The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เยาวภา บุญญาธิการ, 2020-07-15 02:11:08

ทักษะดำเนินชีวิต

หลักสูตรสถานศึกษา

สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

คำนำ

กกกกกกกเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2561) สาระทักษะการดาเนินชีวิต จัดทาข้ึนเพื่อให้
ครูผู้สอนหรือผู้รับผิดชอบจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ศึกษาเพ่ือนาไปวาง
แผนการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ดังกล่าว ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลโดยเฉพาะ
นักศกึ ษาสามารถนาความรู้และทักษะการดาเนินชีวิตท่ีได้ศึกษาเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้งั อนุรักษศ์ ิลปะ นาฏศิลป์ไทยให้คงอย่คู ชู่ าติไทย
กกกกกกกเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาฉบับน้ี ประกอบด้วย (1) คาชี้แจง (2) สาระทักษะการ
ดาเนนิ ชีวติ (3) ผงั มโนทศั น์ (4) มาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (5) รายวิชาบังคับ และ
เลือก (6) คาอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาบังคับ (7) คาอธิบายรายวิชาและ
รายละเอียดคาอธิบายรายวิชาเลือก ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย และ (8) คาอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาเลือกแบบแยก
ระดบั ตลอดจน บรรณานกุ รมและภาคผนวก
กกกกกกกเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2561) สาระทักษะการดาเนินชีวิต ฉบับนี้ สาเร็จลงด้วยดี ด้วย
การสนับสนุน ส่งเสริม ของนายปรเมศวร์ ศิริรัตน์ ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ที่ได้กาหนดนโยบายการพัฒนาวิชาการให้แก่ครู
และบุคลากรในสังกัด โดยจัดอบรมปฏิบัติการให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความสามารถ ในการปรับปรุง
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ประจาคณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาเชี่ยวชาญ สานักงาน
เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 36 ข้าราชการบานาญ วิทยากรการอบรมปฏิบัติการ นอกจากน้ียัง
ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากท่ีปรึกษาและผู้ร่วมปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร และคณะกรรมการ
ปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตร ขอขอบพระคุณ และขอบคณุ ไว้ ณ ที่น้ี เปน็ อย่างสงู

(นายพิเชษฐ เสอื เฒา่ )
ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตห้วยขวาง

สารบญั

หนา้
คาชแ้ี จง........…………………………………………………………………………………..………..………..……… 1
สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต……………………………………………………………………….……………........ 2
ผังมโนทศั น.์ ............................................................................................................................... 3
มาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ....................................................................... 7
รายวิชาบังคบั และเลอื ก............................................................................................................. 14
คาอธบิ ายรายวชิ าและรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าบงั คับ
กกกระดับประถมศกึ ษา............................................................................................................. 17
กกกระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น................................................................................................... 32
กกกระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย............................................................................................... 47
คาอธิบายรายวชิ าและรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าเลือก ระดับประถมศึกษา
กกกระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย.............................................. 65
คาอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาเลอื ก
กกกระดบั ประถมศึกษา............................................................................................................. 86
กกกระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น................................................................................................... 96
กกกระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย............................................................................................... 109
บรรณานกุ รม................................................................................................................... .......... 119
ภาคผนวก.................................................................................................................................. 121

ก ประกาศแตง่ ต้ังทปี่ รึกษาและผู้ร่วมใหข้ ้อมูลการปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสูตร........... 122
ข คาส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู ร............................................ 125
ค คานิยามศัพท์............................................................................................................... 128

1

คำชแ้ี จง

กกกกกกกเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกรระบบระดับการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2561) สาระทักษะการดาเนินชีวติ มีส่วนประกอบของ
เอกสารท่ีครูผู้สอน และผู้รับผิดชอบจัดการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาของสถานศึกษา ควรศึกษาก่อนจะ
นาไปวางแผนจัดการเรียนรู้ดงั น้ี
กกกกกกก1. เอกสารประกอบหลักสูตร ฉบับนี้ ประกอบด้วย สาระทักษะการดาเนินชีวิต ผังมโนทัศน์
มาตรการเรียนรู้ระดับและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาบังคับและเลือก คาอธิบายรายวิชาและ
รายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวิชาบงั คับและเลอื ก บรรณานุกรมและภาคผนวก

2. ใหค้ รูผูส้ อนจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าบงั คบั และเลือกให้เป็นไปตาม ตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ที่
คาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ หรอื มาตรฐานที่ เนือ้ หา (ศกึ ษาและฝกึ ทักษะ) รวมทั้งการจัดการ
เรียนรู้หรือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ในแต่ละระดับการศึกษาให้
ผู้เรยี นได้คณุ ภาพตามมาตรฐานที่กาหนด
กกกกกกก3. คาอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย ช่ือรายวิชา (รหัส จานวนหน่วยกิต และระดับ)
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับหรือมาตรฐานที่ ศึกษาและฝึกทักษะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้และ
การวดั และประเมนิ ผล
กกกกกกก4. รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย ชื่อรายวิชา (รหัส จานวนหน่วยกิต
และระดับ) มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ หรือมาตรฐานที่ ตาราง ประกอบด้วย ที่ หัวเร่ือง ตัวช้ีวัด เน้ือหา
และจานวนชั่วโมง
กกกกกกก5. สาระทักษะการดาเนนิ ชีวติ เป็นสาระเกยี่ วกับปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยในการดาเนนิ ชวี ิต ศิลปะและสุนทรีภาพ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ

ผงั มโนทศั น์

แนวคดิ หลกั การ ความหมาย มาตรฐานที่ 4.1
ความสาคญั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ
พอเพยี ง
ความพอเพยี งในครอบครวั

นาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในครอบครวั

ทศั นศลิ ป์ไทย ทกั ษะการด
พน้ื บ้าน
มาตรฐานที่ 4.3
ดนตรีไทยพ้ืนบ้าน ศลิ ปศึกษา

นาฏศิลป์พ้นื บา้ น ผงั มโน
ระดับประ

มาตรฐานท่ี 4.2 รา่ งกายของเรา อวัยวะภายใน ภายนอก
สุขศกึ ษา พล การวางแผนครอบครวั และพัฒนาการทางเพศ
การดแู ลสุขภาพ
ศึกษา โรคตดิ ต่อ
ยาสามญั ประจาบ้าน
ดาเนินชีวติ สารเสพตดิ
ความปลอดภยั ในทรัพย์สนิ
นทศั น์ ทักษะชีวิตเพื่อการคดิ
ะถมศึกษา

4

แนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาคัญ มาตรฐานที่ 4.1 ม
ประกอบอาชีพอย่างพอเพียง เศรษฐกจิ
พอเพยี ง
สร้างเครอื ข่ายดาเนินชวี ติ แบบพอเพียง

ทศั นศิลป์ไทย ทักษะการดาเน
ดนตรีไทย
นาฏศลิ ป์ไทย มาตรฐานที่ 4.3
ศิลปศึกษา

ผังมโน
ระดับมธั ยมศ

มาตรฐานที่ 4.2 พฒั นาการของร่างกาย ท้ังโครงสร้างภายใน
สขุ ศึกษา พล และอวยั วะต่างๆ
การดแู ลสขุ ภาพดว้ ยการออกกาลังกายและ
ศึกษา สุขภาพทางเพศ
สารอาหาร
นินชวี ติ
โรคระบาดตา่ งๆ
นทศั น์
ศกึ ษาตอนต้น ยาแผนโบราณและสมนุ ไพร

การปอ้ งกันสารเสพติด

ทกั ษะชีวิตเพ่ือการส่ือสาร

5

แนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาคญั มาตรฐานท่ี 4.1
ชุมชนพอเพียง เศรษฐกจิ
พอเพยี ง
การแกป้ ัญหาชุมชน
สถานการณ์ของประเทศกบั ความพอเพียง

