The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bpi_futsal, 2021-11-01 04:18:57

คู่มือนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564

คู่มือนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

สารจากอธกิ ารบดี สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์

ขอแสดงความยนิ ดแี ละขอตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาใหมป่ กี ารศกึ ษา 2564 ทกุ คน ทไ่ี ดม้ โี อกาสเขา้ มาศกึ ษาตอ่ ในระดบั
ปรญิ ญาตรี ณ สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ เปน็ นามทส่ี มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
องคเ์ อกอคั รราชปู ถมั ภกมรดกศลิ ปวฒั นธรรมไทย โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเมอ่ื วนั ท ่ี 27 มนี าคม พ.ศ. 2540 เปน็ สถาบนั
การศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมที่มุ่งสร้างสรรค์ศาสตร์แห่งศิลป์ ผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางศิลปะควบคู่คุณธรรม
เพอ่ื ผดงุ รักษาและสืบสานศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ขอใหท้ กุ คนภาคภมู ใิ จท่ีมีโอกาสเข้ามาเป็นสมาชกิ ใหมข่ อง “สถาบัน
บณั ฑติ พฒั นศลิ ป”์ ซง่ึ เปน็ สถาบนั การศกึ ษาทเ่ี ปน็ ศนู ยร์ วมแหลง่ ความรดู้ า้ นศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ และหมน่ั พฒั นาตนเอง
ตลอดเวลา มงุ่ สเู่ ปา้ หมายในการส�ำ เรจ็ การศกึ ษา และสรา้ งชอ่ื เสยี งทด่ี ใี หแ้ กต่ นเองและสถาบนั ฯตอ่ ไป โดยรจู้ กั แบง่ เวลา
ในการทำ�กิจกรรมต่างๆให้เหมาะสม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการทำ�งานในอนาคต หากนักศึกษามีความมุ่งมั่นในการ
สั่งสม เสาะแสวงหา พัฒนาความรู้ทั้งจากการแนะนำ�สั่งสอนจากครูอาจารย์และศึกษาด้วยตนเอง จะเกิดความเจริญ
งอกงามทางปญั ญาได้ และทส่ี �ำ คญั คอื นอกจากเพยี บพรอ้ มดว้ ยความรทู้ างวชิ าการแลว้ ตอ้ งมจี รยิ ธรรม คณุ ธรรม กลา่ วคอื
เปน็ คนดี คนเกง่ ของสังคมดว้ ย
การที่นักศึกษาเข้ามาศึกษาและอยู่ร่วมกันในรั้วของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ซึ่งแต่ละคณะวิชา มีนักศึกษา
เป็นจำ�นวนมาก จึงมีความจำ�เป็นต้องเรียนรู้ กฎ ระเบียบ วิธีการในการศึกษา และการร่วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำ�ไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง ดังนั้น คู่มือนักศึกษาจึงเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับนักศึกษาที่ต้องเรียนรู้
และปฏบิ ตั ติ าม เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ วั นกั ศกึ ษาเองตลอดระยะเวลาทศ่ี กึ ษาอยู่ จนจบหลกั สตู รการศกึ ษาของสถาบนั ฯ
ขอให้นักศึกษาทุกคน ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และให้ความสำ�คัญกับการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและวิชาการอย่าง
ถ่องแท้ โดยบรู ณาการศาสตร์ต่างๆ เพ่อื ให้จะไดเ้ ป็นบัณฑิตท่พี ึงประสงคใ์ นยคุ ศตวรรษที่ 21 ของชาติตอ่ ไป
(นางนิภา โสภาสมั ฤทธิ์)
อธกิ ารบดสี ถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์

1 คมู่ อื นักศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ 2564

นางนภิ า โสภาสัมฤทธ�์
อธ�การบดสี ถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564 2

คณะผบู รห� าร สถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป

นายจริ พจน จึงบรรเจดิ ศกั ด์ิ ผศ.จุลชาติ อรัณยะนาค ผศ.ดร.ประวนี า เอ่ยี มยส่ี นุ
รองอธกิ ารบดี รองอธิการบดี รองอธกิ ารบดี

ผศ.อำนวย นวลอนงค ผศ.พหลยุทธ กนษิ ฐบุตร ผศ.เดน หวานจรงิ
รองอธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธกิ ารบดี

ดร.สรุ ัตน จงดา ผศ.ดร.ภูริ วงศวเิ ชียร ดร.สาริศา ประทีปชว ง
ผูชวยอธิการบดี ผูชว ยอธกิ ารบดี ผูช วยอธกิ ารบดี
3
คูม่ ือนักศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564

คณะผูบ รห� าร สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป

รศ.ดร.จนิ ตนา สายทองคำ ผศ.ชยากร เรอื งจำรญู นางสาวศิริลักษณ ฉลองธรรม นายกติ ติ อตั ถาผล
คณบดีคณะศิลปนาฏดรุ ยิ างค คณบดคี ณะศลิ ปวจิ ิตร คณบดคี ณะศิลปศึกษา ผูอำนวยการวิทยาลยั นาฏศลิ ป

ดร.กษมา ประสงคเจรญิ นายศวิ พงศ ก้งั สกลุ รศ.สมภพ เขยี วมณี นายศภุ รากร พานิชกิจ
ผอู ำนวยการวิทยาลยั นาฏศิลป ผอู ำนวยการวทิ ยาลยั นาฏศลิ ป ผอู ำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศลิ ป ผูอำนวยการวทิ ยาลยั นาฏศลิ ป

เชียงใหม นครศรีธรรมราช อางทอง รอ ยเอ็ด

นางพรี านุช รงุ ศรี ดร.จำเริญ แกว เพง็ กรอ นายลขิ ติ สนุ ทรสขุ ผศ.ดร.สมเกียรติ ภูมภิ กั ดิ์
ผูอำนวยการวทิ ยาลยั นาฏศิลป ผอู ำนวยการวิทยาลยั นาฏศลิ ป ผอู ำนวยการวิทยาลัยนาฏศิลป ผอู ำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศิลป

สโุ ขทัย กาฬสนิ ธุ ลพบุรี จนั ทบรุ ี

คู่มอื นักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์ 2564 4

คณะผูบรห� าร สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป

ผศ.กิตตชิ ัย รัตนพนั ธ นางวาสนา บุญญาพทิ กั ษ นายพงศกร ทพิ ยะสขุ ศรี นายจรญั หนองบวั
ผูอำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศลิ ป ผอู ำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศลิ ป ผูอำนวยการวทิ ยาลยั นาฏศิลป ผูอ ำนวยการวิทยาลยั ชางศลิ ป

พัทลงุ สพุ รรณบุรี นครราชสมี า

นางขวญั ใจ พิมพิมล นางอารีย สีลาพนั ธ นายสรุ นิ ทร วไิ ลนำโชคชยั นายวัชรินทร อา วสินธุศริ ิ
ผูอ ำนวยการวิทยาลยั ชา งศลิ ป ผูอำนวยการวิทยาลัยชา งศลิ ป ผูอ ำนวยการ ผูอำนวยการ

สุพรรณบุรี นครศรธี รรมราช สำนักงานอธิการบดี กองนโยบายและแผน

นางแสงแข โคละทัต นางละออ แกวสุวรรณ นายภัทรชัย พวงแผน นางภสั นันท สมนาค
ผูอ ำนวยการ ผูอำนวยการ ผูอำนวยการ รกั ษาการผอู ำนวยการ
กองกลาง กองบริหารทรัพยากรบุคคล
กองกจิ การนกั เรียนนักศึกษา กองสง เสริมวชิ าการและงานวจิ ัย

5 คู่มอื นกั ศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ 2564

ค�ำ น�ำ

คู่มือนักศึกษาเล่มนี้ จัดทำ�ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้ใช้เป็นคู่มือ
ในการศึกษา และถอื ปฏิบตั ิตลอดระยะเวลาของการเป็นนักศกึ ษาของสถาบัน
เอกสารเล่มนี้ประกอบด้วยความสำ�คัญ 4 ตอน และภาคผนวก
ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไป
ตอนที่ 2 การจดั การศึกษา
ตอนที่ 3 กิจกรรมนกั ศกึ ษา
ตอนที่ 4 การให้บรกิ ารนกั ศกึ ษา
ภาคผนวก ขอ้ บังคับ ระเบียบ ประกาศ และเครอื่ งแตง่ กายนกั ศึกษา
นกั ศกึ ษาทกุ คนควรศกึ ษาคมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี และท�ำ ความเขา้ ใจกบั ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ และประกาศ
ของสถาบันฯ เพื่อนักศึกษาจะได้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเป็นประโยชน์สำ�หรับนักศึกษา โดยเฉพาะในหัวข้อ
ที่เกี่ยวกับการศึกษา เช่น การลงทะเบียนเรียน การขอเทียบโอนผลการเรียน การลาพักการศึกษาและการรักษาสภาพ
การเป็นนักศึกษา การวัดผลและประเมินผล การคำ�นวณหาค่าระดับคะแนนเฉลี่ย ผลการเรียนที่ต้องตรวจสอบ เกณฑ์
การพน้ สภาพการเป็นนักศกึ ษา และการขอสำ�เรจ็ การศึกษา เปน็ ต้น
กองกจิ การนกั เรยี นนกั ศกึ ษา สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื นกั ศกึ ษาเลม่ น้ี จะเปน็ ประโยชน์
กับนักศกึ ษา และผสู้ นใจโดยท่ัวไป

กองกิจการนักเรยี นนักศกึ ษา
สถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป์
ตลุ าคม 2564

สารบัญ

หน้า
สารอธกิ ารบดี สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์ ....................................................................................................... 1
คณะผู้บริหาร สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์ ....................................................................................................... 2
ค�ำ น�ำ .............................................................................................................................................................. 6

ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป
ประวัติสถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ ......................................................................................... 11
วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ อัตลกั ษณ์ อัตลักษณข์ องบณั ฑติ เอกลักษณ์
คณุ ลักษณะบณั ฑิตท่พี ึงประสงค์ ของสถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป์ .......................................... 14
สถานทีต่ ง้ั ........................................................................................................................... 16

ตอนที่ 2 การจัดการศึกษา
การก�ำ หนดรหสั นกั ศึกษา.................................................................................................... 19
ปฏทิ นิ การจัดการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 ....................................................................... 22
หลักสูตรการศึกษา และคณะ/วิทยาลยั ที่เปิดสอน ............................................................ 27

ตอนท่ี 3 กจิ กรรมนกั ศึกษา
กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร ...................................................................................................... 124

ตอนที่ 4 การใหบ้ ริการนักศึกษา
การใหบ้ ริการด้านทะเบยี นและประมวลผล ...................................................................... 127
- ข้นั ตอนการลงทะเบยี นในระบบออนไลน์ ....................................................................... 127
- ขัน้ ตอนการขอเอกสารส�ำ คญั ทางการศกึ ษาในระบบออนไลน์ ....................................... 131
การให้บริการงานดา้ นกจิ การนกั ศกึ ษา .......................................................................... 137
- งานดา้ นพฒั นานกั ศกึ ษา ............................................................................................... 137
- งานสโมสรนกั ศกึ ษา ...................................................................................................... 138
- งานบริการห้องสมดุ ...................................................................................................... 138
- งานบรกิ ารแนะแนวและจดั หางาน ............................................................................... 139
- งานบริการดา้ นสุขภาพอนามยั .................................................................................... 139
- งานบรกิ ารประกันอุบัตเิ หตุ ......................................................................................... 139
- บรกิ ารทำ�บัตรประจำ�ตัวนกั ศึกษา ............................................................................... 141

- บริการเก่ยี วกับการเรียนนกั ศึกษาวิชาทหารและการผอ่ นผัน
การตรวจเลอื กเขา้ รบั ราชการทหาร .................................................................................. 141
- ทุนการศกึ ษา ................................................................................................................... 144
- กองทนุ กยู้ ืมเพอ่ื การศึกษา .............................................................................................. 147
ภาคผนวก ข้อบังคับ ระเบยี บ และประกาศ ....................................................................................... 151
เครือ่ งแตง่ กายนักศกึ ษา ……………………………………………………………………....................... 154

ตอนที่ 1

ขอ้ มูลท่ัวไป

ประวตั สิ ถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์
วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ อัตลกั ษณ์ อัตลกั ษณข์ องบณั ฑติ เอกลักษณ์ คณุ ลักษณะบณั ฑิต
ทีพ่ งึ ประสงค์ ของสถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป ์
สถานทต่ี ้ัง

9 คู่มอื นักศึกษา ระดบั ปริญญาตรี สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์ 2564

