ.กระบุรี ภาพ : ร่วมเป็นคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น และให้ความรู้การจัดทําแผนการตลาด แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 7 ต.ลําเลียง อ.กระบุรี ภาพ : ติดตาม ประเมินการดําเนินงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 8 ต.บ้านนา อ.กะเปอร์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร การกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกเกษตรกรจาก สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์ ช่วยเหลือและบรรเทาความเดือนร้อนของสมาชิก เกษตรกรจากสถานสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 1.2 เป้าหมาย เครือข่ายสหกรณ์ในจังหวัดระนอง 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด เป็นแม่ข่ายในการกระจายลําไย โดยรับ ลําไยจากสหกรณ์การเกษตรจอมทอง จํากัด จังหวัดเชียงใหม่และสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินท่าวังผา จํากัด จังหวัดน่าน กระจายไปยังเครือข่ายสหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด สหกรณ์ การเกษตรสุขสําราญ จํากัด สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด กลุ่มเกษตรกรทําสวนปากจั่น เครือข่ายสหกรณ์ออมทรัพย์ และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงานอื่น ๆ ในจังหวัดระนอง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กระจายลําไย จํานวน 3.8 ตัน เป็นเงิน 152,230 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ช่วยเหลือเครือข่ายสหกรณ์ให้มีที่จําหน่าย เป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข – ไม่มี 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ งานก ากับติดตามและงานแก้ปัญหา หรืองานบูรณาการในระดับพื้นที่ ภาพ : กระจายลําไย ช่วยเหลือเกษตรกรภาคเหนือ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ก าหนดแนวทางการส่งเสริมสหกรณ์ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกที่มีปัญหาในการประกอบ อาชีพทางการเกษตร (สนับสนุนวงเงินกู้จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสนับสนุนเงินทุนแก่สหกรณ์ ให้สมาขิกกู้ยืมเป็นทุนหมุนเวียนในการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพทางการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้อย่างยั่งยืนในการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก 2) เพื่อสนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ยต่ําให้สหกรณ์ นําไปช่วยเหลือสมาชิกในการประกอบอาชีพ 3) เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้สมาชิกสหกรณ์ ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้มีทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ ฟื้นฟูอาชีพ เพื่อก่อให้เกิดรายได้ 4) เพื่อสนับสนุนทุนหมุนเวียนแก่สหกรณ์ในโครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่อ อาชีพการเกษตร 5) เพื่อสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจจัดหาปุ฻ยอินทรีย์หรือปุ฻ยเคมีจากแหล่งผลิต อื่น รวมทั้งการจัดหาแม่ปุ฻ยมาผสมใช้เอง หรือวัสดุผสมปุ฻ยอินทรีย์มาจําหน่ายแก่สมาชิกหรือเกษตรกร 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ จํานวน 4 สหกรณ์ ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 2) สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 3) สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 4) สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดระนอง ที่ทําการสหกรณ์เปูาหมาย 2. ผลการด าเนินงาน จังหวัดระนอง ได้รับจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์ที่มีปัญหาในการ ประกอบอาชีพทางการเกษตร และสมาชิกสหกรณ์ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และจากสภาวะเศรษฐกิจ ตลาด ให้มีทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และจัดหาปัจจัยการผลิตที่ตรงกับความต้องการของสมาชิกในราคายุติธรรม รวมจํานวน 6.60 ล้านบาท ประกอบด้วย 1) โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 3 จํานวน 1.80 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 เพื่อเบิกจ่ายให้กับสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จํานวน 36 ราย 2) โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมอาชีพในยุค New Normal ปี 2565 จํานวน 3.80 ล้าน บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 เพื่อเบิกจ่ายให้กับสหกรณ์ ดังนี้ 2.1 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด จํานวน 0.8 ล้านบาท มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จํานวน 27 ราย 2.2 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด จํานวน 3.00 ล้านบาท มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จํานวน 100 ราย 3) โครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร จํานวน 0.10 ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 1 เพื่อเบิกจ่ายให้กับสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จํานวน 2 ราย