สถานการณ์ของโลกกับความพอเพยี ง

ทศั นศิลปส์ ากล ทกั ษะการด
ดนตรสี ากล
นาฏศลิ ป์สากล มาตรฐานท่ี 4.3
ศิลปศึกษา

ผังม
ระดับมธั ยมศ

มาตรฐานที่ 4.2 ระบบต่างๆ ของร่างกาย
สุขศกึ ษา พล ปัญหาเพศศกึ ษา
อาหารและโภชนาการ
ศึกษา เสริมสรา้ งสขุ ภาพ
โรคทีถ่ ่ายทอดทางพนั ธุกรรม
ดาเนนิ ชีวติ ปลอดภยั จาการใชย้ า
ผลกระทบจากสารเสพติด
มโนทศั น์ ทกั ษะชวี ติ เพ่ือสุขภาพจิต
ศึกษาตอนปลาย

6

มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ
และ

ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวัง

มาตรฐานที่ 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติทดี่ เี กยี่ วกบั ปรชั ญาเศรษฐ

ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธ

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้

รู้ เข้าใจยอมรบั เห็น 1. อธบิ ายแนวคดิ หลกั การ รู้ เข้าใจยอมรับ เห็น
คุณค่าปรัชญาของ ความหมาย ความสาคญั คณุ ค่าปรัชญาของ
เศรษฐกจิ และ ของปรชั ญาเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ และ
สามารถประยกุ ตใ์ ช้ พอเพยี งได้ สามารถประยุกต์ใช้
ในครอบครวั และมี 2. บอกแนวทางในการนา ในการประกอบ
ภมู ิคุ้มกนั ในการ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง อาชีพ และมี
ดาเนนิ ชีวติ ของ ไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ภมู คิ มุ้ กนั ในการ
ตนเองและครอบครัว ชวี ิต ดาเนินชวี ิตของ
อย่างมีความสขุ 3. เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ตั ิ ตนเองและครอบครวั
ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ และชุมชนอยา่ งมี
พอเพียง ความสขุ
4. แนะนา ส่งเสรมิ ให้
สมาชิกในครอบครวั เห็น
คุณค่าและนาไปปฏิบัตใิ น
การดาเนินชีวิต

ฐกจิ พอเพียง และสามารถประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ิตได้อย่างเหมาะสม

ธยมศกึ ษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง

1. อธบิ ายแนวคดิ หลักการ รู้ เขา้ ใจ ตระหนกั 1. อธิบายแนวคิดหลกั การ
ความหมาย ความสาคญั และเหน็ คุณคา่ ความหมาย ความสาคัญ
ของปรัชญาเศรษฐกจิ ปรชั ญาของ ของปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียงได้ เศรษฐกจิ ยอมรับ พอเพยี งได้
2. บอกแนวทางในการนา ประยุกต์ใชใ้ นชุมชน 2. บอกแนวทางในการนา
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีภูมิคุ้มกันใน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกต์ใช้ในการ การดาเนนิ ชวี ติ และ ไปประยุกต์ใช้ในชมุ ชน
ประกอบอาชีพ การอย่รู ว่ มกันใน 3. เหน็ คุณค่าและปฏิบัติ
3. เห็นคุณค่าและปฏิบตั ิ ครอบครวั ชมุ ชน ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ และสังคมอยา่ งสันติ พอเพียง
พอเพียง สุข สร้างความ 4. ปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่าง
4. แนะนา ส่งเสริมให้ ร่วมมือในการพฒั นา ในการดาเนนิ ชวี ติ ตามหลัก
สมาชกิ ในครอบครัวเห็น ชุมชน ท้องถ่ิน ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใน
คุณค่าและนาไปปฏบิ ัติใน ชุมชน
การดาเนนิ ชวี ติ

8

ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั

มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้

ธยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั

5. เผยแพรห่ ลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี งใหช้ ุมชน
เห็นคณุ ค่าและนาไปปฏบิ ัติ
ในการดาเนนิ ชีวิต
6. มสี ว่ นรว่ มในการชมุ ชน
ในการปฏบิ ตั ิตนตามหลกั
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. สามารถนาแนวคิดตาม
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียงไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพได้

9

มาตรฐานท่ี 4.2 มีความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติท่ดี ีเกย่ี วกับการดแู

ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ย

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้

รูเ้ ขา้ ใจ มคี ุณธรรม 1. อธิบายธรรมชาติการ รู้เข้าใจ มคี ุณธรรม

จริยธรรม เจตคติทด่ี ี เจริญเตบิ โตและ จริยธรรม เจตคตทิ ดี่ ี

มที ักษะในการดแู ล พฒั นาการของมนุษย์ได้ มีทักษะในการดูแล

และสร้างเสรมิ การมี อย่างถูกต้อง และสร้างเสรมิ การมี

พฤติกรรมสขุ ภาพท่ีดี 2. บอกหลกั การดแู ลและ พฤติกรรมท่ีดีเปน็ กิจ

ปฏิบัติเป็นกจิ นิสยั สรา้ งเสรมิ พฤติกรรม นสิ ัย

ตลอดจน ปอ้ งกัน สุขภาพท่ดี ขี องตนเองและ หลกี เหล่ียงพฤตกิ รรม

พฤติกรรมเส่ยี งตอ่ ครอบครัว เสี่ยงต่อสุขภาพ

สุขภาพและดารงชีวิต 3. ปฏิบตั ติ นในการดูแล ตลอดจนส่งเสริม

ของตนเองและ และสรา้ งเสริมพฤติกรรม สุขภาพพลานามัย

ครอบครัวอยา่ งมีสุข สขุ ภาพทด่ี จี นเป็นกจิ และสภาพแวดลอ้ มท่ี

นิสยั ดีในชมุ ชน

4. ปอ้ งกันและหลกี เล่ยี ง

พฤติกรรมเสยี่ งต่อ

สุขภาพและความ

ปลอดภัยดว้ ย

แล สง่ เสรมิ สุขภาพพลานามัย และความปลอดภัยในการดาเนนิ ชวี ิต

ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง

1. อธิบายธรรมชาติการ รู้เข้าใจ มคี ุณธรรม 1. ปฏบิ ัตติ นในการดูแล
เจริญเตบิ โตและ จรยิ ธรรม เจตคตทิ ีด่ ี และสรา้ งเสริมพฤติกรรม
พัฒนาการของมนษุ ย์ได้ มีทักษะในการดแู ล สขุ ภาพทด่ี ีจนเป็นกจิ นิสัย
อยา่ งถูกต้อง และสร้างเสรมิ การมี 2. ป้องกนั และหลีกเลี่ยง
2. บอกหลักการดูแลและ พฤติกรรมทีด่ เี ปน็ กจิ พฤติกรรมเสยี่ งต่อสุขภาพ
สร้างเสรมิ พฤติกรรม นิสยั วางแผนพัฒนา ดว้ ยกระบวนการทักษะ
สขุ ภาพทขี่ องตนเองและ สุขภาพดารงสขุ ภาพ ชวี ิต
ครอบครัว ของตนเองและ 3. แนะนาการปฏิบัติตน
3. ป้องกนั และหลีกเลี่ยง ครอบครวั ตลอดจน เกีย่ วกับการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมเสยี่ งต่อสุขภาพ สนับสนนุ ใหช้ ุมชน มี และหลีกเลยี่ ง พฤตกิ รรม
และความปลอยภยั ดว้ ย สว่ นรว่ มในการ เสี่ยงตอ่
กระบวนการทกั ษะชีวิต สง่ เสรมิ ดา้ นสุขภาพ สุขภาพและความปลอดภัย
4. แนะนาการปฏบิ ตั ติ น พลานามัยและพัฒนา แก่ครอบครวั และผู้อน่ื
เก่ยี วกับการดูแลและ สภาพ แวดล้อมที่ดี 4. วางแผนพฒั นาสุขภาพ
หลีกเลยี่ งพฤติกรรมเส่ยี ง และดารงสขุ ภาพของ
ตอ่ สขุ ภาพแกค่ รอบครัว ตนเองและครอบครวั