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ 2564 10

ประวตั ิสถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม
มีอำ�นาจหน้าที่ตามที่ระบุในวัตถุประสงค์ของสถาบัน มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 ที่ว่า “ให้การศึกษาและส่งเสริมวิชาการตั้งแต่
ระดบั พน้ื ฐานวชิ าชพี ถงึ วชิ าชพี ชน้ั สงู ดา้ นนาฏศลิ ป์ ดรุ ยิ างคศลิ ป์ คตี ศลิ ปแ์ ละชา่ งศลิ ป์
ทั้งไทยและสากล รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ทำ�การสอน
ทำ�การแสดง ทำ�การวิจัย และให้บริการทางวิชาการ ตลอดจนส่งเสริม สืบสาน
สร้างสรรค์ ทะนุบำ�รุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
และศิลปวฒั นธรรมทหี่ ลากหลายของชุมชนในทอ้ งถิ่น”
นาม “บัณฑิตพัฒนศิลป์” เป็นนามที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปถัมภ์มรดก
ศิลปวัฒนธรรมไทย โปรดเกล้าฯ พระราชทาน เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2540
ซ่งึ เปน็ การยกระดับการศกึ ษาด้านนาฏศลิ ป์ ดุรยิ างคศลิ ป์ คตี ศิลป์ และทัศนศลิ ป ์
เพอื่ นำ�ศลิ ปะมาพฒั นาตนเอง สังคมและประเทศชาติ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เดิมเป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกรมศิลปากร
กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการสถาปนาขึ้นตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษา
ระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2541 โดยมีบทบาทหน้าที่ในการ
จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และช่างศิลป์ทั้งไทยและ
สากล การดำ�เนินการในการจัดตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2521
โดยกรมศลิ ปากรไดพ้ ยายามผลกั ดนั ในเรอ่ื งการยกระดบั การศกึ ษาวชิ าชพี พเิ ศษเหลา่ น้ี
แตย่ งั ไมป่ ระสบความส�ำ เรจ็ จนกระทง่ั เมอ่ื วนั ท่ี 2 พฤศจกิ ายน 2541 มกี ารประกาศใช้
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ.
2541 ในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 115 ตอนที่ 79 หน้า 13-23 และมีผลบังคับใช้
ต้ังแต่วันที่ 3 พฤศจกิ ายน 2541
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เปิดดำ�เนินการสอนครั้งแรกใน 3 คณะวิชา
คือ คณะศิลปวิจิตร คณะศิลปนาฏดุริยางค์ และคณะศิลปศึกษา ตั้งแต่วันที่ 4
มิถุนายน 2542 เป็นหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) 2 ปี สำ�หรับผู้ที่สำ�เร็จการศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นสูง (ปนส.) จากวิทยาลัยนาฏศิลปทุกแห่งและผู้ที่
สำ�เร็จการศึกษาหลักสูตรศิลปกรรมระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ศ.ปวส.)
จากวิทยาลยั ชา่ งศลิ ปทกุ แหง่

11 คูม่ ือนักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564

ปีการศึกษา 2547 ได้ขยายการผลิตบัณฑิต โดยเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) ในคณะศิลปวิจิตร
และคณะศลิ ปนาฏดรุ ยิ างค์ เปดิ สอนหลักสตู รปริญญาตรี (5 ปี) ในคณะศิลปศึกษาและเปิดห้องเรยี นเครอื ขา่ ยคณะ
ศิลปศกึ ษา ในวทิ ยาลยั นาฏศิลปภมู ภิ าค
ปีการศึกษา 2548 ได้ขยายการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) คณะศิลปวิจิตร
ในหอ้ งเรียนเครอื ข่ายวทิ ยาลัยช่างศลิ ปะสุพรรณบรุ ี
ปีการศึกษา 2550 ได้ขยายการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ ในห้องเรียนเครือข่าย
วิทยาลัยนาฏศิลปะกาฬสินธแ์ุ ละวทิ ยาลยั นาฏศิลปะรอ้ ยเอด็
ปีการศึกษา 2553 ได้ขยายการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี คณะศิลปศึกษาในห้องเรียนเครือข่ายวิทยาลัย
นาฏศิลป และขยายการผลิตบณั ฑิตระดับปริญญาโท สาขาวิชานาฏศิลปไ์ ทย และสาขาวิชา ดรุ ิยางคศิลปไ์ ทย
ปกี ารศกึ ษา 2554 ไดข้ ยายการผลติ บณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรี คณะศลิ ปวจิ ติ รในหอ้ งเรยี นเครอื ขา่ ยวทิ ยาลยั ชา่ งศลิ ป
ปีการศึกษา 2560 เปิดการเรียนการสอนระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
ของคณะศลิ ปวิจติ ร
ปีการศึกษา 2561 สถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป์ ได้ด�ำ เนินการ ดงั น้ี
1) สภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์อนุมัติหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต)
ในการประชุมครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 และคุรุสภามีมติรับรองปริญญาและประกาศนียบัตร
ทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ ในการประชุมครั้งที่13/2561 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2561 เปิดทำ�การเรียน
การสอนในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 เป็นรุ่นแรก โดยเปิดรับนักศึกษาปีการศึกษาละ 60 คน ตามที่ได้รับ
อนุมตั จิ ากครุ ุสภา
2) สภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้อนุมัติในหลักการให้วิทยาลัยนาฏศิลปในสังกัดทั้ง 12 แห่ง ได้แก่
วิทยาลัยนาฏศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด วิทยาลัยนาฏศิลป
กาฬสินธุ์ วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง วิทยาลัยนาฏศิลป
สุพรรณบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง และวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช เปิดสอน
ในระดับปริญญาตรีได้ โดยวิทยาลัยต้องมีความพร้อมและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา (สกอ.) กำ�หนด ตามมติสภาสถาบัน เห็นชอบเกณฑ์การพิจารณากลั่นกรองการเปิดสอนระดับปริญญาตรี
ของวทิ ยาลยั ในสังกัดสถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์ ในการประชมุ คร้งั ท่ี 5/2561 เมอ่ื วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2561
ปีการศึกษา 2562 สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ ไดด้ �ำ เนนิ การ ดังน้ี
1) เปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอก หลักสูตรศิลปดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ (หลักสูตรใหม่
พ.ศ. 2562) และ หลกั สตู รศลิ ปดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าดรุ ยิ างคศลิ ป์ (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2562) โดยสภาสถาบนั บณั ฑติ
พัฒนศิลปอ์ นมุ ัตหิ ลักสตู ร ในการประชมุ คร้งั ท่ี 1/2562 เม่อื วนั ท่ี 31 มกราคม 2562
2) สภาสถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ อนมุ ัติหลกั สูตรนาฏดุริยางคศลิ ป์ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช
2562 ในการประชุมครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2562 โดยมีคำ�สั่งที่ 189/2562 เรื่อง การใช้หลักสูตร
นาฏดุริยางคศิลป์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2562 มีผลบังคับใช้กับ
วทิ ยาลยั นาฏศิลปทง้ั 12 แห่ง
3) ดำ�เนินการปรับปรุงหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 5 ปี มาเป็นหลักสูตร 4 ปี ได้แก่ หลักสูตร
ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ านาฏศลิ ปศ์ กึ ษา (4 ป)ี (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2562) และ หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ
สาขาวิชาดนตรีศึกษา (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562) โดยสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์อนุมัติหลักสูตร

คู่มือนกั ศึกษา ระดบั ปริญญาตรี สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์ 2564 12

ในการประชุมครั้งที่ 3/2562 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 เริ่มใช้หลักสูตรในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562
เปน็ ต้นไป
ปกี ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยชา่ งศิลปสุพรรณบุรี เปิดหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าศลิ ปศึกษา (4 ป)ี
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562) โดยสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 5/2562 เมื่อวันท่ี
31 กรกฎาคม 2562
ปจั จบุ นั สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ เปน็ สถานศกึ ษาในสงั กดั กระทรวงวฒั นธรรม ด�ำ เนนิ การตามพระราชบญั ญตั ิ
สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ พ.ศ. 2550 จดั การเรยี นการสอนตง้ั แตร่ ะดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานวชิ าชพี จนถงึ ระดบั ปรญิ ญาเอก
จัดการศกึ ษา 3 ระดบั ไดแ้ ก่
1) ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน เปดิ ท�ำ การเรียนการสอนในวิทยาลัยนาฏศิลปทงั้ 12 แห่ง
2) ระดับอาชวี ศกึ ษา เปดิ ท�ำ การเรยี นการสอนในวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปทัง้ 12 แหง่ และวิทยาลัยชา่ งศิลป 3 แหง่
3) ระดบั อุดมศกึ ษา หลักสตู รปรญิ ญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
มีหน่วยงานในสังกัดจำ�นวน 19 แห่ง ตามกฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2551 วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2551 ดงั นี้
1. ส�ำ นักงานอธิการบด ี 11. วิทยาลยั นาฏศิลปกาฬสนิ ธ์ุ
2. คณะศลิ ปนาฏดรุ ิยางค์ 12. วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปลพบรุ ี
3. คณะศิลปวจิ ิตร 13. วทิ ยาลยั นาฏศิลปจนั ทบุรี
4. คณะศิลปศึกษา 14. วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปพทั ลุง
5. วทิ ยาลัยนาฏศิลป 15. วิทยาลยั นาฏศิลปสุพรรณบรุ ี
6. วทิ ยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม ่ 16. วทิ ยาลยั นาฏศิลปนครราชสมี า
7. วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 17. วิทยาลัยช่างศลิ ป
8. วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปอ่างทอง 18. วทิ ยาลัยช่างศิลปสพุ รรณบุรี
9. วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปรอ้ ยเอด็ 19. วิทยาลยั ช่างศลิ ปนครศรธี รรมราช
10. วทิ ยาลัยนาฏศิลปสโุ ขทัย

13 คมู่ ือนกั ศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป์ 2564

วิสัยทัศน์ (Vision)
เป็นสถาบันชน้ั หน่ึงของชาตดิ า้ นนาฏศิลป์ ดุริยางคศลิ ป์ คีตศิลป์ ชา่ งศิลป์ และทัศนศิลป์ สร้างบัณฑติ
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ และนำ�สถาบนั สูน่ านาชาติ

พันธกิจ (Mission)
1. จดั การศกึ ษาระดบั พน้ื ฐานวชิ าชพี ถงึ วชิ าชพี ชน้ั สงู ดา้ นนาฏศลิ ป์ ดรุ ยิ างคศลิ ป์ คตี ศลิ ป์ ชา่ งศลิ ป์ และทศั นศลิ ป์
ท่มี คี ุณภาพเป็นท่ียอมรบั ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ
2. สร้างงานวจิ ัย งานสรา้ งสรรค์ งานนวัตกรรมที่เป็นองค์ความร้ดู า้ นศลิ ปวัฒนธรรม อย่างมีคณุ คา่ แก่สังคม
3. ให้บรกิ ารวชิ าการดา้ นศิลปวฒั นธรรมแกส่ ถานศึกษา ชุมชน และสังคม
4. อนรุ กั ษ์ พฒั นา สืบสาน และเผยแพร่ศลิ ปวฒั นธรรมสปู่ ระชาคมอาเซยี นและนานาชาติ
5. จดั การแสดงนาฏศิลป์ ดุรยิ างคศลิ ป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และทศั นศิลป์ เพือ่ เทิดทนู สถาบันหลกั ของชาตแิ ละ
ส่งเสริมความเป็นไทยในระดบั ชาติและนานาชาติ
6. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลตามหลกั ธรรมาภบิ าล

อตั ลกั ษณ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
“สบื สาน สรา้ งสรรค์ งานศลิ ป”์

อัตลกั ษณข์ องบัณฑิต สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์
“มอื อาชพี งานศลิ ป์”

เอกลักษณส์ ถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์
“เปน็ ผู้นำ�ด้านงานศลิ ป”์

ค่านิยมองคก์ ร สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์
“มุ่งมน่ั พฒั นา กา้ วหน้าวิชาการ สืบสานงานศิลป์”

คณุ ลกั ษณะบัณฑิตทพ่ี ึงประสงค์ ของสถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ (SMART)
“รอบรู้งานศลิ ป์ คดิ อย่างสร้างสรรค์ ยึดม่ันคุณธรรม กา้ วสู่สากล”

คู่มอื นักศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564 14

สถานทตี่ ัง้

1. สาํ นกั งานอธิการบดี
- เลขที่ 119/19 หมู่ 3 ตําบลศาลายา อาํ เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170
โทรศัพท์ 0-2482-2176-78 เวบ็ ไซต์ : www.bpi.ac.th
- โครงการบัณฑติ ศกึ ษา สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ เลขที่ 2 ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร
กรงุ เทพมหานคร 10200 โทร.0-2224-4704 ตอ่ 420,421 http://graduate.bpi.ac.th/

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2. คณะศลิ ปนาฏดุรยิ างค์
เลขที่ 119/12 หมู่ 3 ตาํ บลศาลายา อําเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170
โทรศัพท์ - เวบ็ ไซต์ : http://fda.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3. คณะศิลปวจิ ิตร
เลขที่ 119/10 หมู่ 3 ตาํ บลศาลายา อาํ เภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม 73170
โทรศัพท์ 0-2482-2188 เว็บไซต์ : http://ffa.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

4. คณะศิลปศึกษา
เลขที่ 119/11 หมู่ 3 ตาํ บลศาลายา อาํ เภอพุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170
โทรศัพท์ 0-2408-2997 เว็บไซต์ : http://fed.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

5. วิทยาลัยนาฏศิลป
เลขท่ี 119/10 หมู่ 3 ตําบลศาลายา อําเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม 73170
โทรศพั ท์ 0-2482-2181-85 http://cda.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

6. วิทยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่
เลขท่ี 1 ถนนสุรวงค์ ซอย 5 ตําบลหายยา อําเภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหม่ 50100
โทรศัพท์ 0-5327-1596, 0-5328-3561-2 เวบ็ ไซต์ : http://cdacm.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

