เอกสารประกอบการสอน
ภูมศิ าสตรไ์ ทยเพอ่ื การทอ่ งเที่ยว
Thai Geography for Tourism
ปิยะภรณ์ ไพทยาภรณ์
บธ.ม. บริหารธรุ กิจมหาบัณฑิต (การจดั การการทอ่ งเทยี่ ว)
คณะวทิ ยาการจดั การ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
2559
สารบัญ ก
คำนำ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาภูมิศาสตร์ไทยเพ่ือการท่องเที่ยวเล่มน้ี ผู้เรียบเรียงจัดทา
ขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ
จดั การการท่องเท่ยี ว ทั้งน้ีเนื้อหาแบง่ ออกเปน็ 10 หวั ขอ้ มีการจดั การเรียนการสอนท้ังสิ้น 16 สัปดาห์
โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ความเข้าใจในภูมิศาสตร์ไทยเพ่ือการท่องเท่ียว ประกอบ
ด้วย ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับการท่องเท่ียวและทรัพยากรการท่องเที่ยว ความรู้เก่ียวกับภูมิศาสตร์
ธรรมชาติวิทยากับการท่องเที่ยว ทรัพยากรการท่องเท่ียวทางธรรมชาติของไทย มรดกโลกกับการ
ท่องเท่ียว อุทยานแห่งชาติกับการท่องเท่ียว การคมนาคมขนส่งกับการท่องเที่ยว การอนุรักษ์และ
พัฒนาทรัพยากรการท่องเท่ียว ปัจจัยในการวางแผนและการจัดการท่องเท่ียว และหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องกับการทอ่ งเที่ยว
ผู้เรียบเรียงมุ่งหวังว่าเอกสารประกอบการสอนวิชาภูมิศาสตร์ไทยเพ่ือการท่องเที่ยวเล่มน้ีจะ
เปน็ ประโยชน์และให้ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองเกี่ยวกับทรัพยากรการท่องเท่ียวของไทย แก่นักศึกษา
มคั คเุ ทศกแ์ ละผสู้ นใจ สามารถเรียนรูแ้ ละเขา้ ใจเนื้อหาต่างๆ อีกทั้งยังสามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้
ในธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และประกอบวิชาชีพต่อไปในอนาคต หากผู้อ่านมี
ขอ้ เสนอแนะ ผู้เรียบเรียงยินดีนอ้ มรับดว้ ยความขอบคุณในความอนเุ คราะหน์ นั้ มา ณ โอกาสนี้ด้วย
ปยิ ะภรณ์ ไพทยาภรณ์
มกราคม 2559
สารบญั ค
สารบัญ
หน้า
คานา ……………………………………………………………………….……………………………………………….. ก
สารบัญ ..................................................................................................................................... ค
สารบัญภาพ ......................................................................................................................... .... ฌ
สารบัญตาราง .......................................................................................................................... ฐ
แผนบริหารการสอนประจารายวิชา ....................................................................................... ฒ
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1 ……………………………………………………………………………. 1
บทท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเก่ียวกับการท่องเทย่ี วและทรัพยากรการทอ่ งเท่ยี ว ……………………. 3
ความหมายของการท่องเทย่ี ว …………………………………………………………………….... 3
ความสาคัญของการท่องเท่ยี ว ................................................................................ 7
องคป์ ระกอบการทอ่ งเทยี่ ว ..................................................................................... 10
สถานการณ์ท่วั ไปเกีย่ วกับการทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย ......................................... 13
รูปแบบการท่องเท่ียว ............................................................................................. 15
ทรพั ยากรการท่องเท่ยี ว .......................................................................................... 20
ความหมายของทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว ................................................................. 20
ลักษณะของทรัพยากรการท่องเทย่ี ว ...................................................................... 21
การจาแนกประเภทของทรัพยากรการท่องเท่ียว …………………………………………….. 26
บทสรปุ …………………………………………………………………………………………………….. 30
แบบฝึกหดั ท้ายบท ……………………………………………………………………………………... 31
เอกสารอ้างอิง …………………………………………………………………………………….……… 32
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 ........................................................................................ 33
บทที่ 2 ภมู ศิ าสตร์ไทย ........................................................................................................ 35
35
ความรูท้ วั่ ไปทางดา้ นภูมศิ าสตรก์ ารท่องเทีย่ ว …………………………………………......... 37
ภูมศิ าสตรป์ ระเทศไทย ........................................................................................... 40
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของไทย ................................................................................... 45
เทอื กเขาสาคัญในประเทศไทย …………………………………………………………………….. 47
แมน่ าลาธารในประเทศไทย …………………………………………………………………………. 50
ลักษณะฝ่ังทะเล เกาะ และอ่าวของประเทศไทย .................................................... 56
ลกั ษณะภูมอิ ากาศของประเทศไทย ........................................................................ 58
ฤดกู าลของประเทศไทย ......................................................................................... 60
ทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศไทย ......................................................................
ง สารบัญ
สารบัญ (ตอ่ )
หน้า
ลักษณะของประชากรในภมู ภิ าคตา่ งๆ ………………………………………………………….. 62
ลักษณะเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ......................................................................... 65
บทสรปุ …………………………………………………………………………………………………….. 68
แบบฝึกหดั ท้ายบท ……………………………………………………………………………………… 69
เอกสารอา้ งอิง ……………………………………………………………………………………………. 70
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3 …………………………………………………………………………….. 71
บทท่ี 3 ธรรมชาติวิทยากบั การท่องเทย่ี ว .......................................................................... 73
73
ลกั ษณะภมู ิประเทศกับการท่องเที่ยว ……………………………………………………………. 74
ลักษณะภมู ปิ ระเทศที่เกดิ จากการผนั แปรของเปลอื กโลกอนั เนื่องมาจากกรรมวิธี 80
การแปรโครงสร้าง .................................................................................................. 83
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศที่เกิดจากการผนั แปรของเปลอื กโลกอนั เนอ่ื งมาจากกรรมวิธี 91
ปรบั ระดบั ............................................................................................................... 96
ลักษณะภูมิประเทศท่ีเกิดจากการกระทาของนาใตด้ นิ ........................................... 98
ลักษณะภมู ปิ ระเทศท่ีเกิดจากการกระทาของนาทะเล ………………………….…………. 99
ลักษณะภูมิประเทศท่ีเกิดจากการกระทาของลม .................................................... 109
ลักษณะภมู ปิ ระเทศที่เกดิ จากการกระทาของธารนาแขง็ ....................................... 110
ภูมอิ ากาศกับการท่องเทีย่ ว ……………………………………………………………………....... 111
บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………..
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท ………………………………………………………………………………………
เอกสารอ้างอิง …………………………………………………………………………………………….
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 ........................................................................................ 113
บทท่ี 4 ทรัพยากรการท่องเท่ียวไทย ................................................................................. 115
115
ลักษณะภูมิประเทศและทรัพยากรทางการท่องเท่ยี วของไทย ………………………….. 119
ทรพั ยากรท่องเทย่ี วทางธรรมชาติของประเทศไทย ................................................ 121
ทรัพยากรท่องเท่ยี วทางธรรมชาติทสี่ ง่ เสริมการท่องเที่ยวทางทะเล ....................... 130
ทรัพยากรท่องเท่ียวทางธรรมชาติทส่ี ง่ เสริมการท่องเทย่ี วประเภทตา่ งๆ ................ 140
ลกั ษณะภูมิประเทศและทิวทัศนต์ ่างๆ .................................................................... 145
แหล่งท่องเทีย่ วบรเิ วณเขื่อนและอา่ งเก็บนา ........................................................... 147
บทสรปุ …………………………………………………………………………………………………….. 148
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท ……………………………………………………………………………………… 149
เอกสารอา้ งอิง …………………………………………………………………………………………….
สารบญั จ
สารบัญ (ตอ่ )
หน้า
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 ....................................................................................... 151
บทท่ี 5 มรดกโลกกับการท่องเที่ยว .................................................................................... 153
ความหมายและความเปน็ มาของมรดกโลก ……………………………………………………. 153
ขันตอนการพจิ ารณาคดั เลือกมรดกโลก ………………………………………………………… 156
ขนั ตอนการเสนอชอื่ ขนึ ทะเบียนเปน็ มรดกโลก ………………………………………………. 156
ขอ้ กาหนดและหลักเกณฑใ์ นการพิจารณาขึนทะเบยี นเป็นมรดกโลก ………………… 157
บทบาทของประเทศไทยกับคณะกรรมการมรดกโลก ……………………………………… 158
บทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการมรดกโลก …………………………………………….. 160
อนสุ ญั ญาคุ้มครองมรดกโลก ………………………………………………………………………… 160
มรดกโลกในอาเซยี น …………………………………………………………………………………… 161
บทสรุป …………………………………………………………………………………………………….. 184
แบบฝึกหัดทา้ ยบท ……………………………………………………………………………………… 185
เอกสารอา้ งอิง ……………………………………………………………………………………………. 186
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 6 ........................................................................................ 189
บทท่ี 6 อุทยานแห่งชาตกิ บั การท่องเที่ยว ......................................................................... 191
ความหมายของอุทยานแหง่ ชาติ …………………………………………………………………… 191
ความเป็นมาของอุทยานแหง่ ชาติประเทศไทย ………………………………………………… 192
แหล่งท่องเที่ยวบรเิ วณอุทยานแห่งชาติ ………………………………………………………… 195
การใช้ประโยชน์จากพืนที่ของอทุ ยานแหง่ ชาติ ....................................................... 201
อุทยานแห่งชาติในประเทศไทยท่ีนา่ สนใจต่อการท่องเทย่ี ว .................................... 205
ฤดกู าลกบั การท่องเทยี่ วบรเิ วณอุทยานแหง่ ชาติ …………………………………………….. 209
กิจกรรมทางการทอ่ งเที่ยวทีน่ ่าสนใจในเขตภเู ขาและอทุ ยานแหง่ ชาติ ................... 213
อทุ ยานแหง่ ชาติทางทะเลของไทย .......................................................................... 216
บทสรุป …………………………………………………………………………………………………..… 219
แบบฝึกหดั ท้ายบท ……………………………………………………………………………………… 220
เอกสารอ้างอิง ……………………………………………………………………………………………. 221
ฉ สารบัญ
สารบญั (ตอ่ )
หนา้
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 7 ....................................................................................... 223
บทที่ 7 การคมนาคมขนส่งทางการท่องเท่ียวไทย ............................................................ 225
ความหมายของการขนส่ง ....................................................................................... 225
องคป์ ระกอบของการคมนาคมขนสง่ …………………………………………………………….. 226
ระบบการขนส่ง ...................................................................................................... 228
การเลอื กใชพ้ าหนะในการเดนิ ทาง ......................................................................... 229
การขนส่งทางรถยนต์ .............................................................................................. 230
การขนส่งทางรถไฟ ................................................................................................ 238
การขนสง่ ทางนา ..................................................................................................... 244
การขนสง่ ทางอากาศ .............................................................................................. 250
บทสรุป …………………………………………………………………………………………………….. 257
แบบฝึกหดั ทา้ ยบท …………………………………………………………………………………….. 258
เอกสารอ้างองิ …………………………………………………………………………………………… 259
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 8 ....................................................................................... 261
บทท่ี 8 การอนรุ กั ษ์และพัฒนาทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยว ……………………………………... 263
263
ความหมายของการอนุรักษแ์ ละพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว ……………………..… 265
แนวทางของการอนรุ กั ษ์และพฒั นาทรัพยากรการท่องเทย่ี ว ……………………………. 268
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเทย่ี วทางธรรมชาติ .................................................. 271
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเท่ียวทางวฒั นธรรม ................................................ 275
กลยุทธ์ในการอนุรักษ์แหลง่ ท่องเท่ียว ..................................................................... 276
ผลกระทบในด้านตา่ งๆ ที่มาจากการท่องเทยี่ ว ...................................................... 279
ปญั หาและอปุ สรรคในการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาทรพั ยากรการทอ่ งเท่ยี ว ................... 287
บคุ คลท่ีเกย่ี วข้องกบั การอนุรักษ์และพฒั นาทรัพยากรการท่องเท่ียว ...................... 288
บทสรุป …………………………………………………………………………………………………….. 289
แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท ……………………………………………………………………………………… 290
เอกสารอ้างอิง …………………………………………………………………………………………….
สารบัญ ช
สารบญั (ตอ่ )
หน้า
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 9 ........................................................................................ 291
บทที่ 9 การวางแผนสาหรับการจัดการทอ่ งเที่ยว ............................................................. 293
ความหมายของการวางแผนจัดการท่องเท่ยี ว ......................................................... 293
การวางแผนการทอ่ งเท่ียวสาหรับนักทอ่ งเที่ยว และธุรกจิ ทางการท่องเท่ยี ว
............................................................................................................................... 293
การวางแผนท่องเทย่ี วสาหรับนักทอ่ งเท่ียว ............................................................. 294
การวางแผนการทอ่ งเทย่ี วในเชิงธรุ กจิ ท่องเที่ยว ..................................................... 297
การวางแผนการจดั การท่องเทีย่ วในเรอ่ื งการพัฒนาการท่องเทย่ี ว ......................... 300
โครงการท่ีเป็นไปได้ทางการท่องเที่ยว …………………………………………………………… 301
ความตอ้ งการในการวางแผนพฒั นาการท่องเทีย่ ว ………………………………………….. 303
แผนหลกั การท่องเทยี่ ว ......................................................................................... 304
การวางแผนการทอ่ งเท่ยี วในแหลง่ ท่องเที่ยวที่พฒั นาแลว้ ...................................... 306
บทสรปุ ……………………………..……………………………………………………………………… 315
แบบฝกึ หัดท้ายบท ……………………………………………………………………………………… 315
เอกสารอา้ งอิง ……………………………………………………………………………………………. 316
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 10 ..................................................................................... 317
บทที่ 10 หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องกบั การทอ่ งเท่ียว ................................................................. 319
องค์การภาครัฐทม่ี บี ทบาทต่อการทอ่ งเท่ยี วไทย ………………………………………..…… 320
องค์การภาครัฐทที่ าหน้าท่กี ากับดูแลและส่งเสริมการท่องเทยี่ วโดยตรง ................ 321
องค์การภาครัฐทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการท่องเทย่ี วด้านต่างๆ ............................................ 325
องค์การของรฐั ที่กากบั ดูแลดา้ นสิ่งอานวยความสะดวกด้านการทอ่ งเท่ียว ............. 328
องค์การของรัฐท่ีกากบั ดูแลดา้ นบริการและชว่ ยเหลือทางการท่องเท่ียว ................ 332
องค์กรของรฐั ทก่ี ากับดแู ลดา้ นสนิ คา้ ทางการท่องเทีย่ ว .......................................... 335
องค์การของรฐั ทก่ี ากับดูแลการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว .. 335
องค์กรภาคเอกชนท่มี บี ทบาทตอ่ การทอ่ งเทีย่ ว……………………………………………….. 335
บทสรปุ …………………………………………………………………………..………………………… 346
แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท ……………………………………………………………………………………… 347
เอกสารอา้ งอิง ……………………………………………………………………………………………. 348
บรรณานุกรม ........................................................................................................................... 349
ประวัตผิ ูเ้ ขียน .......................................................................................................................... 363
ซ สารบญั
สารบญั ฌ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1.1 องค์ประกอบการจดั การอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว………………………………………..……. 5
2.1 แผนทป่ี ระเทศไทย ………………………………………………………………………………………..… 39
2.2 แสดงลักษณะภูเขายอดตัด เพราะโครงสรา้ งของหินทราย ………………………………….... 45
2.3 แผนทีแ่ สดงฝงั่ ทะเลของประเทศไทย ……………………………………………………………….... 52
2.4 เกาะต่างๆ ของประเทศไทย ……………………………………………………………………………… 55
2.5 ชนเผา่ อาข่าหรอื อีกอ้ ……………………........................................................................... 63
2.6 ชนเผ่าภูไท หรอื ผูไ้ ท มถี น่ิ ฐานอยใู่ นภาคอีสานของประเทศไทย ............................... 64
3.1 การระเบิดของภเู ขาไฟเกดิ จากการปะทุของแมกมา แกส๊ และเถ้า
จากใต้เปลือกโลก…………………………………………………………………………………….…….... 75
3.2 เสาหินเหลี่ยม อาเภอเขาสมิง จงั หวัดตราด ………………………..………………………………. 77
3.3 ภูเขาไฟฟจู ิ ……………………………………………………………………………………………………… 77
3.4 หมูเ่ กาะปะการงั ประเทศมลั ดีฟส์ เป็นหมเู่ กาะปะการงั ที่เรียกวา่ อะโทล……………….. 79
3.5 เกาะพพี ี จังหวัดกระบ่ี……………………………………………………………………………………. 79
3.6 หมูเ่ กาะอา่ งทอง ……………………………………………………………………………………………… 79
3.7 นาตกแก่งโสภา อาเภอวังทอง จังหวดั พษิ ณโุ ลก …………………………………………..…… 81
3.8 แกง่ หนิ สามชนั จงั หวัดนครนายก ………………………………………….………………………… 82
3.9 สามพนั โบก (แกรนดแ์ คนยอนเมืองไทย) อาเภอโพธิ์ไทร จังหวดั อุบลราชธานี ………. 82
3.10 แพะเมืองผี จงั หวดั แพร่ ……..……………………………………………………………………………. 82
3.11 หนิ งอกหินย้อย ท่ีอุทยานแห่งชาติเขาสามรอ้ ยยอด อาเภอกุยบุรี
จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์……………………………………………………………………………………… 87
3.12 ถาพระยานคร อยใู่ นเขตอทุ ยานแห่งชาติสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ……… 87