10

ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธ
มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้

กระบวนการทกั ษะชวี ิต

ธยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง
และผ้อู ื่น
5. ปฏิบตั ติ นในการดูแล 5. ปฏิบตั ติ นในการดแู ล
สุขอนามยั และสร้างเสรมิ สุขภาพอนามยั และ
พฤติกรรมสขุ ภาพทด่ี ีของ ส่ิงแวดล้อมในชุมชน
ตนเอง รวมทงั้ 6. สง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนมสี ่วน
สภาพแวดล้อมในชุมชนจน ร่วมในการดแู ลสขุ ภาพ
เป็นกจิ นิสัย อนามยั และสิ่งแวดล้อม

11

มาตรฐานท่ี 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ่ีดี เกย่ี วกับศลิ ปะแล

ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธ

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรียนร

รู้ เข้าใจ มีคณุ ธรรม อธิบายความหมายของ รู้ เข้าใจ มคี ุณธรรม

จริยธรรม ชน่ื ชม เหน็ ธรรมชาติ ความงามและ จรยิ ธรรม ชนื่ ชม เห็น

คุณคา่ ความงาม ความ ความไพเราะของ คุณค่าความงาม ความ

ไพเราะ ธรรมชาติ ทศั นศิลป์ ดนตรี และ ไพเราะ ธรรมชาติ

สิ่งแวดล้อม ทาง นาฏศิลป์ สิ่งแวดลอ้ ม ทาง

ทศั นศิลป์ ดนตรี และ 2. อธบิ ายความรู้พื้นฐาน ทัศนศลิ ป์ ดนตรี และ

นาฏศลิ ป์พื้นบา้ น และ ของทัศนศลิ ป์ ดนตรี และ นาฏศิลป์ไทย และ

สามารถวเิ คราะห์ นาฏศิลป์พืน้ บา้ น สามารถวิเคราะห์

วิพากษ์วจิ ารณ์ ได้ 3. สร้างสรรค์ผลงาน วพิ ากษว์ ิจารณ์ ได้

อยา่ งเหมาะสม โดยใช้ความรพู้ ้นื ฐาน อยา่ งเหมาะสม

ดา้ นทศั นศิลป์ ดนตรี

และนาฏศิลปพ์ ืน้ บ้าน

4. ช่นื ชม เห็นคณุ ค่าของ

ทัศนศิลป์ ดนตรี และ

นาฏศิลป์พ้นื บา้ น

ละสนุ ทรยี ภาพ

ธยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

รู้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง

อธิบายความหมายของ รู้ เขา้ ใจ มคี ณุ ธรรม อธิบายความหมายของ

น ธรรมชาติ ความงามและ จรยิ ธรรม ช่ืนชม ธรรมชาติ ความงามและ

ม ความไพเราะของ เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะของทศั นศลิ ป์

ทศั นศิลป์ ดนตรี และ ความไพเราะ ดนตรี และนาฏศิลป์สากล

นาฏศลิ ป์ไทย ธรรมชาติ 2. อธิบายความรพู้ นื้ ฐาน

ะ 2. อธบิ ายความร้พู น้ื ฐาน ส่ิงแวดลอ้ ม ทาง ของทศั นศิลป์ ดนตรี และ

ของทัศนศลิ ป์ ดนตรี และ ทัศนศลิ ป์ ดนตรี นาฏศลิ ปส์ ากล

นาฏศลิ ปไ์ ทย และนาฏศลิ ป์ สากล 3. สรา้ งสรรค์ผลงาน

3. สรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดย และสามารถ โดยใชค้ วามรพู้ ืน้ ฐาน ดา้ น

ใช้ความรูพ้ ื้นฐาน วิเคราะห์ ทัศนศลิ ป์ ดนตรี และ

ด้านทัศนศิลป์ ดนตรี วิพากษ์วิจารณ์ ได้ นาฏศลิ ป์สากล

และนาฏศลิ ปไ์ ทย อย่างเหมาะสม 4. ชน่ื ชม เหน็ คุณค่าของ

4. ช่ืนชม เหน็ คณุ คา่ ของ ทัศนศิลป์ ดนตรี และ

ทัศนศิลป์ ดนตรี และ นาฏศิลป์สากล

นาฏศิลปไ์ ทย

12

ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรียนร

5. วเิ คราะห์ วพิ ากษ์
วจิ ารณ์ งานดา้ น
ทัศนศลิ ป์ ดนตรี และ
นาฏศิลปพ์ น้ื บ้าน
6. อนุรักษ์สืบทอดภูมิ
ปัญญาด้านทัศนศิลป์
ดนตรี และนาฏศิลป์
พน้ื บ้าน

ธยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

รู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั

5. วิเคราะห์ วพิ ากษ์ 5. วเิ คราะห์ วิพากษ์

วิจารณ์ งานด้านทศั นศิลป์ วจิ ารณ์ งานด้านทัศนศิลป์

ดนตรี และนาฏศิลปไ์ ทย ดนตรี และนาฏศลิ ป์สากล

6. อนรุ ักษส์ บื ทอดภมู ิ 6. อนรุ กั ษ์สบื ทอดภูมิ

ปญั ญาดา้ นทัศนศลิ ป์ ปญั ญาดา้ นทัศนศลิ ป์ ดนตรี

ดนตรี และนาฏศลิ ป์ไทย และนาฏศลิ ปส์ ากล

13

14

รายวชิ าบงั คบั และเลอื ก

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ

15

รายวชิ าบังคับ

มาตรฐาน ระดบั รหสั วชิ า วชิ า หน่วยกติ

ที่ ทช11001
ทช21001
4.1 ประถมศึกษา ทช31001 เศรษฐกิจพอเพียง 1
ทช11002 เศรษฐกิจพอเพยี ง 1
4.1 มธั ยมศึกษาตอนต้น ทช21002 เศรษฐกจิ พอเพียง 1
ทช31002 สขุ ศกึ ษาพลศึกษา 2
4.1 มัธยมศึกษาตอนปลาย ทช11003 สุขศึกษาพลศึกษา 2
ทช21003 สขุ ศกึ ษาพลศึกษา 2
4.2 ประถมศึกษา ทช31003 2
ศิลปศกึ ษา 2
4.2 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ศิลปศกึ ษา 2
ศิลปศกึ ษา
4.2 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

4.3 ประถมศึกษา

4.3 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

4.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย

รายวชิ าเลอื ก

มาตรฐาน ระดับการศึกษา รหสั วิชา รายวิชา หน่วย
กติ
ท่ี 1
1
4.1 ประถมศึกษา ทช02001 บญั ชชี าวบ้าน 1
1
4.1 มัธยมศึกษาตอนตน้ ทช02002 วิสาหกจิ ชุมชน 1
1
4.2 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ทช02003 การดแู ลเด็กกอ่ นวยั เรียน
1
4.2 ทช02004 การดแู ลสุขภาพผูส้ ูงอายุ
1
4.2 ทช02005 ลลี าศเพื่อสุขภาพ