7. วิทยาลยั นาฏศลิ ปนครศรธี รรมราช
เลขท่ี 130 หมู่ 11 ตาํ บลทา่ เรอื อําเภอเมอื ง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 80000
โทรศัพท์ 0-7544-6156 เว็บไซต์ : http://cdans.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

8. วทิ ยาลัยนาฏศิลปอา่ งทอง
เลขท่ี 28 ถนนอยุธยา-อ่างทอง ตำ�บลบางแกว้ อาํ เภอเมอื ง จังหวัดอ่างทอง 14000
โทรศพั ท์ 0-3561-1048 เว็บไซต์ : http://cdaat.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

9. วิทยาลัยนาฏศลิ ปร้อยเอ็ด
เลขท่ี 25 ถนนกองพลสิบ ตาํ บลในเมอื ง อาํ เภอเมือง จังหวดั รอ้ ยเอด็ 45000
โทรศัพท์ 0-4351-1244 เวบ็ ไซต์ : http://cdare.bpi.ac.th

15 คมู่ อื นักศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ 2564

10. วทิ ยาลยั นาฏศิลปสโุ ขทัย
เลขที่ 4 หมู่ 5 ถนนจรดวิถถี อ่ ง ตาํ บลบ้านกลว้ ย อําเภอเมอื ง จังหวัดสโุ ขทยั 64000
โทรศพั ท์ 0-5561-0190 เว็บไซต์ : http://cdask.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

11. วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปกาฬสนิ ธ์ุ
เลขท่ี 11 ถนนสนามบิน ตำ�บลกาฬสินธ์ุ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ 46000
โทรศัพท์ 0-4381-1317 เวบ็ ไซต์ : http://cdaks.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

12. วิทยาลยั นาฏศลิ ปลพบรุ ี
เลขท่ี 121/9 ถนนรามเดโช ตําบลทะเลชุบศร อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000
โทรศพั ท์ 0-3641-2150 เว็บไซต์ : http://cdalb.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

13. วิทยาลยั นาฏศลิ ปจนั ทบรุ ี
เลขท่ี 60 ถนนชวนะอุทศิ ตําบลวัดใหม่ อาํ เภอเมือง จังหวดั จันทบุรี 22000
โทรศพั ท์ 0-3931-3214 เวบ็ ไซต์ : http://cdacb.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

14. วิทยาลัยนาฏศลิ ปพทั ลงุ
เลขที่ 150 หมู่ 1 ตําบลควนมะพร้าว อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั พทั ลุง 93000
โทรศพั ท์ 0-7484-0449 เว็บไซต์ : http://cdapt.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

15. วทิ ยาลยั นาฏศิลปสุพรรณบรุ ี
เลขที่ 119 หม่1ู ถนนสุพรรณบรุ ี-ชยั นาท ต�ำ บลสนามชัย อาํ เภอเมือง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 72000
โทรศัพท์ 0-3553-5247 เว็บไซต์ : http://cdasp.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

16. วทิ ยาลัยนาฏศิลปนครราชสมี า
เลขที่ 444 หมู่ 10 ถนนมิตรภาพ ตำ�บลโคกกรวด อาํ เภอเมือง จังหวัดนครราชสมี า 30280
โทรศัพท์ 0-4446-5152 ตอ่ 103 เว็บไซต์ : http://cdanr.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

17. วทิ ยาลยั ช่างศลิ ป
เลขท่ี 60 ซอยหลวงแพง่ 2 ถนนหลวงพรต แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบงั จงั หวัดกรุงเทพฯ 10520
โทรศัพท์ 0-2326-4002-4 เว็บไซต์ : http://cfa.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

18. วิทยาลัยช่างศลิ ปสุพรรณบุรี
เลขที่ 16 หมู่ 4 ถนนมาลัยแมน ตาํ บลรว้ั ใหญ่ อําเภอเมือง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 72000
โทรศัพท์ 0-3555-5370 เว็บไซต์ : http://cfasp.bpi.ac.th

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

19. วิทยาลยั ช่างศลิ ปนครศรีธรรมราช
เลขที่ 200 หมู่ 2 ถนนนคร-นพพิตาํ ตําบลทอนหงส์ อาํ เภอพรหมครี ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช 80320
โทรศัพท์ 0-7539-4355 เว็บไซต์ : http://cfans.bpi.ac.th

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564 16

ตอนท่ี 2

การจดั การศึกษา

การกำ�หนดรหสั นักศกึ ษา
ปฏทิ นิ การจดั การศึกษา ปกี ารศึกษา 2564
ปฏทิ นิ การจัดการศกึ ษา (ตลอดหลักสูตร)
หลักสตู รการศกึ ษา และคณะ/วิทยาลยั ที่เปดิ สอน

การกําหนดรหัสนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี
สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป

การกาํ หนดรหสั นักศึกษา มีรายละเอยี ด ดังนี้
1. รหสั นักศกึ ษา เปน ตวั เลขจํานวน 10 หลัก เรมิ่ ตนจากทางซายมอื เปน หลักท่ี 1 เรียงตามลําดบั

ประกอบดว ย
1.1 หลกั ที่1 หมายถึง คณะ
1.2 หลักที่ 2-3 หมายถงึ สถานศึกษาทจี่ ัดการเรียนการสอน
1.3 หลักท่ี 4 หมายถงึ จาํ นวนปทศี่ กึ ษาตามหลกั สตู ร
1.4 หลกั ที่ 5-6 หมายถงึ ปก ารศึกษาทเ่ี ขารบั การศกึ ษาปแรก
1.5 หลกั ที่ 7 หมายถงึ สาขาวชิ า
1.6 หลกั ท่ี 8-10 หมายถึง ลําดับที่ของนกั ศกึ ษาในสาขาวชิ าเดียวกัน

2. ความหมายของตัวเลข ในแตละหลกั สามารถจําแนกได ดงั นี้
2.1 ตัวเลขหลกั ท่ี 1 หมายถงึ คณะตา งๆ
เลข 1 หมายถงึ คณะศิลปวิจิตร
เลข 2 หมายถึง คณะศลิ ปนาฏดรุ ยิ างค
เลข 3 หมายถึง คณะศลิ ปศึกษา

2.2 ตวั เลขหลักท่ี 2-3 หมายถงึ สถานศกึ ษาทีจ่ ดั การเรียนการสอน
เลข 00 หมายถึง สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป
เลข 01 หมายถงึ วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชยี งใหม
เลข 02 หมายถงึ วทิ ยาลยั นาฏศิลปนครศรธี รรมราช
เลข 03 หมายถงึ วิทยาลยั นาฏศิลปอา งทอง
เลข 04 หมายถงึ วิทยาลัยนาฏศลิ ปรอ ยเอด็
เลข 05 หมายถึง วิทยาลัยนาฏศิลปสโุ ขทัย
เลข 06 หมายถงึ วิทยาลยั นาฏศลิ ปกาฬสนิ ธุ
เลข 07 หมายถงึ วิทยาลยั นาฏศลิ ปลพบุรี
เลข 08 หมายถึง วทิ ยาลยั นาฏศิลปจันทบรุ ี
เลข 09 หมายถงึ วิทยาลัยนาฏศลิ ปพัทลุง
เลข 10 หมายถึง วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสมี า
เลข 11 หมายถงึ วิทยาลยั นาฏศลิ ปสุพรรณบรุ ี
เลข 12 หมายถงึ วทิ ยาลยั ชางศิลปนครศรธี รรมราช

ค่มู ือนกั ศึกษา ระดบั ปริญญาตรี สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์ 2564 18

เลข 13 หมายถงึ วิทยาลยั ชา งศิลปสุพรรณบุรี
เลข 14 หมายถงึ วิทยาลัยชา งศิลป
เลข 15 หมายถงึ วิทยาลัยนาฏศิลป

2.3 ตัวเลขหลักที่ 4 หมายถงึ จํานวนปท ศ่ี ึกษาตามหลักสตู ร
เลข 2 หมายถึง ปรญิ ญาตรี 2 ป (ตอ เนื่อง)
เลข 4 หมายถงึ ปรญิ ญาตรี 4 ป

2.4 ตวั เลขหลักที่ 5-6 หมายถึง ปการศกึ ษาทีเ่ ขาศึกษา โดยจะใชเ ลข 2 ตวั ทา ยของปการศกึ ษา
ทีเ่ ขาศกึ ษา เชน ปก ารศกึ ษา 2563 จะใชเ ลข 63

2.5 ตัวเลขหลกั ท่ี 7 หมายถึง สาขาวชิ า
2.5.1 คณะศลิ ปวจิ ติ รและวิทยาลยั ชางศิลป ใชร หัสสาขาวิชา ดงั นี้
เลข 1 หมายถึง สาขาวชิ าทัศนศิลป
เลข 2 หมายถึง สาขาวชิ าออกแบบตกแตง ภายใน

2.5.2 คณะศิลปนาฏดรุ ยิ างค ใชร หสั สาขาวิชา ดังนี้
เลข 1 หมายถึง สาขาวชิ านาฏศลิ ปไ ทย
เลข 2 หมายถึง สาขาวิชาดรุ ิยางคศิลปไ ทย
เลข 3 หมายถงึ สาขาวชิ าศลิ ปะดนตรีและการแสดงพน้ื บา น

2.5.3 คณะศลิ ปศึกษา วทิ ยาลยั นาฏศิลปเชยี งใหม วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปนครศรีธรรมราช

วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปอางทอง วิทยาลยั นาฏศลิ ปรอ ยเอด็ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสโุ ขทัย วิทยาลยั นาฏศลิ ปกาฬสนิ ธุ

วทิ ยาลัยนาฏศิลปลพบุรี วทิ ยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี วทิ ยาลัยนาฏศิลปพทั ลุง วทิ ยาลยั นาฏศิลปนครราชสมี า

วิทยาลัยนาฏศิลปสพุ รรณบุรี วทิ ยาลยั นาฏศิลป และวิทยาลยั ชา งศิลปสุพรรณบรุ ี ใชร หสั สาขาวิชา ดงั น้ี

สาขาวิชานาฏศลิ ปศึกษา เลข 2 หมายถงึ กลมุ วิชานาฏศิลปไ ทย

เลข 3 หมายถึง กลมุ วิชานาฏศิลปสากล

เลข 4 หมายถงึ กลุมวชิ านาฏศลิ ปพนื้ บาน

สาขาวิชาดนตรศี กึ ษา เลข 5 หมายถึง วชิ าเอกดนตรีไทย

เลข 6 หมายถึง วชิ าเอกดนตรสี ากล

เลข 7 หมายถงึ วชิ าเอกดนตรพี นื้ บา น

สาขาวิชาศลิ ปศึกษา เลข 8 หมายถงึ วชิ าเอกศิลปศึกษา

2.6 ตัวเลขหลักท่ี 8-10 หมายถึง ลําดับทขี่ องนักศกึ ษาทเี่ ขาศกึ ษาในสาขาวิชาเดยี วกัน
ในปก ารศกึ ษานน้ั ๆ

19 คู่มือนกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป์ 2564

ความหมายของรหัสนกั ศึกษา

ตัวอยาง XX XX XX XX X

X จํานวนปท ศี่ ึกษา สาขาวิชา
ตามหลักสตู ร
คณะ

สถานศึกษา ปก ารศกึ ษาทีเ่ ขาศกึ ษา ลาํ ดับทขี่ องนักศกึ ษา

ตัวอยา ง 1

1 0 0 46 3 1 00

คณะศลิ ปวิจติ ร ปรญิ ญาตรี4 ป สาขาวิชาทัศนศิลป

สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป ปก ารศึกษา2562 เขาศกึ ษาเปนลําดบั ท่ี 1

ค่มู อื นกั ศึกษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564 20

รายละเอยี ดการกําหนดรหัสนักศึกษา สําหรับสถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป
คณะศลิ ปวิจติ ร คณะศิลปนาฏดุรยิ างค และคณะศิลปศกึ ษา

คณะ/สาขาวิชา รหสั นกั ศึกษา
คณะศิลปวิจิตร (ศลิ ปบณั ฑติ 4 ป)
10046310xx
สาขาวชิ าทัศนศลิ ป 10046320xx
สาขาวิชาออกแบบตกแตง ภายใน
วทิ ยาลัยชา งศิลป (ศลิ ปบณั ฑติ (ตอเนื่อง) 2 ป) 11426310xx
สาขาวิชาทัศนศิลป
20046310xx
คณะศิลปนาฏดรุ ิยางค (ศิลปบณั ฑติ 4 ป) 20046320xx
สาขาวชิ านาฏศิลปไทย 20x46330xx
สาขาวชิ าดรุ ยิ างคศลิ ปไ ทย
สาขาวชิ าศิลปะดนตรแี ละการแสดงพ้ืนบาน 3xx46320xx
3xx46330xx
คณะศลิ ปศึกษา วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปในสังกดั และวทิ ยาลัยชา งศลิ ปสพุ รรณบรุ ี 3xx46340xx
(ศึกษาศาสตรบณั ฑิต 4 ป) 3xx46350xx
3xx46360xx
สาขาวชิ านาฏศลิ ปศ ึกษา กลุม วชิ านาฏศิลปไทย 3xx46370xx
สาขาวชิ านาฏศลิ ปศกึ ษา กลุม วิชานาฏศิลปสากล 3xx46380xx
สาขาวิชานาฏศลิ ปศกึ ษา กลมุ วิชานาฏศลิ ปพนื้ บา น
สาขาวิชาดนตรศี กึ ษา วชิ าเอกดนตรไี ทย
สาขาวชิ าดนตรีศึกษา วิชาเอกดนตรีสากล
สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา วิชาเอกดนตรพี ้นื บา น
สาขาวชิ าศิลปศึกษา วชิ าเอกศิลปศึกษา

