The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานระดับชาติ เวทีศักยภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล ครั้งที่ 1ระหว่างวันที่ 6-8 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศทางด้านวิชาการและผลการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และได้รับการประเมินผลการนำเสนองานอยู่ในระดับคุณภาพ Excellent

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การนำเสนอ การจัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานระดับชาติ

การจัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานระดับชาติ เวทีศักยภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล ครั้งที่ 1ระหว่างวันที่ 6-8 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศทางด้านวิชาการและผลการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และได้รับการประเมินผลการนำเสนองานอยู่ในระดับคุณภาพ Excellent

5. พฒั นาครูให้มคี วามสามารถในการพฒั นาหลกั สตู ร 28

6. สร้างเครือขา่ ยทีเข้มแข็ง

7. พฒั นาด้านผ้เู รียนให้มคี วามรู้ ทกั ษะ และเจตคติ

ในการวางแผนการทํางานเพอื กําหนดสมรรถนะหลกั ความท้าทายเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบทาง

กลยทุ ธ์ โรงเรียนได้วางกรอบระยะเวลาในการวางแผนกลยทุ ธ์ และแผนปฏิบตั ิการประจําปี และมีการตรวจสอบ

กํากบั ติดตาม และประเมนิ ผล การดาํ เนินงานตามโครงการทกุ งาน วา่ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการและเป็นไป

ตามกําหนดเวลาทีได้วางไว้หรือไม่ พร้อมทงั มีการรายงานผลการดาํ เนินโครงการตา่ งๆ เป็นระยะ เพือสรุปผลและหา

ข้อค้นพบปัญหา อุปสรรคต์ า่ งๆ ในการทํางานและนําผลการประเมินมาใช้ในการพฒั นางานตอ่ ไป

2.2 การนํากลยทุ ธ์ไปปฏบิ ัติ (Strategy Implementation)

ก. การจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารและการถ่ายทอดสู่การปฏิบตั ิ

(ACTION PLAN Development and DEPLOYMENT)

(1) การจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ (ACTION PLAN Development)

โรงเรียนดําเนินการจดั ทําแผนปฏิบตั ิการประจําปีทีผ่านการวิเคราะห์เพือให้เกิดความสอดคล้องกับ

วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ให้บรรลตุ ามวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย ดงั แสดงในภาพประกอบที 2.2 ก(1)-1

การจัดทาํ กลยุทธ์ การจดั ทาํ แผนประจาํ ปี

การวเิ คราะห์ปัจจยั ระดมความคดิ เหน็ จากผ้บู ริหาร/คณะคร/ู นําเป้าหมายสู่การ
ภายนอก และผ้มู สี ว่ นเกียวข้อง ดาํ เนินงานในแผนปฏบิ ตั ิการประจําปี

การวเิ คราะห์ปัจจยั วิสยั ทศั น์ กําหนดกลยทุ ธ์ รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมลู โครงการ/กิจกรรม
ภายใน พนั ธกิจ และประมาณการงบประมาณ
เป้าประสงค์ ตัวชวี ดั /ค่าเปา้ หมาย
ความพงึ พอใจของ กําหนดเปา้ หมาย จัดทําร่างแผนปฏิบตั ิการประจําปี
ผ้มู ีสว่ นเกียวข้อง การดําเนนิ งาน
ผ้รู ับผิดชอบพจิ ารณา
เจตนารมณ์ ถ่ายทอดค่าเปา้ หมายให้บคุ ลากรผ้รู ับผดิ ชอบ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ
ในสงั กดั ทราบ
ในร่างแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปี

ปรชั ญา ผ้รู ับผดิ ชอบพิจารณากําหนด คณะกรรมการสถานศกึ ษาให้การรบั รอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ

ค่านยิ ม รวบรวมข้อมลู แผนของหนว่ ยงาน
และจดั ทาํ แผนกลยทุ ธ์

ภาพประกอบที 2.2 ก(1)-1 การจดั ทําแผนกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี

29
ในการจดั ทําแผนกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั ิการประจําปีโดยคณะกรรมการบริหารโณงเรียนและงานประกนั
คณุ ภาพการศกึ ษาจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ แตง่ ตงั คณะกรรมการมาจาก ทุกภาคสว่ นให้มีส่วนร่วม เพือสร้าง
ความเข้าใจ ในการจัดทําแผนงานและแผนปฏิบัติการประจําปี นําผลการประเมินการดําเนินงานของแผนงาน
โครงการจากปีทีผา่ นมา มาวิเคราะห์จุดแขง็ และจดุ อ่อนเพือจัดทําแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกบั งบประมาณ
และทรพั ยากรจากทกุ ภาพสว่ นทีได้จัดสรร ในการนําไปดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปีและมีการกํากับ
ควบคมุ ติดตาม แผนปฏิบตั ิงานประจําปีให้สอดคล้องกบั แผนกลยทุ ธ์ของโรงเรียน
(2) การนําแผนปฏบิ ัตกิ ารไปปฏิบัติ (Action PLAN Implementation) :

โรงเรียนนําแผนปฏิบตั ิการไปสกู่ ารปฏิบตั โิ ดยการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครู บุคลากรเพือ
ชีแจง สร้างความเข้าใจในการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการให้สอดคล้องกบั กลยทุ ธ์ของโรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ มี
การดาํ เนินจดั การประชมุ ผ้ปู กครองนกั เรียน และผ้ทู ีมสี ว่ นได้สว่ นเสียเพือสร้างความมนั ใจว่าผลการดําเนินการที
สําคญั ตามแผนปฏิบัติการสามารถบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ทีสําคัญและมีความยังยืน ดังแสดงใน
ภาพประกอบที OP-2

(3) การจดั สรรทรัพยากร (Resource Allocation) :
โรงเรียนได้ดําเนินการจดั สรรทรัพยากรเพือการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารดงั นี
1) ตงั คณะกรรมการ ซงึ ประกอบด้วย เจ้าหน้าทีการเงินและบญั ชี เจ้าหน้าทีพสั ดุ เพือกํากบั ควบคมุ

ระดมทรพั ยากรการเงิน ในการดําเนินการบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ
และสอดคล้องกลยทุ ธ์

2) ตงั คณะกรรมการระบบประกนั คณุ ภาพภายใน ดําเนินการ กํากบั ติดตาม การใช้ทรัพยากรและ
งบประมาณให้สอดคล้องกบั แผนกลยทุ ธ์

3) จัดทํารายงานประจําปี ทีผ่านการกํากับติดตาม ประเมินผล โครงการในแผนปฏิบตั ิงานเพือ
ปอ้ งกนั ความเสยี งในการใช้ทรพั ยากรงบประมาณให้ค้มุ คา่

(4) แผนด้านบุคลากร (WORKFORCE Plans) :
กลมุ่ งานบริหารงานบคุ คลได้ดําเนินการตามกลยทุ ธ์ในการพฒั นาคณุ ภาพครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษาให้มคี วามรู้และทกั ษะในการจดั การเรียนรู้สามารถแนะนําและอํานวยการให้นักเรียนรู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วย
ตนเองโดยดาํ เนินการดงั นี

1) จดั สรรครูให้สอนตรงตามวชิ าเอก หรือ ประสบการณ์ ความรู้ความสามารถและความถนดั
2) ดาํ เนินการพฒั นาบคุ ลากรเพือให้มปี ระสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั หิ น้าที โดยการจดั อบรมสมั มนา
การศกึ ษาดงู าน การศกึ ษาตอ่ การอบรมออนไลน์ อยา่ งตอ่ เนือง
3) สง่ เสริมให้ครูและบคุ ลากรจดั ทําแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) เพือเป็นข้อมลู สว่ นบคุ คล
4) สง่ เสริมให้ครูได้รับการพฒั นาศกั ยภาพตนเองเพือปรบั และเลอื นวทิ ยฐานะให้สงู ขนึ
5) สง่ เสริมให้ครูได้ศกึ ษาค้นคว้า วิจยั นําไปพฒั นาการจดั กรรมการเรียนการสอน
6) สง่ เสริมและสนบั สนนุ สวสั ดกิ ารให้ครูและบคุ ลากร

30
จากการดาํ เนินการตามแผนพฒั นางานบคุ คลสง่ ผลให้สามารถแก้ไขปัญหาการจดั สรรบคุ คลเข้าไป
ปฏิบตั หิ น้าทีตามภาระงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพเพือสร้างความมนั ใจให้กบั ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี
(5) ตัวชวี ัดผลการดาํ เนินงาน (PERFORMANCE MEASURES) :
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิได้กําหนดตัวชีวดั ผลการดําเนินงานตามแผนการปฏิบตั ิการ ด้วยการตงั
คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายใน กํากบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโครงการในแผนปฏิบตั ิการ จาก
การสร้างเครืองมอื การวดั ผลการปฏิบตั ิงานเพือให้ได้ข้อมลู สารสนเทศ อย่างเป็นระบบ ซงึ สามารถเป็นฐานข้อมลู
ในการใช้ประกอบการศกึ ษา วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ พิจารณาทบทวนการประเมิน และปรับปรุงผลการดําเนินงาน
ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปีของโรงเรียนสอดคล้องตามกลยทุ ธ์และมปี ระสทิ ธิผล
(6) การคาดการณ์ผลการดําเนินการ (PERFORMANCE PROJECTIONS) :
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ไิ ด้นําแผนปฏบิ ตั กิ ารทีสอดคล้องกบั กลยทุ ธ์และสมรรถนะหลกั ลงส่กู ารปฏิบัติ
โดยกําหนดเปา้ สงคข์ องการดาํ เนินการมาเป็นตวั ชีวดั เพือเป็นคเู่ ปรียบเทียบ ตามตาราง 2.1 ข(1)-2 ตวั อย่างเช่น
1. สถานศกึ ษามรี ูปแบบการบริหารด้วยระบบคณุ ภาพทีสอดคล้องกบั บริบทและใช้ได้อยา่ งมี
ประสิทธิผลบนพืนฐานของความเป็นไทยและตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. สถานศกึ ษามรี ะบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
3. มีรูปแบบการจดั การเรียนรู้โดยยดึ ผ้เู รียนเป็นสําคญั และลดเวลาเรียนเพิมเวลารู้
4. ผ้เู รียนเกิดทกั ษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มที กั ษะการคดิ วิเคราะห์และทกั ษะการทํางาน
5. มผี ลการทดสอบระดบั ชาตOิ -NET และNT เพิมขนึ ร้อยละ 3 และภาษาองั กฤษเพิมขนึ ร้อยละ 5
6. ครูสามารถแนะนําและอาํ นวยการให้นกั เรียนรู้จกั วธิ ีการเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาห้องเรียนคณุ ภาพเพิมขนึ ตามเกณฑ์ทกี ําหนด
8. สถานศกึ ษามแี หลง่ เรียนรู้และมสี ภาพแวดล้อมทีเอือตอ่ การจดั การเรียนรู้
โดยมีโรงเรียนคเู่ ทียบเคยี งคอื โรงเรียนอนบุ าลขอนแก่น อาศยั ฐานข้อมลู เพือเปรียบเทียบโดยใช้ตวั ชีวดั
ผลการดําเนินงาน ดงั นี
1) ผลการทดสอบ O-NET , NT สงู กวา่ คา่ เฉลยี ระดบั เขตพืนทีการศกึ ษาและระดบั ชาติ
2) ลาํ ดบั ทีในการสอบ O-NET ของนกั เรียนชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 อยใู่ น 10 อนั ดบั แรกของโรงเรียนทีมี
การแขง่ ขนั สงู
3) นกั เรียนชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 สอบเข้าเรียนตอ่ ชนั มธั ยมศึกษาปีที 1 ในโรงเรียนมธั ยมประจํา
จงั หวดั ได้ร้อยละ 80 และมแี นวโน้มเพิมขนึ ทกุ ปี
4) ผลงานและรางวลั ทีนกั เรียน ครู ผ้บู ริหาร และโรงเรียนได้รบั ในแตล่ ะปีต้องเพิมขนึ
5) นกั เรียนได้เป็นตวั แทนเข้าแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ นานาชาติ ระดบั ภาค มีจํานวนเพิมสงู ขนึ
6) นกั เรียนได้เป็นตวั แทนเข้าแขง่ ขนั งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ มีจํานวนเพิมสงู ขนึ
7) นกั เรียนสอบเข้าและเรียนตอ่ ในโรงเรียนยอดนิยม โรงเรียนทีมารแข่งขนั สงู และโรงเรียนทีสง่ เสริม
ความสามารถพิเศษ มจี ํานวนเพิมสงู ขนึ ทกุ ปี

ข. การปรับเปลียนแผนปฏบิ ัติการ (ACTION PLAN Modification) 31

โรงเรียนจดั ทําแผนปฏบิ ตั ิการประจําปีทกุ ปี และได้ดําเนินการตามแผนปฏิบตั ิการ เมือมีการดําเนินการ

ตามแผนทีวางไว้ระยะหนงึ จะมีการติดตามโดยคณะกรรมการระบบประกนั คณุ ภาพภายใน หากเกิดปัญหาหรือ

อปุ สรรคทําให้ไมส่ ามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ตามแผนทีตงั ไว้ เนืองจากสถานการณ์หรือสงิ แวดล้อมทีเปลียนไปจาก

ทีวิเคราะห์ไว้ โรงเรียนเตรียมความพร้ อมรับการเปลียนแปลงดังกล่าวและให้ เกิดสภาพคล่อง โดยกําหนด

ผ้รู ับผิดชอบทีชดั เจน มคี ณะทํางานทีชว่ ยพิจารณาทบทวนแผนปฏิบตั ิการเดิม วา่ ควรปรบั เปลียนอยา่ งไร อาทิ

(1) ปัญหาทีเกิดจากการนําแผนปฏิบตั ิการไปดาํ เนินงานไมบ่ รรลวุ ตั ถุประสงค์ หรือเกิดอปุ สรรคระหว่าง

ดําเนินโครงการ ทําให้เกิดปัจจยั เสียง เชน่ หากพบวา่ ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนของนกั เรียน ตามคา่ มาตรฐานทคี รู

ตงั เพิมขนึ หรือลดลง หรือมีความแตกต่าง จะต้องนําผลการประเมินมาปรับเปลียนแผนการปฏิบัติการประจําปี

โดยมีการบริหารความเสียง (Risk Management) โดยคณะกรรมการและผ้มู ีส่วนเกียวข้องในการร่วมพฒั นา

ดําเนินการตามกระบวนการบริหารความเสียง วิเคราะห์ประเมินผลความเสียง 5 ขนั ตอน ประกอบด้วย กําหนด

วตั ถปุ ระสงค์ ระบคุ วามเสยี ง วิเคราะห์ผลความเสียง ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานกําหนดความก้าวหน้าของ

การดําเนินงานตามแผนการจัดการความเสียงโดยฝ่ ายบริหาร (Monitor) และประเมินผลร่วมกันระหว่างฝ่ าย

บริหาร ครูและบคุ ลากร

(2) มีแผนโครงการใหมท่ ีต้องเร่งทําตามนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัดให้สามารถดําเนินการก้าวไปสู่

เป้าหมายทีกําหนด ก็สามารถปรบั เปลียนแผนปฏิบตั ิการประจําปีได้ทนั ทีภายใต้ข้อมลู ทกุ ด้านและการตดั สินใจ

ของผ้บู ริหารและได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา

หมวด 3 นักเรียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี (Student and Stakeholder) 32

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ไิ ด้ดําเนินการจดั การศกึ ษามงุ่ ให้นกั เรียนประสบความสาํ เร็จตามเปา้ หมาย

การจดั การศกึ ษาแห่งชาติและตามเกณฑ์โรงเรียนมาตรฐานสากล ด้วยการรับฟังเสียงนักเรียนทงั ปัจจุบนั อดีต

และอนาคต เพือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ ในการนําไปสกู่ ระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร การจัดการเรียนการสอน

การสร้างความสมั พนั ธ์นกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี จึงเป็นโอกาสให้โรงเรียนได้มีนวตั กรรมทีสอดคล้องตรงกบั

ความต้องการของนกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี

3.1 เสียงของผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย(VOICE OF THE STUDENT and Stakeholder)

ก. การรับฟังนักเรียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (STUDENT and Stakeholder Listening)

(1) นักเรียนปัจจุบันและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (Current STUDENTS and Stakeholders)

การรบั ฟังเสียงของนกั เรียนในปัจจบุ นั และผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี โรงเรียนมีวิธีการเพือให้ได้มาซึงข้อมลู

สารสนเทศทีสามารถนํามาประกอบการรบั ฟัง โดยดําเนินการตามขนั ตอนดงั นี

1) แต่งตงั คณะกรรมการซึงประกอบด้วยคณะผ้บู ริหาร หวั หน้ากล่มุ งาน หวั หน้ากลมุ่ สาระการ

เรียนรู้ หัวหน้าสายชัน และครูประจําชัน ประชุมชีแจงแนวทางในการบริหารจัดการหลกั สตู รสถานศึกษา

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาผ้เู รียน และการจัดการศกึ ษาตามจดุ เน้นของ

โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ การให้บริการด้านเทคโนโลยี เพือเป็นข้อมลู พืนฐานในการวางแผนแจ้งประชาสมั พนั ธ์

ให้กบั การรบั ฟังเสยี งของนกั เรียนในปัจจบุ นั และผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย (Student and Stakeholder)

2) กําหนดวิธีการรับฟังเสยี งนกั เรียนปัจจบุ นั และผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย ช่องทางการรับฟังเสียงเพือให้ได้

ข้อมลู สารสนเทศตามทีต้องการ โดยการประชมุ วางแผนกําหนดวธิ ีการประเมนิ ออกแบบวิธีการประเมินเพือใช้ใน

การเก็บรวบรวมข้อมลู จากเสยี งของนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี หลายชอ่ งทางดงั นี

- การใช้แบบสอบถามเพือวดั ความพึงพอใจเกียวกับกิจกรรมในโครงการของโรงเรียนในแต่ละ

หลกั สตู รเพือฟังเสียงของนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย

- การใช้แบบ ป.พ.6 (รายงานผลการเรียน) เพือติดตอ่ สือสารแจ้งผลสัมฤทธิ ทางการเรียน

ข้อเสนอแนะของครูประจําชันกบั ผ้ปู กครองภาคเรียนละ 1 ครัง เป็นข้อมลู ทีผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสียสะท้อนกลบั ใน

การแสดงความคิดเห็น

- รบั ฟังความคิดเหน็ ของผ้ปู กครอง นกั เรียน จากการประชมุ ผ้ปู กครองนกั เรียน

- การใช้โทรศพั ท์ตดิ ตอ่ สือสารระหวา่ ง ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียโดยตรงกบั ครูประจําชนั ครูประจําวิชา

ผ้บู ริหาร

- การติดตอ่ สือสารของผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ การสือสารผ่าน

สงั คมออนไลน์ เชน่ Line E-mail และFacebook โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

- จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนโดยการเยียมบ้านนกั เรียนปีการศกึ ษาละ 1 ครัง เพือรับทราบ

ข้อมลู ปัญหา รายบคุ คล และสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกบั ผ้ปู กครอง

3) รวบรวมผลทีได้จากการเกบ็ ข้อมลู ทีได้จากหลายชอ่ งทาง ลําดบั การปฏบิ ตั ิดงั นี

33
3.1) รวบรวมข้อมลู จดั ทําเป็นเอกสารและการสือสารผา่ นระบบออนไลน์นําเสนอให้ทีประชุม

รบั ทราบเพือร่วมกนั สรุปข้อเสนอแนะ ข้อเรียกร้องโดยจดั ลําดบั ความสําคญั เพือกําหนดแนวทางในการปฏิบัติและ

กําหนดผ้รู ับผิดชอบในการตอบสนองแก้ไขข้อเสนอแนะ ข้อเรียกร้องตามความเหมาะสม

3.2) ดําเนินการติดตาม ประเมินผลการจดั การข้อเสนอแนะ ข้อเรียกร้องให้สอดคล้องตรงตาม

ความต้องการ ความคาดหวงั และความเหมาะสมของนกั เรียนปัจจบุ นั และผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย

3.3) สรุปรายงานผลของการจดั การข้อเสนอแนะ ข้อเรียกร้องนกั เรียนปัจจบุ นั และผ้มู ีสว่ นได้ส่วน

เสยี ตอ่ การพฒั นาหลกั สตู ร/แผนการเรียนและบริการสง่ เสริมการเรียนรู้ตา่ งๆของนกั เรียนโดยให้ผ้บู ริการ นักเรียน

ปัจจบุ นั ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียรับทราบผลการดาํ เนินการ

(2) นักเรียนในอนาคตและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (Potential STUDENT and Stakeholders)

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู มิ วี ิธีการรบั ฟังนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียโดยกําหนดวิธีการ ในการรับฟัง

เสยี งจากนกั เรียนในอนาคตและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียเพือให้ได้ข้อมลู สารสนเทศจากนกั เรียน และผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย

ดงั นี

1) กําหนดกลมุ่ งานทีรับผิดชอบคืองานกิจการนักเรียนและงานแนะแนวโดยแตง่ ตงั คณะกรรมการ

และผ้รู บั ผิดชอบให้ดําเนินการตามระบบเพือประชมุ ชีแจงคณะกรรมการให้เข้าใจถึงแนวทางทีจะนําไปปฏิบัติได้

อยา่ งถกู ต้อง

2) กําหนดชอ่ งทางการรบั ฟัง และจําแนกกลมุ่ ในการรบั ฟังเสียงจากนกั เรียนในอนาคต ทีต้องการให้

โรงเรียนจดั การศกึ ษา การบริการการศกึ ษาอืน ๆ และการเปลยี นแปลง ออกเป็น 3 กลมุ่ ได้แก่ กลมุ่ คณะกรรมการ

สถานศกึ ษา สมาคมผ้ปู กครองและครู นักเรียนในอนาคต จดั การทําข้อมลู โดยการประชุมวางแผนเพือกําหนด

วิธีการและออกแบบเครืองมอื ในการรบั ฟัง จําแนกตามกลมุ่ ทีแบง่

3) รวบรวมผลทีได้จากการเก็บข้อมลู ประมวลผล และสรุปผล เสนอให้ผ้บู ริหารรับทราบ เพือนํา

สารสนเทศและข้อมลู นกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย ทงั ในอดีต ปัจจบุ นั และ เพือนําสารสนเทศทีได้ไปใช้ในการ

วางแผนด้านการบริการ การปรบั ปรุงพฒั นาระบบปฏิบตั งิ าน ดงั ตาราง 3.1ก(2)-1

ตารางที 3.1ก(2)-1 แสดง กลมุ่ นกั เรียนในปัจจบุ นั อดีตและอนาคตและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี

ข้อมลู สารสนเทศทตี ้องการ วิธีการรบั ฟังเสยี ง

ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอดีต ข้อมูลสารสนเทศ วิธีการรับฟัง/ช่องทางการ ข้อมูลทีได้
และอนาคต ทีต้องการ รับฟัง

1. ผ้เู รียนปัจจุบนั และผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี - หลกั สตู รและบริการทาง -การใช้แบบสอบถามเพือวดั - ความคิดเหน็
- นกั เรียนกําลงั ศกึ ษาอยูใ่ นโรงเรียน การศกึ ษาทสี ง่ เสริม การเรียนรู้ ความพงึ พอใจ ความต้องการและข้อเสนอแนะต่างๆที
- กระบวนการจดั การเรียนรู้ -การใช้แบบ ป.พ.6 (รายงาน เป็นประโยชนต์ ่อการ ปรบั ปรุงการ
อนบุ าลชยั ภมู ิ - นวตั กรรมทางการศกึ ษา ผลการเรียน) จดั การเรียนรู้
- ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย ผ้ปู กครองนกั เรียน - จดั ให้รบั ฟังความคดิ เหน็ ของ - การให้บริการการศกึ ษาอืนๆ
- สมาคมผ้ปู กครองและครู โรงเรียน ผ้ปู กครอง นกั เรียน - การพฒั นาหลกั สตู ร
-การใช้โทรศพั ทต์ ดิ ต่อสอื สาร - การเพมิ บคุ คลากรทีมีความชํานาญ
อนบุ าลชยั ภูมิ ระหวา่ งนกั เรียน ในสาขาวิชาชีพเฉพาะ
- คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน -การสร้างเวบ็ ไซต์ของโรงเรียน

34

ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ในอดตี ข้อมูลสารสนเทศ วิธีการรับฟัง/ช่องทางการ ข้อมูลทไี ด้
และอนาคต ทตี ้องการ รับฟัง

2. ผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี ในอนาคต - ปริมาณความต้องการในการ - การสํารวจ - กําหนดห้องเรียนตามโปรแกรมที
- นกั เรียน เข้าศึกษา - การสอบถาม สอดคล้องกบั ความต้องการ
- ครู - ทศิ ทางของหลกั สตู รและการ - การสมั ภาษณ์ - พฒั นาหลกั สตู รและการจดั กิจกรรม
- ผ้ปู กครองนกั เรียน จดั การเรียนรู้ -การประชมุ ผ้ปู กครอง การเรียนรู้ให้ตรงกบั ความต้องการและ
-สมาคมผ้ปู กครองและครูโรงเรียนอนบุ าล - ความเพียงพอของอตั รากําลงั - เวบ็ ไซต์ของโรงเรียน สอดคล้องเปา้ หมายของโรงเรียน
ชยั ภูมิ และตรงกบั ความชํานาญใน - E-mail - จดั สรรอตั รากําลงั เพียงพอในแตล่ ะ
- คณะกรรมการสถานศึกษาขนั พืนฐาน สาขาวชิ าเฉพาะ - Face book โรงเรียน โปรแกรม
- การระดมทรพั ยากรและการ - กลมุ่ ไลน์ผ้ปู กครอง - บริหารจดั การทรพั ยากรและทรพั ย์สนิ
ลงทนุ ของสถานศึกษา - การรวบรวมข้อร้องเรียน ให้เกิดประสทิ ธิผล

1. วเิ คราะห์สภาพปัญหา P 1. รวบรวม วเิ คราะห์
2. วางแผนกําหนดมาตรการ
ในการแก้ไข D 2. จําแนกและจดั ลําดบั
3. กําหนดผ้รู บั ผดิ ชอบ
4. กําหนดแนวทาง ขอบเขต ความสาํ คญั
และระยะเวลาในการ 3. ประชมุ แจ้งผ้เู กียวข้องทราบ
ดําเนนิ แก้ไขข้อร้องเรียน 4. ดําเนนิ การแก้ไขข้อร้องเรียน
5. สรุปแนวทางแก้ไข
ข้ อร้ องเรียน

1. เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ 1. ตดิ ตามการแก้ไขทาํ เป็น
การแก้ไข
มาตรฐาน
2. สรุปผลเป็นปัจจยั นําเข้าใน
การทบทวนทําแผนกลยุทธ์ A C 2. รายงานผลการจดั การข้อ
ร้ องเรี ยนให้ ทีประชุมทราบ

ช่องทางการรับฟัง

๐ การสาํ รวจ ๐ การสอบถาม ๐ การสมั ภาษณ์ ๐ การประชุม ๐ จดหมาย
๐ Face book โรงเรียน ๐ เวบ็ ไซต์โรงเรียน
๐ กลมุ่ Lineผ้ปู กครอง ๐ การรวบรวมข้อร้องเรียน

ภาพประกอบที 3.1ก(2)-1 กระบวนการรับฟังเสียงของผ้เู รียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย

จากภาพประกอบที 3.1ก(2)-1 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิได้ดําเนนิ การรบั ฟังเสียงของนกั เรียนโดยใช้วงจรควบคมุ

คณุ ภาพ PDCA เพอื ให้การรบั ฟังเสียง ได้ข้อมลู ทีนา่ เชอื ถือ

ข. การประเมินความพงึ พอใจและความผูกพันของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี
(Determination of STUDENT and Stakeholders Satisfaction and ENGAGEMENT)
(1) ความพงึ พอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความผูกพนั (Satisfaction, Dissatisfaction and

ENGAGEMENT)
1) ความพึงพอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความผูกพนั (Satisfaction, Dissatisfaction and

ENGAGEMENT)
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ มีกระบวนการประเมนิ ความพึงพอใจ โดยการใช้เครืองมอื เพือประเมนิ ความ

พงึ พอใจ และความผกู พนั ของนกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ดงั นี

- การสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียน จากการเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน 35

- การสมั ภาษณ์แบบเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ ทงั รายกลมุ่ และรายบคุ คล

- การตอบแบบสอบถามวดั ความพงึ พอใจ

- การร้องเรียนทงั โดยทางตรงจากกลมุ่ บคุ คลทีสามหรือทางไปรษณีย์และผา่ นสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์

- สถิติข้อมลู นกั เรียนการย้ายเข้า ย้ายออกระหวา่ งปีการศกึ ษา

จากข้อมูลดงั กล่าวโรงเรียนได้แยกประเภทข้อมูลความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจ เพือ

วิเคราะห์ ดงั นี

1) ด้านความพึงพอใจ

โรงเรี ยนได้ มอบหมายให้ แต่ละสายชันจัดทํ าแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนและ

ผ้ปู กครอง สรุปนําผลการประเมินแต่ละฝ่ ายนําเสนอผลการประเมินเข้ารายงานต่อโรงเรียน เสนอต่อทีประชุม

คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนนําไปใช้เพือเป็นแนวทางในการกําหนดทิศทางการ

ดําเนินงานของโรงเรียน ตามความต้องการของนกั เรียน และผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย พัฒนาการจัดการศึกษาตาม

โปรแกรมทีต้องการ พฒั นาหลกั สตู รและกิจกรรมการเรียนการสอน บริหารทรพั ยากร และทรพั ย์สิน

ด้านการประกนั คณุ ภาพภายใน คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพ นําผลการประเมนิ มาทบทวน

นําเสนอคณะกรรมการบริหารโรงเรียนถึงผลการประเมน พร้อมแจ้งให้ทกุ สายชนั และผ้เู กียวข้องทราบและปฏิบตั ิ

ตามภาระงานทีรับผิดชอบ โดยใช้การประชมุ เครือขา่ ยผ้ปู กครองและทางเวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน

2) ด้านความไมพ่ ึงพอใจ

คณะกรรมการสายชนั ทําการสาํ รวจความพงึ พอใจของนกั เรียน ผ้ปู กครอง และผ้มู สี ว่ นได้

สว่ นเสีย นําผลการสํารวจมาดําเนินการตามขนั ตอนดงั นี 1)ตงั คณะกรรมการดําเนินงาน 2) วิเคราะห์ประเดน็

ปัญหา ปัจจัยทีสง่ ผลต่อความไม่พึงพอใจ 3) นํามาจัดลําดบั ความสําคญั เพือดําเนินการแก้ไขปัญหา 4) กํากบั

ติดตาม และประเมนิ ผล อย่างเป็นระบบ เพือให้เกิดความเชือมนั ด้วยการสรุปผลการประชมุ ชีแจงตามสภาวการณ์

ทีเกิดขนึ อย่างทนั ท่วงที 5) สะท้อนผลความไมพ่ งึ พอใจจากสมาชิกขององค์กร 6) วางแผนแก้ไขปัญหาความไมพ่ ึง

พอใจ 7) นําสกู่ ารปฏิบตั ิ และ 8) แจ้งผ้เู กียวข้องทราบ

โรงเรียนได้นําผลทีเกิดจากความไมพ่ งึ พอใจ ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน เพือให้แต่

ละฝ่ายรบั ทราบ และมอบหมายให้คณะกรรมการสายชนั เป็นผ้รู ับผิดชอบดําเนินการเพือหาแนวทางแก้ไขปัญหา

เพือลดความไมพ่ ึงพอใจของนกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย ชดเชยความรู้สกึ ไมพ่ ึงพอใจ ชีแจงเหตผุ ลในเรืองทีไม่

สามารถตอบสนองความต้องการ ชีแจงข้อมลู ทีถกู ต้อง เสนอทางเลือกทีดีให้กบั นกั เรียน แสดงออกให้เห็นถงึ ความ

เอาใจใส่ เออาทร เพือสร้างความสมั พนั ธ์ทีดี ทกุ ฝ่ าย ทุกงานดําเนินการตามแนวทางทีได้ประชุมร่วมกัน มีการ

ติดตามผลการดําเนินการเพือนําไปเป็นข้อมลู ย้อนกลบั ปรับปรุง ดาํ เนินงานในไปตอ่ ไป

(2) ความพงึ พอใจเปรียบเทียบกับค่แู ข่ง (Satisfaction Relative to Competitors)

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู เิ ป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ทีมอี ตั ราการแข่งขนั สงู และเป็นโรงเรียนยอดนิยมทีมี

บริบทใกล้เคียงกบั โรงเรียนอนบุ าลขอนแก่นซึงเป็นโรงเรียนค่แู ข่ง โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิเปิดสอน 2 ระดบั คือ

ระดบั ก่อนประถมศึกษาและระดบั ประถมศึกษาปีที 1 - 6 จดั การเรียนรู้โดยใช้หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั

36
พืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และเข้าร่วมโครงการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล จึงได้พัฒนาหลกั สูตร

ทีหลากหลายเป็นไปตามความคาดหวงั ของผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย ตอบสนองความต้องการของตลาดและพนั ธมิตร

และจากกระบวนการรบั ฟังเสยี งดงั ภาพ3.1ก(2)-1 ได้ประเมินความพึงพอใจต่อหลกั สตู รแล้วนําสารสนเทศเชิง

สถิติมาเปรียบเทียบกบั โรงเรียนคแู่ ขง่ การเปรียบเทียบกระบวนการทีคล้ายกนั ในสถานศกึ ษาอนื และข้อจํากัดในการ

หาข้อมลู ของกระบวนการจดั การเรียนการสอนตามโครงสร้างหลกั สตู รของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู แิ ละโรงเรียนอนุบาล

ขอนแก่นดงั ตาราง 3.1ข(2)-1

ตารางที 3.1ข(2)-1 เปรียบเทียบกบั โรงเรียนคแู่ ขง่

โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ โรงเรียนอนุบาลขอนแก่น ผลการเปรียบเทยี บ
หลักสตู รปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546 1. หลักสูตรปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546 1. โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิเป็นโรงเรียนศนู ยต์ ้นแบบปฐมวยั จังหวดั ชยั ภมู ิ
2. หลักสตู รมอนเตสเซอร์รี 2. ปีการศกึ ษา 2557 มกี ารบรู ณาการจัดประสบการณ์ด้านภาษาองั กฤษทุกห้องเรียน
1. หลกั สตู รห้องเรียนปกติ 2. หลกั สตู รวอลดอร์ฟ 3. ปีการศกึ ษา 2554 ให้มีการบูรณาการจัดประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์ ทุกห้องเรียน
2. โปรแกรมห้องเรียนพิเศษส่งเสริม (โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย)
ศักยภาพทางด้ านวิทยาศาสตร์และ 1. หลกั สูตรห้องเรียนปกติ 4. มีบริการเสริมได้แก่ สระวา่ ยนํา ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรีสากล ห้องภาษาองั กฤษ
คณิตศาสตร์ 2. โปรแกรมห้ องเรียนพิเศษส่งเสริม 1.โรงเรียนอนบุ าลขอนแกน่ มหี ้องเรียนห้องปกติน้อยกวา่ 1 ห้องเรียน
(Science and Mathematics Program ศัก ยภ า พ ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ 2. ร.ร.อนุบาลขอนแกน่ มีหลกั สูตร EP ชัน ป.1 - ป.6 ระดบั ชนั 2 ห้อง
: SMP) คณิตศาสตร์ 3. ร.ร.อนบุ าลชัยภมู มิ ีหลกั สูตร MEP ชนั ป.1 - ป.6 ระดบั ชนั 1 ห้อง
3. โปรแกรมการจัดการเรียนการสอน (Science and Mathematics Program 4. ร.ร.อนุบาลขอนแกน่ มีหลกั สตู รSMP ชนั ป.3 - ป.6 ระดบั ชนั 2 ห้อง
ตามหลักสูตรกระทรวงศกึ ษาธิการเป็น : SMP) 5. ร.ร.อนบุ าลชยั ภมู ิ มหี ลักสตู ร SMP ชัน ป.1 - ป.6 ระดบั ชนั 1 ห้อง
ภาษาอังกฤษ(Mini English Program : 3. โปรแกรมการจดั การเรียนการสอน 6. โรงเรียนอนุบาลขอนแก่นมีนักเรียนได้คะแนนO-NETเต็ม 100 คะแนน ในวิชา
MEP) ตามหลกั สูตรกระทรวงศกึ ษาธิการเป็น คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และสงั คมศกึ ษา
ภาษาองั กฤษ(English Program : EP) 7. โรงเรียนอนุบาลขอนแก่นมีนักเรียนได้เป็ นตัวแทนเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ
นานาชาติมากกวา่ โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ
8. โรงเรียนอนุบาลขอนแก่นมีนักเรียนได้เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม
นกั เรียน ระดบั ชาติ มจี ํานวนเพมิ สงู ขนึ
9. โรงเรียนอนบุ าลขอนแกน่ มนี ักเรียนสอบเข้าและเรียนตอ่ ในโรงเรียนยอดนิยม โรงเรียน
ทีการแขง่ ขนั สงู และโรงเรียนทีสง่ เสริมความสามารถพิเศษ มจี ํานวนเพิมสงู ขนึ ทุกปี

จากการศึกษาข้อมลู เชิงเปรียบเทียบกบั โรงเรียนคู่เทียบ และโรงเรียนค่แู ข่งนําสว่ นทีด้อยกวา่ คเู่ ทียบ
ค่แู ข่ง ไปทบทวนและกําหนดกลยทุ ธ์ เพือดําเนินการปรับปรุงการดําเนินงาน ในปีถัดไปทีมีความเชือมโยงกับ
หมวด 2กลยทุ ธ์ และหมวด 6 การปฏบิ ตั ิการและสะท้อนผลในหมวด 7 ข้อ 7.2 ก(1)
3.2 ความผูกพันของผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder Engagement)

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ มีวิธีในการสร้ างความผูกพันนกั เรียนและผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสียโดยการสนองความ
ต้องการความพึงพอใจและสร้างความสมั พนั ธ์กบั นกั เรียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี ดงั นี

ก. หลักสูตรและการสนับสนุนผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย
(Product Offerings STUDENT and Stakeholder Support)
(1) หลักสูตร (Product Offering)
โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ กําหนดหลกั สตู รทีใช้ในการจดั การศึกษาดงั ทีได้กลา่ วไว้ในบทนํา โครงร่าง

องค์กร ข้อ ก (1) เพือตอบสนองตอ่ ความต้องการและความคาดหวงั ของผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสีย โดยใช้ข้อมลู จากการ
สํารวจความคิดเห็น และการประเมินหลกั สตู ร ซึงพบว่า นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความต้องการให้

37
นักเรียนมีความรู้ความสามารถทงั ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ มีจุดเน้น
เพือให้ผ้เู รียนเกิดพฒั นาศกั ยภาพตนเองไปสคู่ วามสาํ เร็จในพืนฐานของอาชีพโดยโรงเรียนมีกระบวนการประเมิน
หลกั สตู ร โดยรองผ้อู ํานวยการฝ่ ายวิชาการ หวั หน้างานวิชาการระดบั ประถมศกึ ษาและระดบั ปฐมวยั ได้ประชุม
คณะกรรมการทีได้รบั แตง่ ตงั ในแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ในแต่ละระดบั ชนั จัดทําแบบสํารวจความต้องการของ
นกั เรียน ชมุ ชน ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสีย นํามาร่วมกันกําหนดแนวปฏิบัติและปฏิบตั ิโดยใช้การขบั เคลือนด้วยรูปแบบ
“อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ” เมือได้หลกั สตู รของแตล่ ะระดบั ได้ถ่ายทอดแลกเปลยี นเรียนรู้ไปยงั สายชนั ตา่ งๆ การปฏิบตั ิ
มีการกํากับ นิเทศ ติดตามผลการใช้หลักสูตร โดยมีคณะกรรมการประมวลผลเพือนําข้อมลู นําส่กู ารพัฒนา
หลกั สตู รสถานศกึ ษา ดงั ภาพประกอบที 3.2 ก(1)-1 กระบวนการจดั ทําและพฒั นาหลกั สตู ร

การพฒั นาหลกั สตู ร

วเิ คราะห์ ออกแบบ การตรวจสอบคณุ ภาพหลกั สูตร การนําไปใช้และประเมิน

- วเิ คราะห์ข้อมลู พนื ฐาน - กําหนดโครงสร้างของหลกั สตู ร - องคป์ ระกอบของหลกั สตู ร นาํ ไปใช้/ประเมนิ หลักสูตร
- วิเคราะห์ศกั ยภาพของโรงเรียน - ออกแบบการจดั การเรียนรู้ - ความสอดคล้องของเนือหา - นําไปใช้ให้สอดคล้อง
- วเิ คราะห์หลกั สูตรแกนกลาง - จดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรู้ จุดประสงค์ การวดั กบั วตั ถปุ ระสงค์และ
การศกึ ษาขนั พนื ฐาน กลุม่ สาระ ประเมนิ ผล แนวทางการจดั การศกึ ษา
การเรียนรู้ มาตรฐาน ตวั ชีวดั สู่ - ประเมินหลกั สตู ร(ประเมนิ
การออกแบบ ความก้าวหน้าประเมินผลสรุปรวม)

หลักสตู รสถานศกึ ษา ข้อมลู ย้อนกลบั รายงานการประเมนิ หลกั สตู ร

ภาพประกอบที 3.2 ก(1)-1 กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ มีกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร โดยคณะกรรมการฝ่ ายวิชาการแตล่ ะสายชนั ร่วมกนั
ดําเนินการ โดยมีขนั ตอน 4 ขนั ตอนดงั นี
1) วเิ คราะห์ข้อมลู พืนฐานเกียวกบั สภาพความต้องการของชมุ ชน นกั เรียน ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี และบริบท
ของชมุ ชนท้องถิน ข้อมลู โรงเรียน และศกึ ษาหลกั สตู ร วเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั พืนฐาน
2) การออกแบบหลกั สตู รตามระดบั ชนั ได้กําหนดโครงสร้างของหลกั สตู ร เวลาเรียน
3) การตรวจสอบคณุ ภาพของหลกั สตู ร มีการตรวจสอบคณุ ภาพกอ่ นนําไปใช้
4) การนําหลกั สตู รไปใช้และการประเมนิ ผล

คณะกรรมการในสายชนั และคณะกรรมการจากฝ่ายวชิ าการ กํากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การใช้
หลกั สตู รเป็นรายบคุ คล ฝ่ายวชิ าการนําผลการใช้หลกั สตู รเสนอในทีประชมุ คณะกรรมการโรงเรียนและ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผ้ปู กครอง เพือทราบและให้อเสนอแนะในการปรับปรุงพฒั นา

คณะกรรมการบริหารโรงเรียนถ่ายทอดให้คณะกรรมการสายชัน ดําเนินการตามขนั ตอนการพัฒนา
หลกั สตู รสรุปผล มกี ารนิเทศ ตดิ ตามผลจากคณะกรรมการงานวิชาการของโรงเรียน

ข้อมลู ในการพัฒนาและปรับปรุงหลกั สตู ร บริการทีสง่ เสริมการเรียนรู้ ได้แก่ การจดั โปรแกรมห้องเรียน
พิเศษ การจดั การเรียนรู้ภาษาองั กฤษเพือการสือสารโดยครูเจ้าของภาษา การจดั ทําห้องสือเทคโนโลยี การใช้

38
อินเตอร์เนต็ ไร้สายความเร็วสงู ในการศกึ ษาค้นคว้า การใช้ห้องสมดุ การเรียนรู้ทกั ษะชีวิต(วา่ ยนํา) เป็นต้น ให้ตรง

ตามความคาดหวงั ของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ กําหนดหลักสตู รทีใช้ในการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้เพือสนองตอ่ ความต้องการและความคาดหวงั ของผ้เู รียน โดยการสํารวจความต้องการของ

ผ้เู รียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี จากการสํารวจพบว่า ความต้องการในโรงเรียนได้บริหารจัดการ ดงั ตารางที 3.2 ก

(1)-1

ตารางที 3.2 ก(1)-1 ข้อมลู ทีต้องการวิธีการประเมินในการพฒั นาและปรับปรุงหลกั สตู ร

บริการทีสง่ เสริมการเรียนรู้ และการบริการอนื ๆ

กลุ่มผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ข้อมูลทตี ้องการ วิธกี ารประเมนิ

นักเรียนระดับปฐมวยั ประเมินหลกั สูตรบริการทีส่งเสริม - สํารวจความพงึ พอใจต่อคุณภาพของหลักสตู ร
- ห้องเรียนปกติ การเรียนรู้และการบริการการศกึ ษา ของนกั เรียนแตล่ ะหลกั สตู ร

อืนๆเพือตอบสนองความคาดหวัง - สาํ รวจความคดิ เหน็ ในการจดั ประสบการณ์และ

ของกลมุ่ ผ้เู รียน การจดั การเรียนรู้

- สาํ รวจข้อเสนอแนะในการบริการทางการศกึ ษา

อืนๆ

นักเรียนระดบั ประถมศึกษา ประเมินหลักสูตรบริการทีส่งเสริม - สํารวจความพึงพอใจต่อคุณภาพของหลกั สตู ร
- ห้องเรียนมาตรฐานสากล
- โครงการจดั การเรียนการสอนตาม การเรียนรู้และการบริการการศกึ ษา ของนกั เรียนแตล่ ะหลกั สตู ร
หลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็น
ภาษาองั กฤษ (Mini English อืนๆเพือตอบสนองความคาดหวัง - สาํ รวจความคิดเห็นในการจดั การเรียนการสอน
Program : MEP)
- โครงการห้องเรียนพิเศษสง่ เสริม ของกลมุ่ ผ้เู รียน ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่างๆ

- สาํ รวจข้อเสนอแนะในการบริการทางการศกึ ษา

อืนๆ

- สาํ รวจข้อเสนอแนะในการสอนเสริมเพือเตรียม

ศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และ สอบ O-NET และ NT

คณติ ศาสตร์ ( Science and

Mathematics Program : SMP)

คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ประเมินหลักสูตรบริการทีส่งเสริม ประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาโดยใช้แบบประเมิน

การเรียนรู้และการบริการการศกึ ษา และข้อคดิ เหน็ ในทีประชมุ

ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา อืนๆเพือตอบสนองความคาดหวัง ประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษาโดยใช้แบบประเมิน

ของกลมุ่ ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี และข้อคดิ เห็นในทปี ระชมุ

คณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้อคิดเห็น และการให้ความเห็นชอบ

เครือขา่ ยผ้ปู กครองนกั เรียน ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ

สมาคมผ้ปู กครองและครู

ห้องเรียนปกติได้จดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพือการสือสาร (English for Communication

Development : ECD) โดยให้ครูชาวตา่ งชาติเจ้าของภาษาสอนภาษาองั กฤษเพือการสือสาร ซงึ เป็นความต้องการ

ของผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย มีโครงสร้างเวลาเรียนเพิมเติมตามจดุ เน้น สอดคล้องกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั

พืนฐานและกลยทุ ธ์ของโรงเรียนโดยนกั เรียนผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียสมคั รเข้าเรียนตามภมู ลิ าํ เนาในเขตบริการ

39
โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ (Mini English
Program : MEP) เป็นโครงการทีจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการโดยใช้ภาษาองั กฤษ ใน 4
วิชา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและภาษาอังกฤษ เป็นสือเพือพัฒนาศักยภาพด้านความรู้
ความสามารถและทกั ษะทางภาษาของผ้เู รียนบนพืนฐานของความเป็นไทย โดยดําเนินการสอบคดั เลอื กนกั เรียนที
มคี วามรู้ความสามารถและมคี วามพร้อมในการเข้าเรียน และในการจดั การเรียนการสอนในโรงเรียนต้องคํานึงถึง
ความสามารถพืนฐานในการใช้ภาษาของผ้เู รียน การสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมอนั ดีงาม ตลอดจน
การเรียนการสอนในบริบทของโรงเรียนผสมผสานกบั ความเป็นสากล
โครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์( Science and
Mathematics Program : SMP) เป็นโครงการทีส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ผ้เู รียนมีความรู้ความสามารถทางด้าน
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพิมมากขนึ ตรงตามความต้องการของตลาด โรงเรียนได้สํารวจความต้องการการ
ตอบรบั จากความต้องการของผ้เู รียนและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี โดยการประชมุ คณะกรรมการตงั เกณฑ์การประเมิน
คดั เลอื กตามเกณฑ์และคณุ สมบตั ทิ ีเหมาะสมเพือเข้าเรียนโดยให้ผ้มู สี ว่ นทีเกียวข้องทกุ ภาคสว่ นมาร่วมกันพฒั นา
และยกระดบั ผลสมั ฤทธิ มีเปา้ หมายเพือตอบสนองความต้องการของทุกฝ่ ายและเกิดประโยชน์สงู สดุ กบั โรงเรียน
และผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี มีผลทําให้หลกั สตู รการเรียนการสอน การบริการสง่ เสริมการเรียนรู้และการบริการต่างๆ
ของโรงเรียนได้รับการยอมรับและเกิดการสนับสนุนจากผู้เรียน ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียในระดบั ดีมากถึงขันเกิด
ความรู้สกึ ผกู พนั เป็นเจ้าของโรงเรียนร่วมกนั
(2) การสนับสนุนผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (STUDENT and Stakeholder Support)
โรงเรียนมีเปา้ หมายให้ผ้เู รียนเกิดทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีทักษะการคิดวิเคราะห์และ
ทกั ษะการทํางาน สอดคล้องกบั มาตรฐานและตวั ชีวัดของโรงเรียนมาตรฐานสากลมีขนั ตอนดงั นี 1) วิเคราะห์
ผ้เู รียน 2) วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ 3) จดั การเรียนการสอนตามกระบวนการสอน IS โดยใช้รูปแบบบันได 5
ขนั (Five Step to development) 4) ประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
ฝ่ายบริหารงานบคุ คลจดั ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร เพือพฒั นาครูให้มีความรู้ความเข้าใจ เกียวกบั ขนั ตอน การ
สนบั สนนุ ผ้เู รียนตาม 4 ขนั ตอนข้างต้น และมอบหมายให้คณะครูนําความรู้จากการประชมุ ไปจดั กิจกรรมการเรียน
การสอน คณะกรรมการวดั และประเมนิ ผล นําเสนอฝ่ายวชิ าการ เพือเสนอผลและรายงานต่อ นักเรียน ผ้ปู กครอง
ทราบ ภาคเรียนละ 1 ครงั และเสนอฝ่ายบริหารทงั 4 ฝ่ ายเพือรับทราบข้อมลู สารสนเทศ และเป็นแนวทางในการ
สนบั สนนุ ผ้เู รียนตอ่ ไปในอนาคต
โดยการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนใช้กระบวนการสอน IS โดยใช้รูปแบบบันได 5 ขนั (Five Step to
development) โรงเรียนจึงได้จัดสิงอํานวยความสะดวกด้านการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ เพือ
สนบั สนุนให้นักเรียนได้ทําการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง เช่น คอมพิวเตอร์ กระดานอจั ฉริยะ
เครืองฉายภาพแบบทึบแสง ห้ องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทีทันสมัย ห้ อง E-Classroom สระว่ายนํา
นอกจากนันยังสามารถนํานักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ทังในและนอกห้ องเรียนได้อย่างต่อเนือง และมี
ประสทิ ธิภาพ