3.13 เพงิ ผาภผู าแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี …………………………………………………………..…….. 87
3.14 ซ้มุ ประตูหินธรรมชาติท่ีเกาะไข่ อุทยานแหง่ ชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล …………………... 88
3.15 สสุ านหอย 40 ล้านปี อุทยานแห่งชาติหาดนพรตั น์ธารา จังหวัดกระบี่ …………………... 89
3.16 เกาะนางยวม อาเภอเกาะพงัน จงั หวัดสุราษฏรธ์ านี .................................................... 93
3.17 เกาะหนิ ชะลดู หรือเกาะเขาตะปู อทุ ยานแห่งชาติพังงา จงั หวดั พงั งา………………….….. 95
3.18 ปะการังในท้องทะเลไทย ………………………………………………………………………………..… 96
3.19 หนิ รูปช้าง ในรฐั แคลิฟอรเ์ นยี เกดิ จากการกระทาของลม ………………………………..…… 97
3.20 เนินทราย เกดิ จากลมพัดหอบทรายมากองรวมกนั ………………………………………………. 98
3.21 เขตภูมอิ ากาศตามการจาแนกเคปิ เปน ……………………………………………………………….. 102
3.22 การแบ่งเขตภูมอิ ากาศแบบเคิปเปน …………………………………………………………………… 102
ญ สารบัญ
สารบญั ภาพ (ตอ่ )
ภาพท่ี หนา้
4.1 พดื หินปะการัง ………………………………………………………………………………………………… 125
4.2 ปะการงั หนิ อ่อน ………………………………………………………..……………………………………. 125
4.3 หนอนดอกไม้ ………………………………………………………………………………………………….. 126
4.4 กัลปงั หา …………………………………………………………………………………………………..……. 126
4.5 พลบั พลงึ ทะเล ………………………………………………………………………………………………… 126
4.6 พะยนู ……………………………………………………………………………………………………………. 127
4.7 ลักษณะภมู ิประเทศหน่อหนิ ทรายตา่ งๆ ....................................................................... 143
4.8 ป่าหนิ งาน ………………………………………………………………………………………………..…….. 143
4.9 หนอ่ หนิ กลมุ่ เสาเฉลยี ง ……………………………………………………………………………..……… 143
4.10 ละลุ ............................................................................................................................. 144
4.11 หนิ เจดยี ์สมอง ……………………………………………………………………………………..…………. 144
4.12 แม่นาสองสี .................................................................................................................. 144
5.1 สัญลกั ษณข์ องยูเนสโก และ ตราสัญลักษณ์ของยเู นสโก ............................................. 154
5.2 ขันตอนการพิจารณาการขึนทะเบียนเปน็ มรดกโลก ..................................................... 157
5.3 ปราสาทพระวิหาร ประเทศกัมพูชา ........................................................................... 162
5.4 บูโรบูดูร์ (Borobudur) หรอื กลมุ่ วัดบโุ รพทุ โธ (Borobudur Temple
Compounds) ……………………………………………………………………………………………….. 163
5.5 ภาพแรดชวาท่ีอุทยานแหง่ ชาติอูจงู กูลอน .................................................................... 164
5.6 มงั กรโคโมโด อาศยั อยูใ่ นอทุ ยานแหง่ ชาติโคโมโด ....................................................... 165
5.7 อุทยานแห่งชาตโิ ลเรนซ์ (Lorentz National Park) ………………………………………….. 166
5.8 ปราสาทหนิ วดั พู แขวงจาปาศักด์ิ ประเทศลาว …………………………………………………. 168
5.9 โบสถค์ รสิ ต์ (Chirst Church) อาคารสตดั ธวิ ท์ (Stadhuys) อาคารดัตช์เก่าแก่ทสี่ ดุ ใน
มาเลเซยี ตังอยบู่ ริเวณจตั รสั แดง …………………………………………………………………….. 169
5.10 เดอะ พนิ นาเคิล ในอุทยานแห่งชาตกิ ูนุงมลู ู ……………………………………………………… 170
5.11 ภเู ขาคินาบาลู ประเทศมาเลเซยี ………………………………………………………………………. 170
5.12 เมืองโบราณพยู ประเทศพมา่ ……………………………………………………………………………. 171
5.13 รถม้าเท่านนั ทีอ่ นุญาตใหส้ ัญจรได้ เมืองประวัตศิ าสตร์วกี ัน ………………………………… 172
5.14 โบสถ์ซานอกสั ติน ในปาโออาย จงั หวัดอโิ ลโคสนอร์เต (San Agustin Church in
Paoay, Ilocos Norte) 1 ใน 4 ของโบสถบ์ าโรคแห่งฟิลปิ ปนิ ส์ ………………….………… 172
5.15 นาขนั บนั ไดในอิฟูเกา ฟลิ ปิ ปินส์ …………………………………………………………..…………… 173
5.16 อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์สโุ ขทัย ………………………………………………………………..………….. 175
5.17 วัตถโุ บราณคดีบา้ นเชยี ง ……………………………………………………………………..……………. 176
สารบญั ฎ
สารบญั ภาพ (ตอ่ )
ภาพท่ี หน้า
5.18 นาตกเหวสุวัต ในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาใหญ่ ………………………..……………………………….. 177
5.19 พระราชวงั เวห้ รอื วงั หลวงแหง่ เมอื งเว้ …………………………………………..……………………. 178
5.20 เมืองฮอยอนั …………………………………………..………………………………………………………. 178
5.21 ปราสาทหมีเซนิ ประเทศเวียดนาม ……………………………………..…………………………….. 179
5.22 ประตูดวาน โมน ในพระราชวังหวา่ ง แถ่ง ทัง ลอง ประเทศเวียดนาม ....................... 180
5.23 ประตหู ลกั ของป้อมปราการราชวงศ์โฮ ……………………………..……………………………….. 180
5.24 บรรยากาศของอา่ วฮาลอง ประเทศเวียดนาม ………………..…………………………………… 181
5.28 ถาซนั ดอง อยูใ่ นอุทยานแห่งชาติฟง งา-เค ปาง ......................................................... 182
5.26 บรรยากาศแหล่งภมู ิทศั นจ์ างอนั ประเทศเวียดนาม ................................................... 183
5.27 บางสว่ นของสวนกล้วยไม้แหง่ ชาติ (National Orchid Garden) ในสวน
พฤกษศาสตร์สิงคโปร์ ................................................................................................. 183
6.1 ดอกชมพูภคู า ............................................................................................................... 212
6.2 คา้ งคาวคุณกิตติ เปน็ คา้ งคาวท่มี ีขนาดเล็กทส่ี ุดในโลก พบท่ีอทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค . 212
6.3 ถ้าผามอื แดง จังหวดั มุกดาหาร ................................................................................... 212
6.4 เกาะสาเภา จงั หวัดกระบ่ี ........................................................................................... 213
6.5 เกาะนก จังหวดั กระบ่ี ................................................................................................ 213
6.6 แผนที่แสดงทตี่ ังอทุ ยานแหง่ ชาตทิ างทะเล .................................................................. 217
6.7 แผนท่ีแสดงที่ตังหาดทราย หม่เู กาะ และนาตก ภาคใต้ของประเทศไทย ..................... 218
7.1 บา้ นรถยนต์ (Motor car) ............................................................................................ 231
7.2 บ้านรถยนตข์ นาดใหญ่ (Motor car) ........................................................................... 231
7.3 ภายในบ้านรถยนต์ ....................................................................................................... 232
7.4 ภาพจาลองเสน้ ทางของทางหลวงเอเชียสาย 2 (AH2) ………………………..…………..…... 236
7.5 สัญลักษณท์ างหลวงพิเศษในไทย ................................................................................. 237
7.6 รถไฟฟ้าบีทเี อส ............................................................................................................ 240
7.7 รถไฟฟา้ City Line ...................................................................................................... 241
7.8 รถไฟฟ้า Express Line ............................................................................................... 241
7.9 ภาพรถไฟอีสเทิร์นแอนดโ์ อเรียนทัลเอก็ ซ์เพรส ............................................................ 243
7.10 หอ้ งรบั รองภายในรถไฟอีสเทิร์นแอนด์โอเรยี นทลั เอ็กซเ์ พรส ...................................... 243
7.11 ห้องพักภายในรถไฟอสี เทิรน์ แอนด์โอเรียนทลั เอก็ ซ์เพรส ............................................ 243
7.12 การบรกิ ารภายในรถไฟอสี เทิร์นแอนด์โอเรียนทลั เอก็ ซเ์ พรส ....................................... 244
7.13 เรอื สาราญโอเอซสิ ออฟเดอะซสี ์ ................................................................................... 246
7.14 เรอื สาราญอัลลัวรอ์ อฟเดอะซีส์ .................................................................................... 247
ฏ สารบญั
สารบญั ภาพ (ตอ่ )
ภาพท่ี หนา้
7.15 เรอื สาราญลเจนด์ออฟเดอะซีส์ แลน่ เรอื ในเอเชีย ....................................................... 247
7.16 เรือลอ่ งแม่นาของไทย เพอ่ื ชมวถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยขู่ องคนริมฝัง่ แม่นา ........................ 248
7.17 เรอื ล่องแม่นาเจ้าพระยา ดมื่ ด่าบรรยากาศยามคา่ คืน ................................................ 248
7.18 เรอื โดยสารข้ามระหวา่ งเกาะ (เกาะชา้ ง) ..................................................................... 249
7.19 เครอ่ื งบนิ ของบรษิ ัทการบินไทยสมายล์ ....................................................................... 256
7.20 หอบงั คับการบิน สนามบินสุวรรณภูมิ ......................................................................... 256
7.21 ภายในอาคารผู้โดยสารของสนามบนิ สวุ รรณภูมิ .......................................................... 256
8.1 เสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติอ่างกา .................................................................................... 269
8.2 ภาพขยะมูลฝอยท่ีถูกทิงตามชายทะเล ......................................................................... 270
8.3 เจ้าหนา้ ทใี่ นพระบรมมหาราชวงั กรุงเทพมหานคร ..................................................... 270
8.4 การบรู ณะปราสาทสด๊กก๊อกธม อาเภอโคกสงู จังหวัดสระแก้ว โดยกรมศลิ ปากร ...... 272
8.5 ขยะท่ีถกู ทงิ เกลื่อนในนาตก ......................................................................................... 278
8.6 ภาพเตา่ ทถ่ี ูกรัดจากเศษขยะท่ีนักทอ่ งเที่ยวทิงไว้ ......................................................... 279
8.7 การทอ่ งเท่ยี วแบบซาฟารี ............................................................................................ 279
สารบญั ฐ
ตารางที่ สารบญั ตาราง หน้า
3.1 108
4.1 รายชื่อพายุที่ก่อตวั ทางตะวนั ตกตอนบนและทะเลจนี ใต้มหาสมทุ รแปซิฟิก ….. 127
4.2 แหล่งท่องเทีย่ วในท้องทะเลไทย ………………………………………………………..……. 131
4.3 รายชอ่ื นาตกภาคกลาง ………………………………………………………….....…………… 132
4.4 รายชอ่ื ถาภาคกลาง .......................................................................................... 133
4.5 รายชอื่ นาตกภาคตะวันออก ............................................................................. 134
4.6 รายชื่อถาภาคตะวันออก .................................................................................. 136
4.7 รายชอ่ื นาตกภาคเหนือ ..................................................................................... 137
4.8 รายชอื่ ถาภาคเหนือ .......................................................................................... 137
4.9 รายชื่อนาตกภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ............................................................. 138
4.10 รายชื่อนาตกภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ............................................................. 139
4.11 รายชื่อนาตกภาคใต้ .......................................................................................... 139
5.1 รายชอ่ื ถาภาคใต้ ............................................................................................... 161
6.1 กลุม่ ประเทศในอาเซยี นที่ได้รับเลือกขึนทะเบียนมรดกโลก .............................. 196
6.2 อทุ ยานแห่งชาติภาคเหนือ ................................................................................ 198
6.3 อทุ ยานแห่งชาติภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ........................................................ 198
6.4 อุทยานแหง่ ชาติภาคกลาง ................................................................................ 199
6.5 อทุ ยานแหง่ ชาติภาคตะวันออก ........................................................................ 199
6.6 อุทยานแห่งชาติภาคตะวันตก .......................................................................... 200
6.7 อทุ ยานแหง่ ชาติภาคใต้ ..................................................................................... 202
6.8 อันดับอุทยานแห่งชาติท่ีมีนกั ท่องเทยี่ วมากทีส่ ดุ .............................................. 214
6.9 แหลง่ และฤดูการเทย่ี วชมดอกไมบ้ นลานหินทราย ........................................... 216
7.1 รายชื่ออทุ ยานแห่งชาตทิ างทะเล ...................................................................... 255
รายชื่อสายการบินที่ใหบ้ ริการในประเทศไทย ..................................................
แผนบริหารการสอนประจารายวิชา ฒ
แผนบริหารการสอนประจาวชิ า
รหสั วชิ า TM12304
รายวิชา ภมู ศิ าสตร์ไทยเพื่อการทอ่ งเท่ียว (Thai Geography for Tourism)
จานวนหนว่ ยกิต 3(2-2-5)
คาอธิบายรายวชิ า (Course Description)
ศึกษาสภาพทางการจัดการการท่องเท่ียว โดยคานึงถึงสภาพเก่ียวกับท่ีต้ังการเข้าถึงและ
เส้นทางคมนาคม สภาพทางธรรมชาติและการกาเนิดของแหล่งท่องเที่ยว สภาพทางด้านวัฒนธรรม
และประวัติของแหลง่ ท่องเที่ยว ประเภทของแหล่งทอ่ งเที่ยว ทรัพยากรการท่องเท่ียว การอนุรักษ์และ
พัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว ธรรมชาติวิทยา การท่องเท่ียวมรดกโลกกับการท่องเที่ยวอุทยาน
แห่งชาตไิ ทย องค์ประกอบที่เหมาะสมสาหรับการท่องเที่ยว สภาพบริการและหน่วยงานที่ดาเนินงาน
การทอ่ งเทยี่ ว การวางแผนงานสาหรบั การจัดการท่องเท่ียวและฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ (Course Objectives)
1. เพ่ือให้นักศกึ ษามีความร้คู วามเขา้ ใจในเรอื่ งทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี วของไทย
2. เพ่ือใหน้ ักศึกษามคี วามรู้ความเข้าใจในเรอื่ งภมู ิศาสตรป์ ระเทศไทย
3. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษามคี วามร้คู วามเข้าใจในธรรมชาตวิ ทิ ยาการกบั การทอ่ งเที่ยว
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในสภาพเกี่ยวกับที่ต้ัง การเข้าถึง และเส้นทาง
คมนาคม สภาพทางธรรมชาติ และการกาเนิดของแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และทางด้าน
วฒั นธรรม ตลอดจนประวตั ิของแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว
5. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแหล่งท่องเที่ยวท่ีเป็นมรดกโลก และอุทยาน
แหง่ ชาติ
6. เพอ่ื ให้นักศกึ ษามีความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ปจั จัยท่ีสง่ เสริมดา้ นการท่องเทีย่ ว
การอนุรักษแ์ ละพฒั นาทรัพยากรการทอ่ งเที่ยว และการวางแผนสาหรบั การจดั การการท่องเที่ยว
7. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้เก่ียวกับประเภทของแหล่งท่องเท่ียวองค์ประกอบที่เหมาะสม
สาหรับการท่องเทยี่ ว
8. เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษามีความรู้เก่ียวกับหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องกบั การทอ่ งเที่ยว
9. เพ่ือให้นักศึกษาสามารถเช่ือมโยงส่ิงต่าง ๆ ที่ได้ศึกษาให้สัมพันธ์กับสภาพบริการและ
หน่วยงาน ท่ดี าเนนิ งานการท่องเทีย่ ว และสามารถวางแผนงานสาหรับการจัดการทอ่ งเทีย่ ว
ณ แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า
เนอ้ื หา 8 ชั่วโมง
บทที่ 1 ความรทู้ วั่ ไปเก่ียวกับการท่องเทย่ี วและทรัพยากรการทอ่ งเที่ยว 8 ชว่ั โมง
ความหมายของการท่องเท่ยี ว
ความสาคัญของการท่องเทยี่ ว
องคป์ ระกอบการทอ่ งเทีย่ ว
สถานการณ์ท่ัวไปเก่ยี วกบั การท่องเทย่ี วในประเทศไทย
รูปแบบการท่องเท่ียว
ทรพั ยากรการท่องเทย่ี ว
ความหมายของทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี ว
ลักษณะของทรัพยากรการท่องเท่ียว
การจาแนกประเภทของทรพั ยากรการท่องเท่ียว
บทสรปุ
แบบฝึกหดั ทา้ ยบท
เอกสารอ้างองิ
บทท่ี 2 ภมู ิศาสตรไ์ ทย
ความร้ทู ่วั ไปทางดา้ นภมู ิศาสตรก์ ารท่องเที่ยว
ภูมศิ าสตรป์ ระเทศไทย
ลักษณะภูมิประเทศของไทย
เทือกเขาสาคัญในประเทศไทย
แมน่ ้าลาธารในประเทศไทย
ลักษณะฝัง่ ทะเล เกาะ และอา่ วของประเทศไทย
ลักษณะภูมอิ ากาศของประเทศไทย
ฤดูกาลของประเทศไทย
ทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศไทย
ลักษณะของประชากรในภมู ิภาคตา่ งๆ
ลักษณะเศรษฐกจิ ของประเทศไทย
บทสรุป
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท
เอกสารอา้ งอิง
แผนบริหารการสอนประจารายวิชา ด
เนอื้ หา (ตอ่ )
บทท่ี 3 ธรรมชาติวิทยากบั การท่องเทยี่ ว 8 ชั่วโมง
ลักษณะภมู ปิ ระเทศกบั การท่องเท่ียว
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศที่เกดิ จากการผันแปรของเปลือกโลกอันเนอ่ื งมาจากกรรม
วธิ กี ารแปรโครงสร้าง
ลกั ษณะภูมิประเทศท่ีเกิดจากการผันแปรของเปลือกโลกอันเนื่องมาจากกรรม
วธิ ปี รับระดับ
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศที่เกดิ จากการกระทาของนา้ ใต้ดิน
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ีเกิดจากการกระทาของนา้ ทะเล
ลักษณะภูมปิ ระเทศที่เกดิ จากการกระทาของลม
ลักษณะภมู ิประเทศทเี่ กดิ จากการกระทาของธารนา้ แขง็
ภมู ิอากาศกบั การท่องเที่ยว
บทสรปุ
แบบฝกึ หดั ท้ายบท
เอกสารอ้างอิง
บทที่ 4 ทรพั ยากรการท่องเท่ียวไทย 8 ชั่วโมง
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศและทรพั ยากรทางการท่องเท่ียวของไทย
ทรพั ยากรท่องเทย่ี วทางธรรมชาตขิ องประเทศไทย
ทรพั ยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาตทิ ี่ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วทางทะเล
ทรพั ยากรทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาติทีส่ ง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วประเภทตา่ งๆ
ลักษณะภูมิประเทศและทวิ ทัศนต์ า่ งๆ
แหล่งท่องเทยี่ วบริเวณเข่ือนและอา่ งเกบ็ น้า
บทสรุป
แบบฝกึ หดั ท้ายบท
เอกสารอ้างองิ
บทที่ 5 มรดกโลกกบั การท่องเท่ียว 4 ชวั่ โมง
ความหมายและความเป็นมาของมรดกโลก
ข้ันตอนการพจิ ารณาคัดเลอื กมรดกโลก
ขน้ั ตอนการเสนอชอ่ื ขึน้ ทะเบียนเป็นมรดกโลก
ข้อกาหนดและหลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาขึ้นทะเบยี นเป็นมรดกโลก
บทบาทของประเทศไทยกบั คณะกรรมการมรดกโลก
บทบาทและหนา้ ที่ของคณะกรรมการมรดกโลก
อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก
มรดกโลกในอาเซยี น
บทสรปุ
ต แผนบรหิ ารการสอนประจารายวิชา
เน้ือหา (ตอ่ ) 8 ชว่ั โมง
แบบฝึกหัดทา้ ยบท 4 ชั่วโมง
เอกสารอา้ งอิง 8 ชั่วโมง
บทท่ี 6 อทุ ยานแห่งชาตกิ บั การท่องเท่ียว
ความหมายของอุทยานแห่งชาติ
ความเป็นมาของอทุ ยานแห่งชาตปิ ระเทศไทย
แหล่งทอ่ งเท่ียวบรเิ วณอุทยานแหง่ ชาติ
การใช้ประโยชนจ์ ากพน้ื ที่ของอุทยานแหง่ ชาติ
อทุ ยานแห่งชาติในประเทศไทยทน่ี า่ สนใจตอ่ การท่องเที่ยว
ฤดกู าลกบั การท่องเทีย่ วบริเวณอทุ ยานแห่งชาติ
กจิ กรรมทางการทอ่ งเที่ยวทนี่ ่าสนใจในเขตภเู ขาและอุทยานแห่งชาติ
อทุ ยานแหง่ ชาตทิ างทะเลของไทย
บทสรปุ
แบบฝึกหัดท้ายบท
เอกสารอ้างองิ
บทท่ี 7 การคมนาคมขนสง่ ทางการท่องเที่ยวไทย
ความหมายของการขนส่ง
องค์ประกอบของการคมนาคมขนสง่
ระบบการขนส่ง
การเลอื กใช้พาหนะในการเดินทาง
การขนสง่ ทางรถยนต์
การขนสง่ ทางรถไฟ
การขนส่งทางนา้
การขนส่งทางอากาศ
บทสรุป
แบบฝกึ หดั ท้ายบท
เอกสารอา้ งองิ
บทที่ 8 การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาทรพั ยากรการทอ่ งเท่ียว
ความหมายของการอนุรักษ์และพัฒนาทรพั ยากรการท่องเท่ยี ว
แนวทางของการอนุรักษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว
การอนุรกั ษท์ รพั ยากรการทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ
การอนรุ ักษ์ทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี วทางวฒั นธรรม
กลยทุ ธ์ในการอนุรกั ษแ์ หลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
ผลกระทบในด้านตา่ งๆ ทม่ี าจากการท่องเท่ียว
ปญั หาและอุปสรรคในการอนรุ ักษ์และพัฒนาทรัพยากรการท่องเท่ยี ว
แผนบรหิ ารการสอนประจารายวิชา ถ
เน้ือหา (ตอ่ ) 4 ชวั่ โมง
บคุ คลท่เี ก่ียวข้องกับการอนุรักษ์และพัฒนาทรพั ยากรการทอ่ งเท่ยี ว 4 ชว่ั โมง
บทสรปุ
แบบฝกึ หดั ท้ายบท
เอกสารอ้างองิ
บทที่ 9 การวางแผนสาหรบั การจัดการการทอ่ งเท่ียว
ความหมายของการวางแผนจัดการท่องเท่ียว
การวางแผนการทอ่ งเทีย่ วสาหรับนกั ทอ่ งเทีย่ ว และธุรกิจทางการท่องเท่ยี ว
การวางแผนท่องเท่ยี วสาหรับนกั ทอ่ งเท่ียว
การวางแผนการทอ่ งเท่ียวในเชิงธรุ กจิ ท่องเทีย่ ว
การวางแผนการจัดการท่องเทย่ี วในเรือ่ งการพฒั นาการท่องเท่ยี ว
โครงการทีเ่ ปน็ ไปได้ทางการท่องเทยี่ ว
ความต้องการในการวางแผนการทอ่ งเทีย่ ว
แผนหลกั การท่องเทย่ี ว (Master Plan for Tourism)
การวางแผนการท่องเทยี่ วในแหลง่ ท่องเท่ียวทีพ่ ัฒนาแลว้
บทสรปุ
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท
เอกสารอา้ งองิ
บทที่ 10 หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้องกบั การทอ่ งเที่ยว
องค์การภาครฐั ท่มี บี ทบาทตอ่ การท่องเทยี่ วไทย
องค์การภาครฐั ทที่ าหน้าทก่ี ากบั ดูแลและส่งเสริมการท่องเท่ยี วโดยตรง
องค์การภาครัฐท่ีเก่ียวข้องกบั การท่องเท่ยี วด้านตา่ งๆ
องค์การของรัฐทีก่ ากบั ดูแลด้านสิง่ อานวยความสะดวกด้านการทอ่ งเทีย่ ว
องค์การของรฐั ที่กากับดูแลด้านบริการและชว่ ยเหลือทางการท่องเที่ยว
องค์กรของรัฐทกี่ ากบั ดูแลด้านสนิ ค้าทางการท่องเท่ียว
องค์การของรัฐทีก่ ากบั ดูแลการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม
ท่องเท่ียว
องค์กรภาคเอกชนทมี่ บี ทบาทต่อการทอ่ งเทยี่ ว
บทสรุป
แบบฝกึ หัดท้ายบท
เอกสารอ้างองิ
ท แผนบรหิ ารการสอนประจารายวชิ า
วธิ กี ารสอนและกิจกรรม 70%
1. การบรรยายและอธบิ ายประกอบ Power Point
2. การอธปิ รายตามหัวข้อกาหนดใหท้ ้ังแบบรายกลมุ่ และรายบุคคล 10%
3. การนาเสนอผลการอธิปรายหน้าชัน้ เรียนแบบรายกลมุ่ และรายบคุ คล
4. การจัดนทิ รรศการ 10%
5. ผสู้ อนสรปุ เนือ้ หาเพ่ิมเติม 10%
6. เชิญวทิ ยากรให้ความร้กู ารจดั การเรยี นการสอนในระดับชว่ งชัน้ ตา่ งๆ 10%
7. การศกึ ษานอกสถานท่ี 30%
30%
สอ่ื การเรียนการสอน 100%
1. เอกสารประกอบการสอน
2. แบบฝกึ หดั
3. เอกสารตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
4. สื่อวดี ทิ ศั น์ประเภทต่างๆ / โปรแกรมสาเรจ็ รปู
5. อนิ เทอร์เนต็
5 วารสาร จุลสาร บทความและหนงั สือพิมพ์ และสอื่ สง่ิ พิมพ์อนื่ ๆ
การวัดผลและประเมินผล
1. การวดั ผล
1.1 คะแนนระหวา่ งภาค
1.1.1 การมีส่วนรว่ มในช้ันเรียน
1) การเข้าชัน้ เรียน ความสนใจในการเรียน
1.1.2 ศกึ ษาคน้ คว้าในงานท่ไี ด้รบั มอบหมายการทารายงาน
2) อภปิ รายกลุ่มและนาเสนอหน้าช้นั เรียน
3) การทาแบบฝกึ หัดทา้ ยบท
4) การฝึกปฏบิ ตั ิออกภาคสนาม
5) การสอบกลางภาค
1.2 คะแนนปลายภาค
รวม
แผนบรหิ ารการสอนประจารายวชิ า ธ
2. การประเมินผล ไดร้ ะดับ A
เกณฑ์การใหร้ ะดับคะแนนแบ่งเป็น 8 ระดบั ไดร้ ะดบั B+
คะแนนระหวา่ ง 80 – 100 คะแนน ได้ระดบั
คะแนนระหวา่ ง 75 – 79 คะแนน ไดร้ ะดบั B
คะแนนระหวา่ ง 70 – 74 คะแนน ไดร้ ะดบั C+
คะแนนระหวา่ ง 65 – 69 คะแนน ไดร้ ะดับ
คะแนนระหว่าง 60 – 64 คะแนน ไดร้ ะดบั C
คะแนนระหว่าง 55 – 59 คะแนน ได้ระดบั D+
คะแนนระหวา่ ง 50 – 54 คะแนน
คะแนนระหว่าง 0 – 49 คะแนน D
E
บทท่ี 1 ความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกับการท่องเท่ยี วและทรัพยากรการท่องเทย่ี ว 1
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1
ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกับการท่องเทย่ี วและทรัพยากรการท่องเท่ยี ว
เวลาเรียน 8 ชวั่ โมง
หวั ข้อและเน้อื หาประจาบท
ความหมายของการท่องเทีย่ ว
ความสาคัญของการท่องเท่ยี ว
องคป์ ระกอบการท่องเทีย่ ว
สถานการณ์ทวั่ ไปเกย่ี วกับการท่องเท่ยี วในประเทศไทย
รูปแบบการทอ่ งเทีย่ ว
ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความหมายของทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว
ลักษณะของทรัพยากรการท่องเท่ยี ว
การจาแนกประเภทของทรพั ยากรการท่องเที่ยว
วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. เพ่ือใหผ้ ูศ้ ึกษาเขา้ ใจความหมายและความสาคญั ของการทอ่ งเที่ยว
2. เพื่อใหผ้ ู้ศกึ ษาเขา้ ใจองคป์ ระกอบการทอ่ งเทย่ี ว
3. เพือ่ ให้ผ้ศู กึ ษาเขา้ ใจสถานการณ์ทั่วไปเกยี่ วกบั การทอ่ งเทย่ี วในประเทศไทย
4. เพ่ือให้ผศู้ ึกษาเข้าใจและสามารถอธิบายในรปู แบบของการทอ่ งเที่ยว
5. เพ่ือให้ผศู้ ึกษาสามารถอธิบายความหมายทรัพยากรการท่องเท่ียว
6. เพื่อให้ผศู้ ึกษาสามารถอธิบายลกั ษณะของทรัพยากรการทอ่ งเท่ียว
7. เพ่ือใหผ้ ู้ศึกษาสามารถจาแนกประเภทของทรัพยากรการทอ่ งเท่ยี ว
วิธสี อนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบท
1. บรรยายสรุปเนอ้ื หา ยกตัวอย่างประกอบ การนาไปประยกุ ต์ใช้
2. การอภปิ รายร่วมกนั
3. การสนทนาซัก – ถาม การแลกเปลยี่ นความคิดเห็น
4. ทบทวนเนอื้ หาโดยแบบฝึกหดั
2 ภมู ศิ าสตร์ไทยเพอ่ื การท่องเที่ยว
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาน้ี
2. เอกสารทเ่ี กีย่ วข้องกบั การศกึ ษา (ทปี่ รากฏในเอกสารอา้ งอิง)
3. Power Point ท่ีนาเสนอการสอน
4. แบบฝึกหดั
การวดั และการประเมิน
1. การสังเกตความตั้งใจในการเรยี น
2. สงั เกตจากการเข้าช้นั เรยี น
3. การปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย
4. การทาแบบฝึกหัด
บทท่ี 1 ความรทู้ ่วั ไปเก่ียวกับการท่องเท่ียวและทรพั ยากรการทอ่ งเท่ียว 3
บทท่ี 1
ความรทู้ ่วั ไปเกี่ยวกบั การทอ่ งเท่ยี วและทรัพยากรการท่องเท่ียว
ปัจจุบันการท่องเท่ียวมีความสาคัญมากต่อระบบเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม และการ
ส่งเสริมความเข้าใจดีระหว่างนานาชาติ การท่องเท่ียวมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลายอย่างท่ี
ต้องมีความพ่ึงพาอาศัยกันจนแยกกันไม่ได้ เช่น เมื่อเดินทางออกจากบ้านก็ต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ
การคมนาคม ร้านอาหาร โรงแรม และแหล่งท่องเที่ยว หรือสถานท่ีอานวยความสะดวกอื่นๆ เพ่ือ
บริการแก่นักท่องเที่ยว การท่องเที่ยวจะมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการนาเอาทรัพยากรของ
ประเทศมาใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด และมีบทบาทในการสร้างสรรค์ความเจริญไปสู่ภูมิภาคต่างๆ เม่ือ
เกดิ การเดินทางจากภูมิภาคหนึ่งไปยงั อกี ภมู ภิ าคหน่งึ
ความหมายของการท่องเทีย่ ว
การท่องเที่ยว เป็นกิจกรรมการเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ซ่ึงนับต้ังแต่จุดเร่ิมต้น
จนถึงปลายทางจะต้องประกอบด้วยปัจจัยสามประการเป็นอย่างน้อย คือ การเดินทาง การพักค้าง
แรม และการกนิ อาหารนอกบ้าน
สหพันธ์องค์การส่งเสริมการท่องเท่ียวระหว่างประเทศ (International Union of Official
Organi-zation หรือ IUOTO) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยวว่า จะต้องเป็นการท่องเที่ยวท่ีมี
เง่ือนไข ตามหลักสากลดังตอ่ ไปนี้ คอื (นิศา ชชั กลุ , 2557)
1. ตอ้ งเป็นการเดนิ ทางจากท่ีอยูอ่ าศัยปกติไปยังที่อ่นื เป็นการช่ัวคราว
2. ตอ้ งเป็นการเดนิ ทางด้วยความสมคั รใจ
3. ต้องเป็นการเดินทางเพอื่ จุดประสงคใ์ ดๆ กต็ ามที่ไม่ใชเ่ พื่อประกอบอาชีพหรือหารายได้
สหพนั ธอ์ งค์การสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวระหว่างประเทศ (IUOTO) ได้เสนอบทนิยาม เพื่อให้ทุก
ประเภททั่วโลกรบั เอาไปใชอ้ ย่างเดียวกนั ในปี พ.ศ. 2506 องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมว่าด้วย
การเดินทางและการท่องเที่ยวระหว่างประเทศข้ึนท่ีกรุงโรม ประเทศอิตาลี และได้ให้คาจากัดความ
ของคาว่า การทอ่ งเทย่ี ว คือการเดนิ ทางเพือ่ ความบันเทิงริเริงใจ เย่ียมญาติหรือการไปร่วมประชุม แต่
มใิ ชเ่ พอ่ื การประกอบอาชพี เป็นหลักเปน็ ฐานหรือไปพานักอยู่เป็นการถาวร และยังได้ให้คาจากัดความ
ของคาตา่ งๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การท่องเท่ยี วคือ
1. ผู้มาเยือน (Visitors) หมายถึง บุคคลผู้ซ่ึงมา (หรือไป) ยังประเทศหนึ่งซึ่งไม่ใช่เป็นการ
อยู่อาศัยถาวร และไม่เป็นการไปประกอบอาชีพท่ีได้รับค่าจ้างตอบแทน เข้ามาอยู่อย่างน้อย 24
ชวั่ โมง และอยา่ งมากไมเ่ กิน 6 เดอื น
ในบทนิยามของสหพันธ์องคก์ ารส่งเสริมการท่องเท่ียวระหวา่ งประเทศ (IUOTO) ยังบญั ญัติ
ให้มี ผู้มาเยือน 2 ประเภท คือ นักท่องเท่ยี ว และนกั ทัศนาจร ดังนี้
4 ภมู ิศาสตร์ไทยเพอ่ื การทอ่ งเที่ยว
1.1 นักท่องเที่ยว (Tourists) คือ ผูม้ าเยือนชั่วคราวทม่ี าพักอาศยั อย่างน้อย 24
ชว่ั โมง ในประเทศท่ีไปเยือนและมเี หตจุ งู ใจในการเยือนดงั น้ีคอื
1.1.1 เพ่ือเป็นการพักผ่อน เพื่อความเพลิดเพลิน เพ่ือดูแลสุขภาพ เพ่ือการศึกษา
การกีฬา และการประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา
1.1.2 เพื่อการปฏิบัติภารกิจท่ีได้รับมอบหมายการปฏิบัติเกี่ยวกับครอบครัวและ
การประชุม
2. นักทัศนาจร (Excursionist) คือ ผู้ท่ีเดินทางมาเยือนชั่วคราว ที่เข้ามาอยู่ในประเทศ
เพียงวันเดียว และมิได้พักค้างคืน รวมทงั้ ผโู้ ดยสารพาหนะทางเรือประเภทเรือสาราญด้วย
สาหรับ “นักท่องเท่ียวภายในประเทศ” คือ นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางไปไหนก็ตามโดยใช้
เส้นทางท่ีมิได้ใช้อยู่เป็นปกติประจาวัน และมีระยะทางท่ีต่ากว่า 60 กิโลเมตร หรือออกไปนอกเขต
จังหวัดที่เป็นภูมิลาเนาของตน แต่ตามบทนิยามของประเทศสหรัฐอเมริกาถือว่าต้องมีระยะทาง 100
ไมล์หรอื มากว่า จากภมู ลิ าเนาของตน หรือมกี ารพักค้างแรมหนงึ่ คืน หรอื มากกวา่ หนงึ่ คนื
สาหรับหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู ได้กาหนดคานิยาม “นักท่องเท่ียว
ภายในประเทศ” ว่าหมายถึง คนไทยหรือคนต่างด้าวท่ีพักอยู่ในประเทศไทย และเดินทางจากจังหวัด
ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยปกติของตนไปยังจังหวัดอ่ืนๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการเดินทาง อะไรก็ตามท่ีไม่ใช่
การเดนิ ทางไปหารายได้ และระยะเวลาการพานกั ไม่เกิน 60 วนั
การท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทยได้ใหค้ าจากัดความตามที่องค์การการท่องเที่ยวโลกกาหนดขึ้น
ที่กรงุ โรม เป็นหลักในการจดบนั ทึกรวบรวมสถิติจานวน “นักท่องเที่ยวภายในประเทศ” หมายถึงชาว
ต่างประเทศท่เี ดินทางเข้ามาในประเทศไทยและพานักอยู่พักหน่ึงๆ ไม่น้อยกว่า 1 คืน และไม่มากกว่า
90 วนั โดยมวี ัตถปุ ระสงคใ์ นการเดินทางเพอื่
1. มาท่องเทย่ี ว พกั ผอ่ น มาเยีย่ มญาติ หรือมาเพื่อการพักฟ้นื
2. มารว่ มประชุมหรือเปน็ ตวั แทนของสมาคม ผู้แทนศาสนา กีฬา ฯลฯ
3. มาเพือ่ ตดิ ต่อธุรกจิ แต่ไม่ใช่มาทางานหารายได้
4. มากบั เรือเดินสมุทรท่แี วะจอด ณ ทา่ เรือ แม้ว่าจะแวะน้อยกว่า 1 คนื
ส่วนความหมายของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวตามพระราชบัญญัติการท่องเท่ียวแห่งประเทศ
ไทย พ.ศ. 2522 มาตรา 4 ระบุว่า “อุตสาหกรรมท่องเที่ยว” หมายความว่า อุตสาหกรรมที่จัดให้มี
หรือให้บริการเก่ียวกับการท่องเที่ยวทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักรโดยมีค่าตอบแทน และ
หมายความรวมถึง
1) ธุรกจิ นาเทย่ี ว
2) ธุรกิจโรงแรมนกั ท่องเท่ยี ว
3) ธุรกจิ ภัตตาคาร สถานบริการและสถานทตี่ ากอากาศสาหรับนกั ท่องเท่ียว
4) ธรุ กจิ การขายของทร่ี ะลึกหรอื สนิ คา้ สาหรับนกั ทอ่ งเที่ยว
5) ธรุ กจิ การกีฬาสาหรับนกั ท่องเท่ยี ว
6) การดาเนินงานนิทรรศการ งานแสดง งานออกร้าน การโฆษณาเผยแพร่ หรือการ
ดาเนินงานอ่ืนใดโดยมีความมุ่งหมายเพ่ือชักนาหรือส่งเสริมให้มีการเดินทางท่องเที่ยว (การท่องเที่ยว
แห่งประเทศไทย, 2557)
บทที่ 1 ความร้ทู วั่ ไปเกี่ยวกบั การท่องเทีย่ วและทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี ว 5
ภาพลกั ษณข์ องประเทศ นักทอ่ งเท่ยี ว/ผซู้ ้อื บรกิ าร ประโยชน์ต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ
เป็นแหลง่ ท่องเทย่ี วทมี่ คี ณุ ภาพและ 1. สรา้ งรายได้ให้ประเทศ
คุ้มค่าต่อการมาเยือน 2. กระจายรายได้ไปสู่ภมู ภิ าค
3. สง่ เสรมิ การจา้ งงาน สร้างอาชีพ
ประเทศไทย
(โรงงาน/อาณาบรเิ วณทน่ี ักทอ่ งเท่ยี วมาเยือน
)
วตั ถุดิบ กระบวนการผลิต ผลผลติ
ทรัพยากรทางการท่องเทยี่ ว ภาคเอกชน : ลงทนุ ประกอบการ สินค้าและบรกิ ารตา่ งๆ ทพ่ี รอ้ ม
ที่ดึงดดู ใหน้ ักท่องเทยี่ วมาชม 1. ธุรกจิ คมนาคมขนส่ง จะขายให้แกน่ ักท่องเทย่ี ว เชน่
มีหลายประเภท 2. ธุรกจิ ทพี่ กั แรม 1. การขนสง่ ทางอากาศ บก เรอื
1. ทรัพยากรทางธรรมชาติ ธุรกจิ อาหารและเคร่อื งดื่ม/ 2. โรงแรม
2. สถานทท่ี ่องเท่ยี วทาง ร้านอาหารและภตั ตาคาร 3. ภัตตาคาร
ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน 3. ธรุ กิจบริการนาเทย่ี วและ 4. กจิ กรรมนาเท่ยี วและ
และศาสนา มคั คเุ ทศก์ มัคคุเทศก์
3. ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี 4. ธุรกิจของทร่ี ะลึกและสินค้า 5. สนิ ค้าของที่ระลกึ
และกิจกรรมทจ่ี งั หวดั ต่างๆ พื้นเมือง 6. การจัดประชุม
จัดข้ึน 5. ธุรกจิ อื่นทเ่ี กย่ี วข้อง เชน่ การจดั 7. ร้านคา้ ปลอดภาษี
ประชุมนานาชาติ กฬี า สถาน 8. กฬี า สวนสนกุ แหลง่ บนั เทิง
บนั เทิงเริงรมย์ ตา่ งๆ
ภาครัฐ : สนบั สนุนและส่งเสริม
คณะรัฐบาล : ลงทุนโครงสรา้ ง
พ้ืนฐาน ออก / ปรับปรงุ กฎหมายที่
เอ้ือต่อการลงทนุ
หนว่ ยงานของรัฐ : ททท. ตม.
ตารวจท่องเทยี่ ว
ภาพที่ 1.1 องค์ประกอบการจดั การอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ยี ว
ที่มา : นศิ า ชัชกลุ , 2557 : 8
6 ภมู ิศาสตร์ไทยเพอื่ การทอ่ งเท่ียว
3. ลักษณะของอุตสาหกรรมการทอ่ งเที่ยว
อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว (Tourism Industry) นับว่าเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งใน
อุตสาหกรรมประเภทบริการท่ีมีการใช้วัตถุดิบ มีกระบวนการผลิต และมีผลผลิต ซ่ึงมีองค์ประกอบที่
เห็นได้ชัด 4 ประการคือ โรงงาน สินค้า ลูกค้า และการขนส่ง เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมท่ัวไป ซ่ึง
สามารถเปรียบเทียบไดด้ งั นี้
3.1 โรงงาน ซ่ึงจะเป็นที่ผลิตสินค้าของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้แก่ พื้นท่ีที่ใช้
ประกอบการในการผลิตสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียว พื้นที่ดังกล่าวอาจจะเป็นพื้นท่ีที่เตรียม
การผลิตหรือเป็นพ้ืนท่ีผลิตและจาหน่ายในจุดเดียวกัน เช่น ขายสินค้าและบริการด้านอาหารหรือ
เคร่ืองดื่มในโรงแรม จาเป็นต้องใช้พ้ืนท่ีเพื่อเตรียมวัตถุดิบประกอบอาหารและเครื่องด่ืม ขายอาหาร
และเครือ่ งด่มื ภายในโรงแรม
3.2 สินค้าหรือบริการ สินค้าในสายอุตสาหกรรมบริการอาจไม่จาเป็นท่ีจะต้องมีการ
เปล่ยี นกรรมสทิ ธ์เิ สมอไป ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีทั้งท่ีเปล่ียนกรรมสิทธิ์ได้ เช่น การซ้ืออาหาร
และเครื่องดื่ม การซ้ือขายสินค้าของท่ีระลึก แต่บางอย่าง เช่น ความสวยงามทางธรรมชาติ โบราณ
สถานฯลฯ เป็นความพึงพอใจและประสบการณ์ท่ีมอบให้แก่ผู้ซ้ือ (ในสายอุตสาหกรรมท่ัวไป สินค้า
เมื่อมีการตกลงซื้อขายกรรมสทิ ธ์ิย่อมจะตกเปน็ ของผ้ซู อื้ ) สาหรับสินค้าทางอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว
บางอย่างสามารถนามาขายแล้วขายอีกเรื่อยไป จึงนับว่าเป็นข้อได้เปรียบ ตัวอย่างสินค้าทางอุตสาห
กรรมการทอ่ งเทยี่ ว ได้แก่ทรัพยากรทางธรรมชาติท่ีสวยงาม เช่น ภูเขา ป่าไม้ สัตว์ป่า ชายทะเล สาย
ลม แสงแดด หรือทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น วัด พระราชวัง สวนสนุก โบราณสถานต่างๆ
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวกและบริการต่างๆ เช่น ถนนหนทาง
ไฟฟ้า นา้ ประปา ทพ่ี กั ร้านอาหาร
3.3 ผู้ช้ือ หรือลูกค้า ได้แก่ นักท่องเท่ียวทั้งในประเทศและต่างประเทศท่ีมาชม
บา้ นเมอื ง ธรรมชาติ ศิลปวฒั นธรรม หรอื พักผอ่ นหยอ่ นใจ
3.4 การขนส่งสินค้าและบริการ เป็นองค์ประกอบของอุตสาหกรรมทุกประเภท คือ
การขนส่ง ผู้ผลิตจะต้องส่งสินค้าไปให้ลูกค้า แต่ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลับตรงกันข้าม เพราะ
ทรัพยากรทางการท่องเท่ียวซ่ึงเป็นโรงงานวัตถุดิบและสินค้าในตัวเองพร้อมสรรพน้ันไม่สา มารถ
เคลอื่ นทไี่ ด้ ผ้ซู ือ้ หรือนักทอ่ งเท่ยี วจะต้องเดินทางไปซ้ือสินค้าหรือบริการน้ัน ณ แหล่งผลิตหรือโรงงาน
เอง ซ่งึ อาจจะไปโดย ทางบก ทางนา้ หรือทางอากาศ ตามความสะดวกของตัวนกั ท่องเทีย่ วเอง
การท่องเทย่ี วจึงเปน็ อุตสาหกรรมหนึง่ ในอตุ สาหกรรมบริการเป็นเร่ืองเศรษฐกิจของชาติ เป็น
อุตสาหกรรมบริการที่เก้ือหนุนภาคเศรษฐกิจอ่ืนๆ ทาให้เกิดธุรกิจอื่นๆ มากมาย เช่น ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจด้านภัตตาคาร ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจผลิตผลผลิตทางการเกษตร สินค้าเบ็ดเตล็ดอ่ืนๆ เม่ือมี
ธุรกิจต่างๆ ที่เข้ามาเก่ียวข้องเพ่ิมมากข้ึนจนเป็นอุตสาหกรรมที่มีค่าทางเศรษฐกิจ ภาครัฐบาลและ
เอกชนถือว่า การท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมท่ีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ มีคุณค่าเชิงการศึกษา เชิงสังคม
และเชิงวัฒนธรรม ซ่ึงได้มีการศึกษากันอย่างจริงจังในต่างประเทศจนถึงระดับปริญญาเอก ส่วนใน
ประเทศ หลายสถาบันมีการนาเอาวิชาการท่องเที่ยวมาบรรจุไว้ในหลักสูตร เพื่อสร้างผลประโยชน์ให้
เกดิ แกช่ าตแิ ละแก่ตนเอง
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกับการท่องเที่ยวและทรัพยากรการท่องเทย่ี ว 7
ความสาคัญของการท่องเทีย่ ว
การทอ่ งเท่ยี วมคี วามสาคญั มากเน่อื งจากทาใหเ้ กิดธุรกจิ หลายธุรกิจ ท่ีประกอบขึ้นมา มีธุรกิจ
ท่ีเก่ยี วข้องทัง้ ทรงตรงและทางอ้อม เพอื่ เตรียมการรองรับนักท่องเที่ยวท่ีเดินทางเข้ามาท่องเท่ียวไม่ว่า
จะเป็นชาวไทยหรือชาวต่างชาติ ซ่ึงจะเห็นว่าการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวของผู้คนเหล่านั้นได้ทาให้
ผู้คนมีงาน มีรายได้ ท้องถ่ินมีการนาเอาทรัพยากรท่ีมีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ มีการพัฒนาถนนหนทาง
ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยว เห็นได้ชัดเจนว่าการท่องเที่ยว
และอตุ สาหกรรมท่องเท่ยี วได้เขา้ มาเป็นกลไกลสาคัญในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจของประเทศ
การท่องเที่ยว ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค หลาย
ประเทศท่ัวโลกได้นาการท่องเท่ียวมาเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ สาหรับ
ประเทศไทยการทอ่ งเทยี่ วทารายได้เข้าประเทศเป็นมูลค่ามหาศาล ติดต่อกันมาเป็นเวลานานหลายปี
และมแี นวโน้มสูงขนึ้ เรือ่ ยๆ จะเห็นจากการเพ่มิ ขึ้นของรายได้จาก 760.9 พันล้านบาทในปี 2555 เป็น
870.3 พันล้านบาท และ 902 พันล้านบาทในปี 2556 และ 2557 ตามลาดับ นอกจากน้ียังส่งผลให้
ธุรกิจการผลิตสินค้าและบริการต่างๆ ที่เก่ียวข้องขยายตัว เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ซ่ึงได้แก่ธุรกิจ
โรงแรมและเกสต์เฮาส์ ที่พัก อาหารและเครื่องดื่ม การผลิตและค้าขายของที่ระลึก บริการรถเช่า
เป็นตน้ ธรุ กจิ ต่างๆ ยงั คงไดร้ บั ความนยิ ม และมกี ารแขง่ ขันสงู กอ่ ใหเ้ กิดการจ้างงานและยังเป็นกลไกที่
สาคญั ในการกระจายรายได้และความเจรญิ สภู่ ูมิภาคอกี ด้วย (สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ, 2559)
ด้านเศรษฐกิจนั้น กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาได้จัดทารายงาน
สถานการณ์การท่องเที่ยว โดยนาเสนอข้อมูลด้านรายได้ที่ได้รับจากการท่องเที่ยวปี 2558 โดย
ประเมินจากข้อมูลเบอื้ งต้น ณ วันท่ี 1 มกราคม 2559 พบว่าในปีที่ผ่านมา มีนักท่องเท่ียวต่างชาติเดิน