21 คูม่ อื นกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564

หนา้ ที่ 1

ปฏทิ นิ การจดั การศึกษาระดบั ปริญญาตรี ปกี ารศกึ ษา 2564 (เพิม่ เติม)
โดยฝ่ายทะเบยี นและประมวลผล สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์

วนั /เดอื น/ปี คณะ กิจกรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 หมายเหตุ

จ. 19 - จ. 26 เม.ย.64 คณะและวทิ ยาลัย - นกั ศึกษายน่ื คาร้องขอกลับเข้าศึกษา ต้องดาเนนิ การเทยี บโอน
ในสังกัดทุกแห่ง (กรณีลาพกั การศึกษาในภาคการศึกษาท่ีผ่านมา) ให้แล้วเสรจ็ กอ่ นการ
จ. 19 - ศ. 30 เม.ย. 64 (นักศึกษาชั้นปที ี่ 2-5) ลงทะเบียน

คณะและวิทยาลัย - นักศึกษาที่มีความประสงค์ขอเทยี บโอนผลการเรยี น ใหย้ ่ืนคาร้อง
ในสงั กดั ทกุ แห่ง ขอเทยี บโอนผลการเรียน และพมิ พใ์ บชาระเงินผ่านระบบอินเตอร์เนต็
(นักศกึ ษาชั้นปที ่ี 1) พร้อมชาระเงินผ่านธนาคารกรุงไทย

จ. 3 - จ. 31 พ.ค. 64 คณะและวทิ ยาลยั - นกั ศึกษาพบอาจารย์ท่ีปรึกษาเพื่อลงทะเบยี นเรียนผ่านระบบอินเตอร์เนต็
ในสังกัดทกุ แหง่ และชาระเงินผ่านธนาคารกรุงไทย ภาคการศึกษาที่ 1/2564
(นกั ศกึ ษาทกุ ชน้ั ป)ี

24 พ.ค. 64 นักศึกษาชนั้ ปีที่ 1 - ปฐมนิเทศนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2564

อ. 1 มิ.ย. 64 คณะและวิทยาลัย - เปดิ ภาคการศึกษาท่ี 1/2564
อ. 1 - อ. 15 มิ.ย. 64 ในสงั กดั ทุกแห่ง - เริม่ ปรบั ค่าลงทะเบยี นเรยี นช้ากวา่ กาหนด ภาคการศึกษาท่ี 1/2564
(นักศกึ ษาทกุ ชน้ั ปี)
พ.16มิ.ย. - พ.11 ส.ค. 64 - ขอเพิม่ -ขอถอนรายวชิ าของนกั ศึกษา
คณะและวทิ ยาลัย
อ. 15 มิ.ย. 64 ในสังกดั ทกุ แห่ง - ขอถอนรายวชิ าของนกั ศึกษา การขอถอนรายวชิ าท่ีได้รบั การอนมุ ัติ
.... ก.ค. 64 .... (นกั ศกึ ษาทุกช้ันป)ี จะบนั ทกึ สัญลักษณ์ " W "
จ. 2 - อ. 31 ส.ค. 64 - ปดิ ระบบการรบั ลงทะเบยี น ภาคการศึกษาท่ี 1/2564
ศ.๑๓ ส.ค. 64 เปน็ ต้นไป คณะและวทิ ยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษารายวชิ าที่เปน็ I
..... ส.ค. 64 ในสงั กดั ทกุ แหง่ ภาคการศึกษาท่ี 2/2563
.... ก.ย. 64 .... (นักศึกษาทุกช้นั ปี)
- สอบกลางภาคการศึกษาท่ี 1/2564
คณะและวทิ ยาลัย
ในสงั กัดทกุ แห่ง - เปดิ ระบบชาระเงินสาหรบั นักศึกษาท่ีค้างชาระค่าลงทะเบยี น
(นกั ศึกษาทกุ ชน้ั ป)ี ภาคการศึกษาที่ 1/2564
- ขอถอนรายวชิ าของนกั ศึกษา (การขอถอนรายวชิ าที่ได้รบั การอนุมัติ
คณะและวทิ ยาลยั จะบนั ทกึ สัญลักษณ์ " F "
ในสงั กดั ทุกแห่ง - พธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร ปกี ารศึกษา 2562 - 2563
(นักศกึ ษาทุกชนั้ ปี)
คณะและวิทยาลัย - สอบปลายภาคการศึกษาที่ 1/2564
ในสงั กัดทุกแห่ง
(นกั ศึกษาทุกชั้นปี)

คณะและวทิ ยาลยั
ในสังกดั ทกุ แห่ง
(นักศึกษาทกุ ชัน้ ปี)

คณะและวทิ ยาลัย
ในสังกัดทุกแห่ง
(นักศึกษาทุกชั้นป)ี

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ 2564 22

หน้าท่ี 2

ปฏทิ ินการจดั การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ปีการศกึ ษา 2564 (เพิ่มเตมิ )
โดยฝ่ายทะเบยี นและประมวลผล สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์

วนั /เดอื น/ปี คณะ กิจกรรม ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 หมายเหตุ

พฤ. 30 ก.ย. 64 คณะและวทิ ยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการยนื่ คารอ้ งขอจบการศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1/2564 (รอบพเิ ศษตาม
ศ. 15 ต.ค. 64 ในสังกดั ทุกแห่ง มาตรการโควดิ )
(นกั ศึกษาทีจ่ ะ - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1/2564
พ. 20 ต.ค. 64 สาเรจ็ การศกึ ษา) - ประกาศผลการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1/2564 ผ่านระบบอนิ เตอรเ์ นต็

คณะและวิทยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1/2564
ในสงั กดั ทกุ แห่ง - ประกาศผลการศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1/2564 ผ่านระบบอนิ เตอรเ์ นต็
(นักศกึ ษาทุกช้ันป)ี

คณะและวิทยาลัย
ในสังกัดทุกแหง่
(นกั ศึกษาท่ีจะ
สาเร็จการศึกษา

ครงั้ ท่ี 1)

23 คมู่ ือนักศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์ 2564

หน้าที่ 3

ปฏทิ นิ การจดั การศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ปกี ารศกึ ษา 2564 (เพิม่ เติม)
โดยฝ่ายทะเบียนและประมวลผล สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์

วนั /เดอื น/ปี คณะ กิจกรรม ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 หมายเหตุ

ศ. 1 - ศ. 8 ต.ค. 64 คณะและวทิ ยาลัย - นกั ศึกษาย่ืนคารอ้ งขอกลับเขา้ ศึกษา (รอบพเิ ศษตาม
จ. 11 - อา. 31 ต.ค. 64 ในสงั กัดทุกแห่ง (กรณีลาพกั การศึกษาในภาคการศึกษาที่ผ่านมา) มาตรการโควดิ )
(นักศึกษาช้ันปที ี่ 2-5) (รอบพเิ ศษตาม
จ. 1 พ.ย. 64 มาตรการโควดิ )
จ. 1 - จ. 15 พ.ย. 64 คณะและวทิ ยาลยั - นักศึกษาพบอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาเพอ่ื ลงทะเบยี นเรยี นผ่านระบบอนิ เตอรเ์ นต็
ในสงั กดั ทุกแห่ง และชาระเงินผ่านธนาคารกรุงไทย ภาคการศึกษาที่ 2/2564 (รอบพเิ ศษตาม
อ. 16พ.ย.64 - อ. 8 ก.พ.65 (นกั ศกึ ษาทกุ ช้นั ป)ี มาตรการโควดิ )

คณะและวิทยาลยั - เปดิ ภาคการศึกษาที่ 2/2564
ในสังกดั ทุกแห่ง - เริ่มปรบั ค่าลงทะเบยี นเรียนช้ากวา่ กาหนด ภาคการศึกษาท่ี 2/2564
(นักศกึ ษาทุกชั้นป)ี

คณะและวิทยาลัย - ขอเพ่ิม-ขอถอนรายวชิ าของนักศึกษา
ในสังกดั ทุกแห่ง
(นักศกึ ษาทกุ ชน้ั ปี)

คณะและวทิ ยาลัย - ขอถอนรายวชิ าของนกั ศึกษา การขอถอนรายวชิ าท่ีได้รับการอนุมัติ
ในสงั กดั ทุกแห่ง จะบนั ทกึ สัญลักษณ์ " W "
(นกั ศึกษาทกุ ชัน้ ป)ี

จ. 15 พ.ย. 54 คณะและวทิ ยาลยั - ปดิ ระบบการรบั ลงทะเบยี น ภาคการศึกษาที่ 2/2564
ในสงั กัดทุกแหง่ - ส่งผลการศึกษารายวชิ าท่ีเปน็ I,IP ภาคการศึกษาที่ 1/2564 (ครง้ั ที่1)
(นักศึกษาทุกชั้นป)ี

ศ. 19 พ.ย. 64 คณะและวทิ ยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1/2564
.... ธ.ค. 64 …. ในสงั กดั ทกุ แห่ง - สอบกลางภาคการศึกษาที่ 2/2564
(นกั ศึกษาที่จะ
สาเร็จการศึกษา

ครั้งท่ี 2)

คณะและวิทยาลัย
ในสงั กัดทกุ แหง่
(นักศึกษาทุกชนั้ ปี)

พ. 15 ธ.ค. 64 คณะและวทิ ยาลยั - ส่งผลการศึกษารายวชิ าที่เปน็ I,IP ภาคการศึกษาท่ี 1/2564 (ครงั้ ที่2)
ในสงั กดั ทกุ แหง่
(นกั ศึกษาทุกชน้ั ปี)

จ.1 - จ.31 ม.ค. 65 คณะและวิทยาลยั - เปดิ ระบบชาระเงินสาหรับนกั ศึกษาท่ีค้างชาระค่าลงทะเบยี น จะ
พ.9 ก.พ. 65 เปน็ ต้นไป ในสงั กดั ทุกแห่ง ภาคการศึกษาที่ 2/2564
(นักศึกษาทุกชน้ั ป)ี
- ขอถอนรายวชิ าของนักศึกษา การขอถอนรายวชิ าท่ีได้รบั การอนมุ ัติ
คณะและวทิ ยาลัย บนั ทกึ สัญลักษณ์ " F "
ในสงั กดั ทกุ แห่ง
(นกั ศกึ ษาทุกชั้นปี)

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ 2564 24

หนา้ ท่ี 4

ปฏทิ นิ การจดั การศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ปกี ารศกึ ษา 2564 (เพ่ิมเติม)
โดยฝ่ายทะเบยี นและประมวลผล สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์

วัน/เดอื น/ปี คณะ กิจกรรม ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2564 หมายเหตุ

ศ. 18 ก.พ. 65 คณะและวทิ ยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการยนื่ คาร้องขอจบการศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2/2564 (รอบพเิ ศษตาม
.... ก.พ. 65 .... ในสังกัดทกุ แห่ง มาตรการโควดิ )
.... เม.ย. 65 .... (นักศกึ ษาที่จะ
ศ. 4 มี.ค. 65 สาเรจ็ การศึกษา)

ศ. 18 มี.ค. 65 คณะและวทิ ยาลัย - สอบปลายภาคเรยี นที่ 2/2564
ในสังกดั ทกุ แห่ง
ศ. 25 มี.ค. 65 (นกั ศึกษาทุกชัน้ ป)ี

(นักศึกษาที่จะ - โครงการปจั ฉิมนเิ ทศ (นกั ศึกษาช้ันปสี ุดทา้ ย 3 คณะ)
สาเรจ็ การศึกษา)

คณะและวิทยาลัย - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษาของนกั ศึกษาที่จะสาเรจ็ การศึกษา
ในสงั กดั ทุกแห่ง ภาคการศึกษาท่ี 2/2564
(นักศกึ ษาทจี่ ะสาเร็จ
การศึกษา ครงั้ ท่ี 1)

คณะและวิทยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษาของนกั ศึกษาท่ีจะสาเรจ็ การศึกษา
ในสงั กัดทุกแหง่ ภาคการศึกษาท่ี 2/2564
(นักศกึ ษาทจี่ ะสาเรจ็
การศึกษา ครง้ั ท่ี 2)

คณะและวทิ ยาลยั - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษาภาคการศึกษาที่ 2/2564 -
ในสงั กดั ทกุ แห่ง - ประกาศผลการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2/64 ผ่านระบบอินเตอร์เนต็ ที่
(นกั ศึกษาทุกชนั้ ป)ี วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษารายวชิ าท่ีเปน็ I IP ภาคการศึกษา
1/2564 (ครั้งท่ี3)

25 คู่มือนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ 2564

หน้าท่ี 5

ปฏทิ ินการจดั การศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ปกี ารศกึ ษา 2564 (เพมิ่ เตมิ )
โดยฝ่ายทะเบยี นและประมวลผล สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์

