The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

รวมแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5

1 แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว21103) หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน ครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสวายวิทยาคาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์


2 แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว21103) สารบัญ เรื่อง หน้า หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องพลังงานความร้อน แผนที่ 1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 4 แผนที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 22 แผนที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวและหดตัวของสสาร 37 แผนที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร 49 แผนที่ 5 การถ่ายโอนความร้อนในชีวิตประจำวัน 59 แผนที่ 6การถ่ายโอนความร้อนผ่านของแข็ง 72 แผนที่ 7 การถ่ายโอนความร้อนผ่านของเหลวและแก๊ส 83 แผนที่ 8 การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่อาศัยตัวกลาง 92 แผนที่ 9 สมดุลความร้อน 103 ภาคผนวก 104 แบบประเมิน 105


3 แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว21103) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ แผน ที่ เรื่อง จำนวนชั่วโมง หมายเหตุ หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน (28 ชั่วโมง) 1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 4 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 4 3 ความร้อนกับการขยายตัวและหดตัวของสสาร 4 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร 4 5 การถ่ายโอนความร้อนในชีวิตประจำวัน 2 6 การถ่ายโอนความร้อนผ่านของแข็ง 2 7 การถ่ายโอนความร้อนผ่านของเหลวและแก๊ส 2 8 การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่อาศัยตัวกลาง 2 9 สมดุลความร้อน 4 หน่วยที่ 6 กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศ (32ชั่วโมง ) 10 บรรยากาศของเรา 4 11 อุณหภูมิอากาศ 4 12 ความกดอากาศและลม 4 13 ความชื้น 4 14 เมฆและฝน 4 15 การพยากรณ์อากาศ 4 16 พายุ 4 17 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก 4 รวม 60


4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชา วิทยาศาสตร์2 รหัสวิชา ว21103 หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง พลังงานความร้อน รวม 28 ชั่วโมง เรื่อง แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ เวลา 4 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 1.1 สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.2 ตัวชี้วัด ม.1/9 อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบจำลอง 2. สาระสำคัญ สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสาร ชนิดเดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการ จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและ ปริมาตรของสสาร • อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคมากที่สุด อนุภาคสั่นอยู่กับที่ ทำให้มี รูปร่างและปริมาตรคงที่ • อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้ มีรูปร่างไม่คงที่แต่ปริมาตรคงที่ • อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคเคลื่อนที่ได้ อย่าง อิสระทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างและปริมาตร ไม่คงที 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถ 3.1.1 อธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสาร ชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ (K) 3.1.2 เปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ สสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ (K)


5 3.2 ด้านกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ 3.2.1 ทักษะการทดลอง 3.2.2 การเขียนรายงานการทดลอง 3.2.3 การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจคติทางวิทยาศาสตร์ (A) นักเรียนสามารถ 3.3.1 มีวินัย 3.3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3.3 อยู่อย่างพอเพียง 3.3.4 มุ่งมั่นในการทำงาน 3.3.5 มีจิตสาธารณะ 3.4 สมรรถนะสำคัญของนักเรียน 3.4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.4.2 ความสามารถในการคิด 4. คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R8C) 3R ทักษะพื้นฐานที่จำเป็น ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ (กาเครื่องหมาย ✓ ) Reading คือ สามารถอ่านออก ✓ (W) Riteing คือ สามารถเขียนได้ ✓ (A) Rithmatic คือ มีทักษะในการคำนวณ 8C ทักษะต่างๆที่จำเป็น ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ (กาเครื่องหมาย ✓ ) Critical thinking and problem solving ✓ Creativity and innovation Cross-cultural understanding Collaboration teamwork and leadership ✓ Communication information and media literacy ✓ Computing and IT literacy Career and learning skills Compassion ✓


6 5. สาระการเรียนรู้ แบบจำลองอนุภาคของสสาร - การจัดเรียงอนุภาค - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค - การเคลื่อนที่ของอนุภาค 6. กิจกรรมการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) เทคนิคการเรียนรู้แบบ เพื่อนคู่คิด(Think pair Share) 6.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ให้นักเรียนสังเกตภาพเหรียญกษาปณ์ แล้วร่วมกันอภิปรายการผลิตเหรียญกษาปณ์ ว่าเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ ผลิตจากโลหะ เช่น ทองแดง นิกเกิล โลหะผสม ผ่านการหลอมโลหะ ด้วยการ ให้ ความร้อน) 2. ทบทวนความรู้ก่อนเรียน โดยให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูก ✓ หน้าสิ่งที่เป็นสสาร ได้แก่ ความร้อน อากาศ ก้อนหิน ฟ้า แสง น้ำคลอง ไอน้ำ และเสียง ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุป ว่า สสารเป็นสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีมวล และต้องการที่อยู่ พบได้ทั้งในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารในสถานะที่แตกต่างกันมีสมบัติทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน 3. นักเรียนดูวีดิทัศน์เรื่อง สสาร แล้วร่วมกันอภิปรายเนื้อหาในวีดิทัศน์


7 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยคุณครูใช้คำถามนำการอภิปราย ดังนี้ 5. นักเรียนคิดว่าสารต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราสามารถจำแนกออกเป็นกี่สถานะ และมีสถานะ อะไรบ้าง (แนวคำตอบ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส) 6. นักเรียนใช้เกณฑ์ใดมาใช้สำหรับการจำแนกสถานะของสาร (แนวคำตอบ ใช้เกณฑ์การจัดเรียงอนุภาคของสาร รูปร่างและปริมาตรของสาร เป็นต้น) 7. นักเรียนทราบหรือไม่ว่าสารแต่ละชนิดมีการจัดเรียงอนุภาคเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ ฟังความคิดเห็นของนักเรียนโดยครูยังไม่เฉลย) 8. นักเรียนดูวีดิทัศน์เรื่อง สถานะกับการจัดเรียงอนุภาคของสาร แล้วร่วมกันอภิปรายเนื้อหา ในวีดิทัศน์ 9. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มๆละ 4-5 คน (Group of Four) จำนวน 6 กลุ่ม โดยแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้หมุนเวียนสลับไปเรื่อยๆดังนี้ 9.1 คุณอำนวย ทำหน้าที่ อำนวยความสะดวกต่าง 9.2 คุณวางแผน ทำหน้าที่ วางแผนในการทำงาน 9.3 คุณรวบรวม ทำหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ 9.4 คุณนำเสนอ ทำหน้าที่ นำเสนอผลงาน 10. ครูแจ้งข้อตกลงพร้อมสาธิตกับนักเรียนว่าเมื่อครูยกมือขวาขึ้น นักเรียนทุกคนต้องหยุด กิจกรรม ทุกอย่าง หยุดคุย 6.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับขั้นตอนการทดลอง จากนั้นลงมือปฏิบัติการ ทดลองตามขั้นตอนการทดลองในใบกิจกรรมการทดลองที่ 5.1 เรื่อง อนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้เวลาในการทดลอง 20 นาทีโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำกิจกรรม โดยครูเดิน สังเกตนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการดำเนินการทดลองลงในใบกิจกรรมการทดลองที่ 5.1 เรื่อง อนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส


