The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานระดับชาติ เวทีศักยภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล ครั้งที่ 1ระหว่างวันที่ 6-8 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศทางด้านวิชาการและผลการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และได้รับการประเมินผลการนำเสนองานอยู่ในระดับคุณภาพ Excellent

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การนำเสนอ การจัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานระดับชาติ

การจัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานระดับชาติ เวทีศักยภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล ครั้งที่ 1ระหว่างวันที่ 6-8 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศทางด้านวิชาการและผลการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และได้รับการประเมินผลการนำเสนองานอยู่ในระดับคุณภาพ Excellent

Practical : Chapter

1. Study the relationship of numbers from the Summary of Results
crystal ball game. The table is divided into 1 - 99 and Perform
done according to the procedure specified by the
method. From this project, stude
relationship of number
2. When the results are analyzed into a table, project
developers have will observe the relationship of the 1. The relation of numb
occurrence. Find out the mathematical reasoning by When a, n and k are numbe
proving and figuring out the general form of this Where k is a number. If a =
relationship. a- (2n + k).

3. The project built depends upon the relationship of the 2. The game is based on
number of imitations and from that relationship we will numbers.
form a new relationship for the number games.
The project buil
4. Use the relationship of the number to the make game mathematical game based
designs, Mathematical analysis, and to make interesting numbers created into 3 gam
rules on how to play the game. After that, create the
game as designed. 2.1 Prediction G
2.2 Birthday gam
Checking : 2.3 To dream ca

- Check that it is sensible and that there are Suggestions
mathematical explanations.
1. We can find
- Validate the game by trial play then observe that number in other forms
all the test numbers meet the relationship of a hypothetical relation, such
given number and the result of the game should into 4 and divide a- (6n + k
be correct
2. Can apply ma
Evaluation : to create mathematical c
There are a lot of interestin
Assess and inspect the work piece. Make a
summary on how to play and complete the work. 3. The princi
Then compile a report before presenting the criterion is to create a new
project.

Chapter 4

Result of Project
1. The results of the game.

Step 1 Imagine a two-digit number in mind. Do not
let the competitor know.

Step 2 Bring the numbers in tens, separate them
then add the numbers.

Step 3 Bring the expected number to the result in
Step 2

Step 4 provides that the result in When you click on
the crystal ball, it will be shaped according to
the results.

2. The game is based on the relationship of
numbers.

2.1 Prediction Game Picture
2.2 Birthday game of equation
2.3 To dream career aspirations

r5 “Amazing math trick”

and Discussion of Submitted by
mance
1. Kuhn Lourih
ents can summarize the
ber of balls to a ball is: 2. Teerawach Kudnok
ers,
= 10n + k then 9 divide 3. Chanikan Buaban

n the relationship of Advisor
lder has created a
on the relationship of Mrs. Sumrit Klungphokiew
mes as follows:
Game Picture. Mr. Thusshawoot Kongprakhon
me of equation
areer aspirations. Mrs. Phorntip Polthum

d the relation of the Chaiyaphum Primary Education
s by adding another Service Area Office 1
h as 5, divide a- (5 n + k)
k).
athematical knowledge
criteria in other ways.
ng ideas.
iple of creating this
w game.

Chapter 1 The Final Benef
Wo
Introduction
1. Students have p
Games are activities that make children subtraction, multip
play. The play is related to the life and division.
development of children from birth.
Some people assume play is a child's 2. Students create
activity and is a major activity that all games for everyda
children must do. Playing allows
children to practice their ability to 3. Students have f
recognize and reinforce multiple ideas,
be more creative, and will have a good Scope of t
effect on the brain function of students.
This makes children have the 1. Variables used i
opportunity to create their own Independent Varia
experience to learn how to play as a
way to help children adapt and change Relationshi
nurture their mind. It also helps Dependent Variab
children to have the opportunity to
meet their own needs through their Math game
own discovery; this will make the
children feel free to have fun and be 2. Content of math
ready to repeat the activity when they Integer value o
are satisfied and interested. Without
any stimulus, reward or punishment Computing numbe
Children may change behavior. This distribution, addit
shows progress in the level of multiplication and
intelligence and thought of children. multiplication, div

Objectives 3. Place of the stud
1. To study the relationship of Anuban Ch

the number games to a crystal School Service Are
ball.

2. To create a game of numbers

fit of the Project Chapter 2
ork
positive skills in Relevant mathematical content
plication and 1. Integer
2. Value of number
mathematical 3. Number writing in distributed
ay use.
form
fun learning math. 4. Divide
5. factor
the study
Chapter 3
in the study
able : Preparation
ip of number
ble : Consultation with the project
developer in selecting the topic you
hematics. want to study. Name the project and
of number set the purpose, assumptions, scope of
ers in the form of the project, and lastly, determine the
tion, subtraction, stage or scope of the work.
d division, division, Study the theoretical knowledge on
vision the subject about the implementation
of this project.
dy
haiyaphum
ea Office 1

1

รายงานวิธีการและผลการดาํ เนินงาน

ตามเกณฑ์รางวลั คุณภาพแห่งสาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั พนื ฐาน(OBECQA)
ประจาํ ปี 2559

โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ

สถานทตี ัง/ทที าํ งาน
275 หมู่ 7 ถนนองค์การบริหารส่วนจังหวดั สาย 1
ตาํ บลในเมอื ง อาํ เภอเมอื ชยั ภมู ิ จังหวดั ชัยภมู ิ



คาํ นํา

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ได้ขบั เคลอื นนโยบายโรงเรียนมาตรฐานสากล มีความม่งุ หวงั ทีจะพฒั นา
ผ้เู รียนให้มีคณุ ภาพเทียบเคยี งมาตรฐานสากล โดยใช้การบริหารจดั การระบบคณุ ภาพแบบมีสว่ นร่วม เป็น
กลไกสําคญั ในการผลกั ดันการพัฒนาโรงเรียนส่มู าตรฐานสากล การประเมินภายใต้สภาวะแวดล้อม ที
เปลียนแปลงอย่างต่อเนือง มุ่งเน้ นผลการดําเนินการตามกลยุทธ์ขององค์กร โดยการมีส่วนร่วมของ
ผู้เกียวข้ อง ทุกฝ่ าย ประกอบด้ วย ครูบุคลากร นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน
คณะกรรมการสมาคมผ้ปู กครองและครูโรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ คณะกรรมการเครือขา่ ยผ้ปู กครอง และผ้มู ี
สว่ นได้สว่ นเสยี มีความมงุ่ มนั ในการขบั เคลือนองค์กรให้เป็นไปในทิศทางทีถกู ต้อง โดยใช้รูปแบบการบริหาร
อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ บริหารจดั การคณุ ภาพตามแนวทางการดําเนินงานตามเกณฑ์รางวลั คณุ ภาพแห่งชาติ
OBECQA มาใช้เพือมงุ่ ส่คู วามเป็นเลิศทางวิชาการ อนั เป็นเป้าหมาย ของการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

ขอขอบคณุ ผ้บู ริหาร คณะครูและบคุ ลากรโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ทิ กุ ท่าน ทีได้ให้คําแนะนํา ชีแนะ
แนวทางทีเป็นประโยชน์ตอ่ การจดั ทํารายงานรางวลั คณุ ภาพแห่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั
พืนฐาน (OBECQA) ของโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ปี2559-2560 ให้สําเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี

คณิต ธญั ญะภมู ิ
(นายคณิต ธญั ญะภมู )ิ
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ



สารบัญ

หวั ข้อ หน้า
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ
คํานํา ...................................................................................................................................................ก
สารบญั ................................................................................................................................................ข
สารบญั ตาราง.......................................................................................................................................จ
สารบญั ภาพประกอบ ............................................................................................................................ฉ
บทนํา : โครงร่างองค์กร....................................................................................................................1

1. ลกั ษณะองค์กร ......................................................................................................................1
ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร .................................................................................................1
ข. ความสมั พนั ธ์ระดบั องค์กร ..................................................................................................6

2. สภาวการณ์ขององคก์ ร ..........................................................................................................7
ก. สภาพแวดล้อมของการแขง่ ขนั ...........................................................................................7
ข. บริบทเชิงกลยทุ ธ์ ...............................................................................................................9
ค. ระบบการปรบั ปรุงผลการดาํ เนินงาน .................................................................................10

หมวด1การนาํ องค์กร.........................................................................................................................11
1.1การนําองคก์ รโดยผ้นู ําระดบั สงู ...............................................................................................11
ก. วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และคา่ นิยม...........................................................................................11
ข. การสือสารและผลการดําเนินการของโรงเรียน .....................................................................14
1.2การกํากบั ดแู ลองคก์ รและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม.................................................................16
ก. การกํากบั ดแู ลโรงเรียน ......................................................................................................16
ข. การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและมจี ริยธรรม.................................................................18
ค. ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ..................................................................................................19

หมวด 2 กลยทุ ธ์ ................................................................................................................................21
2.1 การจดั ทํากลยทุ ธ์ ................................................................................................................21
ก. กระบวนการจดั ทํากลยทุ ธ์ .................................................................................................21
ข. วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ....................................................................................................24
2.2 การนํากลยทุ ธ์ไปปฏิบตั ิ .......................................................................................................28
ก. การจดั ทําแผนปฏบิ ตั ิการและการถ่ายทอดสกู่ ารปฏิบตั ิ........................................................28
ข. การปรับเปลียนแผนปฏิบตั กิ าร ..........................................................................................31



สารบญั (ต่อ)

หวั ข้อ หน้า
หมวด 3 นักเรียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี ..........................................................................................32

3.1 เสยี งของนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ................................................................................32
ก. การรับฟังนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ............................................................................32
ข. การประเมินความพึงพอใจและความผกู พนั ของนกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี .....................34

3.2 ความผกู พนั ของนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ......................................................................36
ก. หลกั สตู รและการสนบั สนนุ นกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย ...................................................36
ข. การสร้างความสมั พนั ธ์กบั นกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย ....................................................40

หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้.....................................................................43
4.1 การวดั การวิเคราะห์ และการปรบั ปรุงผลการดาํ เนินการของโรงเรียน......................................43
ก. การวดั ผลการดาํ เนนิ การ....................................................................................................43
ข. การวเิ คราะห์และทบทวนผลการดาํ เนินการ.........................................................................44
ค. การปรับปรุงผลการดําเนินการ ...........................................................................................45
4.2 การจดั การความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ .......................................................47
ก. ความรู้ขององค์กร..............................................................................................................47
ข. ข้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ.......................................................................47

หมวด 5 บุคลากร ..............................................................................................................................49
5.1 สภาพแวดล้อมของบคุ ลากร..................................................................................................49
ก. ขดี ความสามารถและอตั รากําลงั บคุ ลากร...........................................................................50
ข. บรรยากาศการทํางานของบคุ ลากร.....................................................................................54
5.2 ความผกู พนั ของบคุ ลากร ......................................................................................................56
ก. ความผกู พนั และผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร.................................................................. .56
ข. การพฒั นาบคุ ลากรและผ้นู ํา .............................................................................................58

หมวด 6 การปฏบิ ตั กิ าร.....................................................................................................................61
6.1 กระบวนการทํางาน ..............................................................................................................61
ก. การออกแบบหลกั สตู รและกระบวนการ ..............................................................................61
ข. การจดั การกระบวนการ .....................................................................................................63
ค. การจดั การนวตั กรรม .........................................................................................................66



สารบัญ(ต่อ)

หัวข้อ หน้า
6.2 ประสทิ ธิผลของการปฏิบตั กิ าร .............................................................................................67
ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ....................................................................67
ข. การจดั การห่วงโซอ่ ปุ ทาน ................................................................................................. .68
ค. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภยั และภาวะฉกุ เฉิน.................................................69

หมวด 7 ผลลัพธ์ ................................................................................................................................72
7.1 ผลลพั ธ์ด้านหลกั สตู รและกระบวนการ ...................................................................................72
ก. ผลลพั ธ์ด้านหลกั สตู รและกระบวนการจดั การเรียนการสอนทีมงุ่ เน้นนกั เรียน..........................72
ข. ผลลพั ธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการทํางาน...................................................................81
ค. ผลลพั ธ์ด้านการจดั การห่วงโซอ่ ปุ ทาน..................................................................................82
7.2 ผลลพั ธ์ด้านนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย.............................................................................84
ก. ผลลพั ธ์ด้านนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ..........................................................................84
7.3 ผลลพั ธ์ด้านบคุ ลากร .......................................................................................................... 86
ก. ผลลพั ธ์ด้านบคุ ลากร........................................................................................................ 86
7.4 ผลลพั ธ์ด้านการนําองคก์ รและการกํากบั ดแู ลองคก์ ร...............................................................89
ก. ผลลพั ธ์ด้านการนําองคก์ รและการกํากบั ดแู ลองค์กรและความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ...............89
ข. ผลลพั ธ์ด้านการนํากลยทุ ธ์ไปปฏบิ ตั ิ..................................................................................91
7.5 ผลลพั ธ์ด้านการเงินและตลาด...............................................................................................92
ก. ผลลพั ธ์ด้านการเงินและตลาด............................................................................................92



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า
ตารางที OP 1-1
ตารางที 2ก(3) แสดงจาํ นวนครูและบคุ ลากรโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ ปีการศกึ ษา 2560 3

ตารางที 2 ข การเปรียบเทยี บกระบวนการทีคล้ายกนั ในสถานศกึ ษาอนื และข้อจาํ กดั
ตารางท1ี .1 ข –1
ตารางที 2.1 ข(1) -1 ในการหาข้อมลู 8

ตารางที 2.1 ข(1) -2 แสดงความท้าทายและความได้เปรียบเชงิ กลยทุ ธ์ทสี ําคญั 9
ตารางที 3.1ก(2)-1
แสดงวธิ ีการและความถขี องการสือสาร 15
ตารางที 3.1ข(2)-1
ตารางที 3.2 ก(1)-1 แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์ กบั ระบบงาน(Work System)

ตารางที 3.2 ก(3)-1 และกระบวนการ(Work Process) 25
ตารางที 3.2 ข(1)-1
ตารางที 5.1 ข(1)-1 แสดงวตั ถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ โครงการ เปา้ ประสงค์ และกรอบเวลา 26
ตารางที 7.1 ก - 1
แสดง กลุ่มนกั เรียนในปัจจบุ นั อดตี และอนาคตและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสีย
ตารางที 7.1 ก(1) - 1
ตารางที 7.1 ก(1) - 2 ข้อมลู สารสนเทศทตี ้องการ วธิ ีการรับฟังเสียง 33

ตารางที 7.1 ก(1) - 3 เปรียบเทียบกบั โรงเรียนคแู่ ขง่ 36

ตารางที 7.1 ก(1) - 4 ข้อมลู ทีต้องการวธิ ีการประเมนิ ในการพฒั นาและปรับปรุงหลกั สตู ร

ตารางที 7.2 ข(1)-1 บริการทสี ่งเสริมการเรียนรู้ และการบริการอนื ๆ 38

โปรแกรม/หลกั สตู ร 40

กิจกรรมทจี ดั เพอื สร้างความสมั พนั ธ์ทมี ตี อ่ นกั เรียนและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย 41

สภาพแวดล้อมในการทาํ งาน 54

แสดงร้อยละของผลการประเมินพฒั นาการเด็กทีจบหลกั สตู ร

ชนั อนบุ าลปีที 2 ทีได้ระดบั ดี ขนึ ปีการศกึ ษา 2557-2559 73

แสดงร้อยละของโครงงานในระดบั ดี ของหลกั สูตรตา่ งๆ ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 75

แสดงร้อยละของสอื สาร 2 ภาษา ในระดบั ดี ของหลกั สูตรตา่ งๆ

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 76

แสดงร้อยละของสร้างสรรคผ์ ลงาน ในระดบั ดี ของหลกั สตู รตา่ งๆ

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 76

แสดงการเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั ชนั มธั ยมศกึ ษาปีที 1 ของนกั เรียน

ทีจบการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 80

แสดงร้อยละของผลการดาํ เนนิ การตามระบบการจดั การเรียนรู้

ตงั แตป่ ี 2557- 2559 81

สารบัญตาราง(ต่อ) ฉ

ตาราง แสดงร้อยละของผลการดําเนนิ การตามระบบสนบั สนนุ หน้า
ตารางที 7.2 ข(1)-2 ตงั แตป่ ี 2557- 2559 82
ตารางที 7.2 ข(1)-3 แสดงร้อยละของผลการดําเนนิ การตามระบบเฝา้ ระวงั (Well Care) 82
ตารางที 7.1 ค(1) – 1 ตงั แตป่ ี 2557- 2559 82
ตารางที 7.1 ค(1) – 2 แสดงจาํ นวนนกั เรียนเข้าเรียนในแตล่ ะหลกั สตู ร 84
ตารางที 7.1 ค(1) – 3 แสดงความพงึ พอใจของนกั เรียน ครู และบคุ ลากร ตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน 84
ตารางที 7.1 ค(1) – 4 ของผ้สู ่งมอบหลกั สูตรห้องเรียนปกติ ปีการศกึ ษา 2557-2559 84
ตารางที 7.2 ก(1) – 1 แสดงความพงึ พอใจของนกั เรียน ครู และบคุ ลากร ตอ่ การปฏบิ ตั ิงาน 85
ตารางที 7.2 ก(1) – 2 ของผ้สู ่งมอบหลกั สูตรห้องเรียน SMP ปีการศกึ ษา 2557-2559
แสดงความพงึ พอใจของนกั เรียน ครู และบคุ ลากร ตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน 85
ตารางที 7.2 ก(1) – 3 ของผ้สู ง่ มอบหลกั สตู รห้องเรียน MEP ปีการศกึ ษา 2557-2559
แสดงร้อยละของความพงึ พอใจของผู้ปกครองนกั เรียนในหลกั สตู รปฐมวยั 85
ตารางที 7.2 ก(1) – 4 ตอ่ หลกั สูตรการจดั การเรียนรู้ ปีการศกึ ษา 2557-2559 ระดบั ดีขึนไป
แสดงร้อยละของความพงึ พอใจของผ้ปู กครองนกั เรียนในหลกั สูตร 85
ตารางที 7.3 ก(1) – 1 ห้องเรียนปกติ ตอ่ หลกั สตู รการจดั การเรียนรู้ 87
ตารางที 7.3 ก(1) – 2 ปีการศกึ ษา 2557-2559 ระดบั ดขี ึนไป 87
ตารางที 7.4 ก – 1 แสดงร้อยละของความพงึ พอใจของผู้ปกครองนกั เรียนในหลกั สตู ร 90
ตารางที 7.4 ข – 1 ห้องเรียน MEP ตอ่ หลกั สูตรการจดั การเรียนรู้ 91
ตารางที 7.5 ก(1)-1 ปีการศกึ ษา 2557-2559 ระดบั ดขี ึนไป 92
แสดงร้อยละของความพงึ พอใจของผ้ปู กครองนกั เรียนในหลกั สตู ร
ห้องเรียน SMP ตอ่ หลกั สตู รการจดั การเรียนรู้
ปีการศกึ ษา 2557-2559 ระดบั ดขี นึ ไป
แสดงร้อยละของจาํ นวนครูทมี วี ทิ ยฐานะตามมาตรฐานวชิ าชพี
ปีการศกึ ษา 2557 - 2559
แสดงจาํ นวนครูและนกั เรียนทไี ด้รับรางวลั ตา่ งๆ ปีการศกึ ษา 2557 - 2559
แสดงร้อยละของความพงึ พอใจในระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
ปีการศกึ ษา 2557-2559
แสดงผลลพั ธ์ด้านการนาํ กลยทุ ธ์ไปปฏิบตั ิ ปีการศกึ ษา 2557-2559
แสดงเงินงบประมาณโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ ปีการศกึ ษา 2557 – 2559