40
ซงึ สง่ ผลให้ผ้เู รียนมีศกั ยภาพสามารถนําองคค์ วามรู้ไปสอื สารสธู่ ารณชน เช่น การจัดนิทรรศการแสดงผล

งาน โครงงาน การเผยแพร่ข้อมลู ผา่ นเวบ็ ไซต์ การเข้าแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ การสาธิตด้วยการลงมอื ปฏิบตั จิ ริง

เป็นต้น

(3) การจาํ แนกผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (STUDENT Segmentation)

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ไิ ด้จดั หลกั สตู รตามความต้องการของผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียและทําการประเมนิ ตาม

หลกั เกณฑ์การคดั เลอื กของแตล่ ะหลกั สตู รโดยดําเนินการดงั นี

ตารางที 3.2 ก(3)-1 โปรแกรม/หลกั สตู ร

โปรแกรม/หลกั สูตร จาํ แนกผู้เรียน วธิ ีการ

ห้องเรียนมาตรฐานสากล นกั เรียนในเขตพืนทบี ริการ จบั สลากเข้าเรียน

ในระดบั ปฐมวยั ปีที 1 และระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 1

ห้องเรียนโครงการจดั การเรียน วดั ความรู้ความสามารถด้วย 1. ทําการทดสอบภาคความรู้ทงั ปรนยั และอตั นยั ตรง

การสอนตามหลกั สตู ร แบบทดสอบและการสมั ภาษณ์ ตามความถนัดในระดบั ชนั ประถมศึกษาปีที 1

กระทรวงศกึ ษาธิการเป็น 2. สมั ภาษณ์เพือพิจารณาความพร้อมทางด้านทกั ษะ

ภาษาองั กฤษ (Mini English ทางภาษา

Program : MEP)

ห้องเรียนพเิ ศษสง่ เสริมศกั ยภาพ วดั ความรู้ความสามารถด้วย 1. ทาํ การทดสอบภาคความรู้ ทงั ปรนยั และอตั นัยตรง

ทางด้านวทิ ยาศาสตร์และ แบบทดสอบและการสมั ภาษณ์ ตามความถนัดในระดบั ชนั ประถมศึกษาปีที 1

คณติ ศาสตร์( Science and 2. สมั ภาษณ์เพือพจิ ารณาความพร้อมทางด้านทกั ษะ

Mathematics Program : SMP) ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

จากการจดั หลกั สตู รทงั 3 หลกั สตู ร สง่ ผลให้ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี มีความพึงพอใจเพิมจํานวนมากขนึ จึงทํา

ให้โรงเรียนต้องมกี ารจบั สลาก สอบแขง่ ขนั และมีอตั ราการแข่งขนั ของผ้เู รียนสงู ขนึ จึงเป็นสว่ นทีมีความท้าทาย

เป็นพิเศษทีทําให้นักเรียนมาสมัครเข้าเรียนเพิมมากกว่าความสามารถทีโรงเรียนจะรับได้ ทําให้ในอนาคตมี

การปรบั ขยายห้องเรียนเพิมขนึ ทําให้ต้องรักษาคณุ ภาพและมาตรฐาน มกี ารพฒั นาให้เทียบเคยี งหรือเหนือกว่าคู่

เทียบจงึ จะสามารถแขง่ ขนั กบั โรงเรียนทีเป็นคแู่ ขง่ ในปัจจบุ นั ได้

(ข) การสร้างความสัมพนั ธ์กับนักเรียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย

(Building STUDENT and Stakeholders Relationships)

(1) การจัดการความสัมพันธ์(Relationship Management) โรงเรียนมีกระบวนการสร้างและจัดการ

ความสมั พนั ธ์กบั ผ้รู บั บริการและผ้มู ีสว่ นได้ สว่ นเสีย โดยการแบง่ วิธีการสร้างความสมั พนั ธ์ โดยการจดั การดงั นี

1) การสร้างความสมั พนั ธ์ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในหลกั สตู รทีม่งุ เน้นความสําคญั ของ

นกั เรียน ครุประจําชนั ผ้รู บั ผดิ ชอบดาํ เนินการดงั นี

1.1 ทําการวเิ คราะห์ผ้เู รียนรายบคุ คล เพือทราบข้อมลู พืนฐานของนกั เรียน

1.2 สาํ รวจความต้องการของนกั เรียน

1.3 ประมวลข้อมลู

1.4 จดั การเรียนการสอน โดยยึดความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ให้ผ้เู รียนได้พฒั นาตามศกั ยภาพ

1.5 ประเมนิ ผลนกั เรียนรายบคุ คล 41

นําข้อมลู ทีได้จากการประเมินนกั เรียน เสนอคณะกรรมการในสายชนั รายงานฝ่ายวชิ าการ

และนําส่ทู ีประชมุ คณะกรรมการโรงเรียน เพือนําผลไปปรับปรุงตอ่ ไป สง่ ผลให้เด็กนักเรียนได้รับการพัฒนา

รายบคุ คลตามศกั ยภาพ

2) การสร้างความสมั พันธ์กับกิจกรรมภายนอกทีนักเรียน ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียได้ดําเนินการตาม

ขนั ตอน ดงั นี

2.1 คณะกรรมการสายชนั จดั ทําปฏิทินการปฏิบตั ิกิจกรรมภายนอกทีนกั เรียนต้องการเข้าร่วม

กิจกรรม

2.2 สํารวจความต้องการของนักเรียนทีจะเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมทีต้องการนกั เรียนทีเป็น

ตวั แทน คณะกรรมการในสายชนั คดั เลอื กนกั เรียนเพือเป็นตวั แทน

2.3 แจ้งให้ผ้มู ีสว่ นเกียวข้อง ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี รับทราบ

2.4 นํานกั เรียนเข้าร่วมกิจกรรม

2.5 ประเมนิ ผลความพงึ พอใจของนกั เรียน และผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี

2.6 สรุปผลนําเสนอให้ทกุ ฝ่าย ทกุ สายชนั รับทราบ เพือเป็นแนวทางในการดําเนินงานตอ่ ไป

การจัดการความสมั พันธ์จึงเป็นส่วนทีให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการความสัมพันธ์ให้ใน

ลกั ษณะสอดคล้องกบั ความต้องการของผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย โดยทุกกิจกรรมมีการวัดความพึงพอใจ

การสอบถามผ้ปู กครอง การขออนญุ าตผ้ปู กครองตลอดจนการการแจ้งข้อความถึงผ้ปู กครอง จงึ ทําให้โรงเรียน

มีความสมั พนั ธ์ ดงั ตารางที 3.2 ข(1)-1

ตารางที 3.2 ข(1)-1 กิจกรรมทีจดั เพือสร้างความสมั พนั ธ์ทีมตี อ่ นกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี

กจิ กรรม ลักษณะของกจิ กรรม กลุ่มเป้าหมาย

1. การตอบสนองความ 1. การจดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน นกั เรียนปัจจบุ นั

คาดหวงั 2. ระบบการเรียนรู้ทเี น้นผ้เู รียนเป็นสาํ คญั นํานวตั กรรมใหมแ่ ละ

ใช้สอื ICT ในการเรียนรู้และสบื ค้นข้อมูล

3. กจิ กรรมสอนเสริมและยกระดบั ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน

2. การสร้าง 1. กจิ กรรมทเี ป็นประเพณีสบื ต่อกนั มา เชน่ ทอดเทียนพรรษา นกั เรียนปัจจบุ นั ผ้แู ทนศิษย์เก่า

ความสมั พนั ธ์และเพิม ผ้าป่ าการศกึ ษา พธิ ีวางพวงมาลาถวายราชสกั การะพระบรมรา เครือขา่ ยผ้ปู กครอง องค์กร

ความผกู พนั ชานสุ าวรีย์ รัชกาลที 5 ร่วมพิธีเนอื งในวโรกาสเฉลมิ พระ หน่วยงาน สถาบนั การศึกษาอนื ๆ

ชนมพรรษา รัชกาลที 9 ร่วมกิจกรรม Bike for Dad และร่วมพธิ ี

เนืองในวโรกาสเฉลมิ พระชนมพรรษาพระบรมราชินนี าถใน

รชั กาลที 9 ร่วมงานเจ้าพอ่ พญาแล ร่วมงานบญุ เดอื น 6 ศาลเจ้า

พ่อพญาแล กิจกรรมกีฬาศนู ย์เครือขา่ ย กจิ กรรมวนั เด็ก

3. การสร้าง 1. การปฐมนิเทศนกั เรียนใหม่ นกั เรียนและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี

ภาพลกั ษณ์ทีดขี อง 2. กจิ กรรม Open House

โรงเรียน 3. กจิ กรรมวนั แห่งความภาคภูมใิ จในความสาํ เร็จ

(2) การจดั การกับข้อร้องเรียน (Complaint Management) 42

ก. ข้อร้องเรียน

โรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิมีวิธีการจัดการข้อร้องเรียนทีถือว่าเป็นการรับฟังเสียงของผ้เู รียนและผู้มี

สว่ นได้ส่วนเสีย เพือเสริมสร้างความมนั ใจ ความพึงพอใจ ความผกู พนั และหลีกเลียงปัญหาทีเกิดซําซ้อน โดย

ดาํ เนินการดงั นี

1) กําหนดลกั ษณะข้อร้องเรียน รายกลมุ่ หรือรายบคุ คล

2) ประเภทข้อร้องเรียน จดหมายร้องเรียน บตั รสนเทศ โทรศพั ท์ สอื ออนไลนท์

3) กลมุ่ งานทีเกิดการร้องเรียนเพือบริหารจดั การตรงจดุ ร้องเรียน

โรงเรียนมกี ระบวนการในการจดั การกบั ข้อร้องเรียนดงั นี

1) โรงเรียนถือวา่ ข้อร้องเรียนทกุ ข้อความสําคญั ซึงนํามาเป็นข้อมลู ในการพฒั นาคณุ ภาพการจดั

การศกึ ษา

2) โรงเรียนถือวา่ ผ้รู ้องเรียนมเี จตนาทีดี ซงึ มีสว่ นร่วมในการพฒั นาโรงเรียน

3) โรงเรียนตงั คณะกรรมการดําเนินการตรวจสอบวิเคราะห์ข้อเท็จจริงเพือดําเนินการปรับปรุง

พฒั นาและแก้ไข

4) โรงเรียนกํากบั ติดตามแก้ไข ตรวจสอบ เพือลดความเสยี งอยา่ งรอบคอบโดยคํานงึ ถึงผลกระทบ

ตอ่ วฒั นธรรมขององคก์ รชมุ ชนและสงั คม

5) โรงเรียนดําเนินการประชาสมั พันธ์และสร้ างความเข้าใจกบั ผ้เู รียนผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสียและ

ผ้เู กียวข้อง

6) โรงเรียนจัดประชุมชีแจงการแก้ ไขตามข้อเสนอแนะและประเมินข้อรับฟังเพือเป็นข้อมูล

สารสนเทศไมใ่ ห้เกิดความซําซ้อนของปัญหา

7) สรุปรายงานเอกสารในการแก้ไขการร้องเรียนไว้เป็นข้อมลู สารสนเทศ

หมวด 4 การวัดการวเิ คราะห์และการจดั การความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge 43

Management)

4.1 การวัดการวเิ คราะห์และการปรับปรุงผลการดําเนินการของโรงเรียน

(Measurement, Analysis and Improvement of Organization Performance)

ก. การวดั ผลการดาํ เนนิ การ(PERFORMANCE MEASUREMENT)

(1) ตัววัดผลการดาํ เนนิ การ(PERFORMANCE MEASUREMENT)

งานประกนั คณุ ภาพภายในและคณะกรรมการบริหารโรงเรียนคดั เลือกตวั ชีวดั ผลการดาํ เนินการระดบั

โรงเรียนโดยพิจารณา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ความต้องการ ความคาดหวงั ของนกั เรียน และผ้มู ี

สว่ นได้สว่ นเสยี มาจดั ลําดบั ความสําคญั ซึงได้ 7 ตวั ชีวดั คือ 1) มหี ลกั สตู รเทียบเคยี งมาตรฐานสากล

2) บริหารจดั การตามเกณฑ์รางวลั คณุ ภาพ OBECQA โดยใช้รปู แบบ “อนบุ าลชยั ภมู ริ วมใจ” 3) มีการจดั การ

เรียนรู้ตามปรัชญา ทฤษฎี Progressivism & Constructivism ให้เดก็ แสวงหาความรู้ และจดั การได้ด้วยตวั เอง

(Executive function)” 4) ครูเป็นครูมอื อาชีพ 5) มสี อื นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้ ให้ได้มวลประสบการณ์อยา่ ง

เพียงพอและสอดคล้องกบั ระดบั พฒั นาการการเรียนรู้ของนกั เรียน 6) มเี ครือขา่ ยทีเข้มแขง็ 7) ผ้เู รียนมีความรู้

ทกั ษะ และเจตคติ เทียบเคียงมาตรฐานสากล ดงั รายละเอยี ด ตามตารางที 2.1 ข(1)-2

จากนนั นําเสนอตอ่ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนและความความเห็นชอบเป็นตวั ชีวดั ผลการดําเนินการ

ระดบั โรงเรียน และมอบหมายงานให้ฝ่ายประกนั คณุ ภาพภายในจดั ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารเพือสือสารให้หวั หน้างาน

หัวหน้าสายชนั หัวหน้ากลุ่มสาระ คณะครูและบุคลากรทีเกียวข้องเข้าใจตรงกันเพือคัดเลือกข้อมูลทีสําคญั

กําหนดคา่ เป้าหมาย คา่ เกณฑ์การวดั ความถีในการเก็บรวบรวมข้อมลู และรายงานผลข้อมลู ตาม KPI ทงั ระดบั

โรงเรียน และระดบั ปฏิบตั ิการ โดยมคี ณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในเป็นผ้กู ํากบั นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ

ข้อมูล และสรุปข้อมูลพร้ อมรายงานการวิเคราะห์ และคาดการณ์แนวโน้ มผลการดําเนินงาน หากผลการ

ดําเนินการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จะประสานงานกับฝ่ ายงานทีรับผิดชอบ จัดทําข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข

พร้อมรายงานความก้าวหน้าให้กบั คณะครูทกุ คนและบคุ ลากรทีเกียวข้องได้รับทราบในการประชุม จากนนั ฝ่ าย

งานประกนั คณุ ภาพฯรายงานผลทีได้เป็นรายภาคเรียนและรายปี

ผลการดําเนินการตามตัวชีวัดจะถูกถ่ายทอดถึงคณะครูและบุคลากรทีเกียวข้อง โดยการประเมิน

ประสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล การปฏิบตั งิ านทงั 3 ด้าน คอื ด้านวชิ าการ ด้านการดแู ลนักเรียนและการปฏิบัติงานใน

หน้าทีทีได้รับมอบหมายให้มกี ารปฏิบตั ิสอดคล้องในในแนวทางเดยี วกนั และเชือมโยงไปส่กู ระบวนการพัฒนาขีด

ความสามารถตามกระบวนการประกนั คณุ ภาพภายใน

(2) ข้อมูลเชงิ เปรียบเทียบ (Comparative Data)

ฝ่ ายบริหารไดรับมอบหมายให้ฝ่ ายบริหารงานวิชาการ กําหนดข้อมูลสารสนเทศทีสําคัญมาใช้เชิง

เปรียบเทียบเพือสนับสนุนการตดั สินใจในระดับปฏิบัติการและระดบั กลยุทธ์รวมทังการสร้ างนวัตกรรมอย่างมี

ประสิทธิภาพคอื

1) ข้อมลู ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนได้แก่O-NET,NT ซงึ เป็นการวดั ผลเชิงเปรียบเทียบโดยเปรียบเทียบกบั

เป้าหมายของเขตพนื ทีการศกึ ษาเปรียบเทียบระหวา่ งโรงเรียนในเขตพนื ทีการศกึ ษาและโรงเรียนในระดบั ประเทศ

44
2) ข้อมลู การประกวดแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการนานาชาติ /การสอบแขง่ ขนั ตามโครงการตา่ งๆ เช่น การ
สอบแขง่ ขนั วิชาการนานาชาติ การสอบเข้าเรียนต่อในระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที 1 ฯลฯ โรงเรียนได้จัดทําเป็นข้อมลู เชิง
เปรียบเทียบกบั ปีการศกึ ษาทีผา่ นมาทุกครังและเปรียบเทียบกบั โรงเรียนอืนๆ ทงั ในระดบั จงั หวัดและระดบั ประเทศ
และรายงานข้อมลู ให้ผ้เู กียวข้องทราบ เพือร่วมกนั กําหนดกลยทุ ธ์และแนวทางการพฒั นาในปีการศกึ ษาตอ่ ไป
3) ข้อมลู การแขง่ ขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนในระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และระดบั ชาติ
4) ข้อมลู การสอบเข้าเรียนตอ่ ในโรงเรียนทีมีการแขง่ ขนั สงู และโรงเรียนทีสง่ เสริมความสามารถพิเศษ
เมือได้ข้อมลู การเปรียบเทียบ ฝ่ ายวิชาการได้สรุปรวบรวมผลข้อมลู เสนอตอ่ คณะกรรมการบริหารโรงเรียน
คณะครูทกุ คน และบคุ ลากรทีเกียวข้องได้รับทราบแล้วนําผลทีได้ไปวิเคราะห์เชิงลกึ รายตวั ชีวัดของทุกมาตรฐานการ
เรียนรู้ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้และนําข้อมลู สารสนเทศ ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนมาจดั ทําเป็นข้อมลู เพือพฒั นาสู่
เป้าหมายทีกําหนด และมกี ารกํากบั ติดตาม ประเมนิ ผล อยา่ งสมําเสมอ
(3) ข้อมูลผ้เู รียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย (STUDENT and STAKEHOLDER Data)
โรงเรียนได้ใช้ข้อมลู และสารสนเทศของผ้เู รียน และผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย เพือสนบั สนุนการตดั สินใจ ใน
ระดบั ปฏิบตั ิการและระดบั กลยทุ ธ์รวมทงั สร้างและพฒั นานวตั กรรมอยา่ งมีประสิทธิผลโดยโรงเรียนให้ความสนใจเป็น
อยา่ งมากตอ่ ข้อมลู ของผ้เู รียนและผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสียในทุกๆด้านและทุกข้อเสนอแนะ รวมทงั ข้อร้ องเรียนทีผ่านการ
ตรวจสอบวิเคราะห์สงั เคราะห์แล้วนําข้อมูลเหล่านันไปใช้ในการตดั สินใจในการบริหารและการจัดการศึกษาของ
โรงเรียน
(4) ความคล่องตัวของการวัดผล (Measurement Agility)
ระบบการวัดและประเมินผลของโรงเรียนเป็นไปตามคําสงั และแนวปฏิบัติการวดั และประเมินผล
การเรียนรู้ของสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั พืนฐานซึงเป็นเอกสารทีผ้มู ีส่วนเกียวข้องทกุ คน
รับทราบมีการกําหนดปฏิทินการปฏิบตั ิงานมีเกณฑ์การวดั ผลมีระเบียบการวดั และประเมินผลไว้อย่างชัดเจน
มีการซักซ้อมความเข้าใจในการปฏิบัติให้กบั ครูและบคุ ลากรทีเกียวข้องมีการจัดสรรงบประมาณสําหรับจัดซือ
จัด ห า วัส ดุอุป ก ร ณ์ เ ค รื อ ง มื อ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ที ทั น ส มัย อ ย่ า ง เ พี ย ง พ อ เ ห ม า ะ ส ม มี แ ผ น สํ า ร อ ง เ พื อ ร อ ง รั บ
การเปลยี นแปลงทงั ภายในและภายนอกทีอาจจะเกิดขนึ
ข. การวเิ คราะห์และทบทวนผลการดําเนินการ (PERFORMANCE ANALYSIS and Review)
โรงเรียนได้นําผลการวิเคราะห์และทบทวนผลการดําเนินการและขีดความสามารถของโรงเรียนเพือ
ประเมนิ ความสาํ เร็จของผลการดาํ เนินการในเชิงแขง่ ขนั เทียบกบั วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์และแผนปฏบิ ตั กิ ารคอื
1) วเิ คราะห์ผลการดําเนินการจากมาตรฐานการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนทังระดบั ปฐมวยั และระดบั
ประถมศกึ ษา วเิ คราะห์ผลลพั ธ์ทีเกิดจากระบบควบคมุ ภายใน วิเคราะห์ความสามารถในการแขง่ ขนั ในทกุ ๆด้าน
กบั โรงเรียนคแู่ ขง่ ทกุ ระดบั
2) ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการทีโรงเรียนแตง่ ตงั จะนําผลการวิเคราะห์มาทบทวนปรับปรุงพฒั นาโดยใช้
องค์ประกอบตามหลกั ธรรมาภิบาลเป็นข้อพิจารณาสามารถตอบสนองต่อความเปลียนแปลงได้ทนั ท่วงทีทกุ ปี
การศกึ ษา

ค. การปรับปรุงผลการดาํ เนินการ (PERFORMANCE Improvement) 45

(1) การแลกเปลยี นเรียนรู้และวิธีปฏบิ ตั ทิ ีเป็นเลศิ (Best Practices)

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิใช้การบริหารด้วย อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ Model ในการบริหารทกุ โครงการ

ทกุ กิจกรรมภายใต้กลยทุ ธ์ ซึงก่อให้เกิดการแลกเปลยี นเรียนรู้วิธีปฏบิ ตั ทิ ีเป็นเลศิ ในโรงเรียน ทงั ทางด้านการบริหาร

โรงเรียนของผู้บริหารและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู เป็นนโยบายทีปฏิบัติร่วมกัน นําผล

การดาํ เนินงานมาสรุป ประเมิน ทบทวน ปรับปรุง พฒั นาให้เกิดเป็นวฒั นธรรมองค์กร ซึงทางโรงเรียนได้นําผล

การดําเนินงานดงั กล่าวเผยแพร่ต่อสาธารณชนด้วยการจดั นิทรรศการทังในโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานที

เกียวข้อง รวมทงั เผยแพร่ในสือออนไลน์ Website, Facebook และ Open House

(2) ผลการดาํ เนินการในอนาคต (Future PERFORMANCE)

โรงเรียนได้นําผลการดาํ เนินงานโครงการในแตล่ ะปีมาจดั ทําเป็นข้อมลู เชิงเปรียบเทียบ เพือนํามาเป็น

ข้อมลู พืนฐานประกอบการพจิ ารณาคาดการณ์ผลการดําเนินการในอนาคต เชน่ ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน ทุกกล่มุ

สาระ ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั พืนฐาน (O-NET) และผลการทดสอบความสามารถพนื ฐานระดบั ชาติ (NT) โดยนํา

ผลการทบทวนผลการดาํ เนินการและข้อมลู เชิงเปรียบเทียบในระดบั ศนู ย์เครือขา่ ย ระดบั สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศกึ ษา

และค่แู ขง่ ทีสําคญั เพือเป็นข้อมลู ในการคาดการณ์ผลการดําเนินการในอนาคตโดยนําผลการทบทวนมาวิเคราะห์

เปรียบเทียบกบั เปา้ หมายและคแู่ ขง่ ในปัจจบุ นั เป็นฐานแล้วใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นคาดการณ์ผลการดําเนินการใน