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4) โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจสหกรณ์และปศุสัตว์ จํานวน 0.50 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 เพื่อเบิกจ่ายให้กับสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จํานวน 15 ราย 5) โครงการสนับสนุนสินเชื่อส่งเสริมการจัดหาปุ฻ยบริการสมาชิกเพื่อลดต้นทุนการผลิต จํานวน 0.40 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 เพื่อเบิกจ่ายให้กับสหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด มีสมาชิกเข้าร่วม โครงการ จํานวน 20 ราย สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนา สหกรณ์ระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบให้สหกรณ์กู้ยืมเงิน และดําเนินการเบิกจ่ายเงินกู้ให้สหกรณ์ฯ เรียบร้อยแล้ว มีรายละเอียดดังนี้ ที่ สหกรณ์ วัตถุประสงค์ รายละเอียดสัญญา เลขที่ ลงวันที่ จ านวนเงิน ดอกเบี้ย หลักประกัน สิ้นสุด 1. สหกรณ์การเกษตร กระบุรี จํากัด ให้สมาชิกกู้ยืม รน 65- 00005 ๒6 เม.ย.65 1,800,000 1.00 คกก. + ผจก.+ ที่ดิน 3๑มี.ค. 66 ๒. สหกรณ์กองทุนสวน ยางคอคอดกระ จํากัด ให้สมาชิกกู้ยืม รน 65- 00009 18 พ.ค.65 800,000 1.00 คกก. + ผจก. 31 มี.ค.66 3. สหกรณ์การเกษตร ศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ให้สมาชิกกู้ยืม รน 65- 00016 14 ก.ย.65 3,000,000 1.00 คกก. + ผจก. 31 ส.ค.66 4. สหกรณ์กองทุนสวน ยางคอคอดกระ จํากัด ให้สมาชิกกู้ยืม รน 65- 00010 18 พ.ค.65 100,000 1.00 คกก. + ผจก. 31 มี.ค..66 5. สหกรณ์การเกษตร กระบุรี จํากัด จัดหาสินค้า มาจําหน่าย รน 65 0006 26 เม.ย.65 500,000 1.00 คกก. + ผจก.+ ที่ดิน 31 มี.ค..66 6. สหกรณ์การเกษตร สุขสําราญ จํากัด จัดหาสินค้า มาจําหน่าย รน 65 00014 8 ก.ย.65 400,000 1.00 คกก. 31 ส.ค.66 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ยต่ํา จํานวน 4 แห่ง เป็นเงิน 6.60 ล้านบาท สามารถช่วย ลดภาระดอกเบี้ยและต้นทุนในการประกอบอาชีพแก่สมาชิกสหกรณ์ จํานวน 200 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ํา เพื่อช่วยเหลือสมาชิกจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) 2) สหกรณ์จัดหาสินค้าตรงความต้องการของสมาชิกในราคายุติธรรม 3) ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตให้แก่สมาชิก และสะสมเงินออมในรูปทุนเรือนหุ้น 4) สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถลดต้นทุนการผลิตจากการได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยต่ําและซื้อสินค้าใน ราคายุติธรรม 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทําให้การติดต่อระหว่าง สหกรณ์กับสมาชิกสหกรณ์ลดลง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพการด าเนินงาน : การประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้ กพส.จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๙๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพการด าเนินงาน : ร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์เพื่อชี้แจงโครงการ ภาพการด าเนินงาน : ติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรให้มีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกมีความสามารถในการชําระหนี้ให้กับสหกรณ์ โดยการฟื้นฟูอาชีพให้มี รายได้ที่มั่นคงและเพียงพอ 1.2 เป้าหมาย 1) สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 2) สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง/สหกรณ์เปูาหมาย 2. ผลการด าเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิก เป็นโครงการที่จังหวัดระนองได้ดําเนินการมาตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยได้มีการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทําแผนเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารสินเชื่อของสหกรณ์และแผนการแก้ไขหนี้ค้างชําระของสมาชิก และจัดโครงการอบรม “การบริหาร จัดการหนี้และการเสริมสร้างอาชีพของสมาชิกสหกรณ์” ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวัดระนอง ได้รับจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการสนับสนุน เงินทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ เพื่อสนับสนุนทุนแก่สหกรณ์ ให้สมาชิกกู้ยืมเป็นทุน หมุนเวียนในการฟื้นฟูอาชีพ และแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชําระของสมาชิก โดยการฟื้นฟูอาชีพ ให้มีรายได้ที่มั่นคงและ เพียงพอ จํานวน 300,0000 บาท ให้กับสหกรณ์เปูาหมาย 2 แห่ง ๆ ละ 150,000 บาท โดยสหกรณ์ให้สมาชิก กู้รายละ 30,000 บาท จํานวน 10 ราย สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนา สหกรณ์ระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบให้สหกรณ์กู้ยืมเงิน และดําเนินการเบิกจ่ายเงินกู้ให้สหกรณ์ฯ เรียบร้อยแล้ว มีรายละเอียดดังนี้ ที่ สหกรณ์ วัตถุประสง ค์ รายละเอียดสัญญา เลขที่ ลงวันที่ จ านวนเงิน ดอกเบี้ย หลักประกัน สิ้นสุด 1 สหกรณ์ การเกษตรกระบุรี จํากัด ให้สมาชิก กู้ยืม ปีที่ 1 รน 64- 00007 11 ส.ค.64 150,000 1.00 คกก. + ผจก.+ ที่ดิน 29 ก.ค 65 ปีที่ 2 รน 65- 00007 13 ก.ย.65 150,000 1.00 คกก. + ผจก.+ ที่ดิน 31 ก.ค.66 2 สหกรณ์ การเกษตร ศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ให้สมาชิก กู้ยืม ปีที่ 1 รน 64- 00008 13 ส.ค.64 150,000 1.00 คกก. + ผจก. 29 ก.ค 65 ปีที่ 2 รน 64- 0005 14 ก.ย.65 150,000 1.00 คกก. + ผจก. 31 ก.ค.66