สารบัญภาพ

ภาพประกอบ หน้า
ภาพประกอบที OP-1
แสดงแนวทางการบริหารโรงเรียน แบบโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่
ภาพประกอบที OP-2
ภาพประกอบที OP-3 ของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ (Small school In Big School : SIBSc) ฎ
ภาพประกอบที OP-4
ภาพประกอบที 1.1 ก -1 กระบวนการจดั การเรียนการสอนตามรูปแบบบนั ได 5 ขนั (QSCCS) ญ
ภาพประกอบที 1.1 ก(3) -1
ภาพประกอบที 1.1 ก(3) -2 แสดงโครงสร้างการบริหารกลมุ่ งานวิชาการ 2
ภาพประกอบที 1.1 ข(1) -1
ภาพประกอบที 1.1 ข(2) -1 รูปแบบการบริหาร อนบุ าลชยั ภูมริ วมใจ 10
ภาพประกอบที 1.2 ก(1) -1
ภาพประกอบที 1.2 ข(1) -1 แสดงกระบวนการกาํ หนดวสิ ยั ทศั น์ คา่ นิยม และพนั ธกจิ 11
ภาพประกอบที 1.2 ข(2) -1
ภาพประกอบที 1.2 ค กระบวนการสร้ างความสําเร็จของโรงเรียน 12
ภาพประกอบที 2.1 ก(1) -1
ภาพประกอบที 2.1 ก(2) -1 การเสริมสร้างทกั ษะความเป็นผ้นู าํ ของบคุ ลากรของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ 13
ภาพประกอบที 2.1 ก(3) -1
ภาพประกอบที 2.2 ก(1)-1 กระบวนการติดตอ่ สือสารของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ 14
ภาพประกอบที 3.1ก(2)-1
ภาพประกอบที 3.2 ก(1)-1 กระบวนการมงุ่ เน้นการปฏิบตั งิ าน 16
ภาพประกอบที 4.2 ก(1)-1
ภาพประกอบที 5.1 ก(1)-1 ระบบการกํากบั ดแู ลโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ 17
ภาพประกอบที 5.1 ก(2)-1
ภาพประกอบที 5.2 ก(4)-1 กระบวนการจดั การความเสียง 18
ภาพประกอบที 5.2 ข(3)-1
ภาพประกอบที 6.1 ก(2)-1 กระบวนการประพฤติปฏบิ ตั อิ ยา่ งมีจริยธรรม 19
ภาพประกอบที 6.1 ก(2)-2
กระบวนการสร้างความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 20

กระบวนการวางแผนกลยทุ ธ์ 21

ขนั ตอนการสร้างและพฒั นานวตั กรรม 22

กระบวนการวเิ คราะห์และจดั ทํากลยทุ ธ์ 23

การจดั ทําแผนกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปี 28

กระบวนการรับฟังเสียงของผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสีย 34

กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ 37

องค์ประกอบทสี ําคญั ของการจดั การความรู้ 46

กระบวนการพฒั นาบคุ ลากร 51

ขนั ตอน กระบวนการในการจดั สรรบคุ ลากร และรกั ษาบคุ ลากรใหม่ 51

ระบบการจดั การเพอื ให้เกดิ ความผกู พนั ในการปฏิบตั งิ าน 58

พฒั นาสง่ เสริมสนบั สนนุ ด้านการสร้างมาตรฐานวชิ าชีพ 60

เป็นระบบการทาํ งานทสี ําคญั 61

กระบวนการจดั การเรียนการสอนตามรูปแบบบนั ได 5 ขนั (QSCCS) 62



สารบญั ภาพ(ต่อ)

ภาพประกอบ หน้า
ภาพประกอบที 6.1 ข(1)-1
ภาพประกอบที 6.1 ข(2)-1 การนาํ กระบวนการไปปฏิบตั ิ 63
ภาพประกอบที 6.1 ข(3)-1
ภาพประกอบที 6.2 ก-1 กระบวนการสนบั สนนุ 64
ภาพประกอบที 6.2 ข-1
ภาพประกอบที 6.2 ค(2)-1 กระบวนการปรับปรุงหลกั สูตร 65
ภาพประกอบที 7.1 ก - 1
กระบวนการควบคมุ ต้นทนุ 68
ภาพประกอบที 7.1 ก - 2
แสดงการรบั นกั เรียนเพอื สง่ มอบให้ครูประจาํ ชนั 68
ภาพประกอบที 7.1 ก - 3
ระบบการจดั การภาวะฉกุ เฉิน 70
ภาพประกอบที 7.1 ก – 4
แสดงคา่ ร้อยละประสิทธิภาพของการจดั การเรียนการสอน
ภาพประกอบที 7.1 ก - 5
ภาพประกอบที 7.1 ก – 6 ตามหลกั สูตรโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ระดบั ปฐมวยั
ภาพประกอบที 7.1 ก – 7
ปีการศกึ ษา 2557-2559 72
ภาพประกอบที 7.1 ก – 8
แสดงคา่ ร้อยละประสิทธิภาพของการจดั การเรียนการสอน

ตามหลกั สูตรโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ ระดบั ประถมศกึ ษา

ปีการศกึ ษา 2557-2559 73

แสดงคา่ ร้อยละผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ ระดบั ประถมศกึ ษา ในระดบั ดขี นึ ไป

ปีการศกึ ษา 2557-2559 74

แสดงคา่ ร้อยละผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ของนกั เรียนโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ ระดบั ประถมศกึ ษา

ในระดบั ดีเยยี ม ปีการศกึ ษา 2557-2559 74

แสดงจาํ นวนนกั เรียนตามระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ

ของนกั เรียนตามกรอบมาตรฐาน CEFR ปีการศกึ ษา 2557 – 2559 75

แสดงการเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาขนั พนื ฐาน ( NT)

ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 3 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 76

แผนภูมเิ ปรียบเทียบผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาขนั พนื ฐาน (NT)

ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 3 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู กิ บั ระดบั ประเทศ 77

แผนภมู เิ ปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขนั พืนฐาน (O-NET)

ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ 77



สารบญั ภาพ(ต่อ)

ภาพประกอบ หน้า
ภาพประกอบที 7.1 ก – 9
ภาพประกอบที 7.1 ก – 10 แผนภมู ิแสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขนั พืนฐาน (O-NET)
ภาพประกอบที 7.1 ก – 11
ภาพประกอบที 7.1 ก – 12 ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ปีการศกึ ษา 2557 กบั โรงเรียนคแู่ ขง่ 78

ภาพประกอบที 7.1 ก – 13 แผนภมู แิ สดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขนั พนื ฐาน (O-NET)
ภาพประกอบที 7.1 ค(1) – 1
ภาพประกอบที 7.1 ค(1) – 2 ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ปีการศกึ ษา 2558 กบั โรงเรียนคแู่ ข่ง 78
ภาพประกอบที 7.2 ก(2) – 1
ภาพประกอบที 7.3 ก(2) – 1 แผนภูมแิ สดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขนั พนื ฐาน (O-NET)
ภาพประกอบที 7.3 ก(3) – 1
ภาพประกอบที 7.3 ก(4) – 1 ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ปีการศกึ ษา 2559 กบั โรงเรียนคแู่ ขง่ 79
ภาพประกอบที 7.4 ก – 1
แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลียผลการทดสอบระดบั ชาติ
ภาพประกอบที 7.4 ก – 2
ภาพประกอบที 7.5 ก(2) – 1 ขนั พนื ฐาน (O-NET)ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ปีการศกึ ษา 2557-2559

กบั โรงเรียนคแู่ ขง่ 79

แผนภมู ิแสดงจาํ นวนนกั เรียนทีสอบนานาชาตผิ ่านรอบแรก

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ 80

แสดงจาํ นวนนกั เรียนเข้าเรียนในแตล่ ะหลกั สตู ร 83

แผนภมู แิ ทง่ แสดงประสิทธิภาพของผู้สง่ มอบในการดาํ เนนิ งาน

ตามข้อสญั ญา ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 83

แผนภูมิแสดงระดบั ความพงึ พอใจของผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสียตอ่ ความผูกพนั

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 86

แสดงร้อยละระดบั ความพงึ พอใจตอ่ การจดั บริการสิทธิประโยชนแ์ ละ

บรรยากาศในการทํางานปีการศกึ ษา 2557 - 2559 87

แสดงความพงึ พอใจการสร้างความผูกพนั ในองค์กร

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 88

แสดงความพงึ พอใจการพฒั นาบคุ ลากรปีการศกึ ษา 2557 – 2559 88

แสดงร้อยละของความพงึ พอใจของผ้มู สี ว่ นได้เสียตอ่ การนาํ องคก์ ร

และการกาํ กบั ดแู ลโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 89

แสดงร้อยละการจดั สรรงบประมาณตามกรอบโครงสร้างการบริหารงาน

โรงเรียนระหวา่ งปีการศกึ ษา 2557 – 2559 90

แสดงการดําเนนิ การด้านการตลาดตอ่ จํานวนนกั เรียนเข้าเรียน

ในแตล่ ะหลกั สตู ร 93



ทิศทางและวฒั นธรรมองค์กร ผ้อู าํ นวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ในการจดั การศกึ ษา
สํานกั งาน คณะกรรมการสภาทีปรึกษา
คณะกรรมการบริหารโรงเรียน เลขานกุ าร ผอ. ของผ้อู าํ นวยการ

สมาคมผ้ปู กครองและครู

รองผ้อู ํานวยการ รองผ้อู าํ นวยการ รองผ้อู ํานวยการ รองผ้อู ํานวยการ
กลมุ่ งานวชิ าการ กลุม่ งานบริหารงานทวั ไป กลมุ่ บริหารงานบคุ คล
กลุ่มบริหารงาน
งบประมาณ

หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ สาํ นกั ปฏิบตั งิ าน หวั หน้ากล่มุ งาน

โรงเรียนเลก็

หัวห ้นางาน หัวห ้นาสายชั นปฐมวัย ีป ีท2-3

หัวห ้นา สายชั น ประถมศึกษา ีปที1
หัวห ้นา สายชั น ประถมศึกษา ีปที2
หัวห ้นา สายชั น ประถมศึกษา ีปที3
หัวห ้นา สายชั น ประถมศึกษา ีปที4
หัวห ้นา สายชั น ประถมศึกษา ีปที5
หัวห ้นา สายชั น ประถมศึกษา ีปที6
หัวห ้นาโครงการ คณะค ูร MEP
หัวห ้นาโครงการ คณะค ูร SMP

ภาพประกอบ OP-1 แสดงแนวทางการบริหารโรงเรียน แบบโรงเรียนเลก็ ในโรงเรียนใหญ่
ของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ (Small school In Big School : SIBSc)



อภธิ านศัพท์

องค์ประกอบของรูปแบบ “อนุบาลชยั ภูมริ วมใจ” มี 4 องค์ประกอบ
องค์ประกอบที 1. หลกั การและวตั ถปุ ระสงคข์ องรูปแบบ
องค์ประกอบที 2. กระบวนการบริหาร 9 ขนั ตอน
องคป์ ระกอบที 3. ปัจจยั ทีทําให้รูปแบบ “อนบุ าลรวมใจ” ประสบความสาํ เร็จ
องคก์ ระกอบที 4. แนวทางในการนํารูปแบบ “อนบุ าลรวมใจ” ไปใช้ให้ประสบความสําเร็จ

หลักการของรูปแบบ “อนุบาลชัยภมู ิรวมใจ”
หลกั การของรูปแบบ “อนบุ าลรวมใจ” มี 3 หลกั การ ดงั นี
1) หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “หลกั 3 ห่วง 2 เงือนไข”

3 หว่ ง > พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู ิค้มุ กนั
2 เงือนไข > ความรู้ คณุ ธรรม
2) หลกั ธรรมาภิบาล
หลกั นิติธรรม หลกั ความโปร่งใส หลกั การมสี ว่ นร่วม
หลกั ความรับผดิ ชอบตรวจสอบได้ หลกั ความค้มุ คา่ หลกั คณุ ธรรม
3) หลกั การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning)

วตั ถุประสงค์ ของรูปแบบ “อนุบาลชยั ภูมริ วมใจ”
เป็นแนวทางในการบริหารงานโรงเรียน เพือสง่ เสริมให้เกดิ ประสทิ ธิผลสงู สดุ กบั ทกุ พฒั นาการของผ้เู รียน

กระบวนการของรูปแบบการบริหาร “อนุบาลชยั ภมู ิรวมใจ” ตามกระบวนการตาม POSALLEE
มี 9 ขันตอน ดังนี

1) กําหนดนโยบายของสถานศกึ ษา (Policy)
2) การวางแผน การวางระบบงาน (Planning)
3) การจดั โครงสร้างงาน (Organization)
4) การพฒั นาบคุ ลากร/ทีมงาน (Staff Development )
5) การลงมือปฏิบตั ใิ ห้เป็นนวตั กรรม (Acting and Innovation)
6) การนํา (Leading)
7) การแลกเปลยี นเรียนรู้ (share & Learn)
8) การควบคมุ กํากบั และประเมนิ ผล (Controlling and Evaluation)
9) การจดั แสดงผลงาน (Exhibition)



ปัจจยั ทเี อือให้รูปแบบ “อนุบาลชยั ภมู ิรวมใจ”ประสบความสาํ เร็จ
1) ผ้บู ริหารทกุ ระดบั ในสถานศกึ ษาให้การสนบั สนนุ และการเข้าไปมสี ว่ นร่วม
2) จดั ทําคมู่ อื /แนวทาง/มาตรฐานในการปฏิบตั ิชดั เจน
3) จดั ทรัพยากรให้มคี วามพอเพียงตอ่ การดําเนินงาน
4) จดั ระบบการตดิ ตอ่ สือสารอยา่ งสมาํ เสมอ
5) จดั สภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง ทีเออื ตอ่ นโยบาย

แนวทางในการนาํ รูปแบบ “POSALLEE” ไปใช้ให้ประสบความสาํ เร็จ
ขันการเตรียมการ

1) การทําความเข้าใจเกียวกบั รปู แบบ
1) จดั ทําคมู่ ือปฏิบตั ิงาน รูปแบบ “POSALLEE”
2) จดั ประชมุ ทําความเข้าใจเกยี วกบั ความสาํ คญั จําเป็น

2) สร้างการยอมรับและความตระหนกั ในการบริหารตามรูปแบบ
“POSALLEE” ทงั คณะครู และ ผ้มู ีสว่ นเกียวข้องทกุ ฝ่าย

(1) ทําความเข้าใจและเหน็ ความสาํ คญั ของหลกั การ และวตั ถปุ ระสงค์ของรูปแบบ
(2) นําหลกั การของรูปแบบมาใช้ในทกุ ขนั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน
(3) ทําความเข้าใจเกียวกบั ประโยชน์ทีจะเกิดขนึ กบั ตนเอง และงานในหน้าที
(4) กําหนดเป็นแนวทางการบริหารระยะยาวไว้อย่างชดั เจน
ขันการดาํ เนนิ งาน
(1) ศกึ ษาคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านและจดั ทําปฏิทินการปฏบิ ตั งิ านแตล่ ะขนั ตอน
(2) ดําเนินงานตามคมู่ ือและปฏทิ ิน
(3) ประสานความร่วมมือและการสนบั สนนุ ในการปฏบิ ตั ิงาน
การกาํ กับ ตดิ ตามและประเมินผล
(1) ผ้บู ริหารออกนิเทศ ตดิ ตามกํากบั และนําผลมาปรบั ปรุงอย่างสมําเสมอ
(2) สร้างแรงสนบั สนนุ อย่างตอ่ เนือง
(3) ยกย่องและประกาศความสาํ เร็จในระหวา่ งการปฏิบตั ิงานเป็นระยะ



รายละเอยี ดขันตอนการดาํ เนินการตามรูปแบบ “อนุบาลชยั ภมู ิรวมใจ”
1. Policy
(หวั ใจ คือ ทศิ ทางการจัดการศกึ ษาชดั เจน ตอบสนองต่อความเปลียนแปลงได้ในทุกมิต)ิ

1) ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั และปัญหา จากงานวจิ ยั และบริบทของโรงเรียน
2) ศกึ ษากฎหมาย ระเบียบทีเกียวข้อง นโยบายหน่วยเหนือ และศกั ยภาพของโรงเรียน
3. กําหนดวสิ ยั ทศั น์ เอกลกั ษณ์ อตั ลกั ษณ์ นโยบาย จดุ เน้น ของสถานศกึ ษา
2. Planning
(หวั ใจ คอื การพัฒนาระบบงาน)
1) วเิ คราะห์สภาพปัจจบุ นั /ปัญหาของโรงเรียน (SWOT)
2) กําหนดวสิ ยั ทศั น์ นโยบาย พนั ธกิจ เปา้ หมายของโรงเรียน
3) จดั ทําแผนพฒั นาการศกึ ษา แผนกลยทุ ธ์ และแผนปฏบิ ตั ิการ
4) จดั วางระบบการทํางานทีมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผล
3. Organization
(หวั ใจ คอื ความเป็ นเจ้าของงาน)
1) จดั โครงสร้างงาน/กลมุ่ งาน
2) กําหนดกรอบและมาตรฐานของงาน
3) กําหนดสายการทํางาน และ การประสานงาน
4) การจดั อาํ นาจหน้าทีและความรับผดิ ชอบ
5) การประสานความร่วมมอื ระหวา่ งกลมุ่ งาน
4) Staff Development
(หัวใจ คือ Team Learning)
1) การสร้างความตระหนกั และแรงจงู ใจในการพฒั นาตนเองและทีมงาน
2) การจดั ทํา ID. Plan รายบคุ คล กําหนดเป้าหมาย ในการทํา BP.
3) พฒั นาทกั ษะ Team Learning
4) การให้สารสนเทศสะท้อนกลบั กบั ทกุ คน
5) จดั สภาพแวดล้อม บรรยากาศ และสงิ อํานวยความสะดวกให้เอือตอ่ ประสิทธิภาพการทํางาน
5. Acting
(หัวใจ คอื Best Practice)
1) ศกึ ษาวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายและเนืองานทีรบั ผดิ ชอบ
2) พฒั นาวธิ ีการปฏบิ ตั ิงานให้เป็น Best Practice และการจดั การเรียนรู้ทเี น้นผ้เู รียนเป็นสาํ คญั
3) สรุปบทเรียน และแลกเปลยี นเรียนรู้ร่วมกนั เป็นระยะ อยา่ งสมําเสมอ
4) ปรบั ปรุงพฒั นางานตามบทเรียนทีได้