ทางมาเที่ยวไทยมากถึง 29.88 ล้านคน ขยายตัว 20.44% สร้างรายได้ 1.44 ล้านล้านบาทขยายตัว
23.53% ถือว่ามีการเติบโตสูงท่ีสุดเป็นประวัติการณ์ โดยเพิ่มขึ้นจากปี 2557 มากถึง 1.56 แสนล้าน
บาท ส่วนการเดินทางเที่ยวภายในประเทศ จากข้อมูลเบ้ืองต้น ประเมินว่าคนไทยเดินทางเที่ยวใน
ประเทศ 138.8 ล้านคนต่อคร้ัง สร้างรายได้ 7.9 แสนล้านบาท ส่งผลให้ในปี 2558 ประเทศไทยมี
รายได้จากการท่องเที่ยวอยู่ท่ี 2.23 ล้านล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายท่ีวางไว้ 2.20 ล้านล้านบาท เกิน
กว่าเปา้ หมายทว่ี างไว้ 3 หม่ืนล้านบาท
การเพ่ิมของจานวนนักท่องเท่ียวและการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวท่ีเพ่ิมมากขึ้น อันเนื่องมา
จากในปี พ.ศ. 2557 กระทรวงการท่องเท่ียวฯ มีมาตรการกระตุ้นให้นักท่องเท่ียวต่างชาติเดินทางมา
เทีย่ ว โดยการยกเว้นค่าธรรมเนียมวีซ่า สาหรับนักท่องเที่ยวบางประเทศ ทาให้มีจานวนนักท่องเท่ียว
หลั่งไหลเข้ามา จากมาตรการดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าภาครัฐให้ความสาคัญกับรายได้ท่ีมาจากการ
ท่องเที่ยวน่ันเอง ดังนั้นผู้เรียบเรียงจึงขอกล่าวถึงความสาคัญของการท่องเท่ียวและอุตสาหกรรม
ทอ่ งเทย่ี ว ดงั ตอ่ ไปน้ี
8 ภูมศิ าสตร์ไทยเพ่อื การท่องเทยี่ ว
1. ความสาคัญของการทอ่ งเทยี่ วท่ีมตี อ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ สรุปได้ดังนี้
1.1 การท่องเท่ียวดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ การลงทุนจากต่างประเทศทาให้เกิด
การเพ่มิ ปรมิ าณของกระแสเงินเข้ามาหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเกิดการกระจายรายได้เพิ่มขึ้น การ
ท่องเที่ยวสรา้ งความเจรญิ ใหก้ บั อตุ สาหกรรมอืน่ ๆ ภายในประเทศ เพื่ออานวยความสะดวกแก่นักท่อง
เทีย่ ว เช่น การคมนาคม สถานท่ีพัก การเกษตร การผลิตอาหารสาเร็จรูป การก่อสร้างท่ีเก่ียวข้องกับ
การท่องเที่ยว ร้านคา้ รา้ นอาหารต่างๆ ตลอดจนผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก เป็นต้น ทาให้ท้องถ่ินได้รับการ
พฒั นาด้านตา่ งๆ กอ่ ใหเ้ กิดความเจรญิ เติบโตเปน็ สังคมเมืองมคี วามเจริญทงั้ ระดบั ภมู ภิ าคและทอ้ งถ่นิ
1.2 การท่องเที่ยวช่วยลดปัญหาการขาดดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ รายได้จาก
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวสามารถนาไปช่วยภาวการณ์การขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงินของ
ประเทศใหน้ ้อยลงหรืออาจทาให้เกนิ ดุลก็ได้ อันเป็นการสง่ ผลใหเ้ กดิ ความมั่นคงทางเศรษฐกจิ
1.3. การท่องเท่ียวก่อให้เกิดการกระตุ้นในภาคผลิต เน่ืองจากเงินตราท่ีนักท่องเที่ยว
นามาจับจ่ายใช้สอยจะหมุนเวียนอยู่ในเศรษฐกิจของประเทศ กระตุ้นให้เกิดการผลิตและการนาเอา
ทรพั ยากรของประเทศมาใช้ให้เกดิ ประโยชนม์ ายิง่ ขน้ึ
1.4 การท่องเที่ยวช่วยสร้างอาชีพและการจ้างงาน เนื่องจากการท่องเที่ยวเป็นอุตสาห
กรรมของการบริการจึงต้องการแรงงานจากมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งการจ้างงานนั้นมีทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม ตัวอย่างการจ้างงานทางตรง ได้แก่ อาชีพในธุรกิจขนส่ง ธุรกิจที่พักแรม ธุรกิจร้านอาหาร
ธุรกิจจาหน่ายสินค้าที่ระลึก เป็นต้น ส่วนการจ้างงานทางอ้อมได้แก่ อาชีพทางเกษตรกรรมซ่ึงเป็น
แหล่งผลิตอาหาร อาชีพหัตถกรรมซ่ึงเป็นแหล่งผลิตของฝากและของท่ีระลึก งานธนาคาร ช่างถ่าย
ภาพ ร้านเสริมสวย เป็นต้น ถือได้ว่าเป็นการสร้างอาชีพให้กับผู้คนอย่างมากมายและช่วยลดปัญหา
การว่างงานของประเทศอีกดว้ ย
ไม่เพียงทางด้านเศรษฐกิจเท่าน้ันท่ีการท่องเที่ยวมีความสาคัญ แต่ยังมีความสาคัญต่อสังคม
และการเมืองของประเทศ อีกท้ังยังมีเร่ืองของวัฒนธรรมและประเพณี ซึ่งผู้เรียบเรียงขอนาเสนอดังน้ี
2. ความสาคัญของการท่องเท่ยี วทีม่ ีต่อสังคมและการเมอื งของประเทศ สรุปได้ดังน้ี
2.1 การท่องเท่ียวเป็นสิ่งที่ทาให้บุคคลและสังคมเกิดความพึงพอใจทาให้ผู้คนได้ผ่อน
คลายจากความเหน็ดเหนื่อยเม่ือยล้า จากสิ่งท่ีได้ปฏิบัติมา ทาให้สุขภาพทางกายและจิตใจสดชื่นดีขึ้น
พร้อมท่ีจะกลับไปเผชิญกบั ภารกจิ ตา่ งๆ และการดาเนินชีวติ ต่อไปได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
2.2 การท่องเที่ยวนามาซึ่งการเรียนรู้ สร้างความเข้าใจอันดีและความเคารพซึ่งกันและ
กันระหว่างชนชาติและสังคมต่างๆ การเดินทางท่องเท่ียวทาให้ผู้คนที่แตกต่างกันกันในถิ่นที่อยู่อาศัย
ภาษาและวัฒนธรรมไดพ้ บปะสร้างสัมพันธ์ไมตรีต่อกัน ทาให้ผู้คนท่ีแตกต่างกันเหล่านั้น มีความเข้าใจ
ซึ่งกันและกนั เกดิ มติ รภาพท่ดี ีระหว่างคนในประเทศและเพอื่ นรว่ มโลก
2.3 การท่องเที่ยวทาให้เกิดการนาเอาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทาให้เกิดมูลค่า
และคณุ คา่ ทง้ั ทรัพยากรบุคคล ทรพั ยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมและทรัพยากร
อื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องรวมถึงมีบทบาทสนับสนุนในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปะ
วัฒนธรรมของคนในชมุ ชนตา่ งๆ ให้คงอยู่ตอ่ ไปอยา่ งยัง่ ยืน ชุมชนจะตระหนักถึงความสาคัญของมรดก
ทางวัฒนธรรม นาไปสู่ความรัก ความภาคภูมิใจและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของ
ชาติสืบไป
บทที่ 1 ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกบั การทอ่ งเทีย่ วและทรัพยากรการทอ่ งเทยี่ ว 9
2.4 การท่องเท่ียวนามาซ่ึงการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและสิ่งอานวยความ
สะดวกต่างๆ อาทิ ถนนหนทาง ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบส่ือสาร ระบบโลจิสติกส์เช่ือมโยงการเดิน
ทางทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ทาใหน้ ักท่องเท่ียวและประชาชนได้รับความสะดวกสบาย
ในการดาเนินชวี ิต ถอื วา่ เป็นการยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของประชาชนได้
2.5 การท่องเที่ยวทาให้เกิดการพัฒนาด้านการศึกษาค้นคว้า ไม่ว่าจะเป็นศึกษาค้นคว้า
วิจัยเกี่ยวกับประเด็นทางประวัติศาสตร์ ชาติพันธ์ ศิลปะ วัฒนธรรม วิถีชีวิต สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร
ทางธรรมชาติ และนามาผลิตเป็นสื่อส่ิงพิมพ์หรืออ่ืนๆ นาไปสู่การกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการ
ทอ่ งเท่ียว นอกจากนยี้ งั มีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทั้งสัตว์ป่า
ปา่ ไม้ สตั ว์นา้ เพอ่ื ประโยชน์ในการอนุรักษใ์ ห้คงอยู่ตอ่ ไป
2.6 การท่องเท่ียวเป็นส่วนสาคัญในการสร้างความเชื่อมั่นในด้านความมั่นคงให้นานา
อารยประเทศใหร้ บั รูแ้ ละเข้าใจภาพลกั ษณท์ ดี่ ขี องประเทศ
2.7 การท่องเท่ียวสง่ เสริมให้เกิดการพฒั นาโดยการมีสว่ นร่วมของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
ชุมชนและท้องถิ่น อันจะทาให้เกิดการบูรณาการทรัพยากรการท่องเที่ยวและสาธารณูปโภคไปใน
ทศิ ทางท่ีถกู ต้องและตรงตามความต้องการของท้องถิ่นอย่างแท้จริง และยังทาให้คนในท้องถ่ินมีความ
ภาคภมู ิใจท่ีเปน็ บคุ คลท่ีมคี ณุ คา่ ในการเป็นผมู้ ีส่วนผลกั ดันในการสรา้ งความเจริญให้กบั ท้องถนิ่ ของตน
3. ความสาคัญของการท่องเทยี่ วทมี่ ตี ่อศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณี สรุปไดด้ ังนี้
3.1 การท่องเที่ยวมีส่วนสาคัญในการสร้างความภูมิใจให้แก่ประชาชนที่อยู่ในพ้ืนที่ท่ีมี
ทรพั ยากรการทอ่ งเท่ียวที่ชื่อเสียงเป็นทรี่ ู้จักและยอมรบั ของคนท่ัวโลก ย่อมนามาซึง่ ความภาคภูมิใจให้
คนในพนื้ ท่ี
3.2 การทอ่ งเทยี่ วเปน็ ส่ือนาในการเผยแพร่และแลกเปล่ียนวัฒนธรรม เจ้าของท้องถิ่นก็
จะตระหนกั ถึงความสาคัญของมรดกทางศลิ ปวฒั นธรรม และช่วยกนั ฟน้ื ฟแู ละอนรุ ักษ์ไว้
3.3 การท่องเท่ียวแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ประเภท ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี สะท้อนให้เห็นคุณค่า ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ีลึกล้า เช่น
สถาปัตยกรรมอนั ประณตี งดงาม กส็ รา้ งความเปน็ เอกลกั ษณ์และอตั ลกั ษณ์ให้แก่สถานทน่ี ั้นๆ
3.3 การท่องเท่ียวมีส่วนช่วยในการส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่น และฟื้นฟู เทศกาลงานประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่ เช่น งานบุญพื้นบ้าน งานประเพณีพื้นเมือง
ในรอบปี (12 เดอื น)
3.4 การท่องเที่ยวมีส่วนช่วยในการส่งเสริมหัตถกรรมงานช่างฝีมือของท้องถ่ิน ใช้เวลา
ว่างจากงานประจา เพื่อผลิตของท่ีระลกึ สาหรบั จาหน่ายเปน็ รายไดเ้ สรมิ ให้กับนักทอ่ งเที่ยว
จะเห็นได้ว่าการท่องเท่ียวและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีบทบาทสาคัญอย่างย่ิงต่อการ
พัฒนาในด้านต่างๆ ของประเทศไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม ศิลปวัฒนธรรมและ
ประเพณี ผลจากการท่องเที่ยวจะทาให้ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องได้รับประโยชน์อย่างกว้างขวาง ดังนั้น
ในการผลักดันการทอ่ งเทีย่ วให้เปน็ กลไกสาคญั ในการขบั เคล่ือน จึงต้องมาจากความร่วมมือของบุคคล
จากทุกภาคส่วนอย่างเต็มกาลังความสามารถเพ่ือให้การท่องเท่ียวเป็นกลไกท่ีสร้างประโยชน์แก่
ทอ้ งถนิ่ และประเทศชาติต่อไป
10 ภูมิศาสตรไ์ ทยเพอ่ื การทอ่ งเท่ียว
องค์ประกอบการทอ่ งเท่ยี ว
การท่องเที่ยวประกอบด้วยองคป์ ระกอบหลกั ท่ีสาคัญได้แก่ นกั ท่องเท่ียว ทรัพยากรท่องเที่ยว
ธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ประชาชนในท้องถ่ิน และองค์กรด้านการท่องเที่ยว นอกจากนี้องค์
ประกอบอื่นท่ีช่วยสนับสนุนการท่องเท่ียวให้ประสบความสาเร็จ เช่น ข้อมูลทางการท่องเที่ยว ความ
ปลอดภัยและการอานวยความสะดวกในการเข้าเมือง โครงสร้างพ้ืนฐาน และการสนับสนุนจาก
หน่วยงานด้านการท่องเที่ยวองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยว ได้แก่ นักท่องเที่ยว ทรัพยากร
ทอ่ งเทยี่ ว ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียว ประชาชนในท้องถิ่น และองค์กรด้านการท่องเท่ียว(ศรัญยา
วรากุลทิพย์,2558) รายละเอียดดงั น้ี
1. นักท่องเที่ยว (Tourist) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญท่ีสุดของการท่องเที่ยวการศึกษาถึง
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของนักท่องเที่ยว ซึ่งจะเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการทาความเข้าใจ
นักท่องเท่ยี วและเป็นประโยชนเ์ ชิงการตลาด จาแนกเปน็
1.1 ลกั ษณะของเพศ พบว่าโดยท่ัวไปนักท่องเท่ียวชายเป็นกลุ่มท่ีมีการเดินทางมากกว่า
นักทอ่ งเทย่ี วหญิง
1.2 อายุ พบว่าบุคคลท่ีมีช่วงอายุแตกต่างกันจะมีความสามารถในการเดินทางต่างกัน
และกลุ่มวัยทางานตอนต้นท่ีมีอายุระหว่าง 25-34 ปีเป็นกลุ่มท่ีมีศักยภาพในการใช้จ่ายเงินได้สูงสุด
กลมุ่ วัยนี้จะมีการเดนิ ทางท่องเที่ยวมากกว่ากลุ่มวัยอื่น เนื่องจากมีรายได้เป็นของตนเอง และเลือกทา
กิจกรรมได้หลายอย่าง
1.3 อาชีพ พบว่ากลุ่มคนทางานในอาชีพระดับสูงมีโอกาสเดินทางมากกว่ากลุ่มอ่ืน
เพราะมที นุ ทรพั ยม์ ากกว่า
1.4 ระดับรายได้ กลุ่มบุคคลที่มีรายได้สูงหรือกลุ่มระดับบนมีโอกาสเดินทางไกลและ
บ่อยคร้งั กวา่ บุคคลอนื่
1.5 ระดบั การศกึ ษา เป็นตวั แปรท่สี อดคล้องกบั อาชีพและรายได้ บุคคลที่มีการศึกษาสูง
มกั มอี าชพี และรายไดด้ ี จึงมีโอกาสเดินทางบ่อยกวา่ กล่มุ อน่ื
1.6 สถานภาพสมรส กล่มุ คนโสดมโี อกาสเดินทางไดบ้ อ่ ยครัง้ และลาพักได้นานกว่ากลุ่ม
ทีแ่ ต่งงานแล้ว
1.7 ถนิ่ พานัก บุคคลท่ีอยู่ในสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมท่ีต่างกันย่อมมีความต้องการ
เลอื กแหลง่ ท่องเทยี่ วทแ่ี ตกต่างกนั
นอกจากน้ียังควรคานึงถึงการกระจายตัวของนักท่องเที่ยววัตถุประสงค์หลักของการเดินทาง
เชน่ เพื่อพักผ่อน เพ่ือธรุ กิจ เพอื่ เยี่ยมญาติกิจกรรมต่างๆ ของนักท่องเที่ยว ฤดูกาลท่องเท่ียว เพ่ือเป็น
ข้อมูลในการส่งเสริมการตลาดในช่วงฤดูกาลท่องเท่ียว (High Season/Perk Season) หรือนอก
ฤดูกาลท่องเที่ยว (Low Season/Promotional Season) รวมท้ังรูปแบบการจัดการเดินทาง เช่น
การท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ (Group Inclusive Traveler - GIT) หรือจัดการท่องเที่ยวเอง (Foreign
Independent Traveler - FIT)
บทท่ี 1 ความร้ทู วั่ ไปเก่ยี วกบั การทอ่ งเทีย่ วและทรพั ยากรการท่องเท่ียว 11
2. ทรัพยากรการท่องเที่ยว (Tourism Resources) หมายรวมถึง สถานที่ กิจกรรมและ
วัฒนธรรมท่ีสามารถดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้โดยท่ัวไปทรัพยากรทางการท่องเที่ยว มี 2
ลกั ษณะ ได้แก่
2.1 ทรัพยากรท่องเที่ยวท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มักเป็นสิ่งดึงดูดความต้องการ
พื้นฐานของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ เช่น น้าตก ภูเขา แม่น้า ทะเล ป่าไม้ สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิ
ประเทศ ฯลฯ
2.2 ทรัพยากรท่องเที่ยวท่ีมนุษย์สร้างข้ึน หมายรวมถึง ทรัพยากรท่องเท่ียวทาง
ประวัติศาสตร์ ท่ีมีการถ่ายทอดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ผ่านโบราณสถาน โบราณวัตถุ ทรัพยากร
ท่องเท่ียวดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม เทศกาล งานประเพณี วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในท้องถ่ิน ภูมิ
ปัญญา อัธยาศัยไมตรี และทรัพยากรท่องเที่ยวด้านความบันเทิงและความเพลิดเพลิน เหมารวมถึง
สงิ่ ก่อสร้างทม่ี นุษยส์ ร้างขึ้นแบบสมัยใหม่
3. ธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว (Tourism Businesses) เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการ
ผลติ สินคา้ และบรกิ ารเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของนักท่องเทยี่ ว ประกอบด้วย 6 ธุรกจิ หลักได้แก่
3.1 ธุรกิจท่ีพักแรม ท่ีพักแรมเป็นส่ิงอานวยความสะดวกที่ตอบสนองความต้องการ
พื้นฐานของนกั ท่องเทย่ี วในการพักผ่อนระหว่างการเดินทางไกลจากทีพ่ านกั การเสนอบริการท่ีพักแรม
โดยทั่วไปตอ้ งคานงึ ปจั จัยพืน้ ฐานทสี่ าคัญ เชน่ ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์ของผูพ้ ัก ความสะอาด
และสุขอนามัยในสถานท่ีพัก ความสะดวกสบายจากบริการสิ่งอานวยความสะดวกที่หลากหลายและ
สนองต่อความต้องการของผู้พักกลุ่มต่างๆ ความเป็นส่วนตัวบรรยากาศการตกแต่งที่สวยงาม และ
ภาพลกั ษณข์ องกิจการ
3.2 ธรุ กจิ นาเท่ยี วเปน็ ธุรกิจทเ่ี กยี่ วข้องกับนักท่องเท่ียวโดยตรง และมัคคุเทศก์ทาหน้าที่
ให้ความรู้ และเปรียบเสมือนทูตเชื่อมความสัมพันธ์ และความเข้าใจระหว่างนักท่องเท่ียวกับแหล่ง
ท่องเทยี่ ว
3.3 ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม เป็นธุรกิจท่ีให้บริการสินค้าบริโภคพ้ืนฐานท่ีจาเป็น
สาหรบั นกั ท่องเที่ยว ธรุ กจิ ประเภทน้ีจาเป็นต้องคานึงถงึ คุณภาพอาหารท่ีสะอาด ถูกหลักอนามัย และ
ราคาเหมาะสมกบั คุณภาพ
3.4 ธุรกิจจาหน่ายสินค้าและของท่ีระลึก เป็นที่จาหน่ายสินค้าท่ีระลึกแก่นักท่องเท่ียว
บางแหง่ จะผลิตสนิ คา้ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะพ้ืนที่ไว้จาหน่าย เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นเอกลักษณ์และมี
คุณค่าในตัวผลติ ภัณฑ์
3.5 ธุรกิจคมนาคมขนส่ง เป็นธุรกิจท่ีสาคัญในการนานักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเท่ียว
ท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ การขนส่งผู้โดยสารสามารถขนส่งได้ทั้งทางอากาศ ทางบก
และทางนา้ ท้ังน้ีการคมนาคมเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวที่มีความสะดวกรวดเร็ว และปลอดภัยย่อมส่งผลดี
ต่อการท่องเทยี่ ว
3.6 ธุรกิจนันทนาการ เป็นการประกอบธุรกิจท่ีสร้างความเพลิดเพลินแก่นักท่องเที่ยว
ประกอบดว้ ยธรุ กจิ สวนสนกุ ที่มีเครอื่ งเล่น ธรุ กจิ บันเทงิ ของสถานบันเทิง เช่น ไนท์คลับ และธุรกิจการ
กฬี าเพ่อื การทอ่ งเท่ียว
12 ภมู ิศาสตรไ์ ทยเพ่อื การท่องเท่ยี ว
4. ประชาชนในท้องถิ่น (Local People) ความพร้อมของชุมชนและประชาชนในท้องถ่ิน
เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การดูและและการจัดการการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเท่ียวเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว และสร้างความสาเร็จให้กับชุมชน ในหลาย
พน้ื ที่ชมุ ชนมีฐานะเป็นเจ้าของแหล่งทอ่ งเท่ียวมีบทบาทในการกาหนดทิศทางในการพัฒนาด้วยตนเอง
ซ่ึงชุมชนหลายแห่งมีจุดเด่นในเรื่องของการมีวัฒนธรรมชุมชนท่ีเข้มแข็ง มีกระบวนการการทางาน
ร่วมกันแบบมีส่วนร่วมของทั้งชุมชน ประชาชนในท้องถ่ิน และหน่วยงานท่ีให้การสนับสนุนด้านการ
ทอ่ งเท่ียวในชุมชน
5. องค์กรด้านการท่องเท่ียว (Tourist Organization) เป็นกลไกที่สาคัญอย่างหนึ่งท่ี
สนับสนุนให้การท่องเที่ยวของประเทศต่างๆ ขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรด้านการ
ท่องเที่ยวมีบทบาทในการกากับดูแล ส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมท้ังประสานความร่วมมือด้านการ
ท่องเท่ียว เช่น การกาหนดนโยบาย และกลยุทธ์ด้านการท่องเท่ียวเชิงรุกเพ่ือรองรับกับการเติบโต
อยา่ งรวดเรว็ ของการทอ่ งเที่ยว ทัง้ นอ้ี งค์กรด้านการท่องเท่ียวอาจแบง่ เปน็ (ฉันทัช วรรณถนอม,2557)
5.1 องคก์ รดา้ นการทอ่ งเที่ยวระดับโลก
5.1.1 องค์กรด้านการทอ่ งเที่ยวระดบั โลกท่ดี าเนนิ งานโดยภาครฐั บาล เช่น องค์การ
ท่องเท่ียวโลก (World Tourism Organization: WTO) องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
(International Civil Aviation Organization : ICAO)
5.1.2 องค์กรด้านการท่องเท่ียวระดับประเทศที่ดาเนินโดยภาคเอกชน เช่น สภา
การเดินทางและการท่องเที่ยวโลก (World Travel and Tourism Council : WTTC) สมาคมขนส่ง
ทางอากาศระหวา่ งประเทศ (International Air Transport Association : IATA)
5.2 องค์กรด้านการทอ่ งเทยี่ วระดบั ภมู ิภาค
5.2.1 องค์กรด้านการท่องเที่ยวระดับภูมิภาคท่ีดาเนินงานโดยภาครัฐบาล เช่น
องค์การเพ่ือความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการเพ่ือการพัฒนา (Organization of Economic
and Cooperation for Development :OECD)
5.2.2 องค์กรด้านการท่องเท่ียวระดับภูมิภาคที่ดาเนินโดยภาคเอกชน เช่น สมาคม
ส่งเสริมการท่องเท่ียวภูมภาคแปซิฟิก (Pacific Area Travel Association: PATA) สมาคมส่งเสริม
การประชุมระหว่างประเทศ (International Congress and Convention Association: ICCA)
สมาคมการท่องเท่ยี วอาเซียน (ASEAN Tourism Association : ASEANTA)
5.3 องค์กรดา้ นการท่องเที่ยวระดับอนุภมู ภิ าค
5.3.1 องคก์ รด้านการท่องเท่ียวระดบั อนุภมู ิภาคทด่ี าเนนิ งานโดยภาครัฐบาล ได้แก่
โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Economic Cooperation in
the Greater Mekong Sub Region : GMS) โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอนุทวีป
(Bangladesh –India-Myanmar-Sri langka-thailand Economic Cooperation : BIMST-EC)
โครงการความร่วมมือลุ่มแม่น้าโขง-คงคา (Mekong-Ganger Cooperation) โครงการพัฒนา
เศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย ((Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle :
IMT-GT) สมาคมการทอ่ งเท่ียวอาเซยี น (ASEAN Tourism Association : ASEANTA)
บทท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเกีย่ วกบั การทอ่ งเท่ยี วและทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี ว 13
5.4 องคก์ รด้านการทอ่ งเทีย่ วระดบั ประเทศ (National Tourism Organization)
แบ่งเปน็
5.4.1 องคก์ รดา้ นการท่องเที่ยวระดับประเทศท่ดี าเนินงานโดยภาครัฐบาล เช่น การ
ท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยหรือ ททท. (Tourism Authority of Thailand - TAT) สานักงานพัฒนา
การท่องเท่ียว (Office of Tourism Development) กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา (Ministry of
Tourism and Sports)
5.4.2 องค์กรด้านการทอ่ งเทยี่ วระดบั ประเทศท่ีดาเนินโดยภาคเอกชน เช่น สมาคม
ไทยธุรกิจการท่องเท่ียว (Association of Thai Travel Agents : ATTA) สมาคมไทยบริการการ
ท่องเท่ียว (Thai Travel Agent Association : TTAA) สมาคมผู้ประกอบการนาเท่ียวหรือ สนท.
