The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เยาวภา บุญญาธิการ, 2020-07-15 02:11:08

ทักษะดำเนินชีวิต

หลักสูตรสถานศึกษา

90

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชี้วดั เน้อื หำ จำนวน
(ชั่วโมง)

5. วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ 5. แนวคดิ หลกั การ

ความมสี นุ ทรยี ภาพในความ ประโยชน์ของการอนุรักษ์

เปน็ ไทย อนรุ ักษ์และหวงแหน นาฏศลิ ปพ์ ื้นเมืองที่มีผลตอ่

มรดกนาฏศลิ ป์พืน้ เมืองให้ การดาเนินชีวติ วถิ ชี วี ิต

สงั คมเข้าใจได้ ประจาวนั ของคนใน

สังคมไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

91

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช 12002 จิตรกรรมพน้ื บำ้ น
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชวี ติ ระดับประถมศึกษำ

จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ช่ัวโมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ด่ี เี ก่ียวกบั ศลิ ปะและสนุ ทรียภาพ
ศกึ ษำและฝึกทกั ษะเกย่ี วกับเรอื่ งตอ่ ไปน้ี

กกกกกกกเรื่องของรูปรา่ ง รปู ทรงและทศั นธาตขุ องส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ของงานจิตรกรรมพื้นบ้าน การส่ือความคิด จินตนาการความรู้สึก ความประทับใจของวัสดุอุปกรณ์
เทคนิค วิธีการของานจิตรกรรมพื้นบ้าน เข้าใจความเช่ือทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่องานจิตรกรรม
พ้ืนบ้าน เห็นความสาคัญของงานจิตรกรรมพ้ืนบ้านท่ีนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนมี
ความซาบซ้ึง เห็นคุณค่าในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมพ้ืนบ้านที่สะท้อนวัฒนธรรมภูมิปัญญา
ของชาติ

กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร สือ่ ทกุ ประเภท ส่ือบคุ คล แหลง่ ความรูเ้ กีย่ วกับพลงานทางด้านจิตรกรรม
พ้ืนบ้าน ตลอดจนฝกึ วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติสร้างสรรค์ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ให้เห็นคุณค่าและ
ชน่ื ชมความงามของงานจติ รกรรมพ้ืนบา้ นและการอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณีสง่ิ แวดลอ้ ม

กำรวดั และประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ช้ินงาน ผลงานโดยวิธีการทดสอบ สัมภาษณ์
สังเกต

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

92

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช 12002 จิตรกรรมพื้นบำ้ น
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชวี ติ ระดับประถมศึกษำ
จำนวน 1 หนว่ ยกิต (40 ช่วั โมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคติทด่ี ีเกี่ยวกับศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ

ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ดั เน้อื หำ จำนวน
(ชั่วโมง)

1 จิตรกรรมพื้นบ้าน 1. อธิบายความเป็นมาของ 1. ความเปน็ มาเก่ยี วกบั 40

งานจติ กรรมพ้นื บ้าน ประวตั ขิ องงานจิตรกรรม

พื้นบา้ นจากอดีตได้อยา่ ง

ถูกต้อง

2. อธิบายเก่ียวกบั ความเชื่อ 2. ความเปน็ มาในเรื่องของ

ทางดา้ นไสยศาสตรแ์ ละ ความงามของจิตรกรรม

วฒั นธรรมในงานจติ รกรรม พืน้ บ้านทเ่ี กีย่ วกบั ความเชอ่ื

พื้นบา้ นที่เก่ียวกับ ทางดา้ นไสยศาสตรใ์ นอดีต

- ความงาม ถงึ ปัจจุบันได้

- การนาไปใช้

3. อธบิ ายความแตกต่าง 3. ความเหมอื น ความ

ระหว่างงานจติ รกรรม แตกตา่ งของงานจติ กรรม

พื้นบ้านในอดีตกับงาน พ้นื บา้ นจากอดีตถึงปจั จุบัน

จิตรกรรมพ้นื บา้ นยคุ ปจั จบุ นั

4. วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ 4. ความเปน็ มาในเร่ือง

เกย่ี วกับงานจิตรกรรม เทคนคิ กระบวนการพดู

พ้นื บา้ นในอดตี ให้กับสงั คม อธบิ ายให้กบั คนในสังคม

ไดร้ ับรู้และเข้าใจได้ สนใจฟงั และเข้าใจตงั้ แต่

ตน้ จนจบ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชีวติ

93

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช 12003 ประตมิ ำกรรมพนื้ บำ้ น
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชวี ิต ระดับประถมศกึ ษำ
จำนวน 1 หนว่ ยกติ (40 ช่วั โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ่ีดเี ก่ียวกับศิลปะและสนุ ทรียภาพ
ศกึ ษำและฝกึ ทกั ษะเก่ียวกบั เรอื่ งตอ่ ไปน้ี

กกกกกกกเร่อื งของรปู ร่าง รปู ทรงและทศั นธาตุของสงิ่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ของงานประติมากรรมพื้นบ้าน การสื่อความคิด จินตนาการความรู้สึก ความประทับใจของวัสดุ
อุปกรณ์เทคนิค วธิ ีการของานประตมิ ากรรมพนื้ บ้าน เข้าใจความเช่ือทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่องาน
ประติมากรรมพื้นบ้าน เห็นความสาคัญของงานประติมากรรมพ้ืนบ้านที่ นาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ตลอดจนมีความซาบซ้ึง เห็นคุณค่าในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมพื้นบ้านที่สะท้อน
วัฒนธรรมภมู ปิ ญั ญาของชาติ

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร ส่ือทุกประเภท สื่อบุคคล แหล่งความรู้เกี่ยวกับพลงานทางด้าน
ประติมากรรมพื้นบ้าน ตลอดจนฝึกวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติสร้างสรรค์ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ให้
เห็นคุณค่าและชื่นชมความงามของงานประติมากรรมพื้นบ้านและการอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม
ประเพณีสงิ่ แวดลอ้ ม

กำรวัดและประเมนิ ผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเห็น ชนิ้ งาน ผลงานโดยวิธีการทดสอบ สัมภาษณ์
สังเกต

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

94

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช 12003 ประติมำกรรมพืน้ บ้ำน
สำระทักษะกำรดำเนินชีวติ ระดับประถมศกึ ษำ
จำนวน 1 หนว่ ยกิต (40 ชัว่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคติทีด่ ีเก่ียวกบั ศิลปะและสนุ ทรียภาพ