วนั /เดอื น/ปี คณะ กิจกรรม ภาคฤดรู ้อน ปกี ารศกึ ษา 2564 หมายเหตุ

จ. 7 - ศ. 18 มี.ค. 65 คณะและวทิ ยาลยั - ขออนุมัติเปดิ การศึกษาภาคฤดูรอ้ น 2564
พฤ.24 - พฤ.31 ม.ี ค. 65 ในสงั กดั ทุกแห่ง - นกั ศึกษาพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพอื่ ลงทะเบยี นเรยี นผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
และชาระเงินผ่านธนาคารกรงุ ไทย ภาคฤดูร้อน 2564
ศ. 1 เม.ย. 65 คณะและวิทยาลยั
ศ. 29 เม.ย. 65 ในสังกัดทุกแหง่ - วนั เปดิ ภาคการศึกษาภาคฤดูรอ้ น 2564
.... พ.ค. 65 .... (นกั ศกึ ษาทุกชน้ั ป)ี
ศ. 22 พ.ค. 65 - วนั สุดทา้ ยของการยืน่ คาร้องขอจบการศึกษา ภาคฤดูรอ้ น 2564
คณะและวทิ ยาลยั
ศ. 27 พ.ค. 65 ในสงั กดั ทุกแหง่ - สอบปลายภาคฤดูร้อน 2564
(นักศึกษาทุกชน้ั ป)ี
- วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษาของนักศึกษาท่ีจะสาเร็จการศึกษา
คณะและวิทยาลัย ภาคฤดูรอ้ น 2564
ในสงั กดั ทุกแหง่ - วนั สุดทา้ ยของการส่งผลการศึกษา ภาคฤดูรอ้ น 2564
(นักศกึ ษาที่จะ - ประกาศผลการศึกษาภาคการศึกษา ภาคฤดูรอ้ น 2564 ผ่านระบบ
สาเร็จการศกึ ษา) อนิ เตอรเ์ นต็

คณะและวิทยาลัย
ในสงั กัดทกุ แห่ง
(นักศกึ ษาทกุ ชน้ั ปี)

คณะและวิทยาลัย
ในสงั กัดทกุ แห่ง
(นักศกึ ษาท่จี ะ
สาเรจ็ การศกึ ษา)

คณะและวทิ ยาลัย
ในสังกัดทกุ แหง่
(นกั ศึกษาทุกชน้ั ป)ี

ค่มู อื นักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์ 2564 26

หลกั สูตรการศึกษา และคณะ/วิทยาลยั ทเ่ี ปดิ สอน

รายละเอยี ดของหลักสูตร
หลกั สตู รศิลปบัณฑิต
สาขาวชิ าทศั นศิลป์

( หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560 )

ช่ือสถาบนั อดุ มศึกษา สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม
คณะ/วิทยาลยั คณะศิลปวจิ ิตร

1. รหัสและชอ่ื หลกั สตู ร หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

ชือ่ ภาษาไทย หลกั สตู รศลิ ปบัณฑิต สาขาวชิ าทัศนศิลป์
ชื่อภาษาอังกฤษ Bachelor of Fine Arts Program in Visual Arts
2. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวชิ า
ชอ่ื เต็มภาษาไทย ศิลปบณั ฑติ (ทัศนศลิ ป)์
ชอ่ื ยอ่ ภาษาไทย ศล.บ. (ทัศนศิลป)์
ชื่อเตม็ ภาษาอังกฤษ Bachelor of Fine Arts (Visual Arts)
ชื่อยอ่ ภาษาอังกฤษ B.F.A. (Visual Arts)
3. วิชาเอก
3.1 ศิลปไทย
3.2 จติ รกรรม
3.3 ประติมากรรม
3.4 ภาพพิมพ์
3.5 เคร่ืองเคลือบดินเผา
4. จานวนหน่วยกิตตลอดหลักสตู ร
ไมน่ อ้ ยกว่า 128 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลกั สตู ร
5.1 รปู แบบ
หลักสตู รระดบั ปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสตู ร
ปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาทใ่ี ช้
ภาษาไทย
5.4 การรับเขา้ ศกึ ษา
รบั นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศทใี่ ช้ภาษาไทยได้ดี
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอนื่
ไม่มี
5.6 การใหป้ รญิ ญาแกผ่ สู้ าเร็จการศกึ ษาใหป้ รญิ ญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว

27 คู่มือนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี สถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป์ 2564

6. อาชพี ทีส่ ามารถประกอบหลงั ได้สาเรจ็ การศึกษา
6.1 ศลิ ปิน
6.2 ประกอบอาชพี อิสระทางด้านทัศนศลิ ป์

7. สถานที่จัดการเรยี นการสอน
คณะศิลปวจิ ิตร สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป์ เลขท่ี 119/10 หมทู่ ่ี 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล

จงั หวัดนครปฐม 73170

8. ปรชั ญา ความสาคัญ และวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร
8.1 ปรชั ญา
สร้างบุคลากร ผสู้ ืบสาน สรา้ งสรรค์ องค์ความรู้ศิลปะไทยร่วมสมัย
8.2 ความสาคัญ
การศึกษาศลิ ปะในสงั คมไทย มีกระบวนการถา่ ยทอดความรแู้ ละทกั ษะอย่างมีพฒั นาการมาอย่างต่อเน่ือง

ความเคล่ือนไหวของศิลปวัฒนธรรมของโลก การพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ สังคมยุคดิจิตอล เครือข่ายสังคม
ออนไลน์ ทาให้เราสอื่ สารกันไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ต่างซกี โลกกันก็สามารถรับรู้ข่าวสารได้ในเวลาเดียวกัน ส่งผลกระทบ
กับพัฒนาการและกระบวนการทางความคิด วิถีชวี ติ ของมนษุ ย์ในสังคม สร้างกระบวนความคิดสร้างสรรค์รูปแบบ
ใหมๆ่

อดีตช่างศิลป์ไทยโบราณมีความเช่ียวชาญเฉพาะเทคนิค เช่น ช่างเขียน เชี่ยวชาญในงานเขียนวาดภาพ
ชา่ งปั้น เช่ียวชาญในการปน้ั และชา่ งอื่นๆอีกมาก การพัฒนาองค์ความรู้ของช่างในอดีตถูกพัฒนาจนเป็นท่ีรู้จักใน
รูปแบบองค์ความรู้ในสาขาวิชาศิลปไทย จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เครื่องเคลือบดินเผา ปัจจุบันได้
บูรณาการสาขาวิชาเหล่าน้ีเข้าด้วยกันเป็นสาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีรากองค์ความรู้จากศิลปะไทยในอดีต ด้วย
กระบวนการจัดการความรู้ เทคโนโลยี วทิ ยาการสมัยใหม่ นาไปสู่การสร้างบุคลากรที่มีความคิดสร้างสรรค์ เข้าใจ
รากทางศิลปวฒั นธรรมไทย สรา้ งผลงานศิลปะไทยร่วมสมยั

8.3 วตั ถปุ ระสงค์
1) ผลติ บณั ฑิตทม่ี ีความรู้ความสามารถทางด้านทัศนศลิ ป์ สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้
2) ผลิตบัณฑติ ท่ีมีทกั ษะ มีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ และพฒั นางานด้านทศั นศลิ ป์
3) ผลติ บณั ฑิตดา้ นทัศนศิลป์ ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม
4) เพอ่ื อนุรักษ์ สืบทอด และเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ทางดา้ นทัศนศิลป์
9. หลักสตู ร
9.1 หลักสตู ร
9.1.1 จานวนหน่วยกติ รวมและระยะเวลาการศกึ ษา
จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกวา่ 128 หนว่ ยกติ

9.1.2 โครงสรา้ งหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกวา่ 30 หน่วยกติ
1) หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป
1.1 กลุม่ วชิ าบงั คบั 24 หนว่ ยกิต
1.1.1 กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 12 หน่วยกิต
1.1.2 กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ 6 หนว่ ยกิต
เทคโนโลยี
1.1.3 กลมุ่ วิชาภาษา 6 หน่วยกติ
1.2 กลุ่มวชิ าเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ 2564 28

2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไม่นอ้ ยกวา่ 92 หน่วยกติ
2.1 กลมุ่ วชิ าพื้นฐานวชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ 35 หนว่ ยกิต
2.2 กลุ่มวิชาชพี บงั คับ 41 หน่วยกติ
2.3 กลุ่มวิชาชพี เลอื ก 16 หน่วยกติ
6 หน่วยกติ
3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี
หมายเหตุ โครงสร้างรายวชิ า สามารถดาวน์โหลดไดท้ ี่

ความหมายของรหสั การจัดชว่ั โมงเรยี น
ความหมายของรหสั รายวิชา

คณะ

สาขาวชิ า
หมวดวิชา
กลุม่ วชิ า
ลาดับวิชา

X X X X X XXX

29 คูม่ อื นกั ศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564

รหัสวิชาทใ่ี ช้กาหนดเปน็ เลข 8 หลัก ดงั ตอ่ ไปน้ี
ตาแหนง่ ท่ี 1 หมายถึง คณะ
เลข 1 หมายถงึ คณะศิลปวจิ ติ ร
เลข 2 หมายถงึ คณะศลิ ปนาฏดรุ ยิ างค์
เลข 3 หมายถึง คณะศิลปศกึ ษา
ตาแหนง่ ท่ี 2-3 หมายถึง สาขาวิชา/แขนงวชิ า
เลข 01 หมายถึง สาขาวิชาทศั นศิลป์
เลข 02 หมายถงึ สาขาวชิ าออกแบบตกแตง่ ภายใน
ตาแหนง่ ท่ี 4 หมายถงึ หมวดวิชา
เลข 1 หมายถงึ หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป
เลข 2 หมายถงึ หมวดวชิ าเฉพาะ
เลข 3 หมายถึง หมวดวชิ าเลือกเสรี
ตาแหนง่ ที่ 5 หมายถงึ กลุ่มวชิ า
เลข 1 หมายถึง วิชาบังคับ กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
เลข 2 หมายถงึ วิชาบังคับ กลุม่ วิชาวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี
เลข 3 หมายถงึ วิชาบังคบั กลุ่มวิชาภาษา
เลข 4 หมายถงึ วิชาเลอื ก
เลข 5 หมายถึง กลมุ่ วชิ าพ้ืนฐานวิชาชีพ
เลข 6 หมายถงึ กลุ่มวชิ าชพี บังคบั
เลข 7 หมายถงึ กลมุ่ วชิ าชีพเลอื ก
เลข 8 หมายถึง กลุ่มวชิ าเลือกเสรี

ตาแหนง่ ที่ 6-8 หมายถึง ลาดบั วชิ า

หน่วยกิต
ชวั่ โมงเรยี นบรรยาย
ช่ัวโมงเรยี นปฏบิ ัติ

ชั่วโมงการศกึ ษาดว้ ยตนเอง

X (X - X - X)

ค่มู อื นกั ศึกษา ระดับปริญญาตรี สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์ 2564 30

รหสั วชิ า แผนการศกึ ษาหลักสตู รศิลปบณั ฑติ จานวนหนว่ ยกติ
300-11001 สาขาวชิ าทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปไทย 3 (3-0-6)
101-25001 3 (1-4-4)
101-25004 คณะศลิ ปวิจติ ร 3 (1-4-4)
101-25009 ชัน้ ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 2 (1-2-3)
101-25010 2 (1-2-3)
101-25011 ช่ือวิชา 2 (1-2-3)
101-25012 สารสนเทศเพ่อื การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 2 (1-2-3)
101-25013 วาดเส้น 1 2 (1-2-3)
101-25014 องคป์ ระกอบศลิ ป์ 1 2 (1-2-3)
ศิลปะไทยพื้นฐาน 21
จติ รกรรมพืน้ ฐาน
ประติมากรรมพื้นฐาน
ภาพพมิ พ์พน้ื ฐาน
เครอ่ื งเคลอื บดนิ เผาพืน้ ฐาน
ทศั นียวิทยา

รวม

รหัสวชิ า ช้ันปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จานวนหนว่ ยกติ
300-13001 ช่อื วชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25002 ภาษาไทยเพ่ือการส่อื สาร 3 (1-4-4)
101-25005 วชิ าศึกษาทั่วไปเลอื ก 1* 3 (1-4-4)
101-25015 วาดเส้น 2 2 (1-2-3)
101-27001 องคป์ ระกอบศลิ ป์ 2 4 (1-6-5)
101-270xx กายวภิ าค 4 (1-6-5)
ศลิ ปะไทย 1 (วิชาชพี เลอื ก กลมุ่ ท่ี 1) 21
วิชาชพี เลอื ก กล่มุ ท่ี 2 **
4 (1-6-5)
รวม 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
* เลือกจากรายวชิ าศึกษาท่วั ไปเลอื ก ทีเ่ ปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษา 4 (1-6-5)
** เลอื กวิชาชพี เลือก กลมุ่ ท่ี 2 จากรายวิชาดงั ต่อไปนี้

101-27003 จิตรกรรม 1
101-27005 ประตมิ ากรรม 1
101-27007 ภาพพมิ พ์ 1
101-27009 เคร่ืองเคลอื บดนิ เผา 1