8 6.3 ขั้นอภิปรายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. นักเรียนจับคู่กัน (Think pair share) เพื่อสรุปกิจกรรมการทดลอง เรื่อง อนุภาคของ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส (เวลา 2 นาที) 2. นักเรียนแต่ละคู่ร่วมอภิปรายสรุปผลกิจกรรมการทดลองร่วมกันโดยใช้แนวคำถามต่อไปนี้ - การเป่าลมในขวดอย่างช้าๆ เบาๆ ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจำลองที่แทนการ จัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะใด และมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ การเป่าลมอย่างช้าๆ เบาๆ ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจำลองที่แทนการ จัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะของแข็ง ที่ทุกอนุภาคมีการสั่นสะเทือนตลอดเวลาแต่อยู่ตำแหน่งเดิม และอนุภาคอยู่ชิดติดกันมีแรงระหว่างอนุภาคมากทำให้ของแข็งคงรูปอยู่ได้) - การเป่าลมในขวดแรงขึ้น ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจำลองที่แทนการจัดเรียงอนุภาค ของสารในสถานะใด และมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ การเป่าลมแรงขึ้น ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจำลองที่แทนการจัดเรียงอนุภาค ของสารในสถานะของเหลวที่ทุกอนุภาคมีการสั่น อนุภาคอยู่ห่างกันเล็กน้อย มีการเคลื่อนตัวและการ กระจายตัวทั่วก้นภาชนะจึงมีปริมาตรเพิ่มขึ้นทำให้ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค น้อยกว่าของแข็งเมื่อเป่าลมแรงที่สุด) - การเป่าลมในขวดแรงที่สุด ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจำลองที่แทนการจัดเรียงอนุภาค ของสารในสถานะใด และมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ การเป่าลมอย่างแรงที่สุด ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจำลองที่แทนการจัดเรียงอนุภาค ของสารในสถานะแก๊ส ที่ทุกอนุภาคมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ ทำให้ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของเหลวและของแข็งมาก 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรมโดยเขียนลงในกระดาษบรูฟ โดยติดผลการ ทำกิจกรรมรอบผนังห้องเรียน (Gallery walk) โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแก่กลุ่มตนเอง เพื่อให้สมาชิกได้ ร่วมกันตรวจทาน และสร้างความเข้าใจร่วมกัน 4. จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มเวียนเคลื่อนที่ไปฟังกลุ่มอื่น 5. เมื่อนักเรียนเวียนเคลื่อนที่ฟังการนำเสนอครบทุกกลุ่ม แล้วให้นักเรียนแต่ละคนติดดาว ให้กับกลุ่มที่นำเสนอได้ดีข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง 6.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อนำไปสู่ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง สถานะและความหนาแน่น เป็นสมบัติของสารอย่างหนึ่งโดยครูใช้คำถามนำการอภิปราย ดังนี้ - ของแข็งมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลวเสมอไปหรือไม่ เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ ไม่เสมอไป เพราะของแข็งอาจมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลวได้) - เพราะเหตุใดน้ำแข็งจึงลอยน้ำได้


9 (แนวคำตอบ เพราะสารที่มีความหนาแน่นตํ่ากว่าจะลอยอยู่บนสารที่มีความหนาแน่น มากกว่า และน้ำที่อุณหภูมิห้องมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำแข็ง น้ำแข็งจึงลอยน้ำได้) - ทำไมเรือที่ทำจากเหล็ก จึงลอยที่ผิวน้ำได้ (แนวคำตอบ เพราะปริมาตรของเรือเหล็กส่วนใหญ่เป็นปริมาตรของอากาศ ส่วนเหล็กจะ เป็นส่วนของโครงสร้างรอบนอก ทำให้มวลต่อปริมาตรหรือความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ เรือจึงลอยที่ผิว น้ำได้) 6.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) 1. ตรวจใบงานที่ 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 2. ตรวจใบกิจกรรมที่ 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร และตอบคำถาม ระหว่างเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจ 3. นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่าประทับใจอะไรบ้างจากการทำกิจกรรมลงในกระดาษ Post it ที่ ครูเตรียมให้ (Exit Ticket) 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7.1 ใบงานที่ 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 7.2 ใบกิจกรรมที่ 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร 7.3 ใบกิจกรรมการทดลองที่ 5.1 เรื่อง อนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 8. สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ 8.1สื่อ 1. Power Point เรื่อง แบบจำลองอนุภาคของสารในแต่ละสถานะ 2. หนังสือวิทยาศาสตร์ ม.1 สสวท. เล่ม 2 8.2 แหล่งเรียนรู้1. การสืบค้นข้อมูลแหล่งเครือข่าย Internet สืบค้นข้อมูลในหัวข้อ อนุภาคของสาร 9. การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้


10 รายการประเมิน การวัดผลประเมินผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ การตีค่า เกณฑ์การตัดสิน 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 อธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ สสารชนิดเดียวกันในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ 3.1.2 เปรียบเทียบการจัดเรียง อนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคและการเคลื่อนที่ของ อนุภาคของสสารชนิดเดียวกันใน สถานะของแข็ง ของเหลว และ แก๊สได้ -ตรวจใบงาน ที่ 5.1 -.ตรวจใบ กิจกรรม ที่ 5.1 -ใบงานที่ 5.1 -ใบกิจกรรม ที่ 5.1 คะแนน รายข้อ แบบ 0/1 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 3.2.1 การทดลอง 3.2.2 การเขียนรายงานการ ทดลอง 3.2.3 การนำเสนอหน้าชั้นเรียน ทดลอง เขียน รายงาน นำเสนอ ผลงาน หน้าชั้นเรียน แบบ ประเมิน การทดลอง แบบ ประเมิน การเขียน รายงาน การทดลอง แบบ ประเมินการ นำเสนอหน้า ชั้นเรียน พฤติกรรม 3 ระดับ พฤติกรรม 3 ระดับ พฤติกรรม 3 ระดับ เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80


11 9. การวัดและประเมินผล (ต่อ) รายการประเมิน การวัดผลประเมินผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ การตีค่า เกณฑ์การตัดสิน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และเจคติทาง วิทยาศาสตร์ (A) 1. 1. มีวินัย 2. 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. อยู่อย่างพอเพียง 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ การสังเกต พฤติกรรม แบบสังเกต เจตคติ ทาง วิทยาศาสตร์ ปฏิบัติได้ 2 คะแนน ปฏิบัติบ้าง 1 คะแนน ไม่ปฏิบัติ 0 คะแนน เกณฑ์ผ่าน ได้คะแนน 8 คะแนน จาก 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80 3.4 สมรรถนะสำคัญของ นักเรียน 3.4.1 ความสามารถในการ สื่อสาร 3.4.2 ความสามารถในการคิด แบบประเมิน แบบประเมิน -การ นำเสนอ ข้อมูล -จากการ ทำงาน แผนผัง ความคิด พฤติกรรม 4 ระดับ พฤติกรรม 4 ระดับ เกณฑ์ผ่านคิดเป็น ร้อยละ 80 เกณฑ์ผ่านคิดเป็น ร้อยละ 80


12 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ 2) ด้านทักษะกระบวนการ (P) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ 3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจตคติ (A) ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ 4) ด้านสมรรถนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ 5) ปัญหาและอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................... ................................................................. ลงชื่อ........................................................ ครูผู้สอน (นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน) ครูชำนาญการพิเศษ


13 บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................... ................................................................. ลงชื่อ................................................................ (นางนฤมล หวังมั่น) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของฝ่ายวิชาการ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ................................................................. (นางสิริกานต์ วายโศรก) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ................................................................... (นางสาวกัลยกร จันทร์ดาอ่อน) รองผู้อำนวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร


14 บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ................................................................... (นางสาวทองใบ ตลับทอง) ผู้อำนวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร


15 ใบกิจกรรมที่5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร จุดประสงค์ : 1. รวบรวมข้อมูลและสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคและการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 2. เปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของ อนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส วัสดุและอุปกรณ์……………………………………….……………………………………………………………………………………… วิธีดำเนินกิจกรรม 1. คาดคะเนและบันทึกการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของสาสาร ในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส และสร้างแบบจำลองอนุภาคตามที่คาดคะเน 2. รวบรวมข้อมูลแบบจำลองอนุภาคของสสารแต่ละสถานะเกี่ยวกับการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส จากสื่อบน อินเตอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ 3. วิเคราะห์ข้อมูลแบบจำลองอนุภาคที่รวบรวมได้ในข้อ 2 และปรับแก้แบบจำลองอนุภาคที่สร้างไว้ จากการคาดคะเนในข้อ 1 ให้ถูกต้อง 4. นำเสนอแบบจำลองอนุภาคที่ปรับแก้แล้ว โดยอธิบายและเปรียบเทียบแบบจำลองอนุภาคของสา สารในแต่ละสถานะ บันทึกผลการทำกิจกรรม การจัดเรียงอนุภาคของสสาร สถานะของแข็ง สถานะของเหลว สถานะแก๊ส ใบกิจกรรมที่ 5.1 แบบจำ ลองอนุภำคของสสำรในแต่ละสถำนะเป็ นอย่ำงไร