ที่ หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวดั เนือ้ หำ จำนวน
(ช่วั โมง)
1 งานประตมิ ากรรม 1. อธบิ ายความรู้ ความ 1. ความเป็นมาเกยี่ วกบั
พน้ื บา้ น เข้าใจทเ่ี กยี่ วกบั ความเปน็ มา ประวัติของประติมากรรม 40
ของงานประติมากรรม พื้นบา้ นในอดตี ไดอ้ ยา่ ง
พนื้ บ้าน ถกู ต้อง
2. อธิบายเร่อื งเกี่ยวกับความ 2. ความเป็นมาของความ
เชอื่ ทางด้านไสยศาสตรแ์ ละ งามของประตมิ ากรรม
วฒั นธรรมในงาน พนื้ บ้านที่เก่ยี วข้องกบั ความ
ประติมากรรมพื้นบา้ นที่ เช่อื ทางไสยศาสตรใ์ นอดตี
เก่ียวกบั ความงาม ได้
3. อธิบายความแตกตา่ ง 3. ความเหมอื นความ
ระหวา่ งงานประติมากรรม แตกต่างของงาน
พ้นื บ้านในอดตี กับงาน ประติมากรรมพื้นบ้านใน
ประติมากรรมในยุคปัจจบุ นั อดีตกบั ปัจจุบนั
4. วิเคราะห์ วพิ ากษ์ 4. ความเปน็ มาในเร่ือง
วจิ ารณเ์ กยี่ วกับงาน เทคนิค กระบวนการพดู
ประติมากรรมพ้ืนบ้านใน อธิบายใหก้ ับคนในสังคม
อดตี ให้กบั สงั คมได้รับรู้และ สนใจฟังและเขา้ ใจตั้งแตต่ น้
เขา้ ใจได้ จนจบ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

95

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช 12004 สถำปตั ยกรรมพืน้ บ้ำน
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดบั ประถมศึกษำ
จำนวน 1 หนว่ ยกติ (40 ชวั่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคติท่ีดีเก่ียวกบั ศลิ ปะและสุนทรียภาพ
ศึกษำและฝกึ ทกั ษะเก่ยี วกบั เรอื่ งตอ่ ไปน้ี

กกกกกกกเร่ืองของรปู รา่ ง รปู ทรงและทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ของ
งานสถาปัตยกรรมพ้ืนบ้าน การสื่อความคิด จินตนาการความรู้สึก ความประทับใจของวัสดุอุปกรณ์
เทคนิค วิธีการของานสถาปัตยกรรมพื้นบ้าน เข้าใจความเช่ือทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่องาน
สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน เห็นความสาคัญของงานประติมากรรมพ้ืนบ้านท่ีนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ตลอดจนมีความซาบซึ้ง เห็นคุณค่าในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมพ้ืนบ้านท่ีสะท้อน
วฒั นธรรมภมู ิปัญญาของชาติ

กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร สื่อทุกประเภท สื่อบุคคล แหล่งความรู้เก่ียวกับพลงานทางด้าน
สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน ตลอดจนฝึกวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติสร้างสรรค์ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ
ให้เหน็ คณุ คา่ และชน่ื ชมความงามของงานสถาปัตยกรรมพน้ื บ้านและการอนรุ ักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม
ประเพณสี งิ่ แวดล้อม

กำรวดั และประเมนิ ผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคดิ เห็น ชน้ิ งาน ผลงานโดยวิธกี ารทดสอบ สมั ภาษณ์
สงั เกต

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ

96

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช 12004 สถำปัตยกรรมพื้นบำ้ น
สำระทักษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดบั ประถมศึกษำ
จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชัว่ โมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ี่ดเี กี่ยวกบั ศลิ ปะและสุนทรียภาพ

ที่ หัวเรื่อง ตัวชวี้ ัด เน้อื หำ จำนวน
(ชั่วโมง)
1 สถาปัตยกรรม
พนื้ บ้าน 1. อธบิ ายความแตกต่างและ 1. ความแตกตา่ งและ 40

ความคลา้ ยคลึงกนั ของรูปแบบ ความคลา้ ยคลงึ กันของ

ของงานสถาปตั ยกรรม รปู แบบของงาน

พนื้ บา้ น และสงิ่ แวดลอ้ มโดย สถาปตั ยกรรมพน้ื บ้าน

ใช้ความรู้ด้านทัศนศลิ ป์ และสงิ่ แวดล้อมโดยใช้

ความรูด้ า้ นทัศนศลิ ป์

2. อธบิ ายประวัตคิ วาม 2. ความเปน็ มาเกี่ยวกับ

เป็นมาของงานสถาปตั ยกรรม ประวัติของงาน

พืน้ บ้านได้ สถาปตั ยกรรมพืน้ บ้าน

3. เทคนิคและการใช้วัสดุ 3. กระบวนการเทคนิคใน

อุปกรณ์ในงานสถาปตั ยกรรม การใช้วสั ดอุ ุปกรณใ์ นงาน

พ้ืนบา้ นของศิลปนิ ในการ สถาปตั ยกรรมพน้ื บ้าน

สรา้ งสรรค์งานได้ ของศลิ ปินในการ

สร้างสรรค์งาน

4. อธบิ ายวิธกี ารสร้างงาน 4. วิธกี ารสร้างงานดา้ น

ด้านสถาปัตยกรรมพื้นบ้าน สถาปัตยกรรมพ้นื บา้ น

และสามารถนาเสนอตวั อย่าง และสามารถนาเสนอ

ได้ ตวั อย่างได้

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ิต

96

คำอธิบำยรำยวิชำ
และ

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำเลอื ก
ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ

97

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช 22001 ระบำ รำ ฟอ้ น
สำระทักษะกำรดำเนินชีวติ ระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้

จำนวน 1 หนว่ ยกติ (40 ชั่วโมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติทีด่ เี ก่ียวกับศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ
ศึกษำและฝกึ ทักษะเก่ียวกบั เรือ่ งต่อไปนี้

กกกกกกกความหมาย ความเป็นมา ความสาคัญของ ระบา รา ฟ้อน เน้ือร้อง ท่ารา การแต่งกาย
รูปแบบการแสดงเนื่องในโอกาสต่าง ๆ ประเภทของการแสดงชุดต่าง ๆ สุนทรียภาพ การซาบซ้ึง
เห็นคุณคา่ ความงดงามของศิลปะนาฏศิลปไ์ ทย

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

กกกกกกกศึกษาจากสื่อต่าง ๆ เช่น เอกสาร สื่อเทคโนโลยี สื่อวีซีดี/วีดีทัศน์ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา
องค์กรสถาบัน ศึกษากรณีตัวอย่าง สาธิต ฝึกปฏิบัติจริง วิพากษ์ วิจารณ์ แลกเปล่ียนเรียนรู้ เห็น
คุณคา่ ความงดงามของศลิ ปะ นาฏศิลป์ไทย

