The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออนุสรณ์ 70 ปี กองการพยาบาล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatchanon thepphawong, 2022-05-12 00:58:36

หนังสืออนุสรณ์ 70 ปี กองการพยาบาล

หนังสืออนุสรณ์ 70 ปี กองการพยาบาล

ค�ำน�ำ

กาล...หวนคำ� นงึ ถึง เวลา....น�ำสู่ความยง่ั ยนื

กาล....ของเหล่าพยาบาลเป็นการหวนค�ำนึงถึงเวลาท่ีผ่านมาในอดีพ..ท่ีกองการพยาบาลได้พัฒนาการ
พยาบาลของประเทศไทย โดยเฉพาะในส่วนของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเร่ิมตั้งแต่ก้าวแรกของกองการพยาบาล
เมอ่ื วนั ท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ.2495 นับเป็นกา้ วที่เดนิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพและระบบบรกิ ารพยาบาล การสร้าง
เครือข่ายบริการพยาบาล เขตบริการสุขภาพครอบคลุมท้ังประเทศรวมทั้งก�ำหนดนโยบายด้านการพยาบาล
ที่เป็นเข็มมุ่งให้กับพยาบาลในการก้าวเดินด้วยกันให้บริการการพยาบาลท้ังการพยาบาลในโรงพยาบาล
และการพยาบาลในชุมชนของประเทศเป็นท่ียอมของทุกภาคส่วน ประชาชนได้รับบริการพยาบาลที่เข้าถึงง่าย
มคี ุณภาพตลอดระยะเวลา 70 ปี ณ ปัจจุบันนี้
เวลา....ของเหล่าพยาบาลนับเป็นก้าวเดินหลังระยะเวลา 70 ปีในการก้าวสู่อนาคตของการพยาบาล
ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาของก้าวเดินท่ีมีวิกฤตการเปล่ียนมากมายทั้งด้านโครงสร้างประชาชน ด้านสุขภาพ
ด้านการระบาดของโรค และด้านเทคโนโลยีต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งท�ำให้มีความยุ่งยากซับซ้อนของระบบสุขภาพ
ท่ีมากข้ึน ดังน้ันในนามของกองการพยาบาลจะใช้วิกฤตดังกล่าวให้เป็นโอกาสในการจับมือกับเหล่าพยาบาล
ได้พัฒนาบริการพยาบาลให้เกิดการน�ำการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างเท่าทัน ร่วมทั้งสร้างความย่ังยืน
ดา้ นการพยาบาล เพือ่ การได้เปรยี บด้านการพยาบาลของประเทศไทยต่อไป

ศิริมา ลลี ะวงศ์
ผอู้ ำ� นวยการกองการพยาบาล

1

สารบัญ หน้า



สารจากรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข
สารจากรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ
สารจากปลดั กระทรวงสาธารณสุข
สารจากนายกสภาการพยาบาล
สารจากนายกสมาคมพยาบาลแหง่ ประเทศไทยฯ
สารจากผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล
วนั วานทผี่ า่ นมา ปจั จบุ นั และอนาคตทเี่ ปล่ียนแปลง
รายนามผ้อู ำ� นวยการกองการพยาบาล
กาล... เวลาที่เปลย่ี นแปลง
กาล...หวนค�ำนึงถึง เวลา...นำ� สู่ความยั่งยืน
ผลงานชว่ งที่ 1 กองการพยาบาล สป. (พ.ศ.2498- 2544)
ผลงานชว่ งท่ี 2 ส�ำนักการพยาบาล กรมการแพทย์ (พ.ศ. 2545-2551)
ผลงานช่วงท่ี 3 สำ� นกั การพยาบาล ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2552- 2559)
ผลงานช่วงท่ี 4 กองการพยาบาล ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-ปัจจบุ นั )
ผลงานท่ีสรา้ งสรรค์
ดา้ นพฒั นาบรกิ ารพยาบาล
ดา้ นพัฒนาบริหารจัดการก�ำลงั คน
ดา้ นการพยาบาลระหวา่ งประเทศ
ด้านเกือ้ กูลองค์กรวชิ าชีพ
รางวัลศรีสงั วาลย.์ .. เกยี รตยิ ศและความภูมิของพยาบาลไทย

2

สารจาก
รองนายกรัฐมนตร ี
และรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ

เน่อื งในวาระครบรอบ 70 ปี ของการกอ่ ต้งั กองการพยาบาล ในวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2565 ผมขอแสดง
ความยินดีและส่งความปรารถนาดีมายังผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่กองการพยาบาล ทุกท่าน รวมถึง
เหลา่ พยาบาลและผ้ปู ฏิบัติงานในสถานบริการสขุ ภาพต่าง ๆ
กระทรวงสาธารณสุขมีภารกิจในการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน การรักษา และการฟื้นฟู
สมรรถภาพรา่ งกายและจิตใจของประชาชน ตลอดระยะเวลา 70 ปที ่ผี า่ นมา กองการพยาบาลมีบทบาทอย่างตอ่ เน่ือง
ในการพัฒนาวิชาชีพพยาบาล ซ่ึงเป็นก�ำลังส�ำคัญในการผลักดันงานด้านสาธารณสุขของประเทศ ด้วยการพัฒนา
องค์ความรู้ และสร้างสรรค์นวัตกรรมต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลให้ได้มาตรฐาน ผมเช่ือม่ันว่า
ดว้ ยพลังแหง่ การร่วมแรงรว่ มใจของเหลา่ พยาบาล ซงึ่ ปฏิบตั หิ น้าทดี่ ้วยความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ เสียสละ จะเปน็ แรง
ขับเคลอ่ื นงาน ด้านสาธารณสขุ ของประเทศ อนั จะสง่ ผลถึงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนชาวไทยตอ่ ไป
ในโอกาสน้ี ผมขออ�ำนวยพรให้การด�ำเนินงานของกองการพยาบาล เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย
ประสบความส�ำเร็จในทกุ ๆ ดา้ น และขอให้ทุกท่านประสบความสุขสวสั ด์ิ ปราศจากโรคภัยท้ังปวง มีสุขภาพกาย
สุขภาพจติ เขม้ แข็งสมบูรณ์ ร่วมมือรว่ มใจกนั ปฏบิ ัติหนา้ ทเี่ พือ่ ความเจรญิ ก้าวหน้าในวิชาชพี พยาบาลสืบไป

(นายอนทุ นิ ชาญวีรกูล)
รองนายกรฐั มนตรี

และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ

3

สารจาก
รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ

ในโอกาสครบรอบ 70 ปี ของการก่อต้ังกองการพยาบาล ผมขอส่งก�ำลังใจและความปรารถนาดี
มายังทา่ นผบู้ ริหาร ขา้ ราชการ และเจ้าหนา้ ท่ีของกองการพยาบาลทุกท่าน
กองการพยาบาลมีบทบาทหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายและพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการพยาบาล
รวมถึงการวิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลของสถานบริการ
สุขภาพทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กองการพยาบาลได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ทงั้ ดา้ นบุคลากร วิชาการ และ การรักษาพยาบาลท่เี ป็นมาตรฐาน ซึ่งทุกทา่ นไดช้ ่วยกนั ปฏิบัตหิ น้าท่ที ่ีรับผดิ ชอบ
อย่างเต็มก�ำลัง ความสามารถด้วยความอดทน เสียสละ พัฒนางานการพยาบาล เพื่ออ�ำนวยประโยชน์สุขให้แก่
พี่นอ้ งประชาชนให้ไดร้ บั บริการรักษาพยาบาลที่มคี ุณภาพ
ในวาระอนั เปน็ มงคลนี้ ผมขออาราธนาคณุ พระศรรี ัตนตรัย พระสยามเทวาธริ าช และอ�ำนาจสิง่ ศกั ด์สิ ิทธ์ิ
ท้ังหลายในสากลโลก โปรดดลบันดาลประทานพรให้ผู้บริหาร ขา้ ราชการ และเจ้าหนา้ ที่ของกองการพยาบาลทกุ ทา่ น
ประสบความสุข ความเจริญ มีความพร้อมที่จะสร้างสรรค์ พัฒนางานการพยาบาลให้ตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนต่อไป

(ดร. สาธิต ปติ ุเตชะ)
รัฐมนตรีช่วยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ

4

สารจาก
ปลดั กระทรวงสาธารณสุข

ในโอกาสครบรอบ 70 ปี กองการพยาบาล วันที่ 20 พฤษภาคม 2565 ผมขอแสดงความยินดีอย่างยง่ิ ต่อ
ทา่ นผู้อำ� นวยการ ข้าราชการ และเจ้าหนา้ ทกี่ องการพยาบาลทุกทา่ น
ภารกิจของกองการพยาบาล เป็นงานที่มีความส�ำคัญยิ่งต่อเหล่าพยาบาลในการปฏิบัติงานดูแลพี่น้อง
ประชาชนชาวไทย เพราะพยาบาลต้องรับผิดชอบชีวิตมนุษย์ต้ังแต่อยู่ในครรภ์มารดา จนกระทั่งคลอด เจริญวัย
ข้ึนมาเป็นเด็ก หนุ่มสาวและวัยสูงอายุ ซึ่งความรับผิดชอบนี้ครอบคลุมท้ัง 4 มิติ คือ การส่งเสริมสุขภาพ
การปอ้ งกันโรค การรกั ษาพยาบาล และการฟืน้ ฟสู ภาพ และเป็นองคร์ วมโดยมปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง
ดว้ ยผลงานของกองการพยาบาล ที่มงุ่ มนั่ พฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาลและวชิ าชพี พยาบาล มาตลอด
ระยะเวลา 70 ปี รวมทั้งการสร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลท่ีเข้มแข็ง ให้เป็น ที่ประจักษ์
ต่อสายตาพวกเราชาวสาธารณสุขน้ัน ย่อมแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพและศักยภาพของเจ้าหน้าที่กองการพยาบาล
ทุกระดับ และผมมั่นใจอยา่ งย่ิงว่า ต่อไปในอนาคตเราคงจะได้เห็นการทุม่ เท กำ� ลังกาย ก�ำลังใจในการปฏบิ ัตงิ าน
เพื่อพัฒนาคณุ ภาพบริการพยาบาล ใหก้ ้าวหนา้ สบื ตอ่ ไป
ในวาระอันเป็นมงคลย่ิงคร้ังนี้ ผมขออานุภาพแห่งคุณพระศรีรัตนตรัยโปรดบันดาลพรให้ท่านผู้อ�ำนวยการ
ข้าราชการ เจ้าหน้าที่กองการพยาบาล และเหล่าพยาบาลทั่วประเทศทุกท่านประสบแต่ความสุข ความเจริญ
สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ปรารถนาสงิ่ ใดขอใหส้ มความปรารถนาโดยท่วั กัน

(นายแพทย์เกยี รตภิ มู ิ วงศร์ จิต)
ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

5

สารจาก
นายกสภาการพยาบาล

แสดงความยนิ ดีเนื่องในโอกาสครบรอบ 70 ปี
กองการพยาบาล

ในวาระครบรอบ 7 ทศวรรษของกองการพยาบาล ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็น
หน่วยงานทางด้านการพยาบาลในระดับกระทรวงแห่งแรกในประเทศไทย มีประวัติความเป็นมายาวนาน
นับตั้งแตก่ อ่ ตัง้ เม่อื วนั ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 จนถึงปจั จบุ ัน ปี พ.ศ. 2565 มีอายคุ รบ 70 ปี สภาการพยาบาล
ในฐานะตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ท้ังประเทศ ขอแสดงความยินดีและช่ืนชม
กับความส�ำเร็จในการท�ำหน้าที่ขององค์กร สร้างคุณูปการต่อระบบบริการสุขภาพและการพยาบาลของประเทศ
และการพัฒนาความก้าวหน้าของบุคลากรวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ตลอดจนหน้าที่ตอบสนอง
นโยบายด้านสุขภาพของประเทศ ในการขับเคล่ือนและผลักดันให้นโยบายของรัฐในด้านสุขภาพบรรลุเป้าหมาย
ในโครงสร้างระบบบริการสาธารณสุขภาครัฐของประเทศ ที่ด�ำเนินการมาอย่างเข้มแข็งและต่อเน่ืองมาด้วย
ความวิริยะอุตสาหะ และความทุ่มเทแรงกายแรงใจของผู้อ�ำนวยการ นักวิชาการพยาบาล และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน
ท้ังในอดตี และปัจจุบัน ซง่ึ ควรแก่การระลกึ ถงึ และขอบพระคุณอย่างย่งิ
เป็นท่ียอมรับกันโดยสากลว่าผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์เป็นองค์ประกอบ
ที่มีความส�ำคัญ และเป็นที่ต้องการในทุกระดับของบริการสุขภาพในระบบสุขภาพของประเทศ ซ่ึงจะน�ำไปสู่
การพัฒนาและการยกระดบั สขุ ภาพของประชาชนโดยรวม กองการพยาบาลเป็นองค์กรการพยาบาลท่ไี ดท้ ำ� หนา้ ที่
สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการพยาบาลทั้งด้านวิชาการและนโยบายสุขภาพของระดับชาติและนานาชาติ
สภาการพยาบาลมคี วามยินดเี ป็นอยา่ งย่งิ ทจ่ี ะใหค้ วามร่วมมือและสนบั สนุนภารกจิ ของกองการพยาบาลอย่างเต็มที่
ในโอกาสนี้ ดิฉันขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักด์ิสิทธิ์โปรดดลบันดาลให้ผู้อ�ำนวยการ
กองการพยาบาล นักวิชาการพยาบาล และเจ้าหน้าท่ีกองการพยาบาลทุกท่าน มีสุขภาพกายที่สมบูรณ์
มีขวัญ ก�ำลงั ใจ และพลังท่จี ะร่วมกันพฒั นางานและสร้างคุณค่าต่อสังคมสุขภาพตลอดไป

รองศาสตราจารย์ ดร.สจุ ิตรา เหลืองอมรเลิศ
นายกสภาการพยาบาล

6

สารจาก
นายกสมาคมพยาบาลแหง่ ประเทศไทย
ในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี

นับเป็นวาระท่ีน่ายินดีย่ิงท่ีกองการพยาบาลได้ด�ำเนินงานมาครบ 70 ปี ในวันท่ี 20 พฤษภาคม
พ.ศ. 2565 ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมากองการพยาบาลเป็นหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ท่ีมีบทบาทส�ำคัญ
ในการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพด้านการพยาบาล มาอย่างต่อเน่ืองด้วยความวิริยะ อุตสาหะของผู้อ�ำนวยการ
นักวิชาการพยาบาล และเจ้าหน้าท่ที กุ ท่านท้งั ในอดีตและปจั จุบนั จนเปน็ ทย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไปว่ากองการพยาบาล
เป็นหน่วยงานท่ีส�ำคัญในระดับกระทรวงสาธารณสุข ท่ีจะน�ำนโยบายขับเคลื่อนลงสู่ปฏิบัติภายใต้การสนับสนุน
ด้านวิชาการให้แก่พ้ืนที่ เป็นท่ีประจักษ์แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ร่วมทีมสุขภาพรวมทั้งได้รับความร่วมมือจาก
สมาคมการพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ ในการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลให้มีพลังท่ีเข็มแข็งเพ่ือท�ำประโยชน์แก่
ประชาชน และสังคมต่อไป
ในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ ดิฉันในนามของคณะกรรมการอ�ำนวยการ และสมาชิกสมาคมพยาบาล
แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทร์ทราบรมราชชนนี ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย
และส่ิงศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลายในสากลโลกโปรดดลบันดาลให้ผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล นักวิชาการพยาบาล
และเจ้าหน้าที่กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุขทุกท่าน ประสบแต่ความสุข ความเจริญ เพียบพร้อมด้วย
ก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลังสติปัญญา เพื่อร่วมพัฒนาสร้างคุณค่าแห่งวิชาชีพการพยาบาลให้มีความก้าวหน้า
สบื ตอ่ ไป


(ศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิอร สนิ ธุ)
นายกสมาคมพยาบาลแหง่ ประเทศไทย
ในพระบรมราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี

7

วนั วานทผ่ี ่านมา ปจั จุบนั และอนาคตท่เี ปลย่ี นแปลง

ดร.นายแพทย์อทุ ยั สดุ สขุ อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ในโอกาสทีก่ องการพยาบาลครบรอบ 70 ปี ในวันท่ี 20 พฤษภาคม 2565 น้ี ผมขอแสดงความยินดแี ละ
ช่ืนชมผู้บริหารการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่ทุกระดับทุกคน ท้ังในอดีต ยุคบุกเบิกก่อต้ัง
ยุคพัฒนาและยุคสืบสานต่อยอด จนท�ำให้องค์กรกองการพยาบาลและบุคลากรพยาบาลรวมท้ังบริการพยาบาล
มีความเจริญก้าวหน้า วิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบันเป็นเสาหลักหน่ึงของกระทรวงสาธารณสุข เคียงคู่กับ
เสาหลกั แพทย์และเสาหลักวิชาชพี อ่นื ๆ ทำ� ให้กระทรวงสาธารณสุขมคี วามเข้มแข็ง มน่ั คง มีความพร้อมในการร่วม
สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน จากการเจ็บป่วย
ด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ท้ังโรคประจ�ำท้องถ่ิน โรคอุบัติใหม่ รวมท้ังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ในปัจจุบัน
ซง่ึ พยาบาลวชิ าชพี นกั วิชาการพยาบาลและบุคลากรกระทรวงสาธารณสุข รว่ มกบั อสม. เป็นนกั รบสขี าวแนวหน้า
ท�ำการป้องกัน ควบคุมและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคโควิด-19 อย่างเข้มแข็ง จริงจัง โดยมีแพทย์เป็นหัวหน้าทีม
สามารถลดปญั หาโรคโควดิ -19 ได้จนกำ� ลังจะกลายเป็นโรคประจำ� ทอ้ งถ่ินในไม่ช้าน้ี
ในอดีตสมยั ทีผ่ มยงั เป็นนายแพทยอ์ นามยั จงั หวัดต่างๆ ระหว่างปี 2503-2517 ผมมพี ยาบาลอนามยั ตร/ี โท
เป็นมือท�ำงานขา้ งหน่งึ มีพนกั งานอนามมัยตร/ี โท เป็นมอื ท�ำงานอกี ข้างหน่ึงเคียงบ่าเคยี งไหล่กันอย่างมคี วามสขุ
ต่อจากน้ัน เม่ือผมย้ายเข้ามาอยู่ส่วนกลางเม่ือปี 2518-เป็นผู้อ�ำนวยการกองสาธารณสุขภูมิภาค
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2524-2528 เป็นนายแพทย์ใหญ่ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปี 2528-2530 เป็นรองปลดั กระทรวงสาธารณสุขและปี 2533-2535 เป็นปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ในช่วงเวลาท่ี
ผมด�ำรงต�ำแหน่งต่างๆ ในส่วนกลางดังกล่าว ผมได้ท�ำงานกับผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาลทุกคนอย่างใกล้ชิด
ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลกันและกนั ระหวา่ งกองสาธารรสขุ ภมู ิภาคและกาองการพยาบาล โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในชว่ งเวลาท่ี
ดร.วรรณวิไล จนั ทราภา เป็นผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาลระหว่างปี 2522-2533 ถึงแม้ว่าผมเล่ือนเป็นต�ำแหนง่
ผู้บริหารสูงข้ึน ก็ยังใช้กองการพยาบาลร่วมเป็นทีมงานตามเดิมในบทบาทที่เพ่ิมมากข้ึนในด้านการพัฒนาการ
บริหารจัดการด้านการพยาบาล ผมยังมีความทรงจ�ำดีๆ เกี่ยวกับความรู้ความสามารถท้ังด้านบริหาร จัดการ
บริการพยาบาลในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมทั้งงานด้านวิชาการและการวิจัย ของ ดร.วรรณวิไล จันทราภา
ได้เป็นอย่างดี ซ่ึงนอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อการพยาบาลและกองการพยาบาลแล้ว ยังมีส่วนร่วมส่งเสริม
สนับสนุนบริการพยาบาลบูรณาการพัฒนาระบบบริการ บริหารจัดการและวิชาการของโครงสร้างพ้ืนฐาน
ของการสาธารณสขุ ของกระทรวงสาธารณสุขดว้ ย ในขณะเดียวกนั ขอยกตวั อยา่ งโครงการตอ่ ไปนี้
1. การสาธารณสุขมูลฐาน (สสม.)
2. การส่งเสรมิ และพฒั นาการพยาบาลชมุ ชน
3. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารของสถานบรกิ ารและหนว่ ยงานสาธารณสุขในสว่ นภูมภิ าค (พบส.)
4. โครงการความจ�ำเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน
5. โครงการก่อต้ังและพฒั นาโรงพยาบาลอ�ำเภอ (ต่อมาเปล่ยี นช่อื เป็นโรงพยาบาลชุมชน (รพช.)
6. โครงการจดั ทำ� คมู่ ือการดำ� เนนิ งานโรงพยาบาลอำ� เภอ โรงพยาบาลศูนยแ์ ละโรงพยาบาลทวั่ ไป

8

7. โครงการกอ่ ตงั้ โรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราช
8. โครงการกอ่ ตั้งสถานอี นามยั เฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชนิ ี เป็นตน้
หลงั จากผมเกษยี รอายรุ าชการในปี 2535 แล้ว เพื่อนรว่ มงานได้ก่อตง้ั มลู นิธิอุทัย สดุ สุข เปน็ ทีร่ ะลกึ ไว้
ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือด�ำเนินกิจกรรมสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน
โดยได้จัดให้มีโครงการสุขภาพดี วิถีพุทธ ในการพัฒนาศักยภาพพ่ึงตน ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ
โรคความดนั โลหิตสงู และเบาหวานในผ้สู งู อายุระหว่างปี 2556- 2558 ใน6 จงั หวัดๆ ละ 1 ตำ� บล ดร.กาญจนา
จันทรไ์ ทย ผูอ้ ำ� นวยการกองการพยาบาลอนญุ าต ใหน้ างสาวพชั รี กลดั จอมพงษ์ พยาบาลวชิ าชีพ รว่ มเปน็ วทิ ยากร
อบรมวิทยากรจังหวัดและอ�ำเภอ ให้อบรมต่อไปยังผู้สูงอายุท่ีมีภาวะเสี่ยงและป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและ
เบาหวาน ในขณะทป่ี ี 2563 ดร.ธรี พร สถิรองั กูร (ลูกสาว) ผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล พร้อมดว้ ยนางสาวพชั รี
กลัดจอมพงษ์ ได้ร่วมกับผมท�ำการวิจัยประสิทธิผล ของโปรแกรม 3ส (สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม)
3อ. (อาหาร ออกก�ำลังกาย อารมณ์วิถีพุทธ) 1น.(นาฬิกาชีวิต-วิถีพุทธ) ในการป้องกันและควบคุมโรคความดัน
โลหิตสูงและเบาหวาน ในพื้นท่ีอ�ำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก เป็นเวลา 6 เดือน ผลการวิจัยแบบ Quasi
Experimental พบว่าโปรแกรม 3ส.3อ.1น. ดังกลา่ วมีประสทิ ธผิ ลดีต่อการลดลงของโรคท้ังสองตามตัวช้ีวดั สภาวะ
สขุ ภาพอย่างมนี ัยสำ� คญั ทางสถติ ิ
นอกจากผลงานที่ร่วมกับผมด�ำเนินการแล้ว ยังทราบจาก ดร.ธีรพร สถิรอังกูร ว่า กองการพยาบาล
ได้เร่งรัดด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการพยาบาลและสนับสนุนความก้าวหน้าในวิชาชีพพยาบาล
ด้านวิชาการ มีหลักเกณฑ์การพิจารณาผลงานพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
ให้เลื่อนต�ำแหน่งได้ถึงระดับ 8 พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ ทุกต�ำแหน่งและหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาล
ศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป มีโอกาสเล่ือนข้ึนเป็นระดับ 9 (พยาบาลวิชาชีพเช่ียวชาญ) จากการพัฒนาองค์กร
และบุคลากรพยาบาลอย่างต่อเน่ืองจนมีคุณภาพ แผนงานโครงการและเกณฑ์การพิจารณระดับ ต�ำแหน่ง
ของพยาบาลวิชาชีพทุกระดับจนถึงระดับกองท�ำให้ผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาลได้รับการเล่ือนเป็นที่ปรึกษา
ระดับกระทรวงฯ ต�ำแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพยาบาลวิชาชีพระดับ 10 คนแรกคือ ดร.กาญจนา จันทร์ไทย
และเป็นท่ีปรึกษระดับกระทรวงฯ ต�ำแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิด้านพยาบาลวิชาชีพระดับ 11 คนแรก คือ ดร.ธีรพร
สถริ อังกูร นับเปน็ เกียรติประวัตอิ นั สูงส่งและต้นแบบของพยาบาลวชิ าชีพรุน่ หลัง ๆ ตอ่ ไป
เกี่ยวกับประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอท่ีต้องการให้พยาบาลท�ำอะไรในยุควิถีชีวิต หลังโควิด (Next
normal) และ digital transformation มดี งั นี้
1. พัฒนาพยาบาลชุมชนให้มีจ�ำนวนเพียงพอคือ 3 คน ต่อต�ำบลและพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม
ให้มคี วามรคู้ ูค่ ุณธรรม ในการให้บรกิ ารพยาบาลชมุ ชนและเสรมิ พลังอาสาสมคั รสาธารณสุขประจ�ำหมู่บา้ น (อสม.)
ให้สามารถแนะน�ำชี้ชวนให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบสามารถดูแลรับผิดชอบสุขภาพและคุณภาพชีวิตของตน
และครอบครวั ใหส้ มบูรณอ์ ยา่ งตอ่ เน่ืองและย่ังยืน
2. พัฒนาความสามารถและคุรภาพของพยาบาลวิชาชีพให้มีความรู้ สมรรถนะและเจตคติต่อระบบ
สขุ ภาพและลำ� ดบั ความสำ� คญั ของปญั หาสาธารณสขุ ในอนาคต
3. สรรหาต�ำแหน่งงานสำ� หรบั บรรจพุ ยาบาลวิชาชพี ให้เพียงพอกับปรมิ าณและคณุ ภาพของงาน
4. สร้างภาวะและบทบาท ความเป็นผู้น�ำของพยาบาลในรุ่นปัจจุบันและเตรียมความพร้อมส�ำหรับ
ผนู้ �ำและผู้กำ� หนดนโยบายในอนาคต