อนาคต

โรงเรียนเน้นการทํางานเชิงรุกโดยเอาสงิ ทีคดิ วา่ จะเกิดขนึ ในอนาคตมาทําในปัจจบุ นั ซงึ จะทําให้

โรงเรียนได้เปรียบคแู่ ขง่ และสามารถเป็นโรงเรียนยอดนิยมในระดบั ประถมศกึ ษาของจงั หวดั ได้ตลอดไป

(3) การปรับปรุงอย่างต่อเนืองและนวตั กรรม(Continuous Improvement and INNOVATION)

โรงเรียนได้นําผลการดาํ เนินการไปใช้จดั ลําดบั ความสําคญั ของเรืองทีต้องนําไปปรับปรุงอยา่ งต่อเนือง

และนําไปเป็นโอกาสในการสร้างนวตั กรรมรวมทงั การถ่ายทอดให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานผ้สู ง่ มอบและพนั ธมิตรของโรงเรียนทีมี

แนวปฏิบตั เิ ป็นไปตามแนวทางเดียวกนั กบั โรงเรียนโดยจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั ของเรืองทีต้องนําไปปรับปรุงโรงเรียนใช้

หลกั การพิจารณาผลกระทบทีเกิดขนึ หากรุนแรงหรือมีความเสยี งสงู จะดําเนินการแก้ไขปรับปรุงเป็นอนั ดบั แรกหรือรอง

ลงไปตามสภาพผลกระทบและรายงานการดาํ เนินงานให้ผ้ทู ีเกียวข้องทราบ โดยการประชุมชีแจงออกเอกสารแนวทาง

ปฏิบตั ติ ลอดจนสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้มกี ารสร้างนวตั กรรมใหมๆ่ เพือแก้ปัญหาและปรับปรุงพฒั นาในเรืองนนั ๆ ให้ดีขนึ

โดยดําเนินการพฒั นาให้เป็นไปตามระบบงานทีสาํ คญั ของโรงเรียน คอื ระบบการจดั การเรียนรู้ ระบบสนับสนุน และ

ระบบเฝา้ ระวงั ( Well Care) มีการปรับปรุงอยา่ งตอ่ เนืองและเพิมหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

4.2 การจดั การสารสนเทศความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ

(Knowledge Management, Information and Information Technology)

โรงเรียนมีวธิ ีการในการจดั การสารสนเทศความรู้ของโรงเรียนและเทคโนโลยีสารสนเทศดงั นี

ก. ความรู้ขององค์กร(Organization Knowledge)

(1) การจดั การความรู้(Knowledge Management) โรงเรียนดาํ เนินการ การจดั การความรู้โดยมีขนั ตอน

การดาํ เนินงาน ดงั แสดงในภาพประกอบที 4.2 ก(1)-1

46

คน
นาํ ความรู้ไปใช้ให้

เกิดประโยชน์

เทคโนโลยี กระบวนการความรู้
เป็นเครืองมอื ทชี ว่ ยค้นหา เป็นการบริหารจดั การเพอื นํา
จดั เก็บ แลกเปลยี นและนาํ ความรู้ไปใช้เพือให้เกดิ การ
ความรู้ไปใช้ได้งา่ ย และ
ปรบั ปรงุ และนวตั กรรม

ภาพประกอบที 4.2 ก(1)-1 องค์ประกอบทีสาํ คญั ของการจดั การความรู้
องคป์ ระกอบทีสาํ คญั ของการจดั การความรู้ คอื คน เทคโนโลยี และกระบวนการความรู้ (Knowledge Process)

1) คน เป็นองคป์ ระกอบทีสาํ คญั ทีสดุ เพราะเป็นแหลง่ ความรู้ และเป็นผ้นู ําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
2) เทคโนโลยี เป็นเครืองมอื ทีช่วยค้นหา จดั เก็บ แลกเปลยี น และนําความรู้ไปใช้ได้งา่ ยและ เร็วขนึ
3) กระบวนการความรู้ เป็นการบริหารจดั การ เพือนําความรู้จากแหลง่ ความรู้ไปให้ผ้ใู ช้ เพือให้เกิดการ
ปรบั ปรุง และนวตั กรรม โดยองค์ประกอบทงั 3 สว่ นนีต้องเชือมโยงและบรู ณาการเข้าด้วยกนั อยา่ งเหมาะสม
โดยวธิ ีการในการจดั การความรู้ของโรงเรียนเพือให้บรรลผุ ลโรงเรียนดําเนินการ ดงั นี
วธิ ีการในการจัดการความรู้ของโรงเรียนเพอื ให้บรรลุผลโรงเรียนดาํ เนนิ การ ดังนี
1) การรวบรวมและถ่ายทอดความรู้ ของบุคลากรทีเกิดจากการปฏิบัติงาน การจัดกิจกรรมการ
ประชมุ สมั มนา หรืองานวิจยั ฯลฯ โดยโรงเรียนได้จดั ทําเป็นเอกสาร แจกจ่ายให้กบั ครูและบุคลากร ได้ศกึ ษา การจดั
ประชุมกลมุ่ ยอ่ ย การจดั ประชมุ คณะทํางาน และแลกเปลยี นเรียนรู้ร่วมกนั ในสว่ นของการถา่ ยทอดความรู้ทีเกียวข้อง
กบั โรงเรียน กบั ผ้เู กียวข้องสว่ นอืนๆ ภายนอกโรงเรียนถา่ ยทอดผา่ นกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมเสริมหลักสตู ร
กิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ (Open House) เอกสารประชาสมั พนั ธ์ เว็บไซตแ์ ละสอื ออนไลน์
2) นําเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการสร้างนวตั กรรม และกระบวนการวางแผนเชิงกลยทุ ธ์
3) สร้างองคค์ วามรู้ให้แกบ่ คุ ลากรในโรงเรียนโดยการถ่ายทอดความรู้ทีเกียวข้องกบั โรงเรียน ให้กบั ผ้เู รียนผู้
มีสว่ นได้สว่ นเสียโดยการแบง่ ปันองค์ความรู้ให้รวดเร็วและทนั กาลเพือให้ทุกคนสามารถประยุกต์ความรู้ทีได้ไปสร้ าง
นวตั กรรมของตนเองรวมทงั นําเสนอเพือใช้ในการวางแผนเชิงกลยทุ ธ์ของโรงเรียนด้วย
(2) การเรียนรู้ระดับองค์กร (Organization LEARNING)
โรงเรียนได้จดั ทําข้อมลู สารสนเทศและความรู้ของโรงเรียนให้ถกู ต้องแมน่ ยําและเชือถือได้ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์
ดงั นี
1) แตง่ ตงั ผ้รู ับผิดชอบโดยการคดั เลือกจากผู้ทีมีความรอบรู้ละเอียดรอบคอบมีความซือสตั ย์และ ความ
รับผดิ ชอบสงู และรับผดิ ชอบตามภาระงาน

2) ปรับปรุงระบบซอฟต์แวร์ทีใช้เก็บข้อมลู สารสนเทศให้ครอบคลุมภาระงานโดยคํานึงถึง ความถูกต้อง
เป็นหลกั สําคญั และมีระบบการป้องกนั การปรับเปลียนข้อมลู ทีมีคณุ ภาพ

3) มกี ารตรวจสอบระบบการจดั เก็บข้อมลู และการจดั การข้อมลู สารสนเทศเป็นระยะ
4) มกี ารปรับปรุงระบบข้อมลู สารสนเทศให้เป็นปัจจุบนั และทนั สมยั

47
โรงเรียนมีวิธีการทีจะทําให้ข้อมลู และสารสนเทศทีต้องการมีความพร้อมในการใช้งานสําหรับ
บุคลากรและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียโดยการนิเทศกํากับติดตามผู้ปฏิบัติงานให้ เก็บข้ อมูลให้ ครบทุกด้ านและ
เป็นปัจจบุ นั จดั ทําปฏิทินการเก็บข้อมลู สารสนเทศให้ตรงกบั ระยะเวลาทีกําหนดและจัดทําสถิติเกียวกบั การใช้ข้อมลู
สารสนเทศของบคุ ลากรและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย
ข. ข้อมูล สารสนเทศ การจดั การทรัพยากรสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Data, Information and Information Technology)
(1) คุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information Quality)
โรงเรียนได้จดั ทําข้อมลู และสารสนเทศให้มคี ณุ ภาพ มคี วามเชือถือปลอดภยั และใช้งานง่ายโดยแต่งตงั
ครูผ้มู ีความรอบรู้ตรวจสอบคณุ ภาพของข้อมลู และสารสนเทศ ทีจะนํามาใช้ในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนอย่าง
ละเอยี ดนอกจากนีโรงเรียนได้ปรับปรุงพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ จดั สภาพแวดล้อมและการ
บริการให้เอือตอ่ การเรียนรู้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมอื ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การบริหารจัดการ
การดาํ เนินงานด้านตา่ งๆ ในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ มีระบบแมข่ า่ ย (Server)ทีมีประสิทธิภาพสงู สามารถใช้งาน
ระบบ internet ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทงั ในด้านการจัดการเรียนการสอนและงานสนับสนนุ การสอน มีระบบ
สารสนเทศเกียวกบั ผ้เู รียน เป็นระบบสารสนเทศทีรวบรวมข้อมลู เกียวกบั ข้อมลู พืนฐานของนกั เรียนรายบคุ คล โดย
คณุ ครูประจําชันรวบรวมข้อมลู ให้ฝ่ ายแผนงานและสารสนเทศ จดั เก็บข้อมลู ในระบบ SMIS และ DMC (Data
Management Center) และสารสนเทศด้านผลสมั ฤทธิ ของผ้เู รียนจําแนกเป็นรายชนั รายปี
(2) ความปลอดภยั ของข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information Security)
โรงเรียนมีมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมลู และสารสนเทศเพือให้มันใจได้ว่าข้อมลู และ
สารสนเทศมีความปลอดภยั และใช้งานง่ายโดยแตง่ ตงั ครูผู้มีความรอบรู้เฝ้าระวงั อย่างสมําเสมอ มีการติดตัง
โปรแกรม Antivirus เพือลดความเสยี งจากภยั คกุ คามทางคอมพิวเตอร์แก่เครืองคอมพิวเตอร์แมข่ า่ ย (Sever) และ
คอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล นอกจากนียงั ได้มกี ารปรับปรุงระบบปฏบิ ตั กิ ารให้ทนั สมยั เปิดใช้งานไฟร์วอลล์ (Firewall)
และมีระบบการกู้คืนข้อมลู (Recovery) ของระบบปฏิบัติการตลอดเวลา และมีการป้องกนั การบุกรุกและภัย
คกุ คามทางคอมพิวเตอร์เพือเป็นการเสริมสร้างความปลอดภยั ให้กบั ระบบสารสนเทศและเครือขา่ ย เช่น ผ้ดู แู ละ
ระบบ Proxy Sever จะต้องมีการกําหนดคา่ (Configuration) เพือกลนั กรองข้อมลู ทีมาทางเวบ็ ไซด์ ให้มีความ
ปลอดภยั ตอ่ ระบบสารสนเทศและเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
(3) ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information Availability)
โรงเรียนได้จดั ทําระบบสารสนเทศทีรวบรวมข้อมลู เกียวกบั ข้อมลู พืนฐานของนกั เรียนรายบคุ คล รวบรวม
ข้อมลู ให้ฝ่ายแผนงานและสารสนเทศ จดั เกบ็ ข้อมลู ในระบบ SMIS และ DMC (Data Management Center) และ
สารสนเทศด้านผลสมั ฤทธิ ของผ้เู รียน และได้วา่ จ้างบริษทั ทีโอที จํากดั (มหาชน) ทีมคี วามพร้อม มาสร้างระบบ
ฐานข้อมลู และสารสนเทศเพือให้งา่ ยตอ่ การใช้งาน และพร้อมใช้งานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
(4) คณุ ลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (Hardware and Software Properties)
โรงเรียนมีระบบป้องกันความเสียหาย ของซอฟต์แวร์มีความเชือถือได้ปลอดภัยและใช้ งานง่าย
โดยแต่งตงั ครูผ้มู ีความรอบรู้ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นผ้ดู แู ลระบบตรวจสอบคณุ ลกั ษณะเฉพาะของ

48
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทีจะนํามาใช้ในการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนโดยคํานึงถึงการใช้ประโยชน์อย่างค้มุ คา่
ปลอดภยั มกี ารติดตงั ระบบWi-Fi เพือให้บริการแก่คณะครูและบคุ ลากรในโรงเรียนให้สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ต
ได้ทุกพืนทีในบริเวณโรงเรียนมีโปรแกรมควบคมุ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางสร้ างสรรค์ ในรูปแบบการกําหนด
Username และ Password ให้แกผ่ ้เู ข้าใช้งานทกุ คน

(5) ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Availability)
ในกรณีฉกุ เฉินโรงเรียนมรี ะบบปอ้ งกนั ความเสยี หาย ของซอฟต์แวร์โดยเปิดใช้งานไฟร์วอลล์ (Firewall)

และมีระบบการก้คู นื ข้อมลู (Recovery) ของระบบปฏิบตั กิ ารโดยให้งานบริหารทวั ไปและงานสารสนเทศจดั ครูและ
บุคลากรทีรับผิดชอบไว้เป็นการเฉพาะโดยประสานงานความร่วมมือกับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)เพือ
แก้ปัญหาในภาวะฉกุ เฉินและแจ้งบคุ ลากรทราบถึงแนวปฏบิ ตั ิเพือให้ทนั ใช้ตามกําหนด โดยจัดเก็บข้อมลู ไว้หลาย
แหล่งทังในระบบ Cloud และ External Hard disk เพือจัดเก็บข้อมลู และสามารถนํามาใช้ใหม่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

กรณีเกิดเหตฉุ ุกเฉินเกียวกบั อทุ กภยั วาตภยั อคั คีภยั ซึงเป็นภัยธรรมชาติโรงเรียนได้วางแผน โดย
มอบหมายให้ฝ่ายงานบริหารทวั ไปดําเนินการดงั นี

1) จดั ทําคมู่ ือแนวปฏิบตั ิให้บคุ ลากรและนกั เรียนได้รบั ทราบถงึ วธิ ีการแก้ปัญหาในเบืองต้น
2) ประสานงานกบั หน่วยงาน กองบรรเทาสาธารณภยั เทศบางเมอื งชยั ภมู ิเพือช่วยเหลอื บรรเทาเหตภุ าวะ
ฉกุ เฉินให้กลบั สภู่ าวะปกตไิ ด้ภายในเวลาไมเ่ กิน 24 ชวั โมง
3) สรุปรายงานผลการดําเนินการ ฝ่ายบริหารงานทวั ไปนําผลการดําเนินการ เสนอคณะกรรมการบริหาร
โรงเรียน คณะกรรมการสายชนั คณะกรรมการสถานศึกษา และหน่วยงานทีเกียวข้องอืนๆ เพือร่วมมือกันในการ
ชว่ ยเหลอื แนะแนวทางในการแก้ปัญหาทีอาจเกิดขนึ ในอนาคต

หมวด 5 บุคลากร (Workforce Focus) 49

5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (WORKFORCE Environment )

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ เป็นโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดใหญ่มีการดําเนินการจดั การศึกษาใน 2 ระดบั คือ

ระดบั ก่อนประถมศึกษา (อนุบาลปีที 1-2) ระดบั ประถมศกึ ษา(ชันประถมศึกษาปีที 1- 6) ทางด้านบุคลากร

การศกึ ษาทางโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ใิ ห้ความสําคญั ตอ่ ครูและบคุ ลากร จัดสภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศที

เอือตอ่ การทํางาน และใสใ่ จกบั ผ้เู รียนและการเรียนรู้ มีการจัดทําโครงสร้างการแบ่งสว่ นราชการภายในโรงเรียน

อย่างเป็นระบบการทํางานภายในแบ่งออกเป็น 4 กลมุ่ ได้แก่ กลมุ่ งานบริหารบุคคล กลมุ่ งานบริหารงบประมาณ

กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ และกลมุ่ งานบริหารงานทัวไป โดยมีการวางแผนและระบบในการทํางานให้เป็นทิศทาง

เดียวกนั แต่ละฝ่ ายมีการกําหนดหน้าทีและความรับผิดชอบอย่างชัดเจน เพือให้บรรลผุ ลสมั ฤทธิ ตามวิสยั ทศั น์

พนั ธกิจและคา่ นิยมของโรงเรียน

การบริหารงานของโรงเรียนตามระบบงานดงั กล่าว ผ้บู ริหารได้มอบอํานาจการบังคบั บญั ชาและอํานาจ

การบริหารงานในด้านต่างๆ ให้แก่ผ้บู ังคบั บญั ชาระดบั รองผ้อู ํานวยการในแตล่ ะกล่มุ งาน ลงมาหัวหน้าสายชนั

และหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ ในการปฏบิ ตั งิ าน สว่ นอาํ นาจในการอนมุ ตั ิ การอนุญาตในเรืองต่างๆ เพือความ

ถกู ต้องสะดวกและชดั เจนในการบริหารให้แกบ่ คุ ลากรในโรงเรียนหรือผ้รู ับบริการ ทีมีความต้องการในแตล่ ะด้าน

ผ้บู ริหารจะเป็นผ้อู นุมตั ิ เนืองจากบุคลากรหรือผ้รู ับบริการแตล่ ะคนมีความคิดและวฒั นธรรมทีแตกต่างกนั ไป

ดงั นนั เพือให้การบริหารงานเกิดประสทิ ธิภาพและประโยชน์สงู สดุ ทางโรงเรียนจงึ ดําเนินการบริหารงานอย่างเป็น

ระบบตามโครงสร้างดงั กลา่ ว อย่างถกู ต้องเหมาะสมและชดั เจน โดยโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิได้ใช้แนวทางของระบบ

บริหารจดั การด้วยวงจรควบคมุ คณุ ภาพ PDCA ในรูปแบบ “อนุบาลชยั ภมู ิรวมใจ 9 ขนั ตอน ” ประกอบด้วย 1)

กําหนดนโยบายของสถานศกึ ษา (Policy) 2) การวางแผน การวางระบบงาน (Planning) 3) การจัดโครงสร้าง

งาน (Organization) 4) การพฒั นาบุคลากร/ทีมงาน (Staff Development ) 5) การลงมือปฏิบัติให้เป็น

นวตั กรรม (Acting and Innovation) 6) การนํา (Leading) 7)การแลกเปลยี นเรียนรู้ (share & Learn) 8) การ

ควบคมุ กํากบั และประเมนิ ผล (Controlling and Evaluation) 9) การจดั แสดงผลงาน (Exhibition)

สอดคล้องตามเปา้ ประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั กิ ารโดยมีกระบวนการตามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (4)ใน

การประเมินความต้องการด้านขดี ความสามารถและอตั รากําลงั บคุ ลากร มกี ารจดั ระบบงานภายในเพือให้เกิด

ความร่วมมอื ในการทํางานให้เป็นทิศทางเดยี วกนั เพือให้บรรลผุ ลสมั ฤทธิ ตามวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจและคา่ นิยม

ตามยทุ ธศาสตร์ของโรงเรียนโดยการจดั แบ่งโครงสร้างการแบง่ งานภายในโรงเรียนอยา่ งเป็นระบบ และกําหนด

หน้าทีความรับผดิ ชอบของแตล่ ะฝ่ายงานอยา่ งชดั เจน โดยจดั โครงสร้างการบริหารงาน ตามตารางที OP 1-1

ก. ขีดความสามารถและอัตรากาํ ลังบุคลากร 50

(1) ขดี ความสามารถและอตั รากําลัง

โรงเรียนมีการสํารวจความต้องการอตั รากําลงั มีการวิเคราะห์อตั รากําลงั โดยกล่มุ บริหารงานบุคคล

ดําเนินการสรรหาบุคลากร โดยคํานึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ าย เพือให้ได้บุคลากรทีเหมาะสม มีความรู้

ความสามารถตรงตามสายงานทีโรงเรียนต้องการ ซึงโรงเรียนมแี นวทางในการดําเนินงานดงั นี

1) โรงเรียนมีการสํารวจความต้องการอตั รากําลงั โดยการวิเคราะห์ลักษณะการปฏิบัติงานตาม

โครงสร้างองค์กร และกําหนดอตั รากําลงั ตามภาระงานทีจําเป็น และปฏิบตั ิจริงหากอตั รากําลงั ไม่เพียงพอทาง

โรงเรียนจะแจ้งความต้องการในวิชาเอกทีขาดแคลนเสนอไปยงั สาํ นกั งานเขตพืนที

2) โรงเรียนมกี ารวเิ คราะห์กําลงั คนทีมีอยู่ในโรงเรียน โดยแยกตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ งาน

ระดบั ตาํ แหนง่ และระดบั สายชนั โดยเสนอไปยงั หวั หน้าสายชนั ตา่ งๆ

3) โรงเรียนมกี ารวิเคราะห์แนวโน้มการเคลอื นไหว เรืองการย้าย การเกษียณอายรุ าชการในแตล่ ะปี

4) โรงเรียนมกี ารวิเคราะห์แนวโน้มอตั ราบคุ ลากรทีป่ วย หรือไมส่ ามารถปฏิบตั งิ านได้

5) โรงเรียนมกี ารวเิ คราะห์ประเมนิ ผลขีดความสามารถ ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะของบคุ ลากร

6) โรงเรียนมีการทบทวนปรับปรุงและพฒั นาในสว่ นทีบกพร่อง

โรงเรียนมกี ระบวนการประเมินขดี ความสามารถ และอตั รากําลงั บคุ ลากร โดยมีวิธีการกระบวนการ

ในการสรรหา มีข้อมลู บุคลากร จัดสรรบุคลากรตามความสามารถ ตามความถนดั ตลอดจนมีการคดั เลือก

บุคลากร มีกระบวนการเริมตังแต่ แต่งตงั คณะกรรมการ กําหนดคุณสมบัติ การประกาศ การรับสมัคร

สอบแข่งขนั การคดั เลือก ซึงแตล่ ะวิธีการจะขึนอย่กู ับความต้องการ และความจําเป็นในสายงานทีขาดแคลน

สาขาวชิ า หากเป็นสายงานการสอน โรงเรียนคดั เลือกผ้มู ีคณุ วฒุ เิ ฉพาะตรงตามทีต้องการ มีใบอนญุ าตประกอบ

วิชาชีพครู มีบุคลิกภาพเหมาะสม ถ้าเป็นตําแหน่งงานพีเลียงนกั เรียนปฐมวยั ครูผ้ดู แู ลประสานงานห้องเรียน

พิเศษวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (SMP) ครูผ้ดู แู ลประสานงานห้องเรียนพิเศษภาษาองั กฤษ (MEP) คนงานทํา

ความสะอาด ยามรกั ษาความปลอดภยั จะใช้วธิ ีการคดั เลือกโดยวธิ ีสมั ภาษณ์ ศึกษาประวตั ิสว่ นบุคคล ประวตั ิ

ครอบครวั มที ศั นคติและประสบการณ์ทีเหมาะสมกบั ตําแหนง่ งาน เพือให้ได้บคุ ลากรเหมาะสมกบั ตาํ แหนง่ งานได้

เข้ามาทํางาน สอดคล้องกบั การพฒั นาบคุ ลากร คาํ นึงถงึ ทกั ษะ ความรู้ความสามารถของบคุ ลากร สมรรถสาํ คญั

และพฒั นากําลงั คนทีอย่ตู ามรูปแบบ โดยมกี ระบวนการ ดงั นี

51

ศกึ ษาข้อมูลอัตรากาํ ลงั ข้อมูลโรงเรียน
กรอบวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ นโยบาย ทิศทางกลยทุ ธ์ ความท้าทายความสามารถ
SWOT
พิเศษ เทคโนโลยี กฎหมาย ความต้องการ
เปรียบเทยี บอตั รากําลงั ปัจจบุ นั และความ ความคาดหวงั ผลประเมนิ ขดี ความสามารถของบุคลากร
ต้ องการในอนาคต
ข้อมลู ของประเทศ
ความเปลยี นแปลง AEC แนวโน้มความผนั ผวนทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทาง

เทคโนโลยี การเข้าสู่ Thailand 4.0

วิเคราะห์ ด้านปริมาณและขดี ความสามารถ สนบั สนนุ เชิงกลยทุ ธ์ ขดี ความสามารถ
สนบั สนนุ วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์

ความต้องการกาํ ลังคน วิเคราะห์และปรบั /เพิมมาตรการแผนงาน ผลกระทบด้านบคุ ลากร
สถานการณ/์ ปรับแผนงาน

วางแผนอตั รากาํ ลงั คน แผนกาํ ลังคน แผนการดาํ เนินงาน
10 ปี และแผนปฏบิ ตั ิการ - กรอบอตั รากําลงั รวม -เสริมสร้างขดี ความพอเพยี ง
- อตั รากาํ ลงั โครงการสําคญั ภารกจิ -เสริมสร้างความสามารถบคุ ลากร
ตดิ ตาม รายงานผลการดําเนินงาน ตามวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ (เก่ง) -เสริมสร้างวฒั นธรรม
-อตั รากาํ ลงั ฝ่ าย/งาน -ความผกู พนั บคุ ลากร (คนดี)
-โครงการพฒั นาทงั ระบบ -สร้างความสมั พนั ธ์/บริการ/
สวัสดิการ