กำรวดั และประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการทดสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ การสังเกต
การสัมภาษณ์ประเมินการมีส่วนรว่ ม/ฝกึ ปฏบิ ัติกจิ กรรม ระบา รา ฟ้อน ชนิ้ งาน/ผลงาน/รายงาน

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

98

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช22001 ระบำ รำ ฟ้อน
สำระทกั ษะกำรดำเนินชวี ิต ระดับมัธยมศึกษำตอนตน้
จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ชัว่ โมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และมีเจตคติที่ดีเกย่ี วกับศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ

ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เน้ือหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

1 ระบา รา ฟ้อน 1. อธบิ ายความหมายความ 1. ความหมายและประวตั ิ 5

เป็นมาของนาฏศลิ ปไ์ ทย ความเป็นมาของระบา รา

ประเภทต่าง ๆ เกย่ี วกบั ฟอ้ น

ระบารา ฟ้อน ได้

2. อธิบายความหมายของ 2. ความหมายนาฎยศพั ทเ์ นือ้ 10

นาฎยศัพท์ เนื้อรอ้ ง ท่าราการ ร้อง ทา่ รา การแสดงการแต่ง

แสดง การแตง่ กายของระบา กาย อุปกรณ์การแสดงของ

รา ฟอ้ น ได้ ระบา รา ฟ้อน

3. อธบิ ายลกั ษณะรูปแบบ 3. ประเภทของรูปแบบการ 20

วธิ กี ารแสดงระบา รา ฟ้อน แสดงชุดต่าง ๆ ระบา

ตลอดจนเป็นผู้ถ่ายทอด ไดแ้ ก่ ระบาดอกบัว

ความรูใ้ นการแสวงหาสร้างสุข ระบากฤษดาภหิ าร ระบาชดุ

โบราณคดี ตา่ ง ๆ

ระบาสตั ว์ต่าง ๆ

- รา ได้แก่ ราแม่บท ราวง รา

ศรีนวล ราฉุยฉาย ราอาวธุ รา

กลองยาว เปน็ ต้น

- ฟ้อน ได้แก่ ฟ้อนเล็บ

ฟอ้ นภไู ท เป็นต้น

5

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ

99

ที่ หวั เร่อื ง ตัวชว้ี ดั เน้อื หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)

4. มคี วามซาบซึ้งและเหน็ 4. ความงดงาม ระบา

คุณค่าในความงดงามของ รา ฟอ้ น ท่ีมีคณุ ค่าของ

ระบา รา ฟ้อนได้ การแสดงที่เปน็ นาฏศิลป์

แม่บทมีความเปน็ มาตรฐาน

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ

100

คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช 22002 จิตรกรรมไทย
สำระทักษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนต้น

จำนวน 1 หนว่ ยกิต (40 ชว่ั โมง)

มำตรฐำนที่ 4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคตทิ ีด่ ีเก่ียวกับศิลปะและสุนทรียภาพ
ศึกษำและฝกึ ทักษะเกี่ยวกับเรอื่ งตอ่ ไปนี้

กกกกกกกเรอื่ งของรูปรา่ ง รูปทรงและทัศนธาตุของส่งิ ต่าง ๆ ในธรรมชาติ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ของงานจิตรกรรมไทย การสื่อความคิด จินตนาการ ความรู้สึก ความประทับใจของวัสดุ อุปกรณ์
เทคนิค วิธีการของงานจิตรกรรมไทย เข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่องานจิตรกรรมไทย
เห็นความสาคัญของงานจิตรกรรมไทยที่นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนมีความซาบซ้ึง
เห็นคณุ ค่าในการสร้างสรรคง์ านจิตรกรรมไทยทสี่ ะท้อนวัฒนธรรมภมู ิปัญญาของชาติ

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร สอ่ื ทุกประเภท สือ่ บุคคล แหลง่ ความรเู้ กี่ยวกับโบราณวัตถุ โบราณสถาน
และธรรมชาติ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างสรรค์ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ๆ ฯลฯ ให้
เห็นคุณค่าและชื่นชมความงามของจิตรกรรมไทยและการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี
สิ่งแวดล้อม

กำรวัดและประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สัมภาษณ์
สงั เกต

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

101

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช 22002 จิตรกรรมไทย
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชั่วโมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ี่ดเี ก่ียวกบั ศลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพ

ที่ หัวเรือ่ ง ตวั ชี้วดั เนือ้ หำ จำนวน
(ชว่ั โมง)

1 งานจิตรกรรมไทย 1. อธบิ ายความแตกตา่ งและ 1. ความแตกตา่ งและความ 3

ความคล้ายคลงึ กันของงาน คลา้ ยคลึงกันของทศั นธาตุ

จิตรกรรมไทยและส่งิ แวดลอ้ ม ในงานจติ รกรรมไทยและ

ทเี่ กย่ี วกบั ทัศนธาตุได้ สง่ิ แวดล้อม

2. อธบิ ายเก่ยี วกับความเหมอื น 2. ความเหมอื นและความ 3

และความแตกต่างของรูปแบบ แตกตา่ งของรปู แบบ การใช้

การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงาน วัสดอุ ุปกรณ์ในงาน

จติ รกรรมไทยของศลิ ปินที่ จติ รกรรมไทยของศิลปินที่

เลอื กมา เลอื กมา

3. อธบิ ายเทคนคิ วธิ ีการของ 3. เทคนคิ วิธีการของ 3

ศิลปินในการสร้างสรรคง์ าน ศลิ ปนิ ในการสร้างสรรค์งาน

ด้านจิตรกรรมไทยได้ จิตรกรรมไทย

4. อธบิ ายวธิ กี ารสร้างผลงาน 4. วิธกี ารสร้างงานจิตรกรรม 3

จติ รกรรมไทยและสามารถ ไทยและการนาเสนอ

นาเสนอตัวอย่างประกอบได้ ตวั อยา่ ง

5. เลอื กผลงานจติ กรรมไทย 5. การวเิ คราะห์รูปแบบ 6

โดยใชเ้ กณฑท์ ี่กาหนดขึ้น เนอื้ หาและคณุ ค่าในผลงาน

อยา่ งเหมาะสมและนาไปจดั จิตรกรรมไทย

นทิ รรศการ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

102

ที่ หัวเร่อื ง ตวั ชว้ี ัด เนือ้ หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)