9

5. ส่งเสริมสนับสนุนให้พยาบาลวิชาชีพสมารถปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยจัดส่ิงแวดล้อม
ในการท�ำงานให้เหมาะสม มีหลักเกณฑ์การปฏิบัติท่ีทันสมัยได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับลักษณะบริการ
ทรี่ บั ผิดชอบ รวมท้งั ได้รบั การปอ้ งกนั ภัยทุกประเภท
6. ผลิตคู่มอื และสอ่ื สารเทคโนโลยเี ผยแพร่เรียนรู้ของประชาชนและสังคม
7. บูรณากการระบบการพยาบาลในการส่งเสริมสนับสนุนการขับเคล่ือนนโยบายสุขภาพดีวิถีใหม่
วิถีธรรม วถิ ไี ทย วิถีเศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2564-2570
ในโอกาสอนั เป็นมงคลครบรอบ 70 ปี ของกองการพยาบาลน้ี ผมขอขอบคณุ ผ้บู ริหารการพยาบาลทกุ ท่าน
พยาบาลวิชาชีพทุกคน ท้ังในอดีตและปัจจุบันท่ีได้ทุ่มเทกาย ใจ สติ ปัญญาความสามารถร่วมกันท�ำงาน
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นประโยชน์ต่อความเจริญก้าวหน้าของกองการพยาบาล วิชาชีพพยาบาล
ทุกคนและประชาชนชาวไทยจนได้รับเกียรติขนานนามว่า “นางฟ้าสีขาว” ปกป้องชีวิตประชาชนจากโรคติดเชื้อ
วัสโคโรนา 2019 ผมขออัญเชิญอ�ำนาจส่ิงศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลาย ท้ังสากลโลกที่ท่านเคารพนับถือโปรดดลบันดาลให้
กองการพยาบาลเจริญก้าวหน้า พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการพยาบาล พยาบาลชุมชนทุกคน ประสบความสุข
ความส�ำเร็จ ความก้าวหน้าในต�ำแหน่งการงานรวมทัง้ มคี วามสขุ และความอบอนุ่ ในครอบครวั ยงิ่ ขน้ึ ไป

ดร.นายแพทย์อทุ ยั สดุ สุข
อดตี ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

28 มนี าคม 2565

10

รายนามหวั หนา้ กองการพยาบาล
(พ.ศ. 2496 – 2518)

1. นางสาวสงวนวรรณ เฟือ่ งเพช็ ร
ตง้ั แต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2496 – 9 เมษายน พ.ศ. 2500
2. นางตวงพร อดเิ รกสาร
ตง้ั แตว่ นั ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 – 1 เมษายน พ.ศ. 2505
3. นางวรรณา เรอื งวิทย์
ตงั้ แต่วนั ที่ 26 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2505 – 30 กนั ยายน พ.ศ. 2505
4. น.พ.มนสั วี อณุ หนนั ทน์
รกั ษาราชการ ต้งั แต่วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2505 – 11 เมษายน พ.ศ. 2506
5. คณุ หญงิ สำ� เนียง มสุ กิ ะภุมมะ
ต้งั แตว่ นั ท่ี 11 เมษายน พ.ศ. 2506 – 30 กนั ยายน พ.ศ. 2510
6. น.ส.เพย้ี น พูนสุวรรณ
ตั้งแต่วนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2510 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515
7. น.ส.ละมอ่ ม ศรีจนั ทราพันธุ์
ตงั้ แตว่ ันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 – 28 กันยายน พ.ศ. 2518

เปล่ยี นตำ� แหนง่ หัวหน้ากองการพยาบาลเป็นผ้อู ำ� นวยการกองการพยาบาลคนแรก
ต้งั แต่วนั ท่ี 29 กันยายน พ.ศ. 2518



11

รายนามผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล
(พ.ศ. 2518 – 2545)

1. น.ส.ละมอ่ ม ศรีจันทราพันธุ์
ตงั้ แตว่ ันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2518 – 8 มกราคม พ.ศ. 2522
2. ดร.วรรณวไิ ล จนั ทราภา
ต้ังแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2522 – 5 มีนาคม พ.ศ. 2533
3. น.ส.ป่ินประภา อิฐสุวรรณ
ตั้งแตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2533 – 14 กันยายน พ.ศ. 2534
4. นางบปุ ผา อิทธิมณฑล
ตัง้ แตว่ ันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2534 – 20 สิงหาคม พ.ศ. 2538
5. นางอาริยา สัพพะเลข
ตง้ั แตว่ นั ท่ี 21 ตุลาคม พ.ศ. 2538 – 3 ธันวาคม พ.ศ. 2540
(หลังจากท่ีท่านด�ำรงต�ำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาล ได้รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล
ตงั้ แต่วนั ท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 – 18 มิถนุ ายน พ.ศ. 2542)
6. นางสมหมาย หริ ัญนชุ
(รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล ต้ังแต่วันท่ี 19 มิถุนายน พ.ศ. 2542 – 20 กันยายน
พ.ศ. 2543)
ตัง้ แตว่ ันท่ี 21 กนั ยายน พ.ศ. 2543 – 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2545

เปล่ยี นต�ำแหนง่ ผอู้ �ำนวยการกองการพยาบาลเป็นผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั การพยาบาลคนแรก
ตงั้ แต่วนั ท่ี 2 ตลุ าคม พ.ศ. 2545



12

รายนามผู้อำ� นวยการสำ� นักการพยาบาล
(พ.ศ. 2545 – 2560)

1. นางสมหมาย หิรญั นชุ
ตง้ั แต่วนั ที่ 2 กนั ยายน พ.ศ. 2545 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547
2. น.ส.สง่ ศรี กิตตริ กั ษ์ตระกูล
(รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการส�ำนักการพยาบาล ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 – 20 มิถุนายน
พ.ศ. 2549)
3. ดร.กาญจนา จันทรไ์ ทย
ตั้งแต่วันท่ี 29 มิถุนายน พ.ศ. 2549 – 13 มิถนุ ายน พ.ศ. 2560
เปลีย่ นต�ำแหน่งผูอ้ �ำนวยการสำ� นกั การพยาบาลเป็นผอู้ ำ� นวยการกองการพยาบาล ตามกฎกระทรวงแบง่ สว่ น

ราชการสำ� นักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 ตั้งแต่วนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2560

13

รายนามผอู้ ำ� นวยการกองการพยาบาล
(พ.ศ. 2560 – ปัจจุบนั )