(The Association of Thai Tour Operators : ATTO) สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพหรือ สมอ.
(Professional Tourist Guide Association : PGA) สมาคมโรงแรมไทย(Thai Hotels Association
หรอื THA) สมาคมธุรกจิ ทอ่ งเทยี่ วภายในประเทศ (สทน.) (The Association of Domestic Travel)
นอกจากนี้องค์ประกอบอื่นท่ีช่วยสนับสนุนการท่องเที่ยวให้ประสบความสาเร็จ เช่น ข้อมูล
ทางการท่องเท่ียว ข้อมูลเก่ียวกับสถานการณ์ท่ัวไปที่เก่ียวกับการท่องเท่ียว ความปลอดภัยและการ
อานวยความสะดวกในการเข้าเมือง โครงสร้างพื้นฐาน และการสนับสนุนจากหน่วยงานด้านการ
ท่องเท่ียว ควรได้รับการพิจารณา และพัฒนาควบคู่กับองค์ประกอบหลักจะทาให้การท่องเท่ียวมี
ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ
สถานการณ์ทว่ั ไปเก่ียวกับการท่องเที่ยวในประเทศไทย
สถานการณ์แนวโน้มจานวนนกั ท่องเทยี่ วและรายได้จากการท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่องในระยะ 5 ปี ที่ผ่านมาจาก 96,933,869 คน ใน พ.ศ. 2553 เป็น 159,191,303 คน ในพ.ศ.
2558 ซ่ึงเป็นปีที่ประเทศไทยมีนักท่องเท่ียวสูงสุด สาหรับรายได้จากการท่องเท่ียวมีความสอดคล้อง
กบั จานวนนกั ท่องเท่ยี ว คือ เพม่ิ ขึ้นจาก 501.8 พันล้านบาท ในพ.ศ. 2553 เป็น 1,058 พัน ล้านบาท
ในพ.ศ. 2558 เป็นที่สังเกตว่า ในช่วงดังกล่าวประเทศไทยประสบปัญหาด้านการเมืองเศรษฐกิจ แต่
ยังคงรักษาจานวนนักท่องเท่ียว และมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยสถานการณ์เชิงลบส่งผลให้
นักทอ่ งเทย่ี วลดลงในระยะเวลาส้นั ๆ และจะกลบั เข้าสู่สถานการณป์ กตใิ นระยะเวลาไมน่ านนกั
พฤติกรรมนักท่องเที่ยว แนวโน้มการเดินทางภายในประเทศของคนไทยจะยังคงขยายตัว
เพิ่มข้ึน นโยบายและมาตรการกระตุ้นการท่องเท่ียวของภาครัฐและเอกชน อาทิ นโยบายการให้
หน่วยงานภาครัฐปรับแผนการฝึกอบรม การประชุม การสัมมนา และการดูงานภายในประเทศแทน
ต่างประเทศ การจัดงานมหกรรมลดราคาสินค้าทางการท่องเท่ียว ทั้งของการท่องเที่ยวแห่งประเทศ
ไทยและภาคเอกชน จะช่วยให้สถานการณ์การท่องเท่ียวของคนไทยยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย
นักท่องเที่ยวชาวไทยนิยมท่องเท่ียวในจังหวัดชลบุรี กรุงเทพฯ พระนครศรีอยุธยา เชียงใหม่ สงขลา
สุพรรณบุรี นครราชสีมา และภูเก็ต ตามลาดับ สาหรับวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวพบว่า
วัตถุประสงค์เพื่อเย่ียมญาติและเพ่ือน คิดเป็นร้อยละ 36.1 รองลงมา คือ เพ่ือพักผ่อนหรือเปล่ียน
บรรยากาศ ร้อยละ 28.7 ไหว้พระ หรือปฏิบัติธรรมร้อยละ 21.0 และ ซ้ือของ หรือช้อปป้ิง ร้อยละ
20.6 ตามลาดบั
14 ภมู ศิ าสตรไ์ ทยเพื่อการท่องเทย่ี ว
การแข่งขันด้านการท่องเที่ยว ประเทศไทยมีศักยภาพและความพร้อมในการรองรับ
นกั ท่องเที่ยว ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จากดั (อา้ งในกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา. 2555) สารวจดัชนี
แบรนด์ประเทศ (Country Brand Index - CBI) พ.ศ. 2553 ระบุแบรนด์ประเทศไทยเป็น 1 ใน 10
สุดยอดแบรนด์ประเทศ จานวน 5 สาขา ได้แก่ ด้านความคุ้มค่าเงิน อันดับท่ี 4 ด้านอาหาร อันดับที่
5 แหล่งช้อปป้ิง อันดับที่ 6 ด้านชายหาด และอันดับ 8 ด้านแหล่งท่องเที่ยวยามค่าคืน เม่ือพิจารณา
ศักยภาพของแหล่งท่องเท่ียวในประเทศไทยกับประเทศในทวีปเอเชีย โดยพิจารณาจากแหล่ง
ทอ่ งเท่ียวท่มี ชี ือ่ เสยี งและนกั ท่องเที่ยวร้จู ักกนั ดี พบว่านักท่องเที่ยวรู้จักแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย
จานวนประมาณ 100 แหล่ง รองจากประเทศจีน ญ่ีปุ่น และอินเดีย ตามลาดับ โดยแหล่งท่องเท่ียว
ทางทะเลท่ีนักท่องเท่ียวรู้จักมากท่ีสุด ซึ่งไทยมีคู่แข่งอยู่ คือ อินเดียและอินโดนีเซีย แหล่งช้อปป้ิงมี
คแู่ ข่งสาคัญคือ จีน ญี่ปุน่ และฮ่องกง สาหรับสนามกอล์ฟไทยยังเปน็ รองญปี่ ุ่น จนี และเกาหลีใต้ ความ
ได้เปล่ียนด้านทรัพยากรการท่องเท่ียวของประเทศไทยจึงเป็นจุดแข็งสาคัญที่ทาให้แหล่งท่องเที่ยวใน
ประเทศไทยเปน็ ทร่ี จู้ กั แพร่หลาย นอกจากนี้ ประเทศไทยมีศักยภาพในธุรกิจ MICE เป็นอันดับ 4 ของ
เอเชีย ในด้านผู้เข้าร่วมงานประชุมนานาชาติ และอันดับ 5 ในด้านจานวนการจัดงานประชุม
นานาชาติ มีอัตราเติบโตเฉล่ียร้อยละ 18 ต่อปี และสร้างรายได้เข้าประเทศมากกว่านักท่องเท่ียว
ตา่ งชาติทวั่ ไปโดยเฉล่ีย 2 – 3 เท่า มีความสามารถในการรองรับท่องเท่ียว โดยเป็นศูนย์กลางการบิน
ของเอเชีย มีสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิสามารถรองรับผู้โดยสารได้มากถึง 45 ล้านคนต่อปี เป็น
ศูนย์กลางการบินสาหรับ 80 สายการบนิ มเี ทยี่ วบินมากกว่า 200 เท่ียวบินต่อวัน และมีศักยภาพด้าน
จานวนห้องพัก ปัจจุบันรองรับจานวนนักท่องเท่ียวต่างชาติได้ถึง 15 ล้านคนต่อปี และมีจานวน
หอ้ งพกั ทั่วประเทศมากกว่า 500,000 ห้อง
กลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในอนาคต นักท่องเท่ียวยุโรปเป็นแหล่งรายได้ท่ีสาคัญของการ
ทอ่ งเทยี่ วไทย และนักท่องเที่ยวอาเซียนมีความสาคัญต่อประเทศไทยเพ่ิมขึ้น นักท่องเที่ยวอาเซียนมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีจานวนมากที่สุดในพ.ศ. 2553 คือ 4,415,789 คน หรือร้อยละ
27.87 ของนักท่องเท่ียวท้ังหมด รองลงมาคือนักท่องเที่ยวในกลุ่มยุโรปร้อยละ 27.41และเอเชีย
ตะวันออก ร้อยละ 23.11 ตามลาดับ เมื่อพจิ ารณาจาแนกตามรายประเทศ พบว่านักท่องเที่ยวมาจาก
มาเลเซียมีจานวนมากท่ีสุด รองลงมาคือนักท่องเที่ยวจากประเทศจีน ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักรและ
เกาหลี ตามลาดับ สาหรับรายได้จากการท่องเท่ียว พบว่านักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปเป็นกลุ่มที่
ก่อให้เกิดรายได้มากท่ีสุด 227,679.09 ล้านบาท รองลงมาคือนักท่องเที่ยวกลุ่มเอเชียตะวันออก
110,265.92 ล้านบาท ถึงแม้ว่านักท่องเท่ียวยุโรปจะมีจานวนน้อยกว่านักท่องเที่ยวเอเชียตะวันออก
และนักทอ่ งเทย่ี วอาเซยี น แต่กม็ กี ารใชจ้ ่ายท่มี ากกวา่
นอกจากประเทศไทยไดร้ ับการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวอยู่
ในอันดับที่ 41 ของโลก จากผลการสารวจ ของ World Economic Forum พบว่าในพ.ศ. 2553
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอ่ืนๆ ในทวีปเอเชียและแปซิฟิค พบว่าประเทศไทยยังเป็นรองประเทศ
สิงคโปร์ (อันดับ 10) ฮ่องกง (อันดับ 12)ออสเตรเลีย (อันดับ 13)นิวซีแลนด์ (อันดับ19) ญี่ปุ่น
(อนั ดบั 22) เกาหลใี ต้(อันดบั 32) มาเลเซีย(อนั ดบั 35) ไตห้ วนั (อันดบั 37) และจีน (อันดับ 39) แต่อยู่
ในอันดบั ท่ดี กี ว่าประเทศอินโดนเี ชยี (อนั ดบั 70)และเวียดนาม (อันดับ 80)อยา่ งไรก็ตามประเทศต่างๆ
บทที่ 1 ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกับการทอ่ งเท่ียวและทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี ว 15
เรม่ิ มีขีดความสามารถในการแขง่ ขนั เพ่ิมขน้ึ เช่น จีน ประเทศในกลุ่มตะวันออกกลาง อินโดนีเชีย และ
เวียดนาม เปน็ ตน้
สถานการณ์และทิศทางของการท่องเท่ียวระดับประเทศเป็นข้อมูลท่ีสาคัญเพ่ือประกอบการ
วิเคราะห์ แนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะต่อไป และยังมีส่วนช่วยให้
ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเท่ียว หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียวได้ความปรับตัวเพื่อจะรองรับ
จานวนนักท่องเท่ียวทีจ่ ะเขา้ มาในอนาคตตอ่ ไป
สาหรับประเทศไทย การท่องเท่ียวมีความสาคัญมากต่อประเทศ ดังจะเห็นจากจานวน
นักท่องเที่ยว ยอดค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวท่ีเพ่ิมสูงข้ึน และภาพของการพัฒนาการท่องเที่ยวของ
ประเทศโดยมีองค์การหลักของรัฐบาล คือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยท่ีพยายามจัดการด้านการ
ท่องเทีย่ วของประเทศให้เป็นระบบ มกี ารพฒั นาแหล่งท่องเท่ียวใหม่ๆ ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรการ
ท่องเท่ียวไว้ เพอ่ื ให้นกั ท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวตา่ งประเทศท่องเที่ยวมากขน้ึ
รปู แบบการทอ่ งเท่ยี ว
การท่องเท่ียวเป็นกิจกรรมที่ได้รับการพัฒนามาเป็นเวลานาน หลายประเทศให้ความสาคัญ
กบั การทอ่ งเทีย่ ว รวมท้ังประเทศไทย ซงึ่ รปู แบบการท่องเท่ียวในอดีตเน้นการท่องเท่ียวที่เก่ียวข้องกับ
ธรรมชาติ และวัฒนธรรม ปัจจุบันรูปแบบของการท่องเที่ยวได้พัฒนาให้มีความหลากหลายและตรง
ตามความสนใจของกลุ่มนักท่องเท่ียวมากขึ้น เพ่ือดึงดูดใจและเป็นทางเลือกให้กับนักท่องเที่ย ว
รูปแบบทางการท่องเท่ียวโดยท่ัวไปจะแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ (วรรณา ศิลปะอาชา และคณะ
,2557) รูปแบบการท่องเที่ยวท่ีเก่ียวข้องกับธรรมชาติ รูปแบบการท่องเท่ียวที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
รปู แบบการทอ่ งเทีย่ วตามความสนใจพเิ ศษ รายละเอยี ดดงั นี้
1. รูปแบบการท่องเท่ียวท่ีเกี่ยวข้องกับธรรมชาติ (Natural Based Tourism) เป็น
รูปแบบการท่องเทย่ี วทเ่ี นน้ การท่องเท่ียวที่อยู่ในแหล่งธรรมชาติเป็นสาคัญ มรี ปู แบบทส่ี าคัญดงั น้ี
1.1 การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เป็นรูปแบบการท่องเท่ียวท่ีได้รับความนิยม
ท่ัวโลก เป็นการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะถ่ินและแหล่งวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเน่ือง
กับระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรู้กันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการส่ิงแวดล้อมและการ
ท่องเทีย่ วอยา่ งมสี ว่ นร่วมของท้องถิน่ เพอ่ื ม่งุ เน้นให้เกิดจติ สานกึ ต่อการรกั ษาระบบนเิ วศอยา่ งยงั่ ยืน
1.2 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล (Marine Ecotourism) เป็นการท่องเที่ยวอย่างมี
ความรับผิดชอบในแหล่งธรรมชาติทางทะเลท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งท่องเที่ยวท่ีเกี่ยวเนื่อง
กับระบบนิเวศทางทะเล โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการ
สิ่งแวดล้อมและการท่องเท่ียวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพ่ือมุ่งให้เกิดจิตสานึกต่อการรักษาระบบ
นเิ วศอย่างยั่งยืน เช่น การเท่ียวชมป่าโกงกาง หมู่บ้านชาวเล และการเท่ียวชมท่ีอยู่ของปลาวาฬ เป็น
ตน้
16 ภมู ิศาสตร์ไทยเพ่อื การทอ่ งเท่ยี ว
1.3 การท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (Geotourism) เป็นการท่องเที่ยวเพ่ือดูความงามของ
ภูมิทัศน์ท่ีมีความแปลกท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เช่น อุโมงค์ ถ้าบนหน้าผา ถ้าน้า
ลอด ถา้ หินงอกหนิ ย้อย ฟอสซิล รวมทั้งศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แร่ เป็นต้น นักท่องเท่ียวจะได้รับ
ความรู้และประสบการณ์ใหม่ บนพื้นฐานการท่องเท่ียวอย่างรับผิดชอบ และมีจิตสานึกต่อการรักษา
สภาพแวดลอ้ ม โดยประชาชนในท้องถ่นิ มสี ่วนรว่ มตอ่ การจัดการการท่องเที่ยว
1.4 การท่องเท่ียวเชิงเกษตร (Agrotourism) เป็นการเดินทางท่องเท่ียวไปยังพื้นท่ี
เกษตรกรรม สวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟาร์มปศุสัตว์ เช่น ชมทุ่งดอกทานตะวัน ป้อน
อาหารแกะ รีดนมวัว ศึกษาวิธกี ารปลูกเห็ด ท้ังนี้วัตถุประสงค์ในการเข้าชมเพ่ือความร่ืนรมย์ และเพ่ือ
เพ่ิมประสบการณใ์ หม่ เปน็ ต้น
2. รูปแบบการท่องเท่ียวท่ีเก่ียวข้องกับวัฒนธรรม (Cultural Based Tourism) เป็น
รูปแบบการท่องเท่ยี ว ทเี่ นน้ การทอ่ งเทย่ี วท่อี ย่ใู นแหล่งทอ่ งเที่ยวเปน็ สาคัญ มีรปู แบบท่ีสาคัญดงั นี้
2.1 การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Tourism) เป็นการเดินทางท่องเท่ียว
ไปยงั แหล่งท่องเทยี่ วทางโบราณคดี และประวัติศาสตร์ เพื่อชื่นชมและเพลิดเพลินในสถานที่ท่องเที่ยว
นกั ทอ่ งเทย่ี วจะไดค้ วามรู้ มคี วามเข้าใจตอ่ ประวัติศาสตร์และโบราณคดีในท้องถิ่น มีพื้นฐานของความ
รับผิดชอบ และมีจิตสานึกต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรม และคุณค่าของสภาพแวดล้อมโดยท่ี
ประชาชนในทอ้ งถิ่นมีสว่ นร่วมต่อการจัดการการท่องเทยี่ ว
2.2 การทอ่ งเทย่ี วเพ่อื ชมความงามวัฒนธรรมและประเพณี(Cultural and Traditional
Tourism) เป็นการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อชมงานประเพณีต่างๆ ที่ชาวบ้านในท้องถิ่นน้ันๆ จัดข้ึน เช่น
ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต์ และส่งเสริมให้นักท่องเท่ียวได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ
เพอ่ื ใหน้ กั ทอ่ งเท่ยี วไดร้ บั ความเพลิดเพลนิ ตนื่ ตาต่นื ใจ และในพธิ ีกรรมต่างๆ ของท้องถิ่น นักท่องเท่ียว
สามารถไดร้ บั ความรู้มีความเข้าใจต่อสภาพสังคมและวัฒนธรรม มีประสบการณ์ใหม่ๆ และมีจิตสานึก
ตอ่ การรกั ษาสภาพแวดลอ้ มของมรดกทางวฒั นธรรมโดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการ
การท่องเทีย่ ว
2.3 การท่องเท่ียวชนบท(Rural Tourism/Village Tourism)เป็นการเดินทางท่องเที่ยว
ในหมู่บ้านในชนบทที่มีลักษณะวิถีชีวิต และผลงานสร้างสรรค์ท่ีมีเอกลักษณ์พิเศษ มีความโดดเด่น
นักท่องเท่ียวจะรับความรู้ ความเพลิดเพลิน ได้เย่ียมชมผลงานสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาพื้นบ้าน ทา
ให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมท้องถ่ิน บนพื้นฐานของความรับผิดชอบ และมีจิตสานึกต่อการรักษา
มรดกทางวฒั นธรรม และคณุ ค่าของสภาพแวดล้อม โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการ
การทอ่ งเที่ยว
3. รูปแบบการท่องเท่ยี วตามความสนใจพเิ ศษ(Special Interest Tourism)เป็นรูปแบบ
การท่องเที่ยวใหม่ๆ ท่ีเกิดขึ้นโดยเน้นการสร้างสรรค์กิจกรรมทางการท่องเท่ียวที่หลากหลายและ
แตกต่างตามความสนใจของนกั ทอ่ งเทย่ี วกลุ่มเปา้ หมาย มีรปู แบบที่สาคัญดังน้ี
3.1 การท่องเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ (Health Tourism/Medical Tourism)เปน็ การท่องเที่ยว
ท่ีเน้นกิจกรรมเพ่ือเรียนรู้วิธีการรักษาสุขภาพกายใจ นักท่องเที่ยวจะได้รับความรู้ในการรักษาคุณค่า
และคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากน้ี ความนิยมในการเดินทางมาประเทศอ่ืนเพ่ือรับการรักษาทางการ
แพทย์ก็ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เน่ืองจากค่าใช้จ่ายถูกกว่าในประเทศของตนเอง ท้ัง
บทท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั การท่องเที่ยวและทรพั ยากรการท่องเท่ียว 17
ยังได้มโี อกาสในการท่องเทยี่ วดว้ ยในคราวเดียวกัน การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพนี้บางแห่งอาจจัดรูปแบบ
เปน็ การทอ่ งเทยี่ วเพ่ือสุขภาพและความงาม (Health, Beauty and Spa)รวมเข้าไว้ด้วยกันในรูปแบบ
ของการทาสปา ตัวอย่างกิจกรรมของการท่องเที่ยวในรูปแบบนี้ คือ การล้างพิษ การรับประทาน
อาหารท่ีทาจากผลไม้สด ผักสด ต้นอ่อนของเมล็ดพืช ซึ่งวัตถุดิบท้ังหมดจะไม่ผ่านกระบวนการปรุง
แต่งทางเคมี (Raw Food) การฝึกโยคะ การงดส่ิงท่ีไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
สรา้ งความสมบูรณท์ างรา่ ยกายและจติ ใจ เป็นต้น
3.2 การท่องเท่ียวทางจิตวิญญาณ (Spiritual Tourism)เป็นการเดินทางท่องเท่ียวที่มุ่ง
แสวงหาความสงบทางดา้ นจิตใจ การท่องเที่ยวรูปแบบน้ีจะรวมถึงการท่องเที่ยวเชิงศาสนา (Religious
Tourism/Pilgrimage Tourism) ทม่ี งุ่ เน้นการจาริกแสวงบุญในสถานที่สาคัญทางศาสนาของโลกเช่น
การแสวงบุญที่นครเมกกะห์ นักท่องเท่ียวอาจมีการศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้เก่ียวกับปรัชญาทาง
ศาสนา การคน้ หาสัจธรรมแห่งชีวิต รวมท้ังในปัจจุบันกิจกรรมการฝึกสมาธิ (Meditation) การปฏิบัติ