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ยต่ํา จํานวน 2 แห่ง เป็นเงิน 300,000 บาท สามารถ ช่วยลดภาระดอกเบี้ยให้กับสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ได้รับเงินทุนในการประกอบอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้จํานวน 10 ราย อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อปี ซึ่งต่ํากว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะสั้นปกติของสหกรณ์ที่อัตราร้อยละ 10 ต่อปี เป็นการช่วยลด ต้นทุนในการประกอบอาชีพของสมาชิก ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์ช่วยเหลือสมาชิกให้มีรายได้เสริมเพิ่มรายได้ เพื่อให้มีเงินเพียงพอในการดํารงชีพ และชําระ หนี้สหกรณ์ 2) สหกรณ์ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 3) สมาชิกมีอาชีพเสริม มีรายได้เพิ่มขึ้นเพื่อการดํารงชีพ และสามารถชําระหนี้ให้กับสหกรณ์ 4) สมาชิกสามารถชําระหนี้ได้ ทําให้สุขภาพจิตดีขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ทําให้การติดต่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างสหกรณ์และ สมาชิกลดลง แนวทางแก้ไขโดยประชาสัมพันธ์ข่าวสารสหกรณ์ผ่านสื่อออนไลน์ และผ่าน การประชุม กลุ่มสมาชิกและคณะกรรมการดําเนินการ 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพการด าเนินงาน : จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทําแผนเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินเชื่อของ สหกรณ์และแผนการแก้ไขหนี้ค้างชําระของสมาชิกสหกรณ์ ภาพการด าเนินงาน :จัดโครงการอบรม “การบริหารจัดการหนี้และการเสริมสร้างอาชีพของสมาชิก สหกรณ์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพการด าเนินงาน : ติดตามการใช้เงินกู้โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพ สมาชิกสหกรณ์เงินทุนหมุนเวียนในการฟื้นูอาชีพ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นทุนส่งเสริมกิจการของสหกรณ์ เป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ําที่สนับสนุนการดําเนินงานของ สหกรณ์ทุกประเภทในการให้สินเชื่อแก่สหกรณ์ในการดําเนินธุรกิจ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการให้เงินกู้แก่สมาชิก การรวบรวมผลผลิต การจัดหาสินค้ามาจําหน่าย 1.2 เป้าหมาย สหกรณ์ในจังหวัดระนอง ที่มีแผนงาน/โครงการขอรับการสนับสนุนเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ และมีคุณสมบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) พ.ศ. 2557 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดระนอง 2. ผลการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมส่งเสริมสหกรณ์อนุมัติกรอบวงเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้จังหวัด ระนอง จํานวน 27.80 ล้านบาท ในระหว่างปีจังหวัดระนองได้รับจัดสรรวงเงินโครงการพิเศษเพิ่มเติมจํานวน 8.27 ล้านบาท รวมรับจัดสรร 36.07 ล้านบาท จังหวัดระนองได้ส่งคืนวงเงินระหว่างปีจํานวน 2.72 ล้านบาท คงเหลือวงเงินเบิกจ่ายให้กับสหกรณ์ จํานวน 33.35 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 92.46 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท วงเงิน วงเงินจัดสรร วงเงินที่ อนุมัติเพื่อ เบิกจ่าย ให้กับ สหกรณ์ สหกรณ์ ส่งคืน วงเงิน รวม วงเงินที่ เบิกจ่าย ทั้งสิ้น จัดสรร ต้นปี จัดสรรเพิ่ม ระหว่างปี คืน วงเงิน รวม จัดสรร ทั้งสิ้น โครงการปกติ 11.00 - 1.50 9.50 9.50 - 9.50 โครงการพิเศษ 16.80 8.27 1.22 23.85 23.85 - 23.85 รวม 27.80 8.27 2.72 33.35 33.35 - 33.35 รายละเอียดการอนุมัติเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รายละเอียดการอนุมัติเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ/โครงการพิเศษ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 33.35 ล้านบาท แบ่งตามวัตถุประสงค์การกู้ยืม ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวนเงินที่ได้รับ อนุมัติ 1 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด (โครงการจัดหาและปรับปรุงแหล่งน้ําของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565) 650,000.00 2 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด (โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 3) 1,800,000.00 3 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด (โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมอาชีพในยุค New Normal ปี 2565) 800,000.00 4 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 100,000.00 เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวนเงินที่ได้รับ อนุมัติ (โครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ปี พ.ศ. 2565) 5 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด (โครงการจัดหาและปรับปรุงแหล่งน้ําของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565) 1,500,000.00 6 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จํากัด (โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมการทําเกษตรอัจฉริยะของสมาชิกสหกรณ์) 1,500,000.00 7 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด (โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ (ปีที่ 2)) 150,000.00 8 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด (โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมอาชีพในยุค New Normal ปี 2565) 3,000,000.00 9 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด (โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ (ปีที่ 2)) 150,000.00 รวม 9,650,000.00 2) วัตถุประสงค์เพื่อจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวนเงินที่ได้รับ อนุมัติ 1 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด (โครงการปกติ) 5,000,000.00 2 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด (โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจสหกรณ์ประมงและปศุสัตว์ ปี 2565) 500,000.00 3 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด (โครงการปกติ) 1,600,000.00 4 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด (โครงการปกติ) 2,900,000.00 5 สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด (โครงการสนับสนุนสินเชื่อส่งเสริมการจัดหาปุ฻ยบริการสมาชิกเพื่อลดต้นทุนการผลิต) 400,000.00 รวม 10,400,000.00 3) วัตถุประสงค์เพื่อผลผลิตทางการเกษตร (กาแฟสาร) ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวนเงินที่ได้รับ อนุมัติ 1 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด (โครงการเพิ่มศักยภาพการดําเนินธุรกิจรวบรวมกาแฟในสถาบันเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) 3,000,000.00 2 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด (โครงการปกติ) 10,300,000.00 รวม 13,300,000.00


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองได้เบิกจ่ายเงินกู้ให้กับสหกรณ์ จํานวน 33.35 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 92.46 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรร มีสหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนจํานวน 6 สหกรณ์16 สัญญา มีสมาชิกได้รับประโยชน์ จํานวน 1,349 ราย สามารถลดต้นทุนการผลิตเพิ่มรายได้ ให้กับสมาชิกสหกรณ์เป็นเงิน จํานวน 3,427,414.96 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ําเพื่อนําไปพัฒนาธุรกิจและกิจการของสหกรณ์ โดยใช้เป็นทุน หมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ ประกอบด้วย ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจสินเชื่อและ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกสหกรณ์ ทั้งนี้ มีสมาชิกสหกรณ์เข้าร่วม โครงการฯ กว่า 1,300 ราย นอกจากสมาชิกจะมีต้นทุนการผลิตที่ลดลงแล้ว เมื่อสิ้นปีบัญชีสมาชิกจะได้รับ ผลตอบแทนเป็นเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนตามสัดส่วนการมีส่วนร่วมในการดําเนินธุรกิจ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข – ไม่มี 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ 1. กิจกรรม : การประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 วันที่ 19 เมษายน 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 24 สิงหาคม 2565