ภาพประกอบที 5.1 ก(1)-1 กระบวนการพฒั นาบคุ ลากร
(2) บุคลากรใหม่ (New WORKFORCE Members)

โรงเรียนมวี ิธีการจดั สรรบุคลากรวา่ จ้าง บรรจุ และรักษาบุคลากรใหมไ่ ว้ โดยโรงเรียนได้ดําเนินการใน
การสรรหาตามความสามารถ ตามความถนดั ตลอดจนดแู ลสร้ างขวัญและกําลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน เสริมสร้ าง
วฒั นธรรมองคก์ ร โดยมีขนั ตอน กระบวนการในการจดั สรรบคุ ลากร และรักษาบคุ ลากรใหม่ ตามขนั ตอน ดงั นี

วิเคราะห์ความต้องการจําเป็น

แผนงานอตั รากําลงั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

สรรหาจดั จ้างบุคลากร เสนอหนว่ ยงานต้นสังกดั
คดั เลือกคณุ สมบัติ เหมาะสม บรรจุ/แตง่ ตงั

จดั ทําสญั ญาจ้าง

โรงเรียนมอบหมายภาระงานตามขีดความสามารถ

บรรยากาศการปฏิบตั ิงาน สวสั ดิการ ปฐมนเิ ทศ/วฒั นธรรมองค์กร

ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน

ภาพประกอบที 5.1 ก(2)-1 ขนั ตอน กระบวนการในการจดั สรรบคุ ลากร และรักษาบคุ ลากรใหม่

52

โรงเรียนมีวิธีการในการสรรหาบคุ ลากรมาปฏิบัติงานในโรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ โดยได้ดําเนินการ
ตามระเบียบและข้อกําหนดของโรงเรียนโดยมีการดําเนินการตามขนั ตอนโดยมีคณะกรรมการสรรหา ร่วม
พิจารณาคดั เลือกเพือให้ได้บคุ ลากรทีมีความเหมาะสม ตลอดจนมีการจดั ทําข้อตกลงการจ้าง สญั ญาการจ้าง
กรณีเป็นลกู จ้างชวั คราว เป็นต้น

โรงเรียนมีวิธีการประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรในการเป็นตัวแทนทีดี ทีสะท้ อนความ
หลากหลายทางความคดิ วฒั นธรรม และความคิดเหน็ ของชมุ ชน ผ้ปู กครองนกั เรียน ชมุ ชนของผ้เู รียนและผ้มู ีสว่ น
ได้สว่ นเสยี ทงั นี โรงเรียนได้มีปฏิบตั ิตามกระบวนการสรรหา เมือผา่ นกระบวนการคดั เลอื กและสรรหา บคุ ลากรจะ
ได้รบั การสอนงานจากผ้มู ีความรู้ ความสามารถและผ้มู ีประสบการณ์โดยตรงตามภาระงานนนั ๆ ในการถ่ายทอด
องค์ความรู้ วัฒนธรรมองค์กรและคา่ นิยมในการปฏิบตั ิงานและเข้ารับการอบรมปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ ตาม
หลกั สูตรการอบรมของผู้บริหารฝ่ ายบคุ ลากร หัวหน้าฝ่ ายทีรับผิดชอบ ทังนี ยังสง่ เสริมให้บุคลากรเข้าศึกษา
ฝึกอบรม ตามโครงการและหลกั สูตรทีสอดคล้องกับการปฏิบัติงาน เพือให้บุคลากรได้เสริมสร้ างองค์ความรู้
รับทราบแนวทางการปฏิบตั งิ านจากผ้มู คี วามรู้และประสบการณ์ เพือปลกู ฝังแนวความคิดทีเป็นประโยชน์ต่อการ
ปฏบิ ตั งิ านในโรงเรียนเพือพฒั นาให้โรงเรียนเป็น โรงเรียนทีมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล บนวิถีไทย ร่วมใจทกุ
ภาคสว่ น เพือพฒั นาโรงเรียนให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนทีมคี ณุ ภาพของสงั คม

(3) ความสาํ เร็จในงาน (Work Accomplishment)
โรงเรียนมวี ิธีการให้การทํางานของโรงเรียนประสบความสําเร็จ โดยการสร้างระบบการทํางานแบบ

มสี ว่ นร่วม การยอมรับซึงกนั และกันโดยผ้บู ังคบั บญั ชา ทําหน้าทีประเมินผ้ใู ต้บงั คบั บัญชา โดยมีโครงสร้างการ
ปฏิบตั งิ าน โดยแบ่งการบริหาร ในรูปแบบการบริหารแบบลําดบั โดยแบง่ ความรับผิดชอบงานตามโครงสร้าง การ
บริหารงาน โดยยดึ หลกั การมีสว่ นร่วม ทีเป็นรูปธรรม

โครงสร้างการบริหารของผ้บู ริหารโดยมผี ้อู ํานวยการโรงเรียน รองผ้อู ํานวยการโรงเรียน ทงั 4 ฝ่ าย
โดยใช้รูปแบบการบริหารบรู ณาการ แบบมีส่วนร่วม การทีบคุ คลในองค์กรหรือต่างองค์กรได้ร่วมกันเพือให้บรรลุ
เป้าหมายทีต้องการร่วมกนั อย่างมีประสิทธิภาพและสําเร็จ ทังนีการมีส่วนร่วมขนึ อยู่กบั ความรู้ความสามารถ
ประสบการณ์ บคุ ลากรในองคก์ ร ดงั นี

1) การมีสว่ นร่วมของบุคลากรโรงเรียนจะประกอบ ด้วย ผ้อู ํานวยการ รองผ้อู ํานวยการโรงเรียน
หวั หน้ากลมุ่ งาน 4 งาน หวั หน้างานฝ่ายประถมศกึ ษา หวั หน้างานปฐมวยั หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ หวั หน้า
สายชนั ครูผ้สู อน ครูอตั ราจ้าง ลกู จ้างประจํา ลกู จ้างชัวคราว สายสมั พนั ธ์ของบุคคลในองค์กรจะเป็นไปตาม
ลกั ษณะบงั คบั บญั ชาตามลําดบั โดยทวั ไปขององค์กรแล้วจะมีข้อกําหนดไว้เป็นแนวทางอย่างชดั เจน ซึงต้อง
ปฏบิ ตั ใิ ห้บรรลเุ ป้าหมายทีต้องการเสมอ การมสี ว่ นร่วมเพือการจดั การในโรงเรียนจงึ เป็นในทิศทางเพือการปรบั ปรุง
พฒั นา หรือแก้ไขปัญหาข้อขดั ข้องของการดาํ เนินการในแตค่ รงั ความจําเป็นของการมสี ว่ นร่วมอาจไม่ทงั หมดของ
บคุ คลในทกุ ระดบั อาจเฉพาะเพียงแตใ่ นระดบั เดยี วกนั ลกั ษณะการมีส่วนร่วมของการจัดการหรือบริหารภายใน
องค์กรมรี ูปแบบตา่ ง ๆ มบี รรยากาศ ร่วมคดิ ร่วมทํา ร่วมปฏบิ ตั ิ ตามสถานการณ์ทีเหมาะสม

53
2) การมสี ว่ นร่วมของบคุ ลากรภายนอกองค์กรจะประกอบด้วย ชมุ ชน ผ้ปู กครองนกั เรียน หน่วยงาน
ราชการทีเกียวข้อง เพือระดมการมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ตลอดจนคณะกรรมการการศึกษาขนั พืนฐาน
คณะกรรมการเครือขา่ ยผ้ปู กครอง เป็นต้น การมสี ว่ นร่วมจะเป็นในรูปของการให้ความเห็นข้อคิด แลกเปลยี นหรือ
สนบั สนนุ เพือการจดั การ หรือผ้ปู ฎบิ ตั กิ เ็ ป็นในทิศทางของการจดั การร่วมกนั ในกิจกรรมอย่างเดยี วกนั ในการมสี ว่ น
ร่วมของบุคคลนอกองค์กร เช่น การระดมทรัพย์ในการพัฒนาสถานศึกษา ร่วมแสดงความคิดเห็น เพือให้
การพัฒนาโรงเรียนเป็นไปตามความต้องการของชุมชน โรงเรียนได้สร้ างระบบของการมีส่วนร่วม ในการจัด
การศกึ ษาอย่างต่อเนือง ตลอดจนการปฏิบตั ิตามนโยบายของทางราชการให้เป็นรูปธรรมให้บังเกิดผลดีต่อ
โรงเรียน การก่อให้เกิดความมีส่วนร่วมของบุคคลในท้องถิน จะเป็นผลให้การปฏิบัติงานตามภารกิจบรรลุ
เปา้ หมายโดยสมบรู ณ์ กลไกตา่ ง ๆ ในกระบวนการสร้างการมีสว่ นร่วมเป็นเรืองทีต้อง ดําเนินการ วางแผนอย่าง
มาก การมีหวั หน้างานเป็นผ้กู ํากบั ดแู ลและรับผิดชอบผลการดําเนินงานโดยตรงจะช่วยสร้างความสมั พันธ์อนั ดี
ตลอดจนสร้างความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งโรงเรียน ผ้ปู กครองนกั เรียน นกั เรียน และชมุ ชน เพือเป็นสถานศกึ ษาทีจัด
การศกึ ษาตามความต้องการของชมุ ชน ตามทีสงั คมมงุ่ หวงั ให้เป็นโรงเรียนคณุ ภาพของสงั คม
นอกจากนนั โรงเรียนจดั สรรบคุ คลให้เหมาะสมกบั งานทีได้ปฏิบตั ิ ทงั ด้านงานการสอน กิจกรรมที
สง่ เสริมการเรียนการสอน บคุ ลากรสนบั สนนุ การสอน ได้คดั เลือกบคุ ลากรทีมีความสามารถทีเป็นไปตามความ
ต้องการ ทงั นี โดยยดึ หลกั การ การวางแผนงานเกียวกบั การบริหารงานบคุ คล การสรรหาบคุ คล การกําหนดอตั รา
เงินเดือนและค่าจ้าง การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน การปกครองบังคบั บัญชา การพฒั นาบคุ คล การจัด
ประโยชน์ สวสั ดกิ าร อํานวยการ ผ้มู คี ณุ ธรรม จริยธรรม ครูดีเดน่ รางวลั เชิดชเู กียรติอืน ๆ เป็นต้น
โรงเรียนมีการสง่ เสริม สนบั สนนุ ให้บคุ ลากร เข้าร่วมประชุมสมั มนาทางวิชาการ และฝึกอบรมเชิง
ปฏบิ ตั กิ าร เพือเป็นการเพิมสมรรถนะของบคุ ลากรในโรงเรียน และสร้างความเข้าใจด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น เชิญ
วทิ ยากรมาบรรยาย ผ้อู ํานวยการประชมุ ชีแจงเป็นระยะ ๆ ทังการประชุมประจําเดือนและการประชุมเป็นวาระ
พิเศษ มกี ารเผยแพร่ทางเวบ็ ไซต์ และขา่ วสารของโรงเรียนเพือรองรบั การเปลียนแปลงทีเกิดขนึ ในอนาคต
(4) การจดั การเปลียนแปลงด้านบุคลากร (WORKFORCE Change Management)
โรงเรียนจัดการดําเนินการวิเคราะห์งานต่าง ๆ เพือกําหนดอตั รากําลังตามทีจําเป็น เพือให้ได้
บคุ ลากรทีมคี ณุ สมบตั ิตรงกบั ตาํ แหน่งงาน ตามทีโรงเรียนต้องการ เมือโรงเรียนตกลงว่าจ้างบรรจุให้ปฏิบัติงาน
แล้ว จึงมีการปฐมนิเทศโดยผ้บู ริหารสถานศกึ ษา รองผ้อู ํานวยการโรงเรียน กลมุ่ บริหารงานบุคลากร
ตามลําดบั สง่ ตอ่ หวั หน้างานเพือทําหน้าทีในการฝึกสอนงาน โดยใช้ระบบพีเลียง จดั สวสั ดิการให้เกิดการพัฒนา
และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามขนั ตอน อยา่ งเป็นระบบ ในรายละเอยี ด ดงั นี
1) การพัฒนาบุคลากร จากเป้าหมายของแผนปฏิบัติงาน เพือม่งุ พัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้
ความสามารถมีการจดั ทําแผนพฒั นาตนเอง ID Plan พัฒนาตนเอง พัฒนาความรู้ความสามารถ ตามภาระงาน
และบทบาทหน้าที ด้านการเตรียมการบคุ ลากรสําหรับการเปลียนแปลงมกี ารอบรมส่งเสริมเพิมขีดความสามารถ
ให้ตรงตามความต้องการเน้นไปตามมาตรฐานสมรรถนะหลกั ของโรงเรียนทีได้กําหนดไว้ นําผลการดาํ เนินการในปี
ทีผา่ นมา เช่น ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนผลการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากร เป็นฐานในการกําหนด ทิศทางการพฒั นา

54
ให้ทีสอดคล้องกบั ศกั ยภาพการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร ซึงเชือมโยงสกู่ ารปฏิบตั ิ โดยมกี ารจดั สรรงบประมาณเพือ

สง่ เสริมและสนบั สนนุ การพฒั นาศกั ยภาพการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากร

2) การให้การศึกษาและฝึกอบรม จดั สรรงบประมาณสนับสนนุ การเข้ารับการศกึ ษา ฝึกอบรม

ตา่ งๆ ทีเกียวข้องกบั การปฏิบตั ิงาน ความจําเป็นด้านทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน ตลอดจนองคค์ วามรู้ทีสนบั สนนุ ให้เป็น

บคุ ลากรทีมศี กั ยภาพ พร้อมปรับตวั รองรบั การเปลียนแปลงด้านตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

3) การสง่ เสริมนําความรู้และทกั ษะทีได้จากการอบรมใช้ในการปฏิบัติงาน โดยในการพิจารณา

จดั สง่ บคุ ลากรเข้ารบั การฝึกอบรมนนั ได้ยดึ แนวทางการเข้ารับการฝึกอบรมทีสอดคล้องกบั ความต้องการ พัฒนา

สมรรถนะประจําสายงาน เชน่ สายงานการบริหารงาน สายงานการสอน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้โอกาส

การปฏิบตั ิงานตรงตามความสามารถและสง่ เสริมให้นําความรู้จากเข้ารับการฝึกอบรมมาใช้ในการปฏิบตั ิงาน

อยา่ งเป็นรูปธรรม

4) การสนับสนุนส่งเสริมให้มีความก้ าวหน้าในวิชาชีพ เช่น ส่งเสริม สนับสนุนให้มีหรือเลือน

วทิ ยฐานะให้สงู ขนึ สําหรับสายงานการสอน เลือนตาํ แหนง่ สาํ หรับลกู จ้างประจําตามความสามารถ

ในกรณีมีการเกษียณอายรุ าชการ กล่มุ งานบริหารบุคคล จะจดั บคุ คลจดั วางตวั บุคลากรเพือสืบ

ทอดภาระงานแทนครูทีจะเกษียณอายรุ าชการด้วยการให้บคุ ลากรดงั กลา่ วถ่ายทอดภาระงานให้แก่บคุ ลากรทีมี

ความเหมาะสม เพือให้สามารถทํางานได้อย่างต่อเนืองและมีประสิทธิภาพ ส่วนกรณีทีโรงเรียนขาดแคลน

บคุ ลากรและมีความจําเป็นในการทํางานตามภาระงานตา่ ง ๆ โรงเรียนมีการประกาศคดั เลอื กหรือสรรหาบุคลากร

ใหมเ่ พือทดแทนอตั รากําลงั เดมิ จากการวางแผนกรอบอตั รากําลงั ของบคุ ลากร และการรวมข้อมลู จึงทําให้องคก์ รมี

บคุ ลากรเพียงพอสําหรับองคก์ รสามารถปฏบิ ตั ิงาน และปฏิบตั ิการสอนได้อยา่ งเตม็ ขีดความสามารถ

ข. บรรยากาศการทาํ งานของบุคลากร (WORKFORCE Climate)

(1) สภาพแวดล้อมของการทาํ งาน

ตารางที 5.1 ข(1)-1 สภาพแวดล้อมในการทํางาน

สภาพแวดล้อม การดาํ เนินการ ตวั ชีวัด
ในการทาํ งาน

1. ด้านความปลอดภยั - มเี วรยามรักษาความปลอดภยั ภายในสถานศกึ ษา - ความพงึ พอใจของบุคลากรตอ่

เวลาราชการมีเวรประจําวัน วันหยุดราชการและหยุด ระบบการรักษาความปลอดภยั

นกั ขตั ฤกษ์ กลางวันเป็นเวรครูผู้หญิง กลางคืนมีครูผ้ชู าย

และยามรักษาความปลอดภยั ตลอด 24 ชม.

2. ด้านการปอ้ งกนั ภยั - มีแผนสํารองความปลอดภยั ด้านอคั คภี ยั - แผนสํารองอคั คภี ยั

ในสถานศกึ ษา - มกี ารตดิ ตงั อปุ กรณ์ดบั เพลิง มกี ล้องวงจรปิด - การฝึกอบรมบุคลากร

ทุกอาคารเรียน การรักษาความปลอดภยั

55

สภาพแวดล้อม การดาํ เนินการ ตวั ชวี ัด
ในการทาํ งาน

3. ด้านสง่ เสริม - เปนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีบุคลากรทีมีความรู้ - ความพงึ พอใจของบคุ ลากรใน

สขุ อนามยั ความสามารถในการดูแลรักษาสุขอนามัย การจําหน่าย การปรับปรุงตามความต้องการ

อาหารในโรงเรียน การรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก จดั ของบคุ ลากร

กิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพในสถานศกึ ษา โครงการพิชิตโรค - จํานวนบคุ ลากรทีตรวจ

อ้วน โครงการคดั แยกขยะรีไซเคิล การคดั แยกขยะ สขุ ภาพประจําปี

- การตรวจสขุ ภาพประจําปีของบคุ ลากร - บนั ทึกการตรวจสขุ ภาพ

- การตรวจสขุ ภาพของนกั เรียนประจําสปั ดาห์ นกั เรียน

4. ด้านบรรยากาศการ - จัดบรรยากาศปจจัยดานกายภาพ แตงภูมิทัศนใหสวยงาม - ความพงึ พอใจบรรยากาศการ

ทํางาน บรรยากาศรมรื่น ท้ังคํานึงถึงความปลอดภัยในสถานศึกษา ทํางาน
เปนอยางดี มีการตรวจสอบ ปรับปรุงดานอาคารสถานท่ี

ซอมแซมใหอยูใ นสภาพใชงานไดด ี
- สร้างบรรยากาศการทํางานทียดึ การมสี ว่ นร่วม

สร้างความสามคั คี ขวญั กําลงั ใจในการทํางาน

5. ด้านการปอ้ งกนั - มแี ผนการป้องกนั อุบตั ิเหตุ - กรมทัณฑ์ประกนั ชีวิตหมู่ของ

และควบคมุ อุบตั ิเหตุ - มีแผนการประกันอุบัติเหตุของบุคลากรและนักเรียน บุคลากรและนกั เรียน

รายบุคคลเป็นสวสั ดิการ

6. ด้านการจดั หา - มีการพฒั นาระบบสารสนเทศและเครือขา่ ยให้ทนั สมยั และ - ห้ องเรียนคอมพิวเตอร์ และ

อุปกรณท์ ีจําเป็น เพียงพอ เพือให้บคุ ลากรมีอปุ กรณ์และเครืองมือทีทันสมยั เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต

สาํ หรับการปฏิบตั ิงาน ในการปฏิบตั ิงาน - ห้องปฏิบตั กิ ารอืน ๆ

ปัจจยั ตวั วัดและเป้าประสงค์ในการปรับปรุงตามความต้องการของบุคลากร ให้เป็นโรงเรียนทีสนับสนุน
สง่ เสริมสขุ ภาพ สะอาด มรี ะเบยี บ ร่มรืน โดยแบง่ งานกนั ปฏิบตั ิ ดงั นี

1) นักการภารโรง แบ่งเขตพืนทีให้ดูแลทําความสะอาด อาคารเรียน อาคารประกอบมีการมอบหมาย
ผ้รู ับผิดชอบปฏิบตั หิ น้าทีของบุคลากรตามทีกําหนด

2) ลกู จ้างประจํา ลกู จ้างชวั คราว แบง่ หน้าทีความรับผดิ ชอบ ตามอาคาร ขอบเขต โดยมคี รูหวั หน้าอาคารดแู ล
ตรวจสอบการปฏิบตั งิ าน

3) ครูหวั หน้าอาคารเรียน มหี น้าทีกํากบั ดแู ลการปฏิบตั งิ าน ความสะอาด ภายในอาคารทีรับผิดชอบ
4) นักเรียนมีหน้าทีรับผิดชอบ ในการรักษาความสะอาด ในเขตบริการของตน โดยแบ่งเป็นเขตบริการให้
รับผดิ ชอบในแตล่ ะห้องเรียน
(2) นโยบายการบริการและสิทธปิ ระโยชน์ (WORKFORCE Benefits and Policies)

โรงเรียนได้สนบั สนุนผ้ปู ฏิบตั ิงาน โดยกําหนดนโยบาย การบริหาร และสิทธิประโยชน์โดยมีบริการด้าน
สวสั ดกิ าร การให้บริการด้านตา่ งๆ ดงั นี

56
1) ด้านสือ โสตทัศนูปกรณ์ ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ทีทันสมยั ใช้การได้ดี เช่น ห้องเรียนคอมพิวเตอร์
เชือมตอ่ อินเทอร์เน็ตความเร็วสงู เพือสง่ เสริมให้ผ้เู รียนสบื ค้นข้อมลู ทีเป็นประโยชน์ในการเรียน มหี ้องเรียนปฏิบตั กิ าร
ทางภาษา เพืออํานวยประโยชน์สําหรับครูผู้สอนได้ใช้ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอน และมีโทรทัศน์ทุก
ห้องเรียน เป็นต้น
2) ครูผ้สู อนใช้ห้องปฏิบตั กิ ารตา่ ง ๆ เพืออํานวยความสะดวกในการจดั การเรียนการสอน เช่น ห้องศูนย์
ปฐมวยั ห้องดนตรีไทย-สากล ห้องนาฏศลิ ป์ ห้องเรียนสเี ขยี ว ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ห้องวิชางานบ้าน
งานประดิษฐ์
3) จดั บริการอาหารกลางวันโดยวิธีประกอบเลียง สําหรับบุคลากรในโรงเรียน กรณีบุคลากร ทีเป็น
ผ้บู ริหาร ครูผ้สู อนชําระคา่ อาหารเป็นรายเดือน
4) จดั วสั ดอุ ปุ กรณ์สาํ นกั งาน ได้แก่ คอมพวิ เตอร์ เครืองพิมพ์ โปรเจคเตอร์ สําหรับครูได้ใช้ประโยชน์ใน
การจดั การเรียนการสอน
5) จดั บริการเสอื ผ้าชดุ สทู และชดุ ประจําโรงเรียนสาํ หรับข้าราชการครู และชุดเครืองแบบสําหรับนักการ
ภารโรง ลกู จ้างประจํา
6) จดั รถบริการสําหรับใช้ในราชการ กรณีบุคลากรไปราชการเป็นหมคู่ ณะ และกรณีเจ็บป่ วย เป็นต้น
7) จดั ห้องประชุม มีห้องประชมุ อยา่ งเป็นสดั สว่ นเพืออํานวยความสะดวกตอ่ การปฏิบตั งิ าน สามารถใช้
เป็นห้องเรียน ห้องประชุม และจดั อบรมสมั มนาได้
8) จดั ห้องห้องสมดุ ห้องพยาบาล ไว้บริการอยา่ งเป็นสดั สว่ น และครบถ้วนทุกอาคารเรียน
9) ติดตงั ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสงู และมีอินเทอร์เน็ตไว้บริการตามจดุ ตา่ ง ๆ เว็บไซต์โรงเรียนเพือ
บริการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร
5.2 ความผูกพนั ของบุคลากร (Workforce Engagement )
ก. ความผูกพนั และผลการปฏบิ ัตขิ องบุคลากร(Workforce Engagement and PERFORMANCE)
(1) วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture)
โรงเรียนมีวฒั นธรรมองค์กรทีดใี นการสร้างความภาคภมู ิใจร่วมกนั มีการทํางานเป็นทีม การทํางานโดยใช้
ระบบพีเลียงสอนงาน ซงึ เป็นวฒั นธรรมทีเกือกลู กนั วฒั นธรรมการให้ความเคารพผ้อู าวโุ ส มารยาทไทยทีดีงาม
รวมถึงการหล่อหลอมให้บคุ ลากรและนกั เรียนเป็นผ้มู ีวฒั นธรรมทีดีงาม วิธีการสร้างบรรยากาศความผกู พัน
ระหวา่ งกนั มงุ่ เน้นเสริมสร้างวฒั นธรรมองคก์ ร เชน่ มีกิจกรรมรณรงค์การสวมใสผ่ ้าไทย กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม
จริยธรรม การคดั เลือกบคุ ลากรผ้ปู ฏบิ ตั ติ นตามหลกั เกณฑ์จรรยาบรรณ การสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้บคุ ลากรเข้ารับ
การฝึกอบรมวชิ าชีพเฉพาะ เป็นองค์กรทีมีความสามคั คีเอืออาทรต่อกนั คํานึงถึงประโยชน์ของราชการและสร้าง
ความเชือมนั ไว้วางใจจากผ้บู งั คบั บญั ชา สร้างศรัทธาแกช่ มุ ชน ผ้ปู กครอง
(2) ปัจจยั ขับเคลือนความผูกพัน (Drivers of ENGAGMENT)