4.2 ทช02006 เพศศึกษาสาหรับพ่อแม่กบั ลูก

วยั ร่นุ

4.3 ประถมศึกษา ทช12001 เอกลกั ษณ์ไทยกบั นาฎศิลป์

พื้นเมือง

4.3 ทช12002 จติ รกรรมพนื้ บา้ น

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

16

4.3 ทช12003 ประติมากรรมพื้นบา้ น 1
4.3 1
มาตรฐานท่ี ทช12004 สถาปตั ยกรรมพ้นื บ้าน หน่วยกิต
4.3 1
4.3 ระดับการศึกษา รหสั วิชา รายวชิ า 1
4.3 1
4.3 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ทช22001 ระบา รา ฟ้อน 1
4.3 1
4.3 ทช22002 จติ รกรรมไทย 1
4.3 1
ทช22003 ประตมิ ากรรมไทย

ทช22004 สถาปัตยกรรม

มธั ยมศึกษาตอนปลาย ทช32001 จติ รกรรมสากล

ทช32002 ประตมิ ากรรมสากล

ทช32003 สถาปตั ยกรรมสากล

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

17

คำอธิบำยรำยวชิ ำ
และ

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวชิ ำบังคบั
ระดับประถมศกึ ษำ

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช11001 เศรษฐกิจพอเพียง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ

18

จำนวน 1 หน่วยกติ ระดบั ประถมศกึ ษำ

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถประยุกต์ใช้ใน
ครอบครวั และมีภูมิคมุ้ กันในการดาเนนิ ชวี ิตของตนเองและครอบครวั อยา่ งมีความสุข ศึกษา ฝึกปฏิบัติ
และประยุกตใ์ ชเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพยี ง ดังนคี้ ือ
กกกกกกกแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาคัญ แนวทางการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสาหรับตนเองและครอบครัว เพ่ือให้เป็นคนมีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้
และมีคณุ ธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวติ ของตนเองอยา่ งมีความสุข

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

กกกกกกกศกึ ษาข้อมลู ตนเอง ข้อมูลวิชาการ ข้อมูลส่ิงแวดล้อม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เช่ือมโยงเข้ากับ
ความรู้และประสบการณ์ โดยศึกษาจากกรณีตัวอย่าง สภาพจริง สื่อทุกประเภท การอภิปราย แลก
เปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนและภูมิปัญญา นามาทดลอง และฝึกปฏิบัติ ประเมินผลและวางแผน
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ

กำรวดั และประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สังเกต
สัมภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมนิ การปฏิบตั จิ ริง และประเมนิ สภาพจริง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

19

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช11001 เศรษฐกจิ พอเพียง
จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับประถมศึกษำ

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถประยุกต์ใช้ใน
ครอบครัว และมีภูมคิ ้มุ กันในการดาเนนิ ชีวิตของตนเองและครอบครวั อย่างมคี วามสขุ

ที่ หวั เร่ือง ตวั ชวี้ ัด เนอื้ หำ จำนวน
1 ความพอเพียง (ชั่วโมง)
รเู้ ข้าใจประวตั ิ ความเปน็ มา
2 ครอบครัว ความหมาย แนวคิด หลักการ ประวตั ิ ความเป็นมา ความหมาย 5
พอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. อธบิ ายแนวทางในการนา แนวคดิ หลักการ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ไปประยุกต์ใช้ในวิถชี วี ติ ของ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ตนเองครอบครัว
2. ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรชั ญา 1. แนวทางในการนาปรัชญาของ 35
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. วิเคราะหส์ ภาพรายรับ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
รายจา่ ยของครอบครัวได้
4. วางแผนการจดั ทาบนั ทึก ในวิถชี ีวติ ของตนเองและ
รายรบั รายจา่ ยของตนเองและ
ครอบครัวอยา่ งเป็นระบบ ครอบครวั
5. อธบิ ายวิธกี ารลดรายจ่าย
และเพิ่มรายได้ของครอบครวั 2. การดาเนนิ ชีวติ ตามปรชั ญา

เศรษฐกจิ พอเพียง

3. รายรับ – รายจ่ายของตนเอง

และครอบครัว

4. การวางแผนการใชจ้ า่ ยของ

ตนองและครอบครัว

5. การลดรายจา่ ย เพม่ิ รายได้
จากกรณีต่าง ๆ เชน่
- การประหยดั อดออม
- การใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์
- การปฏิบตั ิตนเปน็ ผผู้ ลิตและ
ผบู้ รโิ ภค

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ

20

ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวชี้วดั เน้ือหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

6. ให้คาแนะนา สมาชิกใน 6. หลักในการให้คาแนะนา

ครอบครัวเห็นคุณค่าและนาไป สมาชกิ ในครอบครวั เห็นคุณค่า

ประยุกต์ใช้การดาเนินชวี ติ ได้ ของการนาเอาหลกั เศรษฐกิจ

พอเพียงไปใชใ้ น การดาเนนิ ชวี ิต

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

21

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช11002 สุขศึกษำ พลศกึ ษำ
จำนวน 2 หน่วยกิต ระดบั ประถมศกึ ษำ

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแลและสร้างเสริมการมี
พฤติกรรมสขุ ภาพทด่ี ี ปฏิบัติเป็นกจิ นสิ ยั ตลอดจนป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและดารงชีวิตของ
ตนเองและครอบครวั อย่างมคี วามสขุ และสามารถนาไปประกอบอาชพี ด้านการบริการดา้ นสขุ ภาพได้

ศึกษำ ฝึกปฏิบัติ และประยุกตใ์ ช้เกยี่ วกับสขุ ศกึ ษำ พลศึกษำ ดงั นี้คอื

กกกกกกกสุขศึกษา พลศึกษา เรื่องเกี่ยวกับ ร่างกายของเรา การวางแผนของคนในครอบครัว
และพัฒนาการทางเพศ หลักการดูแลสุขภาพ โรคติดต่อ ยาสามัญประจาบ้าน สารเสพติดอันตราย
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทักษะชีวิตเพ่ือการคิดตัดสินใจและแก้ปัญหา เพ่ือให้มีความรู้
ความเข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดี สามารถดูแลสุขภาพ พลานามัย สร้างเสริมพฤติกรรม
สุขภาพที่ดี มีสรรถภาพทางกายและทางจิต ป้องกันโรคได้ ปฏิบัติเป็นกิจนิสัย ดารงสุขภาพท่ีดีและ
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตของตนเองและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยและมีความสุข
การนาการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพในการประกอบอาชพี

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาเอกสาร สื่อทุกประเภท วิเคราะห์ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง
สาธิต ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บันทึก ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทาช้ินงาน/ผลงาน
จัดแสดงนิทรรศการ ศกึ ษาดงู าน กิจกรรมค่าย ฯลฯ

กำรวัดและประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ช้ินงาน ผลงาน โดยวิธีการ ทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์
ตรวจสอบประเมนิ การปฏิบตั จิ ริง และประเมนิ สภาพจริง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชีวิต

22

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวิชำ ทช11002 สุขศกึ ษำ พลศกึ ษำ จำนวน 2 หนว่ ยกติ
ระดับประถมศึกษำ

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแลและสร้างเสริมการมี

พฤตกิ รรมสขุ ภาพที่ดี ปฏิบัติเป็นกิจนสิ ยั ตลอดจนป้องกันพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพและดารงชีวิตของ

ตนเองและครอบครวั อย่างมีความสุข

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ช้วี ัด เน้ือหำ จำนวน
(ช่ัวโมง)

1 ร่างกายของเรา 1. อธิบายวัฏจกั รของชีวติ มนุษย์ 1. วัฏจักรของชวี ิตมนษุ ย์ 8

ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 2. โครงสรา้ ง หน้าท่ี และ การ