6. อธิบายอาชีพท่ีเกย่ี วข้องกับ 6. การประกอบอาชีพท่ี 19

งานจิตรกรรมไทยและมที ักษะ เกี่ยวขอ้ งกับงานจติ รกรรม

อาชีพทีจ่ าเป็นในการประกอบ ไทย

อาชพี น้ันๆ ได้

7. เลอื กผลงานจติ กรรมไทย 7. การจดั นทิ รรศการ 6

โดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดข้ึนอย่าง แสดงผลงาน

เหมาะสมและนาไปจดั ดา้ นจติ รกรรมไทย

นิทรรศการ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

103

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช22003 ประตมิ ำกรรมไทย
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้

จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชั่วโมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคติทดี่ ีเก่ียวกับศิลปะและสนุ ทรียภาพ
ศกึ ษำและฝึกทกั ษะเกย่ี วกบั เรอื่ งต่อไปนี้

กกกกกกกเรื่องของรูปร่าง รูปทรงและทัศนธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมของงาน
ประติมากรรมไทย สื่อความคิด จินตนาการ ความรู้สึก ความประทับใจของวัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค วิธีการ
ของประติมากรรมไทย เข้าใจความเช่ือทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่องานประติมากรรมไทย
ความสาคัญของประติมากรรมไทยที่นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนมีความซาบซ้ึง เห็น
คุณค่าในการสร้างสรรค์งานประติมากรรมไทย ที่สะท้อนวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยในท้องถิ่นและของ
ชาติ

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร สื่อทกุ ประเภท สือ่ บุคคล แหลง่ ความรูเ้ กีย่ วกับโบราณวัตถุ โบราณสถาน
และธรรมชาติ ฝกึ จนิ ตนาการ วเิ คราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างสรรค์ ทศั นศึกษา กจิ กรรมค่ายๆ ฯลฯ ให้เห็น
คุณค่าและช่ืนชมความงามของจิตรกรรมไทยและการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี
ส่งิ แวดลอ้ ม

กำรวัดและประเมินผล

กกกกกกกประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชนิ้ งาน ผลงาน โดยวิธกี ารทดสอบ สมั ภาษณ์
สังเกต

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ

104

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ ทช22003 ประติมำกรรมไทย
สำระทักษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดบั มัธยมศึกษำตอนตน้
จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ชว่ั โมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติทดี่ ีเกี่ยวกบั ศิลปะและสุนทรยี ภาพ

ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชีว้ ัด เนื้อหำ จำนวน
(ชว่ั โมง)
1 งานประติมากรรม 1. อธิบายความแตกต่างและ 1. ความแตกตา่ งและความ
ไทย ความคลา้ ยคลึงกนั ของ คล้ายคลึงกันของงาน 3
งานประติมากรรมไทยและ ประติมากรรมไทยและ
สงิ่ แวดล้อมโดยใชค้ วามรเู้ รื่อง ส่ิงแวดลอ้ ม 3
ของทัศนศลิ ป์ได้
2. อธิบายเกยี่ วกับความ 2. ความเหมอื นและความ 3
เหมือนและความแตกต่างของ แตกตา่ งของรูปแบบ การใช้ 3
รปู แบบการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ใน วัสดอุ ปุ กรณ์ในงาน 3
งานประตมิ ากรรมไทยของ ประติมากรรมไทยของ
ศิลปินที่เลอื กมาได้ ศิลปินที่เลือกมา
3. อธบิ ายเทคนคิ วิธกี ารของ 3. เทคนคิ วธิ กี ารของ
ศลิ ปินในการสรา้ งสรรคง์ าน ศิลปนิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
ประติมากรรมไทยได้ ประตมิ ากรรมไทย
4. อธบิ ายวธิ ีการใช้งาน 4. วิธีการสรา้ งงาน
ประตมิ ากรรมไทยและ ประตมิ ากรรมไทยและการ
นาเสนอตัวอย่างประกอบได้ นาเสนอตัวอยา่ ง
5. วิเคราะห์และอภปิ ราย 5. การวิเคราะหร์ ูปแบบ
รูปแบบ เนอื้ หา และคุณค่าใน เนือ้ หาและคุณค่าในงาน
งานประติมากรรมไทยของ ประติมากรรมไทย
ศลิ ปินที่มคี ุณภาพได้

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

105

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ช้ีวัด เนือ้ หำ จำนวน
(ชัว่ โมง)

6. อธบิ ายอาชีพท่เี ก่ยี วข้อง 6. การประกอบอาชพี 19

กบั งานประติมากรรมไทย ทางด้านงานประติมากรรม

และมีทักษะอาชีพทีจ่ าเป็นใน ไทย

การประกอบอาชีพนน้ั ๆ

7. เลอื กผลงานประติมากรรม 7. การจัดนิทรรศการ 6

ไทย โดยใชเ้ กณฑท์ ่ีกาหนด แสดงผลงานด้าน

ข้นึ อยา่ งเหมาะสมและนาไป ประติมากรรมไทย

จัดนิทรรศการ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

106

คำอธิบำยรำยวิชำ ทช 22004 สถำปตั ยกรรมไทย
สำระทักษะกำรดำเนนิ ชวี ิต ระดับมัธยมศกึ ษำตอนต้น

จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชัว่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและเจตคตทิ ดี่ เี ก่ียวกับศิลปะและสุนทรียภาพ
ศกึ ษำและฝกึ ทักษะเก่ยี วกับเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี

กกกกกกกเร่ืองของรูปร่าง รูปทรงและทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมของงาน
สถาปัตยกรรมไทย สื่อความคิด จินตนาการ ความรู้สึก ความประทับใจของวัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค
วธิ ีการทางงานสถาปตั ยกรรมไทย เข้าใจความเช่ือทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่องานสถาปัตยกรรมไทย
ความสาคัญของงานสถาปัตยกรรมไทยที่นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนมีความซาบซึ้ง
เห็นคุณค่าในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมไทยที่สะท้อนวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยในท้องถิ่นและ
ของชาติ

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสาร ส่ือทกุ ประเภท สอื่ บุคคล แหลง่ ความรู้เกี่ยวกับโบราณวัตถุ โบราณสถาน
และธรรมชาติ ฝึกจนิ ตนาการ วเิ คราะห์ ฝึกปฏบิ ัติ สร้างสรรค์ ทศั นศึกษา กิจกรรมค่ายๆ ฯลฯ ให้เห็น
คุณค่าและชื่นชมความงามของสถาปัตยกรรมไทยและการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี
สิ่งแวดล้อม

กำรวดั และประเมินผล

กกกกกกกประเมนิ ความรู้ ความเขาใจ ความคดิ เห็น ชน้ิ งาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สัมภาษณ์
สงั เกต

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

107

คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช22004 สถำปัตยกรรมไทย
สำระทักษะกำรดำเนนิ ชวี ิต ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้