31 คมู่ อื นักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564

รหัสวิชา ชั้นปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จานวนหนว่ ยกติ
300-12003 ชอื่ วิชา 3 (3-0-6)
300-13002 3 (3-0-6)
101-25003 คอมพวิ เตอร์เพื่อการสร้างสรรค์* 3 (1-4-4)
101-27002 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 4 (1-6-5)
101-270xx วาดเสน้ 3 4 (1-6-5)
ศลิ ปะไทย 2 (วิชาชีพเลือก กล่มุ ท่ี 1) 17
วชิ าชพี เลอื ก กลมุ่ ท่ี 2 **

รวม

* วิชาทีเ่ พม่ิ จากหมวดศกึ ษาทว่ั ไป
** เลอื กวชิ าชีพเลือก กลุม่ ท่ี 2 ต่อเน่อื งจากกลุ่มวชิ าเดมิ ที่เคยเลอื กไว้ จากรายวชิ าดังต่อไปนี้
101-27004 จติ รกรรม 2 4 (1-6-5)
101-27006 ประติมากรรม 2 4 (1-6-5)
101-27008 ภาพพิมพ์ 2 4 (1-6-5)
101-270010 เครอ่ื งเคลือบดินเผา 2 4 (1-6-5)

รหัสวิชา ชั้นปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จานวนหน่วยกติ
300-11003 ช่อื วิชา 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25006 ความเปน็ พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม 2 (2-0-4)
101-26001 วชิ าศึกษาทว่ั ไปเลอื ก 2* 4 (1-6-5)
101-26002 ศลิ ปะไทยวจิ กั ษณ์ 4 (1-6-5)
xxx-xxx เทคนิคศลิ ปะไทยประเพณี 2 (1-2-3)
จิตรกรรมไทยศกึ ษา 17
วชิ าเลือกเสรี 1**

รวม

* เลือกจากรายวิชาศกึ ษาทว่ั ไปเลือก ที่เปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา
** เลอื กจากรายวชิ าเลือกเสรี ทีเ่ ปิดสอนในแต่ละภาคการศกึ ษา

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564 32

รหสั วชิ า ชั้นปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหนว่ ยกติ
300-12002 ชื่อวิชา 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-26003 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 (1-6-5)
101-26004 วชิ าศึกษาท่วั ไปเลือก 3* 3 (1-4-4)
xxx-xxxxx องคป์ ระกอบในจติ รกรรมไทย 2 (1-2-3)
คติความเชอ่ื ในศลิ ปะไทย 14
วชิ าเลอื กเสรี 2**
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (2-2-5)
2 (2-0-4)
* เลอื กจากรายวิชาศกึ ษาทั่วไปเลือก ทีเ่ ปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษา 4 (1-6-5)
** เลอื กจากรายวชิ าเลอื กเสรี ท่ีเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา 3 (1-4-4)
12
รหสั วิชา ชน้ั ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2
300-11004 ชอ่ื วชิ า จานวนหน่วยกติ
101-25007 2 (2-0-4)
101-26005 นันทนาการเพอ่ื คณุ ภาพชวี ิต 6 (1-10-7)
101-26006 ประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปะสมัยใหม่ 2 (1-2-3)
สร้างสรรค์ศลิ ปะไทย 2 (1-2-3)
กระบวนการสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะไทย 12

รวม

* เลือกจากรายวชิ าศกึ ษาทั่วไปเลอื ก ท่ีเปิดสอนในแตล่ ะภาคการศึกษา

รหสั วชิ า ช้นั ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1
101-25008 ชอื่ วชิ า
101-26007
101-26008 ระเบยี บวิธวี ิจยั ทางศิลปะ
xxx-xxxxx โครงงานศลิ ปะไทย
สัมมนาศลิ ปะไทย 1
วิชาเลือกเสรี 3**

รวม

** เลือกจากรายวชิ าเลอื กเสรที ่ีเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา

33 คูม่ อื นกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์ 2564

รหสั วิชา ช้ันปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จานวนหนว่ ยกติ
300-11002 ช่ือวชิ า 3 (3-0-6)
101-26009 2 (1-2-3)
101-26010 พฤตกิ รรมมนุษยก์ ับการพฒั นาตน 9 (2-14-11)
สมั มนาศลิ ปะไทย 2 14
ศิลปนิพนธ์
จานวนหน่วยกติ
รวม 3 (3-0-6)
3 (1-4-4)
รหสั วิชา แผนการศกึ ษาหลักสตู รศิลปบณั ฑติ 3 (1-4-4)
300-11001 สาขาวิชาทัศนศลิ ป์ วชิ าเอกจติ รกรรม 2 (1-2-3)
101-25001 2 (1-2-3)
101-25004 คณะศิลปวจิ ิตร 2 (1-2-3)
101-25009 ชั้นปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 2 (1-2-3)
101-25010 2 (1-2-3)
101-25011 ช่อื วิชา 2 (1-2-3)
101-25012 สารสนเทศเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ 21
101-25013 วาดเส้น 1
101-25014 องคป์ ระกอบศลิ ป์ 1 จานวนหน่วยกติ
ศิลปะไทยพน้ื ฐาน 3 (3-0-6)
จติ รกรรมพ้ืนฐาน 2 (x-x-x)
ประตมิ ากรรมพ้นื ฐาน 3 (1-4-4)
ภาพพมิ พพ์ ื้นฐาน 3 (1-4-4)
เครอ่ื งเคลอื บดินเผาพืน้ ฐาน 2 (1-2-3)
ทศั นียวิทยา 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
รวม 21

รหัสวชิ า ชน้ั ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 34
300-13001 ช่อื วิชา
300-14xxx
101-25002 ภาษาไทยเพ่ือการส่อื สาร
101-25005 วิชาศึกษาทั่วไปเลอื ก 1*
101-25015 วาดเสน้ 2
101-27003 องคป์ ระกอบศิลป์ 2
101-270xx กายวภิ าค
จิตรกรรม 1 (วชิ าชีพเลือก กลุ่มที่ 1)
วชิ าชพี เลือก กลมุ่ ท่ี 2 **

รวม

ค่มู อื นกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564

* เลือกจากรายวชิ าศึกษาทั่วไปเลือก ท่ีเปิดสอนในแตล่ ะภาคการศึกษา 4 (1-6-5)
** เลอื กวชิ าชีพเลอื ก กลุ่มที่ 2 จากรายวชิ าดงั ตอ่ ไปน้ี 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
101-27001 ศลิ ปไทย 1 4 (1-6-5)
101-27005 ประตมิ ากรรม 1
101-27007 ภาพพมิ พ์ 1
101-27009 เครือ่ งเคลอื บดินเผา 1

รหสั วิชา ช้ันปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ
300-12003 ชือ่ วิชา 3 (3-0-6)
300-13002 3 (3-0-6)
101-25003 คอมพวิ เตอรเ์ พ่ือการสร้างสรรค*์ 3 (1-4-4)
101-27004 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 4 (1-6-5)
101-270xx วาดเสน้ 3 4 (1-6-5)
จติ รกรรม 2 (วิชาชพี เลือก กลุ่มท่ี 1) 17
วิชาชพี เลอื ก กลุม่ ที่ 2 **

รวม

* วชิ าท่ีเพิม่ จากหมวดศึกษาท่ัวไป
** เลือกวชิ าชีพเลือก กลุม่ ท่ี 2 ต่อเนอ่ื งจากกลุ่มวชิ าเดิมที่เคยเลอื กไว้ จากรายวชิ าดังตอ่ ไปนี้
101-27002 ศลิ ปไทย 2 4 (1-6-5)
101-27006 ประติมากรรม 2 4 (1-6-5)
101-27008 ภาพพมิ พ์ 2 4 (1-6-5)
101-270010 เคร่อื งเคลอื บดินเผา 2 4 (1-6-5)

รหสั วิชา ช้ันปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จานวนหน่วยกติ
300-11003 ชอื่ วิชา 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25006 ความเป็นพลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 2 (2-0-4)
101-26011 วิชาศกึ ษาทวั่ ไปเลอื ก 2* 3 (1-4-4)
101-26012 ศิลปะไทยวจิ ักษณ์ 3 (1-4-4)
xxx-xxxxx จติ รกรรมภาพคน 2 (1-2-3)
เทคนิคในจติ รกรรม 15
วชิ าเลอื กเสรี 1**

รวม

* เลือกจากรายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไปเลือก ทีเ่ ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา
** เลอื กจากรายวิชาเลือกเสรี ท่ีเปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

35 คูม่ ือนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ 2564

รหสั วชิ า ชัน้ ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จานวนหน่วยกติ
300-12002 ชื่อวชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-26013 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 (1-6-5)
101-26014 วิชาศกึ ษาท่ัวไปเลือก 3* 4 (1-6-5)
xxx-xxxxx จิตรกรรมกบั สภาพแวดลอ้ ม 2 (1-2-3)
จติ รกรรมสอื่ ผสม 15
วิชาเลือกเสรี 2**
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (2-2-5)
2 (2-0-4)
* เลอื กจากรายวชิ าศึกษาท่ัวไปเลือก ทเี่ ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศึกษา 4 (1-6-5)
** เลือกจากรายวิชาเลอื กเสรี ทเี่ ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา 4 (1-6-5)
13
รหัสวชิ า ชั้นปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2
300-11004 ช่ือวิชา จานวนหน่วยกติ
101-25007 2 (2-0-4)
101-26015 นนั ทนาการเพ่ือคณุ ภาพชวี ติ 6 (1-10-7)
101-26016 ประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะสมัยใหม่ 2 (1-2-3)
จิตรกรรมทดลองสรา้ งสรรค์ 2 (1-2-3)
จิตรกรรมสร้างสรรค์ 12

รวม 36

* เลือกจากรายวชิ าศึกษาท่วั ไปเลือก ทเี่ ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศึกษา

รหัสวิชา ชั้นปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1
101-25008 ช่อื วิชา
101-26017
101-26018 ระเบยี บวิธีวิจัยทางศิลปะ
xxx-xxxxx โครงงานจิตรกรรม
สมั มนาจิตรกรรม 1
วชิ าเลือกเสรี 3**

รวม

** เลอื กจากรายวิชาเลอื กเสรที ่ีเปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษา

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564

รหัสวิชา ช้นั ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จานวนหนว่ ยกติ
300-11002 ชอื่ วิชา 3 (3-0-6)
101-26019 2 (1-2-3)
101-26020 พฤตกิ รรมมนุษยก์ บั การพัฒนาตน 9 (2-14-11)
สัมมนาจติ รกรรม 2 14
ศลิ ปนพิ นธ์

รวม

รหัสวิชา แผนการศกึ ษาหลกั สตู รศลิ ปบณั ฑติ จานวนหน่วยกติ
300-11001 สาขาวชิ าทัศนศิลป์ วชิ าเอกประตมิ ากรรม 3 (3-0-6)
101-25001 3 (1-4-4)
101-25004 คณะศลิ ปวจิ ิตร 3 (1-4-4)
101-25009 ชนั้ ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 2 (1-2-3)
101-25010 2 (1-2-3)
101-25011 ช่อื วชิ า 2 (1-2-3)
101-25012 สารสนเทศเพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชีวติ 2 (1-2-3)
101-25013 วาดเสน้ 1 2 (1-2-3)
101-25014 องค์ประกอบศลิ ป์ 1 2 (1-2-3)
ศิลปะไทยพ้ืนฐาน 21
จติ รกรรมพนื้ ฐาน
ประติมากรรมพนื้ ฐาน
ภาพพมิ พพ์ ้ืนฐาน
เคร่อื งเคลือบดินเผาพืน้ ฐาน
ทศั นียวิทยา

รวม

รหัสวิชา ชน้ั ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จานวนหน่วยกติ
300-13001 ช่อื วชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25002 ภาษาไทยเพ่อื การสื่อสาร 3 (1-4-4)
101-25005 วิชาศกึ ษาท่วั ไปเลอื ก 1* 3 (1-4-4)
101-25015 วาดเสน้ 2 2 (1-2-3)
101-27005 องค์ประกอบศลิ ป์ 2 4 (1-6-5)
101-270xx กายวิภาค 4 (1-6-5)
ประตมิ ากรรม 1 (วิชาชีพเลือก กล่มุ ที่ 1) 21
วิชาชีพเลอื ก กลมุ่ ที่ 2 **

รวม

37 คู่มือนกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564

* เลอื กจากรายวิชาศึกษาท่วั ไปเลือก ทีเ่ ปิดสอนในแต่ละภาคการศกึ ษา 4 (1-6-5)
** เลอื กวิชาชพี เลอื ก กลมุ่ ท่ี 2 จากรายวิชาดังต่อไปน้ี 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
101-27001 ศลิ ปะไทย 1 4 (1-6-5)
101-27003 จิตรกรรม 1
101-27007 ภาพพมิ พ์ 1
101-27009 เครือ่ งเคลือบดินเผา 1

รหสั วิชา ชั้นปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จานวนหนว่ ยกติ
300-12003 ชอื่ วชิ า 3 (3-0-6)
300-13002 3 (3-0-6)
101-25003 คอมพวิ เตอร์เพ่อื การสร้างสรรค์* 3 (1-4-4)
101-27005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร 4 (1-6-5)
101-270xx วาดเสน้ 3 4 (1-6-5)
ประตมิ ากรรม 2 (วิชาชีพเลอื ก กล่มุ ท่ี 1) 17
วิชาชีพเลอื ก กล่มุ ที่ 2 **