โรงเรียนมีวธิ ีการในการกําหนดองค์ประกอบทีสําคญั ทีส่งผลต่อความผกู พนั โดยได้กําหนดหน้าที
ความรับผิดชอบของบุคลากรรายบุคคลตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน โดยผ้บู ริหารโรงเรียนได้มอบหมายให้
บคุ ลากรหัวหน้างานได้ทําข้อตกลงร่วมกันระหว่างผ้ปู ฏิบัติงาน กําหนดเป้าหมายในการปฏิบตั ิให้ทราบอย่าง

57
ชดั เจน แนวทางในการปฏิบตั งิ านให้บรรลเุ ปา้ หมายของโรงเรียน เพือให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานรับรู้ถึงคณุ คา่ ในการเป็นสว่ น
สาํ คญั ของโรงเรียนและมีสว่ นในการขบั เคลอื นโรงเรียนให้บรรลวุ ิสยั ทศั น์ทีกําหนดไว้ร่วมกัน โดยมีการประเมินผล
การปฏิบตั งิ านรายบคุ คล มีการจดั ทํารายงานการประเมนิ ตนเอง (Self Report) เพือให้ทราบถึงการพฒั นาตนเอง
ทีจะบรรลเุ ปา้ หมายทีกําหนดไว้ในข้อตกลงการปฏบิ ตั งิ าน

(3) การประเมนิ ความผูกพนั (Assessment of ENGEMENT)
โรงเรียนได้มีการประเมินความพึงพอใจทีมีตอ่ บทบาทหน้าที โดยมีวตั ถุประสงค์เพือสํารวจความ

คิดเห็นของบคุ ลากร ผลสําเร็จในการปฏิบตั ิงานตอ่ บทบาทหน้าทีของบคุ ลากรในการทํางานกอ่ ให้เกิดบรรยากาศ
การทํางานแบบมีส่วนร่วม เพือเป็นแนวทางในการกําหนดปัจจยั สําคญั ทีสร้างความสขุ สร้างความผกู พันของ
ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานได้อย่างเหมาะสม โดยมีประเดน็ การประเมิน ดงั นี

1) ด้านหน้าทีความรับผิดชอบเพือสํารวจความพึงพอใจ ความสขุ ของผ้ปู ฏิบัติงาน ในการมอบหมาย
ภาระงานทีตรงกับความรู้ ความสามารถ ความเชียวชาญและปริมาณงานทีเหมาะสมกับตําแหน่ง ความ
รบั ผิดชอบ รวมถงึ ความมีอสิ ระในการตดั สินใจและได้รับการยอมรับ

2) ด้านสภาพแวดล้อมในการทํางานและวฒั นธรรมองค์กร เป็นการสํารวจถึงความพึงพอใจ และ
ความสขุ ของผ้ปู ฏบิ ตั ิงานตอ่ บรรยากาศในการทํางาน การสง่ เสริมสขุ ภาพและความปลอดภยั การจดั สถานที วสั ดุ
อปุ กรณ์ตา่ งๆ ทีเพียงพอและเหมาะสมตอ่ การปฏบิ ตั ิงาน

3) ด้านภาวะผ้นู ําในสถานศกึ ษา เป็นการเปิดโอกาสให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานได้แสดงความคดิ เหน็
ตอ่ ภาวะผ้นู ําของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา รองผ้อู ํานวยการ หวั หน้างาน หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ เป็นต้น

4) ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นการแสดงความคิดเห็นในประเด็นทีเกียวข้องกับการ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง การเขยี นรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) รายงาน
ผลการปฏบิ ตั ิงานของสถานศกึ ษา (SAR) เป็นต้น

5) ด้านสวสั ดิการ สํารวจความพึงพอใจของบุคลากร ในประเดน็ การจัดสวสั ดิการทีเพียงพอและ
เหมาะสมตอ่ การปฏิบตั ิงานและการพฒั นาบุคลากร การสร้างความก้าวหน้าในสายงาน เช่น สายงานการสอน
การส่งเสริมการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพครู การบริการทางวิชาการ เพือสํารวจความพึงพอใจและ
การให้บริการงานวชิ าการ ในการสนบั สนนุ ส่งเสริมการพฒั นาบุคลากรและสร้างความก้าวหน้าในสายงานอย่าง
เป็นระบบของสถานศึกษา และมีการสํารวจด้านอืนๆ เพือให้บุคลากรได้แสดงความคิดเห็นอย่างเปิดกว้าง เพือ
สง่ เสริมการมีสว่ นร่วม สง่ เสริมการแสดงความคิดเหน็ ร่วมกนั โดยการพบปะพดู คยุ ปรึกษาหารือทางโทรศพั ท์ ทาง
สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นต้น

(4) การจดั การผลการปฏบิ ัติงาน (PERFORMANCE Management)
โรงเรียนมีระบบการจดั การทีดี ทีทําให้บรรลผุ ลสําเร็จโดยมีวิธีการสนบั สนนุ ให้มีการทํางานทีให้ผล

การปฏบิ ตั งิ านทีดีในการสร้างวฒั นธรรมในองคก์ ร ให้เกิดความผกู พันในองค์กร โดยให้ความเสมอภาคในการให้
ความสําคัญทกุ ตําแหน่งงานในสถานศกึ ษา โดยใช้ระบบการจัดการเพือให้เกิดความผกู พันในการปฏิบัติงาน
ตามโครงสร้าง ดงั นี

58

เปา้ หมาย/ผลสําเร็จ/แรงจงู ใจ ปฏบิ ตั ิงานตามมอบหมาย ผลสาํ เร็จของงาน

ยกย่อง ชมเชย ให้รางวลั คา่ ตอบแทน พิจารณาความดี ความชอบ

การเป็นแบบอย่าง การสร้างความภาคภมู ใิ จร่วมกนั ในองคก์ ร

ภาพประกอบที 5.2 ก(4)-1 ระบบการจดั การเพือให้เกิดความผกู พนั ในการปฏิบตั งิ าน

โรงเรียนส่งเสริมโดยมีระบบการจัดการทีดี ทังนีเพือผลสําเร็จในการมุ่งผลสัมฤทธิ ของผู้เรียน เช่น
ผลสมั ฤทธิทางการเรียนในระดบั ชาติ NT ของนกั เรียน ป.3 และ O- NET ของนกั เรียน ป.6 อีกทังการส่งเสริม
ผ้เู รียนสคู่ วามเป็นเลิศตามศกั ยภาพ สง่ เสริมการสือสาร 2 ภาษา สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ส่ศู ตวรรษที 21 เป็น
สําคญั เพือให้บรรลวุ สิ ยั ทศั น์และพนั ธกิจกิจของโรงเรียน

ข. การพฒั นาบุคลากรและผ้นู ํา (WORKFORCE and Leader Development)
(1) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา(Learning and Development System)
ระบบการเรียนรู้และการพฒั นาสาํ หรับบคุ ลากรและผ้นู ําขององค์กรได้พิจารณาตอ่ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ดงั นี
1) สมรรถนะหลกั ของโรงเรียน ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ และการบรรลผุ ลสําเร็จของแผนปฏิบัติการ

ของโรงเรียน โดยโรงเรียนได้ประเมินสมรรถนะหลกั ของผ้บู ริหาร สมรรถนะหลกั ประจําสายงานของผ้บู ริหาร
ครูผ้สู อนตามตําแหน่งงาน จรรยาบรรณวิชาชีพ ตามกฎระเบียบของสถานศกึ ษาวินัยข้าราชการ การมาปฏิบตั ิ
ราชการ การลาของบุคลากรในสถานศึกษา มีการประชุมชีแจงในการจดั ทําข้อตกลงการปฏิบัติราชการให้กบั
บคุ ลากรทกุ สายงานทงั ผ้บู ริหาร ครูผ้สู อน นกั การภารโรง ลกู จ้างประจํา ลกู จ้างชวั คราว เป็นต้น ตลอดจนการ
ปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั งิ านโครงการ โครงการตอ่ เนือง โครงการใหมใ่ นการสนบั สนนุ และพฒั นาผ้เู รียน

2) ปรับปรุงผลการดาํ เนินงาน การสร้างและพฒั นานวตั กรรม โดยโรงเรียนได้พัฒนางานอย่างตอ่ เนือง
โดยมีรูปแบบนวตั กรรมการบริหารจัดการทีดีของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา โดยใช้การดําเนินงานตามแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ตามระบบวงจรคณุ ภาพ PDCA (Plan, Do, Check, Act) ของเดม
มงิ ควบคกู่ ับแนวทางของระบบบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ TQA โดยใช้รูปแบบ “อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ 9
ขนั ตอน ” ประกอบด้วย 1) กําหนดนโยบายของสถานศึกษา (Policy) 2) การวางแผน การวางระบบงาน
(Planning) 3) การจดั โครงสร้างงาน (Organization) 4) การพัฒนาบุคลากร/ทีมงาน (Staff Development )
5) การลงมอื ปฏบิ ตั ิให้เป็นนวตั กรรม (Acting and Innovation) 6) การนํา (Leading) 7)การแลกเปลียนเรียนรู้
(share & Learn) 8) การควบคมุ กํากบั และประเมินผล (Controlling and Evaluation) 9) การจัดแสดงผลงาน
(Exhibition)

59
การดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยผ้บู ริหาร ครู เจ้าหน้าที นกั เรียน และ ชมุ ชน
มีสว่ นร่วมการกําหนดเป้าหมายการดําเนนิ งานภายใต้แต่ละมาตรฐานว่าต้องการให้เกิดสัมฤทธิ ผลในด้าน
ใดระดับใด โดยคณะกรรมการทีรับผิดชอบ การประเมิน กําหนดเกณฑ์มาตรฐานสําหรับตัดสินระดับ
ความสําเร็จ มีการวางแผนออกแบบกิจกรรม แผนงาน โครงการ เพือนําส่กู ารปฏิบตั ิโดยผ้เู กียวข้อง เป็นผู้
เสนอแผนปฏบิ ตั ิการตลอดจนระบบการกํากบั ตดิ ตามและประเมินผล
3) จริยธรรมและวิธีการดําเนินกิจการของโรงเรียนอย่างมีคณุ ธรรม จริยธรรม โดยสถานศึกษาม่งุ เน้น
พัฒนาบุคลากร นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษาให้เป็นผู้มีคณุ ธรรม จริยธรรม ส่งเสริมการร่วมกิจกรรม
ทางศาสนา วฒั นธรรมการเคารพผ้อู าวโุ ส ร่วมกิจกรรมประเพณี วฒั นธรรมท้องถิน เป็นต้น
4) การม่งุ เน้นนักเรียนและผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย โดยโรงเรียนพฒั นาระบบการจัดการเรียนรู้ทีม่งุ เน้น
พัฒนาผ้เู รียนส่คู วามเป็นเลิศ ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้อย่างเสมอภาค ทังในเขตบริการและนอกเขตบริการ
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคม บุคคล ผู้ปกครองทีคาดหวังให้ บุตรหลานของตนมีความรู้
ความสามารถ มีทกั ษะชีวิต สามารถอยรู่ ่วมกบั ผ้อู นื ได้เป็นอยา่ งดี โรงเรียนจงึ มงุ่ พฒั นาผ้เู รียนทงั ร่างกาย อารมณ์
สงั คม และสตปิ ัญญา
5) การถ่ายโอนความรู้จากบคุ ลากรทีลาออกหรือเกษียณอายรุ าชการ โดยโรงเรียนได้ส่งเสริมให้มีการ
จดั การความรู้ในองคก์ ร เพือไมใ่ ห้องค์ความรู้ทีเป็นประโยชน์ได้สญู หายไป
6) การสง่ เสริมความรู้และทกั ษะใหมใ่ นการปฏิบตั งิ าน พฒั นาผ้นู ําองค์กร ครูผ้ปู ฏิบตั ิการสอนหวั หน้า
งานเพือเป็นการพฒั นา เสริมสร้างสมรรถนะและทกั ษะ ความรู้ใหมๆ่ อยา่ งตอ่ เนือง ให้สามารถปรับตวั และรองรับ
การการเปลยี นแปลงของสงั คมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
(2) ประสิทธิผลของการเรียนรู้และการพัฒนา (LEARNING and Development EFFECTIVENESS)

โรงเรียนมีวิธีการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบ การเรียนรู้และการพัฒนาโดย
เชือมโยงกับความสําเร็จในองค์กร มีการวางแผนการปฏิบัติงานตามตําแหน่งงานในสถานศึกษา เป็นระบบ
การทํางานทีตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของสถานศึกษา วิเคราะห์ความจําเป็นของ
สถานศึกษา ปฏิบัติตามแผนงานโครงการภายใต้วิสยั ทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา โดยมีวิธีการประเมิน
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลของระบบงาน โดยประเมนิ ผล 2 รูปแบบ ในเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ ดงั นี

1) เชิงปริมาณ จํานวนความคาดหวงั ของผลสาํ เร็จทีได้รับเป็นจํานวน เช่น จํานวนของครู นักเรียนที
ได้รับรางวลั ระดบั ภาค ระดบั ชาติ จํานวนห้องเรียนทีได้รับการปรับปรุงพฒั นาสือและเทคโนโลยี จํานวนโครงการ
ทีประสบความสําเร็จในการปฏบิ ตั ิงาน เป็นต้น

2) เชิงคณุ ภาพ คณุ ภาพการบริหารจดั การทีดี คณุ ภาพของผ้เู รียนในด้านตา่ ง ๆ ผลสมั ฤทธิ ทางการ
เรียน อาจแสดงการเปรียบเทียบเป็นกราฟ การเพิม ลด การพฒั นาการอา่ นคลอ่ งเขียนคลอ่ ง ตามจดุ เน้นของ สพฐ.
การพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เป็นต้น

(3) ความก้าวหน้าในวชิ าชีพ (Career Progression) 60

โรงเรียนอาศยั หลกั การทํางานด้วยการบริหารจัดการระบบคณุ ภาพ OBECQA มีการกระจายอํานาจให้

ทกุ คน มีสว่ นร่วม และใช้รูปแบบ “อนบุ าลชยั ภมู ิรวมใจ 9 ขนั ตอน” ทีร่วมทํา โดยมีวิธีการจัดการความก้าวหน้าใน

วิชาชีพของบคุ ลากรทังโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ทังนี โรงเรียนได้จดั ระบบเพือพฒั นาความก้าวหน้าใน

วิชาชีพโดยสํารวจปัญหาและความต้องการเพือเป็นข้อมลู พืนฐานในการพัฒนา เช่น จํานวนการขาดแคลน

ครูผ้สู อนในกลมุ่ สาระ การสอนไมต่ รงตามสาระ ไมต่ รงตามความถนดั ความสามารถ ความร่วมมอื กนั ปฏิบตั ิงาน

ครูมีวทิ ยฐานะจํานวนน้อย ขาดความสามารถในการพฒั นาผลงานทางวิชาการไปสกู่ ารเลือนวิทยฐานะทีสงู ขนึ

เป็นต้น จากปัญหาดงั กลา่ วทําให้เกิดความถดถอยในการปฏิบตั ิงาน จึงได้พฒั นาสง่ เสริมสนบั สนนุ ด้านการสร้าง

มาตรฐานวิชาชีพ ให้เกิดความตระหนกั ดงั นี

มาตรฐานวชิ าชพี

ด้านการปฏิบตั ิงาน ด้านความรู้ ด้านการปฏิบตั ิตน

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทางวชิ าการที สง่ เสริมให้ศกึ ษาต่อ จรรยาบรรณวิชาชีพผ้บู ริหาร
เกียวกบั การพฒั นาวิชาชีพครูและ วฒุ กิ ารศึกษา จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

บริหารการศกึ ษา อบรมสมั มนา จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ับบริการ
เพิมพนู ประสบการณ์
พฒั นาผ้รู ่วมงานให้สามารถ จรรยาบรรณต่อผ้รู ่วมประกอบ
ปฏิบตั ิงานได้เตม็ ศกั ยภาพ การมีและการต่อใบประกอบ วชิ าชีพ
วชิ าชีพ
พฒั นาแผนงานองค์กรให้สามารถ จรรยาบรรณตอ่ สงั คม
ปฏิบัติได้เกิดผลจริง การสง่ เสริมให้มี
วทิ ยฐานะทีสงู ขึน
สร้างและพฒั นานวตั กรรม
เพือพฒั นางาน
ให้มีคณุ ภาพสงู ขนึ

ภาพประกอบที 5.2 ข(3)-1 พฒั นาสง่ เสริมสนบั สนนุ ด้านการสร้างมาตรฐานวชิ าชีพ

หมวด 6 การปฏิบัติการ (Operations) 61

6.1 กระบวนการทาํ งาน (Work Process)

ก. การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ (Product and PROCESS Design)

(1) ข้อกาํ หนดของหลักสูตรและกระบวนการ (Product and PROCESS Requirement)

โรงเรียนมวี ธิ ีการจดั ทําข้อกําหนดทีสาํ คญั ของหลกั สตู รและกระบวนการทํางานตามขนั ตอนดงั นี

หวั หน้างานวชิ าการระดบั ประถมศกึ ษา และระดบั ปฐมวยั และคณะครูบคุ ลากรในสายชนั ร่วมกนั จดั ทําข้อกําหนด

ของหลกั สตู ร เมือนกั เรียนจบหลกั สตู ร นกั เรียนมพี ฒั นาการ ดงั นี

1) ผลสมั ฤทธิ ผา่ นตามเกณฑ์มาตรฐานสากล

2) เน้นระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ระดบั ดี ร้อยละ 100

3) นําการบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพสกู่ ารปฏิบตั ิ

เมือได้ข้อกําหนดทีสําคญั ของแตล่ ะหลกั สตู ร ได้ถ่ายทอดข้อกําหนดทีสําคญั ของแตล่ ะหลกั สตู ร

แก่ครูและบคุ ลากรผา่ นการประชมุ ประจําเดอื นทงั ในรปู แบบเอกสารและข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพือนําไปวางแผนใน

การปฏบิ ตั ิงานของแตล่ ะหลกั สตู รให้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ โดยใช้การบริหารจดั การ ด้วยรูปแบบ “อนบุ าลชยั ภมู ิ

รวมใจ”

(2) แนวคดิ ในการออกแบบ (Design Concepts)

เมือได้ข้อกําหนดและกระบวนการทีสําคญั ของแต่ละหลกั สตู ร โรงเรียนนําข้อกําหนดทีสําคญั ของ

หลกั สตู รและกระบวนการทํางานสแู่ นวคดิ ในการออกแบบเพือปรบั ปรุง และพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาให้เป็นไป

ตามข้อกําหนดทีสาํ คญั ของหลกั สตู ร

ระบบการจดั การเรียนรู้

ระบบเฝ้าระวัง(Well Care) กระบวนการดแู ล กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ ครูและ
ช่วยเหลือนกั เรียน พฒั นาหลกั สตู ร จดั การเรียนรู้ พฒั นาครู พฒั นาสอื และICT ผ้เู รียน
สมู่ าตรฐานสากล
กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการบริหาร
พฒั นาเครือข่าย พฒั นากลยทุ ธ์ พั ฒ น า ร ะ บ บ พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ จดั การงบประมาณ
ปร ะ กัน คุ ณ ภ า พ

ระบบสนบั สนนุ
ภาพประกอบที 6.1 ก(2)-1 เป็นระบบการทํางานทีสําคญั

จากภาพประกอบที 6.1 ก(2)-1 เป็นระบบการทํางานทีสําคญั การบริหารงานภายใต้รูปแบบ “อนบุ าล
ชยั ภมู ริ วมใจ” โดยให้ผ้รู บั ผิดชอบงานร่วมกนั ออกแบบ กระบวนการพฒั นา 3 ระบบ 10 กระบวนการ ได้แก่

1) ระบบการจดั การเรียนรู้ ประกอบด้วย
- กระบวนการการพฒั นาหลกั สตู ร

- กระบวนการการจดั การเรียนรู้ 62

- กระบวนการพฒั นาครู

- กระบวนการพฒั นาสอื และICT

2) ระบบสนบั สนนุ ประกอบด้วย

- กระบวนการพฒั นากลยทุ ธ์

- กระบวนการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน

- กระบวนการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้

- กระบวนการบริหารจดั การงบประมาณ

3) ระบบเฝา้ ระวงั (Well Care) ประกอบด้วย

- ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

- กระบวนการพฒั นาเครือขา่ ย

แต่ละระบบจะมีกระบวนการพัฒนาทีเชือมโยงกันเป็นกระบวนการทํางานทีสําคญั กําหนดตวั ชีวดั ใน

กระบวนการ และตวั ชีวดั ผลของกระบวนการให้สอดคล้องทังกระบวนการหลกั และกระบวนการสนบั สนนุ โดยมี

เป้าหมายทีสาํ คญั คือ พฒั นาครูและนกั เรียนสมู่ าตรฐานสากล

โดยผ้นู ําระดบั สงู ของโรงเรียน ทีประกอบด้วยผ้อู ํานวยการ รองผ้อู ํานวยการ 4 ฝ่าย จดั ประชมุ หวั หน้างาน

ทกุ งาน หวั หน้าสายชนั หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณะครู และบคุ ลากรทกุ คนเพือแตง่ ตงั คณะกรรมการ และ

มอบหมายความรบั ผดิ ชอบในแตล่ ะระบบ และนําไปปฏบิ ตั ติ ามคมู่ ือการปฏิบตั ิงานเพือให้ได้บรรลผุ ลตามตวั ชีวดั

ของแตล่ ะระบบงาน และกํากบั ตดิ ตาม ประเมินผล ทกุ ระบบโดยคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู มิ ีระบบงานการจดั การเรียนรู้ ทีเน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั ด้วยรูปแบบการจดั กิจกรรม

การเรียนการสอน แบบบันได 5 ขนั (QSCCS) มีวิธีการจดั การและปรับปรุงระบบ เพือสร้างคณุ ภาพการเรียนให้

ประสบผลสําเร็จ ดงั ภาพประกอบที 6.1 ก(2)-2

• การตังคําถาม ขนั ที 2 • การสรุปองค์ความร้ ู ขนั ที 4 • บริการสังคมและจติ
(Learning to (Learning to สาธารณะ (Learning
Quest) •สบื ค้นความรู้ Construct) •สอื สารและนําเสนอข้อมูล to Serve)
(Learning to (Learning to
ขนั ที 1 Search) ขนั ที 3 Communicate) ขนั ที 5

ภาพประกอบที 6.1 ก(2)-2 กระบวนการจดั การเรียนการสอนตามรูปแบบบนั ได 5 ขนั (QSCCS)

ข. การจัดการกระบวนการ (PROCESS Management) 63

(1) การนํากระบวนการไปปฏิบตั ิ (PROCESS Implementation)

โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ มีการบริหารงานภายใต้กรอบแนวคิดการบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศ

โรงเรียนมาตรฐานสากล โดยใช้ รูปแบบ “อนุบาลชัยภมู ิรวมใจ” กํากับติดตามโดยใช้วงจรคณุ ภาพ (PDCA)

ใช้ระบบการจดั การเรียนรู้ และระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ในการควบคมุ และปรับปรุงระบบการทํางาน

ดงั ภาพประกอบที 6.1 ข(1)-1

การนํากระบวนการ - ระบบการจดั การเรียนรู้ - กําหนดผ้รู ับผิดชอบ
ไปปฏบิ ตั ิ - ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน - วางแผนการดาํ เนินงาน
- รปู แบบ “อนบุ าลชยั ภมู ริ วมใจ” - วางแผนการวดั และประเมิน

ข้อมลู นเิ ทศ กาํ กบั ติดตาม / - กล่มุ งานวิชาการกาํ หนดแผนปฏบิ ตั กิ าร
ย้อนกลบั ประเมิน ตามตวั ชวี ัด ตวั วดั ตวั ชวี ดั ระบบการจดั การเรียนรู้
- กล่มุ งานบริหารทวั ไปกาํ หนดแผน
หลกั สตู รมีคุณภาพ ปรับปรุง / รายงานผลการ ปฏิบตั ิการ ตัววดั ตวั ชวี ัด ระบบดแู ล
ดําเนินงาน / จดั เก็บสารสนเทศ ช่วยเหลือนกั เรียน
- สอื สารกับครูนาํ ส่กู ารปฏบิ ตั ิ