2. อธบิ ายโครงสรา้ ง หน้าที่และ ทางานของอวยั วะสาคญั ของ

การทางานของอวยั วะภายนอก รา่ งกาย

และภายในทส่ี าคัญของรา่ งกาย - อวยั วะภายนอก ได้แก่

ไดอ้ ย่างถูกต้อง ผวิ หนงั หู ตา คอ จมูก ฟนั

ผม เล็บ ฯลฯ

- อวัยวะภายใน ไดแ้ ก่

หวั ใจ ปอด กระเพาะ ลาไส้

ตบั ไต ฯลฯ

3. อธิบายวธิ ีการดแู ลรกั ษา 3. การดูแล รักษาป้องกัน

ปอ้ งกนั ความผดิ ปกติของอวยั วะ ความผดิ ปกติของอวยั วะ

สาคญั ของร่างกายได้อยา่ ง สาคัญของรา่ งกาย

ถกู ต้อง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

23

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ช้ีวัด เนื้อหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

2 การวางแผน 1. วเิ คราะหต์ นเอง และวางแผน 1. การวางแผนชีวติ และ 16
22
ครอบครวั และ การดาเนินชวี ติ ได้อย่างเหมาะสม ครอบครวั

พฒั นาการทาง - การวางแผนชวี ติ

เพศ - การเลอื กคู่ครอง

- การปรับตวั ในชวี ติ สมรส

- การตัง้ ครรภ์ การมีบุตร และ

การเลี้ยงดบู ตุ ร

2. อธิบายวิธีสร้างสมั พันธภาพท่ี 2. ปญั หาและสาเหตุความ

ดรี ะหว่างพ่อแมล่ ูก และวธิ ีการ รนุ แรงในครอบครัว

สือ่ สารเรือ่ งเพศในครอบครัว 3. การสรา้ งสัมพันธภาพท่ีดี

ระหวา่ งพ่อแมล่ ูก และคสู่ ามี

ภรรยา (การสื่อสารเร่อื งเพศ

ในครอบครัว)

3. บอกพัฒนาการทางเพศในแต่ 4. พัฒนาการทางเพศในแต่ละ

ละช่วงวยั ช่วงวยั

4. บอกวธิ ีป้องกันโรคตดิ ตอ่ ทาง 5. โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์

เพศสมั พันธ์

3 การดูแล 1. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายเก่ียวกบั 1. สารอาหารที่จาเปน็ ตอ่

สุขภาพ สารอาหาร รา่ งกาย

- คาร์โบไฮเดรต

- ไขมัน

- โปรตีน

- วิตามินและเกลือแร่

- น้า

2. ปฏบิ ัตติ นในการเลอื กบรโิ ภค 2. หลักโภชนาการ

อาหารตามหลักโภชนาการ - การเลอื กบรโิ ภคอาหารให้

ครบ 5 หมู่

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชีวติ

24

ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชีว้ ดั เน้อื หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)

3. อธบิ ายหลักการดูแลสขุ ภาพ 3. หลักการดแู ลสขุ ภาพเบื้องต้น

เบ้ืองตน้ ได้ - การรบั ประทานอาหาร

- การพักผ่อน

- การออกกาลงั กาย

- การจัดการอารมณ์

- การขับถ่าย

- การตรวจสขุ ภาพประจาปี

4. อธบิ ายคณุ ค่าและประโยชน์ 4. คุณค่าและประโยชนข์ อง

ของการออกกาลังกายได้อย่าง การออกกาลงั กาย

ถูกต้อง

5. อธบิ ายหลกั และวิธีการออก 5. หลักและวธิ กี ารออก

กาลังกายเพ่ือสุขภาพท่ีถูกต้อง กาลังกายเพื่อสุขภาพ

และปลอดภัย - อบอนุ่ ร่างกายและผ่อนคลาย

6. ปฏิบตั ิตนใน - ระยะเวลาในการออก

การออกกาลงั กาย กาลังกาย (นานเพยี งพอและ

รปู แบบต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ตอ่ เนือ่ ง)

และเป็นประจาสมา่ เสมอ - จานวนคร้ังตอ่ สัปดาห์

- ความหนักใน

การออกกาลงั กาย

7. อธิบายประเภทและรูปแบบ 6. กิจกรรมนนั ทนาการ

ของกจิ กรรมนนั ทนาการได้ รูปแบบตา่ ง ๆ

อยา่ งถูกต้อง - กจิ กรรมเขา้ จังหวะ

- ลลี าศ

- อา่ นหนงั สือ

- ปลูกต้นไม้

- ทศั นศกึ ษา

ฯลฯ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวิต

25

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวชีว้ ดั เน้อื หำ จำนวน
(ชั่วโมง)
4 โรคติดตอ่ อธบิ ายเกี่ยวกับโรคตดิ ตอ่ โรคติดต่อ สาเหตุ อาการ
สาเหตุ อาการ การป้องกัน และ การปอ้ งกนั และการรักษา 6
การรกั ษาได้อย่างถูกต้อง - โรคไขห้ วัดใหญ่
- โรคตาแดง
- โรคผิวหนงั
- โรคฉี่หนู
ฯลฯ

5 ยาสามัญ 1. อธบิ ายถงึ หลักและวธิ กี ารใช้ 1. หลกั และวธิ ีการใช้ 6
6
ประจาบ้าน ยาสามัญประจาบ้านได้อยา่ ง ยาสามัญประจาบ้าน
6
ถูกต้อง 2. อนั ตรายจากการใชย้ า และ

2. บอกถงึ อนั ตรายจาก ความเชือ่ ทผี่ ดิ

การใช้ยาและความเชื่อท่ีผดิ

เกย่ี วกับการใชย้ า

6 สารเสพตดิ 1. บอกความหมาย ประเภท 1. ประเภทของสารเสพติด

และ ลกั ษณะของสารเสพตดิ - ประเภทกดระบบประสาท

- ประเภทกระตุ้นระบบ

ประสาท

- ประเภทหลอนระบบ

ประสาท

2. บอกถงึ อันตรายจากสาร 2. อันตรายและการป้องกัน

เสพตดิ ท้งั ต่อตนเองครอบครวั สารเสพตดิ

และสังคม

7 ความปลอดภยั บอกอนั ตรายต่างๆ ทอี่ าจเกิดข้ึน อันตรายต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนใน

ในชีวิตและ ในชวี ติ ประจาวันพร้อม ชีวติ ประจาวนั และแนวทาง

ทรพั ยส์ ิน แนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ข ป้องกนั แก้ไข

- อันตรายที่อาจเกิดขึน้ ในบ้าน

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ิต

26

ที่ หวั เรอื่ ง ตัวชี้วัด เนอื้ หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)

- อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ข้นึ จาก

การเดินทาง

- อันตรายจากภัยธรรมชาติ

8 ทกั ษะชวี ิตเพ่ือ 1. บอกความหมายและ 1. ความหมาย/ความสาคัญ 10
2
การคิด ความสาคัญของทกั ษะชวี ิตได้ท้ัง ของทักษะชีวติ

10 ประการ 2. ทกั ษะชวี ติ ที่จาเปน็ 4

2. บอกทักษะชวี ิตทีจ่ าเปน็ ได้ ประการ

อย่างน้อย 4 ประการ 2.1 ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์

3. ประยกุ ต์ใช้ทักษะชีวติ ใน 2.2 ทกั ษะการคิดอย่างมี

ชีวิตประจาวันของตนเอง วจิ ารณญาณ

ครอบครวั และการทางาน 2.3 ทกั ษะการตัดสินใจ

4. แนะนาผู้อ่ืนในการนาทักษะ 2.4 ทักษะการแก้ปัญหา

ชวี ิต

มาประยุกตใ์ ช้กับครอบครวั และ

การทางานชวี ิตประจาวัน

9 อาชพี งาน 1. อธิบายประวัตแิ ละท่ีมาของ 1. ประวัตแิ ละที่มาของ

บริการดา้ น การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพได้ การบริการดา้ นสุขภาพ