รวม

* วิชาที่เพิ่มจากหมวดศึกษาท่วั ไป
** เลอื กวชิ าชีพเลอื ก กลุม่ ที่ 2 ตอ่ เนื่องจากกลุ่มวิชาเดิมท่ีเคยเลอื กไว้ จากรายวิชาดังตอ่ ไปน้ี
101-27002 ศิลปะไทย 2 4 (1-6-5)
101-27004 จิตรกรรม 2 4 (1-6-5)
101-27008 ภาพพิมพ์ 2 4 (1-6-5)
101-270010 เคร่ืองเคลอื บดินเผา 2 4 (1-6-5)

รหัสวชิ า ชนั้ ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จานวนหนว่ ยกติ
300-11003 ชอ่ื วิชา 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25006 ความเปน็ พลเมอื งและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 2 (2-0-4)
101-26021 วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 2* 4 (1-6-5)
101-26022 ศิลปะไทยวิจกั ษณ์ 4 (1-6-5)
xxx-xxxxx ประติมากรรมภาพคนเชิงสร้างสรรค์ 2 (1-2-3)
แนวคิดและการทดลองประติมากรรม 17
วิชาเลือกเสรี 1**

รวม

* เลือกจากรายวชิ าศึกษาทั่วไปเลือก ทเี่ ปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษา
** เลือกจากรายวชิ าเลือกเสรี ทีเ่ ปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษา

ค่มู อื นักศึกษา ระดับปริญญาตรี สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป์ 2564 38

รหสั วิชา ช้นั ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ
300-12002 ช่อื วชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-26023 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 (1-6-5)
101-26024 วชิ าศกึ ษาทวั่ ไปเลอื ก 3* 3 (1-4-4)
xxx-xxxxx การสร้างสรรคร์ ูปทรงทางประติมากรรม 2 (1-2-3)
งานประติมากรรมแกะสลกั 14
วิชาเลือกเสรี 2**
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (2-2-5)
2 (2-0-4)
* เลอื กจากรายวิชาศกึ ษาทว่ั ไปเลอื ก ทีเ่ ปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา 4 (1-6-5)
** เลือกจากรายวิชาเลอื กเสรี ท่ีเปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษา 3 (1-4-4)
12
รหัสวชิ า ช้ันปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
300-11004 ชอื่ วิชา จานวนหนว่ ยกติ
101-25007 2 (2-0-4)
101-26025 นนั ทนาการเพอื่ คณุ ภาพชวี ติ 6 (1-10-7)
101-26026 ประวัติศาสตรศ์ ลิ ปะสมัยใหม่ 2 (1-2-3)
ประติมากรรมสร้างสรรค์เฉพาะบุคคล 2 (1-2-3)
ประตมิ ากรรมกบั สภาพแวดลอ้ ม 12

รวม

* เลอื กจากรายวิชาศึกษาทั่วไปเลือก ท่เี ปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

รหสั วชิ า ชัน้ ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1
101-25008 ชอ่ื วิชา
101-26027
101-26028 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางศลิ ปะ
xxx-xxxxx โครงงานประติมากรรม
สัมมนาประติมากรรม 1
วิชาเลือกเสรี 3**

รวม

** เลือกจากรายวชิ าเลอื กเสรที ี่เปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศึกษา

39 คมู่ อื นักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป์ 2564

รหสั วชิ า ช้นั ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จานวนหน่วยกติ
300-11002 ชื่อวชิ า 3 (3-0-6)
101-26029 2 (1-2-3)
101-26030 พฤติกรรมมนษุ ยก์ ับการพัฒนาตน 9 (2-14-11)
สัมมนาประติมากรรม 2 14
ศิลปนิพนธ์
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (3-0-6)
3 (1-4-4)
รหัสวชิ า แผนการศกึ ษาหลักสตู รศลิ ปบณั ฑติ 3 (1-4-4)
300-11001 สาขาวิชาทัศนศลิ ป์ วิชาเอกภาพพิมพ์ 2 (1-2-3)
101-25001 2 (1-2-3)
101-25004 คณะศิลปวิจิตร 2 (1-2-3)
101-25009 ชนั้ ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 2 (1-2-3)
101-25010 2 (1-2-3)
101-25011 ชื่อวชิ า 2 (1-2-3)
101-25012 สารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต 21
101-25013 วาดเส้น 1
101-25014 องค์ประกอบศลิ ป์ 1 จานวนหนว่ ยกติ
ศิลปะไทยพน้ื ฐาน 3 (3-0-6)
จิตรกรรมพน้ื ฐาน 2 (x-x-x)
ประตมิ ากรรมพ้นื ฐาน 3 (1-4-4)
ภาพพิมพ์พืน้ ฐาน 3 (1-4-4)
เครื่องเคลือบดนิ เผาพื้นฐาน 2 (1-2-3)
ทศั นียวิทยา 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
รวม 21

รหัสวชิ า ชัน้ ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 40
300-13001 ชอ่ื วิชา
300-14xxx
101-25002 ภาษาไทยเพอื่ การส่อื สาร
101-25005 วชิ าศกึ ษาท่ัวไปเลอื ก 1*
101-25015 วาดเส้น 2
101-27007 องคป์ ระกอบศิลป์ 2
101-270xx กายวิภาค
ภาพพมิ พ์ 1 (วิชาชพี เลือก กลุ่มท่ี 1)
วิชาชีพเลอื ก กลุ่มที่ 2 **

รวม

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564

* เลือกจากรายวชิ าศึกษาทัว่ ไปเลือก ทเี่ ปิดสอนในแตล่ ะภาคการศึกษา 4 (1-6-5)
** เลือกวชิ าชีพเลือก กล่มุ ที่ 2 จากรายวชิ าดังต่อไปนี้ 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
101-27001 ศลิ ปไทย 1 4 (1-6-5)
101-27003 จติ รกรรม 1
101-27005 ประตมิ ากรรม 1
101-27009 เคร่ืองเคลอื บดนิ เผา 1

รหสั วชิ า ชน้ั ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ
300-12003 ชือ่ วิชา 3 (3-0-6)
300-13002 3 (3-0-6)
101-25003 คอมพวิ เตอร์เพื่อการสร้างสรรค์* 3 (1-4-4)
101-27008 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 4 (1-6-5)
101-270xx วาดเสน้ 3 4 (1-6-5)
ภาพพิมพ์ 2 (วิชาชีพเลือก กลุม่ ที่ 1) 17
วิชาชีพเลอื ก กลุ่มที่ 2 **

รวม

* วิชาท่เี พ่มิ จากหมวดศึกษาทัว่ ไป
** เลือกวิชาชพี เลือก กลมุ่ ที่ 2 ต่อเน่อื งจากกล่มุ วชิ าเดิมทเ่ี คยเลอื กไว้ จากรายวิชาดงั ตอ่ ไปนี้
101-27002 ศลิ ปะไทย 2 4 (1-6-5)
101-27004 จิตรกรรม 2 4 (1-6-5)
101-27006 ประตมิ ากรรม 2 4 (1-6-5)
101-27010 เครือ่ งเคลอื บดินเผา 2 4 (1-6-5)

รหัสวิชา ชั้นปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จานวนหนว่ ยกติ
300-11003 ชอ่ื วิชา 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25006 ความเปน็ พลเมืองและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม 2 (2-0-4)
101-26031 วิชาศึกษาท่ัวไปเลือก 2* 5 (1-8-6)
101-26032 ศลิ ปะไทยวจิ ักษณ์ 2 (1-2-3)
xxx-xxxxx ภาพพิมพเ์ ฉพาะบุคคล 1 2 (1-2-3)
การนาเสนอผลงานศลิ ปะ 1 16
วิชาเลอื กเสรี 1**

รวม

* เลือกจากรายวชิ าศึกษาทัว่ ไปเลือก ทเี่ ปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
** เลอื กจากรายวชิ าเลอื กเสรี ทีเ่ ปิดสอนในแตล่ ะภาคการศึกษา

41 คมู่ ือนกั ศึกษา ระดับปริญญาตรี สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์ 2564

รหสั วชิ า ชั้นปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ
300-12002 ช่อื วชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-26033 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 (1-8-6)
101-26034 วิชาศกึ ษาทว่ั ไปเลือก 3* 2 (1-2-3)
xxx-xxxxx ภาพพิมพเ์ ฉพาะบคุ คล 2 2 (1-2-3)
การนาเสนอผลงานศิลปะ 2 14
วิชาเลือกเสรี 2**
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (2-2-5)
2 (2-0-4)
* เลือกจากรายวชิ าศึกษาท่วั ไปเลอื ก ที่เปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษา 6 (1-10-7)
** เลือกจากรายวิชาเลอื กเสรี ทเ่ี ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศึกษา 2 (2-0-4)
13
รหสั วิชา ช้ันปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
300-11004 ช่อื วชิ า จานวนหน่วยกติ
101-25007 2 (2-0-4)
101-26035 นนั ทนาการเพือ่ คณุ ภาพชวี ิต 6 (1-10-7)
101-26036 ประวัติศาสตรศ์ ิลปะสมยั ใหม่ 2 (1-2-3)
โครงงานภาพพมิ พ์ขน้ั สงู 1 2 (1-2-3)
ศิลปะวิจัย (ภาพพิมพ)์ 12

รวม

* เลอื กจากรายวชิ าศึกษาทว่ั ไปเลือก ทเ่ี ปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษา

รหัสวิชา ช้ันปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1
101-25008 ช่อื วชิ า
101-26037
101-26038 ระเบยี บวธิ วี จิ ัยทางศลิ ปะ
xxx-xxxxx โครงงานภาพพิมพ์ขน้ั สงู 2
สัมมนาภาพพิมพ์ 1
วิชาเลอื กเสรี 3**

รวม

** เลอื กจากรายวชิ าเลือกเสรีทเ่ี ปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

ค่มู อื นกั ศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ 2564 42

รหัสวิชา ช้นั ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จานวนหน่วยกติ
300-11002 ช่ือวชิ า 3 (3-0-6)
101-26039 2 (1-2-3)
101-26040 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 9 (2-14-11)
สมั มนาภาพพิมพ์ 2 14
ศิลปนพิ นธ์
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (3-0-6)
3 (1-4-4)
รหัสวิชา แผนการศกึ ษาหลักสตู รศลิ ปบณั ฑติ 3 (1-4-4)
300-11001 สาขาวชิ าทัศนศิลป์ วชิ าเอกเครอื่ งเคลอื บดินเผา 2 (1-2-3)
101-25001 2 (1-2-3)
101-25004 คณะศลิ ปวิจิตร 2 (1-2-3)
101-25009 ช้ันปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 2 (1-2-3)
101-25010 2 (1-2-3)
101-25011 ชือ่ วชิ า 2 (1-2-3)
101-25012 สารสนเทศเพ่อื การเรียนรตู้ ลอดชีวิต 21
101-25013 วาดเสน้ 1
101-25014 องคป์ ระกอบศิลป์ 1 จานวนหนว่ ยกติ
ศิลปะไทยพน้ื ฐาน 3 (3-0-6)
จติ รกรรมพ้นื ฐาน 2 (x-x-x)
ประตมิ ากรรมพนื้ ฐาน 3 (1-4-4)
ภาพพิมพพ์ นื้ ฐาน 3 (1-4-4)
เครื่องเคลอื บดินเผาพื้นฐาน 2 (1-2-3)
ทศั นยี วิทยา 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
รวม 21

รหัสวชิ า ชนั้ ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
300-13001 ชอื่ วชิ า
300-14xxx
101-25002 ภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร
101-25005 วิชาศึกษาทั่วไปเลอื ก 1*
101-25015 วาดเส้น 2
101-27009 องค์ประกอบศิลป์ 2
101-270xx กายวิภาค
เครอ่ื งเคลือบดนิ เผา 1 (วิชาชีพเลือก กลุ่มท่ี 1)
วิชาชีพเลอื ก กล่มุ ท่ี 2 **

รวม

43 คู่มอื นักศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ 2564

* เลือกจากรายวชิ าศึกษาทวั่ ไปเลอื ก ที่เปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษา 4 (1-6-5)
** เลอื กวิชาชีพเลอื ก กลุ่มที่ 2 จากรายวิชาดงั ต่อไปนี้ 4 (1-6-5)
4 (1-6-5)
101-27001 ศิลปะไทย 1 4 (1-6-5)
101-27003 จติ รกรรม 1
101-27005 ประติมากรรม 1
101-27007 ภาพพิมพ์ 1

รหัสวชิ า ชัน้ ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหน่วยกติ
300-12003 ช่อื วิชา 3 (3-0-6)
300-13002 3 (3-0-6)
101-25003 คอมพิวเตอรเ์ พื่อการสรา้ งสรรค*์ 3 (1-4-4)
101-27010 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 4 (1-6-5)
101-270xx วาดเสน้ 3 4 (1-6-5)
เครอ่ื งเคลือบดนิ เผา 2 (วิชาชพี เลือก กลุ่มท่ี 1) 17
วชิ าชีพเลอื ก กลมุ่ ท่ี 2 **

รวม

* วชิ าที่เพ่ิมจากหมวดศกึ ษาท่วั ไป
** เลอื กวิชาชีพเลือก กลมุ่ ท่ี 2 ตอ่ เนอื่ งจากกล่มุ วชิ าเดมิ ทเ่ี คยเลือกไว้ จากรายวิชาดังตอ่ ไปน้ี
101-27002 ศลิ ปะไทย 2 4 (1-6-5)
101-27004 จิตรกรรม 2 4 (1-6-5)
101-27006 ประติมากรรม 2 4 (1-6-5)
101-27008 ภาพพมิ พ์ 2 4 (1-6-5)