ภาพประกอบที 6.1 ข(1)-1 การนํากระบวนการไปปฏบิ ตั ิ
โรงเรียนกระจายอํานาจการบริหารภายใต้กรอบงาน 4 กลมุ่ งาน ได้แก่ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ
กลมุ่ งานบริหารบคุ คล กลมุ่ งานบริหารงานทวั ไป และกลมุ่ งานบริหารงบประมาณ มกี ารเชือมโยงทกุ กลมุ่ งาน
ให้สอดคล้องทกุ กระบวนการ โดยใช้รูปแบบ “อนุบาลชยั ภมู ิรวมใจ” เพือให้การดําเนินงาน ของโรงเรียนได้รับ
ความสําเร็จตามภารกิจหลกั บรรลวุ สิ ยั ทศั น์ เปา้ ประสงค์ และพันธกิจ อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจ
ให้แกน่ กั เรียน ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี สง่ ผลให้โรงเรียนได้รับความสําเร็จอยา่ งยงั ยืน โดยโรงเรียนใช้ตวั ชีวดั คือ ร้อยละ
ของนกั เรียนระดบั ปฐมวยั ทีผา่ นการประเมิน คา่ เฉลียผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน และร้อยละของการจบการศกึ ษา
ร้อยละของผลการทดสอบ NT ของนกั เรียนชนั ประถมศกึ ษาปีที 3 ร้อยละของผลการทดสอบ O-NET ของนกั เรียน
ชันประถมศึกษาปีที 6 กล่มุ งานทีเกียวข้องกบั กระบวนการทํางานทีสําคญั มีการตรวจสอบ ทบทวน ปรับปรุง
ระบบ กระบวนการทํางานตามวงจร PDCA เมือเกิดปัญหาหรืออปุ สรรคจะแก้ไขปรับปรุงและเกิดการเรียนรู้จาก
การปฏบิ ตั งิ าน จนประสบผลสาํ เร็จอย่างมีคณุ ภาพ เกิด Best Practice ระดบั บุคคล กลมุ่ งาน มีการแลกเปลียน
เรียนรู้ และเผยแพร่ผลงานให้โรงเรียนอืน
(2) กระบวนการสนับสนุน (Support Process)
โรงเรียนมวี ธิ ีการในการกําหนดกระบวนการสนบั สนนุ ทีสําคญั โดยใช้ระบบเครือขา่ ยทางวชิ าการ
สนบั สนนุ ตามกรอบ 4 งาน ได้แก่ 1) กระบวนการสรรหาทรพั ยากร 2) กระบวนการพฒั นาสอื ICT และระบบ
ฐานข้อมลู 3) กระบวนการทํางานเป็นทีม 4) กระบวนการสร้างความเข้มแขง็ ทางเครือขา่ ย เพือให้การดําเนินงาน
เป็นไปตามข้อกําหนดทีสาํ คญั ของหลกั สตู ร โดยกําหนดกระบวนการสนบั สนนุ ทีสําคญั ดงั ภาพประกอบที 6.1 ข
(2)-1 ดงั นี

64

กระบวนการสนับสนุน

กระบวนการพฒั นา กระบวนการพฒั นาระบบ กระบวนการพฒั นา กระบวนการบริหาร
กลยทุ ธ์ ประกันคณุ ภาพภายใน แหล่งเรียนรู้ จดั การงบประมาณ

1. เตรียมการ 1. การกําหนดมาตรฐาน 1. สาํ รวจวเิ คราะหส์ ภาพความพร้อม 1. การจัดทํางบประมาณ
2. ทบทวนกลยทุ ธ์ การศึกษาของสถานศกึ ษา ของแหลง่ การเรยี นรู้ภายในและ 2. การอนมุ ตั ิงบประมาณ
3. วางแผนกลยทุ ธ์ 2. การจดั ทําแผนพฒั นา ภายนอกโรงเรียน 3. การบริหารงบประมาณ
4. การนาํ กลยทุ ธ์ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ คณุ ภาพฯ 2. กําหนดแหลง่ การเรยี นรู้ จดั ระบบ 4. การตดิ ตามและ
5. การทบทวนตดิ ตามผล 3. การจดั ระบบบริหาร สารสนเทศ ประเมนิ ผล
สารสนเทศ 3. จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการสร้างและ
4. ดําเนินงานตามแผน พฒั นาแหล่งการเรียนรู้
5. การตรวจสอบและติดตาม 4. ทําความเข้าใจการใช้แหลง่ การ
คณุ ภาพการศกึ ษา เรียนรู้
6. การประเมนิ คณุ ภาพภายใน 5. จดั ทาํ และใช้แผนการจดั กจิ กรรม
ตามมาตรฐานการศกึ ษา การเรียนรู้โดยใช้แหลง่ การเรียนรู้
7. การจดั ทาํ รายงานประจาํ ปี 6. ประเมินผลการจดั กิจกรรมการ
8. การพฒั นาคณุ ภาพ เรียนรู้โดยใช้แหลง่ การเรียนรู้
การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนือง 7. สรุป รายงานผล และเผยแพร่
พัฒนา

- กําหนดตวั ชีวดั ปฏบิ ตั งิ านด้วยระบบ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนติดตาม
- แต่งตงั กรรมการรับผิดชอบ บริหารงานเชิงระบบ กํากบั ประเมินผล

ภาพประกอบที 6.1 ข(2)-1 กระบวนการสนบั สนนุ

จากภาพประกอบที 6.1 ข(2)-1 กระบวนการสนบั สนนุ โรงเรียนได้ใช้กระบวนการสนับสนุนทีสําคญั ตาม
กรอบ 4 งานกระบวนการ คอื กระบวนการพฒั นากลยทุ ธ์ กระบวนการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน
กระบวนการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ และ กระบวนการงบประมาณ ซึงแตล่ ะฝ่ ายจะมีคณะกรรมการรับผิดชอบ ร่วมกนั
กําหนดตวั ชีวดั ทีสําคญั ดาํ เนินการอยา่ งเป็นระบบ มคี ณะกรรมการบริหารโรงเรียนตดิ ตาม กํากบั ประเมินการทํางาน
ควบคมุ ด้วยวงจรคณุ ภาพ PDCA ตวั ชีวดั ทีสาํ คญั คอื ร้อยละคา่ เฉลียผลสมั ฤทธิข์ องนกั เรียนระดบั ชนั ป.4-6 ร้ อยละ
เปรียบเทียบการสือสาร 2 ภาษาของนกั เรียน เปรียบเทียบการสร้างสรรค์ชินงาน ร้ อยละของผลการทดสอบ NT ของ
นกั เรียนชนั ประถมศกึ ษาปีที 3 ร้อยละของผลการทดสอบ O-net ของนกั เรียนชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ร้ อยละของการ
จบการศกึ ษา ผ้นู ําสงู สดุ ได้สือสารให้คณะครูได้เข้าใจในการทํางานผา่ นการประชุม คําสงั โรงเรียน ติดป้ายประกาศ
เสียงตามสาย ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นทาง Social Media /Line กลมุ่ งาน Line กลมุ่ สายชนั Line กลมุ่ โรงเรียน

(3) การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการ (Product and PROCESS Improvement) 65

โรงเรียนมีวิธีการในการปรับปรุงกระบวนการทํางาน เพือปรับปรุงหลกั สูตรและผลการดําเนินการ

เสริมสร้างความแขง็ แกร่งของสมรรถนะหลกั ขององค์กรและลดความแปรปรวนของกระบวนการ ดงั รายละเอียด

ภาพประกอบที 6.1 ข(3)-1

ผลการใช้หลกั สตู ร ทบทวน ทดลองใช้ ทบทวน หลกั สตู ร
ผลการประเมนิ หลกั สตู ร ปรับปรุง ปรับปรุง สถานศกึ ษา

ข้อมลู ย้อนกลบั

ภาพประกอบที 6.1 ข(3)-1 กระบวนการปรบั ปรุงหลกั สตู ร
จากภาพประกอบที 6.1 ข(3)-1 กระบวนการปรับปรุงหลกั สตู ร โรงเรียนวางแผนการปรบั ปรุง
หลกั สตู ร ดงั นี

1) วิเคราะห์ข้อมลู ย้อนกลบั โดยนําผลการใช้หลกั สตู ร ผลการประเมินหลกั สตู ร วิเคราะห์ ข้อคิดเห็นของ
นักเรียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั พืนฐาน นํามาวางแผนกระบวนการ
ออกแบบหลกั สูตร ทีน่าจะเป็น เลือกกระบวนการ กําหนดความต้องการ กําหนดวตั ถุประสงค์ความต้องการภายใน/
ภายนอก ปัจจยั สาํ คญั ตอ่ ความสําเร็จ สิงทีต้องเปลยี นแปลง ขนั ตอนวิธีปฏิบตั ิงาน ผลการนิเทศภายใน ผลการประเมิน
คณุ ภาพภายใน ผลการประชุมคณะกรรมการ ผลการจดั การแลกเปลียนเรียนรู้จากผลผลติ ของหลกั สตู ร เผยแพร่ผลงานให้
นกั เรียนชุมชนรับทราบ เพือให้ผู้มี สว่ นได้สว่ นเสียได้ทราบผลการพฒั นาหรือการเปลียนแปลงทีเกิดขึน จากการใช้
หลกั สตู ร และการบริหารจดั การ ศกึ ษาของโรงเรียน นําผลการประเมนิ ทีค้นหาสาเหตุ จากผลการรายงานการใช้หลกั สตู ร
ทีทําให้ผลการดาํ เนินงานทีไมเ่ ป็นไปตามเปา้ หมายทีกําหนดว่าเกิดจากกระบวนการในขนั ตอนใด

2) ร่วมกนั วางแผนทบทวน ปรับปรุง เพอื ให้เป็นไปตามเปา้ หมายทีกาํ หนด
3) นาํ ไปทดลองใช้ซาํ
4) ทบทวนปรับปรุง อีกรอบ
5) สรุป รวบรวมหลกั สตู ร ได้หลกั สตู รทีเหมาะสม กบั ความต้องการและความสามารถพิเศษ
ตามตวั ชีวดั คือ ผลการดําเนินการระบบการจดั การเรียนรู้ จนเกิดนวัตกรรมทีทํางานอยา่ งเป็นระบบ ตามแนวคิด
ระบบงาน ฝ่ายงานทีเกียวข้องกบั กระบวนการสาํ คญั นําแนวทางดงั กลา่ วไปปฏิบตั ิ สร้ างคุณค่าแก่นกั เรียน สคู่ วาม
ยงั ยืนอยา่ งเป็นระบบโดยผา่ นช่องทางการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน หัวหน้างาน หัวหน้าสายชนั หัวหน้า
สาระการเรียนรู้ และเอกสารแนวทางการดําเนินงาน มกี ารรายงานผลผา่ นสือตา่ ง ๆของโรงเรียน

ค. การจดั การนวตั กรรม (INNOVATION Management) 66

โรงเรียนดําเนินกระบวนการทีเพิมประสิทธิภาพและขีดความสามารถของการจัดการองค์กรให้สงู ขนึ โดย

การเรียนรู้จากการลองทําด้วยตนเอง (LEARNING-BY-DOING) และการทําวิจัยและพฒั นา (R&D) โดยมีการจัดการ

นวตั กรรม ดงั นี

1) จดั โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาอังองั กฤษ (Mini English

program) สําหรับนกั เรียนทีมคี วามพร้อมและต้องการเสริมทกั ษะความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ซึงได้ดําเนินการ อย่าง

ตอ่ เนืองตงั แตป่ ีการศกึ ษา 2554

2) จดั โครงการห้องเรียนพิเศษสง่ เสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สําหรับ

นักเรียนทีมีความพร้ อมและต้องการเสริมทกั ษะความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึงได้ดําเนินการอย่าง

ตอ่ เนืองตงั แตป่ ีการศกึ ษา 2557

3) จดั โครงการโครงการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพือการสอื สาร (English for

Communication Development : ECD) โดยครูชาวตา่ งชาติ สําหรับนกั เรียนทกุ คนในโรงเรียน ซงึ ได้ดําเนินการอยา่ ง

ตอ่ เนืองตงั แตป่ ีการศกึ ษา 2545

4) การบริหารจดั การแบบโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ กระจายอํานาจลงสสู่ ายชนั และดําเนิน

โครงการตามสาระการเรียนรู้

5) การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนอยา่ งยงั ยนื

โรงเรียนอนุบาลชยั ภูมิได้ขบั เคลือน วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ เพือม่งุ สู่

สมรรถนะหลกั ทงั 3 ระบบ ได้แก่ ระบบการจดั การเรียนรู้ ระบบสนบั สนุน และระบบเฝา้ ระวงั (Well Care) ภายใต้การ

บริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศโรงเรียนมาตรฐานสากล ใช้การบริหารจัดการด้วยรูปแบบ “อนุบาลชัยภูมิรวมใจ”

โรงเรียนได้ใช้ข้อมลู ความต้องการจําเป็นของผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี มีตอ่ หลกั สตู ร และกระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้อมลู

ปัจจยั สําคญั ประกอบการวางแผนกลยทุ ธ์ การพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียนได้กําหนดความรับผิดชอบให้ทุก

ฝ่ ายงานปฏิบตั ิงานอยา่ งมีความสมั พนั ธ์กัน เพือให้ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียตามตวั ชีวัดคือ ร้ อยละมีความพงึ พอใจของ

นกั เรียน ผู้ปกครองในระบบดูแลช่วยเหลือ ในระบบการจดั การเรียนรู้ การจัดการนวัตกรรมกระบวนการพฒั นา

หลกั สตู รกระบวนการจดั การเรียนรู้ทีเน้นผ้เู รียนเป็นสาํ คญั มกี ารพฒั นาหลกั สตู รอยา่ งตอ่ เนือง ใช้วิธีการจดั การเรียนรู้

หลากหลาย ร่วมสมยั นวตั กรรมในการจดั การเรียนการสอนใช้ Project-Based Learning บนั ได 5 ขนั จัดการเรียนรู้

ในวิชาค้นคว้าอิสระ IS มีรายวิชาเพิมเตมิ ได้แกภ่ าษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษเพือการสือสาร

และ คอมพวิ เตอร์ รวม 1,200 ชวั โมง เพือบริการเสริมสร้างจดุ แข็งทางวิชาการ ส่งเสริมศกั ยภาพด้านความเป็นเลิศ

ทางวิชาการ ใช้สอื นวตั กรรม/แหลง่ เรียนรู้และสอื ทีทนั สมยั ตามตวั ชีวดั คือร้อยละของครูทีจดั การเรียนรู้ทีเน้นผ้เู รียนเป็น

สําคญั มีวิจยั ในชนั เรียนเพอื การพฒั นา แก้ปัญหาตามตวั ชีวดั คอื ร้อยละของครูพฒั นาวิจยั ในชนั เรียน โดยเน้นผ้เู รียน

เป็นสําคญั สง่ เสริมพฒั นาครูสมู่ ืออาชีพ มีภาวะผ้นู ํา โดยการอบรมสมั มนา การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง

ด้วยระบบออนไลน์ การศกึ ษาตอ่ การศกึ ษาดงู าน การค้นคว้าวิจยั สง่ ผลให้ครูได้รับรางวัลมากมาย เช่น ครูต้นแบบ

ครูดีเดน่ ครูดใี นดวงใจ รางวลั ครุ ุสดดุ ี รางวลั ครูผ้บู าํ เพ็ญประโยชน์ทางการศึกษา ครูผ้สู อนให้นกั เรียนได้รับรางวัล

ต่างๆ เป็นต้นตัวชีวดั คือ ร้ อยละของครูทีมีภาวะผู้นําระดับดีขึนไป มีการกํากับ ติดตามและประเมินผล ประกัน

คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษา จากหนว่ ยงานต้นสงั กดั นวตั กรรมจะเผยแพร่ ให้ผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย เครือขา่ ยทาง

67
วิชาการ เครือขา่ ยผ้ปู กครอง ชมุ ชน ได้มีส่วนร่วมในการประเมินผล เพือให้ตรงกับความพงึ พอใจ และความผกู พนั ของ
นักเรียนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน เพือให้ บรรลุผลการดําเนินงานทีดีและบรรลุวิสัยทัศน์ของโรงเรียน โรงเรียนได้
ดําเนินการตามกระบวนการ การบริหารจดั การด้วยรูปแบบ “อนบุ าลชยั ภมู ริ วมใจ” สามารถอธิบายการทํางานโดยมี
ตวั ชีวดั จํานวนรางวลั ทีนกั เรียนได้รับ ร้อยละของนกั เรียนทีสือสาร 2 ภาษา ร้อยละของนกั เรียนทีมผี ลงานลําหน้าทาง
ความคิดและผลิตงานอย่างสร้ างสรรค์ โดยผู้บริหารได้สือสารให้คณะครูเข้าใจ มีความมุ่งมัน สู่เป้าหมายแห่ง
ความสําเร็จ สร้างความตระหนกั ให้เกิดทศั นคติทีดตี อ่ องค์กร จัดระบบสนบั สนุน สรรหาทรัพยากร เทคโนโลยี ICT
การสร้างเครือขา่ ยทีเข้มแข็ง จัดหมวดหม่คู วามรู้ นําไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ให้โอกาสในการเรียนรู้และส่งเสริม
ความเป็นเลศิ สง่ เสริมครู มีภาวะผ้นู ําโดยผา่ นกระบวนการทํางานเป็นทีม ทุกกระบวนการผา่ นการประชุม จดั ทําคมู่ อื
การปฏิบตั ิงานของ แตล่ ะฝ่ายงาน แตง่ ตงั คณะกรรมการรับผิดชอบติดคําสงั ทีบอร์ดประชาสมั พนั ธ์ ผ่านทาง Social
media

โรงเรียนมีวิธีการในการทําให้ทรัพยากรด้านการเงินและด้านอืน ๆในการสนับสนุนในการจัดการ
นวตั กรรมนี โดย กําหนดไว้ในแผนพฒั นาการศึกษา/แผนปฏิบตั ิการประจําปี กําหนดโครงการ จดั สรรงบประมาณ
บุคลากรทีรับผิดชอบ วัสดุอุปกรณ์ทีใช้ การบริหารจัดการ ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ควบคมุ ต้นทุน ระยะเวลา ประเมนิ การใช้งบประมาณตามแผนงาน/โครงการ เพือนํา
ข้อมูลเป็นพืนฐานในการพฒั นาต่อไป และโรงเรียนมีวิธีการในการยตุ ิโอกาสเชิงกลยุทธ์ในเวลาทีเหมาะสมเพือ
สนบั สนุนโอกาสทีมีความสาํ คญั ทีเหนือกว่าโดย ประเมนิ ผลลพั ธ์ทีได้ ความเป็นไปได้ของกระบวนการ ปัจจยั ทีสง่ ผล
ตอ่ ความล้มเหลว หาวิธีการทีดีกวา่ ค้มุ ทุนกวา่ ในงบประมาณเวลา ทีเท่ากนั แตผ่ ลลพั ธ์ทีได้สงู กวา่ เป็นต้น

6.2 ประสิทธิผลของการปฏบิ ัติการ (Operational Effectiveness)
ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ (PROCESS Efficiency and EFFECTIVENESS)
การควบคมุ ต้นทนุ การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ มีการดําเนินการตามกฎระเบียบข้อบงั คบั

ด้านการเงิน กลมุ่ งานบริหารงบประมาณรับผิดชอบในการควบคุมดแู ลและติดตามการลดต้นทุนการจดั การศึกษา
เพือให้เกิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล (S-Successful) สงู สดุ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนสร้ างจิตสํานึก ทีดี(A-
Awareness) และองคค์ วามรู้เกียวกบั แนวปฏิบตั ิทีถกู ต้อง (K-Knowledge) ให้เกิดกบั ครูและบุคลากรในโรงเรียน ให้มี
สว่ นร่วมในการวางแผน จดั ทําโครงการ แผนปฏิบตั กิ าร แสวงหาโอกาสในการระดมทรัพยากร (O-Opportunity) ให้
เพียงพอกับความต้องการ คณะกรรมการบริหารงานโรงเรียนมอบหมายให้ รองผู้อํานวยการ หัวหน้ างาน
คณะกรรมการกลมุ่ งานงบประมาณ (L-Leadership) จดั ทําแผนการลดและควบคมุ ต้นทนุ พร้อมทงั กําหนดเปา้ หมาย
และระยะเวลาดาํ เนินการอยา่ งชดั เจน สอื สารกบั คณะครูและบุคลากรเพือนําไปปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องเป็นไปตามขนั อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพโดยมีองค์ประกอบของการควบคมุ ต้นทุนดงั ภาพประกอบที 6.2 ก-1

68

ระดมทรัพยากร วเิ คราะห์รายรับ - รายจ่าย (กําหนดต้นทุน วเิ คราะหภ์ าระงาน
จดั องค์ความรู้ (KM) , สารสนเทศ จดั สรรทนุ ค่าใช้จา่ ย, การเบกิ จา่ ย)
จดั ทาํ แผน
วเิ คราะห์ ปรบั ปรุง (แผนปฏบิ ตั กิ าร,
ไม่มีประสทิ ธิภาพ แผนการลด และ
ควบคมุ ต้นทนุ )
มีประสทิ ธิภาพ
คณะกรรมการบริหารโรงเรียน
กํากบั ตดิ ตาม ประเมินผล

ภาพประกอบที 6.2 ก-1 กระบวนการควบคมุ ต้นทนุ
จากภาพประกอบที 6.2 ก-1 กระบวนการควบคมุ ต้นทนุ จะทําให้แนใ่ จวา่ กระบวนการสนบั สนนุ
กระบวนการควบคมุ ต้นทนุ มกี ารดาํ เนนิ งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพจึงมีกระบวนการทบทวนตามความเหมาะสมกบั
ภารกิจหลกั อยเู่ สมอ ตามขนั ตอนการบริหารด้วยวงจรคณุ ภาพ PDCA โดยเฉพาะขนั ตอนการตรวจสอบทบทวน
และนําผลไปพฒั นาปรับปรงุ แผนปฏบิ ตั กิ ารในการปฏบิ ตั งิ านในปีถดั ไป
ข. การจดั การห่วงโซ่อุปทาน (Supply-Chain Management)
โรงเรียนมีวิธีการในการจดั การห่วงโซ่อปุ ทาน โดยรบั นกั เรียนตามหลกั สตู ร 4 หลกั สตู ร ทีโรงเรียน
กําหนด ดงั นี

Input Process Outcome

วิชาการ บคุ ลากร

นกั เรียนเข้า รบั นกั เรียน งบประมาณ งานทวั ไป นกั เรียน จบ

100 % IPO 100 %

ครูประจาํ ชนั

I PO

ครูผ้สู อน

I PO

ภาพประกอบที 6.2 ข-1 แสดงการรับนกั เรียนเพือสง่ มอบให้ครูประจําชนั

69

จากแผนภาพ 6.2 ข-1 แสดงการรับนักเรียนเพือสง่ มอบให้ครูประจําชนั โดยแต่ละหลกั สตู รมีวิธีการรับ
นกั เรียนตามขนั ตอน ดงั นี

1. หลกั สตู รปฐมวยั มกี ารคดั กรองนกั เรียนและดาํ เนินการจบั สลากรบั นกั เรียน ให้ครบตามจํานวนทีระบุ
ไว้ในประกาศจากนนั สง่ มอบให้ครูประจําชนั ดําเนินการคดั กรอง จดั กิจกรรมสง่ เสริมตามพฒั นาการ จดั ระบบดแู ล
ช่วยเหลือนักเรียน ส่งมอบให้ครูประจําวิชาทีสอนดําเนินการพัฒนาให้เกิดทักษะการเรียนรู้ให้รอบด้าน เพือให้
ได้ผลการพฒั นาผ้เู รียนตรงตามหลกั สตู รและสามารถจบการศกึ ษาตามพฒั นาการอยา่ งสมวยั

2. หลกั สตู รห้องเรียนปกติ เริมตงั แตใ่ นระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 1 มีการคดั กรองนกั เรียนและดําเนินการ
จบั สลากรับนกั เรียนและรบั นกั เรียนเพิมเตมิ ให้ครบตามจํานวนทีระบไุ ว้ในประกาศจากนนั สง่ มอบให้ครูประจําชนั
ดาํ เนินการคดั กรอง จดั กิจกรรมสง่ เสริมตามพฒั นาการ จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน สง่ มอบให้ครูประจําวิชาที
สอนดําเนินการพฒั นาให้เกิดทกั ษะการเรียนรู้ให้รอบด้าน เพือให้ได้ผลการพัฒนาผ้เู รียนตรงตามหลกั สตู รและ
สามารถจบการศกึ ษาตามพฒั นาการอยา่ งสมวยั