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กิจกรรม : โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” 3. กิจกรรม : การติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่มีมาตรฐาน เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุน หมุนเวียน 2) เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการตลาดที่มีคุณภาพและราคา ยุติธรรม ตรงตามความต้องการของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้าง รายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจําหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 3) สร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืนใน การเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป 1.2 เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จํานวน 7 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มเกษตรกรทําสวนบางแก้ว 2) กลุ่มเกษตรกรทํานาน้ําจืดน้อยมะมุ 3) กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง 4) กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี 5) กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง 6) กลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุ 7) กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา 1.3 พื้นที่ด าเนินงาน จังหวัดระนอง ที่ทําการกลุ่มเกษตรกรเปูาหมาย 2. ผลการด าเนินงาน สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองได้รับการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้างความ เข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 5.1 ล้านบาท ให้กับกลุ่มเกษตรกรจํานวน 7 กลุ่ม สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด เพื่อกําหนดเปูาหมายและกรอบวงเงินกู้ของกลุ่มเกษตรกรในแต่ละกลุ่ม และดําเนินการจัดประชุม คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการ ผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบให้กลุ่มเกษตรกรกู้ยืมเงิน และได้ดําเนินการ เบิกจ่ายเงินกู้ให้กลุ่มเกษตรกร เรียบร้อยแล้ว พร้อมทั้งติดตามการใช้เงินกู้ของกลุ่มเกษตรกรโดยกลุ่มเกษตรกร ใช้เงินกู้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการขอกู้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร : โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึง แหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ที่ กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ จ านวนเงิน (บาท) วันที่เบิก เงินกู้ ครบก าหนด สัญญา 1 กลุ่มเกษตรกรทําสวนบางแก้ว จัดหาปัจจัยการผลิต (ปุ฻ย) ๖๐๐,๐๐๐.๐๐ 18 พ.ค.65 15 มี.ค.65 2 กลุ่มเกษตรกรทํานาน้ําจืดน้อยมะมุ จัดหาปัจจัยการผลิต (ปุ฻ย) ๕๐๐,๐๐๐.๐๐ 18 พ.ค.65 15 มี.ค.65 3 กลุ่มเกษตรกรทําสวนผสมบ้านในกรัง จัดหาปัจจัยการผลิต (ปุ฻ย) ๖๐๐,๐๐๐.๐๐ 20 พ.ค.65 15 มี.ค.65 4 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี จัดหาปัจจัยการผลิต (อาหารโค) ๑,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ 20 พ.ค.65 15 มี.ค.65 5 กลุ่มเกษตรกรทําสวนมังคุดบ้านในวง จัดหาปัจจัยการผลิต (ปุ฻ย) ๖๐๐,๐๐๐.๐๐ 20 พ.ค.65 15 มี.ค.65 6 กลุ่มเกษตรกรทําสวนมะมุ จัดหาปัจจัยการผลิต (ปุ฻ย) ๕๐๐,๐๐๐.๐๐ 23 พ.ค.65 15 มี.ค.65 7 กลุ่มเกษตรกรทําสวนนาคา จัดหาปัจจัยการผลิต (ปุ฻ย) 1,3๐๐,๐๐๐.๐๐ 31 พ.ค.65 15 มี.ค.65 รวมจ านวน 5,1๐๐,๐๐๐.๐๐ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดระนองเข้าถึงแหล่งทุน ภายใต้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับ กลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาดอย่างต่อเนื่องทุกปี (ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2565) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 7 กลุ่ม และกลุ่มเกษตรกรสามารถชําระ คืนเงินกู้ตามสัญญาได้ 100 % ในทุกปี 2) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการเฉลี่ย 232 คน สามารถ ลดต้นทุนการผลิตให้กับสมาชิกกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ยร้อยละ 4 ของอัตราดอกเบี้ยปกติ 3) กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจที่เพิ่มขึ้นทําให้มีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้การดําเนินงานมีผลกําไร และมีเงินปันผล เฉลี่ยคืน ให้กับสมาชิกเมื่อสิ้นปีบัญชี ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน ภายใต้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ท าให้กลุ่มเกษตรกรมีทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ ปลอดดอกเบี้ย เป็นการเสริมสภาพคล่องด้านการเงินให้กับกลุ่มเกษตรกร ทั้งสร้างรายได้เพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการ ผลิตให้กับสมาชิกกลุ่มเกษตรกร และสามารถจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายตรงความต้องการของสมาชิก ท าให้ สมาชิกเกิดความศรัทธาและเชื่อมั่นในกลุ่มเกษตรกร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากคณะกรรมการด าเนินการและสมาชิกกลุ่มเกษตรกรประกอบอาชีพเกษตรกร มีเวลาว่าง ไม่ตรงกัน รวมถึงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ท าให้การนัดหมายประชุมคณะกรรมการ ด าเนินการ การประชุมชี้แจงโครงการ หรือนัดท าสัญญาเงินกู้ค่อนข้างล าบาก แนวทางแก้ไข แนะน าให้คณะกรรมการและสมาชิกตั้งกลุ่มไลน์ของกลุ่มเกษตรกรเพื่อติดต่อประสานงานนัดหมาย และประชาสัมพันธ์ข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มเกษตรกร ผ่านกลุ่มไลน์และการจัดท าสัญญาเงินกู้ และ สัญญาค้ าประกันเงินกู้ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง จะลงพื้นที่ไปท าสัญญาที่ท าการกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรได้รับความสะดวกมากที่สุด