จำนวน 1 หนว่ ยกติ (40 ช่วั โมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและเจตคตทิ ่ีดีเกีย่ วกับศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ

ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวชวี้ ัด เน้ือหำ จำนวน
(ชวั่ โมง
1 งาน 1. อธิบายความแตกตา่ งและ 1. ความแตกต่างและ
สถาปตั ยกรรม )
ไทย ความคลา้ ยคลึงกันของงาน ความคล้ายคลงึ กันของ 3

สถาปตั ยกรรมไทยและ งานทศั นศิลปด์ ้าน 3

สิง่ แวดล้อมโดยใชค้ วามรูด้ า้ น สถาปตั ยกรรมไทยและ 3
3
ทศั นศลิ ป์ได้ สิ่งแวดลอ้ ม 3

2. อธิบายเก่ียวกบั ความเหมือน 2. ความเหมอื นและความ

และความแตกต่างของรูปแบบ แตกต่างของรูปแบบ การ

การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงาน ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณใ์ นงาน

สถาปตั ยกรรมไทยของศลิ ปนิ ที่ สถาปตั ยกรรมไทยของ

เลอื กมาได้ ศิลปินทเี่ ลอื กมา

3. อธบิ ายเทคนิค วิธกี ารของ 3. เทคนิค วธิ กี ารของ

ศิลปินในการสร้างสรรคง์ านด้าน ศิลปนิ ในการสร้างสรรค์

สถาปตั ยกรรมไทยได้ งานสถาปัตยกรรมไทย

4. อธบิ ายวธิ ีสร้างงานดา้ น 4. วิธีสร้างงาน

สถาปัตยกรรมไทยและเสนอ สถาปัตยกรรมไทย และ

ตัวอย่างประกอบได้ การนาเสนอตัวอยา่ ง

5. วิเคราะห์และอภิปราย 5. การวเิ คราะหร์ ูปแบบ

รปู แบบ เน้อื หา และคณุ ค่าใน เนือ้ หาและคณุ ค่าในงาน

งานสถาปัตยกรรมไทยของ สถาปตั ยกรรมไทย

ศิลปินท่ีมคี ุณภาพได้

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ิต

108

จำนวน

ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนอ้ื หำ (ชัว่ โมง

)

6. อธิบายอาชีพท่ีเกี่ยวข้องกับ 6. การประกอบอาชพี ทาง 25

งานสถาปตั ยกรรมไทย ดา้ นสถาปัตยกรรมไทย

และมีทักษะอาชีพที่จาเป็นใน

การประกอบอาชีพนนั้ ๆ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชวี ติ

109

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
และ

รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำเลอื ก
ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

คำอธิบำยรำยวิชำ ทช 32001 จติ รกรรมสำกล

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ

110

สำระทกั ษะกำรดำเนินชวี ิต ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย
จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ชว่ั โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคตทิ ดี่ ีเก่ียวกับศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ
ศึกษำและฝกึ ทักษะเกีย่ วกับเรือ่ งต่อไปน้ี

กกกกกกกการสื่อความคิด จินตนาการ ความรู้สึก ความประทับใจด้วยวิธีภาษาทางศิลปะ
การแสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ ความงามจากประสบการณ์ จินตนาการ โดยใช้หลักการและ
ความงามของศิลปะ ตามความถนัดและความสนใจ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมาย
จาแนกความแตกต่างของงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับทัศนธาตุและความงามของศิลปะการนาความรู้และ
วิธีการประสบการณท์ างทศั นศลิ ปท์ ่ีถนดั ไปใชก้ ับชวี ติ ประจาวัน ความเข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่
มอี ิทธพิ ลต่องานทัศนศิลป์ ความซาบซงึ้ เห็นคณุ คา่ ในการสรา้ งงานทัศนศลิ ปใ์ หส้ ะท้อนวัฒนธรรม

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสารจากธรรมชาติ สื่อทุกประเภทและแหล่งรู้ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์ สร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่ายให้เห็นคุณค่าและชื่นชมความงามทาง
ทศั นศลิ ป์และการอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ัญญา วฒั นธรรม ประเพณี ส่ิงแวดลอ้ ม

กำรวัดและประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สัมภาษณ์
สังเกต

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชีวิต

111

รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวิชำ ทช 32001 จิตรกรรมสำกล
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวติ ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย
จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชวั่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคติทดี่ เี กยี่ วกับศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ

ที่ หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ดั เนื้อหำ จำนวน
1 จติ รกรรมสากล (ช่วั โมง)
1. อธบิ ายเกยี่ วกับความ 1. จุด เส้น สแี สง เงา รูปร่าง
ซาบซง้ึ ในงานจติ รกรรม รปู ทรง เพ่ือใหเ้ กดิ ความ 6
สากลได้ ซาบซงึ้ และมที ัศนคตทิ ่ีดีกับ
งานจติ รกรรมสากล 2
2. อธบิ ายความเป็นมาของ 2. ความเปน็ มาของจติ รกรรม 6
งานจิตรกรรมสากลได้ สากล
3. อธิบาย วพิ ากษ์ วิจารณ์ 3. ความงามตามธรรมชาติท่ี 6
งานจติ รกรรมสากลได้ เกี่ยวกบั เส้นสีแสง เงารูปทรง
ของต้นไม้ ดอกไม้ใบไม้ ทะเล 3
4. อธิบายจินตนาการและ แม่น้า ลาธารภูเขา
วิธกี ารสร้างสรรค์ความงาม 4. ความงามของผลงานทาง
จากธรรมชาตใิ หอ้ อกมาเปน็ จิตรกรรมทีเ่ กดิ จากการ
ความงามทางด้านจิตรกรรม สร้างสรรค์ จุด เส้น สี แสง
สากลได้ เงาและรูปทรง
5. อธิบายคุณคา่ ของจติ รกรรม
สากลในเรอ่ื งของความงามที่ 5. วิพากษ์ วิจารณ์ ความ
เกดิ จากความคดิ สรา้ งสรรค์ แตกต่างและความคลา้ ยคลงึ
ของมนุษยไ์ ด้ เชน่ การเสริม ความงามของธรรมชาติกับ
แต่งรา่ งกาย ทอ่ี ยอู่ าศัย ความงามของงานจิตรกรรม
ตกแตง่ สถานท่ี สากล

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

112

ที่ หัวเรื่อง ตัวช้วี ดั เนอื้ หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)