6. Share & Learn
(หวั ใจ คอื focus on skill จาก Tacit Knowledge ของครู)

1) ร่วมกนั กําหนดและพฒั นาทกั ษะทีจําเป็น ในการพฒั นาการทํางาน
2) กําหนดแนวทางในการสร้างนวตั กรรม/การปฏบิ ตั ิทดี ีร่วมกนั
3) จดั ประชมุ แลกเปลยี นเรียนรู้ร่วมกนั อยา่ งเป็นทางการ และ พดู คยุ ชว่ ยเหลอื กนั ชว่ ยรบั ฟัง
ถอดสรุปบทเรียน และช่วยแก้ปัญหาระหวา่ งการปฏิบตั งิ านอยา่ งไมเ่ ป็นทางการอย่ตู ลอดเวลา
4) ฝ่ายบริหารแนะนําและให้คําปรกึ ษาอย่างกลั ยาณมติ ร (Coaching and Mentoring)
7. Leading
(หวั ใจ คือ การสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน)
1) การจงู ใจคนทํางาน
2) ภาวะผ้นู ํา
3) การประชมุ ทีมปี ระสิทธิผล
4) การบริหารกลมุ่ /ทีมงาน
8. Evaluation and Controlling
(หัวใจ คือ สารสนเทศ เพือสร้างจดุ พัฒนา)
1) ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านมีสว่ นร่วมในการกําหนดแผนกํากบั ตดิ ตาม นิเทศ เป้าหมาย เกณฑ์และตวั ชีวดั
2) จดั ประชมุ แลกเปลียนเรียนรู้ร่วมกนั ตามสภาพงานเอืออาํ นวย
3) การจดั การความรู้และจดั ระบบสารสนเทศ
4) นําผลการตดิ ตามนเิ ทศและประเมนิ ผลมาปรบั ปรุงพฒั นางาน
5) ประกาศความสําเร็จเป็นระยะตลอดสายการทํางาน
9. Exhibition
(หวั ใจ คือ การสร้างเครือข่าย)
1) จดั ตงั เครือขา่ ยการทํางานตามสภาพทีเป็นจริงโดยยึดเนือหา – งาน เป็นแกนหลกั ของเครือขา่ ย
ทงั ในระดบั โรงเรียนและข้างนอก
2) จดั ทําเกณฑ์ ตวั ชีวดั คณุ ภาพของงานทีทํา เพือการจดั แสดงนิทรรศการ และ การแขง่ ขนั
รวมทงั รางวลั ทีจะมอบให้
3) การจดั นิทรรศการ นําเสนอผลงานในเวทีตา่ งๆโดยเน้นการแลกเปลยี นเรียนรู้เพือพฒั นางาน
ร่วมกนั
4) จดั พิธีมอบรางวลั ตามเกณฑ์กําหนด (เกียรตบิ ตั ร โล่ เงินสนบั สนนุ )



กระบวนการจดั การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการบันได 5 ขันของการพฒั นาผ้เู รียนสู่
มาตรฐานสากล

•การตงั คําถาม ขนั ที 2 • การสรุปองค์ความร้ ู ขนั ที 4 •บริการสงั คมและจติ
(Learning to (Learning to สาธารณะ (Learning
Quest) •สบื ค้นความรู้ Construct) •สอื สารและนําเสนอข้อมูล to Serve)
(Learning to (Learning to
ขนั ที 1 Search) ขนั ที 3 Communicate) ขนั ที 5

ภาพประกอบที OP-2 กระบวนการจดั การเรียนการสอนตามรูปแบบบนั ได 5 ขนั (QSCCS)

1. ตั้งประเดน็ คําถาม (Learning to Question) Q

2. สบื คนความรู (Learning to Search) S

3. สรปุ องคความรู (Learning to Construct) C

4. สือ่ สารนาํ เสนอ (Learning to Communicate) C

5. บรกิ ารสังคม (Learning to Serve) S

โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) 1

1. ลักษณะองค์กร (Organizational Description)

โรงเรียนอนุบาลขยั ภูมิ เปิดสอนครังแรกเมือวนั ที 17 พฤษภาคม 2513 เป็นโรงเรียนอนุบาลแหง่ ที 67 ของ

กรมสามญั ศกึ ษา เริมแรกกอ่ ตงั อยบู่ นพืนทีราชพสั ดุ ด้านหลงั ของโรงเรียนสนุ ทรวัฒนา มีพืนที 6 ไร่ 1 งานเศษ ปัจจุบนั

ตงั อยู่ เลขที 275 หมทู่ ี 7 ถนนองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั สาย 1 ตาํ บลในเมือง อําเภอเมืองชยั ภูมิ จังหวดั ชัยภูมิ บน

พนื ที 37 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา โทรศพั ท์ 044-811887 โทรสาร 044- 835247 Website : http://www.abc.ac.th/

สงั กัดสํานกั งานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พืนฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ จดั การศกึ ษาเป็น 2 ระดบั คือ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา และ

ระดบั ประถมศกึ ษา ในปีการศกึ ษา 2560 มีนักเรียนจํานวนทังสิน 2,690 คน ชุมชนโดยรอบโรงเรียนเป็นชุมชน

เมือง ประชากรประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น นกั ธุรกิจ ค้าขาย รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ รับจ้างทัวไป

และอืนๆ มีหน่วยงานราชการทังภาครัฐและเอกชนเป็นจํานวนมากอยู่บริเวณใกล้ๆ โรงเรียน สง่ ผลให้ประชากร

อาศยั อยอู่ ยา่ งหนาแน่น พร้ อมทังมีความแตกตา่ งทางฐานะและเศรษฐกิจ โรงเรียนมีความสมั พนั ธ์อันดีกับชุมชน

พฒั นาการมีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การการศกึ ษาในรูปองค์กร คือ สมาคมผ้ปู กครอง และครู

ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร(Organizational Environment)

(1) หลักสูตร ( Product Offerings )

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ ปรับปรุงตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 และฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2553 โดยมีคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและการจดั การเรียนการ

สอน ได้จดั ทําหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดงั นี

(1.1) หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั เป็นหลกั สตู รทีปรับปรุงจากหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช

2546 จดั การเรียนการสอนสําหรับเด็กอายุ 4-5 ปี เพอื สง่ เสริมและพฒั นาการเด็กทงั 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้าน

อารมณ์จิตใจ ด้านสงั คม และด้านสตปิ ัญญา ให้มคี วามพร้อมทีจะเข้าเรียนในระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 1

(1.2) หลกั สตู รประถมศกึ ษา เป็นหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนุบาลชยั ภูมิ ปรับปรุงจากหลกั สูตร

แกนกลางการศกึ ษาขนั พืนฐาน มี 3 โปรแกรม คือ 1) โปรแกรมห้องเรียนปกติ 2) โปรแกรมห้องเรียนพิเศษส่งเสริม

ศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์(Science and Mathematics Program : SMP) และ 3) โปรแกรม

ห้องเรียนทีจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ (Mini English Program : MEP)

ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สขุ ศกึ ษา และวิชาภาษาองั กฤษ

กิจกรรมการเรียนรู้เพิมเติม ในระดบั ปฐมวัย ได้แก่ กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมการ

เรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาเซยี นศกึ ษา การวา่ ยนํา คอมพิวเตอร์ ดนตรีสากล ภาษาอังกฤษ

เพอื การสือสาร สว่ นในระดบั ประถมศกึ ษาจดั การเรียนการสอนเพมิ เตมิ ได้แก่ การค้นคว้าเพือ การเรียนรู้(IS) การ

จัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพือการสือสาร (English for Communication Development : ECD) โดยครู

ชาวตา่ งชาติ การสอนว่ายนํา (ป.1– 3) การสอนคอมพวิ เตอร์ (ป.1–6)

นอกจากนนั ทางโรงเรียนได้จดั กิจกรรมสง่ เสริมการบริการอืนๆ เพอื เพมิ ประสทิ ธิผลในการจัดการศึกษา

ได้แก่ โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ ห้องพยาบาล ห้องศนู ยส์ ือระดบั ปฐมวัย ห้องสมดุ ปฐมวยั ห้องทดลองบ้าน

นกั วิทยาศาสตร์น้อย ธนาคารโรงเรียน ร้านค้าสวัสดิการ ห้องสภานกั เรียน ห้องสมุด ห้องอจั ฉริยภาพภาษาไทย

2
ห้องอาเซยี นศกึ ษา ห้องเรียนสเี ขียว ห้อง E-Classroom ห้องเรียนโครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทางไกลผ่าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology - DLIT) สระว่ายนํา ห้องปฏิบตั ิการ
คอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบตั ิการคณิตศาสตร์ ห้องปฏิบตั ิการภาษาองั กฤษ มีบริการ
อินเตอร์เน็ตไร้สาย Wifi ครอบคลมุ พนื ทีของโรงเรียน มีอาหารกลางวนั และอาหารเสริม(นม) ให้บริการนกั เรียนทุกคน
ทกุ วนั

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ บริหารจดั การหลกั สตู รสถานศกึ ษาเพือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ให้ประสบความสําเร็จโดยจดั ทําเนือหาสาระของหลกั สตู รให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผ้เู รียน ชุมชน และท้องถนิ
เน้นความหลากหลายและมงุ่ พฒั นาให้ความสมดลุ ทงั ด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความ
รับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ประกอบกบั จดั กระบวนการเรียนรู้และประเมินคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกบั พระราชบญั ญัติ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 และมาตรา 26 นอกจากนนั โรงเรียนยงั สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้บุคลากรใน
โรงเรียนให้ได้รับการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนือง มีการระดมทรัพยากรให้ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษา สง่ เสริมสนบั สนุนให้ผ้สู อนและผ้เู รียนนําเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครืองมอื ในการแสวงหาความรู้ตามศกั ยภาพ
จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนเพือสง่ เสริมและพฒั นาผ้เู รียนให้ได้รับบริการอยา่ งทวั ถงึ มีการปรับปรุงการเรียนการ
สอนอยา่ งตอ่ เนืองโดยอาศยั ความร่วมมือของครู บุคลากร ในโรงเรียนผ้ปู กครองและชมุ ชน ซงึ มีโครงสร้ างการบริหาร
โรงเรียนและกลมุ่ งานวิชาการ ดงั ภาพประกอบ ที OP-3 ดงั นี

ผ้อู ํานวยการโรงเรียน  สํานักงานกลุม่ งานวชิ าการ
รองผ้อู ํานวยการกลมุ่ งานวิชาการ  รองหัวหน้ากลมุ่ งานวชิ าการ
 งานหลักสตู รและการสอน
หวั หน้ากล่มุ งานวชิ าการ  งานทะเบียน วดั และประเมินผล
 งานวจิ ัยเพือการเรียนรู้

ฯลฯ

หวั หน้าสายชนั หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ หัวหน้า
กลมุ่ สายชนั ห้องเรียนพิเศษ

งานวชิ าการสายชนั งาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ห้องเรียน ห้องเรียน
งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน MEP SMP
- สายชนั ปฐมวยั
- ป. 1 - ป. 6

ภาพประกอบที OP-3 แสดงโครงสร้างการบริหารกลมุ่ งานวิชาการ

(2) วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ และค่านยิ ม (VISION, MISSION and VALUES)
วสิ ัยทศั น์ (VISION) จดั การศกึ ษาตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ OBECQA ให้นกั เรียน มคี วามรู้ ทกั ษะ

และคณุ ลกั ษณะทีพงึ ประสงคเ์ ทียบเคียงมาตรฐานสากล ภายในปี 2561

พันธกิจ (MISSION)
1. พฒั นาหลกั สตู รสมู่ าตรฐานสากล

2. จดั การศกึ ษาตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ OBECQA โดยใช้รูปแบบ “อนุบาลชยั ภมู ริ วมใจ”

3
3. จดั การเรียนรู้ตามปรัชญา ทฤษฎี Progressivism & Constructivism ให้เดก็ แสวงหาความรู้

และจดั การได้ด้วยตวั เอง (Executive function)

4. พฒั นาครูเป็นมืออาชีพ มีบทบาท Facilitator & Guidance เพือพฒั นาวิชาชีพให้เทา่ ทนั การ

เปลยี นแปลงของสงั คม

5. พฒั นาสือ นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้ ให้ได้มวลประสบการณ์อยา่ งเพียงพอและสอดคล้องกบั

ระดบั พฒั นาการการเรียนรู้ของนกั เรียน

6. สร้างเครือขา่ ยทีเข้มแข็ง

7. พฒั นาผ้เู รียนให้มคี วามรู้ ทกั ษะ และเจตคติ เทียบเคียงมาตรฐานสากล

ค่านิยม (VALUES) คา่ นิยมของโรงเรียน ดงั นี

1. มจี ิตสาธารณะ 2. ทํางานเป็นทีม 3. ยดึ ประโยชน์นกั เรียนเป็นสาํ คญั

วฒั นธรรมองค์กร มกี ารถ่ายทอดความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ในการจดั การเรยี นรู้ และการอยู่

รว่ มกนั ในโรงเรยี น จากครูร่นุ หนงึ สอู่ กี รุน่ หนึงอยา่ งมรี ะบบและประสทิ ธผิ ล

สมรรถนะหลักของโรงเรียน (Core Competencies)

1. ครูมคี วามสามารถในการพฒั นาหลกั สตู ร

2. ครูจดั การเรียนรู้ทีเน้นผ้เู รียนเป็นสาํ คญั

3. มที ีมงานทีมคี วามรู้อยา่ งหลากหลาย และมปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผลในการปฏิบตั ิงาน

4. มีเครือขา่ ยความร่วมมอื ในการพฒั นาการจดั การศกึ ษา สอื นวตั กรรม และแหลง่ การเรียนรู้

อยา่ งหลากหลาย และเพยี งพอ

5. ครูมที กั ษะในการเฝา้ ระวงั (Well Care) นกั เรียน

(3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร (Workforce Profile)

มีผ้บู ริหาร คณะครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จําแนกประเภท และตามวุฒิการศกึ ษา ดงั นี

ตารางที OP 1-1 แสดงจํานวนครูและบคุ ลากรโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ปีการศกึ ษา2560 (ข้อมลู ณ วนั ที10 ม.ิ ย.2560)

ตาํ แหน่ง อนั ดบั จาํ นวน รวม การศึกษา ป. เอก
ชาย หญิง ตาํ กว่าปริญญาตรี ป.ตรี ป.โท

ผ้อู าํ นวยการ คศ.4(3) 1 - 1 - - -1

รองผ้อู ํานวยการ คศ.3 112 - 1-1

ครู คศ.4(3) 2 8 10 -

ครู คศ.3 9 67 76 -

ครู คศ.3(2) 1 1 2 - 62 42 1
ครู คศ.2 1 8 9 -

ครู คศ.1 2 4 6 -

ครูผ้ชู ่วย คผช. -22

บคุ ลากรอนื 10 57 67 51 14 2 -

รวมทงั สนิ 27 148 175 51 77 44 3

อตั รา ครูประจําการต่อนกั เรียน ระดบั ปฐมวยั 1 : 27 ระดบั ประถมศกึ ษา 1 : 23

4
สิทธิประโยชน์และสวัสดิการของบุคลากร โรงเรียนได้จัดบริการอํานวยความสะดวกในการ
ปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร ได้แก่ อาหารกลางวนั โทรศพั ท์ภายใน อินเตอร์เน็ต บริการยานพาหนะในการไปราชการและ
สวสั ดิการด้านตา่ งๆ นอกจากนียงั มกี ารแสดงความยนิ ดสี ร้างขวญั กําลงั ใจแก่บคุ ลากรและครอบครัวตามโอกาสตา่ งๆ
เชน่ สําเร็จการศกึ ษาระดบั สงู ขนึ การเลอื นวิทยฐานะ การประสบความสําเร็จในการปฏิบตั งิ าน การเยยี มกรณเี จบ็ ป่วย
จดั งานสงั สรรค์ในเทศกาลสาํ คญั เป็นต้น
สทิ ธิประโยชน์ด้านสขุ ภาพและความปลอดภยั โรงเรียนได้จดั บริการด้านสขุ ภาพและความปลอดภยั
โดยการจดั ให้มีห้องพยาบาลในโรงเรียน มเี จ้าหน้าทีพยาบาลดแู ลปฐมพยาบาลเบืองต้น บริการตรวจสขุ ภาพประจําปี
จากโรงพยาบาล จดั ทําประกนั ชีวิตและอุบตั เิ หตใุ ห้กบั นกั เรียนและบคุ ลากรทุกคน จดั เวรยามรักษาความปลอดภยั ใน
โรงเรียนทงั ในวนั เวลาราชการ และวนั หยดุ ราชการตลอด 24 ชวั โมง
(4) สินทรัพย์ (Assets) : โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ ตงั อยบู่ นพืนที 37 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา โรงเรียนมอี าคาร
สถานที เทคโนโลยีและครุภณั ฑ์ สิงอํานวยความสะดวก ดงั นี
(4.1) ข้อมูลด้านอาคารสถานที อาคารเรียน รวมทังสิน 8 หลงั รวม 69 ห้องเรียน อาคารประกอบ
ได้แก่ โดม อาคารอเนกประสงค์ อาคารห้องสมดุ อาคารสง่ เสริมอจั ฉริยภาพวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ สระว่ายนํา
อาคารสภานกั เรียน อาคารสวสั ดิการ อาคารรับรอง อาคารเฉลิมพระเกียรติ อาคารICT ห้องปฏิบตั ิการอืนๆ ได้แก่
ห้องพกั ครู ห้องสอื อุปกรณ์ ห้องผ้บู ริหาร ห้องวิชาการ ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้อง E-classroom ห้องเรียน
ภาษาองั กฤษ ห้องศนู ย์อาเซยี นศกึ ษา ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบตั ิการทาง
คณิตศาสตร์ ห้องสมดุ ห้องเรียนสีเขียว ห้องพยาบาล ห้องดนตรี ห้องนาฏศิลป์ โรงเรียนธนาคาร พืนทีปฏิบตั ิ
กิจกรรม / นนั ทนาการ ได้แก่ สนามฟุตบอล และสนามเด็กเลน่
(4.2) เทคโนโลยี ครุภณั ฑ์และอุปกรณ์ทจี าํ เป็ น โรงเรียนมคี อมพิวเตอร์จํานวน 301 เครือง เครือง
คอมพวิ เตอร์แบบพกพาจํานวน 23 เครือง (อัตราส่วนคอมพิวเตอร์ต่อนกั เรียน เท่ากบั 1:8 )เครืองถ่ายเอกสาร
จํานวน 4 เครือง เครืองโทรสารจํานวน 1 เครือง เครืองโปรเจคเตอร์จํานวน 19 เครือง เครืองพิมพ์เอกสาร จํานวน 31
เครือง กระดาน Active Board จํานวน 10 เครือง เครืองปรับอากาศจํานวน 76 เครือง เครืองทํานําเย็น 4 เครือง มี
ระบบอินเตอร์เน็ตให้นกั เรียน ครู ใช้บริการอยา่ งทวั ถงึ มีอปุ กรณ์กระจายสญั ญาณ 20 จุดในระบบ Wifi ครอบคลมุ ทัง
โรงเรียน เครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตของ TOT ความเร็ว Least Line 30/30 Mbps
(5) กฎระเบียบบังคับ (Regulatory Requirements) โรงเรียนดําเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมด้าน
กฎระเบยี บข้อบงั คบั ของกระทรวงศกึ ษาธิการทีสําคญั ดงั นี
(5.1) กฎระเบียบด้านชวี อนามัยและความปลอดภยั โรงเรียนได้ดําเนินการตามคูม่ ือแนวทางปฏิบตั ิ
และมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2556 ด้านสุขภาพอนามยั โดยยดึ นโยบายตามโครงการ
โรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ จดั ให้มหี ้องพยาบาล ร่วมมอื กบั สาธารณสขุ จงั หวดั ในการตรวจสขุ ภาพนกั เรียนและให้ความรู้
เกียวกบั การป้องกนั โรคตา่ งๆ เช่น ไข้เลือดออก โรคหวัด โรคมือเท้าปาก เป็นต้น ร่วมมือกับขนส่งจงั หวดั เกียวกับ
การจราจรทีปลอดภยั ร่วมมอื กบั สาํ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมสวสั ดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษา (สกสค.) ในการตรวจสุขภาพประจําปี สร้ างวินยั จราจรในโรงเรียนให้ครูและบุคลากรถือปฏิบตั ิ ซ่อมบํารุง
ยานพาหนะให้อยใู่ นสภาพดีพร้อมใช้งาน คนขบั รถมีใบอนุญาตขบั ขี ปรับปรุงอาคารสถานทีและสภาพแวดล้อมใน
โรงเรียนให้สะอาดร่มรืนและปลอดภยั การดําเนินการด้านโภชนาการอาหารกลางวนั มีการควบคมุ ดแู ลคณุ ภาพ