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๐๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพการด าเนินงาน : ประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด ภาพการด าเนินงาน : ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัดระนอง 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1) งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด กิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน เราท าความดี ด้วยหัวใจ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเนื่องในวันชาติและวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 วันที่ 7 ธันวาคม 2564 เวลา 14.00 น. นายสมศักดิ์ บุญโยม สหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วย บุคลากรสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมกันจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา "รู้รักสามัคคี รักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพชีวิต" เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯเนื่องในวันคล้าย วันพระราชสมภพฯ 5 ธันวาคม 2564 วันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ เพื่อถวายพระราชกุศล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี วันที่ 3 มิถุนายน 2565 นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์สหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยบุคลากรในสังกัด ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ เพื่อถวายพระราชกุศล เนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี โดยมีนายสมเกียรติ ศรีษะเนตร ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง เป็นประธานในพิธีเปิด ณ อาคารอเนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตําบลนาคา หมู่ที่ 2 ตําบลนาคา อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง โดยร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะเฉลิม พระเกียรติ กําจัดวัชพืช ตัดแต่งกิ่งต้นไม้ เก็บขยะ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาและปรับภูมิทัศน์วัดธรรมาวุธาราม เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 28 กรกฎาคม 2565 วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยบุคลากรสํานักงาน สหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาและปรับภูมิทัศน์วัดธรรมาวุธาราม อําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 28 กรกฎาคม 2565 โดยได้ร่วมกันดําเนินการตัดแต่งต้นไม้การปรับภูมิทัศน์ ภายในวัด ทําความสะอาดพื้นที่ ตัดหญ้า/กําจัดวัชพืช และเก็บขยะ ให้วัดมีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย สร้างความประทับใจแก่ประชาชนที่มาประกอบ ศาสนกิจอีกทั้งยังเป็นการสร้างความรัก ความสามัคคี ระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในพื้นที่ ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเนื่องในวันเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง 12 สิงหาคม 2565 วันที่ 12 สิงหาคม 2565 นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเนื่องในวันเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง 12 สิงหาคม 2565 ณ โรงเรียนบ้านในวง ตําบลในวงเหนือ อําเภอละอุ่น จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร กิจกรรมจิตอาสาเนื่องใน “วันมหิดล” วันที่ 20 กันยายน 2565 นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง มอบหมายให้ นางสาว ธนวรรณ ปานโชติ ผู้อํานวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมกิจกรรม จิตอาสาเนื่องใน “วันมหิดล” โดยร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ทําความสะอาด เก็บขยะ กําจัดวัชพืช และปลูก ต้นไม้ ณ สระน้ําหนองใหญ่ หมู่ที่ 7 ตําบลปากจั่น อําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันสหกรณ์แห่งชาติ กิจกรรม วันสหกรณ์แห่งชาติ ประจ าปี 2565 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมกับขบวนการสหกรณ์ในจังหวัด ระนอง จัดงาน“วันสหกรณ์แห่งชาติจังหวัดระนอง ประจําปี 2565” เพื่อน้อมรําลึกถึงพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ “พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย" โดยการจัดงานมีพิธีทางศาสนา วางพานพุ่ม ถวายสักการะ การจัดนิทรรศการ และมอบเกียรติบัตรให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ณ สหกรณ์ออมทรัพย์ ครูระนอง จํากัด อําเภอเมือง จังหวัดระนอง ทั้งนี้มีนายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง เป็นประธาน ในพิธีเปิดงาน และนายคํานึง โสตถิอุดม ประธานกรรมการสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนองกล่าวรายงานการ จัดงาน


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี กิจกรรม วันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่เข้าร่วมรับมอบนโยบายในการทํางาน เพื่อพัฒนาสหกรณ์และการขับเคลื่อนงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เนื่องในโอกาสวันคล้ายสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ครบรอบ 50 ปีโดยมีนายวิศิษฐ์ศรีสุวรรณ์อธิบดี กรมส่งเสริมสหกรณ์และผู้บริหารกรมส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมในพิธี


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมรดน้ าด าหัว วันสงกรานต์ ปี 2565 วันที่ 18 เมษายน 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมกับขบวนการสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรจังหวัดระนอง จัดกิจกรรม “รดน้ําดําหัวขอพร วันสงกรานต์” ปี 2565 โดยมีกิจกรรม สรงน้ําพระพุทธรูป รดน้ําขอพรจาก นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์ สหกรณ์จังหวัดระนอง ประธานกรรมการสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ผู้จัดการสหกรณ์ เพื่อแสดงถึงความเคารพนอบน้อมต่อผู้ใหญ่ และแสดงออกถึงความกตัญญู กตเวที ของผู้น้อยและขอขมาลาโทษที่ผู้น้อยอาจเคยล่วงเกินผู้ใหญ่ อีกทั้งเป็นการขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคล แก่ตนเองตลอดไป