3. หลกั สตู รห้องเรียน โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ
(Mini English Program : MEP) เริมตงั แตใ่ นระดบั ชันประถมศึกษาปีที 1 มีการคดั กรองนักเรียนด้วยการสอบ
คดั เลือกนักเรียน และสอบสมั ภาษณ์ ให้ครบตามจํานวนทีระบไุ ว้ในประกาศจากนันสง่ มอบให้ครูประจําชัน
ดาํ เนินการคดั กรอง จดั กิจกรรมสง่ เสริมตามพฒั นาการ จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน สง่ มอบให้ครูประจําวิชาที
สอนดําเนินการพฒั นาให้เกิดทกั ษะการเรียนรู้ให้รอบด้าน เพือให้ได้ผลการพฒั นาผ้เู รียนตรงตามหลกั สตู รและ
สามารถจบการศกึ ษาตามพฒั นาการอยา่ งสมวยั

4. หลกั สตู รโครงการห้องเรียนพิเศษสง่ เสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Science
and Mathematics Program : SMP)เริมตงั แตใ่ นระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 1 มกี ารคดั กรองนกั เรียนด้วยการสอบ
คดั เลือกนกั เรียน และสอบสมั ภาษณ์ ให้ครบตามจํานวนทีระบไุ ว้ในประกาศจากนันส่งมอบให้ครูประจําชัน
ดาํ เนินการคดั กรอง จดั กิจกรรมสง่ เสริมตามพฒั นาการ จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน สง่ มอบให้ครูประจําวิชาที
สอนดําเนินการพฒั นาให้เกิดทกั ษะการเรียนรู้ให้รอบด้าน เพือให้ได้ผลการพฒั นาผ้เู รียนตรงตามหลกั สตู รและ
สามารถจบการศกึ ษาตามพฒั นาการอย่างสมวยั

ค. การเตรียมความพร้ อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน (Safety and Emergency
Preparedness)

โรงเรียนได้ศกึ ษาข้อมลู วิเคราะห์สถานการณ์ คาดการณ์ความปลอดภยั และความเสยี ง จากนนั จึง
กําหนดแนวทางปอ้ งกนั จดั ทําแผนปฏบิ ตั ิการ แผนรองรับอทุ กภยั วาตภยั อคั คีภยั เทคโนโลยีสารสนเทศขดั ข้อง
แผนการจดั สรรงบประมาณ กําหนดนโยบาย จัดระบบรักษาความปลอดภยั ระบบปฏิบัติการรองรับความเสียง
และภาวะฉกุ เฉิน ประเมนิ ความพร้อม และทบทวนภาวะฉกุ เฉิน หาแนวทางป้องกนั ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี

(1) การสาํ รวจความปลอดภัยในโรงเรียน(Safety) 70

1) โรงเรียนได้สํารวจความปลอดภยั ในโรงเรียนไว้ 2 ด้านคือ ด้านสิงแวดล้อมและด้านบริการความ

ปลอดภยั โดยการแตง่ ตงั เวรยามรกั ษาความปลอดภยั ครูและบคุ ลากรทกุ คนมสี ว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบในการตรวจตรา

ดแู ล เอาใจใสเ่ พือความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน

2) การรายงานอบุ ตั เิ หตใุ นโรงเรียน ครูเวรประจําวนั ยาม นักการภารโรง และบุคลากรในโรงเรียน

ต้องรายงานเมือเกิดอบุ ตั เิ หตเุ พือทราบข้อมลู ของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ หาแนวทางป้องกนั แก้ไข ให้ความรู้แนะแนว

เรืองสวสั ดิภาพ อาทิ ในเรืองการใช้อปุ กรณ์ สือ แหลง่ เรียนรู้ทีอาจกอ่ ให้เกิดอบุ ตั ิเหตุ

3) การจัดทําประกนั อุบตั ิเหตุ เป็นการค้มุ ครองเรืองความปลอดภยั และสิทธิ ในการได้รับคา่ ชดเชย

บาดเจ็บจากการเกิดอบุ ัติเหตุ โรงเรียนมีการจัดทําประกันอบุ ตั ิเหตหุ ม่โู ดยทําให้กับบุคลากรในโรงเรียนทุกคน

4) การบริการเครืองอํานวยความสะดวก ทีโรงเรียนจดั บริการให้ทุกคนในโรงเรียนมีความปลอดภัย

ได้แก่ บริการสนามฟตุ ซอลการจดั ทําสนามเดก็ เลน่ อาคารโดม การจดั ระบบไฟฟา้ ทีปลอดภยั ติดตงั อปุ กรณ์ไฟฟ้า

ลัดวงจรและเครืองตดั ไฟอัตโนมัติ การตัดแต่งกิงไม้ จัดสภาพแวดล้อมทีไม่ก่อให้เกิดอันตรายและอุบัติเหตุ

5) การบริการความปลอดภยั ในการเดินทางไป-กลับโรงเรียนจัดบริการความปลอดภัยในการ

เดินทางไป-กลับโรงเรียนโดยได้ รับความอนุเคราะห์จากเจ้ าหน้ าทีตํารวจจราจร สภอ.เมืองชัยภูมิ

6) การบริการปฐมพยาบาล โรงเรียนมหี ้องพยาบาล อปุ กรณ์ในการปฐมพยาบาลเพือบรรเทาอาการ

เจบ็ ป่ วย ก่อนสง่ ถงึ แพทย์ มคี รูทีรับผดิ ชอบและขนั ตอนการปฏิบตั ิตนในการใช้ห้องพยาบาล แจ้งให้ทุกคนทราบ

อย่างชดั เจน

(2) การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Preparedness)

โรงเรียนได้ดําเนินการเตรียมความพร้อมตอ่ ภาวะฉกุ เฉิน ดงั นี

5. ทบทวน
ภาวะ

4. ประเมิน เตรียมพร้ อม 1. วิเคราะห์จดั
ความพร้อม ต่อภาวะ อนั ดบั สถานการณ์
ฉุกเฉิน

3. ปอ้ งกนั 2. กําหนด
ภาวะ ภาวะ

ภาพประกอบที 6.2 ค(2)-1 ระบบการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ

71
ในการเตรียมความพร้ อมต่อภาวะฉุกเฉิน กลุ่มงานบริหารทัวไปดําเนินการดังนี 1)แต่งตัง
คณะกรรมการเพือวิเคราะห์สถานการณ์และจดั อนั ดบั ความสําคญั 2)ร่วมกนั กําหนดภาวะฉกุ เฉินทีจําเป็นเร่งดว่ น
3)วางแผนป้องกันภาวะฉกุ เฉิน โดยประสานความร่วมมือจากหน่วยงานองค์กร ผ้ปู กครอง ชุมชน 4)ประเมิน
ความพร้อม จดั ติดตงั สืออปุ กรณ์เทคโนโลยีทีทันสมยั พร้อมใช้งาน กลมุ่ งานบริหารทัวไป5)ทบทวนภาวะฉกุ เฉิน
จดั ทําคมู่ ือมาตรการรักษาความปลอดภยั ประชาสมั พนั ธ์สือสารให้ครู นกั เรียน บคุ ลากร ได้รบั ทราบและถือปฏิบตั ิ
ในด้านตา่ ง ๆ ดงั นี
1) ด้านสขุ อนามยั จัดโครงการส่งเสริมสขุ ภาพนักเรียนมีการตรวจสุขภาพนักเรียนทันตกรรม
ประจําปี ฉีดวคั ซีน โดยขอความร่วมมือจากโรงพยาบาลชัยภูมิตรวจสุขภาพนักเรียน พ่นหมอกควันป้องกัน
ไข้เลอื ดออกโดยขอความร่วมมือจากเทศบาลนครชยั ภมู ิ จัดกิจกรรมสือสารทาง Social ติดบอร์ดประชาสมั พนั ธ์
รณรงคใ์ ห้ความรู้ให้ทกุ คนรับทราบ
2) ด้านความปลอดภยั ในการจราจร โรงเรียนได้ประสานงานกบั สถานีตํารวจอาํ เภอเมืองชยั ภมู ิ จัด
ตํารวจจราจรดแู ลการเดินข้ามถนนบริเวณหน้าโรงเรียนในช่วงเวลา 07.30-08.00 น.และเวลา 15.30-16.30 น.
จดั กิจกรรมรณรงคก์ ารขบั ขีอย่างปลอดภยั จดั เวรยามรกั ษาการณ์ดแู ล จัดประชมุ ชีแจงผ้ขู บั รถรับส่งนกั เรียนเพือ
ปอ้ งกนั ปัญหาและอบุ ตั ิเหตุ จดั โครงการอาสาจราจรอบรมนกั เรียนให้มคี วามรู้ เป็นผ้นู ําในการให้บริการช่วยเหลือ
ในด้านการจราจร
3) ด้านการใช้สอื และอินเทอร์เน็ตแตง่ ตงั เจ้าหน้าทีดแู ลระบบ มีเครืองส่งสญั ญาณอินเทอร์เน็ตทกุ
อาคารติดตงั เครืองคมุ ระบบ Web Sever ตดิ ตงั เครืองแมค่ วบคมุ อนิ เทอร์เนต็ ตดิ ตงั เครืองสํารองไฟ ตดิ ตงั ควบคมุ
เกียวกับ User Management จัดตารางการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ จดั อบรม ให้ความรู้แก่ครูในการใช้ ครูกํากับ
ตดิ ตามการสืบค้น การใช้ เวบ็ ไซตท์ ีพึงประสงค์
4) ด้านภยั พิบตั ไิ ด้รับความอนเุ คราะห์จากเจ้าหน้าทีปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในการซกั ซ้อม
แผนปอ้ งกนั การเกิดวาตภยั อคั คีภยั อทุ กภยั การประชาสมั พนั ธ์ แจ้งขา่ วสารครู บุคลากร ผ้รู ับผิดชอบตรวจสอบ
สภาพ ตดั แตง่ กิงไม้ใกล้อาคาร ขอความร่วมมอื จากเทศบาลนครชยั ภมู ิในการซ้อมแผนป้องกันภยั เจ้าหน้าทีงาน
ประชาสมั พนั ธ์โรงเรียน(เสยี งตามสาย) แจ้งขา่ วสาร ติดตามขา่ วพยากรณ์
5) ด้านการเงินโรงเรียนมีแผนการใช้งบประมาณ มีคณะกรรมการดําเนินการตรวจสอบ ทบทวน
ประเมินความค้มุ ทุนการทํางาน วิเคราะห์รายรับ รายจ่าย ภาระงานกํากับติดตามต้นทุน การจัดสรรทุนและ
คา่ ใช้จ่ายและประเมินผล

72

หมวด 7 ผลลัพธ์ (RESULTS)

จากการตรวจประเมินผลการดําเนินการและปรบั ปรุงในด้านทีสําคญั ทกุ ด้านของโรงเรียนสรุปได้ดงั นี

7.1 ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ (Product and Process RESULTS)

ก. ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการจดั การเรียนการสอนทมี ุ่งเน้นนักเรียน

(STUDENT Focused Product and PROCESS Result)

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิจัดการศึกษา 2 ระดับ คือ ระดบั ก่อนประถมศึกษาและระดบั ประถมศึกษา

ใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลชัยภมู ิ 2 หลกั สตู ร คือ หลกั สตู รปฐมวยั พ.ศ. 2546 ใช้กับนักเรียนชัน

อนบุ าล 1 และอนบุ าล 2 และหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาพืนฐานพุทธศกั ราช 2551 แยกเป็น 3 หลกั สตู ร ได้แก่

หลกั สตู รห้องเรียนปกติ หลกั สตู รการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ

(Mini English Program) : MEP และหลักสตู รห้องเรียนพิเศษสง่ เสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และ

คณิตศาสตร์ กระบวนการจดั การเรียนรู้ตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressive) เน้นการจัดกิจกรรมให้

สอดคล้องกบั ธรรมชาติของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้โดยเน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั ตามแนวทฤษฎี Constructivism

กิจกรรมการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลได้แก่การศึกษาค้นคว้าอิสระ (Independent Study : IS)

ผา่ นกระบวนการบนั ได 5 ขนั จึงทําให้การจดั การเรียนรู้ของโรงเรียนมปี ระสทิ ธิภาพ นกั เรียนได้รับการพฒั นาอย่าง

ตอ่ เนือง ดงั นี

ผลลพั ธ์ของหลกั สตู รปฐมวยั พ.ศ. 2546 ปีการศกึ ษา 2557-2559 จากการประเมินพฒั นาการระดบั กอ่ น

ประถมศกึ ษา แสดงดงั ภาพประกอบที 7.1 ก – 1

แผนภูมิแสดงค่าร้อยละประสทิ ธภิ าพของการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตร
โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ ระดับปฐมวยั ปี การศึกษา 2557-2559

98 96.19 96.92 ค่าเป้าหมาย
คา่ ร้อยละ
96 90 90

94 92.88 2558 2559

92
90 90

88

86

2557

ภาพประกอบที 7.1 ก - 1 แสดงคา่ ร้อยละประสทิ ธิภาพของการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู ร
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ระดบั ปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2557-2559

จากภาพประกอบที 7.1 ก - 1 พบวา่ ร้อยละประสิทธิภาพของการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู ร
ปฐมวยั พ.ศ. 2546 ตงั แตป่ ีการศกึ ษา 2557-2559 มแี นวโน้มสงู ขนึ

73
ผ ล ลัพ ธ์ ข อ ง ห ลัก สูต ร โ ด ย ก า ร ป ร ะ เ มิ น พัฒ น า ก า ร ร ะ ดับ ก่ อ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า นั ก เ รี ย น ร ะ ดับ ก่ อ น

ประถมศกึ ษาผา่ นเกณฑ์การประเมนิ พฒั นาการและมีพฒั นาดขี นึ ทกุ ด้านทกุ คน

ตารางที 7.1 ก - 1 แสดงร้อยละของผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ทีจบหลกั สตู รชนั อนบุ าลปีที 2

ทีได้ระดบั ดีขนึ ไป ปีการศกึ ษา 2557-2559

พฒั นา 2557 2558 2559

ด้านร่างกาย 86.19 92.38 96.28

ด้านอารมณ์ 98.33 99.55 99.80

ด้านสงั คม 99.16 99.55 99.87

ด้านสตปิ ัญญา 90.79 97.76 98.74

ผลลพั ธ์ของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั พนื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในระดบั ประถมศกึ ษา
ปีการศกึ ษา 2557-2559 จากการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนแยกตามโปรแกรม ดงั ภาพประกอบที 7.1 ก - 2

แผนภมู ิแสดงค่าร้อยละประสทิ ธภิ าพของการจดั การเรียนการสอนตามโปรแกรม
โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ ระดับประถมศกึ ษา ปี การศกึ ษา 2557-2559

86 85.37
84 83.66 83.75 85.22

82 82.54 83.08 83.21 ห้องเรียนปกติ
80

78 78.58 77.91 ห้องเรียน SMP
76

74

2557 2558 2559 ห้องเรียน MEP

ภาพประกอบที 7.1 ก - 2 แสดงคา่ ร้อยละประสทิ ธิภาพของการจดั การเรียนการสอนตามโปรแกรม
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ระดบั ประถมศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2557-2559

จากภาพประกอบที 39 พบวา่ ประสทิ ธิภาพของการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขนั พืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในระดบั ประถมศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2557-2559 ทีมีการจดั การเรียนการ
สอน 3 โปรแกรม คอื โปรแกรมห้องเรียนปกติ โปรแกรมห้องเรียนพิเศษสง่ เสริมศกั ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ (SMP) โปรแกรมโครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็น
ภาษาองั กฤษ (MEP) พบวา่ ร้อยละคา่ เฉลียทกุ กลมุ่ สาระมแี นวโน้มสงู ขนึ ทกุ โปรแกรม

74

แผนภูมแิ สดงค่าร้อยละผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน
ทไี ด้ระดับดขี นึ ไป

โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ ระดบั ประถมศกึ ษา ปี การศกึ ษา 2557-2559

100 98.93 97.82 ค่าเปา้ หมาย
99 ค่าร้อยละ
95 95
98 97.23
2558 2559
97
96
95 95
94
93

2557

ภาพประกอบที 7.1 ก - 3 แสดงคา่ ร้อยละผลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ระดบั ประถมศกึ ษา ในระดบั ดขี นึ ไป ปีการศกึ ษา 2557-2559

จากภาพประกอบที 7.1 ก – 3 พบวา่ ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน โรงเรียนอนบุ าล
ชยั ภมู ิ ระดบั ประถมศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2557 – 2559 มีจํานวนนกั เรียนทีได้ผลการประเมนิ ในระดบั ดขี นึ ไป
ร้อยละ 97.23 , 98.93 และ 97.82 ตามลาํ ดบั ซงึ มแี นวโน้มอย่ทู ีร้อยละ 95 ขนึ ไปทกุ ปี

แผนภมู แิ สดงค่าร้อยละผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ทไี ด้ระดับดีเยียม

โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ ระดับประถมศกึ ษา ปี การศกึ ษา 2557-2559

96 94.35 93.79 94.76

94

92 90 90 คา่ เปา้ หมาย
90 90 คา่ ร้อยละ

88

86

2557 2558 2559

ภาพประกอบที 7.1 ก – 4 แสดงคา่ ร้อยละผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรียน
โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ระดบั ประถมศกึ ษา ในระดบั ดีเยียม ปีการศกึ ษา 2557-2559

จากภาพประกอบที 7.1 ก – 4 พบวา่ ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน โรงเรียนอนบุ าล
ชยั ภมู ิ ระดบั ประถมศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2557 – 2559 มีจํานวนนักเรียนทีได้ผลการประเมินในระดบั ดีขนึ ไป
อยรู่ ้อยละ 94.35 , 93.79 และ 94.76 ตามลาํ ดบั ซงึ มีแนวโน้มอยทู่ ีร้อยละ 90 ขนึ ไปทกุ ปี

75

แผนภมู แิ สดงจาํ นวนนักเรียนตามระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษ
ของนักเรียน ตามกรอบมาตรฐาน CEFR ปี การศกึ ษา 2557 - 2559

80
60 62 59

40 29 27 787 001 000
20 19 26 38

1 A1 A2 B1 B1+ B2
0 2557 2558 2559

A0

ภาพประกอบที 7.1 ก - 5 แสดงจํานวนนกั เรียนตามระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั เรียน

ตามกรอบมาตรฐาน CEFR ปีการศกึ ษา 2557 – 2559

จากภาพประกอบที 7.1 ก - 5 พบว่า จํานวนนักเรียนตามระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของ

นกั เรียน ตามกรอบมาตรฐาน CEFR ปีการศกึ ษา 2557 มีนกั เรียนเข้าสอบ 117 คน จํานวนนกั เรียนได้เกณฑ์ระดบั

A0 A1 A2 B1 B1+ B2 มีจํานวน 19 62 29 7 0 และ 0 ตามลําดบั ปีการศกึ ษา 2558 มีนักเรียนเข้าสอบ

117 คน จํานวนนกั เรียนได้เกณฑ์ระดบั A0 A1 A2 B1 B1+ B2 มจี ํานวน 26 59 27 8 0 และ 0 ตามลําดบั

และในปีการศกึ ษา 2559 เป็นนกั เรียนห้องเรียน MEP มีนักเรียนทีสอบจํานวน 20 คน มีผ้สู อบผา่ นเกณฑ์ใน

ระดบั A2 และ B1 จํานวน 8 และ 7 คน ตามลําดบั

ผลลพั ธ์ด้านการจดั ทําโครงงานในระดบั ดีขนึ ตงั แตร่ ะดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 1-6 ปีการศกึ ษา 2557-

2559 พบวา่ แนวโน้มสว่ นใหญ่มีพฒั นาด้านการทําโครงงานดีขนึ

ตารางที 7.1 ก(1) - 1 แสดงร้อยละของโครงงานในระดบั ดี ของหลกั สตู รตา่ งๆ ปีการศกึ ษา 2557 - 2559

หลักสูตร 2557 2558 2559

ปฐมวยั 91.01 95.32 96.67

ห้องเรียนปกติ 70.42 73.20 75.38

ห้องเรียน SMP 82.45 87.38 89.39

ห้องเรียน MEP 72.45 78.59 82.49

ผลลพั ธ์ด้านการสือสาร 2 ภาษา พิจารณาจากรายวชิ าเพิมเติม คอื ภาษาองั กฤษเพิมเตมิ 2 และกลมุ่

สาระการเรียนรู้ภาษาไทยตงั แตร่ ะดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 1-6 ปีการศกึ ษา 2557-2559 พบวา่ แนวโน้มสว่ นใหญ่

มีพฒั นาด้านภาษาดีขนึ

76
ตารางที 7.1 ก(1) - 2 แสดงร้อยละของสอื สาร 2 ภาษา ในระดบั ดี ของหลกั สตู รตา่ งๆ ปีการศกึ ษา 2557 - 2559

หลักสูตร 2557 2558 2559

ปฐมวยั 79.34 80.27 81.79

ห้องเรียนปกติ 75.36 78.29 79.43

ห้องเรียน SMP 79.49 80.29 81.22

ห้องเรียน MEP 80.26 81.96 82.43

ผลลพั ธ์ด้านการสร้างสรรค์ผลงาน โดยพิจารณาเป็น 2 ระดบั คือระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา และ

ระดบั ประถมศกึ ษาโดยพิจารณาจากผลงานทีนกั เรียนแตล่ ะระดบั สร้างสรรคข์ นึ เมอื จบการศกึ ษาในแตล่ ะระดบั

พบวา่ คา่ เฉลยี ในการสร้างสรรคผ์ ลงานเพิมขนึ ทงั สองระดบั

ตารางที 7.1 ก(1) - 3 แสดงร้อยละของสร้างสรรค์ผลงาน ในระดบั ดี ของหลกั สตู รตา่ งๆ

ปีการศกึ ษา 2557 - 2559

หลักสูตร 2557 2558 2559

ปฐมวยั 73.68 78.27 80.31

ห้องเรียนปกติ 75.36 77.79 82.30

ห้องเรียน SMP 81.40 85.29 88.89

ห้องเรียน MEP 79.36 80.24 82.146

การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาขันพนื ฐาน ( NT)
ระดบั ชันประถมศกึ ษาปี ที 3 ปี การศกึ ษา 2557 - 2559 โรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ

70 56.75

60 58.53

48.79 48.58 49.89 45.4 50.61 44.45

50 39.78

40

30

20

10

0
2557 2558 2559

ด้ านภาษา ด้ านคํานวณ ด้านเหตผุ ล

ภาพประกอบที 7.1 ก – 6 แสดงการเปรียบเทียบผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาขนั พืนฐาน ( NT)
ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 3 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 (แยกรายด้าน) โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ
จากภาพประกอบที 7.1 ก – 6 พบวา่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาขนั พืนฐาน(NT)ระดบั ชนั
ประถมศกึ ษา ปีที 3 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 (แยกรายด้าน) โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ ด้านทีมีแนวโน้มสงู ขนึ
คือ ด้านเหตผุ ลและด้านภาษา

77

ภาพประกอบที 7.1 ก – 7 แผนภมู เิ ปรียบเทียบผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาขนั พืนฐาน (NT)
ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 3 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู กิ บั ระดบั ประเทศ

จากภาพประกอบที 7.1 ก – 7 พบวา่ ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาขนั พนื ฐาน (NT) ระดบั ชนั
ประถมศกึ ษาปีที 3 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ มคี า่ เฉลยี สงู กวา่ คา่ เฉลียระดบั ประเทศ

แ ผ น ภู มิ เ ปรี ย บเ ที ย บผ ล ก า ร ท ด สอ บร ะ ดั บช า ติ ขั น พื น ฐ า น ( O- N E T)
ร ะ ดั บชั น ปร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที 6 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 7 - 25 5 9
โ ร ง เ รี ย น อ นุ บา ลชั ย ภู มิ

ภ า ษ า ไ ท ย ค ณิ ต ศ า สต ร์ วิ ท ย า ศ า สต ร์ สั ง ค ม ศึ ก ษ า ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ ฉ ลี ย ร ว ม

ภาพประกอบที 7.1 ก – 8 แผนภมู เิ ปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั พืนฐาน (O-NET)
ระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที 6 ปีการศกึ ษา 2557 - 2559 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ

จากภาพประกอบที 7.1 ก – 8 พบว่า ผลการทดสอบระดบั ชาติขนั พืนฐาน (O-NET) ระดบั ชัน
ประถมศกึ ษา ปีที 6 ปีการศกึ ษา 2557 -2559 โรงเรียนอนบุ าลชยั ภมู ิ รายวิชาทีมีแนวแนวโน้มสงู ขนึ คือ
รายวิชาภาษาไทย รายวิชาทีมีคะแนนเฉลียปีการศกึ ษา 2557 สงู กว่าปีการศึกษา 2558 และลดลงในปี 2559
คอื รายวชิ า คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ รายวิชาทีมีแนวโน้มลดลง คือ รายวิชาสงั คมศึกษา
และเมือพิจารณาภาพรวมแล้วพบวา่ คะแนนเฉลียในปีการศึกษา 2558 สงู กว่าปีการศกึ ษา 2557 และลดลงใน
ปีการศกึ ษา 2559
47.46
53.48
57.64

45.11
55.83

48.55
45.47
45.55
44.22

55.69
50.72
49.52
42.58
51.08
42.63
47.26
51.33
48.51


Click to View FlipBook Version