5
อาหารให้ มีคุณค่า สะอาด ถูกหลักอนามยั กําหนดให้ แม่ครัวทุกคนสวมเสือกันเปือน สวมหมวกคลุมผม มี
คณะกรรมการตรวจสอบคณุ ภาพอาหาร สถานทีรับประทานอาหารสะอาดและเพียงพอ

(5.2) ข้อกําหนดด้านมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ได้ดําเนินการตามประกาศของ
กระทรวงศกึ ษาธิการทีกําหนดให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาขนั พืนฐาน เพือการประกนั คุณภาพภายในเป็นหลกั ในการ
เทียบเคยี งสาํ หรับสถานศกึ ษา และหน่วยงานต้นสงั กดั ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกัน
คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 และมาตรา 5 มาตรา 9 (3) มาตรา 31 มาตรา 48 แห่งพระราชบญั ญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิมเติม (ฉบบั ที 2 ) พ.ศ. 2545

(5.3) กฎ ระเบียบ เกียวกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการบริการเสริมพิเศษ ได้
ดําเนินการภายใต้แผนพฒั นาการศกึ ษาแห่งชาติ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. 2546 หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขนั พนื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระเบยี บการวดั และประเมินผลโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ พทุ ธศกั ราช 2552 ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขนั พนื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบยี บการบริหารราชการแผน่ ดนิ
คําสงั นโยบายของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พนื ฐาน(สพฐ.) เป็นข้อกําหนดในการดําเนินการจดั หลกั สตู ร
และการจดั การเรียนการสอน

(5.4) กฎระเบยี บเกียวกับการปฏิบตั ิงานทางการศกึ ษา ได้ดําเนินการตามระเบียบวา่ ด้วยการลงโทษ
นักเรียน พ.ศ. 2548 ระเบียบว่าด้วยการเปิดปิดสถานศึกษา ระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการพานักเรียนและ
นกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ระเบียบว่าด้วยการแตง่ กายนกั เรียนในสถานศกึ ษา พระราชบญั ญตั ิระเบียบ
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ฉบบั ที 3 พ.ศ. 2553 กฎ ก.ค.ศ. วา่ ด้วยการเลือนขนั เงนิ เดอื นครู พ.ศ. 2550
หลกั เกณฑ์และวิธีการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 และทีแก้ไขเพิมเติม ประกาศกระทรวง
ศกึ ษา เรือง มาตรการการพานกั เรียนและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษาและเดินทางไกล เข้าคา่ ยพกั แรมของลูกเสือ
และยวุ กาชาด ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยการกําหนดเวลาทํางานและวนั หยดุ ราชการของสถานศกึ ษา พ.ศ.
2547

(5.5) กฎระเบยี บข้อบงั คบั ด้านการเงิน ได้ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบงั คบั ด้านการเงินให้ดําเนินการ
ตามระเบียบของกระทรวงการคลัง เกียวกับการจัดซือจดั จ้าง การเก็บรักษาและการเบิกจ่ายเงินและดําเนินตาม
ประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการว่าด้วยการเก็บเงินบํารุงการศึกษา รวมทังหลกั เกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณเงิน
อดุ หนนุ และประกาศสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พนื ฐาน(สพฐ.) เรือง หลกั เกณฑ์ อตั รา และวิธีการนําเงิน
รายได้สถานศกึ ษาไปจ่ายเป็นคา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2551 ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทีแก้ไขเพิมเตมิ ทกุ ฉบบั

ข. ความสัมพนั ธ์ระดบั องค์กร (Organizational Relationships)
(1) โครงสร้างองค์กร ( Organizational Structure)
ใช้แนวทางการบริหารโรงเรียนแบบโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ เน้นการกระจายอํานาจไปยงั สายชนั

ให้บุคลากรมีส่วนร่วม ดําเนินการโดยมีคณะกรรมการสายชนั ทําหน้าทีบริหารงาน 4 งาน คือ งานวิชาการ งาน
งบประมาณ งานบริหารทวั ไป งานบุคลากร เพือให้การปฏิบตั งิ านเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็วและมปี ระสิทธิภาพ

6
ภายใต้การนิเทศ กํากับ ติดตามของคณะผ้บู ริหาร แล้วสรุปรายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อผ้บู ริหาร เพือสรุปและ
รายงานตอ่ ผ้มู ีสว่ นเกียวข้องและสาธารณชนตอ่ ไป

(2) ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Students and Stakeholders)
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิรับนกั เรียนในเขตบริการ ได้แก่ ตําบลในเมือง และตําบลรอบเมืองอีก 4 ชุมชน

แตห่ ากเดก็ ในเขตบริการไมเ่ ตม็ ตามจํานวนทีประกาศรับสมคั ร ก็จะเปิดรับสมคั รให้นกั เรียนทีอย่นู อกเขตบริการ ให้
ครบตามจํานวนทีประกาศไว้ กลุ่มผู้เรียนจึงมีลกั ษณะทีแตกต่างกันตามบริบท ทงั ด้านความต้องการและความ
คาดหวงั ในการสง่ นกั เรียน เข้ามาเรียนในโรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ ดงั ตอ่ ไปนี

(2.1) กลมุ่ เดก็ ปฐมวยั หวงั ให้เด็กมพี ฒั นาการทุกด้านสมวยั ทงั ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สงั คมและ
สตปิ ัญญา มคี วามพร้อมทีจะเรียนในชนั ทีสงู ขนึ ตอ่ ไป โดยจดั กิจกรรมบ้านนกั วิทยาศาสตร์น้อย ต้นกล้าคณุ ธรรม ต้น
กล้าอาเซยี น วา่ ยนํา การเรียนคอมพวิ เตอร์ คา่ ยวิชาการ ส่งเสริมรักการอ่าน โครงงานของหนู การเรียนดนตรีและ
จงั หวะ เป็นต้น

(2.2) กลุ่มเด็กทีมีความสามารถพิเศษ จัดห้องเรียนส่งเสริมศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์(SMP) เพอื ให้นกั เรียนมคี วามรู้และความสามารถในการสือสาร การคิดการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และการใช้ทกั ษะชีวิต มคี ณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมทีพงึ ประสงค์ มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทีดี รักการออกกําลงั
กาย มคี วามรักชาตมิ จี ิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก และมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิ
ปัญญาไทย มีทกั ษะและความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สามารถเข้าแข่งขนั ทกั ษะทางวิชาการ ใน
ระดบั ตา่ งๆ รวมทงั การสอบเข้าเรียนตอ่ ในระดบั ชนั มธั ยมศกึ ษาในโรงเรียนยอดนิยม ทงั ในจงั หวดั และตา่ งจงั หวดั ได้

(2.3) กล่มุ ห้องเรียนทีพฒั นาเด็กตามจุดเน้น การจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน
พืนฐานเป็นภาษาอังกฤษ (MEP) ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สุขศกึ ษา และภาษาอังกฤษ โดยครู
ชาวตา่ งชาติ ผ้ปู กครองต้องการและคาดหวงั ให้นกั เรียนมีทกั ษะในการสือสารภาษาองั กฤษ นักเรียนทีจบการศกึ ษา
ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ตามหลกั สตู ร สามารถสอบเข้าศกึ ษาตอ่ ในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษายอดนิยมในหลกั สตู รเดียวกัน
ได้

(2.4) กลมุ่ ห้องเรียนปกติ ผ้ปู กครองต้องการให้นกั เรียนมที กั ษะในการสอื สารด้วยภาษาองั กฤษ จึงมี
โครงการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพอื การสอื สาร (English for Communication Development : ECD) โดย
ครูตา่ งชาติ และนกั เรียนสามารถจบการศกึ ษาชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ตามทีหลกั สตู รกําหนด และสามารถเข้าศกึ ษา
ตอ่ ในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษายอดนิยมได้

(3) ผู้ส่งมอบและพนั ธมิตร
โรงเรียนมกี ลไกลทีสําคญั ในการสือสารแบบสองทางกบั ผ้ปู กครองและชมุ ชน โดยการประชุมผู้ปกครอง

การใช้ แบบสอบถาม การสือสารผ่านสืออิเล็กโทรนิกส์ เพือใช้เป็ นช่องทางในการแสดงความคิดเห็นและให้
ข้อเสนอแนะในการบริหารจดั การศกึ ษาและการจดั การเรียนการสอน รวมทังสนบั สนุนงบประมาณจดั หาสือและ
อปุ กรณ์ และแหลง่ เรียนรู้จดั หาบคุ ลากรสายสนบั สนุน จดั หาครูทีมคี วามเชียวชาญเฉพาะด้าน และครูชาวตา่ งชาติ

พันธมิตร จดั ทําข้อตกลงความร่วมมือกบั หน่วยงานทางการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล สถาบนั พลศกึ ษาชยั ภมู ิ วิทยาลยั เทคนิคชยั ภูมิ โรงเรียน
ชยั ภมู ภิ กั ดชี ุมพล และโรงเรียนสตรีชยั ภูมิ ในการพฒั นาการศกึ ษา

7
ผู้ให้ความร่วมมือ โรงเรียนได้สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื และร่วมมอื กบั องค์กรตา่ งๆ เช่น สมาคมผู้ปกครอง
และครู เทศบาลเมืองชยั ภูมิ ให้ความร่วมมอื กับสํานักงานคุรุสภาในการตรวจสุขภาพประจําปีและจาก สํานักงาน
สาธารณสขุ โรงพยาบาลชยั ภมู ิ การให้ความร่วมมือกบั สถานีตํารวจภธู รจงั หวดั ชยั ภูมิ ในการจดั โครงการการศกึ ษา
เพือตอ่ ต้านการใช้ยาเสพติดในเด็กนกั เรียน (D.A.R.E.) การให้ความรู้ความปลอดภยั ในการจราจร การรับความรู้
เกียวกบั วินยั จราจรจากสาํ นกั งานขนสง่ จงั หวดั ชยั ภูมิ การให้ความร่วมมือกบั สาํ นกั งานพลงั งานจงั หวดั ชยั ภูมิเพือรับ
และเผยแพร่ความรู้ด้านพลงั งานและการอบรมคณุ ธรรมและจริยธรรมจากองคก์ รทางศาสนา
2. สภาวการณ์ขององค์กร (Organizational Situation)
ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน (Competitive Environment)
(1) ลาํ ดบั ในการแข่งขนั (Competitive Position) โรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลระดบั
ประถมศกึ ษาทีมขี นาดใหญ่พเิ ศษเป็นลําดบั ที 1 ของจังหวดั ชยั ภูมิ ดงั นนั จึงได้เลือกโรงเรียนใกล้เคียงทีมีตลาดการ
แขง่ ขนั ลกั ษณะเดียวกนั คอื โรงเรียนอนบุ าลขอนแกน่ เพอื เป็นคเู ทียบในการแขง่ ขนั ดงั นี
- ผลการทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาตขิ นั พืนฐาน (O–NET และNT)
- ผลการแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการ นานาชาติ
- ผลการแขง่ ขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และระดบั ชาติ
- ผลการสอบเข้าเรียนต่อในโรงเรียนยอดนิยม โรงเรียนทีมีการแข่งขันสูง และโรงเรี ยนทีส่งเสริ ม
ความสามารถพเิ ศษ
(2) การเปลียนแปลงความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness Changes) ปัจจุบนั โรงเรียนมี
ความสามารถในการแข่งขนั เทียบเคียงกบั โรงเรียนทีมีการแขง่ ขนั สงู ในกลุ่มโรงเรียนมาตรฐานสากล มีผลตอ่ การ
พฒั นาด้านตา่ งๆของโรงเรียนทีสําคญั มดี งั นี
- นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิ การทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติขนั พืนฐาน (O–NET และNT) มีแนวโน้มสงู ขึน
ตอ่ เนืองทุกปี และสงู กวา่ คะแนนเฉลยี ระดบั ประเทศ
- นกั เรียนได้เป็นตวั แทนเข้าแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการนานาชาติ ระดบั ภาค มจี ํานวนเพิมขนึ
- นกั เรียนได้เป็นตวั แทนเข้าแขง่ ขนั งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ มีจํานวนเพมิ ขนึ
- นักเรียนสอบเข้าเรียนต่อในโรงเรียนยอดนิยม โรงเรียนทีมีการแข่งขนั สูง และโรงเรียนทีส่งเสริม
ความสามารถพเิ ศษ มีจํานวนเพิมขนึ ทกุ ปี
- ด้านบุคลากร บุคลากรมีความตืนตวั และพฒั นาตนเองมากขนึ รวมทังการจัดหาบุคลากรทีมีความรู้
ความสามารถเฉพาะด้านและมีความขาดแคลน เช่น ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านว่ายนํา ด้าน
ภาษาองั กฤษจากเจ้าของภาษา เป็นต้น ให้มจี ํานวนเพียงพอตอ่ ความต้องการ
- ด้านหลกั สูตร ได้มีการปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรให้มีความหลากหลายและสอดคล้องกับความ
ต้องการของผ้เู รียน ได้แก่ มีหลกั สตู รการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ
(MEP) หลกั สตู รห้องเรียนพเิ ศษสง่ เสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (SMP) เป็นต้น
- โรงเรียนมีสงิ อํานวยความสะดวกสนบั สนุนการจดั การเรียนการสอนและการเรียนรู้มากขึน เช่น จดั หา
คอมพิวเตอร์ กระดานอจั ฉริยะ เครืองฉายภาพแบบทึบแสง ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ทีทันสมัย ห้อง E-
Classroom สระวา่ ยนํา นอกจากนนั ยงั สามารถนํานกั เรียนไปศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ได้อยา่ งตอ่ เนือง และหลากหลาย

8
- ด้านทรัพยากร โรงเรียนได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอยา่ งดี ด้วย

ความศรัทธาและเชือมนั ในการบริหารการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอง

(3) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ(Comparative Data) ในการบริหารจดั การการเรียนการสอน มงุ่ ให้

สอดคล้องกบั หลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล เพือให้เหนือคแู่ ขง่ โดยการจดั โปรแกรมการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร

กระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ (MEP) โปรแกรมห้องเรียนพิเศษส่งเสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และ

คณิตศาสตร์ (SMP) มีการจดั การเรียนการสอนวา่ ยนํา โรงเรียนจึงต้องสร้างความเชือมนั ให้กบั นกั เรียนและผ้ปู กครอง

เพมิ ขนึ และให้ความสาํ คญั ของการพฒั นาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติขนั พืนฐาน

(O–NET และ NT) และมีระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนทีเข้มแข็ง และการจดั รายวิชาเพิมเติมตามจุดเน้น Independent

Study : IS โรงเรียนคเู่ ทียบเพือนํามาพฒั นาโรงเรียน คือ โรงเรียนอนุบาลขอนแกน่ ซงึ มขี ้อมลู การเปรียบเทียบ ดงั นี

ตารางที 2ก(3) การเปรียบเทียบกระบวนการทีคล้ายกนั ในสถานศกึ ษาอืนและข้อจาํ กดั ในการหาข้อมลู

โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ โรงเรียนอนุบาลขอนแก่น ผลการเปรียบเทียบ
ระดับก่อนประถมศึกษา หลกั สตู รปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546
หลักสูตรปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546 การจัดประสบการณ์แบบมอนเตสเซอร์รี โรงเรียนอนุบาลขอนแกน่ มหี ้องเรียนในระดบั กอ่ นประถมศกึ ษามากกวา่
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ 1 ห้อง
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิในระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาไมไ่ ด้จัด

การจัดประสบการณ์แบบวอลดอร์ฟ โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิในระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาไมไ่ ด้จัด

ระดับประถมศึกษา ห้องเรียนปกติ 1.โรงเรียนอนุบาลขอนแกน่ มีห้องเรียนห้องปกตนิ ้อยกวา่ 1 ห้องเรียน
ห้องเรียนปกติ

โปรแกรมห้องเรียนพเิ ศษ โปรแกรมห้องเรียนพิเศษภาษาองั กฤษ 1. ร.ร.อนุบาลขอนแกน่ มหี ลักสตู ร EP ระดบั ชัน ป.1 - ป.6 ระดบั ชนั 2 ห้อง
1.โปรแกรมจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร (English Program : EP) 2. ร.ร.อนุบาลชยั ภมู มิ ีหลักสตู ร MEP ระดบั ชนั ป.1 - ป.6 ระดบั ชัน 1 ห้อง
กระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ (Mini
English Program : MEP)

2.โปรแกรมห้องเรียนพิเศษสง่ เสริมศกั ยภาพ โปรแกรมห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์และ 1. ร.ร.อนุบาลขอนแกน่ มีหลกั สูตร SMP ระดบั ชัน ป.3 - ป.6 ระดบั ชัน2 ห้อง
ทางด้านวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (SMP) คณิตศาสตร์ (SMP) 2. ร.ร.อนุบาลชยั ภมู ิ มีหลักสูตร SMP ระดบั ชัน ป.1 - ป.6 ระดบั ชนั 1 ห้อง