16 คำถามท้ายกิจกรรม 1. การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สเป็นอย่างไร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.แบบจำลองอนุภาคที่สร้างขึ้น มีอะไรบ้างที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นตามความเป็นจริง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ******************************************** ใบกิจกรรมที่ 5.1 แบบจำ ลองอนุภำคของสสำรในแต่ละสถำนะเป็ นอย่ำงไร


17 ใบกิจกรรมที่5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร จุดประสงค์ : 1. รวบรวมข้อมูลและสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคและการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 2. เปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของ อนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส วัสดุและอุปกรณ์กระดาษ ดินสอสี กรรไกร และวัสดุและอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ดินน้ำมัน โฟม ลูกปิงปอง วิธีดำเนินกิจกรรม 1. คาดคะเนและบันทึกการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของสาสาร ในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส และสร้างแบบจำลองอนุภาคตามที่คาดคะเน 2. รวบรวมข้อมูลแบบจำลองอนุภาคของสสารแต่ละสถานะเกี่ยวกับการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส จากสื่อบน อินเตอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ 3. วิเคราะห์ข้อมูลแบบจำลองอนุภาคที่รวบรวมได้ในข้อ 2 และปรับแก้แบบจำลองอนุภาคที่สร้างไว้ จากการคาดคะเนในข้อ 1 ให้ถูกต้อง 4. นำเสนอแบบจำลองอนุภาคที่ปรับแก้แล้ว โดยอธิบายและเปรียบเทียบแบบจำลองอนุภาคของสา สารในแต่ละสถานะ บันทึกผลการทำกิจกรรม การจัดเรียงอนุภาคของสสาร สถานะของแข็ง สถานะของเหลว สถานะแก๊ส คำถามท้ายกิจกรรม


18 1. การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สเป็นอย่างไร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในแต่ละ สถานะมีความแตกต่างกัน อนุภาคของของแข็งจะเรียงชิดกัน โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของแข็ง มากกว่าของเหลวและแก๊ส และสั่นอยู่กับที่ อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน โดยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ของของเหลวน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคของของเหลวจึงเคลื่อนที่ได้ แต่ไม่เป็นอิสระ โดยจะ เคลื่อนที่รอบ ๆ อนุภาคใกล้เคียง อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก โดยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก อนุภาคจึงเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง 2.แบบจำลองอนุภาคที่สร้างขึ้น มีอะไรบ้างที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นตามความเป็นจริง เช่น ขนาดอนุภาค จำนวนอนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค การเคลื่อนที่ของอนุภาค 3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊สมีทั้งส่วนที่เหมือนกันและแตกต่างกัน อนุภาคของของแข็งจะเรียงชิดกันมากกว่า ของเหลวและแก๊ส โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากกว่าของเหลวและแก๊สอนุภาคของของแข็งสั่นอยู่กับ ที่ ในขณะที่อนุภาคของของเหลวเคลื่อนที่ได้รอบๆ อนุภาคใกล้เคียงและอนุภาคของแก๊ส ********************************************


19 ใบกิจกรรมการทดลองที่ 5.1 เรื่อง อนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ชื่อ ……………………………………….……………………………..……… เลขที่ ………..… ชั้น ……...… กลุ่ม ………… คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาและลงมือปฏิบัติการทดลอง เรื่อง อนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส และ บันทึกรายละเอียด ของข้อมูลอภิปรายผลและสรุปผล จุดประสงค์ 1. ลงมือปฏิบัติการทดลองตามขั้นตอนได้ 2. ออกแบบตารางการทดลองได้ 3. อภิปรายและสรุปผลการทดลองได้ 4. สามารถนำเสนอรายงานผลการทดลองต่อสมาชิกในห้องได้ ตอนที่ 1 แบบจำลองอนุภาคของ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 1.1 อุปกรณ์และสารเคมี รายการ หน่วยนับ อุปกรณ์ 1. ขวดพลาสติกขนาด 500 cm³ 2. เม็ดโฟมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-10 mm 3. จุกยาง 4. ท่อนำแก๊ส 1 ขวด 1 ถุง 1 อัน 1 ท่อ สารเคมี ไม่ใช้สารเคมี 1.2 วิธีการทดลอง 1.2.1 นำขวดพลาสติกขนาด 500 cm³ ที่ก้นขวดเจาะรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 mm ประมาณ 10-15 รู บรรจุเม็ดโฟมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-10 mm ลงในขวดใบนี้ประมาณ 80 cm³ ปิดปากขวดด้วยจุกยาง ที่มีท่อนำแก๊ส 1 ท่อเสียบอยู่ 1.2.2 ควํ่าปากขวดลง จากนั้นเป่าลมเข้าไปในท่อนำแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ สังเกตการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม บันทึกผล 1.2.3 ค่อยๆ เป่าลมให้แรงมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงแรงที่สุด สังเกตการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม บันทึกผลการ เปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เป่าลมลงไปในขวด ใบกิจกรรมการทดลองที่ 5.1 เรื่อง อนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส


20 1.3 ให้นักเรียนออกแบบตารางบันทึกผลเพื่อนำเสนอข้อมูลในการทดลองต่อไปนี้ การเป่าลมในท่อ การเปลี่ยนแปลงของเม็ดโฟม เป่าลมอย่างช้าๆ เบาๆ เป่าลมแรงขึ้น เป่าลมแรงที่สุด 1.4 อภิปรายผล ………………………………………………………………………………………………………………..………………………………… ……………………………………………………………………………..…………………………………………………………………… …………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ………..………………………………………………………………………………………………………………..……………………… ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………… ……………………………………………………..…………………………………………………………………………………………… ………………….……………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………..……………………………………………………………………………………. 1.5 สรุปผล ………………………………………………………………………………………………………………..………………………………… ……………………………………………………………………………..…………………………………………………………………… …………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ………..………………………………………………………………………………………………………………..……………………… ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………… ……………………………………………………..…………………………………………………………………………………………… ………………….……………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………..……………………………………………………………………………………


21 คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือประโยคในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 6 คะแนน) แบบจำลอง อนุภาคของสสาร สถานะ …………………………………... …………………………………... …………………………………... ระยะห่างระหว่าง อนุภาค …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... การเคลื่อนที่ของ อนุภาค …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... …………………………………... คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่คิดว่าถูกและทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่คิดว่าผิด ( 5 คะแนน) ..............1. จุ๊กกรู้เทน้ำสีแดงปริมาตร 50 บาศก์เซนติเมตร ลงในบีกเกอร์ ผลการทดลองที่เกิดขึ้น คือ น้ำสีแดงมีปริมาตรเท่าเดิม ..............2. แก๊สออกซิเจนมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก และมีช่องว่างระหว่างอนุภาคมาก ที่สุด ..............3. ของเหลวและแก๊สสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ตามภาชนะที่บรรจุและมีปริมาตรไม่คงที่ ..............4. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของแก๊สน้อยมาก ทำให้แก๊สฟุ้งกระจายได้อย่างอิสระ ..............5. โทรศัพท์มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเรียงชิดกันและสั่นอยู่กับที่ ..............6. อนุภาคของสสารทุกสถานะจะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระตลอดเวลา ..............7. อากาศจะเปลี่ยนรูปร่าง เมื่อถูกปล่อยออกจากลูกโป่ง ..............8. หนังสือ มีรูปร่างคงที่ และมีปริมาตรคงที่ ..............9. หินจะมีรูปร่างเปลี่ยนไป เมื่อหยิบจากพื้นใส่กล่อง ..............10. น้ำนม มีรูปร่างที่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ ใบงำนที่ 5.1 เรื่อง แบบจ ำลองอนุภำคของสสำรในแต่ละสถำนะ ชื่อ....................................................................ชั้น............. เลขที่.......... คะแนน ตอนที่1 ตอนที่2 ใบงำนที่ 5.1 เรื่อง แบบจ ำลองอนุภำคของสสำรในแต่ละสถำนะ ชื่อ.............................................ชั้น.............เลขที่.......... คะแนน 11