1. ดร.กาญจนา จนั ทรไ์ ทย
ต้งั แตว่ ันที่ 14 มิถนุ ายน พ.ศ. 2560 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2561
2. ดร.ธีรพร สถริ อังกูร
ตงั้ แต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
3. น.ส.ชตุ กิ าญจน์ หฤทัย
ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 – 30 กันยายน พ.ศ. 2562
4. นางศริ มิ า ลลี ะวงศ์
ตั้งแตว่ ันท่ี 18 ตุลาคม พ.ศ. 2562 – ปัจจบุ นั

14

กองการพยาบาล

กองการพยาบาลเป็นหน่วยงานราชการบริหารส่วนกลางในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
และเป็นหน่วยงานภาครัฐด้านการพยาบาลระดับกระทรวงแห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศไทย เริ่มก่อต้ัง
ตามค�ำสั่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขท่ี 109/2495 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 จนปัจจุบันน้ี
เป็นเวลา 70 ปี ท�ำหนา้ ทีเ่ ปน็ แกนกลางในการก�ำหนดพฒั นามาตรฐานการพยาบาล พฒั นาระบบบริการพยาบาล
ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ัย พฒั นาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางการพยาบาล ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุน และถ่ายทอด
องค์ความรู้สู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลของสถานบริการสุขภาพทุกระดับท่ีกระจายอยู่
ในทุกภูมิภาคของประชาชน และเป็นหลักประกันด้านคุณภาพบริการสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาความก้าวหน้า
สร้างขวัญกำ� ลังใจ บคุ ลากรทางการพยาบาล

หนา้ ที่และอ�ำนาจขององค์กร

กองการพยาบาล มีหน้าท่ีและอ�ำนาจตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 ดังนี้
1. จัดทำ� และเสนอแนะนโยบายมาตรฐานการพยาบาล และระบบบริการพยาบาล
2. ก�ำกับ ดูแล และสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของสถานบริการทุกระดับท้ังภาครัฐ
และเอกชน
3. พัฒนาคุณภาพทางเทคนิคและทางวิชาการท่ีเกี่ยวข้องกับการพยาบาล รวมท้ังก�ำหนดกลไก
และรูปแบบการปฏิบัติงานท้ังทางด้านการบริหาร บริการ และวิชาการที่ครอบคลุมทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ
และตติยภมู ิ
4. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั พฒั นาและถ่ายทอดองค์ความรแู้ ละเทคโนโลยที างการพยาบาลเพ่อื รองรับการ
เปลีย่ นแปลงของระบบสขุ ภาพ
5. ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับหรือสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานอ่ืนท่เี กยี่ วข้องหรือท่ไี ด้รับมอบหมาย

วสิ ัยทัศน์

“เป็นองคก์ รหลักด้านการพัฒนาบริการพยาบาลของประเทศสู่ความเปน็ สากล”
“Be the Main Organization on International Nursing Service Development”

นิยามของวสิ ัยทศั น์

1. องค์กรหลักด้านการพฒั นาบรกิ ารพยาบาล หมายถึง กองการพยาบาลมคี ณุ ลักษณะ ดงั ต่อไปน้ี
1. เปน็ องค์กรที่กำ� หนดนโยบายดา้ นการพัฒนาบริการพยาบาลระดบั ประเทศ
2. เปน็ องคก์ รทเ่ี ป็นศนู ย์เทยี บเคียงคณุ ภาพดา้ นการบรกิ ารพยาบาลในระดบั ประเทศ
3. เป็นองคก์ รทเ่ี ป็นแหลง่ อ้างองิ ดา้ นการพัฒนาบริการพยาบาลในระดับประเทศและระดับสากล
4. มีเครือข่ายความร่วมมือขององค์กรพยาบาลทุกระดับในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
5. เป็นองค์กรที่บุคลากรมีสมรรถนะเทียบเท่าระดับสากล ด้านการพัฒนางานการพยาบาลและ
กำ� ลงั คนด้านการพยาบาล

15

2. ความเป็นสากล หมายถึง กองการพยาบาลได้รับการยอมรับ ด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ
มีความคดิ ล�ำ้ หนา้ และสรา้ งสรรค์

ตวั ชี้วัดวสิ ัยทัศน์ (KPI)

1. จ�ำนวนเรอื่ งทีเ่ ปน็ ขอ้ เสนอทีไ่ ด้รับการขับเคลือ่ นในเชิงนโยบาย
2. จ�ำนวนองคก์ รพยาบาลทเี่ ป็นสมาชกิ ศูนย์เทียบเคยี ง
3. จ�ำนวนเครอื ข่ายความรว่ มมือขององค์กรพยาบาลทงั้ ในและต่างประเทศ
4. จ�ำนวนเรือ่ งทอี่ งค์กร/ บคุ ลากรเปน็ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ
5. จำ� นวนองคค์ วามร้/ู วจิ ยั / นวตั กรรม
6. จำ� นวนผลงานวิจัยทไี่ ด้ตพี มิ พ/์ เผยแพรใ่ นระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ
7. จำ� นวนองคค์ วามรขู้ องกองการพยาบาลท่ีถูกใช้อา้ งอิงเชงิ วชิ าการ

พนั ธกิจ

1. กำ� หนดนโยบายและมาตรฐานด้านการพยาบาลระดบั ชาติทเ่ี ปน็ สากล
2. ก�ำกับ ดูแล และสนบั สนุนการพฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาลของสถานพยาบาลทกุ ระดับท้ังภาครัฐ
และเอกชน
3. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพฒั นาองค์ความรู้นวัตกรรมการบริการพยาบาล
4. ประสานความร่วมมอื ภาคเี ครือข่ายและพันธมิตรทุกระดบั ทัง้ ในและตา่ งประเทศ
5. เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งและความสามารถในดา้ นการแขง่ ขนั ขององคก์ ร

วัฒนธรรมและค่านิยมขององคก์ ร คา่ นยิ มองคก์ ร : MOPH - ND
วัฒนธรรมองคก์ ร : SMART
S Strength เขม้ แข็ง M Mastery เป็นนายตนเอง
M Merit มคี ณุ ความดี O Originality เร่งสรา้ งสิ่งใหม่
A Autonomy เป็นเอกสิทธ์ิ P People Oriented ใส่ใจประชาชน
R Responsibility รับผิดชอบ H Humility อ่อนนอ้ มถอ่ มตน
T Trust นา่ เช่อื ถอื N Network เครอื ขา่ ยเข้มแข็ง
D Digital Technology รอบรเู้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั

16

แผแนผทน่กี ทลยก่ี ทุลธยกุทอธง์กกอางรกพายราพบยาาลบาล

กลยุทธก์ ารขับเคล่อื นกองการพยาบาล
กล ยทุ ธการขกบั ารเคขลับ่อืเคนลก่ืออนงกกอางรกพารยพายบาาบลาลไปสู่วิสัยทัศน์“เป็นองค์กรภาครัฐชั้นน�ำด้านการพัฒนาบริการพยาบาล

ของปรกะาเรทขศับสเู่คควลาอ่ืมนเปก็นอสงากกาลรภพายยาใบนาปลี ไ2ป5ส6ูว9สิ”ยั นท้ันัศนม“ีกเปลยน ุทอธง์ใคนก กราภรขาคับรเคัฐลช่ือ้ันนนกำอดงากนากรพารยพาบฒั านลาบปรรกิะการอพบยดา้วบยาล
5ขอกง 5 ลปกยรลทุะยธเกทุท ลดธศย์งั สกกกดนุทคูลลลังี้ธนยยยวทุทุุทท้ีาี่มธธธ1ท์ท์์ทเปี่ี่่ีพ312นฒั ส สพพนา่งััฒฒกาเกลสนนอภราาิมงรกากะแยอาบลงใรนกะบพาพปเทรยัฒ พค2านยโ5บนาา6าโคบ9ลลวา”ใยาลหดีมในเหิจเปนั้ขทิเ้ ปน้มัลม็นอแเพกีอขงลือ่คง็งคใสยกนก์นทุรกรบัสธสาสมใรมนนรวรกนุริจรถาัยกถรนแานขรละะพบัะสสัฒนเูงงู ควนลัตาอ่ืกบนรรรกกิ มาอทรงพากงยาการาบพรายพลายบาบาลาลปรสะู่เศกรอษบฐดกวิจย