6. มีความคิดสร้างสรรค์ใน 6. ความคิดสร้างสรรคใ์ นการ 3

การนาวสั ดุ ส่งิ ของมา นาวสั ดุ ส่งิ ของมาประดับ

ประดบั ตกแตง่ ร่างกายและท่ี ตกแต่งร่างกายและท่ีอยอู่ าศยั

อย่อู าศยั

7. มที กั ษะในการนาวสั ดุ 7. การฝึกปฏิบัติการนาวัสดุ 14

ส่ิงของมาประดับ ตกแต่ง ส่งิ ของมาประดับตกแต่ง

ร่างกายและที่อย่อู าศัยตาม รา่ งกายและทอี่ ยูอ่ าศัย

หลักสากล

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ

113

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทช 32002 ประตมิ ำกรรมสำกล
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชวี ิต ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชั่วโมง)

มำตรฐำนท่ี 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคติทีด่ เี ก่ียวกับศลิ ปะและสุนทรียภาพ
ศกึ ษำและฝกึ ทักษะเกย่ี วกับเรอ่ื งต่อไปนี้

กกกกกกกการสอื่ ความคิดจนิ ตนาการ ความรู้สึก ความประทับใจด้วยวัสดุอุปกรณ์ เทคนิควิธีการทาง
ศิลปะด้านประติมากรรม การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความงามทางศิลปะของงานประติมากรรม
การนาความรู้และประสบการณ์ทางด้านทัศนศิลป์ไปใช้กับวิชาอ่ืนๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
เหมาะสมความเข้าใจความเชือ่ ทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่องานประติมากรรม ความซาบซ้ึง และเห็น
คุณค่าของศิลปวัฒนธรรม ด้านงานประติมากรรม ท่ีสะท้อนถึงภูมิปัญญาทางด้านการสร้างสรรค์งาน
ทัศนศลิ ป์สาขาประตมิ ากรรมสากล

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสารจากธรรมชาติ ส่ือทุกประเภทและแหล่งรู้ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์ สร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่ายให้เห็นคุณค่าและช่ืนชมความงามทาง
ทัศนศิลป์และการอนุรกั ษภ์ ูมิปัญญา วฒั นธรรม ประเพณี สง่ิ แวดล้อม

กำรวัดและประเมินผล

กกกกกกกประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเหน็ ชนิ้ งาน ผลงาน โดยวิธกี ารทดสอบ สมั ภาษณ์
สงั เกต

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนินชีวติ

114

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวิชำ ทช 32002 ประติมำกรรมสำกล
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวติ ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย
จำนวน 1 หนว่ ยกติ (40 ชวั่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและเจตคตทิ ่ีดีเก่ียวกบั ศลิ ปะและสนุ ทรียภาพ

จำนวน

ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ช้วี ดั เนอ้ื หำ (ชวั่ โมง

1 ประตมิ ากรรม )
ท่ชี วนเห็น
1. อธิบายเกย่ี วกับ 1. ความซาบซึง้ และมที ัศนคติ 6

ความร้สู กึ ซาบซ้ึงในงาน ทด่ี ีต่อประติมากรรมของ

ประตมิ ากรรมสากล สากลในเร่ืองของรูปทรง

ด้านต่าง ๆ ได้ รูปแสง และเงา

2. อธบิ ายความเป็นมาของ 2. ความเป็นมาของงาน 3

งานประติมากรรมสากล ทศั นศลิ ป์สากลทางดา้ น

ด้านต่าง ๆ ได้ ประติมากรรมสากลของทว่ั

โลก

3. อธิบายคุณค่าของงาน 3. ความงามทางดา้ นงาน 3

ประตมิ ากรรมของสากลใน ประตมิ ากรรมสากลท่ีเกิดจาก

รูปแบบตา่ ง ๆ ในเร่ืองของ ความคดิ สร้างสรรค์ในเรอื่ ง

ความงาม/สดั ส่วน/รูปแบบ รปู แบบ /รูปทรง/วสั ดุ

ท่ีเกดิ จากความคิด ตลอดจนความเช่ือทาง

สร้างสรรค์ของมนุษย์ได้ วฒั นธรรมประเพณีที่มีต่องาน

ประตมิ ากรรมสากลตา่ ง ๆ ทั่ว

โลกได้

4. อธบิ ายและ 4. บอกเล่า วพิ ากษ์ วิจารณ์ 2

วิพากษ์วจิ ารณ์งาน ความงามของงาน

ประตมิ ากรรมสากลรปู แบบ ประตมิ ากรรมของสากลต่างๆ

ตา่ ง ๆ ทวั่ โลก ทวั่ โลกได้

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

115

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชี้วดั เนอื้ หำ จำนวน
(ช่วั โมง)

5. นาเสนอ ถา่ ยทอดความรู้ 5. การนาเสนอถา่ ยทอด 3

ความคิดสรา้ งสรรค์ในการ ความรเู้ กยี่ วกับการนาวตั ถุ

สรา้ งงานประติมากรรม วสั ดุ ส่ิงของมาประดบั

เกยี่ วกบั การตกแต่งร่างกาย ตกแต่งร่างกายและที่อยู่

และที่อย่อู าศัยในลักษณะ อาศยั ตามมาตรฐานสากล

สากลได้

6. อธบิ ายคุณค่าของความ 6. คณุ คา่ ของความงามและ 3

งาม ความซาบซึ้ง ความรัก ความซาบซงึ้ ความรกั

ความหวงแหน ต่องาน ความหวงแหนตอ่ งาน

ประตมิ ากรรมสากลตา่ ง ๆ ประตมิ ากรรมสากลตา่ ง ๆ

ทวั่ โลกได้ ท่วั โลก

7. นาความงามทาง 7. นาความงามทางดา้ น 10

ประติมากรรมสากลไปใช้ ประตมิ ากรรมสากลไปใช้

ในชีวติ ประจาวันได้อย่าง ในชวี ิตประจาวนั

เหมาะสม

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

116

คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช 32003 สถำปตั ยกรรมสำกล
สำระทักษะกำรดำเนินชีวติ ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย

จำนวน 1 หนว่ ยกิต (40 ชัว่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ดี่ เี ก่ียวกบั ศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ
ศกึ ษำและฝึกทักษะเกยี่ วกับเรอ่ื งต่อไปน้ี

กกกกกกกการส่ือความคิด จินตนาการ ความรู้สึก ความประทับใจด้วยวิธีภาษาทางศิลปะ ด้าน
สถาปัตยกรรมการแสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ ความงามจากประสบการณ์ จินตนาการ โดยใช้
หลักการและความงามของศิลปะ ทางด้านสถาปัตยกรรม การนาความรู้และวิธีการประสบการณ์จาก
การเรยี นไปใช้กบั วิชาอื่น ๆ ในชีวิตประจาวัน ความซาบซ้ึง และเห็นคุณค่าศิลปวัฒนธรรม ตลอดจน
สามารถสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงคุณคา่ ของภูมิปัญญาทางดา้ นสถาปตั ยกรรม

กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้

กกกกกกกศึกษาจากเอกสารจากธรรมชาติ สื่อทุกประเภทและแหล่งรู้ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์ สร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่ายให้เห็นคุณค่าและช่ืนชมความงามทาง
ทัศนศิลปแ์ ละการอนุรกั ษภ์ ูมิปญั ญา วัฒนธรรม ประเพณี ส่ิงแวดลอ้ ม

กำรวดั และประเมินผล

กกกกกกกประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ช้ินงาน ผลงาน โดยวิธีการทดสอบ สัมภาษณ์
สังเกต

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

117

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวิชำ ทช32003 สถำปัตยกรรมสำกล
สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวิต ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย
จำนวน 1 หนว่ ยกิต (40 ชวั่ โมง)

มำตรฐำนที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคติที่ดเี กี่ยวกับศลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพ

ที่ หัวเรอ่ื ง ตัวชวี้ ดั เนอ้ื หำ จำนวน
(ช่วั โมง)

1 สถาปัตยกรรม 1. อธบิ ายเกย่ี วกับความรสู้ ึก 1. ความซาบซึ้งและมีทัศนคติที่ 6

สากล ซาบซงึ้ ของความงามในงาน ดใี นเรอ่ื งของงานสถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมสากล ของสากลในรูปแบบตา่ ง ๆ

ด้านต่าง ๆ ได้ ทัว่ โลก

2. อธิบายความเปน็ มาของ 2. ความเปน็ มาของงาน 3

ผลงานสถาปตั ยกรรมสากล สถาปตั ยกรรมของสากลทวั่ โลก

ด้านต่าง ๆ ได้

3. อธิบายคณุ ค่าของผลงาน 3. การบอกเลา่ วิพากษ์ วิจารณ์ 9

ทางสถาปัตยกรรมสากลใน ความงามของธรรมชาติกับความ

เรอ่ื งของความงามท่เี กิดจาก งามของผลงานด้าน

ความคดิ สรา้ งสรรค์ สถาปตั ยกรรมสากลทวั่ โลก

ของศลิ ปินได้

4. อธบิ ายและวิพากษ์ วิจารณ์ 4. ความงามทางสถาปัตยกรรม 6

ผลงานสถาปัตยกรรมสากล สากลทัว่ โลกทเี่ กดิ จากความคิด

ด้านต่าง ๆ ได้ สร้างสรรค์ในเร่ืองรปู แบบ/

รปู ทรง/โครงสรา้ ง/วสั ด/ุ ความ

เชื่อทางวัฒนธรรมประเพณีของ

สากลทั่วโลก

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ

118

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)

5. นาเสนอ ถ่ายทอดความรู้ 5. การนาเสนอถา่ ยทอดความรู้ 3

ความคดิ สร้างสรรค์ในการ เกย่ี วกบั วฒั นธรรม ประเพณีที่

สร้างผลงานสถาปตั ยกรรม มตี ่อโบราณสถานทาง

สากลดา้ นต่าง ๆ ได้ ดา้ นสถาปตั ยกรรมสากล

ตา่ งๆ ท่วั โลก

6. อธบิ ายคุณค่าของความ 6. คณุ คา่ ของความซาบซึ้ง 3

ซาบซึง้ ความรัก ความหวง ความรกั หวงแหนโบราณ

แหนโบราณสถานของสากล สถานของสากลตา่ งๆ ทั่วโลก

ต่าง ๆ ท่วั โลกได้

7. นาความงามทางดา้ น 7. การนาความงามทางด้าน 10

สถาปตั ยกรรมไปใชใ้ นชีวิต สถาปตั ยกรรมไปใชใ้ น

ประจาวนั ได้อยา่ งเหมาะสม ชวี ติ ประจาวนั

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ิต

118

119

บรรณานกุ รม

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวิต

120

บรรณานกุ รม

สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2552). หลักสตู รการศึกษา
กกกกกกกนอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: ม.ป.พ..
_______. (2555). หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551.
กกกกกกกสาระการเรยี นรู้ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์
กกกกกกกทหารผ่านศกึ .
_______. (ม.ป.ป.). หลักสูตรรายวิชาเลือกสาระทักษะการดาเนินชวี ิต หลักสูตรการศึกษา

นอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 20 กันยายน
กกกกกกกพ.ศ. 2561. จาก http://nfe.go.th/chumphonnfe/download/gum5.php

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการดาเนินชีวติ

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก.
ประกาศแตง่ ตัง้ ท่ปี รึกษาและผรู้ ว่ มให้ขอ้ มลู การปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู ร

123

ประกาศแต่งต้ังทีป่ รึกษา และผ้รู ว่ มใหข้ ้อมูลในการพฒั นาหลักสตู รและปรับปรุง
หลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2561)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตห้วยขวาง

..............................................................................................
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง จะดาเนินการปรับปรุง
หลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดารงชีวิตอยู่
ในครอบครัว ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เขตห้วยขวาง จึงประกาศแต่งต้ังท่ีปรึกษาและผู้ร่วมให้ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรและปรับปรุง
หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ดังตอ่ ไปน้ี

1. นายปรเมศวร์ ศิริรัตน์ ผูอ้ านวยการสานักงานสง่ เสรมิ
2. นายปกาสติ ตราชืน่ ตอ้ ง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
3. นางรัชนชุ สละโวหาร อธั ยาศัยกรุงเทพมหานคร
4. รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี ศรีสังข์ รองผ้อู านวยการสานกั งานส่งเสรมิ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัยกรุงเทพมหานคร
รองผูอ้ านวยการสานักงานสง่ เสรมิ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยกรุงเทพมหานคร
อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมวิทยา
คณะสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ (ประสานมิตร)

…/5. นายสงั คม

124

5. นายสังคม โทปุรนิ ทร์ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษาเชีย่ วชาญ
สานักงานเขตพื้นท่ีมัธยมศึกษา เขต 36
ขา้ ราชการบานาญ

บทบาทหนา้ ท่ขี องทป่ี รึกษา
1. ใหค้ าแนะนาในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาหลกั สูตร หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ

ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 ใหม้ ีความทันยุคทันสมัย
2. สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาข้นั พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2551 อยา่ งมคี ุณภาพ

ผูร้ ว่ มให้ขอ้ มลู

1. ฝ่ายการศึกษา สานกั งานเขตห้วยขวาง

2. นางสาววราวรรณ โฉมทอง บริษัท ซเี อส ลอ็ กอนิ โฟร์

3. นายศุภชาติ ชา้ งมรกต ประธานชุมชนบึงพระรามเก้าพัฒนา

4. นายวิษณุ ชาตทิ อง ผู้แทนศษิ ย์เก่า กศน.เขตหว้ ยขวาง

5. นางสาวกองทอง มาดี ประธานองคก์ รนักศกึ ษา

กศน.เขตห้วยขวาง

บทบาทหนา้ ที่

1. ใหข้ อ้ มูลทเ่ี กยี่ วกบั การจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