รหัสวชิ า ช้นั ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จานวนหนว่ ยกติ
300-11003 ชื่อวชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-25006 ความเปน็ พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม 2 (2-0-4)
101-26041 วชิ าศกึ ษาทวั่ ไปเลอื ก 2* 5 (1-8-6)
101-26042 ศิลปะไทยวจิ ักษณ์ 2 (1-2-3)
xxx-xxx ศลิ ปะเครื่องเคลอื บดินเผาร่วมสมยั 1 2 (1-2-3)
เทคนิคเครอ่ื งเคลือบดินเผา 1 16
วชิ าเลอื กเสรี 1**

รวม

* เลอื กจากรายวชิ าศกึ ษาทัว่ ไปเลือก ที่เปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษา
** เลอื กจากรายวิชาเลอื กเสรี ทีเ่ ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

ค่มู ือนักศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์ 2564 44

รหัสวิชา ช้นั ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จานวนหนว่ ยกติ
300-12002 ชื่อวชิ า 3 (3-0-6)
300-14xxx 2 (x-x-x)
101-26043 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 (1-8-6)
101-26044 วชิ าศกึ ษาท่ัวไปเลือก 3* 2 (1-2-3)
xxx-xxxxx ศิลปะเคร่อื งเคลอื บดินเผาร่วมสมัย 2 2 (1-2-3)
เทคนิคเคร่ืองเคลอื บดนิ เผา 2 14
วิชาเลอื กเสรี 2**
จานวนหนว่ ยกติ
รวม 3 (2-2-5)
2 (2-0-4)
* เลอื กจากรายวิชาศึกษาทั่วไปเลือก ท่เี ปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา 5 (1-8-6)
** เลอื กจากรายวชิ าเลอื กเสรี ท่เี ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศึกษา 3 (1-4-4)
13
รหสั วิชา ชนั้ ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2
300-11004 ช่อื วิชา จานวนหนว่ ยกติ
101-25007 2 (2-0-4)
101-26045 นนั ทนาการเพ่อื คุณภาพชวี ติ 6 (1-10-7)
101-26046 ประวตั ศิ าสตร์ศลิ ปะสมยั ใหม่ 2 (1-2-3)
ศลิ ปะเครอ่ื งเคลือบดนิ เผารว่ มสมยั 3 2 (1-2-3)
เทคนิคเครอ่ื งเคลอื บดนิ เผา 3 12

รวม จานวนหนว่ ยกติ
3 (3-0-6)
* เลอื กจากรายวิชาศกึ ษาท่วั ไปเลือก ทเ่ี ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา 2 (1-2-3)
9 (2-14-11)
รหสั วิชา ช้ันปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1 14
101-25008 ชอื่ วชิ า
101-26047
101-26048 ระเบียบวิธวี ิจยั ทางศิลปะ
xxx-xxxxx โครงงานเครอ่ื งเคลอื บดินเผา
สัมมนาเครื่องเคลอื บดินเผา 1
วชิ าเลือกเสรี 3**

รวม

** เลอื กจากรายวชิ าเลือกเสรี ท่เี ปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

รหัสวชิ า ช้ันปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2
300-11002 ชือ่ วิชา
101-26049
101-26050 พฤตกิ รรมมนุษย์กบั การพัฒนาตน
สมั มนาเครือ่ งเคลอื บดินเผา 2
ศลิ ปนพิ นธ์

รวม

45 คมู่ อื นกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป์ 2564

รายละเอียดของหลักสตู ร
หลักสูตรศลิ ปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบตกแตง่ ภายใน

( หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 )

ช่อื สถาบนั อุดมศกึ ษา สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์ กระทรวงวฒั นธรรม
คณะ/วิทยาลัย คณะศิลปวิจติ ร ภาควชิ าออกแบบ

หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป

1. รหสั และช่อื หลกั สูตร หลกั สูตรศิลปบัณฑิต สาขาวชิ าออกแบบตกแต่งภายใน
ช่ือภาษาไทย Bachelor of Fine Arts Program in Interior Design
ชือ่ ภาษาอังกฤษ ศิลปบัณฑิต (ออกแบบตกแต่งภายใน)
ศล.บ. (ออกแบบตกแต่งภายใน)
2. ชอ่ื ปริญญา Bachelor of Fine Arts (Interior Design)
ชื่อเต็มภาษาไทย B.F.A. (Interior Design)
ช่อื ย่อภาษาไทย
ช่อื เต็มภาษาอังกฤษ
ชือ่ ยอ่ ภาษาอังกฤษ

3. วิชาเอก
ออกแบบตกแตง่ ภายใน

4. จานวนหนว่ ยกิตตลอดหลักสตู ร
ไม่น้อยกว่า 141 หนว่ ยกิต

5. รูปแบบของหลกั สูตร
5.1 รูปแบบ ปรญิ ญาตรี 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร ปริญญาตรที างวชิ าชพี
5.3 ภาษาท่ีใช้ ภาษาไทย
5.4 การรับเขา้ ศกึ ษา รบั นกั ศกึ ษาไทยและนักศกึ ษาตา่ งประเทศที่สามารถใชภ้ าษาไทยได้
5.5 ความร่วมมอื กบั สถาบันอ่นื เป็นหลกั สตู รเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
5.6 การใหป้ ริญญาแกผ่ ู้สาเร็จการศกึ ษา ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว

6. อาชีพท่ีสามารถประกอบหลังได้สาเร็จการศึกษา
1) สถาปนิก สาขาสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ 2) นักวิชาการด้านออกแบบ

3) รับราชการ 4) ผู้สอนศิลปะ )ในหน่วยงานภาครัาและเอกชน )5) นักอนุรักษ์ 6) นักออกแบบ
7) ผู้ช่วยนกั วจิ ัย 8) ประกอบอาชพี อิสระ

ค่มู อื นักศกึ ษา ระดับปริญญาตรี สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564 46

7. สถานทจ่ี ัดการเรียนการสอน
คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เลขท่ี 119/10 หมู่ท่ี 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล

จังหวดั นครปาม 73170
8. ปรชั ญา ความสาคญั และวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร

8.1 ปรัชญาของหลักสตู รศลิ ปบัณฑติ สาขาวชิ าการออกแบบภายใน มดี งั น้ี
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถาบันการศึกษาด้านศิลปะท่ีมุ่งสร้างสรรค์ศาสตร์แห่งศิลป์

ผลิตบณั ฑิตใหม้ ีความเปน็ เลิศทางศิลปะควบคู่คุณธรรม เพื่อผดุงรักษาและสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ
หลักสูตรนม้ี ลี ักษณะของการบรู ณาการเชิงประยกุ ตศ์ าสตรแ์ ละศลิ ปท์ ี่เกยี่ วขอ้ งกันนามาพฒั นาเป็นหลักสูตร
ที่สามารถผลติ นักวิชาชีพในสาขาสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ หรือสถาปนิกภายในท่ีเพียบพร้อม
ด้วยศักยภาพและความคิดสร้างสรรค์ท้ังในเชิงการออกแบบและการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นศาสตร์การ
ออกแบบที่ร่วมสมัย ผนวกองค์ความรู้ในเชิงเทคนิคในการผลิตและจัดการเอกสารในทุกขั้นตอนของงาน
ออกแบบ และมคี วามเขา้ ใจและสามารถวิเคราะห์งานออกแบบได้ เพ่ือให้บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษามีความ
พร้อมทจ่ี ะทางานในสาขาวิชาชีพอย่างมืออาชีพชีพท้ังในระดับสากล และมีความสามารถในการทางานใน
ทุกข้ันตอนของงานออกแบบ มคี วามรู้ความเข้าใจต่อกลไก ระบบ และทิศทางในอนาคตของงานออกแบบ
ธุรกจิ ท่เี กีย่ วขอ้ ง องค์กรวิชาชีพและสังคมทงั้ ในระดับชาติและนานาชาติ

8.2 ความสาคญั ของหลักสตู รศลิ ปบัณฑติ สาขาวิชาการออกแบบภายใน มีดังนี้
ย ก ร ะ ดั บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ชี พ เ ฉ พ า ะ ด้ า น อ อ ก แ บ บ ต ก แ ต่ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ สื บ ส า น

ศลิ ปวฒั นธรรมของชาติดังต่อไปนี้
1) พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานใน
ธุรกจิ

ใหบ้ ริการด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและมณั ฑนศิลป์ และธรุ กจิ อ่นื ๆทเี่ กย่ี วข้อง
2) พัฒนาผู้เรียนให้สามารถแข่งขันในตลาดแรงงานสากลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาค
อาเซียน
3) ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัาและ

หน่วยงานเอกชนในการสอน และการบรกิ ารวชิ าการ
8.3 วัตถุประสงค์
1) ผลิตบัณฑิตเป็นสถาปนิกภายใน โดยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมสาขา

สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศลิ ป์ท่มี ีความรู้ความสามารถทางด้านออกแบบตกแต่งภายใน สามารถนา
ความร้ไู ปประกอบอาชีพได้อยา่ งเชี่ยวชาญ

2) ผลติ บัณฑิตทม่ี ีทกั ษะทางดา้ นออกแบบตกแตง่ ภายใน มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ สามารถ
ปฏิบตั ิงาน ค้นควา้ และพัฒนางานตามหลกั วิชาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และความสามารถในาานะนักวิชาการ นักบริหาร นักวางแผน
นกั วิจัยสามารถพัฒนางานการออกแบบใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ทนั กบั วิทยาการสมยั ใหม่
ดา้ นออกแบบตกแต่งภายใน ทมี่ ีคุณธรรมและจรยิ ธรรม

4) ผลิตบัณฑิตด้านออกแบบตกแต่งภายใน ท่ีมีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อ
สังคมและสานึกในคุณค่าของวัฒนธรรมของชาติ ในการอนุรักษ์ สืบทอด และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม
ของชาติ

47 คู่มอื นกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์ 2564

9. หลกั สตู รและอาจารย์ผูส้ อน
9.1 หลกั สูตร
9.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 141 หนว่ ยกติ
9.1.2 โครงสรา้ งหลักสูตร
1) หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป 30 หนว่ ยกิต
1.1 กลุ่มวชิ าบังคบั 24 หนว่ ยกิต
1 กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 12 หน่วยกติ
2 กล่มุ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 6 หน่วยกติ
3 กลมุ่ วิชาภาษา 6 หนว่ ยกิต
1.2 กลมุ่ วชิ าเลือก ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ
2) หมวดวิชาชีพเฉพาะ 105 หน่วยกติ
2.1 กลุ่มวิชาพนื้ าานวชิ าชีพ 21 หนว่ ยกติ
2.2 กล่มุ วชิ าหลกั 48 หน่วยกติ
2.3 กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยี 21 หนว่ ยกติ
2.4 กลุม่ วชิ าสนบั สนนุ 15 หน่วยกติ
3) หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต
*หมายเหตุ : เกณฑม์ าตราานวชิ าการหลักสูตรวิชาชพี สถาปตั ยกรรมควบคุมสาขาสถาปัตยกรรมภายในและ
มัณฑนศลิ ปห์ ลักสตู ร 4 ปี ตามข้อบังคับว่าดว้ ยการรบั รองปรญิ ญาฯ พ.ศ. 2545 ของสภาสถาปนิก กาหนด
หมวดวชิ าและจานวนหนว่ ยกิตดงั นี้
- กลมุ่ วิชาพื้นาาน ไม่นอ้ ยกวา่ 21 หน่วยกิต
- กล่มุ วชิ าหลกั ไมน่ ้อยกว่า 33 หน่วยกิต
- กล่มุ วิชาเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาสนับสนุน ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ

หมายเหตุ โครงสร้างรายวชิ า สามารถดาวนโ์ หลดได้ท่ี

คู่มือนักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ 2564 48

ความหมายของรหัสการจดั ชว่ั โมงเรยี น คณะ
ความหมายของรหัสรายวชิ า
สาขาวิชา
หมวดวิชา
กลุ่มวิชา
ลาดับวชิ า

X X X X X XXX

รหสั วชิ าที่ใช้กาหนดเปน็ เลข 8 หลกั ดงั ตอ่ ไปนี้
ตาแหน่งที่ 1 หมายถงึ คณะ

เลข 1 หมายถงึ คณะศลิ ปวจิ ติ ร
เลข 2 หมายถึง คณะศิลปนาฏดุรยิ างค์
เลข 3 หมายถงึ คณะศลิ ปศกึ ษา

ตาแหน่งที่ 2-3 หมายถงึ สาขาวชิ า/แขนงวชิ า
เลข 01 หมายถึง สาขาวชิ าทัศนศลิ ป์
เลข 02 หมายถงึ สาขาวชิ าออกแบบตกแตง่ ภายใน

ตาแหน่งท่ี 4 หมายถงึ หมวดวิชา
เลข 1 หมายถงึ หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป
เลข 2 หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะ
เลข 3 หมายถึง หมวดวิชาเลอื กเสรี

49 คู่มอื นักศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ 2564


Click to View FlipBook Version