ข้อมูลเชงิ เปรียบเทียบ 1. นกั เรียนมผี ลสัมฤทธิ การทดสอบทาง 1. โรงเรียนอนบุ าลขอนแกน่ มีนักเรียนได้คะแนนO-NETเต็ม 100 คะแนน
1.นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ การทดสอบทางการศกึ ษา การศกึ ษาแห่งชาตขิ นั พืนฐาน (O–NET และ ในวชิ าคณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และสังคมศกึ ษา
แห่งชาติขนั พนื ฐาน (O–NET และNT) NT) 2. โรงเรียนอนบุ าลขอนแกน่ มีนักเรียนได้เป็นตวั แทนเข้าแข่งขันทักษะทาง
2. แขง่ ขนั ทักษะทางวิชาการ นานาชาติ 2. แขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการ นานาชาติ วชิ าการ นานาชาติมากกวา่ โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ
3. งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ 3. งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน ระดบั ชาติ 3. โรงเรียนอนุบาลขอนแก่นมีนักเรียนได้เป็ นตัวแทนเข้าแข่งขันงาน
4. สอบเข้าและเรียนตอ่ ในโรงเรียนยอดนิยม 4. สอบเข้าและเรียนตอ่ ในโรงเรียนยอดนิยม ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั ชาติ มีจํานวนเพมิ สูงขนึ
โรงเรียนทีมารแขง่ ขนั สงู และโรงเรียนทีสง่ เสริม โรงเรียนทีมารแขง่ ขนั สูง และโรงเรียนที 4. โรงเรียนอนุบาลขอนแกน่ มนี กั เรียนสอบเข้าและเรียนตอ่ ในโรงเรียนยอด
ความสามารถพิเศษ ส่งเสริมความสามารถพเิ ศษ นิยม โรงเรียนทีการแขง่ ขนั สงู และโรงเรียนทีส่งเสริมความสามารถพิเศษ
มีจํานวนเพมิ สูงขนึ ทุกปี

ข. บริบทเชงิ กลยุทธ์(Strategic Context)
เนืองจากโรงเรียนอนุบาลชยั ภูมิเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล จึงได้เปรียบในการปรับปรุงหลกั สูตรให้มีความ

โดดเดน่ และสอดคล้องกบั บริบทและความต้องการของชุมชน ประกอบกบั โรงเรียนเป็นโรงเรียนอนบุ าลประจาํ จงั หวดั มี
ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนชันประถมศึกษาปีที 6 จากผลการทดสอบระดับชาติ(O-NET) คะแนนเฉลียสูงกว่า
ระดบั ประเทศ และมนี กั เรียนทีได้คะแนนเตม็ 100 คะแนน ทกุ ปี จงึ ทําให้โรงเรียนได้รับการยอมรับ จากผ้ปู กครองและ

9
สง่ บุตรหลานมาเข้าเรียนมีจํานวนเพิมขนึ อยา่ งตอ่ เนือง ซงึ ผู้ปกครองยินดีและให้การสนับสนุนงบประมาณในการ

สนบั สนนุ จดั การเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี

ตารางที 2 ข แสดงความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยทุ ธ์ทีสาํ คญั

ด้าน ความท้าทายเชงิ กลยทุ ธ์ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์
ด้านการจดั การ - สพฐ.มีนโยบายและข้อจํากดั ในการ 1. โรงเรียนจดั ทําหลักสตู รตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล
หลกั สตู ร กาํ หนดเวลาเรียน 2. โรงเรียนมีหลกั สูตรทีสง่ เสริมให้ผู้เรียนพฒั นาได้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ ได้แก่ โครงการจัดการเรียนการสอน
- หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั พืนฐาน ตามหลกั สูตรกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ ( MEP)และโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมศักยภาพ
มีการปรับตวั ชีวดั ในทกุ กลมุ่ สาระฯ ทางด้านวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (SMP)
- นักเรียนทีเข้าเรียนชนั ป.1 ขาดความ 3. มกี ารบูรณาการการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองอย่างอิสระ (Independent Study:IS) ในหน่วยการเรียนรู้ทุก
พร้อมด้านทักษะภาษาองั กฤษ ระดบั ชัน
- นโยบายจากหนว่ ยงานต้นสังกดั มีการ 4. การจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพือการสือสาร(English for Communication Development : ECD)
เปลียนแปลงบอ่ ย 5. การจัดการเรียนการสอนแบบสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
6. การจดั การเรียนการสอนกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิมเวลารู้
7. การจดั การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์
8. การจัดกจิ กรรมส่งเสริมทกั ษะวา่ ยนํา
9. การจดั การเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ด้านการ - การเรียนการสอน มีการบูรณาการข้าม 1. บุคลากรมศี กั ยภาพในการจดั การเรียนรู้ และมีการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนืองทันตอ่ การเปลียนแปลง ด้าน
ปฏบิ ัตกิ าร สาระน้อย การศกึ ษา มกี ารผลิตและส่งเสริมการพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้
- ห้องสมดุ คบั แคบ หนังสือไมเ่ พียงพอ 2. มีการนําหลักสูตรมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เนืองจากมีงบประมาณ มา
ด้านความ -ระบบสารสนเทศ มีความซําซ้อนกนั ใน สนับสนุนอยา่ งเพียงพอ
รับผิดชอบตอ่ หลายๆ ฝ่ าย
สงั คม -โครงการมากและซําซ้อน ต้องจัดระบบ โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิได้รับคดั เลือกให้เป็นทีตงั ศนู ยอ์ าเซียนศกึ ษา ศนู ย์พฒั นาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
บรู ณาการ ระดับประถมศกึ ษา (Primary Education English Resource Center: PEER CENTER) ศนู ย์เด็กปฐมวัย
- พฒั นากระบวนการวจิ ยั ในชนั เรียน ต้นแบบ ครูจงึ ได้รับการคดั เลือกให้เป็นวทิ ยากร เช่น วิทยากรเครือขา่ ยท้องถินโครงการ บ้านนักวิทยาศาสตร์
น้อยประเทศไทย วิทยากรการจดั การเรียนการสอนด้วย DLIT วิทยากรอบรมครูผู้สอนภาษาอังกฤษแนวใหม่
-ออกบริการให้ความรู้กบั ชมุ ชนไมต่ อ่ เนือง CEFR ของสํานกั งานเขตพืนทีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 1 เป็นต้น เนืองจากโรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ
- นักเรียนยงั อยใู่ นวยั เด็ก ไมเ่ ออื ตอ่ การ อยูใ่ นชุมชนเมือง มีความสะดวกในการเดินทาง มีความพร้ อมด้านอาคารสถานทีและแหล่งเรียนรู้ จึงเป็ น
ออกไปบริการสังคม สถานทีให้บริการแกส่ งั คม เชน่ จัดประชมุ สมั มนา การสอบเพอื บรรจแุ ตง่ ตงั การแขง่ ขนั ทักษะทางวชิ าการ การ
ทดสอบความรู้ทางวิชาการของนักเรียนในชุมชนระดับต่างๆ และเป็ นสถานทีจัดการแข่งขนั กีฬา เป็นต้น
นอกจากนีโรงเรียนยงั รับผิดชอบตอ่ สังคมโดยให้ความรู้และเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ
แสดงผลงานโรงเรียนเศรษฐกจิ พอเพยี ง การให้ความรู้ในโรงเรียนเครือขา่ ยอาเซียนศกึ ษา การร่วมงานประเพณี
ทางศาสนาของจังหวัดและชุมชน ร่วมบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย ร่วมรณรงค์อนุรักษ์สิงแวดล้อมและ
วฒั นธรรมไทย เป็นต้น

ด้านทรัพยากร -บคุ ลากรสายผู้สอนมีอายเุ ฉลีย 48 ปี ซึง โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิมีบุคลากรเพียงพอ จัดครูเข้าสอนและปฏิบัติงานอืนตรงตามสาขาวิชาและความรู้
บุคคล จะมีครูเกษียณจํานวนมากในแตล่ ะปี ความสามารถ ครูเอาใจใสใ่ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้รับผิดชอบตอ่ หน้าที มีการพฒั นาตนเองโดยการอบรม
- ครูขาดทกั ษะการสือสารทาง สัมมนา การศกึ ษาดงู าน การศกึ ษาตอ่ การอบรมออนไลน์ TEPE ตามสมรรถนะทกุ คนอยา่ งตอ่ เนือง การศกึ ษา
ภาษาองั กฤษ ค้นคว้าวิจยั ทําให้ได้รับคณุ วฒุ ิและวทิ ยฐานะสงู ขนึ ส่งผลให้บคุ ลากรในโรงเรียนได้รับรางวลั เช่น ครูดีในดวงใจ
-ครูขาดทกั ษะการผลิตสือ นวตั กรรม หนงึ แสนครูดี ครูสอนดี รางวลั OBEC AWARD ครูดเี ดน่ ในแตล่ ะกลุ่มสาระ
- ครูขาดทักษะในการใช้เทคโนโลยี

ค. รายการปรับปรุงผลการดําเนนิ งาน (Performance Improvement System) 10

โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ไิ ด้ใช้แนวทางการบริหารโรงเรียนแบบโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ โดยใช้รูปแบบการ

บริหาร “อนุบาลชยั ภูมริ วมใจ” ในการขบั เคลือนกระบวนการบริหารภายในโรงเรียน ตามวงจรการควบคุมคุณภาพ

PDCA ดงั นี

หลกั การ
 หลกั ธรรมาภบิ าล
 หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
 หลกั การทํางานเป็นทมี
วัตถุประสงค์
พฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณภาพและมี
ประสทิ ธิผล

กระบวนการ
POSALLEE

แนวทางการนาํ รูปแบบไปใช้ เงือนไขความสาํ เร็จ
1. เตรียมการ 1. จดั ทําคมู่ อื /แนวทาง/มาตรฐาน
2. ดาํ เนินการ 2. จัดระบบติดตอ่ สือสารสมําเสมอ
3. ตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผล 3. การสนับสนนุ และการเข้าไปมสี ว่ นร่วม

ของผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย
4. จัดสภาพแวดล้อมทีเออื ตอ่ นโยบาย

ภาพประกอบที OP-4 รูปแบบการบริหาร อนุบาลชยั ภมู ริ วมใจ
P 1) กาํ หนดนโยบายของสถานศกึ ษา (Policy)

2) การวางแผน การวางระบบงาน (Planning)
3) การจดั โครงสร้างงาน (Organization)
4) การพฒั นาบคุ ลากร/ทีมงาน (Staff Development )
D 5) การลงมือปฏิบตั ิให้เป็นนวตั กรรม (Acting and Innovation)
C 6) การควบคมุ กํากบั และประเมินผล (Controlling and Evaluation)
C 7) การจดั แสดงผลงาน (Exhibition)
A 8) การนํา (Leading)
A 9) การแลกเปลยี นเรียนรู้ (share & Learn)
โดยขนั ที 8 และขนั ที 9 จะเป็นตวั ขบั เคลือนในทุกกระบวนการ

หมวด 1 การนําองค์กร (Leadership) 11

โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีการนําองค์กรทีชัดเจน มีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผล สามารถพฒั นาโรงเรียนได้อย่างตอ่ เนืองและยงั ยืน

1.1 การนาํ องค์กรโดยผ้นู าํ ระดับสูง (Senior Leadership)

ก. วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ และค่านยิ ม (Vision, Mission and Values)

(1) วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ และค่านยิ ม (Vision, Mission and Values)

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิได้นําปรัชญา ทฤษฎีการเรียนรู้ วฒั นธรรมองค์กร และเจตนารมณ์ในการจัด

การศึกษา มากําหนดเป็นวิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม อันจะเป็นตัวกําหนดกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ด้วยการ

มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั พืนฐานก่อนนําไปปฏิบตั ิ มีการ

ถ่ายทอดวิสยั ทศั น์และคา่ นิยมสคู่ รู บุคลากร ผ้สู ง่ มอบและพนั ธมิตรทีสําคญั ด้วยการประชาสมั พนั ธ์ จดั ประชุมชีแจง

จดั ประชมุ ผ้ปู กครองกอ่ นเปิดภาคเรียน มีการแตง่ ตงั คณะกรรมการดําเนินงานตา่ งๆ เพือให้บรรลวุ ิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ

และคา่ นิยมขององค์กร นําไปสกู่ ารกําหนดมาตรฐานการศกึ ษา ตวั ชีวดั และคา่ เปา้ หมายในการวดั ประสิทธิผลการจัด

การศกึ ษา

•แต่งตงั คณะกรรมการ 2 • วเิ คราะห์ทบทวนวิสยั ทศั นเ์ ดมิ 4 •วสิ ยั ทศั น์
ดําเนินงาน • พนั ธกิจเดิม •พนั ธกิจ
•ศกึ ษาวฒั นธรรมองค์กร • คา่ นิยมเดิม •วเิ คราะห์จดุ เด่น จุดด้อย •ค่านยิ ม
1 • เจตนารมณ์ปรัชญา โอกาสในการพฒั นา
•ทฤษฎกี ารจัดการเรียนรู้ 3 กําหนด

ภาพประกอบที 1.1 ก -1 แสดงกระบวนการกาํ หนดวิสยั ทศั น์ คา่ นิยม และพนั ธกิจ
จากภาพประกอบ 1.1 ก -1 อธิบายเป็นขนั ตอนดงั นี 1) ผู้อํานวยการโรงเรียนได้ดําเนินการแต่งตัง
คณะกรรมการดําเนินงาน 2) ร่วมกันศึกษานโยบายสภาพขององค์กร แล้วนํามาวิเคราะห์ สงั เคราะห์ร่วมกัน ผ่าน
กระบวนการวางแผนกลยทุ ธ์ รวบรวมข้อมลู ทีจําเป็นทงั สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก เพือกําหนด
เจตนารมณ์ ปรัชญา ทฤษฎีการเรียนรู้ 3) การทบทวนวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และค่านิยมใหม่ ให้สามารถตอบสนองความ
ต้องการของทกุ กลมุ่ อยา่ งสมดลุ 4) วิเคราะห์จุดแข็งของโรงเรียนทีผลเป็นการดําเนินงานทีสาํ คญั ปัญหาอุปสรรคในการ
ดําเนินงาน นโยบายทีเกียวข้องความคาดหวงั และความต้องการของนกั เรียน ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ผ้ปู กครอง พนั ธมิตรและ
เครือข่าย ผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก เทคโนโลยี กฎระเบียบ ต่างๆ มาวิเคราะห์ข้อมูล จากนนั จัดประชุม
ปฏิบตั กิ ารบุคลากรร่วมกนั ทงั โรงเรียน เพือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมภายนอกทีสง่ ผลกระทบต่อโรงเรียนในอนาคต โดย
ผ้อู ํานวยการและรองผู้อํานวยการโรงเรียนทัง 4 กลุ่มงานถ่ายทอดวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ ค่านิยม แผนกลยุทธ์ ผลการ
ดาํ เนินงานทีสําคญั ด้วยตนเอง ผ่านการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา การประชุมผู้ปกครอง การประชุมนกั เรียน
และผ้สู ่วนได้ส่วนเสียให้เข้าใจตรงกัน มีการกํากับ ติดตาม ตรวจสอบผลการจัดกิจกรรม ทําการประเมิน ทบทวน
ปรับปรุง และพัฒนาตรวจสอบประสิทธิภาพ และใช้มาตรฐานการจัดการศึกษา ตวั ชีวัด เป็นหลักในการวัด
ประสิทธิผลการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน เน้นความเป็นระบบ ความสอดคล้องการเรียนรู้ทีก่อให้เกิดความยงั ยืน
เพือให้บรรลุวิสยั ทศั น์พนั ธกิจ และคา่ นิยมทีกําหนดไว้ ด้วยการบริหารตามแนวทางโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่

12
(SIBSc)โดยใช้รูปแบบการบริหาร “อนบุ าลชยั ภูมิรวมใจ” ผลการดําเนินงานให้บรรลเุ ป้าหมายด้วยการทําคมู่ ือการ

ปฏิบตั ิงาน โดยร่วมกนั กําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตวั ชีวัด คือร้ อยละของจํานวนโครงการทีบรรลุ

เป้าหมาย ดงั ตารางที 7.4 ข-1
กลุ่มงานวิชาการและงานประชาสมั พันธ์ได้ขยายผลโดยการประชาสมั พนั ธ์ website โรงเรียน แผน่ พบั

ประชาสมั พนั ธ์ ปา้ ยประชาสมั พนั ธ์ เพือให้ครูและบคุ ลากรทุกคนรับทราบและเข้าใจเป็นไปในทิศทางเดียวกนั พร้ อม

นําไปสู่การปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนันยังสือสารไปสู่องค์กรภายนอกด้วยการจัดแสดงผลการ
ดาํ เนินงานสสู่ าธารณชน(Open House) ประชาสมั พนั ธ์ผา่ น Facebook เป็นต้น

(2) การส่งเสริมการประพฤตปิ ฏบิ ัติตามกฎหมาย และการประพฤติปฏบิ ัตอิ ย่างมีจริยธรรม
(Promoting Legal and Ethical Behavior)
ผ้บู ริหารโรงเรียนได้ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตามกฎหมายระเบียบวิธีปฏิบตั ิของทางราชการ และระเบียบ

ครุ ุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพครูอยา่ งเคร่งครัด ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทีดีตอ่ ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชา ให้คําแนะนํา
ยกย่องชมเชย เพือเป็นขวัญและกําลังใจ และกํากับดูแลบุคลากรในโรงเรียนให้ยึดมันต่อการปฏิบัติตนตาม

จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยใช้หลกั ครองตน ครองคน ครองงาน เพอื สร้างความผกู พนั ตามแผนภาพ 5.2 ก(1) ดงั นี

1) แตง่ ตงั คณะกรรมการกลมุ่ งานบริหารบุคคลเพือเสริมสร้ างประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการและ
สง่ เสริมพฒั นาบคุ ลากรให้มีประสิทธิภาพ

2) แจ้งกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ิทีเกียวข้องด้วยการประชุม และแจ้งหนงั สือเวียน

3) มกี ารกํากบั นิเทศ ประชุมชีแจงโดยผ้บู ริหารร่วมกบั คณะกรรมการบริหารโรงเรียน
4) สร้างความสมั พนั ธ์กบั คณะครูและบุคลากรโดยการแสดงความยินดีเนืองในโอกาสสําคญั ตา่ งๆ ได้แก่

มอบโลป่ ระกาศเกียรติคณุ การแสดงมทุ ิตาจิต การแสดงความยินดีกับผ้สู ําเร็จการศึกษาในระดบั สงู ขนึ การศึกษาดู

งาน เป็นต้น
5) ประเมินผลการปฏิบตั งิ านและพิจารณาความดีความชอบด้วยความโปร่งใสในรูปคณะกรรมการโดย

กระจายอํานาจการตดั สนิ ใจไปยงั หวั หน้าสายชนั หวั หน้ากลมุ่ งาน และหวั หน้ากลมุ่ สาระ
6) สร้างขวญั และกําลงั ใจให้กบั บุคลากรและครอบครัวในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งทวั ถึง

กรรมการบริหารและกลมุ่ งานบุคคลได้จดั ทําคมู่ ือการดําเนินงานสาํ หรับครูและบุคลากรเพอื เป็นแนวปฏบิ ตั ใิ ห้
เป็นไปตามกฎ ระเบยี บ และถา่ ยทอดให้บุคลากรทกุ คนรับทราบและถือปฏิบตั ิ ผา่ นการประชุม มีการประเมินผลการ
ปฏิบตั ิงานและแจ้งให้ทราบทุกภาคเรียน