2. สนบั สนนุ ใหข้ อ้ มลู การจดั กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมใหก้ ับนักศกึ ษา

3. สนับสนุนใหข้ อ้ มมลู ท่ีเก่ียวข้องกับการพฒั นาอาชีพ หรือหลักสูตรระดับห้องเรียน เพื่อ

จดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐานทตี่ รงกบั ความต้องการของชุมชน และสังคม

ทัง้ น้ี ตงั้ แต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2561

(นายพิเชษฐ เสือเฒ่า)
ผ้อู านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตห้วยขวาง

ภาคผนวก ข.
คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการการปรับปรงุ พฒั นาหลกั สตู ร

126

คำส่ังศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั เขตห้วยขวำง
ที่ 183 / 2561

เรอื่ ง แตง่ ต้งั คณะกรรมกำรปรบั ปรุงหลักสูตรและพัฒนำหลักสตู รสถำนศึกษำ
หลักสตู รกำรศกึ ษำนอกระบบระดบั กำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2551

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)
..............................................................................................
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง จะดาเนินการปรับปรุง

หลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม

จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดารงชีวิตอยู่

ในครอบครัว ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

เขตห้วยขวาง จึงแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

2561) ดงั ต่อไปน้ี

1. นายพิเชษฐ เสอื เฒา่ ผอ.กศน.เขตหว้ ยขวาง ประธานกรรมการ
2. นางสาวเยาวภา บุญญาธกิ าร ครู ค.ศ. 1 กรรมการ
3. นายทองพูล ระวาดชยั ครู กศน.ตาบล กรรมการ
4. นางนนั ท์นภัส นฐิ ินันทก์ ุล ครู กศน.ตาบล กรรมการ
5. นายกฤษดา สีดาพาลี ครู กศน.ตาบล กรรมการ
6. นายกฤษณะ อว่ มเปีย่ ม ครู กศน. ตาบล
กรรมการและเลขานกุ าร

บทบาทหนา้ ที่
1. ยกรา่ งหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พทุ ธศักราช 2551
2. ประบปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหท้ นั สมัย และทันสถานการณ์

127

.../3. กากับ
3. กากับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล การร่างหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการ
ประเมนิ หลักสูตรของผ้ทู ม่ี ีส่วนเก่ยี วข้องใหเ้ กิดประสิทธภาพ และประสิทธผิ ล
4. ส่งเสริมสนับสนุนเอ้ืออานวยความสะดวกให้มีการใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกดิ ประสิทธผิ ล

ทัง้ น้ี ตั้งแตบ่ ัดน้เี ป็นตน้ ไป
สั่ง ณ วนั ท่ี 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2561

(นายพเิ ชษฐ เสอื เฒ่า)
ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตหว้ ยขวาง

ภาคผนวก ค.
นิยามศพั ท์

129

นิยามศัพท์

กกกกกกกผังมโนทัศน์ (Concept Map) หมายถึง แผนภาพแทนความคิดที่แสดงให้เห็นถึง

ความสัมพันธ์ที่มีความหมายระหว่างความคิดรวบยอดต่างๆ โดยอยู่ในรูปของข้อความ ทั้งนี้ข้อความ
อาจเป็นฉลากความคิดรวบยอดสองอัน หรือมากกว่านั้น ซ่ึงมาเชื่อมโยงกันด้วยถ้อยคาท่ีแสดงให้เห็น
ถึงความสัมพันธ์ หรือความเกี่ยวข้องระหว่างความคิดรวบยอดน้ัน ๆ Concept Map สามารถอยู่ใน
รูปแบบของแผนภูมิใยแมงมุม (Spider chart) แผนภูมิองค์กร (Organization chart) หรือ แผนผัง
สาย (Flow diagram)
กกกกกกกผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง หมายถึง ข้อกาหนดเก่ียวกับคุณภาพและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ี
ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน หลังผ่านกระบวนการเรียนรู้สาระ ซ่ึงข้อกาหนดดังกล่าวบูรณการด้วย
ความคิดรวบยอด สารสนเทศ ทักษะความชานาญ ความสามารถในการสื่อสารองค์ความรู้
ความสามารถในการนาไปใชใ้ นสถานการณ์ต่างๆ
กกกกกกกคาอธิบายรายวิชา หมายถึง ข้อมูลรายละเอียดของแต่ละรายวิชา ประกอบด้วยมาตรฐาน
การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ เวลาเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา จานวนหน่วยกิต ระดับช้ัน เพื่อใช้เป็นกรอบ
ทศิ ทางท่ผี สู้ อนใช้ในการวางแผน และออกแบบการเรียนการสอน
กกกกกกกสาระการเรยี นรู้ หมายถงึ องค์ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะสาคัญรวมไว้ ใน
มาตรฐานการเรยี นรู้ ซึ่งผู้เรียนตอ้ งรู้และปฏบิ ัติได้
กกกกกกกตัวช้ีวัด หมายถึง ตัวแปรประกอบหรือองค์ประกอบท่ีมีค่าแสดงถึงลักษณะหรือปริมาณ
ของสถานภาพที่ต้องการศึกษา ณ จุดเวลา หรือช่วงเวลาหนึ่ง ค่าของตัวช้ีวัดแสดง/ระบุ/บ่งบอกถึง
สภาพที่ต้องการศึกษาเป็นองค์รวมกว้าง ๆ แต่มีความชัดเจนเพียงพอท่ีจะใช้ในการประเมินสภาพที่
ต้องการศึกษาได้ หรือใช้ในการเปรียบเทียบระหว่างจุดเวลา/ช่วงเวลาที่ต่างกันเพ่ือให้ทราบถึงความ
เปลยี่ นแปลง
กกกกกกกการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน หมายถงึ การศกึ ษาก่อนระดับอุดมศึกษา
dddddddหน่วยกิต หมายถึง ค่าน้าหนักที่กาหนดให้ในการเรียนแต่ละรายวิชา โดยคิดจาก
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการเรียนการสอนเพ่ือบรรลุมาตรฐาน หรือจุดประสงค์ท่ีต้งั ไว้สาหรับรายวิชานั้น โดย
ใช้เวลาเรียนไม่น้อยกวา่ 40 ชัว่ โมง มคี า่ เทา่ กบั 1 หน่วยกติ


Click to View FlipBook Version