สขุ ภาพ 2. อธิบายและการเลอื กใช้ - ประวัติการนวดแผนไทย

วิธกี ารนวดแผนไทย - ประเภทของการนวดแผน

3. สามารถบอกถึงแหลง่ เรยี นรู้ ไทย

การนวดแผนไทย 2. วธิ กี ารนวดแผนไทยแบบ

ต่าง ๆ เชน่ การกด การบบี

การทบุ การคลงึ ฯลฯ

3. แหล่งขอ้ มลู การเรยี นรู้

การนวดแผนไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ิต

27

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช11003 ศิลปศกึ ษำ จำนวน 2 หนว่ ยกิต
ระดับประถมศึกษำ

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ
ส่ิงแวดล้อม ทางทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์พ้ืนบ้าน สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ได้อย่าง
เหมาะสม นำกำรผลติ เคร่ืองดนตรพี ืน้ บ้ำนไปเปน็ แนวทำงกำรประกอบอำชพี ได้

ศึกษำ เรียนรู้ เกย่ี วกบั ศิลปศึกษำ ดังนี้คอื

กกกกกกกทัศนศิลป์ พ้ืนบ้าน ความหมาย ความสาคัญ ความเป็นมา ทัศนศิลป์ในการดาเนินชีวิต
ทัศนศิ ล ป์ท่ี เกี่ยว ข้อง กับธ รรมช าติแ ล ะส่ิ ง แว ด ล้ อม ที่เป็น ต้นก าเนิด ของ งาน ทั ศนศิ ล ป์พื้ นบ้า น
การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ ภูมิปัญญา ด้านวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถานของ
ทัศนศลิ ปท์ ้องถน่ิ
กกกกกกกดนตรพี นื้ บ้าน ความหมาย ความสาคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการของดนตรีประเภทต่างๆ
คณุ คา่ ความงาม ความไพเราะของดนตรีพ้ืนบ้าน การวเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา
วฒั นธรรม ประเพณี ทางด้านดนตรขี องท้องถ่ิน กำรผลิตเคร่อื งดนตรพี ื้นบ้ำน
กกกกกกกนาฏศิลป์พ้ืนบ้าน ความหมาย ความสาคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการ คุณค่า ความงามของ
นาฏศิลป์พื้นบา้ น การวิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ การอนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญา วฒั นธรรม ประเพณีของท้องถิ่น

กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร จากธรรมชาติ สื่อ ทุกประเภท และแหล่งเรียนรู้ ฝึกจินตนาการ
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ สรา้ งสรรค์ ฝกึ ปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ให้เห็นคุณค่าและช่ืน
ชมความงาม ของทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ และการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี
ส่งิ แวดล้อม ของทศั นศลิ ป์พน้ื บ้าน

กำรวัดและประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเห็น ช้นิ งาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สงั เกต สัมภาษณ์

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ

28

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช11003 ศิลปศกึ ษำ
จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับประถมศกึ ษำ

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ
ส่ิงแวดล้อม ทางทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์พื้นบ้าน สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ได้อย่าง
เหมาะสม นำกำรผลติ เคร่อื งดนตรพี นื้ บำ้ นไปเปน็ แนวทำงกำรประกอบอำชีพได้

ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หำ จำนวน
(ชัว่ โมง)
1 ทศั นศลิ ป์
พน้ื บ้าน 1. อธิบายความหมาย ความสาคญั 1. ความหมาย ความสาคัญ 30

ความเปน็ มาของทศั นศิลปพ์ ้ืนบา้ น ความเปน็ มาของทศั นศิลป์

พนื้ บ้าน

2. อธิบายรูปแบบในการนา จดุ 2. รูปแบบและวิธีการนา จุด เสน้

เสน้ สี แสง – เงา รปู รา่ ง และ สี แสง – เงา รูปรา่ งและรูปทรง

รปู ทรงมาจินตนาการสร้างสรรค์ มาจินตนาการสรา้ งสรรค์

ประกอบใหเ้ ป็นงานทศั นศิลป์ ประกอบใหเ้ ปน็ งานทัศนศลิ ป์

พนื้ บ้าน พื้นบ้าน

3. อธิบายรปู แบบและวิวัฒนาการ 3. รปู แบบและววิ ัฒนาการของ

ในเรื่องของงานทัศนศลิ ปพ์ ้นื บ้าน งานทัศนศลิ ป์พ้นื บา้ นในด้าน

ตา่ งๆ - จิตรกรรม

- ประติมากรรม

- สถาปัตยกรรม

- ภาพพิมพ์

4. อธบิ าย วิเคราะห์ วพิ ากษ์ 4. รูปแบบและความงามของ

วจิ ารณ์รปู แบบและความงามของ ทัศนศิลป์พนื้ บา้ นกับความงาม

งานทศั นศิลป์พ้ืนบา้ นทเ่ี กดิ จาก ตามธรรมชาติที่เกีย่ วกับรูปร่าง

ความงามตามธรรมชาติ รปู ทรง เส้น สี แสง-เงาและจดุ

ของตน้ ไม้ ดอกไม้ กิ่งไม้ ใบไม้

เปลือกไม้ ตอไม้ ทะเล แม่น้า ลา

5. สามารถจินตนาการ และ ธาร ภเู ขา กรวด หิน ดิน

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

29

ที่ หัวเร่ือง ตัวช้วี ัด เน้อื หำ จำนวน
(ชัว่ โมง)
2 ดนตรี
พื้นบา้ น อธิบายวธิ กี ารนาความงามจาก 5. ความงามและความซาบซ้ึง

ธรรมชาตใิ หอ้ อกมาเปน็ ความงาม ของงานทศั นศิลปพ์ น้ื บ้านท่เี กิด

ทางทัศนศิลปพ์ น้ื บ้านอยา่ ง ง่าย ๆ จากเส้น สี จุด แสงเงา รปู รา่ ง

และรูปทรง ที่เกิดจากการ

เลยี นแบบ ลอกแบบ มาจาก

ธรรมชาติ

6. อธิบาย วเิ คราะห์ วิพากษ์ 6. รูปแบบและความงามของงาน

วจิ ารณ์รูปแบบและคุณค่าของงาน ทัศนศิลป์พ้ืนบา้ นท่ีเกิดจาก

ทัศนศลิ ป์พนื้ บา้ นในเรื่องตา่ ง ๆ - ความคดิ สร้างสรรคข์ องมนุษย์ที่

- ความงามทเี่ กิดจากความคิด นาวัตถหุ รือวสั ดุ ส่ิงของ ต่าง ๆ

สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ยท์ ่ีนาวัตถหุ รือ เขา้ มาเสริมแตง่ รา่ งกายมนษุ ย์