ธรรม โดยใช้สถานท่ีในการฝึกปฏิบัติ เช่น วัด สานักสงฆ์ รีสอร์ท ก็เป็นท่ีนิยม หรือความนิยมใน
รายการนาเทีย่ วทาบุญ 9 วัด ท่ีมีความเช่ือเป็นการท่องเที่ยวที่มีโอกาสทาบุญและเสริมสิริมงคลให้แก่
ตนเอง เปน็ ต้น
3.3 การท่องเที่ยวเพื่อศึกษากลุ่มชาติพันธุ์หรือวัฒนธรรมชนเผ่า (Ethnic Tourism)
เป็นการเดนิ ทางท่องเท่ียวเพ่อื เรียนรู้วัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอย่ขู องชนเผ่าต่างๆ เช่น หมู่บ้านชาว
ไทยโซ่ง หมู่บ้านผู้ไท หมู่บ้านชาวกูย หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยง หมู่บ้านชาวจีนฮ่อ เป็นต้น ซึ่งวัฒนธรรม
ดงั กล่าวกาลงั จะสูญหายไปตามการเปลีย่ นแปลง และความทันสมยั ของโลกปัจจุบัน
3.4 การท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sports Tourism) เป็นการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเล่นกีฬา
ตามความถนัดความสนใจในกฬี าประเภทต่างๆ เช่น กอล์ฟ ดาน้า ตกปลา สนุกเกอร์ กระดานโตคล่ืน
สกีน้า เป็นต้น นักท่องเท่ียวจะได้รับความเพลิดเพลิน ความสนุกสนาน ต่ืนเต้น ได้รับประสบการณ์
และความรใู้ หม่เพ่มิ ข้นึ มคี ุณภาพชีวติ ทดี่ เี พิม่ ขึน้ รวมทง้ั มจี ติ สานึกต่อการรักษาสิง่ แวดลอ้ มด้วย
3.5 การท่องเท่ียวเชิงผจญภัย (Adventure Tourism) เป็นการเดินทางท่องเที่ยวไปยัง
แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติท่ีมีลักษณะพิเศษ ท่ีนักท่องเที่ยวเข้าไปเท่ียวแล้วได้รับความสนุกสนาน
ตื่นเต้น หวาดเสียวผจญภัย ทา้ ทายความสามารถของนักทอ่ งเที่ยว และได้ประสบการณ์ใหม่ เช่น การ
ปีนหน้าผาชนั การล่องแกง่ การกระโดดบนั จีจัมพ์ เปน็ ตน้
3.6 การท่องเทีย่ วแบบโฮมสเตย์ / ฟาร์มสเตย์ (Homestay / Farm Stay)เป็นการท่อง
เทย่ี วท่ีนกั ท่อง เทยี่ วตอ้ งการใชช้ ีวิตใกล้ชดิ กับครอบครัวในท้องถิ่นที่ไปเยือน เพื่อการเรียนรู้ภูมิปัญญา
ท้องถ่ินและวัฒนธรรมท้องถิ่น ทาให้นักท่องเท่ียวได้รับประสบการณ์ในชีวิตเพิ่มขึ้น ท้ังยังส่งผลให้มี
จิตสานึกต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถ่ิน จึงจัดเป็นการจัดการท่องเท่ียวอย่างมีส่วน
รว่ มของชุมชนในทอ้ งถิน่ ท่ีย่ังยนื รูปแบบหนึ่ง
3.7 การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Longstay) เป็นกลุ่มผู้ใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุจาก
การทางานท่ีต้องการมาใช้ชีวิตต่างแดนเป็นหลัก และต้องการการท่องเท่ียวด้วย โดยนักท่องเท่ียวมัก
เดินทางท่องเท่ียวต่างประเทศเฉล่ีย 3-4 คร้ังต่อปี การเดินทางแต่ละคร้ังจะใช้เวลาคราวละนาน ๆ
อย่างนอ้ ย 1 เดือน
18 ภูมศิ าสตร์ไทยเพือ่ การท่องเท่ยี ว
3.8 การท่องเที่ยวแบบให้รางวัล (Incentive Travel) เป็นการจัดนาเท่ียวให้แก่กลุ่ม
ลูกค้าของบริษัทท่ีประสบความสาเร็จ หรือมีความเป็นเลิศในการบรรลุตามเป้าหมายหรือเกิน
เป้าหมาย เช่น บริษัทขายตรงบริษัทหนึ่ง ตั้งเป้าหมายของการขายสินค้าไว้ และพนักงานในบริษัท
สามารถขายสินค้าได้ตามจานวนที่บริษัทได้ต้ังเป้าไว้ ท้ังน้ีบริษัทจะให้รางวัลโดยการจัดนาเท่ียว โดย
รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยวท้ังหมด เช่น ค่าพาหนะ ค่าท่ีพักและค่าอาหารระหว่าง
การเดินทางใหก้ ับผรู้ ่วมเดนิ ทาง
3.9 การทอ่ งเทยี่ วกลุ่มไมซ์(MICE คือ M = Meeting, I = Incentive, C= Convention
และ E = Exhibition) เป็นการจัดนาเที่ยวให้แก่กลุ่มลูกค้าของผู้จัดประชุม หรือจัดงานนิทรรศการ
ต่างๆ มักมีรายการจัดนาเท่ียวก่อนการประชุม (Pre-Tour)และการจัดรายการนาเที่ยวหลักการ
ประชุม (Post-Tour) โดยการจัดรายการท่องเท่ียวในรูปแบบต่างๆ ไปท่ัวประเทศ เพื่อบริการให้กับ
ผู้เข้าร่วมประชุมโดยตรง หรือสาหรับผู้ที่ร่วมเดินทางกับผู้ประชุม (สามีหรือภรรยา) อาจเป็นรายการ
ท่องเท่ียววันเดียว หรือรายการเท่ียวพักค้างแรม 2–4 วัน โดยคิดราคาแบบเหมารวมค่าอาหารและ
บริการทอ่ งเที่ยว
3.10 การท่องเท่ียวเชิงดาราศาสตร์ (Astrological Tourism) เป็นการเดินทาง
ทอ่ งเทยี่ วเพือ่ การไปชมปรากฎการณ์ทางดาราศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละวาระ เช่น สุริยุปราคา ฝนดาว
ตก จันทรุปราคา และการดูดาวจักราศีที่ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละเดือน เพ่ือการเรียนรู้ระบบสุริยะ
จักรวาล นักท่องเท่ยี วจะมีความรูค้ วามประทับใจ ความทรงจาและประสบการณ์เพมิ่ ขนึ้
3.11 การท่องเท่ียวแบบบาเพ็ญประโยชน์ (Voluntourism) เป็นการเดินทางเพื่อไป
บาเพ็ญประโยชน์ ซงึ่ กจิ กรรมรปู แบบนี้มมี าหลายปีแล้วแต่จากัดอยู่ในกลุ่มๆ ต่อมาแนวคิดนี้ได้รับการ
เผยแพรไ่ ปทั่วโดยพื้นฐานความคิดว่าหากการไปเท่ียวแต่ละคร้ัง นอกจากจะเป็นการพักผ่อนแล้วหาก
สามารถเปดิ โลกทศั นแ์ ละสร้างความดไี ด้ด้วยก็จะไดป้ ระโยชน์ไม่นอ้ ย รูปแบบท่ีนิยม เช่น การไปปลูก
ป่า การทาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ การสอนภาษาอังกฤษ การสร้างโรงเรียนหรือบูรณะซ่อมแซม
สถานศึกษาให้กับเด็กที่ด้อยโอกาส การเดินทางนี้อาจมีกิจกรรมร่วมกับการศึกษาศิลปวัฒนธรรม
ภมู ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ หรอื แม้แตก่ ารศกึ ษาธรรมชาติ กไ็ ดเ้ ช่นกัน
3.12 การท่องเที่ยวแบบไม่เร่งรีบ (Slow Tourism) เป็นการท่องเท่ียวแบบเนิบช้า ให้
ความสาคัญกับกิจกรรมในชีวิตประจาวัน เช่น การปรุงอาหาร การรับประทานอาหารแบบละเมียด
ละไม การใช้ชีวิตแบบไม่เร่งรีบ อาจงดเว้นการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยี อาจเรียกว่าเป็นการพักผ่อน
แบบค่อยเป็นค่อยไป เป็นรูปแบบที่กาลังได้รับความนิยมจนทาให้มีการพัฒนา Slow Hotel และ
Slow Package เพ่อื เสนอเปน็ ทางเลอื กให้นกั ทอ่ งเท่ยี ว
3.13 การเดินทางตามรอยภาพยนตร์ (Film Tourism) เป็นรูปแบบการท่องเท่ียวที่
นักท่องเท่ียวนิยมเดินทางไปตามร่องรอยของภาพยนตร์ หรือเพลงท่ีกาลังได้รับความนิยม เช่น การ
เดนิ ทางไปทอ่ งเทย่ี วยังสถานที่ถ่ายทาเรื่องดัง เช่น Harry Potter ,The Lord of the Rings, Lost in
Thailand ซึ่งอาจจะเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆ หรืออาจเป็นเมืองใหญ่ทั้งเมืองและมีสถานที่ท่ีเป็นฉาก
สาคัญในเร่ืองที่ต้องไปเย่ียมชมให้เห็นกับตาตนเอง หรืออาจเป็นสถานที่ท่ีเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้แต่
เพลงสามารถแต่เพลงจนเป็นทร่ี ้จู ักกันท่วั โลก เปน็ ต้น
บทที่ 1 ความรทู้ ่วั ไปเก่ยี วกับการทอ่ งเท่ียวและทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยว 19
3.14 การทอ่ งเท่ียวเพื่อราลึกถึงโศกนาฏกรรม(Dark/Black/Grief/ Disaster Tourism)
เป็นการท่อง เที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวท่ีเคยเกิดเหตุการณ์ท่ีมีผลกระทบกับจิตใจของมนุษย์ ตัวอย่าง
เชน่ การทอ่ งเทีย่ วในสถานทเ่ี คยเปน็ สมรภมู ริ บ สถานท่ีเคยเกิดโศกนาฏกรรม Ground Zero บริเวณ
ท่ีเคยเกิดเหตุการณ์ 911 บริเวณท่ีเกิดสินามิ ค่ายกักกันนักโทษ การท่องเท่ียวสะพานข้ามแม่น้าแคว
จงั หวัดกาญจนบุรี เปน็ ตน้ นักทอ่ งเทีย่ วมกั สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมทจี่ ัดขน้ึ เหล่าน้ดี ้วย
3.15 การท่องเท่ียวอวกาศ (Space Tourism) เป็นการพานักท่องเท่ียวเดินทางไปใน
อวกาศ เพื่อไปสัมผัสประสบการณ์ที่น่าประทับใจบนสถานีอวกาศนานาชาติ รวมท้ังยังทากิจกรรม
อ่นื ๆ ร่วมด้วยได้ เช่น นักทอ่ งเทย่ี วอาจได้ใช้เวลาอยู่นอกสถานอี วกาศจริงๆ เพยี งไม่กี่ช่ัวโมงเพ่ือสัมผัส
ประสบการณ์ในขณะท่ีลอยอย่นู อกโลกหรอื จะเป็นการเดินทางรอบวงโคจรของโลกหรือแม้กระทั่งการ
ไปชมดวงจันทร์แบบเต็มตา อย่างไรก็ตามการท่องเท่ียวอวกาศนี้ยังมีข้อจากัดอยู่มาก นักท่องเที่ยว
ต้องมีร่างกายที่สมบูรณ์มาก และไดรับการฝึกซ้อมเป็นอย่างดี รวมท้ังมีราคาแพงมากปัจจุบันมีเพียง
องค์การอวกาศรัสเซียเท่าน้ันท่ใี ห้บรกิ าร
3.16 การท่องเท่ียวแบบหรูหรา (Luxury Tourism) (ธนธรณ์ ฤทธิ์ถกล, 2558) เป็น
รูปแบบการท่องเทยี่ วทใ่ี ห้ความสาคญั กับพฤติกรรม ความชอบและความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายซ่ึง
เปน็ กลุ่มนกั ทอ่ งเทีย่ วผู้มีรายได้สูงในสังคม เพื่อสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเท่ียวเหล่าน้ีเกิดการใช้จ่ายให้
มากทสี่ ดุ ในระหว่างการเดนิ ทางทอ่ งเที่ยว ปัจจุบนั เป็นรูปแบบการทอ่ งเท่ยี วท่ีได้รับความนิยมเพิ่มมาก
ขึ้นท้ังจากนักท่องเที่ยวในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก และจากผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว นักท่องเท่ียว
มิได้กระจุกตัวอยู่เพียงเมืองหลักในยุโรปเหมือนในอดีต ประเทศในทวีปเอเชียและอเมริกาใต้ได้กลาย
มาเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของจุดหมายปลายทางท่ีนักท่องเที่ยวปรารถนาจะไปเยือน ดังนั้นการ
ตอบสนองความต้องการให้ได้ตามความคาดหวัง หรือเหนือว่าความคาดหวังของนักท่อง เที่ยวจึงเป็น
กลยทุ ธท์ ่สี าคัญสาหรบั ผปู้ ระกอบการธุรกจิ ทอ่ งเท่ยี วในลกั ษณะนี้
รูปแบบการท่องเท่ียวหรือกิจกรรมของการท่องเท่ียวที่กล่าวมาข้างต้น ส่วนมากจะอิงจาก
ทรัพยากรการท่องเที่ยวและพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวเป็นหลักในการจัดรูปแบบสาหรับสนองตอบ
ในเรือ่ งของความตอ้ งการของนกั ท่องเที่ยว เพ่อื ทาใหเ้ กิดแรงจงู ใจในการเดินทางทอ่ งเที่ยวตอ่ ไป
การทอ่ งเที่ยวเป็นการเดินทาง เปน็ วถิ ที างหนึ่งในการดารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน เป็นการ
เดินทางจากจุดเร่ิมต้นแห่งหนึ่งไปถึงจุดปลายทางอีกแห่งหน่ึงตามเหตุจูงใจ หรือวัตถุประสงค์ของ
นกั ทอ่ งเทย่ี วในการท่องเทีย่ ว จะเหน็ ได้ว่ากจิ กรรมการทอ่ งเทีย่ วเปลยี่ นแปลงไปตามค่านิยมและความ
ต้องการของนักท่องเท่ียว โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกันไป ถึงแม้ว่าความต้องการและค่านิยมของ
นักท่องเที่ยวจะเปลี่ยนไปอย่างไร แต่ทรัพยากรการท่องเท่ียวก็มีอยู่จากัด ทรัพยากรถือว่าเป็นส่ิง
สาคัญในการท่องเที่ยวเนื่องจากเป็นสิ่งที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมีความต้องก ารที่อยากจะไปสัมผัส
เยี่ยมชม และศึกษา เน้ือหาต่อไปผู้เรียบเรียงจะขอกล่าวถึงหัวใจของการท่องเท่ียวน่ันคือเร่ือง
ทรัพยากรการท่องเทีย่ ว
20 ภูมศิ าสตร์ไทยเพอื่ การทอ่ งเท่ยี ว
ทรัพยากรการท่องเท่ียว
ทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี วเป็นหัวใจของการท่องเที่ยว เนื่องจากทรัพยากรการท่องเท่ียวเป็นส่ิง
ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางไปยังแหล่งท่องเท่ียว ทรัพยากรการท่องเท่ียวไม่ว่า รูปแบบใด
เปรียบเสมือนอุปทานของการท่องเท่ียวโดยมีความต้องการของนักท่องเที่ยวเป็นอุปสงค์ ทั้งอุปสงค์
และอุปทานที่มีความสมดุลจะมีผลทาให้การพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย
อย่างไรก็ดี แม้ว่าทรัพยากรการท่องเท่ียวจะเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจของนักท่องเท่ียว แต่สิ่งอานวย
ความสะดวก และบรกิ ารอื่นก็มีความสาคัญ เพราะจะทาให้นักท่องเที่ยวสะดวกสบายและเพลิดเพลิน
ในขณะที่ท่องเท่ยี วอยใู่ นแหล่งทอ่ งเทีย่ ว
ความหมายของทรพั ยากรการทอ่ งเท่ียว
ตามความหมายจากอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคา
ว่าทรัพยากรท่องเท่ียวไว้ว่า หมายถึง สิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวที่มีอยู่ในพ้ืนท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่ง ต้ังแต่ใน
ระดับท้องถิ่นจนถึงระดับภูมิภาคและระดับโลก อาจเป็นส่ิงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเป็นส่ิงท่ี
มนษุ ย์สรา้ งขน้ึ กไ็ ดโ้ ดยสิ่งเหล่านี้ต้องมีความงดงามแปลกตา มีความสาคัญหรือมีคุณค่า รวมทั้งวิถีการ
ดาเนนิ ชีวติ อนั ดงี ามที่สะทอ้ นให้เห็นถึงอารยธรรมอันทรงคุณคา่ และมลี กั ษณะเด่นเปน็ เอกลกั ษณ์
คาว่า “ทรัพยากร” หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยไม่จากัด แต่คาว่า
ทรัพยากรจะจากัดเฉพาะสิ่งท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ หากเพิ่มคาว่าการท่องเที่ยวเข้าไป คือ “ทรัพยากร
การท่องเที่ยว (Tourism Resource)” ความหมายก็จะเพ่ิมเติมเป็น ส่ิงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
และส่งิ ทม่ี นษุ ย์สร้างข้ึน รวมถึงหลกั ฐานทางโบราณคดีหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตในยุคต่างๆ ซึ่งมนุษย์
สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจและประกอบกิจกรรมนันทนาการ อันนามาซึ่ง
ความพึงพอใจและความสขุ ในรูปแบบตา่ งๆ ได้ (สวุ ฒั น์ จุธากรณ์ และคณะ,2557)
วรรณา วงษว์ านิช (2546) ใหค้ วามหมายว่า สถานท่ีทอ่ งเที่ยวซง่ึ รวมถงึ สถานที่ทเ่ี กดิ ขึน้ เอง
ตามธรรมชาตแิ ละสิ่งท่ีมนษุ ย์สรา้ งขึ้นเพื่อใช้เป็นสถานท่ที ่องเท่ยี วกิจกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
และวฒั นธรรมท่สี ะท้อนให้เห็นถึงวฒั นธรรมของแตล่ ะท้องถ่นิ ทมี่ ลี กั ษณะเดน่ ดึงดดู ความสนใจของ
นักท่องเทย่ี ว
ทรัพยากรการท่องเที่ยว(Tourism Resource) เป็นองค์ประกอบหน่ึงที่สาคัญของอุตสาห
กรรมท่องเท่ียว การท่ีทรัพยากรการท่องเท่ียวสามารถดึงดูดใจให้นักท่องเท่ียวเดินทางไปยังสถานท่ี
ตาบล เมือง รัฐหรือประเทศต่างๆ จะทาให้ท้องถ่ินในที่น้ันๆ จะได้รับผลประโยชน์หลายประการ
เพราะการใช้จ่ายในการเดินทางจะเกิดเป็นรายได้ท่ีหมุนเวียนเป็นทวีคูณ และจะเกี่ยวข้องกับธุรกิจ
และผูค้ นในหลากหลายอาชพี (บุญเลศิ จิตตั้งวฒั นา,2548)
ความหมายของทรัพยากรการท่องเท่ียว ทรัพยากรการท่องเท่ียวจัดเป็นส่ิงดึงดูดใจทางการ
ท่องเท่ียวที่มีความสาคัญในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว ได้มีผู้กล่าวถึงความหมายของทรัพยากรการท่อง
เที่ยวหลายทรรศนะเช่น ศาสตราจารย์ ดร.มนัส สุวรรณ และคณะกล่าวว่า ทรัพยากรการท่องเท่ียว
หมายถึง พื้นที่ สิ่งของกิจกรรม และหรือมิติอ่ืนใดที่สามารถให้คุณค่าเชิงการท่องเท่ียว เช่น ความ
สวยงามตามธรรมชาติคณุ ค่าเชงิ ประวตั ิศาสตรศ์ ิลปวัฒนธรรม และการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ เป็น
ต้น แกน่ ักทอ่ งเที่ยว
บทท่ี 1 ความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกับการทอ่ งเทย่ี วและทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยว 21
ทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี ว (Tourism Resources) หมายถึง สิ่งที่น่าสนใจ เป็นประโยชน์และมี
คุณค่าต่อการท่องเที่ยว เป็นสิ่งดึงดูดใจหรือจูงใจให้นักท่องเท่ียวเดินทางไปเยือนหรือไปท่องเที่ยว ซึ่ง
อาจเปน็ สงิ่ ทเ่ี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์และสืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
กล่าวได้ว่าเป็น “สินค้า” ที่มีคุณลักษณะพิเศษท่ีสามารถดึงดูดให้ “ลูกค้า” หรือนักท่องเท่ียวเดินไป
ท่องเที่ยวได้ (กลุ วรา สุวรรณพิมล,2556)
ทรัพยากรการท่องเท่ียว (Tourism Resources) หมายถึง สิ่งหรือสถานท่ีที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติหรือเกิดจากมนุษย์สร้างข้ึน ทั้งท่ีเป็นรูปธรรมสามารถสัมผัสได้ และนามธรรมท่ีไม่สามารถ
สัมผัสได้ ซ่ึงสามารถนามาเป็นสินค้าทางการท่องเที่ยวได้ อีกท้ังเป็นมรดกท่ีทรงคุณค่าของชาติ ได้แก่
ความสวยงามทางธรรมชาติ คุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภาษา ชนเผ่า ประเพณี
ประวัติศาสตร์ และการเรียนรู้ต่างๆ” (ทิพวรรณ พุ่มมณี,2554)
จากข้อความท่ีกล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า ทรัพยากรการท่องเที่ยว (Tourism Resource)