สุขภาพกลยุทธท ่ี 2 พฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ สนับสนุนการพฒั นาบริการพยาบาล
กลยกทุ ลธยททุ ี่ธ3ท์ ี่ส4ง เสร่งมิเสแรลิมะแพลัฒะสนนาับคสวนาุนมกเขามรพแัฒขง็นใานคกุณาภรวาจิพัยบแรลิกะารนพวยตั ากบรารลมแทลาะงเกคารือรพข่ายยาทบุการละดสับูเ ศรเพษ่ือฐใกหจิ ้
สุขภปราะพชาชนเขา้ ถึงไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรม
กลยกทุ ลธยททุ ่ีธ4ท์ ่ีส5ง เสสรรมิา้ งแเลสระมิสคนวับาสมเนขนุ ้มกแาขรง็ ขพอฒั งบนคุาคลาณุ กภรพาพยาบบราิกลาแรพละยกาาบรานลำ� แอลงคะก์เครพรอืยขาบา ยาลทกุ ระดับ เพ่อื ให
ประชาชนเขาถึงไดอ ยา งเปนธรรม

กลยทุ ธท่ี 5 สรา งเสริมความเขม แข็งของบคุ ลากรพยาบาล และการนำองคกรพยาบาล

17

18

แผนผงั สายการบังคบั บญั ชานกั วชิ าการพยาบาลกองการพยาบาล

* พยาบาลวชิ าชีพ **นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ***นักวิชาการคอมพวิ เตอร์

19

แผนผังสายการบงั คบั บญั ชานักวชิ าการพยาบาลกองการพยาบาล

20

แผนผังสายการบังคบั บญั ชาบคุ ลากรกลมุ่ ภารกิจอำ� นวยการ

21

โครงสรา้ งการแบ่งส่วนราชการ

แบ่งออกเป็น 3 กลุม่ ภารกจิ ดงั นี้
1. กลุ่มภารกจิ นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารพยาบาล
2. กล่มุ ภารกจิ พัฒนามาตรฐานและระบบคุณภาพการพยาบาล
3. กลมุ่ ภารกจิ อ�ำนวยการ
โดยมกี ารแบ่งงานภายในแต่ละกลุ่มภารกิจ ดังน้ี
กลุม่ ภารกจิ นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพยาบาล มีหน้าท่ีความรับผดิ ชอบ ดังนี้
1) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั พัฒนานโยบายและยุทธศาสตรก์ ารพยาบาลของประเทศ เพ่ือใหส้ ถานบริการ
สุขภาพทุกระดับมีเป้าหมาย แนวทาง และทิศทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลสอดคล้องกับความ
ต้องการด้านสุขภาพของประชาชนและสังคมไทย รวมท้ังตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและแผน
พัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ
2) ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ยั พัฒนาก�ำลงั คนทางการพยาบาลของประเทศ ก�ำหนดแผน และทศิ ทาง การ
พัฒนาสมรรถนะพยาบาล วางแผนก�ำลังคนทางการพยาบาล เพ่ือสร้างองค์ความรู้ให้เท่าทันกับกระแสการ
เปลี่ยนแปลง รวมทั้งสร้างขวัญก�ำลังใจบุคลากรพยาบาลด้านค่าตอบแทน สวัสดิการ และความก้าวหน้าสายงาน
วชิ าชีพพยาบาลของประเทศ
3) ศึกษา วจิ ัย และพฒั นาองค์ความรู้/นวตั กรรมการ/เทคโนโลยที างการแพทย์ รวมทัง้ ระบบสารสนเทศ
ทางการพยาบาลให้สอดคล้องกับความต้องการการพัฒนาของระบบบริการพยาบาลของประเทศและทันต่อความ
กา้ วหนา้ ของวิทยาการและตอบสนองการเปลี่ยนแปลงด้านภาวะสุขภาพของประชาชนและสังคมไทย
4) พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่ตอบสนองการพัฒนาคุณภาพการบริการพยาบาลของ
ประเทศ ครอบคลุมฐานข้อมูลที่จ�ำเป็นด้านการพยาบาลอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ รวมท้ังจัดระบบคลังข้อมูลและ
เปน็ ศูนยก์ ลางความรว่ มมอื ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการพยาบาลของประเทศและระหว่างประเทศ
5) ปฏิบัตงิ านรว่ มกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิของหนว่ ยงานอน่ื ท่เี ก่ียวข้องหรือทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
กลมุ่ ภารกิจนโยบายและยุทธศาสตร์การพยาบาล มีการแบ่งโครงสรา้ งเป็น 2 กลุม่ งาน ดงั นี้
1) กลุ่มงานยุทธศาสตร์และระบบก�ำลงั คนทางการพยาบาล
2) กลมุ่ งานสารสนเทศทางการพยาบาลและวิเทศสมั พนั ธ์
กลุ่มภารกจิ พัฒนามาตรฐานและระบบคณุ ภาพการพยาบาล มหี นา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ ดงั น้ี
1) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย สถานการณ์ และแนวโน้มปญั หาความตอ้ งการในการพฒั นาระบบการบริการ
พยาบาล และก�ำหนดมารตฐานการพยาบาล เพ่ือสอดล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันด้านสุขภาพของ
ประชาชนและนโยบายของรฐั บาล
2) ศึกษา วิจัย พัฒนามาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง/ระบบคุณภาพทางการพยาบาล/ระบบบริการ
พยาบาล และนวัตกรรมทางการพยาบาลท่ีตอบสนองความต้องการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของระบบ
สขุ ภาพโดยรวมของประเทศ รวมถึงการพัฒนาระบบกลไกการประเมนิ และเทียบเคยี งคณุ ภาพการพยาบาล

22

3) พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือและกลไกการส่งเสริมการพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายการพัฒนา
คุณภาพการพยาบาลเพอื่ ร่วมกนั พฒั นางานการพยาบาล ท้งั ระดับจงั หวัด ระดบั เขต ระดับภาค และระดบั ประเทศ
4) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และประเมินผลการน�ำมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง/ระบบสุขภาพ
ทางการพยาบาล/ระบบบริการพยาบาล และนวัตกรรมทางการพยาบาลไปใช้ในการบริการทางการพยาบาล
รวมทั้งประเมินผลการประกันคุณภาพ การประเมินและเทียบเคียงคุณภาพทางกรพยาบาลในภาพรวม
ของประเทศ
5) ถ่ายทอดมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง/ระบบคุณภาพทางการพยาบาล/ระบบบริการพยาบาล
และนวัตกรรมการพยาบาล รวมถึงการก�ำกับ ติดตาม สนับสนุนให้มีการน�ำองค์ความรู้ไปใช้ในงานการพยาบาล
ของสถานบริการสขุ ภาพทกุ ระดบั และการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลอย่างต่อเนือ่ ง
6) ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนที่เก่ยี วขอ้ งหรือทีไ่ ด้รับมอบหมาย

กลมุ่ ภารกจิ พัฒนามาตรฐานและระบบคุณภาพการพยาบาล มีการแบง่ โครงสรา้ งเป็น 2 กลุม่ งาน ดงั นี้
1) กลุ่มงานมาตรฐานและระบบคณุ ภาพการพยาบาล
2) กลมุ่ งานระบบบรกิ ารพยาบาล

กลุ่มภารกิจอ�ำนวยการ มีหน้าที่ความรบั ผิดชอบ ดงั นี้
1) อ�ำนวยกรและพัฒนาระบบบริหารจัดการงานทั่วไปของส�ำนักงาน ควบคุมบริหารจัดการงาน
ในความรบั ผดิ ชอบใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและประสิทธภิ าพ
2) บริหารจัดการและพัฒนาระบบสารบรรณ การรับ - ส่งหนังสือ จัดเก็บค้นหาเอกสารให้ถูกต้อง
รวดเร็ว สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ
3) บริหารจัดการและพัฒนางานพิมพ์ จัดท�ำเอกสาร ตรวจสอบแก้ไขความถูกต้องตามหลักวิชาการ
ประสานการจดั ทำ� อุปกรณแ์ ละสอ่ื ทใี่ ชใ้ นการประชุมให้สมบูรณ์ครบถว้ น
4) บริหารจัดการและด�ำเนินงานเกี่ยวกับงานการเงินและการบัญชีให้เป็นไปตามระเบียบของกระทรวง
การคลัง โดยจัดทำ� รายการเบิก - จา่ ยงบประมาณ สรุปรายงานผลการใชจ้ ่ายงบประมาณประจ�ำเดอื นและประจำ� งวด
ตรวจสอบหลกั ฐานส�ำคัญของการเบกิ - จา่ ยงบประมาณ ควบคุมและตรวจสอบยอดเงนิ งบประมาณอยา่ งถูกต้อง
โปรง่ ใส และมปี ระสิทธภิ าพ
5) ด�ำเนินการบริหารการจัดงานพัสดุให้เป็นไปตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุโดยจัดซ้ือ
จดั จ้าง จดั ท�ำระเบยี บคมุ การเบิกจา่ ยพัสดุ จัดเกบ็ ดแู ลรักษาใหม้ ปี ริมาณเพยี งพอ และมีคุณภาพดพี ร้อมในการใช้
ปฏบิ ตั ิงาน
6) พัฒนาระบบบริหารการยานพาหนะ วางแผน ควบคุมก�ำกับการให้บริการและดูแลซ่อมบ�ำรุงรักษา
ยานพาหนะให้มสี ภาพสะอาด เรียบร้อย และพรอ้ มใช้งานอย่เู สมอ
7) จัดระบบการก�ำกับดูแลอาคารสถานท่ี ดูแลรักษาความสะอาดและความปลอดภัยของอาคารสถาน
ที่ท้งั ในและนอกเวลาราชการ