ส่ิงของตา่ ง ๆ เขา้ มาเสรมิ แตง่ - ความคิดสร้างสรรค์ทน่ี าวตั ถุ

รา่ งกายมนุษย์ หรือวัสดุสิง่ ของต่าง ๆ มาตกแต่ง

- ความงามของท่ีอยูอ่ าศัย และ ท่อี ยู่อาศยั สถานท่ี และ

สถานทีส่ ิ่งแวดล้อมทน่ี าวัตถุ หรอื สิ่งแวดลอ้ ม

วัสดสุ ่งิ ของต่าง ๆ เข้ามาตกแตง่

7. อธิบายคณุ ค่า ความสาคัญ 7. คุณค่าความสาคัญของความดี

ความดงี ามของวัฒนธรรม งามทางวัฒนธรรม ประเพณี และ

ประเพณี และความสวยงามของ ความสวยงามของโบราณวัตถุ

โบราณวตั ถุ และโบราณสถานของ และโบราณ สถานในทอ้ งถ่นิ

ทอ้ งถ่นิ ทเี่ ราเกิด

1. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ 1. ความหมาย ความสาคัญ 20

ประวตั คิ วามเปน็ มาและ ความเปน็ มาและวิวฒั นาการของ

ววิ ฒั นาการของเคร่อื งดนตรี เครือ่ งดนตรีพ้ืนบา้ นประเภท

พ้นื บ้านชนิดตา่ ง ๆ ต่างๆ

2. อธิบายลักษณะและประเภท 2. ลกั ษณะและประเภทของ

ของเคร่ืองดนตรพี ื้นบ้านประเภท เคร่ืองดนตรีพนื้ บ้านประเภท

ต่าง ๆ ต่าง ๆ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชีวติ

30

ที่ หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)
3 นาฏศิลป์ 3. อธบิ าย วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ 3. คณุ คา่ ของความงามและ
พืน้ บ้าน วจิ ารณค์ ุณคา่ ของความงามและ ความไพเราะของเคร่ืองดนตรี 30
ความไพเราะของดนตรีและเพลง และเพลงพน้ื บา้ น
พนื้ บ้าน
4. อธิบาย ประวัติ ความเป็นมา 4. ประวัติความเป็นมาของภมู ิ
ของภูมิปัญญาทางดนตรีและเพลง ปัญญาทางดนตรีและเพลง
พ้นื บา้ น พื้นบา้ น
5. อธิบาย วเิ คราะห์ วิพากษ์ 5. คุณค่า ความรักหวงแหนและ
วจิ ารณ์คณุ ค่าของความรักและ ตวั อย่างภมู ิปัญญาตลอดจน
ความหวงแหน ตลอดจนร่วม การร่วมกิจกรรมถา่ ยทอดของ
สบื สาน การถ่ายทอดของภูมิ ภูมปิ ัญญาทางดนตรแี ละเพลง
ปัญญาท้องถนิ่ ทางดนตรีพื้นบ้าน พน้ื บ้าน
1. อธบิ ายความหมาย ความสาคญั 1. ความหมาย ความสาคัญความ
ความเปน็ มาและวิวฒั นาการของ เปน็ มา และวัฒนาการของ
การแสดง นาฏศิลปพ์ ้นื บา้ นของ นาฏศลิ ปพ์ ้นื บ้านภาคตา่ งๆ
ภาคตา่ ง ๆ
2. แสดงความคิดเห็นและ 2. ความคดิ เห็นและความ
ความรสู้ ึกเก่ยี วกับการแสดง รูส้ ึกเกี่ยวกับการแสดงนาฏศลิ ป์
พน้ื บา้ นประเภทตา่ ง ๆ พ้ืนบา้ นประเภทต่างๆ
3. อธิบายวิธีการเลือกชม 3. วิธีเลอื กชมการแสดงนาฏศิลป์
การแสดงนาฏศิลป์พนื้ บา้ นที่ พืน้ บ้าน เพื่อสร้างความสขุ และ
ตนสนใจ เพ่ือสรา้ งความสุขและ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง
ประโยชนใ์ นชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
4. อธบิ าย วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ 4. ความรูพ้ นื้ ฐานเก่ียวกับ
วจิ ารณล์ กั ษณะและการแสดงของ ลักษณะและการแสดงของ
นาฏศิลปพ์ ้ืนบา้ นเบ้ืองต้น นาฏศิลปพ์ นื้ บ้าน
5. ฝกึ ปฏบิ ตั ิขนั้ พืน้ ฐานในการนา 5. ภาษา ทา่ ทาง และ
ภาษาทา่ ทางและนาฏยศัพท์ไป นาฎยศพั ท์
ประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาตนเอง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชีวติ

31

ท่ี หัวเรื่อง ตัวช้ีวดั เน้ือหำ จำนวน
(ช่วั โมง)

6. อธิบาย วเิ คราะห์ วิพากษ์ 6. คุณคา่ ความสาคญั ของ

วิจารณค์ ุณค่าความสาคัญของ นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบ้านของภาคต่าง ๆ

นาฏศลิ ปพ์ นื้ บา้ นของภาคต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวกับวัฒนธรรมประเพณี

ทเ่ี กย่ี วกบั วัฒนธรรมประเพณี

7. อธิบายแนวทางการอนรุ กั ษ์ 7. การอนุรกั ษ์นาฏศิลปพ์ ้นื บ้าน

นาฏศลิ ป์พื้นบ้าน วฒั นธรรม ของภมู ิปัญญาท้องถิน่

ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี

4 อาชีพ 1. อธบิ ายคุณลักษณะของเครอื่ ง 1. ลักษณะอาชีพการผลติ เครอ่ื ง 3
การผลติ ดนตรีพื้นบ้าน ดนตรพี ้ืนบ้าน เช่น ขลุ่ย กลอง
เครอ่ื ง 2. บอกแนวทางประกอบอาชีพ ยาว แคน กลองกรบั
ดนตรี ผลิตเครอื่ งดนตรีพน้ื บ้าน 2. แนวทางขน้ั ตอนและวธิ ีการ
พืน้ บ้าน 3. ขั้นตอนและวธิ กี ารผลติ เครือ่ ง ผลิตเคร่ืองดนตรพี นื้ ฐาน
ดนตรีพน้ื บ้าน 3. ช่องทางการจาหนา่ ย
4. สามารถบอกช่องทาง
การจาหน่าย

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชีวติ

32

คำอธิบำยรำยวชิ ำ
และ

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำบงั คบั
ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนต้น

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ

33

คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช21001 เศรษฐกิจพอเพยี ง
จำนวน 1 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ใน
การประกอบอาชพี และมีภูมิค้มุ กันในการดาเนนิ ชวี ติ ของตนเอง ครอบครวั และชุมชนอยา่ งมคี วามสขุ

ศกึ ษำ ฝึกปฏบิ ัติ และประยุกต์ใช้ เกย่ี วกับเศรษฐกจิ พอเพียง ดังน้ีคอื

กกกกกกกความเป็นมา ความหมาย หลักการ แนวคิด ตามปรัชญาของเศรษฐกิจเพ่ือการประกอบอาชีพ
การวางแผนการประกอบอาชีพ การสร้างเครือข่ายเพื่อการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อให้เป็นคนมี
เหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ การดาเนินชีวิต
ของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนอยา่ งมคี วามสุข

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาขอ้ มูลตนเอง ข้อมลู วิชาการ ข้อมูลส่ิงแวดล้อม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงเข้ากับ
ความรู้และประสบการณ์ โดยศึกษาจากกรณีตัวอย่าง สภาพจริง ส่ือทุกประเภท การอภิปราย
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ภูมปิ ญั ญา การทดลอง ฝึกปฏิบัติ ประเมินผลและวางแผนประยุกต์ในชวี ิต

กำรวดั และประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สังเกต
สมั ภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมินการปฏบิ ัตจิ ริง และประเมินสภาพจริง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ิต

34

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช21001 เศรษฐกิจพอเพียง
จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนตน้

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ใน
การประกอบอาชพี และมภี มู คิ ุม้ กันในการดาเนนิ ชีวติ ของตนเอง ครอบครัว และชุมชนอยา่ งมีความสขุ

ที่ หัวเร่อื ง ตัวชวี้ ดั จำนวน
เนอื้ หำ (ช่วั โมง

)

1 ความพอเพยี ง อธบิ ายความเปน็ มา ความหมาย 1. ความเป็นมา ความหมาย 4
10
หลกั การของปรัชญาของ หลักการแนวคดิ ของปรชั ญา
16
เศรษฐกิจพอเพียง ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. การแสวงหาความรู้

2 ประกอบ 1. นาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ 1. หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ

อาชพี อย่าง พอเพียงไปใชใ้ นการจดั การ เพียงกบั การจดั การ

พอเพียง ทรพั ยากรทมี่ ีอยขู่ องตนเอง ทรัพยากรที่มีอยขู่ องตนเอง

ครอบครวั ชมุ ชน ครอบครัว ชุมชน

2. กาหนดแนวทางและปฏบิ ตั ิตน 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

ในการนาหลักปรชั ญาของ พอเพยี งกับ

เศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ การประกอบอาชพี

ใชใ้ นการประกอบอาชีพ

3 การวางแผน 1. สามารถวางแผนใน 1. การวางแผนประกอบ

ประกอบ การประกอบอาชพี ท่ีเหมาะสมกับ อาชพี ตามหลกั ปรัชญา

อาชีพแบบ ตนเองได้อยา่ งนอ้ ย 1 อาชีพ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

พอเพยี ง 2. การวางแผน และจดั ทา 2. โครงการและแผนงาน

โครงงานการประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ ตามหลกั

ตามแผนงานทว่ี างไว้ได้อย่าง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

เหมาะสม

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ

35

ที่ หวั เร่อื ง ตวั ช้ีวัด จำนวน
เนอ้ื หำ (ชั่วโมง

)

3. สามารถนาความรมู้ าใช้เป็น 3. แนวทางการประกอบ

ฐานในการประกอบอาชพี อาชีพให้ประสบความสาเร็จ

4. มคี ุณธรรมในการประกอบ

อาชีพ

4 สร้างเครือข่าย ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งของ 1. การส่งเสรมิ เผยแพร่ 10

ดาเนินชวี ิต ชุมชนในการประกอบอาชีพและ ขยายผลงานการปฏิบตั ิตาม

แบบพอเพยี ง การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี งของบุคคล ชุมชน

ทปี่ ระสบผลสาเรจ็

2. การสร้างเครือขา่ ย

การประกอบอาชพี และ

การดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี ง

3. กระบวนการขับเคล่อื น

เศรษฐกจิ พอเพียง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

36

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช21002 สุขศึกษำ พลศกึ ษำ
จำนวน 2 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศึกษำตอนตน้

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรมและเจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมี
พฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ ตลอดจนส่งเสริม
สุขภาพพลานามัยและสภาพแวดล้อมที่ดีในชุมชนและสามารถเลือกประกอบอาชีพจากการแปรรูป
สมุนไพรได้

ศึกษำ ฝึกปฏบิ ัติ และประยุกตใ์ ช้ สุขศึกษำ พลศึกษำ ดงั น้คี ือ

กกกกกกกสขุ ศึกษา พลศกึ ษา เกีย่ วกับเรื่องพัฒนาการของร่างกาย การดูแลรักษาสุขภาพ สารอาหาร
โรคระบาด ยาแผนโบราณและสมุนไพร การป้องกันสารเสพติด ทักษะชีวิตเพ่ือการส่ือสาร เพื่อให้มี
ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติทดี่ ี และสามารถดูแลสขุ ภาพ พลานามัย สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
มสี รรถภาพทางกายและทางจิต ป้องกันโรคได้ ปฏบิ ตั ิเป็นกิจนิสัย ดารงสุขภาพที่ดีและประยุกต์ ใช้ใน
การดาเนนิ ชีวติ ของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนได้อย่างเหมาะสม ปลอดภยั มีความสขุ มสี ่วนรว่ มใน
การส่งเสรมิ สุขภาพ พลานามัยและสิง่ แวดล้อมทด่ี ีในชุมชน

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

กกกกกกกศึกษาเอกสาร ส่ือทุกประเภท วิเคราะห์ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง
สาธิต ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บันทึก ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทาช้ินงาน/ผลงาน
จัดแสดงนทิ รรศการ ศึกษาดูงาน กิจกรรมคา่ ย ฯลฯ

กำรวัดและประเมนิ ผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ตรวจสอบ ช้ินงาน/ผลงานและประเมินการปฏิบัติจริง โดย
วิธกี ารทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์ ประเมินสภาพจรงิ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

37

รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช21002 สขุ ศกึ ษำพลศึกษำ
จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษำตอนตน้

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ

กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรมและเจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริม
การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย หลีกเล่ียงพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ ตลอดจน
ส่งเสริมสุขภาพพลานามัยและสภาพแวดล้อมที่ดีในชุมชน และสามารถเลือกประกอบอาชีพจาก
การแปรรูปสมุนไพรได้

ที่ หัวเรื่อง ตวั ช้ีวัด เนอื้ หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)
1 พัฒนาการของ 1. อธบิ ายโครงสร้าง หนา้ ท่ี 1. โครงสร้าง หน้าที่ การ
10

ร่างกาย การทางานของระบบอวัยวะ ทางาน และการดูแลรักษา

สาคัญของร่างกาย 5 ระบบ ระบบต่าง ๆท่ีสาคัญของ

ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ร่างกาย 5 ระบบ

2. ปฏิบัตติ นในการดูแล - ระบบผวิ หนงั

รักษาและป้องกันอาการ - ระบบกล้ามเน้ือ

ผิดปกตขิ องระบบอวัยวะ - ระบบกระดกู

สาคญั 5 ระบบได้อย่าง - ระบบไหลเวยี นโลหติ

ถกู ต้อง - ระบบหายใจ

3. อธิบายพฒั นาการและการ 2. พฒั นาการและ

เปลีย่ นแปลงตามวัยของ การเปล่ยี นแปลงตามวัย

มนษุ ย์ ด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์

ดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม สตปิ ญั ญา

สังคม สติปัญญาได้อย่าง - วัยทารก

ถกู ต้อง - วัยเดก็

- วยั รนุ่

- วัยผูใ้ หญ่

- วัยชรา

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชีวติ

38

ที่ หัวเรื่อง ตวั ชีว้ ัด เนอ้ื หำ จำนวน
(ช่วั โมง)

2 การดูแลรกั ษา 1. อธิบายประโยชนข์ องการ 1. หลักการดแู ลสขุ ภาพเบ้ืองต้น 20

สขุ ภาพ ออกกาลงั กายและโทษของ การดูแลสขุ ภาพตามหลัก 5 อ

การขาดการออกกาลังกาย ได้แก่ อาหาร อากาศ อารมณ์

อุจจาระ อนามยั

2. อธิบายรปู แบบและวิธีการ 2. การออกกาลังกาย รูปแบบ

ออกกาลังกายเพอื่ สุขภาพ และวิธีออกกาลงั กายเพือ่

สขุ ภาพ

- ประโยชน์และโทษของการ

ออกกาลงั กาย

- รูปแบบและวิธีการ

ออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ

- การเดนิ เรว็

- การวิง่ เหยาะ

- การขีจ่ ักรยาน

- การเลน่ โยคะ

- เต้นแอโรบคิ

- ว่ายน้า

ฯลฯ

3. ระบุการเปล่ยี นแปลงเมอื่ 3. สุขภาพทางเพศ

เขา้ วัยหนมุ่ สาว - การคมุ กาเนดิ

- การทอ้ งไมพ่ ร้อม

- การทาแทง้

- การติดเชอ้ื HIVS

4. อธิบายวิธกี ารหลกี เลี่ยง 4. พฤติกรรมที่นาไปสูก่ ารลว่ ง

พฤติกรรมที่นาไปสูก่ ารมี ละเมิดทางเพศ การมี

เพศสัมพันธ์ การล่วงละเมดิ เพศสัมพนั ธ์ และการตั้งครรภ์ท่ี

ทางเพศและการต้งั ครรภท์ ไ่ี ม่ ไมพ่ ึงประสงค์

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ


Click to View FlipBook Version