หมายถึง สถานทที่ อ่ งเทยี่ ว ซ่ึงรวมถึงสถานท่ี ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสถานที่ที่มนุษย์สร้างข้ึน
เพ่อื ใช้เป็นสถานที่ท่องเท่ียว กจิ กรรม และวัฒนธรรมทีส่ ะทอ้ นให้เหน็ ถงึ อารยธรรมท้องถ่ินที่มีลักษณะ
เดน่ และสามารถดงึ ดูดความสนใจของนกั ทอ่ งเท่ียวได้
ทรัพยากรการทอ่ งเที่ยวอาจปรากฏในลกั ษณะรปู ธรรม ไดแ้ ก่ แหล่งธรรมชาติท่ีเป็นธรรมชาติ
เช่น ภูเขา ป่าไม้ น้าตก ชายทะเล หรืออาจปรากฏในลักษณะนามธรรมท่ีไม่สามารถจับต้องได้ แต่
สัมผสั ไดด้ ้วยความรูส้ กึ เช่น ภาษา การละเล่น การแตง่ กาย ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เปน็ ตน้
ลักษณะของทรัพยากรการท่องเที่ยว
คุณลักษณะของทรัพยากรการท่องเที่ยว (Tourism Resource Attributes) มีหลากหลาย
และแตกต่างกันไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์โลกหรือสถานที่ตั้ง โดยวรรณา วงษ์วานิชใช้เกณฑ์10
ประการ ในการกาหนดดังนี้
1) กรรมสิทธ์ิ/การถือครอง(Ownership) กรรมสิทธ์ิ/การถือครองทรัพยากรการท่องเท่ียว
น้นั ๆ นับเปน็ คณุ ลกั ษณะหน่ึงท่ีสาคัญซ่ึงจะต้องคานึงถึงในการจัดการและการวางแผน กล่าวคือ หาก
เป็นกรรมสทิ ธิ์/การถอื ครองโดยรัฐ(Public Ownership) เช่น อทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ในประเทศไทย
รัฐต้องเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณในการจัดการและวางแผน หรืออีกนัยหนึ่ง รัฐมีส่วนสาคัญในการ
ตัดสินใจหรือกาหนดนโยบาย ซ่ึงมักคานึงถึงผลกระทบทางสังคมและส่ิงแวดล้อมเป็นหลัก มากกว่าที่
จะเห็นความสาคัญกับเรื่องผลกาไรหรือผลตอบแทนท่ีจะได้รับจากพ้ืนท่ีดังกล่าว การวางแผนจึงเน้น
ระยะยาวมากกว่าทจ่ี ะเปน็ การมองการณ์หรอื หวังผลในระยะส้นั ๆ
2) ทศิ ทางการดาเนนิ การ(Orientation) ความมุ่งหวังจากการดาเนินการโดยส่วนใหญ่มักจะ
เก่ียวพันกับเร่ืองของผลตอบแทน หากทรัพยากรการท่องเที่ยวเป็นอุทยานแห่งชาติ การดาเนินการ
อาจเปน็ ในลักษณะการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการเข้ามาใช้พื้นท่ี(User Fees) เพื่อนาค่าธรรมเนียมที่
ไดร้ ับใชใ้ นการดูแลรักษา หรือการให้สัมปทานเอกชนเข้าไปดาเนินการ เช่น นครวัดในประเทศกัมพูชา
หรอื เขาเขียวในประเทศไทย เปน็ ตน้
22 ภมู ศิ าสตร์ไทยเพื่อการท่องเท่ียว
3) ลักษณะพ้ืนท่ีท่องเท่ียว(Special Configuration) ลักษณะทางภูมิศาสตร์และขนาดของ
พื้นที่นับว่ามีความสาคัญอย่างมาก ซึ่งมีท้ังท่ีเป็นพื้นท่ีกว้าง เช่น อุทยานหรือวนอุทยาน เป็นต้น หาก
เป็นพน้ื ทล่ี ักษณะนี้ อาจมกี ารจดั แบง่ พ้ืนท่อี อกเป็นส่วนๆ และมีการกาหนดจดุ ท่องเที่ยวที่ชัดเจน ทั้งนี้
เพื่อความมีประสิทธิภาพในการควบคุมดูแลและจัดการ อย่างไรก็ดีมีบางแห่งที่ถูกกาหนดให้เป็นจุด
ท่องเที่ยวเฉพาะ เช่น ดิสนีย์แลนด์ท่ีประเทศสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศส ดรีมเวิล์ดท่ีประเทศไทย
สิงคโปร์ และฮอ่ งกง และโอเชยี่ นเวิลด์ ทป่ี ระเทศออสเตรเลีย เปน็ ต้น
4) ลักษณะความเป็นของแท้/ดั้งเดิม(Authenticity) “ลักษณะความเป็นของแท้” ยังคงเป็น
ประเด็นท่เี คลอื บแคลง กากวม และมีการโต้แย้งกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในการพิจารณาว่าเป็น
ของแทห้ รือของเลียนแบบ ตัวอย่างเช่น ภาพวาดสมัยหินท่ีลาสโคว์(Lascaux) บริเวณใกล้ถ้าแห่งหน่ึง
ในประเทศฝร่ังเศส ซ่ึงถูกจาลองข้ึนเกือบเหมือนจริงเพ่ือให้นักท่องเที่ยวชมได้สะดวกมากข้ึนน้ัน ก็ทา
ใหน้ ักท่องเท่ยี วมีความกังขาและหว่ันกลัวความเหมือนจริงนี้เปน็ อย่างมาก การจาลองภาพวาดในกรณี
นี้มีท้งั ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ทง้ั นขี้ น้ึ อย่กู บั การตคี วามและการช้แี จง/ให้เหตุผล หากนักท่องเที่ยวได้รับการชี้
แจ้งเหตุผลว่าการจาลองภาพวาดดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และปกป้องภาพวาดดั้งเดิม
นกั ทอ่ งเทยี่ วก็จะเหน็ ว่าการสร้างหรอื การลอกเลียนแบบเป็นส่งิ ทด่ี ี
5) ความหายากในโลก/ภูมิภาค/ประเทศ(Scarcity : International/Regional/National)
ทรัพยากร การท่องเท่ียวที่มีอยู่เพียงหนึ่งเดียว หรือมีจานวนน้อย หายาก ไม่ซ้ากับใครท่ีไหน จะ
สามารถดึงดูดใจนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาเยี่ยมเยือนได้เป็นอย่างมาก เช่น ทะเลสาบเดดซี ซึ่งเป็น
ทะเลสาบท่ีมีน้าเค็มท่ีสุดในโลกอยู่ทางทิศตะวันออกของปาเลสไตน์ บึงบอระเพ็ดซึ่งเป็นบึงน้าจืดท่ีมี
ขนาดใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย “เหนือสุดแดนสยาม สามเหลี่ยมทองคา ผาแต้ม ภูกระดึง” ใน
ประเทศไทย และอ่าวซิดนีย์ในประเทศออสเตรเลีย หรือเส้นแวง ท่ี ศูนย์องศา ซ่ึงใช้เป็นมาตรฐานใน
การนับเวลาของโลก เมืองกรีนนิซในอังกฤษ เป็นต้น อย่างไรก็ดีทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ีเป็นส่ิง
พิเศษ/มีเพียงหน่ึงเดียวบางอย่างจะมีความเสี่ยงต่อการสูญสลายหรือถูกทาลายได้ง่ายมากกว่าส่ิงที่มี
อยูท่ ่ัวไปอย่างดาษดืน่
6) สถานภาพ(Status) ทรัพยากรการท่องเท่ียวหลัก(Primary Resource) นับเป็นปัจจัยมี
ความสาคัญเป็นอันดับแรกที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาเย่ียมเยือน เช่น ปิรามิดของประเทศ
อยี ิปต์ นา้ ตกไนแอการาในประเทศสหรัฐอเมริกา-แคนาดา และพระบรมมหาราชวังของประเทศไทย
เป็นต้น ทรัพยากรการท่องเที่ยวซ่ึงเป็นปัจจัยหลักที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวอาจจะมีมากกว่าหนึ่งแห่ง
เชน่ ในปารีส มที ั้งหอไอเฟลและพิพธิ ภัณฑล์ ฟู ว์ซ่ึงดึงดูดใจนักท่องเที่ยวต้องไปเย่ียมชมท้ังสองแห่ง ใน
ซิดนีย์ซ่ึงมีท้ังโอเปร่าเฮาส์และอ่าวซิดนีย์ เป็นต้น ความสามารถในการดึงดูดใจนักท่องเท่ียวของ
ทรัพยากรการท่องเท่ียวหลักนับเป็นเงื่อนไขสาคัญท่ีทาให้รัฐบาล หน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบ และ
ผู้เก่ียวข้องพิจารณาให้ความสาคัญกับทรัพยากรการท่องเท่ียวหลักเป็นอันดับแรก เม่ือเทียบกับกลุ่ม
ทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี วอันดบั รอง(Secondary Tourism Resources) มักจะเปน็ ส่ิงท่ีนักท่องเที่ยวให้
ความสนใจถัดไป หลงั จากท่ีเดนิ ทางไปเยีย่ มเยือนทรพั ยากรการท่องเท่ียวหลักแลว้
บทที่ 1 ความรทู้ วั่ ไปเกยี่ วกบั การทอ่ งเที่ยวและทรัพยากรการทอ่ งเท่ียว 23
7) ความสามารถในการรองรบั (Carrying Capacity) ทรัพยากรการทอ่ งเท่ียวแต่ละประเภท
อาจมีความสามารถในการรองรบั ในแตล่ ะดา้ นและในแต่ละชว่ งเวลาแตกตา่ งกันไปกล่าวคือ ทรัพยากร
การท่องเทย่ี วบางประเภทอาจมีความสามารถในการรองรับในแง่ของการบริการด้านการท่องเท่ียวใน
ระดบั ตา่ เชน่ ไมม่ ีศูนยบ์ รกิ ารข้อมูลข่าวสาร และไม่มีม้านั่ง เป็นต้น แตท่ รพั ยากรการท่องเที่ยวเหล่าน้ี
อาจมีความสามรถในการรองรบั ในแงข่ องการจัดการ คือป้องกันนักท่องเที่ยวมิให้เข้าไปเหยียบย่าหรือ
ทาลายทรัพยากรล้าค่าในบริเวณนั้นได้เป็นอย่างดี โดยมีรั้วรอบขอบชิดและมีระบบการกาจัดขยะที่
เหมาะสม เป็นตน้
8) ความสะดวกในการเดินทางเข้าถึง(Accessibility) ความสะดวกในการเดินทางเข้าถึง
ทรัพยากรการท่องเที่ยวมักเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่ง และการอานวยความสะดวกแก่
นักท่องเทีย่ วในการเดินทางเข้าไปเย่ียมชมและ/ประกอบกิจกรรมท่องเท่ียว ณ พ้ืนที่ สถานที่ หรือจุด
ท่องเที่ยว เช่น การมีถนนเพียงเส้นเดียวท่ีใช้เพ่ือเดินทางไปยังจุดท่องเท่ียวนั้นๆ หรือการท่ีต้องเข้า
แถวยาวเหยียดเพื่อเข้าประกอบกิจกรรมในสวนสนุกแห่งใดแห่งหน่ึง ซึ่งทาให้นักท่องเท่ียวต้อง
เสียเวลารอนานเกินไป ซึ่งแสดงว่าการเขา้ ถงึ ยังไม่สะดวก เปน็ ต้น
9) ตลาด(Market) ทรพั ยากรการท่องเที่ยวบางแหง่ นักท่องเที่ยวโดยทั่วไปอาจสนใจเดินทาง
ไปเยี่ยมเยือน และ/หรือประกอบกิจกรรมท่องเที่ยว แต่ทรัพยากรการท่องเที่ยวบางแห่งอาจมี
นักท่องเท่ียวเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่สนใจ เช่น ทรัพยากรการท่องเที่ยวกลุ่มโบราณคดีในประเทศ
เคนยา เป็นต้น แม้ทรัพยากรการท่องเท่ียวประเภทนี้จะสามารถดึงดูดความสนใจได้มากกว่า เป็นต้น
นอกจากนี้ทรัพยากรการท่องเที่ยวบางกลุ่มอาจจะเหมาะและต้องรสนิยมของคนท้องถิ่นหรือคนใน
ประเทศเท่านั้น แต่บางกลุ่มอาจจะเหมาะและต้องรสนิยมของนักท่องเท่ียวต่างชาติด้วย เช่น อาหาร
ไทย เป็นต้น
10) ภาพลักษณ์ (Image) ภาพลักษณ์ท่ีนักท่องเท่ียวมีต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว ล้วนมีผล
อย่างมากท่ีจะทาให้นักท่องเท่ียวตัดสินใจเลือก หรือไม่เลือกที่จะบริโภคทรัพยากรการท่องเท่ียวนั้น
ท้ังนี้รวมถึงภาพลักษณ์ท่ีนักท่องเท่ียวมีต่อเจ้าของทรัพยากรการท่องเที่ยวนั้นๆ ด้วย ซึ่งอาจจะเป็น
ประเทศ เมือง หรือพื้นท่ีก็ได้ เช่น นักท่องเท่ียวที่เป็นกลุ่มสตรี อาจมีภาพลักษณ์ว่า “สิงคโปร์เป็น
แหล่งช้อปปิ้ง” ฉะน้ันจึงตัดสินใจเลือกเดินทางไปสิงคโปร์แทนที่จะเลือกไปกัมพูชา หรืออาจมีภาพ
ลักษณ์ต่อประเทศอินโดนีเซียว่า “เป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีไม่ปลอดภัย” ก็อาจตัดสินใจไม่เดินทางไป
ประเทศอินโดนีเซีย แต่จะเลือกเดินทางมาประเทศไทยแทน เป็นต้น ภาพลักษณ์จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่
สาคัญมากต่อการดึงดูดนักท่องเท่ียวให้ตัดสินใจเลือกหรือไม่เลือกเดินทางท่องเที่ยว ดังนั้นการตรวจ
สอบภาพลักษณ์ของทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ จึงเป็นส่ิงจาเป็นและสาคัญ
มากเช่นเดียวกัน
24 ภูมศิ าสตรไ์ ทยเพือ่ การท่องเทยี่ ว
จากคุณลักษณะของทรัพยากรการท่องเที่ยว (Tourism Resource Attributes) ท่ีมีความ
หลากหลาย ในตัวของทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวให้เดินทางไปท่องเที่ยวยัง
แหล่ง ตาบล เมือง ภาค รัฐ หรือประเทศนั้น สิ่งท่ีทาให้นักท่องเที่ยวมีความต้องการที่จะไป ช่ืนชม
ทรัพยากรการท่องเทยี่ วมคี วามสาคัญ 3 ประการหรอื ที่เรยี กรวมกนั วา่ 3As ดังน้ี
1) ความดึงดูดใจ (Attraction) ทรัพยากรการท่องเที่ยวควรดึงดูดความสนใจของ
นักท่องเท่ียวได้ หรอื ลกั ษณะชวนตา ชวนใจ มเี สนห่ ์เฉพาะตวั อันมีสาเหตมุ าจาก
1.1) มีความงามตามธรรมชาติ เช่น หาดทรายขาว แนวปะการังที่มีสีสันสวยงาม หินที่
แปลกประหลาด รวมทั้งปลาชนิดต่างๆ ป่าท่ีมีพันธ์ไม้นานาชาติ หรือความงดงามที่มนุษย์สร้างข้ึน
เชน่ ทะเลสาบ รีสอรท์ ในหุบเขา เปน็ ตน้
1.2) มีลักษณะของเหตุการณ์สาคัญเฉพาะกาล เช่น งานประเพณีในเทศกาลสาคัญของ
แต่ละท้องถิ่นการจัดขบวนบุปผาชาติหรือตกแต่งขบวนพาเหรดและการแสดงในเทศกาลต่างๆ การ
แสดงแสง สี เสียง ในแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ เปน็ ต้น
2) ความสามารถในการเข้าถึงง่าย (Accessibility) ทรัพยากรการท่องเท่ียวจะดึงดูดความ
สนใจของนักท่องเท่ียวได้มากหากมีความสะดวกในการเดินทางเท่ียวชม หากนักท่องเที่ยวสามารถ
เดนิ ทางเข้าถึงแหล่งทอ่ งเที่ยวไดอ้ ยา่ งสะดวกและใกล้ชิด นักท่องเที่ยวจะเกิดอรรถรสในการท่องเที่ยว
ไดม้ าก ดงั นัน้ แมแ้ หล่งท่องเท่ียวมีความสวยงามแต่ขาดความสะดวกในการเข้าถึง นักท่องเท่ียวจะไม่
เดินทางไปเที่ยวชม หน่วยงานท่ีรับผิดชอบแหล่งท่องเที่ยวจาเป็นต้องดาเนินการจัดสร้างส่ิงอานวย
ความสะดวก เชน่ ถนน สะพาน ทีจ่ อดรถ เพอื่ อานวยความสะดวกในการเข้าถงึ แก่นักทอ่ งเทยี่ ว
3) ความประทับใจ (Amenity) ทรัพยากรการท่องเท่ียว ควรก่อให้เกิดความประทับใจ สุข
ใจ และซาบซึ้งในการเที่ยวชม เช่น ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ อาทิ ประสาทราชวัง
วัด โบราณสถานตา่ งๆ ที่แสดงถึงอารยธรรมในอดีต หรือแม้แต่ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเหมาะสมแก่การ
พักผ่อน อาทิ อุทยานแห่งชาติทางบกและทางทะเลหรือทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีก่อให้เกิดความ
สนุกสนาน เช่น การร่วมงานเทศกาลประเพณีต่างๆ เช่น งานคาร์นิวัล (carnival) ในประเทศบราซิล
งานประเพณีสงกรานตใ์ นประเทศไทย หรอื งานประเพณผี ูกเส่ยี วของชาวจังหวดั ขอนแก่น เปน็ ต้น
ลกั ษณะของทรพั ยากรการท่องเที่ยวที่สาคัญ 3 ประการดังท่ีกล่าวมา เป็นส่ิงที่นักท่องเที่ยวมี
ความต้องการข้ันพื้นฐานท่ีจะไปในแหล่งท่องเท่ียวที่มีส่ิงดึงดูดใจ ตามลักษณะการท่องเที่ยวหรือ
รสนิยมที่ชื่นชอบ ถึงแม้ว่าตัวนักท่องเที่ยวจะมีความชื่นชอบแหล่งท่องเท่ียวหรือทรัพยากรการ
ท่องเท่ียวแบบไหน จะต้องคานึงถึงและควรพิจารณาลักษณะเฉพาะของทรัพยากรการท่องเที่ยว
เพ่อื ใหก้ ารเดินทางท่องเที่ยวเปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย ซ่ึงไดแ้ ก่
1. ศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง ความสามารถของอุปทานในการ
รองรบั อุปสงค์ทางท่องเทีย่ วอนั จะมผี ลต่อการจดั กจิ กรรมการท่องเที่ยว ประกอบดว้ ย 3 ลกั ษณะ คอื
1.1 ศักยภาพของพ้ืนท่ีรองรับการท่องเที่ยว แหล่งท่องเท่ียวที่มีขนาดเล็กหรือขนาด
กวา้ งใหญ่ จะมผี ลต่อการใชเ้ วลาในการท่องเทย่ี วของนักท่องเที่ยวทมี่ ากหรอื น้อยตามขนาดของแหล่ง
ท่องเทย่ี ว
บทที่ 1 ความรูท้ ัว่ ไปเกีย่ วกบั การท่องเทย่ี วและทรัพยากรการทอ่ งเทยี่ ว 25
1.2 ศักยภาพของการรองรับการท่องเที่ยว หมายถึง ขีดความสามารถในการรองรับ
(Carrying Capacity) นักท่องเท่ียว ทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยวมีความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว
จานวนมากหรือนอ้ ยมผี ลต่อการจัดขนาดกล่มุ ของนักท่องเท่ียว เช่นพระราชวังวิมานเมฆที่เป็นโบราณ
สถานทสี่ าคญั ของไทยมคี วามสามารถในการรองรับนกั ท่องเท่ียวครั้งละจานวนจากัด เนื่องจากมีความ
เก่าโบราณสถานที่สาคัญของไทยมีความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ียวคร้ังละจานวนจากัด
เนื่องจากมีความเก่าโบราณอาจเสียหายได้ง่าย หรือบริเวณถ้าที่รองรับนักท่องเท่ียวครั้งละจานวน
จากดั เนื่องจากความหนาแน่น ทาให้อากาศถ่ายเทไม่สะดวก จึงควรให้นักท่องเท่ียวเข้าชมในจานวน
ที่กาหนด มิฉะน้ันจะเกิดความเสียหายได้ ตรงกันข้าม ชายทะเลสามารถรองรับนักท่องเท่ียวได้เป็น
จานวนมาก
1.3 ปริมาณของทรัพยากรการท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีแหล่งท่องเท่ียว หมายถึง สรรพส่ิงท่ี
ดึงดูดนักท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีท่องเท่ียว เช่น น้าตก ถ้า หุบเขา ในบริเวณเทือกเขา เป็นต้น หากแหล่ง
ท่องเที่ยวมีทรัพยากรการท่องเท่ียวหลากหลายจานวนมาก นักท่องเที่ยวสามารถประกอบกิจกรรม
ทอ่ งเทยี่ วได้หลากหลาย
2. ทต่ี ั้งของทรัพยากรการทอ่ งเที่ยว ทรัพยากรการท่องเท่ียว ต้ังอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มี 3
ลกั ษณะสาคญั คอื
2.1 กระจายอยู่ท่ัวไป เช่น สโตนเฮนซ์ (Stonehenge) ในประเทศอังกฤษ หุบเขาแกรนแคน
ยอน (Grand Canyon) ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ภูผาแต้ม ในจังหวัดอุบลราชธานี ทุ่งบัวตองดอยแม่
อูคอ จังหวัดแมฮ่ ่องสอน เป็นตน้
2.2 อยรู่ วมกันภายในแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่ เช่น ตั้งอยู่ในเมือง เช่น กรุงปารีส กรุง
ลอนดอน กรุงเทพมหานครท่มี ีทรัพยากรการท่องเที่ยวให้ชมมากมาย หรืออยู่ในเขตชนบท หรืออยู่ใน
เขตพน้ื ทอี่ นุรักษ์ เช่น อุทยานแหง่ ชาตทิ างทะเลท่มี ีเกาะมากมายใหน้ กั ท่องเทย่ี วได้เท่ียวชม
2.3 เช่ือมโยงจากแหล่งหน่ึงไปอีกแหล่งหนึ่ง เช่น เส้นทางสายไหม เส้นทางวัฒนธรรม
ขอม เสน้ ทางวฒั นธรรมเกาะยอ เป็นตน้
3. ความเข้มขน้ ของทรพั ยากรการท่องเทีย่ ว ประกอบดว้ ยลกั ษณะตอ่ ไปน้ี
3.1 ความมเี อกลักษณะเฉพาะ โดดเด่น หายาก หรือแปลกแตกต่างจากที่อื่น ทรัพยากร
การท่องเที่ยวมคี วามเขม้ ข้นมาก ไดแ้ ก่ สง่ิ มหัศจรรย์ของโลกท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น น้าตกไนแอง