22 คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือประโยคในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 6 คะแนน) /12 ช่องว่าง นำมาหาร 2 แบบจำลอง อนุภาคของสสาร สถานะ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ระยะห่างระหว่าง อนุภาค อนุภาคอยู่ชิดกัน อนุภาคอยู่ห่างกัน มากกว่าของแข็งแต่น้อย กว่าแก๊ส อนุภาคอยู่ห่างกัน มากที่สุด แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีแรงยึดเหนี่ยวมากที่สุด มีแรงยึดเหนี่ยวน้อยกว่า ของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส มีแรงยึดเหนี่ยวน้อยที่สุด การเคลื่อนที่ของ อนุภาค อนุภาคสั่นอยู่กับที่ อนุภาคเคลื่อนที่รอบๆ อนุภาคใกล้เคียง อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่าง อิสระทุกทิศทาง คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่คิดว่าถูกและทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่คิดว่าผิด ( 5 คะแนน) ..........1. จุ๊กกรู้เทน้ำสีแดงปริมาตร 50 บาศก์เซนติเมตร ลงในบีกเกอร์ ผลการทดลองที่เกิดขึ้น คือ น้ำสีแดงมีปริมาตรเท่าเดิม ..... ...2. แก๊สออกซิเจนมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก และมีช่องว่างระหว่างอนุภาคมาก ที่สุด ..... .....3. ของเหลวและแก๊สสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ตามภาชนะที่บรรจุและมีปริมาตรไม่คงที่ ..... .....4. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของแก๊สน้อยมาก ทำให้แก๊สฟุ้งกระจายได้อย่างอิสระ ..... .....5. โทรศัพท์มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเรียงชิดกันและสั่นอยู่กับที่ ..... .....6. อนุภาคของสสารทุกสถานะจะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระตลอดเวลา ..... .....7. อากาศจะเปลี่ยนรูปร่าง เมื่อถูกปล่อยออกจากลูกโป่ง ..... .....8. หนังสือ มีรูปร่างคงที่ และมีปริมาตรคงที่ ..... ....9. หินจะมีรูปร่างเปลี่ยนไป เมื่อหยิบจากพื้นใส่กล่อง ..... ....10. น้ำนม มีรูปร่างที่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ตอนที่1 ตอนที่2


23 รายวิชา วิทยาศาสตร์2 รหัสวิชา ว21103 หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง พลังงานความร้อน รวม 28 ชั่วโมง เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เวลา 4 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 1.1 สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลัง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1.2 ตัวชี้วัด ม.1/1วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูลและคำนวณ ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยน อุณหภูมิ และเปลี่ยนสถานะโดยใช้ สมการ Q =mc∆t และ Q = mL ม.1/2 ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิของสสาร 2. สาระสำคัญ • เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะหรือเปลี่ยน รูปร่าง • ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิขึ้นกับมวลความร้อนจำเพาะและอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป • ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ ขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะโดยขณะที่ สสาร เปลี่ยนสถานะอุณหภูมิจะไม่เปลี่ยนแปลง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้(K) นักเรียนสามารถ 3.1.1 อธิบายการเปลี่ยนอุณหภูมิของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสียความร้อน 3.2 ด้านกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ 3.2.1 ทักษะการทดลอง 3.2.2 การเขียนรายงานการทดลอง 3.2.3 การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจคติทางวิทยาศาสตร์ (A) นักเรียนสามารถ 3.3.1 มีวินัย


24 3.3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3.3 อยู่อย่างพอเพียง 3.3.4 มุ่งมั่นในการทำงาน 3.3.5 มีจิตสาธารณะ 3.4 สมรรถนะสำคัญของนักเรียน 3.4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.4.2 ความสามารถในการคิด 4. คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R8C) 3R ทักษะพื้นฐานที่จำเป็น ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ (กาเครื่องหมาย ✓ ) Reading คือ สามารถอ่านออก ✓ (W) Riteing คือ สามารถเขียนได้ ✓ (A) Rithmatic คือ มีทักษะในการคำนวณ ✓ 8C ทักษะต่างๆที่จำเป็น ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ (กาเครื่องหมาย ✓ ) Critical thinking and problem solving ✓ Creativity and innovation Cross-cultural understanding Collaboration teamwork and leadership ✓ Communication information and media literacy ✓ Computing and IT literacy Career and learning skills Compassion ✓ 5. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) - การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร - ปริมาณความร้อน - ความร้อนจำเพาะ - อุณหภูมิ 6. กิจกรรมการเรียนการสอน


25 กระบวนการเรียนรู้ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) เทคนิคการเรียนรู้แบบ เพื่อนคู่คิด(Think pair Share) 6.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ให้นักเรียนสังเกตภาพ การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของอาหาร ร่วมกันอภิปราย และตอบคำถามว่า นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในภาพ (แนวคำตอบ เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของอาหาร) 2. ครูตั้งคำถามชวนคิดกับนักเรียนมนุษย์ได้รับพลังงานความร้อนมาจากที่ใดบ้าง? (แนวคำตอบ - ดวงอาทิตย์ - พลังงานในของเหลวร้อนใต้พื้น - การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง - พลังงานไฟฟ้า - พลังงานนิวเคลียร์ 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความร้อน และให้นักเรียนสังเกตภาพการทำอาหารโดย ตั้งคำถามกับนักเรียนว่า ทำอย่างไรถึงจะต้มน้ำในหม้อให้เร็วที่สุด? (แนวคำตอบ ลดปริมาณน้ำ เพิ่มความแรงของไฟ) 4. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การทดลอง เรื่อง ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 5. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มๆละ 4-5 คน (Group of Four) จำนวน 6 กลุ่ม โดยแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้หมุนเวียนสลับไปเรื่อยๆดังนี้ 5.1 คุณอำนวย ทำหน้าที่ อำนวยความสะดวกต่าง 5.2 คุณวางแผน ทำหน้าที่ วางแผนในการทำงาน 5.3 คุณรวบรวม ทำหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ 5.4 คุณนำเสนอ ทำหน้าที่ นำเสนอผลงาน 6 .ครูแจ้งข้อตกลงพร้อมสาธิตกับนักเรียนว่าเมื่อครูยกมือขวาขึ้น นักเรียนทุกคนต้องหยุด กิจกรรม ทุกอย่าง หยุดคุย 6.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 1. ศึกษาวิธีดำเนินกิจกรรมที่ 5.2 ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร ตอนที่ 1 - 2 และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ - กิจกรรมนี้เกี่ยวกับอะไร ( แนวคำตอบปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ของน้ำและสารอื่น ๆ )