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สหกรณ์จังหวัดระนอง จัดกิจกรรม “1 จังหวัด 1 ความดี เพื่อแม่” ภายใต้โครงการ “สหกรณ์ไทย ร่วมใจท าดี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 วันที่ 2 สิงหาคม 2565 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ร่วมกับขบวนการสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรจังหวัดระนอง และองค์การบริหารส่วนตําบลมะมุ จัดกิจกรรม “1 จังหวัด 1 ความดี เพื่อแม่” ภายใต้โครงการ “สหกรณ์ไทย ร่วมใจทําดี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565” โดยการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์คอคอดกระ ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด ระนอง เป็นส่วนที่แคบที่สุดของแหลมมลายู และบริเวณแม่น้ํากระบุรี เป็นแนวกั้นพรมแดนระหว่างไทย กับเมียนมา เป็นจุดชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงามของแม่น้ํากระบุรี ณ บริเวณสถานที่ท่องเที่ยวคอคอดกระ อําเภอ กระบุรี จังหวัดระนอง โดยมีนายบุญเลิศ เนตร์ขํา นายอําเภอกระบุรี ประธานในพิธีเปิด นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลมะมุ ผู้ช่วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานราชการต่าง ๆ และสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิดและร่วมกิจกรรม จํานวน 200 ราย


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๘ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ รายงานข้อมูล งบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๑๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 1) งบแสดงฐานะการเงิน (เปรียบเทียบงบประมาณรายจ่ายปีปัจจุบันและปีก่อน) งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบแสดงฐานะการเงิน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 หมายเหตุ หน่วย : บาท สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 1 19,080.00 ลูกหนี้เงินยืมราชการ 2 10,560.00 รายได้ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 5,972.70 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 107,612.70 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) 3 2,713,775.21 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,713,775.21 รวมสินทรัพย์ 2,821,387.91 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น 4 70,638.71 รวมหนี้สินหมุนเวียน 70,638.71 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง 5,000.00 เงินรับฝากและเงินประกัน (รับฝากอื่น) 5 32,280.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 37,280.00 รวมหนี้สิน 107,918.71 ทุน ทุนของหน่วยงาน 1,607,173.44 รายได้สูง/(ต่ํา)กว่าค่าใช้จ่าย 1,248,725.73 รายได้สูง/(ต่ํา)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม (142,429.97) รวมส่วนทุน 2,713,469.20 รวมหนี้สินและส่วนทุน 2,821,387.91 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการเงินนี้


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2) งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบแสดงการด าเนินงานทางการเงิน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ส าหรับรอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565 หมายเหตุ หน่วย : บาท รายได้จากการด าเนินงาน รายได้จากรัฐบาล รายได้จากเงินงบประมาณ 6 7,266,795.64 รวมรายได้จากรัฐบาล 7,266,795.64 รายได้จากแหล่งอื่น รายได้อื่นๆ 7 62,600.00 รวมรายได้จากแหล่งอื่น 62,600.00 รวมรายได้จากการด าเนินงาน 7,329,395.64 ค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร 8 3,330,784.81 ค่าใช้จ่ายงบกลาง 9 59,425.00 ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน 10 1,824,550.89 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุน 11 1,000.00 ค่าตัดจําหน่าย 12 13,611.71 ค่าสาธารณูปโภค 13 155,433.49 ค่าเสื่อมราคา 14 607,590.19 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 15 88,274.45 รวมค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน 6,080,669.91 รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่าย (1,248,725.73) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการเงินนี้


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน และบทวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านงบประมาณของหน่วยงาน งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส าหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565 นโยบายการบัญชี - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องซึ่งมีระยะเวลาครบ กําหนดที่จะเปลี่ยนให้เป็นเงินสดได้ภายใน 3 เดือน เช่น เงินฝากประจํา บัตรเงินฝาก และตั๋วเงินที่มีวันถึง กําหนดภายใน 3 เดือน แสดงไว้เป็นรายการเทียบเท่าเงินสด - ลูกหนี้ แสดงด้วยมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ เป็นลูกหนี้เงินยืมราชการ รอวันครบกําหนดนําใบสําคัญ มาชดใช้เงินยืมเพื่อล้างลูกหนี้เงินยืมราชการ - วัสดุคงเหลือ หมายถึง ของใช้สิ้นเปลืองนอกจากสินค้าที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดําเนินงาน ตามปกติ โดยทั่วไปมีมูลค่าไม่สูงและไม่มีลักษณะคงทนถาวร แสดงตามราคาทุน โดยวิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนัก หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ํากว่า - ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ รวมทั้งส่วนปรับปรุงอาคาร ทั้งอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่หน่วยงานมี กรรมสิทธิ์ และไม่มีกรรมสิทธิ์ แต่หน่วยงานได้ครอบครองและนํามาใช้ประโยชน์ในการดําเนินงาน แสดงมูลค่า สุทธิตามบัญชีที่เกิดจากราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม อาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างแสดงตามราคาทุน ส่วนอุปกรณ์ ได้แก่ ครุภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ รับรู้เป็นสินทรัพย์เฉพาะรายการที่มีมูลค่าต่อหน่วยตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป แสดงมูลค่าตามมูลค่าสุทธิตามบัญชีที่เกิดจากราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ รวมถึงรายจ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพื่อให้สินทรัพย์อยู่ในสถานที่ และสภาพที่พร้อมใช้งาน ต้นทุนในการต่อเติมหรือปรับปรุงซึ่งทําให้หน่วยงานได้รับประโยชน์ตลอดอายุการใช้งาน ของสินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานเดิม ถือเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมถือเป็นค่าใช้จ่าย ในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน คํานวณโดยวิธีเส้นตรงตาม อายุการใช้งานที่กําหนดไว้ในหลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 และแก้ไขเพิ่มเติมโดยกรมบัญชีกลาง หน่วย : บาท หมายเหตุที่ 1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินทดรองราชการ 5,000.00 เงินฝากธนาคารในงบประมาณ 53,800.00 เงินฝากคลัง (เงินหลักประกันสัญญา) 32,280.00 รวม 91,080.00 หมายเหตุที่ 2 ลูกหนี้เงินยืม ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 10,560.00 รวม 10,560.00