การา (Niagara Falls) ในประเทศสหรัฐอเมริกา เทือกเขาแกรนแคนยอน (Grand Canyon) ใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา หรือสิ่งมหัศจรรย์ของโลกที่มนุษย์สร้างขึ้น อาทิ กาแพงเมืองจีน (The Great
Walls) ในประเทศจีน นครวัด (Angkor Wat) ในประเทศกัมพูชาเป็นต้น ตรงกันข้ามทรัพยากรการ
ท่องเท่ียวที่มีความเข้มข้นน้อย จะเป็นทรัพยากรท่ีมีอยู่ทั่วไป หาง่าย เช่น โบสถ์หรือวัดที่สร้างขึ้นใน
เกือบทุกหมบู่ ้านในทอ้ งถน่ิ เปน็ ต้น
3.2 การมีความสวยงาม ความประทับใจ และความระลึกถึงอดีต ได้แก่ สถานท่ีสาคัญ
ทางประวัติศาสตรห์ รอื เก่ียวกับสงครามในอดีต เช่น กาแพงเบอร์ลินในประเทศเยอรมนี เมืองฮิโรชิมา
ในประเทศญี่ปุ่นที่ถูกทาลายโดยการทิ้งระเบิดปรมาณูของประเทศสหรัฐอเมริกา อุทยานประวัติ
ศาสตร์สุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สะพานข้ามแม่น้าแคว จังหวัดกาญจนบุรี
เปน็ ตน้
26 ภูมิศาสตรไ์ ทยเพ่อื การท่องเท่ียว
3.3 การเป็นพื้นท่ีสงวน อนุรักษ์ หรือพัฒนา แหล่งท่องเท่ียวใดที่ได้รับการประกาศจาก
รัฐบาล เช่น พ้ืนท่ีสงวน อนุรักษ์ หรือพัฒนา ย่อมมีความเข้มข้นของทรัพยากรท่องเท่ียวมาก เช่น
อทุ ยานแหง่ ชาติ เขตรกั ษาพันธ์ุสตั วป์ ่า เปน็ ตน้
4. เขตพื้นท่ีของทรัพยากรการท่องเท่ียว เขตพื้นท่ี หมายถึง ขอบเขตความเป็นเจ้าของผู้
ครอบครอง ผู้ดแู ลหรอื รบั ผดิ ชอบ แบง่ ออกได้เป็น 3 กลมุ่ คือ
4.1 เขตพ้ืนท่ีของรัฐบาล ทรัพยากรการท่องเท่ียวของแต่ละประเทศส่วนใหญ่หน่วยงาน
ของรฐั จะเป็นเจา้ ของหรือผู้รับผิดชอบ เช่นอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
ชายหาด โบราณสถาน โบราณวัตถุ สวนสาธารณะ เป็นตน้
4.2 เขตพ้ืนท่ีขององค์กรไม่แสวงหากาไร องค์กรไม่แสวงหากาไร หมายถึง องค์กรท่ี
ดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพ่ือผลประโยชน์ของส่วนรวมหรือผลประโยชน์สู่สาธารณชนเป็นหลัก เช่น
มูลนิธิจะรับผิดชอบสถานที่ท่องเท่ียวบางแห่ง เช่น ไร่แม่ฟ้าหลวง อยู่ภายใต้การดูแลของมูลนิธิแม่ฟ้า
หลวง วังสวนผักกาด อยู่ภายใต้การดูแลของมูลนิธิจุมภฏ-บริพัตร ศาสนสถานท่ีมีกรรมการวัดดูแล
รับผิดชอบ เปน็ ต้น
4.3 เขตพนื้ ที่ของเอกชน เอกชนเป็นเจ้าของหรอื ผูร้ บั ผิดชอบดแู ลทรัพยากรท่ีมนุษย์
สร้างขึ้นเปน็ สว่ นใหญ่ เชน่ สวนสนุก สวนเกษตร รสี อร์ท เป็นต้น
การจาแนกประเภทของทรัพยากรการท่องเทย่ี ว
ทรัพยากรการท่องเที่ยวจาแนกได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการจาแนก วิธีการ
จาแนก 4 วธิ ีคือ (วรรณา ศิลปะอาชา,2557) 1) การจาแนกตามลักษณะของทรพั ยากร 2) การจาแนก
ตามความสนใจหรือความต้องการของนักท่องเท่ียว 3) การจาแนกตามทาเลท่ีต้ัง 4) การจาแนกตาม
แรงจูงใจของนักท่องเทย่ี ว
1. การจาแนกประเภทของทรพั ยากรท่องเที่ยวตามลักษณะของทรพั ยากร
การจาแนกประเภทของทรัพยากรการท่องเท่ียวตามลักษณะและคุณค่าของทรัพยากร เป็น
วิธีที่การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยใช้ในการจาแนกทรัพยากรการท่องเท่ียวมาเป็นเวลานาน ซึ่ง
สามารถแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภทใหญ่ คือ
1.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติ หมายถึง ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เกิดข้ึน
เองตามธรรมชาติที่มีความงดงามตามธรรมชาติจนสามารถดึงดูดให้นักท่องเท่ียวไปเยือน เช่น ภูเขา
ป่าไม้ น้าตก น้าพุร้อน บ่อน้าร้อน อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า ชายทะเล หาดทราย
ทะเลสาบ เกาะแก่ง และแหลง่ นา้ จดื เปน็ ตน้
1.2 ทรัพยากรการทอ่ งเทีย่ วประเภทประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุ สถานและศาสนา หมายถึง
ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีความเกี่ยวข้องในฐานะเป็นหลักฐานสาคัญทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี
และศาสนา เช่น โบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์ ชุมชนโบราณ พระราชวัง กาแพงเมือง คูเมือง
พิพิธภัณฑ์ วดั ศาสนา รวมท้งั สิ่งก่อสร้างทีม่ ีคณุ คา่ ทางศลิ ปะและสถาปตั ยกรรม เป็นตน้
1.3 ทรัพยากรการท่องเท่ียวประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและกิจกรรม หมายถึง
ทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ีมีคุณค่าทางศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี และรูปแบบการดาเนินชีวิตท่ี
บรรพบุรุษได้สร้างสมและถ่ายทอดเป็นมรดกสืบทอดกันมา เช่น เทศกาล งานประเพณี วิถีชีวิตความ
บทท่ี 1 ความรทู้ ่ัวไปเก่ยี วกับการท่องเท่ียวและทรัพยากรการท่องเที่ยว 27
เป็นอยูใ่ นชนบท หมบู่ ้านชาวเขา การแสดงศิลปวัฒนธรรม สินค้าพื้นบ้าน การแต่งกาย ภาษา ชนเผ่า
รวมทัง้ กจิ กรรมต่างๆ ทด่ี งึ ดูดนักท่องเท่ยี วให้ไปเยอื น ได้แก่ กิจกรรมกีฬาล่องแก่ง ข่ีจักรยานเสือภูเขา
พายเรือ เล่นเครอื่ งเลน่ ในสวนสนุก เท่ียวสวนสัตว์ เปน็ ตน้
2. การจาแนกประเภทของทรัพยากรการท่องเที่ยวตามความสนใจหรือความต้องการของ
นักทอ่ งเท่ยี ว
ทรัพยากรการท่องเท่ียวแบ่งตามความสนใจหรือความต้องการของนักท่องเท่ียวออกเป็น 4
ประเภท คือ
2.1 ทรพั ยากรการท่องเทีย่ วที่เกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ หมายถึง ทรัพยากรการ
ท่องเท่ียวท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติท่ีมีลักษณะงดงามดึงดูดนักท่องเที่ยวให้สนใจและอยาก
เท่ียวชม ประเทศที่มีทรัพยากรการท่องเท่ียวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติย่อมเป็นสิ่งดี เพราะไม่ต้อง
สญู เสียตน้ ทนุ ในการผลิต เพยี งแตเ่ สียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา เพ่ือให้ทรัพยากรการท่องเท่ียวยั่งยืน
ต่อไปชั่วลูกช่ัวหลาน และเพ่ือมิให้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้ีถูกทาลายจากกิจกรรมท่องเที่ยว เช่น
ชายหาด ถา้ แหล่งน้า ป่าไม้ ตลอดจนพันธ์ไม้ และสตั ว์ป่า เป็นต้น ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เกิดจาก
สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตนิ ้อี าจจะแบง่ ยอ่ ยออกได้ 4 ประเภทคอื
2.2.1 ทิวทัศน์ (Scenery) ทิวทัศน์ต่างๆ ในธรรมชาติท่ีสวยงามและแปลก
ประหลาด จะเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้าไปชม ทิวทัศน์ที่ปรากฎตามส่วนต่างๆ ของโลกมีผลมา
จากการผันแปรของเปลือกโลก (แรงภายใน) ไม่ว่าจะเป็นการเคล่ือน การหยุบ การโก่งตัว ส่งผลให้
สภาพภมู ิประเทศแตกต่างกันไป นอกจากนี้ยังมีแรงภายนอกท่ีเป็นตัวการทาให้เกิดภูมิประเทศที่แตก
ตา่ งกันออกไป เช่น Grand canyon ในรัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา ภูเขาไฟวิสซูเวียส (Vesuvius) ใน
อิตาลี น้าตกไนแอการา (Niagara Falls) ในสหรัฐอเมริกา หรือสภาพตามธรรมชาติท่ีเปล่ียนไปตาม
ฤดูกาลเช่น ในฤดูหนาวดอกทิวลิบ หรือดอกซากุระจะบาน แม้กระท่ังความแห้งแล้งของทะเลทราย
หรือป่าดงดิบ ก็อาจจะดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการคมนาคมสามารถเข้าถึง
แหลง่ ธรรมชาตไิ ด้ จะทาให้มีนกั ท่องเท่ียวเขา้ ไปชมบรเิ วณน้นั มากยงิ่ ขึน้
2.2.2 สภาพภูมิอากาศ (Climate) แสงแดด สายลม อากาศอบอุ่น หรือหิมะในฤดู
หนาว ตลอดจนลกั ษณะอากาศที่แตกต่างไปจากแหล่งเดิมของตน จะเป็นสิ่งท่ีก่อให้เกิดการท่องเที่ยว
ขึ้นมาได้เช่น ฤดูร้อนผู้คนจะเดินทางไปบริเวณชายทะเล หรือฤดูหนาวยุโรปจะเดินทางมาท่องเท่ียว
ประเทศทางแถบตะวนั ออกซ่งึ มอี ากาศท่อี บอุ่นกว่าตัวอย่างเช่น เกาะภูเก็ตของประเทศไทยเป็นแหล่ง
ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก เพื่อมาพักผ่อนและสัมผัสธรรมชาติอันสวยงาม และอุณหภูมิและ
ภมู อิ ากาศทีแ่ จ่มใส ตลอดจนสนกุ สนานกับกฬี าต่างๆ เช่น แลน่ เรือ กระดานโตค้ ล่ืน สกี ดาน้า เปน็ ตน้
2.2.3 สัตว์ป่า (Windlife) สัตว์ป่าเป็นส่วนหนึ่งของความงามตามธรรมชาติที่ดึงดูด
นักท่องเท่ียวได้มาก เพราะชีวิตการเป็นอยู่ของสัตว์ป่าเป็นสิ่งที่น่าศึกษาหาความรู้ และนับวันจะหมด
ไป แต่ยังคงมีแหล่งที่ให้ท่องเท่ียวได้คือ แห่งอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ สวนสัตว์เปิด
ตลอดจนแหล่งที่มีสัตว์อาศัยเองในธรรมชาติเป็นจานวนมากๆ เช่นแหล่งที่อยู่อาศัยของนกเพนกวิน
แมวน้า หรอื นกปากหา่ งทีว่ ัดไผ่ลอ้ มเป็นต้น
2.2.4 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (Natural Phenomenon) เช่น พระอาทิตย์
เท่ียงคืน หรอื การเกิดสรุ ยิ ุปราคา การเกดิ แม่คะนิง้ การเกดิ ฝนดาวตก เปน็ ต้น
28 ภูมศิ าสตรไ์ ทยเพ่อื การท่องเที่ยว
ทรัพยากรการท่องเท่ียวทางธรรมชาตินี้จะมีมากแห่งและอยู่ไม่ไกลนักจะดึงดูดนักท่องเที่ยว
ได้มากและรัฐบาลจะต้องพัฒนาและอนุรักษ์ไว้ ตลอดจนจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับ
สถานที่และวัยของผู้ไปเที่ยวเช่น ต้องการความสงบ ความใกล้ชิดกับธรรมชาติ ความสนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ การผจญภัย หรือตอ้ งการดา้ นการกีฬาเป็นต้น
2.2 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีมนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือจุดประสงค์อ่ืน หมายถึง สถานท่ีที่
สรา้ งขึ้นเพอ่ื จดุ ประสงค์แตกต่างกนั ไป แต่นักทอ่ งเท่ยี วสนใจจะไปเท่ยี วชมแบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถานและศาสนา
หมายถึง สถานที่ท่ีสร้างข้ึนในอดีตตามประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศาสนา สงคราม พระมหากษัตริย์
ชนช้ันปกครอง และบุคคลสาคัญในอดีต เช่น โบราณวัตถุสถาน กองหินโบราณ วัด โบสถ์ ประสาท
ราชวัง พระท่ีน่ัง อนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน บ้านของบุคคลสาคัญ เช่น นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดี
ผกู้ อบกู้ชาติ กวี นัก นักรอ้ ง เป็นต้น
กลุ่มที่ 2 ทรัพยากรการท่องเท่ียวเชิงอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และพาณิชย์
หมายถึง สถานท่ีท่ีสร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการผลิตสินค้าหรืออุตสาหกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจไป
เทีย่ วชม ได้แก่ โรงงานอตุ สาหกรรม เชน่ โรงไวน์ โรงเบียร์ โรงกลัน่ สรุ า เหมือง หรือสถานที่ที่สร้างข้ึน
เพ่ือจุดประสงค์เชิงเกษตรกรรมที่ดึงดูดนักท่องเท่ียว เช่น อ่างเก็บน้า เข่ือน สวนเกษตร สวนผลไม้
ตลอดจนอาคารหรือสถานที่ เชิงพาณิชย์ เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อยที่เคยเป็น
สานักงานแห่งแรก เปน็ ตน้
2.3 ทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ีมนุษย์สร้างข้ึนเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะการท่องเที่ยว
หมายถงึ สถานท่หี รอื กิจกรรมท่ีสร้างข้ึนสาหรับนักท่องเที่ยว เพื่อให้ความรู้หรือความเพลิดเพลินหรือ
พักผ่อนหย่อนใจ เช่น สวนสนุก สวนสนุกรูปแบบเฉพาะ (Theme park) สวนสัตว์ซาฟารี ศูนย์
วัฒนธรรม ศูนย์หัตถกรรม สถานบันเทิง พิพิธภัณฑ์จาลอง ศูนย์สุขภาพ สนามกีฬาและท่ีเส่ียงโชค
เป็นตน้
2.4 ทรัพยากรการท่องเท่ียวศิลปวัฒนธรรม เทศกาลและประเพณี หมายถึง ทรัพยากร
การท่องเที่ยวที่เก่ียวเน่ืองกับศิลปวัฒนธรรม ลักษณะพิธีกรรม งานประเพณี ตลอดจนรูปแบบการ
ดาเนินชีวิต เช่น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของบ้านกะเหรี่ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอน บ้านลาวโซ่ง จังหวัด
เพชรบุรี หมู่บ้านไทดา จังหวัดเลย งานประเพณีสงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่ งานประเพณีชักพระ
จังหวัดสรุ าษฏร์ธานี งานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี พิธีกรรมทางศาสนา งานแข่ง
กีฬา การละเล่นพื้นเมือง และสินค้าพ้ืนเมืองเป็นต้น ทรัพยากรการท่องเท่ียวรูปแบบน้ีจะแตกต่างกัน
ไปตามระบบสงั คมของแต่ละแห่ง ตา่ งกันไปตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และการดารงชีพของแต่
ละกลมุ่ ชน
3. การจาแนกประเภทของทรพั ยากรการท่องเทีย่ วตามทาเลทีต่ ัง้
ทรพั ยากรการท่องเทย่ี วตามทาเลทต่ี งั้ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
3.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวกลุ่ม (Nodal) ทรัพยากรการท่องเท่ียวประเภทนี้จะอยู่รวม
เป็นกลุ่ม เช่น ในเมืองหลวง ชายทะเล ภูเขา นักท่องเท่ียวจะประกอบกิจกรรมท่องเท่ียวในบริเวณท่ี
กาหนดชัดเจนทีม่ สี ิง่ อานวยความสะดวกตา่ งๆ ท่ีจดั ทาข้นึ ไวบ้ ริการ
บทที่ 1 ความร้ทู ่ัวไปเก่ยี วกบั การทอ่ งเที่ยวและทรพั ยากรการท่องเท่ยี ว 29
3.2 ทรัพยากรการท่องเท่ียวเชิงเส้น (Linear) เป็นทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ี
นักท่องเท่ียวเดินทางท่องเท่ียวเป็นระยะทางยาวเช่ือมโยงจากแหล่งหน่ึงไปอีกแหล่งหนึ่ง เช่น การ
ท่องเที่ยวตามถนนชายฝ่ังหรือในชนบทจากหมู่บ้านหนึ่งไปอีกหมู่บ้านหน่ึง หรือตามเส้นทางที่มีใน
ประวตั ศิ าสตร์ เชน่ เสน้ ทางสายไหม เปน็ ตน้
4. การจาแนกประเภทของทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี วตามแรงจงู ใจของนกั ทอ่ งเที่ยว
ทรัพยากรการท่องเทีย่ วอาจจาแนกตามแรงจูงใจของนกั ทอ่ งเทย่ี วได้ เป็น 5 ประเภท คอื
4.1 ทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ วท่ตี อบสนองแรงจงู ใจด้านกายภาพ (Physical Motivation)
หมายถึง แหล่งท่องเท่ียวที่นักท่องเที่ยวเดินทางไปเพ่ือพักผ่อนร่างกาย และจิตใจภายหลังจากการ
ทางาน เพื่อรักษาสุขภาพ เพ่ือออกกาลังกายหรือสัมผัสบรรยากาศกลางแจ้ง เช่น ภูเขา ป่าไม้ ชาย
ทะเล เปน็ ต้น
4.2 ทรัพยากรการท่องเท่ียวท่ีตอบสนองแรงจูงใจด้านศิลปวัฒนธรรม (Cultural
Motivation) หมายถึง แหล่งท่องเท่ียวที่นักท่องเท่ียวเดินทางไปเพ่ือเรียนรู้วัฒนธรรม วิถีชีวิตความ
เป็นอยขู่ องผู้อืน่ พธิ ีกรรม ศิลปะ ดนตรี สถาปัตยกรรม ตลอดจนแหล่งประวัติศาสตร์ท่ีเป็นมรดกทาง
วัฒนธรรม รวมทงั้ งานเทศกาล ประเพณตี า่ งๆ เป็นต้น
4.3 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีตอบสนองแรงจูงใจด้านสังคม (Social Motivation)
หมายถึง แหล่งท่องเทย่ี วที่นักท่องเท่ียวเดินทางไปเพ่ือพบปะผู้คนท่ีอาจเป็นญาติพี่น้อง เพ่ือนฝูง หรือ
พบเพ่ือนใหม่ หรือเพื่อร่วมประชุม สัมมนาเจรจาธุรกิจ เพ่ือเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์โดย
การศึกษาและฝกึ อบรม
4.4 ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ตอบสนองแรงจูงใจด้านศาสนาหรือจิตวิญญาณ
(Spiritual Motivation) หมายถึง แหล่งท่องเท่ียวท่ีนักท่องเท่ียวเดินทางไปเพื่อแสวงบุญทางศาสนา
เช่น นครเมกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย หรือ เพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่น การไปทอดกฐิน
ทอดผา้ ปา่ ตามวัดต่าง ๆ ในประเทศไทย เป็นต้น
4.5 ทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีตอบสนองแรงจูงใจด้านจินตนาการ (Fantasy
Motivation) หมายถึง แหล่งท่องเที่ยวที่แตกต่างจากความจริงท่ีนักท่องเที่ยวต้องการไป เพื่อเปล่ียน
แปลงบรรยากาศฯจากชีวิตประจาวันเช่น สวนสนุกดิสนีย์แลนด์ ที่สร้างข้ึนจากตัวละครการ์ตูนของ
วอล์ท ดิสนีย์ เปน็ ต้น
เมื่อการท่องเที่ยวมบี ทบาทสาคัญต่อประเทศ จึงทาให้การท่องเที่ยวขยายตัวอย่างรวดเร็ว ไม่
เฉพาะแต่การท่องเท่ียวภายในประเทศเท่าน้ัน แต่ยังรวมไปถึงการท่องเที่ยวระหว่างประเทศด้วย ทา
ให้นกั ทอ่ งเทีย่ วได้ทาความรูจ้ กั กันแลกเปลีย่ นศิลปวฒั นธรรมและความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิด
ความสมั พันธ์อนั ดตี ่อกนั ดงั คาขวัญขององค์การสหประชาชาติที่กล่าวว่า “การท่องเที่ยวเป็นส่ือนาให้
สู่สันติภาพ” ซึ่งความสัมพันธ์อันดีต่อกันน้ี จะส่งผลต่อรัฐบาลประเทศต่างๆ ทาให้มีความเข้าใจและ
ใกล้ชดิ กันย่ิงขนึ้