26 - กิจกรรม ตอนที่ 1 นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมีวิธีบันทึก ผลอย่างไร (แนวคำตอบ นักเรียนต้องสังเกตและบันทึกอุณหภูมิของน้ำในบีกเกอร์ ทุกๆ 30 วินาที เป็นเวลา 3 นาที) - ร่วมกันระบุปัญหา สมมติฐาน และตัวแปรที่เกี่ยวข้องของการทดลองตอนที่ 1 ปัญหา จำนวนเทียนไขมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำหรือไม่ สมมติฐาน เช่น น้ำที่ได้รับความร้อนจากเทียนไขจำนวนมากกว่า จะมี อุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า ตัวแปรต้น จำนวนเทียนไข ตัวแปรตาม อุณหภูมิของน้ำ ตัวแปรควบคุม ชนิด ขนาด และความสูงของเทียนไข ปริมาณน้ำ ขนาด และชนิดของบีกเกอร์ ระยะเวลาที่ให้ความร้อน ลักษณะการติดตั้งหรือตำแหน่งของเทอร์มอมิเตอร์ - การทำกิจกรรม ตอนที่ 2 ต้องใช้วัสดุและอุปกรณ์ใดบ้าง ( นักเรียนตอบตามรายการวัสดุอุปกรณ์ ครูควรแนะนำวิธีและข้อควรระวังในการใช้ ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์และเทอร์มอมิเตอร์ การควบคุมตัวแปรเพื่อให้ผลการทดลองน่าเชื่อถือ เช่น ควรใช้ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ชุดเดียวกันเป็นแหล่งความร้อนให้กับน้ำทั้ง 2 บีกเกอร์) - นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมีวิธีบันทึกผลอย่างไร ( นักเรียนต้องสังเกตและบันทึกอุณหภูมิของน้ำในบีกเกอร์ ทุก ๆ 1 นาที เป็นเวลา 5 นาที) - ร่วมกันระบุปัญหา สมมติฐาน และตัวแปรที่เกี่ยวข้องของการทดลองตอนที่ 2 ปัญหา มวลของน้ำมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำหรือไม่ สมมติฐาน เช่น น้ำที่มีมวลน้อยกว่าจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า ตัวแปรต้น มวลของน้ำ ตัวแปรตาม อุณหภูมิของน้ำ ตัวแปรควบคุม ปริมาณความร้อนที่น้ำได้รับ ขนาดและความสูงของเปลวไฟ จากตะเกียงแอลกอฮอล์ (แหล่งความร้อนจากตะเกียงแอลกอฮอล์ชุดเดียวกัน) ขนาดและชนิดของ บีกเกอร์ ระยะเวลาที่ให้ความร้อน ชนิดของเทอร์มอมิเตอร์ ลักษณะการติดตั้งหรือตำแหน่งของเทอร์ มอมิเตอร์) 2. คุณครูใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบค่อย ๆ ปล่อยความรับผิดชอบ (Gradual Release of Responsibility: GRR) โดย ตอนที่ 1 ครูเป็นผู้สาธิตการทำการทดลองหน้าชั้นเรียน ตอนที่ 2 นักเรียนทำการทดลองเป็นกลุ่มย่อยตามวิธีการทดลองในหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ตอนที่ 3 นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบและทำการทดลองด้วยตัวเองเพื่อตอบคำถาม ที่ครูกำหนดให้


27 3.. เตรียมชุดอุปกรณ์ จำนวน 1 ชุด ไว้หน้าชั้นเรียน จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียน 2 – 3 คน ออกมาสาธิตการทดลอง โดยครูให้ความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด 4. ให้ตัวแทนนักเรียนบันทึกผลการทดลองในตารางที่ออกแบบไว้บนกระดานเพื่อให้ นักเรียนร่วมกันสังเกตผลการทดลอง 5. แสดงวิธีการเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลาเป็นตัวอย่างหน้าชั้น เรียน 6. ร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ปริมาณความร้อนที่ น้ำได้รับส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำในบีกเกอร์ที่ได้รับความร้อนจากเทียนไข 2 เล่ม มีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า ในบีกเกอร์ที่ได้รับความร้อนจากเทียนไข 1 เล่ม 7. แจกอุปกรณ์ให้นักเรียนทำกิจกรรมตอนที่ 2 ร่วมกัน นักเรียนทำกิจกรรมตามขั้นตอน พร้อมกับบันทึกผลการสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 8. สังเกตนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อแนะนำการทำกิจกรรมแก่นักเรียนอย่างใกล้ชิด โดยเน้นให้ นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม นอกจากนี้ครูควรสังเกตการบันทึกผลการสังเกตของ นักเรียนเพื่อให้ข้อแนะนำหากเกิดข้อผิดพลาดหรือไม่ครบถ้วนในการบันทึกผล รวมทั้งนำข้อมูลที่ควร จะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังทำกิจกรรม 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปริมาณความร้อนที่น้ำได้รับและมวลของน้ำมี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ นักเรียนคิดว่าชนิดของสสารมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ของสสารหรือไม่ อย่างไร (มี สสารแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแตกต่างกัน เมื่อได้รับความ ร้อนเท่ากัน) เพื่อนำไปสู่การออกแบบการทดลอง 10. ร่วมกันระบุปัญหา สมมติฐาน และตัวแปรที่เกี่ยวข้องของการทดลองตอนที่ 3 ปัญหา ชนิดของสสารมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารหรือไม่ สมมติฐาน เช่น สสารต่างชนิดกันจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแตกต่างกัน ตัวแปรต้น ชนิดของสสาร ตัวแปรตาม อุณหภูมิของสสาร ตัวแปรควบคุม ปริมาณความร้อนที่สสารได้รับ มวลของสสาร ขนาดและความสูง ของเปลวไฟจากตะเกียงแอลกอฮอล์(แหล่งความร้อนจากตะเกียงแอลกอฮอล์ชุดเดียวกัน) ขนาดและ ชนิดของ บีกเกอร์ ระยะเวลาที่ให้ความร้อน ชนิดของเทอร์มอมิเตอร์ ลักษณะการติดตั้งหรือตำแหน่ง ของเทอร์มอมิเตอร์) 11. แต่ละกลุ่มปฏิบัติการทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมกับบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 6.3 ขั้นอภิปรายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอและ เปรียบเทียบผลการทำกิจกรรมกับกลุ่มอื่น ๆ หากมีข้อมูลใดคลาดเคลื่อนควรอภิปรายแก้ไขให้ถูกต้อง


28 ตอนที่ 1 สรุปว่า ปริมาณความร้อนที่น้ำได้รับส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำในบีกเกอร์ที่ได้รับความร้อนจากเทียนไข 2 เล่ม มีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า ใน บีกเกอร์ที่ได้รับความร้อนจากเทียนไข 1 เล่ม ตอนที่ 2 สรุปได้ว่า มวลของน้ำมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำมวล 75 กรัมมีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าน้ำมวล 150 กรัม เมื่อได้รับความร้อนปริมาณเท่ากัน ตอนที่ 3 สรุปว่า ชนิดของสสารมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยเมื่อเวลาผ่าน ไป กลีเซอรอลหรือน้ำมันพืชมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นมากกว่าน้ำ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามว่า การ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารจากความร้อน ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง (แนวคำตอบ มวล ความร้อนจำเพาะของสาร และอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปของสาร) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม) 3. คุณครูให้นักเรียนดูภาพเท้าคนเดินบนทราย 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความร้อนที่ได้รับ และตั้งคำถามว่าสสารแต่ละ ชนิดได้รับปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารมวล 1หน่วย มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เรียกว่าอะไร (แนวคำตอบ ความร้อนจำเพาะมวล) ชั่วโมงที่ 3-4 6.3 ขั้นอภิปรายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนว่า ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง (แนวคำตอบ มวล ความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง) 2. คำนวณหาปริมาณความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนี้ Q = mcΔt


29 Q คือ ปริมาณความร้อนที่ได้รับหรือสูญเสียไปมีหน่วยเป็นแคลอรี ( cal ) m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็นกรัม (g) c คือ ความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุมีหน่วยเป็นแคลอรีต่อกรัมองศาเซลเซียส (cal/g ํC) ∆t คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปมีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส ( ํC) 3. ยกตัวอย่างโจทย์การคำนวณหาปริมาณความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ใน หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 และให้นักเรียนฝึกการคำนวณ โดยทำแบบฝึกหัดเรื่องความร้อน กับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 ลงในสมุด 4. ให้นักเรียนทำใบงานที่ 5.2 เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร โดย คุณครูแนะนำการคำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยนแปลง และร่วมกัน อภิปรายนักเรียนเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 6.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงเทอร์มอมิเตอร์ว่าคืออะไร (แนวคำตอบ เครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิ เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์ (thermometer) ซึ่งมักผลิตมาจากปรอทหรือแอลกอฮอล์ เมื่อของเหลวได้รับความร้อน จะมีการขยายตัวไปตามช่อง เล็กๆ ซึ่งมีสเกลบอกอุณหภูมิเป็นตัวเลข) 6. คำนวณหน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิว่าหน่วยของอุณหภูมิได้แก่ องศาเซลเซียส องศาฟาเรน ไฮต์และเคลวิน มีความสัมพันธ์กัน สามารถเปลี่ยนจากหน่วยหนึ่งเป็นหน่วยหนึ่งได้ โดยมีความสัมพันธ์ ดังนี้ 3 . ยกตัวอย่างโจทย์การคำนวณหาหน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 4 . นักเรียนทำใบงานที่ 5.2 เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 6.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) 1. ตรวจใบงานที่ 5.2 เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 2. ตรวจใบกิจกรรมที่ 5.2 เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร และตอบคำถามระหว่างเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจ


30 3. นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่าประทับใจอะไรบ้างจากการทำกิจกรรมลงใน กระดาษ Post it ที่ครูเตรียมให้ (Exit Ticket) 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงานที่ 5.2 เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 8. สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อ 1. Power Point เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 2. หนังสือวิทยาศาสตร์ ม.1 สสวท. เล่ม 2 แหล่งเรียนรู้ 1. การสืบค้นข้อมูลแหล่งเครือข่าย Internet สืบค้นข้อมูลในหัวข้อ ความร้อนกับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 9. การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ รายการประเมิน การวัดผลประเมินผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ การตีค่า เกณฑ์การตัดสิน 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 อธิบายการเปลี่ยน อุณหภูมิของสสารเนื่องจากได้รับ หรือสูญเสียความร้อน -ตรวจใบงาน ที่ 5.2 -.ตรวจใบ กิจกรรม ที่ 5.2 -ใบงานที่ 5.2 -ใบกิจกรรม ที่ 5.2 คะแนน รายข้อ แบบ 0/1 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 3.2.1 การทดลอง 3.2.2 การเขียนรายงานการ ทดลอง ทดลอง เขียน รายงาน แบบ ประเมิน การทดลอง แบบ ประเมิน พฤติกรรม 3 ระดับ พฤติกรรม 3 ระดับ เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80


31 รายการประเมิน การวัดผลประเมินผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ การตีค่า เกณฑ์การตัดสิน 3.2.3 การนำเสนอหน้าชั้นเรียน นำเสนอ ผลงาน หน้าชั้นเรียน การเขียน รายงาน การทดลอง แบบ ประเมินการ นำเสนอหน้า ชั้นเรียน พฤติกรรม 3 ระดับ เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และเจคติทาง วิทยาศาสตร์ (A) 3. 1. มีวินัย 4. 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. อยู่อย่างพอเพียง 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ การสังเกต พฤติกรรม แบบสังเกต เจตคติ ทาง วิทยาศาสตร์ ปฏิบัติได้ 2 คะแนน ปฏิบัติบ้าง 1 คะแนน ไม่ปฏิบัติ 0 คะแนน เกณฑ์ผ่าน ได้คะแนน 8 คะแนน จาก 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80 3.4 สมรรถนะสำคัญของ นักเรียน 3.4.1 ความสามารถในการ สื่อสาร 3.4.2 ความสามารถในการคิด แบบประเมิน แบบประเมิน -การ นำเสนอ ข้อมูล -จากการ ทำงาน แผนผัง ความคิด พฤติกรรม 4 ระดับ พฤติกรรม 4 ระดับ เกณฑ์ผ่านคิดเป็น ร้อยละ 80 เกณฑ์ผ่านคิดเป็น ร้อยละ 80


32 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ 2) ด้านทักษะกระบวนการ (P) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ 3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจตคติ (A) ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ 4) ด้านสมรรถนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ 5) ปัญหาและอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ........................................................ ครูผู้สอน (นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน) ครูชำนาญการพิเศษ


33 บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................... ................................................................. ลงชื่อ................................................................ (นางนฤมล หวังมั่น) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของฝ่ายวิชาการ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ................................................................. (นางสิริกานต์ วายโศรก) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................... ................................................................. ลงชื่อ................................................................... (นางสาวกัลยกร จันทร์ดาอ่อน) รองผู้อำนวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร


34 บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................... ................................................................. ลงชื่อ................................................................... (นางสาวทองใบ ตลับทอง) ผู้อำนวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงการคำนวณหาค่าปริมาณความร้อนที่ทำให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยนแปลงดังต่อไปนี้ โดยละเอียด( 6 คะแนน) 1. ความร้อนที่ทองสูญเสียมีค่ากี่แคลอรี เมื่อทองมวล 100 กรัม มีอุณหภูมิลดลงจาก 50 องศาเซลเซียส เป็น 20 องศาเซลเซียส (ความร้อนจำเพาะของทอง มีค่า 0.03 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส) (2 คะแนน) ใบงำนที่ 5.2 เรื่อง ควำมร้อนกบักำรเปลี่ยนแปลงอณุหภมูิของสสำร ชื่อ......................................................ชั้น.............เลขที่.......... คะแนน ตอนที่1


35 .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ถ้าต้องการทำให้แท่งแก้วมวล 0.5 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 25 องศาเซลเซียส เป็น 200 องศา เซลเซียสต้องให้ความร้อนแก่แท่งแก้วนี้กี่แคลอรี (ความร้อนจำเพาะของแท่งแก้ว มีค่า 0.2 แคลอรี/กรัม องศา เซลเซียส) (2 คะแนน) ............................................................................................................................................................ .................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ต้องให้ความร้อนแก่ทองแแดงมวล 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส กี่แคลอรี เพื่อให้ทองแดงเริ่ม หลอมเหลว (จุดหลอมเหลวของทองแดง มีค่า 1,083 องศาเซลเซียส ความร้อนจำเพาะของทองแดง มีค่า 0.09 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส) (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................. ................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ............................ .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


36 คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงการคำนวณหาค่าของอุณหภูมิดังต่อไปนี้โดยละเอียด ( 4 คะแนน) 1. ถ้านิดหน่อยเปิดแอร์ในห้องเรียนให้มีอุณหภูมิเท่ากับ 25 ˚C แสดงว่ามีค่าอุณหภูมิกี่เคลวิน (K) (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .... .............................................................................................................................................................................. 2. อิ่มเอมวัดอุณหภูมิของน้ำได้323 K สามารถคิดอุณหภูมิได้กี่องศาฟาเรนไฮต์(˚F) (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ************************************** ตอนที่2


37 คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงการคำนวณหาค่าปริมาณความร้อนที่ทำให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยนแปลงดังต่อไปนี้ โดยละเอียด( 6 คะแนน) 1. ความร้อนที่ทองสูญเสียมีค่ากี่แคลอรี เมื่อทองมวล 100 กรัม มีอุณหภูมิลดลงจาก 50 องศาเซลเซียส เป็น 20 องศาเซลเซียส (ความร้อนจำเพาะของทอง มีค่า 0.03 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส) (2 คะแนน) วิธีทำ จากสมการ Q = mcΔt Q = 100 g x 0.03 cal/g °C x (50 °C - 20 °C) Q = 100 g x 0.03 cal/g °C x 30 °C Q = 90 cal ตอบ ทองสูญเสียความร้อนปริมาณ 90 แคลอรี 2. ถ้าต้องการทำให้แท่งแก้วมวล 0.5 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 25 องศาเซลเซียส เป็น 200 องศา เซลเซียสต้องให้ความร้อนแก่แท่งแก้วนี้กี่แคลอรี (ความร้อนจำเพาะของแท่งแก้ว มีค่า 0.2 แคลอรี/กรัม องศา เซลเซียส) (2 คะแนน) วิธีทำ จากสมการ Q = mcΔt Q = 500 g x 0.2 cal/g °C x (200 °C - 25 °C) Q = 500 g x 0.2 cal/g °C x 175 °C Q = 17,500 cal ตอบ แท่งแก้วต้องได้รับความร้อนปริมาณ 17,500 แคลอรี 3. ต้องให้ความร้อนแก่ทองแแดงมวล 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส กี่แคลอรี เพื่อให้ทองแดงเริ่ม หลอมเหลว (จุดหลอมเหลวของทองแดง มีค่า 1,083 องศาเซลเซียส ความร้อนจำเพาะของทองแดง มีค่า 0.09 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส) (2 คะแนน) วิธีทำ จากสมการ Q = mcΔt Q = 100 g x 0.09 cal/g °C x (1,083 °C - 30 °C) Q = 100 g x 0.09 cal/g °C x 1,053 °C Q = 100 g x 0.09 cal/g °C x 1,053 °C Q = 9,477 cal ตอบ ต้องให้ความร้อนแก่ทองแดง 9,477 แคลอรี ใบงำนที่ 5.2 เรื่อง ควำมร้อนกบักำรเปลี่ยนแปลงอณุหภมูิของสสำร ชื่อ......................................................ชั้น.............เลขที่.......... คะแนน 10 ตอนที่1