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน่วย : บาท หมายเหตุที่ 3 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคารสํานักงาน 1,603,300.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 18,213.83 1,585,086.17 สิ่งปลูกสร้าง 185,500.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 166,707.22 18,792.78 อาคารและสิ่งปลูกสร้างไม่ระบุ 2,458,085.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 2,458,080.00 5.00 ครุภัณฑ์สํานักงาน 574,799.08 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 450,110.03 124,689.05 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 4,406,000.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 3,638,496.29 767,503.71 ครุภัณฑ์ไฟฟูา-วิทยุ 89,700.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 84,151.24 5,548.76 ครุภัณฑ์โฆษณา 308,290.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 292,226.46 16,063.54 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 777,151.83 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 635,821.77 151,330.06 ครุภัณฑ์อื่น 28,100.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 28,099.00 1.00 ครุภัณฑ์ไม่ระบุ 402,650.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 402,643.00 7.00 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 72,000.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 17,251.86 54,748.14 รวม 2,713,775.21 หมายเหตุที่ 4 เจ้าหนี้ระยะสั้น เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก 62,591.63 ค่าใบสําคัญค้างจ่าย 992.70 ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย 7,054.38 รวม 70,638.71 หมายเหตุที่ 5 เงินรับฝากและเงินประกันสัญญา เงินประกันสัญญา 32,280.00 รวม 32,280.00


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน่วย : บาท หมายเหตุที่ 6 รายได้จากเงินงบประมาณ งบบุคลากร 2,956,471.04 งบดําเนินงาน 2,484,238.56 งบลงทุน 1,718,700.00 งบเงินอุดหนุน 1,000.00 งบกลาง 106,386.14 รวม 7,266,795.64 หมายเหตุที่ 7 รายได้จากแหล่งอื่น สรก.รับเงินนอก 29,020.00 ปรับเงินฝากคลัง 33,580.00 รวม 62,600.00 หมายเหตุที่ 8 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 2,956,471.04 เงินสมทบประกันสังคม 70,062.00 ค่าเช่าบ้าน 299,211.14 เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน 4,040.00 รวม 3,330,784.18 หมายเหตุที่ 9 ค่าใช้จ่ายงบกลาง เงินช่วยการศึกษาบุตร 41,190.00 ค่ารักษาพยาบาล-ผู้ปุวยนอก-โรงพยาบาลรัฐ 13,235.00 รวม 59,425.00 หมายเหตุที่ 10 ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมในประเทศ 78,440.00 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม-บุคคลภายนอก 286,665.00 ค่าเบี้ยเลี้ยง 144,860.00 ค่าที่พัก 42,450.00 ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการภายในประเทศ 103,801.18 ค่าวัสดุ 142,540.54 ค่าซ่อมแซม/บํารุงรักษา 50,706.68 ค่าน้ํามันเชื้อเพลิง 222,962.85 ค่าจ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก 703,540.00 ค่าเบี้ยประกันภัย 3,724.67 ค่าประชาสัมพันธ์ 9,460.00 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน 35,400.00 รวม 1,824,550.89


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๔ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน่วย : บาท หมายเหตุที่ 11 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุน ค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการดําเนินงานอื่น 1,000.00 รวม 1,000.00 หมายเหตุที่ 12 ค่าตัดจ าหน่าย ค่าตัดจําหน่าย - Software 13,611.71 รวม 13,611.71 หมายเหตุที่ 13 ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟูา 57,506.77 ค่าน้ําประปา 10,002.45 ค่าโทรศัพท์ 44,281.27 ค่าสื่อสาร & โทรคมนาคม 20,535.00 ค่าไปรษณีย์ 23,108.00 รวม 155,433.49 หมายเหตุที่ 14 ค่าเสื่อมราคา อาคารสํานักงาน 18,213.83 สิ่งปลูกสร้าง 19,000.00 ครุภัณฑ์สํานักงาน 92,206.55 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 392,250.00 ครุภัณฑ์ไฟฟูา 2,140.52 ครุภัณฑ์โฆษณา 17,366.12 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 66,413.17 รวม 607,590.17 หมายเหตุที่ 15 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เบิกเกินส่งคืน 25,674.45 โอนเงินให้ สรก. 33,580.00 ปรับเงินฝากคลัง 29,020.00 รวม 88,274.45


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ ภาคผนวก สรุปผลส าเร็จ ตามตัวชี้วัด (เชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ)


รWE ARE HOPE เรา คือ ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลส าเร็จตามตัวของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (ในปีงบประมาณ 2562 แผนงานพื้นฐานนี้อยู่ในยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความเสมอภาคและเผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภ(ในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ผลผลิตนี้อยู่ในแผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความเชิงปริมาณ -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จ านวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการด าเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของ ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของ สมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง -อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๖ ความหวังของเกษตรกร วชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ (พ.ศ. 2563 - 2565) หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล เท่าเทียมกันทางสังคม) ภาพ ยากจน ลดความเหลื่อมล้ า และสร้างการเติบโตจากภายใน) แห่ง 44 44 44 44 47 47 แห่ง 44 44 44 44 47 47 ราย - 257 322 377 322 499 ร้อยละ 3 36.49 3 12.33 3 (5.77) ร้อยละ 62 52.63 61 66.67 60 58.14 ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ 90 74.07 88 74.07 86 62.07 ร้อยละ 25 0 24 5.88 23 0 ร้อยละ 3 36.49 3 12.33 3 (5.77)