(3) การสร้างโรงเรียนทีประสบความสําเร็จ (Creating a Successful Organization)

การสร้างบรรยากาศเพือให้เกิดการ ส่งเสริมการพัฒนานวตั กรรมและยอมรับความเสียง การสร้างวัฒนธรรมการปฏิบตั ิงาน
ปรับปรุงผลการดําเนินการ - สร้างแรงบนั ดาลใจเพือให้เกดิ นวตั กรรม ของบุคลากร
- ใช้วงจรคณุ ภาพในการขบั เคลอื น - การตรวจสอบทบทวนการปฏบิ ตั ิงานตามกลยทุ ธ์ - ขบั เคลอื นการสร้างวฒั นธรรมด้วย

– การบริหารแบบมีสว่ นร่วม ความสาํ เร็จของโรงเรียน รูปแบบอนบุ าลชยั ภมู ริ วมใจ

- กระจายอํานาจการตดั สนิ ใจ การพฒั นาและเสรมิ สร้างทกั ษะความเป็ นผู้นาํ ให้กับบุคลากร - ระบบดแู ลชว่ ยเหลือทมี ปี ระสิทธิภาพ
- พฒั นาและเสริมสร้างประสทิ ธิภาพบคุ ลากร
- การวางแผนอตั รากําลงั และจดั วางบคุ ลากร

ภาพประกอบที 1.1 ก(3) -1 กระบวนการสร้างความสาํ เรจ็ ของโรงเรียน

13
โรงเรียนได้ดําเนินการเพือให้โรงเรียนประสบความสําเร็จ โดยการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ให้การ
ดําเนินงานบรรลุพนั ธกิจ เป็นผ้นู ําในการเรียนรู้ระดับองค์กรและการเรียนรู้ของบุคลากรทุกกลุ่ม สร้ างทีมงานให้
เข้มแข็ง เพือกําหนดทิศทางการพฒั นาและรับฟังปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาร่วมกนั เป็นการกระจายอํานาจ การมี
สว่ นร่วม การบริหารตนเอง การตรวจสอบและการถว่ งดลุ
ได้วางแผนการพฒั นาบคุ ลากรให้มีความเป็นผ้นู ํา โดยการแตง่ ตงั หวั หน้ากลมุ่ งาน หวั หน้างานหวั หน้าสาย
ชนั หวั หน้ากลมุ่ สาระ หวั หน้าโครงการพิเศษ จดั ให้มีการประชุมอย่างสมําเสมอ เพือสร้ างทีมงานความผูกพนั และ
บรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกนั ในการกําหนดแนวทางปฏิบตั ิ การปรับปรุงพฒั นาและแก้ปัญหาตา่ งๆ ทีเกิดขนึ มี
การมอบหมายงานให้ปฏิบตั ิโดยมอบอํานาจการตดั สินใจในการทํางาน ให้เกิดความคลอ่ งตวั เป็นการสร้างภาวะผ้นู ํา
และนําไปถา่ ยทอดประสบการณ์ให้กบั ผ้เู รียน เช่น การเลือกหวั หน้าห้อง การเลือกประธานนักเรียน ประธานคณะสี
เป็นการฝึกและปลกู ฝังความเป็นผ้นู ํา เพือสร้างความผกู พนั ให้กบั องคก์ ร ดงั แผนภาพประกอบ 1.1 ก(3) -2

บคุ ลากร ลกั ษณะเฉพาะบุคคล 1. การสร้างความตระหนัก
 ความมนั ใจ 2. สร้างทมี งาน
 ความคาดหวงั 3. เรียนรู้วธิ ีการ ทกั ษะการเป็นผ้นู าํ
 ความยดื หยนุ่

วฒั นธรรม 4. นาํ ไปปฏิบตั ิ แรงบนั ดาลใจ
เจตนารมณ์ 5. ให้คําแนะนํา
วสิ ยั ทัศน์ องค์กรทีมกี าร
6. กํากบั ติดตามประเมนิ ผล พฒั นาในระดบั สูง
กลยทุ ธ์
แลกเปลียนเรียนร้รู ่วมกนั และ
ให้ข้อมลู ย้อนกลบั

ภาพประกอบที 1.1 ก(3) -2 การเสริมสร้างทกั ษะความเป็นผ้นู ําของบคุ ลากรของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

คณะกรรมการบริหารโรงเรียนร่วมกบั กลมุ่ บริหารงานบคุ คลได้สร้างความตระหนกั ให้กบั บุคลากรทกุ คนให้
มีส่วนร่วมในการขับเคลือนให้โรงเรียนดําเนินงานให้บรรลุวิสัยทัศน์ ซึงถือเป็นการประสบความสําเร็จทีทุกคน
ภาคภูมใิ จร่วมกนั โดยการเสริมสร้างทกั ษะความเป็นผ้นู ําให้กบั บุคลากร มีการถ่ายทอดคา่ นิยม และวฒั นธรรมการ
ทํางานแก่ทีมงานอยา่ งเป็นระบบ โดยใช้รูปแบบการบริหารงาน “อนุบาลชยั ภูมิรวมใจ”ตามแผนภาพ OP-4 ซงึ ถือเป็น
นวตั กรรมในการบริหารโรงเรียนทีสง่ ผลให้เรียนประสบความสําเร็จแล้วในระดบั หนึง และยงั ต้องมีการทบทวนและ
พฒั นาให้ดียงิ ขนึ ตอ่ ๆไป สง่ ผลให้กลมุ่ งาน และงานตา่ งๆมคี มู่ ือในการปฏิบตั ิงานทีชดั เจน และแจ้งให้บุคลากรทุกคน
ทราบและถือปฏิบตั ผิ า่ นการประชมุ ทงั การประชมุ ในระดบั สายชนั และการประชมุ กนั ทงั โรงเรียนโดยมีคณะกรรมการ
นิเทศ กํากับ ติดตาม การดําเนินงาน หากเกิดปัญหา จะมีการประชุมบุคลากรทีเกียงข้อง เพือพิจารณาหาแนว
ทางแก้ไขทนั ที และแจ้งผ้บู ริหารหรือผ้ทู ีเกียวข้องรับทราบ เพอื ดําเนินการแก้ปัญหาตอ่ ไป หากได้ผลเป็นทีนา่ พอใจหรือ
แก้ปัญหาได้ดีให้ถือเป็ น Best Practice และถ่ายทอดให้คณะครูและบุคลากรรับทราบ เพือนําไปเป็นข้อมูล
ประกอบการบริหารความเสยี งตอ่ ไป

ข. การสือสารและผลการดําเนนิ การของโรงเรียน 14
(Communication and Organizational PERFORMANCE)

(1) การสือสาร(Communication) :

S การเข้ารหสั M C การถอดรหสั R
ผ้สู ง่ สาร (Encode) สาร ช่องทาง (Decode) ผ้รู ับสาร

ผ้สู ่ง ข้อมลู ขา่ วสาร ชอ่ งทาง ผ้รู ับ
(Source) (Message) (Channel) (Receiver)
ประกาศ , ประชมุ
ทกั ษะการสอื สาร 1. นโยบาย ทศั นศึกษา ทกั ษะการสอื สาร
ทศั นคติ 2. ข่าวสาร ทศั นคติ
3. ปัญหาทีเกิดขนึ PLC
ระดบั ความรู้ 4. บทเรียนจากการ PLC ความรู้
5. คําชีแจง Website , Line
ระดบั สงั คม 6. ผลการดําเนินการ มอบรางวลั ระดบั สงั คมและวฒั นธรรม
และวัฒนธรรม

ภาพประกอบที 1.1 ข(1) -1 กระบวนการติดตอ่ สอื สารของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ
(ปรบั จากรูปแบบจําลอง Model Berlo’s (S-M-C-R) Model of Communication, 1949)
กลมุ่ งานบริหารบุคคลและงานประชาสมั พนั ธ์ของโรงเรียนได้ประชุมเพือกหนดแนวทางการสือสารและ
การสร้างความผกู พนั กบั บคุ ลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียนมีช่องทางสือสารกบั ครูและบุคลากรทุกคนใน
โรงเรียน โดยใช้การสือสารสองทาง เพอื ชีแจงนโยบาย ขา่ วสาร ชีแจงผลการดําเนินงาน บทเรียนจากการPLC ปัญหา
ทีเกิดขนึ การยกย่องชมเชย และรับฟังความคิดเห็น ไปยงั บุคลากร นักเรียน ผู้บริหาร ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย และเปิด
โอกาสให้ครูและบุคลากรสามารถเข้าพบผ้บู ริหารได้ เพือเสนอรายงานหรือปรึกษาหารือเกียวกับการปฏิบตั ิงานได้
ตลอดเวลา นอกจากนีผ้บู ริหารยงั สอื สารไปยงั ครูและบุคลากรทุกคน ผา่ นการประชมุ คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ที
กําหนดไว้อยา่ งชดั เจนเพอื ให้เกิดการสอื สารและรับทราบข้อมลู ไปยงั สายชนั ได้เปิดช่องทางรับข้อมลู ผา่ น Facebook,
Line, Email, Website เพือนําผลมาปรับปรุงแก้ไขและพฒั นาตามวงจร PDCA อย่างตอ่ เนือง ซงึ บุคลากรทุกคน
สามารถเข้าถึงช่องทางตา่ งๆได้โดยให้งานสมั พนั ธ์ชมุ ชนรับผดิ ชอบและดําเนินการ
งานบริหารบุคคลสร้างความผกู พนั ระหวา่ งบุคลากรยกยอ่ งชมเชยบคุ ลากรทีมีความสามารถ และสร้ าง
ชือเสียงให้กับโรงเรียน และเป็นแบบอย่างทีดี รวมทงั การยกย่องชมเชยอยา่ งไมเ่ ป็นทางการเมือมีการเยียมเยียน
บคุ ลากรในพืนทีปฏิบตั ิงาน ซงึ เป็นการกระต้นุ ให้บคุ ลากรรับรู้และมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ิงานอยา่ งเต็มศกั ยภาพ และ
ตอ่ เนืองในการดาํ เนินงานตา่ ง ๆ ได้มากขนึ

ตารางที 1.1 ข -1 แสดงวธิ ีการและความถีของการสอื สาร 15

วัตถปุ ระสงค์ วธิ ีการ ความถี

แจ้งให้ทราบเกียวกบั นโยบาย ประชมุ ผ้เู กียวข้อง ได้แก่ ตามความเร่งดว่ น/จําเป็นอย่างน้อย

- คณะกรรมการบริหาร เดอื นละ 1 ครงั

- ประชมุ ครูและบคุ ลากร อย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง

- ประชมุ ผ้ปู กครองนกั เรียน อยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 ครัง

ปรึกษาหารือ/ตดั สนิ ใจ - ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครงั

- ประชมุ คณะกรรมการบริหาร อยา่ งน้อยเดือนละ 1 ครงั

- ประชมุ รองผ้อู าํ นวยการโรงเรียน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง

แจ้งเรืองทวั ไป - ประกาศ - แจ้งเวยี น ทกุ วนั

ขา่ ว - เวบ็ ไซต์ - Face book/ Line ทกุ วนั

ยกย่องชมเชย - กิจกรรมหน้าเสาธง ทกุ วนั

- เสียงตามสาย สปั ดาห์ละ 1 ครัง

- มอบเกียรติบตั ร/รางวลั เมือมีกิจกรรม

- แผน่ พบั - จดั ป้ายประชาสมั พนั ธ์ เมอื มกี ิจกรรม

(2) การทาํ ให้เกดิ ปฏิบัตกิ ารอย่างจริงจงั (Focus on Action) : ผ้บู ริหารโรงเรียนได้ดําเนินการทีทําให้
บคุ ลากรปฏิบัติการอย่างจริงจัง ทําให้โรงเรียนปรับปรุงผลการดําเนินการ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์และวิสยั ทศั น์ของ
โรงเรียนการดาํ เนินการของผ้บู ริหารในการระบุสิงทีต้องทําในการตงั ความคาดหวงั ต่อผลการดําเนินการ ซึงการ
ดําเนินงานตามเปา้ หมายของวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ คา่ นิยม ได้ดําเนินการ โดย

1) กําหนดเปา้ หมายเพือระบคุ วามต้องการและสร้างแนวทางการปฏิบตั ิโดยใช้รูปแบบการบริหารงาน
“อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ”

2) มีการถ่ายทอดสบู่ คุ ลากร
3) ลงมอื ปฏิบตั ิและเก็บรวบรวมข้อมลู
4) สะท้อนผลการปฏิบตั ิงานโดยใช้ข้อมลู ทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิ เพือวางแผนการดําเนินงานใน
อนาคต

16

ขันที 4 การสะท้อนผล ขนั ที 1 การกําหนดเป้าหมาย
การปฏิบัตงิ าน
ระบคุ วามต้องการคาดหวัง เลอื กเป้าหมายความสําเร็จ
แผนการดําเนนิ งานในอนาคต
สร้างแนวทางการประเมินผล
ทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิ
ขนั ที 2 ใช้รูปแบบ “อนุบาลชยั ภูมริ วมใจ” หาแนวทางเพือปฏิบตั ิ
วเิ คราะห์ข้อมูล

ใช้ข้อมลู

ขันที 3 การลงปฏบิ ัตแิ ละการรวบรวมข้อมูล

ดาํ เนนิ การ สร้างแผนการรวบรวมข้อมลู กําหนดแนวทางในการพฒั นา

ภาพประกอบที 1.1 ข(2) -1 กระบวนการมงุ่ เน้นการปฏิบตั ิงาน

กลุ่มงานบริหารบุคคลจัดโครงสร้ างการบริหารงานทีชัดเจน กําหนดบทบาทหน้าทีของผู้เกียวข้อง

ประสานงานและกระจายอํานาจความรับผิดชอบไปยงั สายชนั รวมทงั จดั ประชมุ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนอย่าง

สมําเสมอเพือแลกเปลียนเรียนรู้ และร่วมกนั วางแผนดําเนินงาน และแก้ไขปัญหาตา่ งๆร่วมกนั โดยผู้บริหารเป็นผู้

นิเทศ กํากบั ตดิ ตามการดําเนินงานทีสําคญั และมอบหมายให้สายชนั รายงาน ผลการดําเนินงานอย่างต่อเนืองทุก

ภาคเรียน หลงั จากนนั ถา่ ยทอดให้ทุกงาน ทุกฝ่ าย ทุกสายชนั รับทราบ นําผลการปฏิบตั ิไปทบทวน ปรับปรุงผลการ

ปฏิบตั ิงานตา่ งๆให้มปี ระสทิ ธิภาพ

1.2 การกาํ กับดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม (Governance and Societal Responsibilities)
ก. การกาํ กับดูแลโรงเรียน (Organizational GOVERNANCE)
(1) ระบบการกาํ กับดูแลโรงเรียน (GOVERNANCE System)
โรงเรียนอนุบาลชยั ภูมิได้มีระบบกํากับดแู ล เพือสร้ างความมนั ใจในการดําเนินงานอยา่ งถูกต้องตาม

กฎหมาย เพอื ให้การดําเนินการประสบความสําเร็จโดยดําเนินการตามแผนภาพ P 1ก(5) ดงั ตอ่ ไปนี
1) โรงเรียนใช้แผนกลยทุ ธ์เป็นเครืองมือในการจัดทําโครงการและกิจกรรมให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์และ

พนั ธกิจทีตงั ไว้
2) โรงเรียนมีคาํ สงั แตง่ ตงั มอบหมายผ้รู ับผิดชอบงานในกิจกรรมและโครงการตา่ งๆ อย่างชัดเจนให้มี การ

ดําเนินงานในรูปคณะกรรมการ โดยผ้บู ริหารได้กํากบั ติดตามการดาํ เนินงานทกุ ครัง เพอื ให้งานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์และ
นําผลสรุปมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาตอ่ ไป

3) ภาระความรับผิดชอบด้านการเงินในการดําเนินงานด้านการเงิน มีการจัดทําบญั ชีเป็นปัจจุบนั และ
รายงานตอ่ สํานกั งานเขตพนื ทีการศกึ ษาอยา่ งสมาํ เสมอ การเก็บรักษาและการเบิกจ่ายเงนิ ดําเนินตามประกาศของ
กระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยการเก็บเงินบํารุงการศึกษา รวมทังหลกั เกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณเงินอุดหนุน และ

17
ประกาศ สพฐ. เรือง หลกั เกณฑ์ อตั รา และวิธีการนําเงินรายได้สถานศกึ ษาไปจ่ายเป็นคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2551 สว่ นการดําเนินงานพสั ดุได้ดําเนินการตามระเบียบของกระทรวงการคลงั เกียวกบั การ
จดั ซอื จดั จ้าง และ ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535โดยเคร่งครัด โรงเรียนได้รับการตรวจสอบ
ภายในจากคณะกรรมการตรวจสอบภายในจากสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศกึ ษา อยา่ งน้อย 3 ปีตอ่ ครัง

4) การปกปอ้ งประโยชน์ของนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย คณะกรรมการบริหารโรงเรียนประชุมคณะครู
และบุคลากรร่วมกันจัดทําแผนปฏิบตั ิการประจําปี เพือเป็นแผนในการใช้จ่ายงบประมาณและให้คณะกรรมการ
สถานศึกษาให้ความเห็นชอบก่อนนําไปใช้ สําหรับเงินทุนการศกึ ษาทีได้รับบริจาคได้นําฝากธนาคารและแตง่ ตัง
คณะกรรมการพิจารณานกั เรียนเพือรับทุนให้เป็นไปด้วยความโปร่งใสและยุติธรรม ฝ่ ายงานงบประมาณได้สือสาร
ถา่ ยทอดให้ครูทกุ คน ผ้บู ริหาร ผ้ปู กครองนกั เรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษา รับทราบแนวทางการปฏิบตั ิ โรงเรียน
มอบหมายให้คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพ โดยมีหัวหน้าสายชนั และเลขาสายชันเป็นผู้นําในการถ่ายทอดสู่ครู
ผ้รู ับผิดชอบในกิจกรรมและโครงการ ผ้บู ริหารแตง่ ตงั คณะกรรมการนิเทศ ติดตามผล ประเมินโครงการ สรุปผลการ
ประเมิน จัดทํารายงานผลการปฏิบตั ิงานของโรงเรียน นําผลทีได้เสนอตอ่ คณะกรรมการโรงเรียน คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา สมาคมผ้ปู กครองนกั เรียน ผ้ปู กครองนกั เรียน โดยการประชมุ เผยแพร่เป็นเอกสาร เผยแพร่เป็นเว็บไซต์
ของโรงเรียนเพือให้ผ้เู กียวข้องเสนอแนะแนวทางการปรับปรุง และนําไปปรับปรุงแผนการปฏิบตั ิงานในปีตอ่ ไป ดงั
ภาพประกอบที 1.2 ก(1) -1

ทศิ ทางการจดั การศึกษาโรงเรียนอนุบาลชยั ภูมิ

เจตนารมณ์ ปรัชญา ทฤษฎี

วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์

รูปแบบการบริหาร อนุบาลชยั ภมู ริ วมใจ

มาตรฐาน กิจกรรม/โครงการ กจิ กรรม/โครงการ ตวั ชีวดั
การปฏบิ ตั ิงาน ตามกลยทุ ธ์ ตามกลยทุ ธ์
ในระดบั สายชนั
ในโครงสร้างการบริหาร 4
กลมุ่ งาน