23

8) ด�ำเนินการและก�ำกับดูแลการเจ้าหน้าที่ เก่ียวกับระเบียบการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ลูกจ้าง
และพนักงานราชการ การสรรหา การคดั เลอื กบุคคล การขอเล่อื นระดับ การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการประจ�ำปี
ขัน้ เงนิ เดอื นประจ�ำปี การพิจารณาความผิดทางวนิ ัยเบอื้ งตน้ ตลอดจนงานอ่นื ๆ ท่ีเก่ยี วข้องกบั งานการเจ้าหน้าท่ี
สวัสดิการข้าราชการและลกู จ้างของกองการพยาบาล
9) ปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั หรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื ได้รับมอบหมาย
กลุ่มภารกิจอำ� นวยการ มีการแบ่งโครงสร้างเปน็ 2 กลุม่ งาน ดังน้ี
1) กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป
2) กลมุ่ งานการเงนิ และพสั ดุ


24

ประวัตกิ องการพยาบาล

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงต้งั “กรมการพยาบาล” ขึน้ ในวันท่ี 25 ธนั วาคม 2431
เพื่อดแู ลกิจการศริ ิราชพยาบาล จดั การศกึ ษาวชิ าแพทย์ จดั การปลกู ฝเี ปน็ ทานแก่ประชาชน กรมพยาบาลขน้ึ ตรง
ตอ่ องค์สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั เพราะพระองคเ์ จา้ ศรีเสาวภางค์ราชเลขาธิการสว่ นพระองคท์ รงเปน็ อธบิ ดี
พ.ศ.2432 กรมพยาบาลย้ายมาสังกัดกระทรวงธรรมการ เร่ิมมีแพทย์ประจ�ำเมือง น�ำยาต�ำราหลวง
ออกจ�ำหน่ายในราคาถูกและตั้งกองแพทยท์ �ำหน้าท่ีป้องกนั โรคระบาด
พ.ศ. 2448 ยบุ กรมพยาบาล และใหโ้ รงพยาบาลทส่ี งั กัดกรมพยาบาลไปอย่ใู นกระทรวงนครบาล ยกเว้น
โรงศริ ิราชพยาบาล สังกัดในกระทรวงธรรมการตามเดิม ต่อมากระทรวงมหาดไทยกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ขอพระบรมราชานุญาตเปลี่ยนช่ือ กรมพยาบาลเป็นกรมประชาภิบาล
และได้รบั พระบรมราชานญุ าตในวนั ท่ี 19 ธนั วาคม พ.ศ. 2459
ต่อมาในวนั ที่ 27 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2461 ไดป้ ระกาศเปลย่ี นจากกรมประชาภบิ าลเปน็ กรมสาธารณสขุ
และทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมน่ื ชยั นาทนเรนทร อธิบดกี รมมหาวทิ ยาลยั เปน็ อธิบดี
กรมสาธารณสุข อยู่ในสงั กัดกระทรวงมหาดไทย จนถงึ พ.ศ. 2485 จงึ ได้สถาปนาเป็นกระทรวงสาธารณสุข
“กรมพยาบาล” ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อพุทธศักราช 2490 ตามค�ำแนะน�ำขององค์การอนามัยโลก (WHO)
เพื่อเป็นศนู ยก์ ลางในการติดต่อประสาทงานด้านการพยาบาลระหว่างกระทรวงการสาธารณสุข (ชื่อของกระทรวง
สาธารณสุขในสมยั นน้ั ) กบั สถาบนั พยาบาลในประเทศและองคก์ รระหว่างประเทศ เนอ่ื งจาก...
พ.ศ.2483-2484 สงครามอินโดจีนและสงคาเอเชียบูรพา (ส่วนหน่ึงของสงครามโลกครั้งท่ี 2)
ประเทศไทยเผชิญท้ังโรคระบาดและการขาดแคลนยา ประชาชนหนีลูกระเบิดไปอยู่ต่างจังหวัด ความเป็นอยู่
และสงิ่ แวดล้อมต่าง ๆ มกี ารเปลี่ยนแปลงไป ขาดแคลนส่งิ ของเครอื่ งใช้ เคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภค โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง
ยาและเวชภณั ฑ์ซึ่งหายากมากในชว่ งเวลาน้ัน
ในช่วงน้ันกระทรวงสาธารณสุขเพ่ิมเร่ิมก่อต้ัง ต้องเร่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ท้ังปัญหาความเจ็บป่วย
การขาดแคลนเวชภัณฑ์ ขาดแคลนงบประมาณ ตลาดจนการขาดแคลนแพทย์และพยาบาล
ช่วงแรกของการสิน้ สุดสงครามโลกยังสภาวะการขาดแคลนทรัพยากรตา่ ง ๆ ของประเทศ ตอ้ งระดมไป
ช่วยแก้ปญั หารีบด่วนอ่นื ๆ เปน็ ผลให้การสาธารณสขุ ไมไ่ ด้รบั การพฒั นาเท่าทค่ี วร
พ.ศ.2493 องค์การอนามัยโลกได้เข้ามาช่วยเหลือด้านการพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข โดยการ
สง่ มิสชสิ จี ริชาร์ดสัน (Ms.G.Richardson) พยาบาลผเู้ ช่ยี วชาญเขา้ มาศกึ ษาสภาพการพยาบาล ในประเทศไทย