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก -อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วม ขับเคลื่อนงานนโยบายรัฐบาลไม่ต่ ากว่า -จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า -อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เชิงคุณภาพ - ระดับความส าเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ - ระดับความส าเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ -อัตราการเข้าถึงและใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมส่งเสริม สหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการด าเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของ ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของ สมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๗ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ 3 9.25 3 10.33 3 8.75 ร้อยละ 62 52.63 61 66.67 60 58.14 ร้อยละ 62 65.79 61 66.67 60 60.47 ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ 90 74.07 88 74.07 86 62.07 ร้อยละ 25 0 24 5.88 23 0 แห่ง 44 44 44 44 47 47 ร้อยละ 3 36.49 3 12.33 3 (5.77) ร้อยละ 62 52.63 61 66.67 60 58.14 แห่ง 44 44 44 44 47 47


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จ านวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ -สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพ การควบคุมภายใน ในระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่ น้อยกว่า -สหกรณ์มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการของสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า -สหกรณ์มีความสามารถในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ ากว่ามาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่า -สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง หรือมีข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไข -กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง -อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น -อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วม ขับเคลื่อนงานนโยบายรัฐบาล ไม่ต่ ากว่า -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกษตรกรและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการน าความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม - เกษตรกรและประชาชนทั่วไปและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - นักเรียน/นักศึกษา ได้รับความรู้เรื่องของการสหกรณ์ -ผู้เข้าอบรมมีแผนการน าความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๘ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล แห่ง 44 44 44 44 47 47 ราย - 257 322 322 322 322 ร้อยละ 90 77.27 88 69.57 86 66.67 ร้อยละ 70 72.72 70 73.91 70 53.85 ร้อยละ 90 54.54 88 69.56 86 56.52 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 ร้อยละ 44 44 44 44 47 47 ร้อยละ 62 65.79 61 66.67 60 60.47 ร้อยละ 3 9.25 3 10.33 3 8.75 ร้อยละ 80 55.26 80 53.84 80 60.90 ราย - 95 - 80 - 60 ร้อยละ - 80 - 80 - 80 ราย 129 154 - 167 - 41 ราย - 80 - 80 - 80 ร้อยละ - 80 - 80 - 80


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กิจกรรมการบริหารโลจิสติกส์ในสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกิดต้นแบบการน าระบบโลจิสติกส์มาใช้ในสหกรณ์ เชิงคุณภาพ -สมาชิกสหกรณ์ได้รับความรู้เรื่องโลจิสติกส์ไม่น้อยกว่า กิจกรรมการจัดงานแสดงสินค้าสหกรณ์ เชิงปริมาณ - จ านวนการจัดงานแสดงสินค้าสหกรณ์ด าเนินการได้บรรลุวัตถุประสงค์ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย - พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท าการเกษตรปลอดภัย - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว เชิงคุณภาพ - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท าการเกษตรแปรรูป


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๒๙ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล แห่ง - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ครั้ง - - - - - - แห่ง 4 4 4 4 4 4 ไร่ 445 445 521 521 445 445 ราย 64 64 53 53 64 64 ร้อยละ 3 31.66 - - - - ร้อยละ 3 31.66 - - - - แห่ง 1 1 - - - -


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก เชิงคุณภาพ - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัว โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท าการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย - พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน -สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท าการเกษตรปลอดภัย เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว หมายเหตุ : ในปี 2564 ไม่มีผลตามตัวชี้วัด เนื่องจากก าหนดรายงานผลตามตัวชี้วัด เมื่อ สิ้นสุดระยะเวลาโครงการจ้างที่ปรึกษา และมีผลผลิตจ าหน่าย โดยจะวัดผลในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2565 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เชิงคุณภาพ - ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่มาติดต่อราชการ โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน เชิงปริมาณ - จ านวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - มีแปลงแหล่งผลิตสินค้าปลอดภัย/สินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อยร้อยละ 60 ของ เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการได้ใบรับรองเกษตรอินทรีย์ ขั้นที่ 3


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๓๐ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ 3 12 - - - - แห่ง - - 4 4 - - แห่ง - - 521 521 - - ราย - - 53 53 - - ร้อยละ 3 5.74 - - - - ร้อยละ - - - - - - ไร่ - - - - - - ร้อยละ - - - - - -


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - สมาชิกเข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความ เข้มแข็งตามศักยภาพ -กลุ่มเตรียมสหกรณ์/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มหมู่บ้านในพื้นที่โครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ - จ านวนสถาบันเกษตรกร/หมู่บ้านในพื้นที่โครงการหลวงได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ด้านการสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจาก พระราชด าริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ - โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริได้รับการ


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๓๑ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ - - - - - - แห่ง - - - - - - แห่ง - - - - - - แห่ง - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - แห่ง - - - - - - แห่ง 2 2 2 2 2 2


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ - จ านวนสถาบันเกษตรกร/โรงเรียน/กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงาน อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาด้านการสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัว แผนงานยุทธศาสตร์สนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย เชิงคุณภาพ - จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิก เพิ่มขึ้น


รายงานประจ าปี (Annual Report) พ.ศ. ๒๕๖๕ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ๑๓๒ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล แห่ง 2 2 2 2 2 2 ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - แห่ง 3 3 - - - - ร้อยละ 3 63.79 - - - - ราย - - - - - - ร้อยละ - - - - - -


รWE ARE HOPE เรา คือ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - ต้นทุนการผลิตของสมาชิกลดลง โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการ ประกอบอาชีพ - ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรสานต่ออาชีพการเกษตร เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่น้อยกว่า แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย โครงการพัฒนาศักยภาพส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกเชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาด้านการประกอบอาชีพการเกษตร - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการผลิตสินค้าคุณภาพสู่มาตรฐาน GAP - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าคุณภาพ


Click to View FlipBook Version