ประสทิ ธิภาพ ระบบการกํากบั ดูแล ประสิทธิผล

ภาพประกอบที 1.2 ก(1) -1 ระบบการกาํ กบั ดแู ลโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ
(2) การประเมินผลการดาํ เนินการ (PERFORMANCE Evaluation)

1) การประเมินผลการดาํ เนินงานของผ้อู ํานวยการโรงเรียน
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1กําหนดให้ มีการประเมินผลงานของ

ผ้อู ํานวยการโรงเรียนปีละ 2 ครัง โดยแตง่ ตงั คณะกรรมการมาประเมินตามเกณฑ์ทีกําหนด และนําผลการประเมินมา
ประกอบการพจิ ารณาเพือเลือนเงนิ เดือน โดยพิจารณาผลการดําเนินงานตามนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัด และ

การประสาน การ ืสอสาร การใ ้ห ํคาป ึรกษา 18การตดิ ตาม การประเมนิ ผล การพัฒนา
ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน รวมทังผลการดําเนินงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบริหารบุคคล และด้าน
บริหารงานทัวไป แล้วนําผลการประเมินเสนอต่อคณะกรรมการเพือให้ความเห็น โดยผู้อํานวยการจะนําผลการ
ประเมนิ มาปรับปรุงและพฒั นาประสทิ ธิภาพด้วยการจดั ทํา ID PLAN ตอ่ ไป

2) การประเมินผลการดําเนินงานของรองผ้อู ํานวยการโรงเรียน
ผ้อู ํานวยการโรงเรียนทําหน้าทีประเมินผลการปฏิบตั ิงานของรองผ้อู ํานวยการ ปีละ 2 ครังตามกรอบ

ภาระงานทีได้รับมอบหมาย ทัง 4 กลมุ่ งาน และนําผลการประเมินมาประกอบการพิจารณาเลือนขนั เงินเดือน โดย
ผ้บู ริหารจะแจ้งผลการประเมนิ ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะ เพิมเตมิ จากนนั รองผ้อู ํานวยการนําผลการประเมนิ มา
ปรับปรุงและพฒั นาประสทิ ธิภาพด้วยการจดั ทํา ID PLAN ตอ่ ไป

คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ได้นําผลการประเมินแจ้งคณะกรรมการสถานศกึ ษาทราบ เพือเป็นข้อมลู ที
จะนําไปวิเคราะห์ ในการจดั ทําแผนเพือเพมิ ประสิทธิภาพการบริหาร และแจ้งให้คณะครูและบคุ ลากรทราบอยา่ งทวั ถงึ
เพือวางแผนพฒั นาการปฏิบตั ิงานของตนในสว่ นทีเกียวข้อง

ข. การประพฤตปิ ฏบิ ัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม (Legal and ETHICAL BEHAVIOR)
(1) การประพฤตติ ามระเบียบกฎหมายและกฎระเบียบ (Legal and Regulatory Behavior) :
ในการปฏิบตั ิราชการในโรงเรียนมีกฎ ระเบียบ แนวทางการปฏิบตั ิตามแผนภาพ P 1 ก(5) และเมือมี

ปัญหาเกิดขนึ โรงเรียนถือเป็นความเสยี งทงั สนิ โรงเรียนจึงจําเป็นทีจะต้องจดั วางระบบและกระบวนการจดั การความ
เสียง ดงั นี

การค้นหา/รายงานความเสียง

การประเมินความเสยี ง

การจดั การความเสียง

ภาพประกอบที 1.2 ข(1) -1 กระบวนการจดั การความเสยี ง
คณะกรรมการบริหารโรงเรียนได้คาดการณ์ล่วงหน้าถึงความกงั วลของสาธารณะทีมีตอ่ หลกั สตู รการจดั
การศกึ ษาและการปฏิบตั ิการ ดงั นี
1) รวบรวมประเดน็ ปัญหา
2) จดั ลําดบั ความสาํ คญั ของปัญหา
3) มคี ณะกรรมการกลนั กรอง โดยกรรมการทีปรึกษาในประเดน็ ปัญหาตา่ งๆ โรงเรียนได้มอบหมายให้ฝ่าย
บริหารงานบุคคล จดั ประชุมชีแจง ประเด็นปัญหาให้กบั คณะกรรมการสายชนั เพือดําเนินการ โดยได้มอบหมายให้งาน
วิชาการดําเนินการ ดงั นี
- การดาํ เนินการในกรณีทีมผี ลกระทบเชิงลบตอ่ สงั คม เช่น ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนไมเ่ ป็นไปตามความ
คาดหวงั คณะกรรมการบริหารโรงเรียนได้ร่วมประชุมเพือวิเคราะห์หาสาเหตแุ ละแนวทางการพฒั นาร่วมกนั และเชิญ
ผ้ปู กครองและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียมาร่วมประชุมเพือชีแจงทําความเข้าใจ

19
- การคาดการณ์ลว่ งหน้าถึงความกังวลของสาธารณะทีมีต่อหลกั สูตรและการคาดการณ์ในอนาคต ทาง

โรงเรียนได้พฒั นาหลกั สตู รโดยประเมินผลการใช้หลกั สตู รและสํารวจความต้องการของชุมชนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย

เพอื ทราบความต้องการผลผลิตทีเกิดจากโรงเรียน สํารวจความคิดเห็นจากครูเพือวิเคราะห์หาความพร้ อมจุดอ่อน

จุดแขง็ และนําข้อมลู ไปพฒั นาหลกั สตู รให้สอดคล้องกบั ความต้องการและนโยบายจากหน่วยงานต้นสงั กดั

- การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ โดยการทําความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียถึง

วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของหลกั สตู ร มกี ารประชาสมั พนั ธ์โครงสร้างหลกั สตู ร รูปแบบการจดั การเรียนการสอนและ

คา่ ใช้จ่ายทีจะเกิดขนึ เพอื ให้ผ้ปู กครองทราบประกอบการตดั สนิ ใจในการสง่ บตุ รหลานเข้าเรียน

คณะกรรมการฝ่ายวิชาการดําเนินการประชุมครู บุคลากรทุกฝ่ายรับทราบและดําเนินการตามขนั ตอน มีการ

ประเมินผลการปฏิบตั ิ นําเสนอผลต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียนประกอบด้วยหัวหน้ากล่มุ งาน หวั หน้าสายชนั

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณะครูในสายชัน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เพือขอข้อเสนอแนะ

แนวทางในการดําเนินการตอ่ ไป เพอื นําไปปรับปรุงแก้ไข

(2) การประพฤติปฏิบัตอิ ย่างมีจริยธรรม(ETHICAL BEHAVIOR) :

พฒั นา ไม่ผา่ นเกณฑ์ 5.ประเมนิ ผล ผา่ นเกณฑ์ ยกย่อง สนบั สนนุ

4. จดั ทําพนั ธสญั ญา

3. สอื สารข้อมูล

2. จดั ทําข้อมูล กําหนดแนวปฏิบตั ิ

1. กาํ หนดแนวทางการประพฤติ ปฏิบตั ิ

ภาพประกอบที 1.2 ข(2) -1 กระบวนการประพฤติปฏิบตั อิ ยา่ งมจี ริยธรรม
ผ้บู ริหารโรงเรียนประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทีดี มีการบริหารโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล ส่งเสริมให้
บคุ ลากรปฏิบตั ติ นตามแบบแผนจรรยาบรรณวิชาชีพและมาตรฐานการปฏิบตั ิงานในแต่ละตําแหน่ง ให้ปฏิบตั ิตาม
ระเบยี บของทางราชการ เชน่ ระเบียบว่าด้วยการลา การมาปฏิบตั ริ าชการพระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา พระราชบญั ญตั ิสภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนมีการปฏิสมั พนั ธ์กับหน่วยงาน
อืนๆ โดย การให้ยืมสอื การเรียนการสอน การนํานกั เรียนไปศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ สถานประกอบการ และร่วมกิจกรรม
กบั โรงเรียนใกล้เคยี ง เชน่ กิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ กิจกรรมสาํ คญั ทีทางจงั หวดั จดั ขนึ
กรณีทีมีการกระทําขัดต่อการประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม ทางโรงเรียนได้ดําเนินการแต่งตัง
คณะกรรมการพิจารณาสืบข้ อเท็จจริ ง หากเป็ นการกระทําทีขัดต่อระเบียบก็ดําเนินการตามระเบียบ
ของทางราชการตามความเหมาะสม โดยมอบหมายให้กลมุ่ งานบริหารบคุ คลจดั ทําคมู่ ือการปฏิบตั ิงานและเผยแพร่ให้
ครูและบุคลากรทกุ คนทราบและถือปฏิบตั ิ
ค. ความรับผิดชอบต่อสังคม (Societal Responsibilities)
เนืองจากโรงเรียนตงั อยใู่ นเขตชมุ ชนเมืองคณะกรรมการบริหารโรงเรียนจงึ มขี ้อตกลงทีจะให้เกิดความร่วมมอื
กับทุกภาคส่วนในการช่วยเหลือและสนับสนุนการดําเนินงานร่วมกันและกําหนดให้มีกระบวนการสร้ างความ
รับผิดชอบตอ่ สงั คมดงั ภาพประกอบที 1.2 ค กลมุ่ งานบริหารทวั ไปจะดําเนินการสํารวจประเด็นปัญหาและจดั สําดบั
ความสําคญั และความต้องการนําเสนอคณะกรรมการโรงเรียน แล้วแจ้งคณะครูและบุคลากรทราบเพือวางแผน

20
ดําเนินงานโดยจดั ทําปฏิทินการดาํ เนินงานให้ผ้เู กียวข้องนําไปปฏิบตั แิ ละเผยแพร่ผลการดาํ เนินงานและรายงานผลตอ่
สาธารณชนด้วยสือทีหลากหลาย

หลกั การ กระบวนการสร้ างความรั บผิดชอบ ผลการดาํ เนินการ
1.มหี ลกั ฐานตรวจสอบได้ (Accountability) ความรับผิดชอบ
2.รู้ตวั กนั รู้เรือง รู้ผล - ทางสงั คม
3. รบั ผล 1. ค้นหาจุดร่วมระหว่างกิจกรรมขององค์กรและ - วชิ าชพี
สงั คม ทงั จากปัจจยั ภายใน และภายนอก - กฎหมาย
2. จัดลําดับความสําคัญและเลือกประเด็นความ
รับผิดชอบ
3. การสร้างแผนการในการดําเนินความรับผดิ ชอบ
4. การจดั การความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม

ภาพประกอบที 1.2 ค กระบวนการสร้างความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
(1) ความผาสุกของสังคม(Societal Well-Being) :

ทางโรงเรียนมีการช่วยเหลือสงั คมและสนับสนุนชุมชนทีสําคญั ได้แก่ กิจกรรมพีช่วยน้อง การมอบ
คอมพิวเตอร์ให้โรงเรียนด้อยโอกาส การเข้าร่วมกิจกรรมวนั สาํ คญั ของจงั หวดั เช่น กิจกรรมบุญเดือน๖ กิจกรรม นุ่ง
ซินไมน่ ุ่งสนั ตามนโยบายอนุรักษ์วฒั นธรรมของท้องถินจงั หวดั ชยั ภมู ิ กิจกรรมจิตอาสาพฒั นาชุมชน กิจกรรมยวุ ทูต
ความดี กิจกรรมโรงเรียนสีเขียว กิจกรรมจิตอาสาในการรักษาความสะอาดในโรงเรียน สง่ ผลให้เกิดความผาสุกและ
เป็นประโยชน์ตอ่ สงั คม

(2) การสนับสนุนชมุ ชน(Community Support) :
โรงเรียนได้ดําเนินการสร้ างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนโดยการให้ความร่วมมือกบั หน่วยงานภาครัฐและ

เอกชน ตา่ ง ๆ เช่น สํานกั งานเขตพนื ทีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชยั ภูมิ เขต 1 สํานกั งานเทศบาลเมอื งชยั ภูมิ ศาลากลาง
จงั หวดั ชยั ภูมิ วดั โรงพยาบาลชัยภูมิ เป็นต้น กิจกรรมทีโรงเรียนเข้าไปมีสว่ นร่วมสนบั สนุนเพือสร้ าง ความเข้มแข็ง
ให้แก่ชมุ ชน ได้แก่ การเป็นกรรมการประจําหน่วยเลือกตงั ระดบั ท้องถิน ระดบั ชาติ กรรมการตดั สินการแขง่ ขนั กีฬา
การร่วมประเพณีและวนั สําคญั ของท้องถินของจงั หวดั การเดนิ รณรงค์ตอ่ ต้านสิงเสพติดการจดั นิทรรศการให้ความรู้
เนืองในโอกาสถวายความอาลยั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที 9 นํานักเรียนไปร่วมแสดงในงานวันสําคญั
และในโอกาสตา่ งๆ โรงเรียนให้บริการสถานทีจดั กิจกรรมของหน่วยงานราชการเป็นเป็นสนามแขง่ ขนั กีฬาตา่ ง ๆ เป็น
ทีพกั นกั กีฬา เป็นสถานทีสอบแขง่ ขนั เป็นสถานทีจดั อบรมสมั มนาทางวิชาการ และเป็นแหลง่ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ครู ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา

หมวด 2 กลยุทธ์ (Strategy) 21

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ ดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธ์ เพือให้ สอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อมและ

ความจําเป็น จากความได้เปรียบเชิงกลยทุ ธ์ตลอดจนเป้าประสงค์ทีเกียวข้อง รวมทงั สรุปวตั ถุประสงค์ทีสําคญั

ของโรงเรียน

2.1 การจดั ทาํ กลยุทธ์ (Strategy Development) โรงเรียนมีวธิ ีการในการจดั ทาํ กลยุทธ์ ดังนี

ก. กระบวนการจัดทาํ กลยทุ ธ์ (Strategy Development PROCESS)

(1) กระบวนการวางแผนกลยทุ ธ์ (Strategy Planning PROCESS) มีขนั ตอนการจัดทาํ ดังนี

โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ มีกระบวนการวางแผนกลยุทธ์โดยมีขนั ตอนการจดั ทํา มีผ้เู กียวข้องตาม

กรอบเวลาของการวางแผนระยะสนั และระยะยาวเป็นตวั กําหนด ดงั ภาพประกอบที 2.1 ก(1) -1

การเตรียมการ การทบทวนกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์

กําหนด วเิ คราะห์ความต้องการ แผนกลยุทธ์ 5 ปี ตวั ชีวดั
คณะทาํ งาน ความคาดหวงั ของ KPI
กาํ หนดวิสยั ทศั น์ (Vision)
รวบรวม/ ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้
วเิ คราะหข์ ้อมลู สว่ นเสีย กาํ หนดพนั ธกจิ (Mission)
สารสนเทศที
วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม กาํ หนดเป้าประสงค์ (Goal)
เกียวข้อง (SWOT)ทบทวนผล
การดําเนนิ งานทีผา่ นมา กาํ หนดกลยุทธ์ (Strategy)

ขออนุมตั ิจาก
คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา

ติดตามและ นําแผน ขออนุมตั ิจาก กําหนดแผนปฏิบตั กิ าร แผนปฏิบตั กิ าร
ประเมินผล ไปปฏบิ ตั ิ คณะกรรมการ (Action Plan) ประจําปี
สถานศึกษา
กรอบงานงบประมาณ ปฏิทินกิจกรรม
แผนงบประมาณ โรงเรียน
ประจําปี

การทบทวนตดิ ตามผล การนํากลยุทธ์สู่การปฏบิ ตั ิ

ภาพประกอบที 2.1 ก(1) -1 กระบวนการวางแผนกลยทุ ธ์
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ ดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธ์โดยการศึกษาแผนปฏิบัติราชการ ของ
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ และกลยทุ ธ์ของสํานกั งานเขตพืนทีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 1 คณะกรรมการบริหารโรงเรียน และคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพโรงเรียน ร่วมประชมุ
วางแผนเพือกําหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเป้าประสงคข์ องโรงเรียน วิเคราะห์การเปลยี นแปลงของสภาพแวดล้อม

22
ของสถานศกึ ษา เพือประเมินหาจดุ ออ่ น และจดุ แขง็ โอกาสและอปุ สรรค ข้อเสนอแนะจากกรรมการตรวจประเมิน
คณุ ภาพภายในของโรงเรียน นํามาวิเคราะห์เพือกําหนดเป็นแผนกลยทุ ธ์ของโรงเรียน และแผนปฏิบตั ิการประจําปี
โดยจะได้รบั การทบทวนทกุ ปี และมกี ารประชมุ คณะกรรมการดาํ เนินงาน เพือให้สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมและ
ทันต่อความจําเป็นของการเปลียนแปลง ตลอดจนเพือพิจารณาข้อมลู ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ
ประจําปีของโรงเรียน

(2) นวัตกรรม (INNOVATION)
กระบวนการจดั ทํากลยทุ ธ์ของโรงเรียนกระต้นุ และทําให้เกดิ นวตั กรรม “อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ” โดยได้

กําหนด โอกาสเชิงกลยทุ ธ์ตามขนั ตอนการสร้างและพฒั นานวตั กรรม ดงั ภาพประกอบที 2.1 ก(2) -1

วเิ คราะหศ์ กั ยภาพของโรงเรียน

กําหนดวสิ ยั ทศั น์ นโยบาย ยุทธศาสตร์ เปา้ หมาย มาตรฐานการศกึ ษา / เกณฑ์ / ตวั ชีวดั

ร่วมวางแผน (Plan) แผนพฒั นา/แผนกลยทุ ธ์
แผนปฏบิ ตั ิการ
ร่วมปรับปรุงพฒั นา (Action)
ร่วมดําเนนิ การ (DO)

ร่วมประเมนิ ผล (Check)

ประเมนิ ตนเอง นวตั กรรม หน่วยงานต้นสงั กดั
ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย หน่วยงานทเี กียวข้อง
รายงานประจําปี
รายงานการประเมินตนเอง

จดั แสดงนทิ รรศการ เผยแพร่ผลงานสธู่ ารณชน

ภาพประกอบที 2.1 ก(2) -1 ขนั ตอนการสร้างและพฒั นานวตั กรรม
จากภาพประกอบที 2.1 ก(1) -1 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิได้ตดั สินใจเลือกโอกาสเชิงกลยทุ ธ์ในด้าน
การบริหารแบบโรงเรียนเลก็ ในโรงเรียนใหญ่(SIBSc) มีกระบวนการพัฒนาระบบการบริหารทุกปี สง่ ผลไปยัง
ผ้เู กียวข้องในระบบปฏิบัติการเพือจัดกิจกรรมการดําเนินงานทังกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนครูและ
บคุ ลากรทีเกียวข้องมคี วามรบั ผดิ ชอบในการดาํ เนินการได้อย่างสอดคล้องตามความท้าทายทีเปลียนแปลงไปใน
ทกุ ปี โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิจงึ ใช้ความได้เปรียบในการพฒั นาการจดั การศกึ ษา ทําให้เกิดนวตั กรรม ดงั ตอ่ ไปนี
1) จดั โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ(Mini
English program) สําหรบั นกั เรียนทมี ีความพร้อมและต้องการเสริมทกั ษะความรู้ด้านภาษาองั กฤษ ซงึ ได้
ดาํ เนินการอยา่ งตอ่ เนืองตงั แตป่ ีการศกึ ษา 2554