38 คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงการคำนวณหาค่าของอุณหภูมิดังต่อไปนี้โดยละเอียด ( 4 คะแนน) 1. ถ้านิดหน่อยเปิดแอร์ในห้องเรียนให้มีอุณหภูมิเท่ากับ 25 ˚C แสดงว่ามีค่าอุณหภูมิกี่เคลวิน (K) (2 คะแนน) วิธีทำ จาก C/100 = K-273/100 (C/100)*100 = K-273 C = K-273 แทนค่า 25 = K-273 K = 25+273 K = 298 K ตอบ ห้องเรียนที่มีอุณหภูมิเท่ากับ 25 ˚C มีค่าอุณหภูมิ 298 เคลวิน 2. อิ่มเอมวัดอุณหภูมิของน้ำได้323 K สามารถคิดอุณหภูมิได้กี่องศาฟาเรนไฮต์(˚F) (2 คะแนน) วิธีทำ จาก K-273/100 = F-32/180 แทนค่า 323-273/100 = F-32/180 นำ20มาหารทั้ง2ข้าง 323-273/5 = F-32/9 323-273/5 = F-32/9 50/5 = F-32/9 10 = F-32/9 90 = F-32 F = 90+32 F = 122 ˚F ตอบ น้ำอุณหภูมิ 323 K สามารถคิดอุณหภูมิได้ 122 องศาฟาเรนไฮต์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ตอนที่2


39 รายวิชา วิทยาศาสตร์2 รหัสวิชา ว21103 หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง พลังงานความร้อน รวม 28 ชั่วโมง เรื่องความร้อนกับการขยายตัวและหดตัวของสสาร เวลา 4 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 1.1 สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1.2 ตัวชี้วัด ม.1/3 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการขยายตัวหรือ หดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสีย ความร้อน ม1/4 ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการหด และขยายตัวของสสารเนื่องจากความ ร้อนโดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะ วิธีการนำความรู้มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน 2. สาระสำคัญ • ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรือหดตัวได้เนื่องจากเมื่อสสารได้รับความร้อนจะทำให้ อนุภาค เคลื่อนที่เร็วขึ้นทำให้เกิดการขยายตัว แต่เมื่อสสารคายความร้อนจะทำให้อนุภาค เคลื่อนที่ช้าลงทำให้เกิดการ หดตัว • ความรู้เรื่องการหดและขยายตัวของสสาร เนื่องจากความร้อนนำไปใช้ประโยชน์ได้ด้านต่างๆ เช่น การสร้างถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถ 3.1.1 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการขยายตัวและหดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสียความร้อน 3.2 ด้านกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ 3.2.1 ทักษะการทดลอง 3.2.2 การเขียนรายงานการทดลอง


40 3.2.3 การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจคติทางวิทยาศาสตร์ (A) นักเรียนสามารถ 3.3.1 มีวินัย 3.3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3.3 อยู่อย่างพอเพียง 3.3.4 มุ่งมั่นในการทำงาน 3.3.5 มีจิตสาธารณะ 3.4 สมรรถนะสำคัญของนักเรียน 3.4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.4.2 ความสามารถในการคิด 4. คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R8C) 3R ทักษะพื้นฐานที่จำเป็น ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ (กาเครื่องหมาย ✓ ) Reading คือ สามารถอ่านออก ✓ (W) Riteing คือ สามารถเขียนได้ ✓ (A) Rithmatic คือ มีทักษะในการคำนวณ 8C ทักษะต่างๆที่จำเป็น ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ (กาเครื่องหมาย ✓ ) Critical thinking and problem solving ✓ Creativity and innovation Cross-cultural understanding Collaboration teamwork and leadership ✓ Communication information and media literacy ✓ Computing and IT literacy Career and learning skills Compassion ✓ 5.สาระการเรียนรู้ -การขยายตัวและการหดตัวของสาร -การใช้ประโยชน์จากการขยายตัวและการหดตัวของสาร 6. กิจกรรมการเรียนการสอน


41 กระบวนการเรียนรู้ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) เทคนิคการเรียนรู้แบบ เพื่อนคู่คิด(Think pair Share) ชั่วโมงที่ 1-2 6.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. นักเรียนศึกษาภาพบอลลูน 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร ดังนี้ - นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในภาพ ( แนวคำตอบ การลอยตัวของบอลลูน) บอลลูนสามารถลอยอยู่ในอากาศได้อย่างไร (แนวคำตอบ ความหนาแน่นอากาศภายในบอลลูนน้อยกว่าความหนาแน่นอากาศ ภายนอก) 3. นำภาพการยกตัวของถนนมาให้นักเรียนดู 4. ร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามดังต่อไปนี้ - นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในภาพ (แนวคำตอบ การยกตัวของถนน) - จากภาพนักเรียนคิดว่าเกิดจากสาเหตุใด


42 (แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง ) 5. ชี้แจงนักเรียนว่า นักเรียนจะสามารถอธิบายได้ว่าความร้อนสามารถทำให้ถนนยกตัวขึ้นได้ อย่างไร หลังจากที่นักเรียนได้ทำกิจกรรมที่ 5.3 ความร้อนส่งผลต่อสสารแต่ละสถานะอย่างไร 6. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มๆละ 4-5 คน (Group of Four) จำนวน 6 กลุ่ม โดยแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ โดยให้หมุนเวียนสลับไปเรื่อยๆดังนี้ 6.1 คุณอำนวย ทำหน้าที่ อำนวยความสะดวกต่าง 6.2 คุณวางแผน ทำหน้าที่ วางแผนในการทำงาน 6.3 คุณรวบรวม ทำหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ 6.4 คุณนำเสนอ ทำหน้าที่ นำเสนอผลงาน 7. ครูแจ้งข้อตกลงพร้อมสาธิตกับนักเรียนว่าเมื่อครูยกมือขวาขึ้น นักเรียนทุกคนต้องหยุด กิจกรรม ทุกอย่าง หยุดคุย 6.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูและนักเรียนร่มกันอภิปรายโดยใช้แนวคำถาม และปฏิบัติดังนี้ - กิจกรรมนี้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไร (แนวคำตอบ ผลของความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของอากาศ น้ำ และเหล็ก) - หลังการทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะรู้อะไร (แนวคำตอบ อธิบายผลของความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของอากาศ น้ำ และเหล็ก) กลุ่มที่ 1 และ 2 ทำกิจกรรมตอนที่ 1 ศึกษาผลของความร้อนต่อการ เปลี่ยนแปลงขนาดของอากาศ กลุ่มที่ 3 และ 4 ทำกิจกรรมตอนที่ 2 ศึกษาผลของความร้อนต่อการ เปลี่ยนแปลงขนาดของน้ำ กลุ่มที่ 5 และ 6 ทำกิจกรรมตอนที่ 3 ศึกษาผลของความร้อนต่อการ เปลี่ยนแปลงขนาดของเหล็ก 2. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีดำเนินกิจกรรม จากนั้นร่วมกันอภิปราย วิธีการทำกิจกรรม และศึกษาวีดิทัศน์สาธิตการทำกิจกรรม เรื่อง การขยายตัวและหดตัวของสสารในแต่ ละสถานะเป็นอย่างไร 3. นักเรียนทำกิจกรรมตามขั้นตอนพร้อมกับบันทึกผลการสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ สารที่แต่ละกลุ่มได้รับ โดยครูเดินสังเกตนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อแนะนำการทำกิจกรรมแก่นักเรียนอย่าง ใกล้ชิด โดยเน้นให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม 6.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)