23
2) จดั โครงการห้องเรียนพิเศษสง่ เสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สําหรบั
นกั เรียนทีมีความพร้อมและต้องการเสริมทกั ษะความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึงได้ดําเนินการอย่าง
ตอ่ เนืองตงั แตป่ ีการศกึ ษา 2557
3) จดั โครงการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพือการสือสาร (English for Communication
Development : ECD) โดยครูชาวตา่ งชาติ สาํ หรับนกั เรียนทกุ คนในโรงเรียน ซงึ ได้ดําเนินการอย่างตอ่ เนืองตงั แต่
ปีการศกึ ษา 2545
4) การบริหารจดั การแบบโรงเรียนเลก็ ในโรงเรียนใหญ่ กระจายอาํ นาจลงสสู่ ายชนั และดําเนิน
โครงการตามสาระการเรียนรู้
5) การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนอย่างยงั ยืน
5) ได้นวตั กรรม “อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ”
(3) การวเิ คราะห์และกาํ หนดกลยุทธ์ (Strategy Considerations)
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ มีวธิ ีการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และพฒั นาระบบสารสนเทศในกระบวนการ
วางแผนกลยทุ ธ์ โดยผ้บู ริหารได้จดั ประชมุ คณะกรรมการ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณและทรัพย์สิน เพือรวบรวม
ข้อมลู ในปีทีผา่ นมา มาทบทวนกระบวนการจดั ทําแผนกลยทุ ธ์ ดาํ เนินการวิเคราะห์ ตรวจสอบความถกู ต้องให้เป็น
ปัจจุบัน เมือได้ข้ อมูลทีสําคัญ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของโรงเรียนทีได้จากการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จํานวนนกั เรียน ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ความยงั ยืน
ระยะยาวความเปลยี นแปลงด้านกฎระเบียบข้อบงั คบั ทีอาจเกิดขนึ โดยการนํานโยบายจากหน่วยงานต้นสงั กดั มา
วิเคราะห์เป็นองค์ประกอบหนึงในการพิจารณา ได้นําระบบสายงาน และความสามารถในการปฏิบตั ิตามแผน
กลยทุ ธ์มาวเิ คราะห์เพือกําหนดโครงการทีจะต้องดําเนินการให้บรรลตุ ามเป้าประสงค์ ซงึ การวิเคราะห์และกําหนด
กลยทุ ธ์มกี ระบวนการดงั ภาพประกอบที 2.1 ก(3) -1

วเิ คราะห์ภารกจิ และ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ประเมนิ และกาํ หนดสถานภาพ กาํ หนดทิศทางขององคก์ ร กําหนดกลยทุ ธ์
ผลผลติ หลกั ขององค์กร

- เจตนารมณ์ - การ วเิ คราะห์สภาพ 1. กาํ หนดวิสยั ทศั น์
- ปรชั ญา ทฤษฎี ภายในองคก์ ร 2. กําหนดพนั ธกจิ
- วสิ ยั ทศั น์ - การวเิ คราะห์สภาพ 3. กาํ หนดเปา้ ประสงค์
- พนั ธกจิ ภายนอกองค์กร 4.กาํ หนดเปา้ หมาย
- ข้อมลู สารสนเทศ
- สรุปผลโครงการ ฯลฯ

ภาพประกอบที 2.1 ก(3) -1 กระบวนการวิเคราะห์และจดั ทํากลยทุ ธ์
จากการกําหนดกลยทุ ธ์ของโรงเรียนและการหาความสมั พันธ์ของผลการประเมินโดย คณะกรรมการ
โรงเรียนมอบหมายได้ร่วมกนั อภิปรายสรุปพบว่าโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิมีการจดั การศึกษาทีมีสถานภาพเป็นจดุ
แข็งมากกว่าจุดอ่อน อยู่ท่ามกลางสภาวะทีเป็นโอกาส ประกอบกับวัฒนธรรมองค์กรและค่านิยม ทีครูและ
บุคลากรทางการศึกษาได้ยึดถือและปฏิบัติ มีครูและบุคลากรเพียงพอและมีความมงุ่ มนั ในการจัดการศึกษาที

24
มงุ่ เน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั มีความพร้อมด้านอาคาร สถานที และแหล่งเรียนรู้ ส่งผลให้โรงเรียนได้รับความนิยม
ตลอดจนกลายเป็นโรงเรียนทีดมี คี ณุ ภาพและมกี ารแขง่ ขนั สงู

(4) ระบบงานและสมรรถนะหลกั ของโรงเรียน (WORK SYSTEMS and CORE COMPETENCIES)
4.1 ระบบงานทีสาํ คญั ของโรงเรียน ดําเนินการตาม 3 ระบบงาน ดงั นี
1) ระบบการจดั การเรียนรู้
2) ระบบสนบั สนนุ
3) ระบบเฝา้ ระวงั (Well Care)
ซงึ ได้ดําเนินการด้วยการใช้กระบวนการควบคมุ คณุ ภาพตามวงจรคณุ ภาพ PDCA แบ่งงาน

เป็น 4 กลมุ่ งาน
ในแต่ละสายชันมีคณะกรรมการบริหารสายชัน เพือให้ทกุ คนมีส่วนร่วมในการพัฒนางาน เกิดความคล่องตวั
วางแผนปฏิบตั ิตามภารกิจ

4.2 สมรรถนะหลกั ของโรงเรียน ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ ดงั นี
1. ครูมคี วามสามารถในการพฒั นาหลกั สตู ร
2. ครูจดั การเรียนรู้ทีเน้นผ้เู รียนเป็นสาํ คญั
3. มีทีมงานทีมคี วามรู้อยา่ งหลากหลาย และมีประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผลในการปฏิบตั งิ าน
4. มเี ครือขา่ ยความร่วมมอื ในการพฒั นาการจดั การศกึ ษา สือ นวตั กรรม และแหลง่ การเรียนรู้

อยา่ งหลากหลาย และเพยี งพอ
5. ครูมคี วามสามารถในการเฝา้ ระวงั (Well Care)

ข. วตั ถปุ ระสงค์เชงิ กลยุทธ์ (STRATEGIC OBJECTIVES)
(1) วตั ถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ทีสาํ คญั (KEY STRATEGIC OBJECTIVES)
โรง เ รี ย น อนุบ าลชัย ภูมิได้ กํ าห นด ก ลยุท ธ์ ใ น ก ารพัฒน าโรง เ รี ยน ต ามวิสัย ทัศ น์ และเ ป้าป ระสง ค์

ทีมงุ่ มนั พฒั นาผ้เู รียนอย่างเตม็ ศกั ยภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ยึดหลกั ธรรมาภิบาล หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และหลกั การทํางานเป็นทีม โรงเรียนให้บริการทางการศกึ ษาและบริหารด้วยระบบคณุ ภาพ ครู
และบคุ ลากรมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพโดยมีวตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ โครงการ เป้าประสงค์ และกรอบ
เวลา ประกอบด้วยกลยทุ ธ์ 5 กลยทุ ธ์ ดงั นี
กลยทุ ธ์ที 1 พฒั นาการบริหารจดั การศกึ ษาด้วยระบบคณุ ภาพ บนพืนฐานของความเป็นไทยและตามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการมสี ว่ นร่วมของทกุ ฝ่าย
กลยุทธ์ที 2 พฒั นาการจดั การเรียนรู้ทีเน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั
กลยุทธ์ที 3 พฒั นาผ้เู รียนให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
กลยทุ ธ์ที 4 พฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีความรู้และทกั ษะในการจดั การเรียนรู้สามารถ

แนะนําและอาํ นวยการให้นกั เรียนรู้จกั วธิ ีการเรียนรู้ด้วยตนเอง
กลยทุ ธ์ที 5 พฒั นาแหลง่ เรียนรู้และนวตั กรรม เทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมทีเอือตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน

ตารางที 2.1 ข(1) -1 แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์ กบั ระบบงาน(Work System) 25

และกระบวนการ(Work Process)

กลยทุ ธ์ ระบบงาน(Work System) กระบวนการ(Work Process)

กลยทุ ธ์ที 1 ระบบสนบั สนนุ กระบวนการพฒั นากลยทุ ธ์

กระบวนการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน

กระบวนการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้

กระบวนการงบประมาณ

กลยุทธ์ที 2 ระบบการจดั การเรียนรู้ กระบวนการการพฒั นาหลกั สตู ร

กระบวนการการจดั การเรียนรู้

กระบวนการพฒั นาครู

กระบวนการพฒั นาสือและICT

กลยทุ ธ์ที 3 ระบบสนบั สนนุ กระบวนการพฒั นากลยทุ ธ์

กระบวนการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน

กระบวนการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้

กระบวนการงบประมาณ

ระบบเฝา้ ระวงั (Well Care) ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

กระบวนการพฒั นาเครือขา่ ย

กลยทุ ธ์ที 4 ระบบการจดั การเรียนรู้ กระบวนการพฒั นาครู

กลยทุ ธ์ที 5 ระบบสนบั สนนุ กระบวนการพฒั นากลยทุ ธ์

กระบวนการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน

กระบวนการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้

กระบวนการบริหารจดั การงบประมาณ

ตารางที 2.1 ข(1) -2 แสดงวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ โครงการ เปา้ ประสงค์ และกรอบเวลา 26

กลยุทธ์ที 1 พฒั นาการบริหารจดั การศกึ ษาด้วยระบบคณุ ภาพ บนพืนฐานของความเป็นไทยและตามหลกั ปรชั ญาของ ค่าเป้าหมาย
เศรษฐกจิ พอเพียงโดยการมีสว่ นร่วมของทกุ ฝ่าย

วัตถปุ ระสงค์ เป้าประสงค์ โครงการ ตวั ชีวัด 2557 2558 2559
1. พฒั นาหลกั สตู ร มีหลกั สตู รเทียบเคียง โครงการพฒั นาหลกั สตู ร
มาตรฐานสากล หลกั สตู รทตี อบสนองความ 85 90 95
โครงการพฒั นาครูและ
บคุ ลากร ต้องการของผ้เู รียน และมีการ

จดั การเรียนการสอนทมี ี

คุณภาพเทยี บเคียง

มาตรฐานสากล

2. พฒั นาครูและบคุ ลากร มีการจดั การเรียนรู้ตามปรชั ญา ครูมีความสามารถในการจดั การ 90 95 98
ทฤษฎี Progressivism &
Constructivism ให้เด็กแสวงหา เรียนการสอน มีทกั ษะที
ความรู้ และจดั การได้ด้วยตวั เอง
(Executive function) หลากหลาย

3. พฒั นาการจดั ทํากล บริหารจดั การตามเกณฑ์รางวลั โครงการประกนั คุณภาพ โรงเรียนมีเครือข่ายทีสนบั สนนุ 85 90 95

ยทุ ธ์ คุณภาพ OBECQA โดยใช้รูปแบบ ภายในสถานศกึ ษา การจดั การศึกษาทีเข้มแข็ง

“อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ”

4. พฒั นาการประกนั มีเครือขา่ ยทเี ข้มแขง็ โครงการประกนั คุณภาพ โรงเรียนมีระบบประกนั คุณภาพ 85 90 95
คณุ ภาพภายใน
ภายในสถานศกึ ษา ภายในสถานศกึ ษาทีเข้มแข็ง

กลยุทธ์ที 2 พฒั นาการจดั การเรียนรู้ทีเน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั ค่าเป้าหมาย
2557 2558 2559
วัตถปุ ระสงค์ เป้าประสงค์ โครงการ ตัวชีวัด 85 90 95
1.พฒั นาคุณภาพการศึกษา นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิ ทางการ
1. พฒั นาครูและบคุ ลากร ครูเป็นครูมืออาชีพ มีบทบาท กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ เรียนสงู กวา่ มาตรฐาน ค่าเป้าหมาย
สาระ 2557 2558 2559
ให้มีความรู้ความสามารถ Facilitator & Guidance เพือ 2. พฒั นาครูและบคุ ลากร 85 90 95
3. พฒั นาหลกั สตู ร
ทกั ษะ ทหี ลากหลาย พฒั นาวชิ าชีพให้เทา่ ทนั การ 4. พฒั นาสือและแหลง่ การ
เรียนรู้
เปลียนแปลงของสงั คม

กลยุทธ์ที 3 พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล

วัตถปุ ระสงค์ เป้าประสงค์ โครงการ ตัวชีวัด
1.โรงเรียนมาตรฐานสากล นกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย
1. พฒั นาผ้เู รียนให้มี ผ้เู รียนมีความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ 2.โครงการห้องเรียน MEP มีความพงึ พอใจในหลกั สตู ร
3.โครงการห้องเรียน SMP
คณุ ภาพตาม เทียบเคียงมาตรฐานสากล

มาตรฐานสากล

2. เฝา้ ระวงั นกั เรียนให้ ผ้เู รียนสามารถแสวงหาความรู้ โครงการ Well Care นกั เรียนได้รบั การเฝา้ ระวงั 90 95 98

ได้รบั สวสั ดภิ าพด้าน และจดั การได้ด้วยตวั เอง ชว่ ยเหลือจากครู ค่าเป้าหมาย
2557 2558 2559
สขุ ภาพอนามยั และ (Executive function) 90 95 98

ความปลอดภยั

กลยุทธ์ที 4 พฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีความรู้และทกั ษะในการจดั การเรียนรู้สามารถแนะนํา

และอํานวยการให้นกั เรียนรู้จกั วธิ ีการเรียนรู้ด้วยตนเอง

วัตถปุ ระสงค์ เป้าประสงค์ โครงการ ตวั ชีวัด

1. พฒั นาคุณภาพครูและ ครูเป็นครูมืออาชีพ มีบทบาท พฒั นาและสง่ เสริม ครูและบคุ ลากรทกุ คนได้รับการ

บคุ ลากรทางการศกึ ษา Facilitator & Guidance เพือ ความก้าวหน้าสคู่ รูมือ เสริมสร้างและพฒั นา

ให้เป็นมืออาชีพ พฒั นาวชิ าชีพให้เทา่ ทนั การ อาชีพ ประสทิ ธิภาพ

27

เปลียนแปลงของสงั คม

2. จดั การเรียนรู้สามารถ ครูเป็นครูมืออาชีพ มีบทบาท โครงการพฒั นาครูมืออาชีพ ครูและบคุ ลากรทกุ คนได้รับการ 90 95 98

แนะนาํ และอํานวยการให้ Facilitator & Guidance เพือ เสริมสร้างและพฒั นา

นกั เรียนรู้จกั วธิ ีการเรียนรู้ พฒั นาวชิ าชีพให้เทา่ ทนั การ ประสทิ ธิภาพ

ด้วยตนเอง เปลยี นแปลงของสงั คม

กลยุทธ์ที 5 พฒั นาแหลง่ เรียนรู้และนวตั กรรม เทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมทีเอือต่อการเรียนรู้ของผ้เู รียน ค่าเป้าหมาย
2557 2558 2559
วัตถปุ ระสงค์ เป้าประสงค์ โครงการ ตวั ชีวัด

1. พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ มีสอื นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้ ให้ โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ โรงเรียนมีแหลง่ เรียนรู้และ 85 90 95

เทคโนโลยีและนวตั กรรม ได้มวลประสบการณ์อย่างเพียงพอ เทคโนโลยีและนวตั กรรม เทคโนโลยี ทีเอือต่อการจดั การ

และสอดคล้องกบั ระดบั พฒั นาการ เรียนรู้

การเรียนรู้ของนกั เรียน

2. จดั สภาพแวดล้อมที มีสือ นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้ ให้ โครงการปรับปรุง โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมทเี อือ 90 95 98

เอือต่อการเรียนรู้ของ ได้มวลประสบการณ์อย่างเพียงพอ สภาพแวดล้อมภายใน ตอ่ การจดั การเรียนรู้

ผ้เู รียน และสอดคล้องกบั ระดบั พฒั นาการ โรงเรียน
การเรียนรู้ของนกั เรียน

(2) การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ (STRATEGIC OBJECTIVES Considerations)

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ของโรงเรียนสามารถสร้างสมดลุ ทีเหมาะสมระหวา่ งความต้องการทีหลากหลาย

โดยพฒั นาตามพนั ธกิจของโรงเรียน 4 ด้าน คอื

1. จดั การศกึ ษาตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ OBECQA โดยใช้รูปแบบ “อนุบาลชยั ภมู ริ วมใจ”

2. จดั การเรียนรู้ตามปรัชญา ทฤษฎี Progressivism & Constructivism ให้เด็กแสวงหาความรู้

และจดั การได้ด้วยตวั เอง (Executive function) โดยเปิดหลกั สตู รการจดั การเรียนการสอน 3 โปรแกรมคอื

1) โปรแกรมจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ(Mini

English program) สําหรับนกั เรียนทีมคี วามพร้อมและต้องการเสริมทกั ษะความรู้ด้านภาษาองั กฤษ

2) โปรแกรมห้องเรียนพิเศษส่งเสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์(Science

and Mathematics Program : SMP) สาํ หรับนกั เรียนทีมีความพร้อมและต้องการเสริมทกั ษะความรู้ด้านวิทยาศาสตร์

และคณิตศาสตร์

3) โปรแกรมห้องเรียนมาตรฐานสากล โดยจดั สาระเพิมเติมตามจดุ เน้น เชน่ การจดั การเรียนการ

สอนภาษาองั กฤษเพือการสือสาร (English for Communication Development : ECD) โดยครูชาวตา่ งชาติ สาํ หรับ

นกั เรียนทกุ คนในโรงเรียน การสอนวา่ ยนํา การจดั การเรียนการสอน IS เป็นต้น

3. พฒั นาครูเป็นมืออาชีพ มบี ทบาท Facilitator & Guidance เพือพฒั นาวิชาชีพให้เทา่ ทนั การ

เปลยี นแปลงของสงั คม มีการพฒั นาตนเองโดยการอบรมสมั มนา การศกึ ษาดงู าน การศกึ ษาตอ่ การอบรมออนไลน์

TEPE การเตรียม PLC การจดั ทํา ID Plan ตามสมรรถนะทกุ คนอยา่ งตอ่ เนือง การศกึ ษาค้นคว้าวิจยั ทําให้ได้รับ

คณุ วฒุ ิและวิทยฐานะสงู ขนึ

4. พฒั นาสือ นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้ ให้ได้มวลประสบการณอ์ ยา่ งเพียงพอและสอดคล้องกบั

ระดบั พฒั นาการการเรียนรู้ของนกั เรียน โดยจดั หาสอื เทคโนโลยี ห้องสมดุ ห้องสืบค้น ห้องปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์

ทีทนั สมยั ห้อง E-Classroom สระวา่ ยนาํ นอกจากนนั ยงั มีความสามารถในการนํานกั เรียนไปศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ได้

อยา่ งตอ่ เนอื ง และมีประสทิ ธิภาพ


Click to View FlipBook Version