43 1. นักเรียนในแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอและ เปรียบเทียบผลการทำกิจกรรมกับกลุ่มอื่น ๆ 2. นักเรียนอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่ออากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กได้รับความร้อนจะมี ปริมาตรเพิ่มขึ้นและขยายตัว ในทางตรงกันข้ามเมื่ออากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กสูญเสียความร้อนจะมี ปริมาตรลดลงและหดตัว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับอนุภาคของสสาร 3. นักเรียนทำใบงานที่ 5.3 เรื่อง ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 4. มอบหมายงานให้แก่นักเรียน โดยจากสถานการณ์ถนนยกตัวขึ้นเนื่องจากความร้อน ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มทำแผ่นพับเพื่ออธิบายสาเหตุของการยกตัวของถนน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อสื่อสารให้คนในชุมชนเข้าใจเหตุการณ์ดังกล่าว โดยนักเรียนต้องใช้ ภาษาที่เข้าใจง่ายและใช้แบบจำลองอนุภาคของสสารประกอบการอธิบาย ชั่วโมงที่3-4 6.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแผ่นพับที่มอบหมายไปในชั่วโมงที่แล้ว นักเรียนแต่ ละกลุ่มผลัดกันเล่าสิ่งที่ตนได้ศึกษามาให้สมาชิกในกลุ่มฟัง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แล้วสรุปข้อมูลเป็นความรู้ของกลุ่ม - สาเหตุของการยกตัวของถนน - แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น - ผลกระทบต่อคนในชุมชน 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างแบบจำลองการขยายและหดตัวของสสารแต่ละสถานะเมื่อได้รับ ความร้อน โดยการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและหนังสือเรียน 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรมโดยเขียนลงในกระดาษบรูฟ โดยติดผลการ ทำกิจกรรมรอบผนังห้องเรียน (Gallery walk) โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแก่กลุ่มตนเอง เพื่อให้สมาชิกได้ ร่วมกันตรวจทาน และสร้างความเข้าใจร่วมกัน 5. จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มเวียนเคลื่อนที่ไปฟังกลุ่มอื่น 6. เมื่อนักเรียนเวียนเคลื่อนที่ฟังการนำเสนอครบทุกกลุ่ม แล้วให้นักเรียนแต่ละคนติดดาว ให้กับกลุ่มที่นำเสนอได้ดีข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง แนวคำตอบ


44 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้คำถามดังนี้ - การขยายตัวหรือหดตัวของสสารแต่ละสถานะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) การขยายตัวหรือหดตัวของวัตถุที่ได้รับความร้อน นำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง (แนวคำตอบ การวางรางรถไฟ การเว้นรอยต่อของสะพาน การขึงสายไฟ เป็นต้น) 6.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) 1. ตรวจใบงานที่ 5.3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 2. ตรวจใบกิจกรรมที่ 5.3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร และตอบคำถามระหว่างเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจ 3. นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่าประทับใจอะไรบ้างจากการทำกิจกรรมลงในกระดาษ Post it ที่ครูเตรียมให้ (Exit Ticket) 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงานที่ 5.3 เรื่อง ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร - แผ่นพับ เรื่อง การยกตัวของถนน


45 8. สื่อ/วัสดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สื่อ 1. Power Point เรื่อง ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 2. หนังสือวิทยาศาสตร์ ม.1 สสวท. เล่ม 2 3. วีดิทัศน์สาธิตการทำกิจกรรม เรื่อง การขยายตัวและหดตัวของสสารในแต่ละ สถานะเป็นอย่างไร แหล่งเรียนรู้ 1. การสืบค้นข้อมูลแหล่งเครือข่าย Internet สืบค้นข้อมูลในหัวข้อ ความร้อนกับ การขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 9. การวัดผลและประเมิลผลการเรียนรู้ รายการประเมิน การวัดผลประเมินผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ การตีค่า เกณฑ์การตัดสิน 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถสร้าง แบบจำลองที่อธิบายการขยายตัว และหดตัวของสสารเนื่องจาก ได้รับหรือสูญเสียความร้อน -ตรวจใบงาน ที่ 5.3 -.ตรวจใบ กิจกรรม ที่ 5.3 -ใบงานที่ 5.3 -ใบกิจกรรม ที่ 5.3 คะแนน รายข้อ แบบ 0/1 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 3.2.1 การทดลอง 3.2.2 การเขียนรายงานการ ทดลอง ทดลอง เขียน รายงาน แบบ ประเมิน การทดลอง แบบ ประเมิน การเขียน รายงาน การทดลอง พฤติกรรม 3 ระดับ พฤติกรรม 3 ระดับ เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80


46 รายการประเมิน การวัดผลประเมินผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ การตีค่า เกณฑ์การตัดสิน 3.2.3 การนำเสนอหน้าชั้นเรียน นำเสนอ ผลงาน หน้าชั้นเรียน แบบ ประเมินการ นำเสนอหน้า ชั้นเรียน พฤติกรรม 3 ระดับ เกณฑ์การผ่าน คิดเป็นร้อยละ 80 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และเจคติทาง วิทยาศาสตร์ (A) 5. 1. มีวินัย 6. 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. อยู่อย่างพอเพียง 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ การสังเกต พฤติกรรม แบบสังเกต เจตคติ ทาง วิทยาศาสตร์ ปฏิบัติได้ 2 คะแนน ปฏิบัติบ้าง 1 คะแนน ไม่ปฏิบัติ 0 คะแนน เกณฑ์ผ่าน ได้คะแนน 8 คะแนน จาก 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80 3.4 สมรรถนะสำคัญของ นักเรียน 3.4.1 ความสามารถในการ สื่อสาร 3.4.2 ความสามารถในการคิด แบบประเมิน แบบประเมิน -การ นำเสนอ ข้อมูล -จากการ ทำงาน แผนผัง ความคิด พฤติกรรม 4 ระดับ พฤติกรรม 4 ระดับ เกณฑ์ผ่านคิดเป็น ร้อยละ 80 เกณฑ์ผ่านคิดเป็น ร้อยละ 80


47 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ 2) ด้านทักษะกระบวนการ (P) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ 3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจตคติ (A) ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ 4) ด้านสมรรถนะ ........................................................................................................... ..................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ 5) ปัญหาและอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ........................................................ ครูผู้สอน (นางสาวสุภาวดี เขียวหวาน) ครูชำนาญการพิเศษ


48 บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ................................................................ (นางนฤมล หวังมั่น) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของฝ่ายวิชาการ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................................. (นางสิริกานต์ วายโศรก) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...................................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................................... (นางสาวกัลยกร จันทร์ดาอ่อน) รองผู้อำนวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร


49 บันทึกความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................ ลงชื่อ................................................................... (นางสาวทองใบ ตลับทอง) ผู้อำนวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร


50 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน) 1. จงบอกปรากฏการณ์การขยายหรือหดตัวของสสารที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวันมา 4 ปรากฏการณ์ (2 คะแนน) 1.1 ................................................................................................................................................... 1.2 ................................................................................................................................................... 1.3 ................................................................................................................................................... 1.4 ................................................................................................................................................... 2.จงวาดภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของน้ำแข็งเมื่อได้รับความร้อน (2 คะแนน) 3.จงวาดภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของการจัดเรียงอนุภาคของของแข็งเมื่อได้รับความเย็น (2 คะแนน) 4.จงวาดภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของการจัดเรียงอนุภาคของของเหลวเมื่อได้รับความร้อน (2 คะแนน) 5.จงวาดภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของการจัดเรียงอนุภาคของแก๊สเมื่อได้รับความเย็น (2 คะแนน) ใบงำนที่ 5.3 เรื่อง ควำมร้อนกับกำรขยำยตัวหรือหดตัวของสสำร ชื่อ......................................................ชั้น.............เลขที่.......... คะแนน


Click to View FlipBook Version