25

และในปี พ.ศ.๒๔๙๔ องค์การ ซี.อี.เอ. (C.E.A.) ได้ให้การช่วยเหลือโดยส่งมิซิส อินกา บอร์ดรอท (Ms.Inga
Byorkroth) เข้ามาให้ความช่วยเหลือประเทศไทยด้านการศึกษาพยาบาล การบริการพยาบาล ผดุงครรภ์และ
การพยาบาลสาธารณสขุ ทง้ั สองทา่ นนไี้ ด้ให้ขอ้ เสนอแนะแก่กระทรวงสาธารณสขุ วา่ กจิ การ ในส่วนทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั
การพยาบาลควารมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยเฉพาะในการควบคุม สนับสนุน จัดบริการพยาบาล ซ่ึงพยาบาล
ที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลตามภูมิภาคไม่สามารถพัฒนาความรู้ให้ทันต่อเหตุการณ์ ประกอบกับการเดินทาง
ติดต่อกันแต่ละจังหวัดมีความล�ำบาก จ�ำเป็นต้องมีหน่วยงานในส่วนกลางที่เป็น ศูนย์รวมในการช่วยส่งเสริม
พยาบาลด้านการศึกษาและพัฒนาบุคลากรพยาบาลในด้านต่าง ๆ จึงเสนอให้กระทรวงสาธารณสุขจัดต้ัง
“กรมพยาบาล” ขนึ้
พ.ศ. 2495 รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พิจารณาเห็นความส�ำคัญของ
การพยาบาล จึงมีค�ำสัง่ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ที่ 109/2495 ลงวนั ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2495
ให้แยกกิจการส่วนที่เกี่ยวข้องกับพยาบาลออกมาเป็นส่วนต่างหาก เป็นระดับกอง คือ “กองการพยาบาล”
ขน้ึ ตรงตอ่ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กองการพยาบาลจงึ ถือกำ� เนิดในวันดังกลา่ ว
วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2496 กองการพยาบาลมีหัวหน้ากอง ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าหัวหน้ากองในส่วน
ราชการอน่ื ๆ และหวั หน้ากองการพยาบาลคนแรก คอื นางสาวสงวนวรรณ เฟอื่ งเพชร
วนั ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2496 สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ไดม้ ีหนังสือแจ้งเวียนให้กรมต่างๆใน
สังกัดกระทรวงสาธารณสขุ รับทราบเรือ่ งส่วนราชการของกองการพยาบาล
หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของกองการพยาบาลในระยะเริ่มแรก มดี ังน้ี
1. ปรับปรุงการศึกษาพยาบาล ให้การศึกษา
ภาคทฤษฎมี สี ่วนสัมพนั ธก์ ับการศึกษาภาคปฏิบัตมิ ากยิง่ ขึ้น
2. จัดการศึกษาอบรมพยาบาลระหว่าง
ปฏิบัติงาน โดยร่วมมือกับองค์กรช่วยเหลือต่างประเทศ
เกี่ยวกับการตรวจนิเทศการพยาบาล การผดุงครรภ์
และการสาธารณสขุ ในโรงพยาบาล
3. ป ร ะ ส า น ง า น กั บ ก า ร พ ย า บ า ล แ ล ะ
การผดุงครรภ์ โดยมีการศึกษาและแนะน�ำ เพื่อน�ำไป
ปรับปรุงงานทางการพยาบาลในโครงการพยาบาลต่าง ๆ ของประเทศ ตามหลักการของกระทรวงสาธารณสุข
และพระราชบัญญตั ิควบคุมผ้ปู ระกอบโรคศิลปะ
4. สง่ เสริมการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งหลังจากจบการศึกษาแล้วให้แกบ่ คุ ลากรทางการพยาบาลทุกระดบั
5. เปิดโรงเรียนพยาบาลเพ่ิมขึน้ ทกุ แขนง
6. ปรบั ปรงุ งานและทีอ่ ยู่อาศัยของพยาบาลและมีการตรวจนเิ ทศงานเพมิ่ มากข้นึ
7. ส่งเสริมการเพ่ิมจ�ำนวนพยาบาลในส่วนภูมิภาคให้มากขึ้น โดยการให้ทุนการศึกษาในประเทศไทย
และตา่ งประเทศ
กองการพยาบาลในยุคสมัยน้ันมีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านบริการและการศึกษาเพ่ือให้งาน
ของกองการพยาบาลเหมาะกับวัตถุประสงค์และทันต่อเหตุการณ์กองการพยาบาลจึงได้แบ่งการบริหารออกเป็น
3 แผนก ดงั น้ี
26

1. แผนกการศกึ ษาพยาบาลผดุงครรภ์และอนามยั มหี น้าทีด่ ังน้ี
1.1 ดูแลให้มีการศึกษา เพ่ือส่งเสริมวิทยฐานะพยาบาลผดุงครรภ์อนามัยของโรงเรียนพยาบาล
ผดงุ ครรภอ์ นามยั ให้เขา้ สรู่ ะบบมาตรฐานในการขึ้นทะเบยี นประกอบโรคศลิ ปะใหท้ ดั เทียบนานาชาติ
1.2 ให้การช่วยเหลือและส่งเสริมระดับ
การศึกษาของนักเรียนพยาบาลผดุงครรภ์อนามัย
ของโรงเรียนตา่ ง ๆ ใหไ้ ด้มาตรฐาน
1.3 ช่วยดูแลในการผลิต และฝึกอบรม
ครูพยาบาลผดงุ ครรภ์อนามัย
1.4 มีระบบการวางหลักสูตรการศึกษา
อบรม ท้งั ทางด้านทฤษฎีและการฝกึ ภาคปฏิบตั ิ
1.5 จัดวางระเบียบการสอบเพ่ือข้ึนทะเบียนประกอบโรคศิลปะร่วมกับคณะกรรมการประกอบ
โรคศิลปะ สาขาพยาบาลผดงุ ครรภ์
1.6 ดูแลการวางหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกนักเรียนพยาบาลให้มีคุณลักษณะและความเหมาะสม
ในการเป็นพยาบาล เพือ่ เพิม่ ประสิทธภิ าพในการทำ� งาน
1.7 ใหค้ �ำแนะน�ำและช่วยส่งเสริมการสงเคราะห์นกั เรยี นพยาบาล
1.8 ให้การแนะน�ำโรงเรียนพยาบาล ผดุงครรภ์อนามัย เก่ียวกับวิธีการสอน อุปกรณ์การสอน
พรอ้ มท้งั ต�ำราวิชาพยาบาลแขนงต่าง ๆ
1.9 ให้ค�ำแนะน�ำและอบรมเจ้าหน้าที่พยาบาลให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศทั้งใน
ยามสงบและฉุกเฉนิ โดยร่วมมือกับองคก์ รการกศุ ลต่าง ๆ
1.10 รวบรวมผลงานต่าง ๆ จากโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์อนามัย เพ่ือการศึกษา นิเทศและ
ใหค้ ำ� แนะนำ� เพ่อื ปรับปรงุ ให้เหมาะสมตามมาตรฐานเพือ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ
1.11 จัดอบรมพิเศษแกผ่ ูส้ �ำเรจ็ วชิ าการพยาบาลผดุงครรภอ์ นามยั
2. แผนกบริการพยาบาล ผดุงครรภ์และอนามัย มีหน้าท่ีในการนิเทศงานและช่วยส่งเสริมบริการ
พยาบาลผดงุ ครรภอ์ นามมยั ให้มีมาตรฐานที่เหมาะสมโดย
2.1 จัดนิเทศงาน แนะน�ำอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการพยาบาลและผดุงครรภ์ เพื่อส่งเสริม
ความสะดวกสบาย การใช้งานแก่ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ และเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ ฝึกอบรมของนักเรียนพยาบาล
อย่างถูกต้อง
2.2 ใ ห ้ ค� ำ แ น ะ น� ำ เ จ ้ า ห น ้ า ท่ี
สถานพยาบาลเก่ียวกับจ�ำนวนพยาบาลหรือ
ผดุงครรภ์ เช่นก�ำหนดจ�ำนวนพยาบาลหรือ
ผดุงครรภ์ต่อจ�ำนวนผู้ป่วยหรือจ�ำนวนพยาบาล
ผดงุ ครรภต์ ่อจ�ำนวนนกั เรียน
2.3 แ น ะ น� ำ ร ะ เ บี ย บ ก า ร ใ ห ้
การพยาบาลและผดุงครรภ์

27

2.4 แนะน�ำกระบวนการให้การพยาบาลของโรงพยาลบาลประเภทต่าง ๆ เช่นโรงพยาบาลรักษา
โรคทัว่ ไป โรงพยาบาลคลอดบตุ ร โรงพยาบาลโรคติดต่อและอื่นๆ เป็นตน้
3. แผนกการพยาบาลและสาธารณสขุ มหี นา้ ทด่ี งั ต่อไปน้ี
3.1 แนะนำ� เกีย่ วกบั การศึกษา คณุ วุฒิ และความชำ� นาญงานของพยาบาลสาธารณสุขและผดงุ ครรภ์
3.2 แนะน�ำเกี่ยวกบั จำ� นวนของเจา้ หนา้ ทีท่ ี่ปฏิบัติงานพยาบาลสาธารณสขุ เชน่ จ�ำนวนของผ้ตู รวจ
การนางสงเคราะห์ นางสงเคราะห์ พยาบาลและผดงุ ครรภต์ ่อจำ� นวนประชากรในแตล่ ะพืน้ ที่
3.3 ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารการพยาบาลสาธารณสุข โดยยึดหลักความต้องการของประชาชน
และความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ของประเทศชาติ โดยมีการประสานงานกับกองพยาบาลอนามัยและ
สถานศึกษาพยาบาลผดุงครรภ์ อนามยั ตลอดจนสถานศึกษาพยาบาลสาธารณสุขตา่ ง ๆ
3.4 จัดระบบมาตรฐานการฝึกหัดงานพยาบาลสาธารณสุข หรือนางสงเคราะหแ์ ละผดุงครรภ์ตลอดจน
ให้ค�ำแนะน�ำและให้การส่งเสริมวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว และการเตรียมหนังสือคู่มือการพยาบาล
สาธารณสุข รวมท้ังจัดหาเอกสาร ต�ำรา เพื่อส่งเสริมการศึกษาวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์อนามัย และพยาบาล
สาธารณสุขให้มีระดับสูงขึ้น ตลอดจนปรับปรุง ส่งเสริมพยาบาลสาธารณสุขให้มีจ�ำนวนเพิ่มข้ึน ให้เพียงพอ
แก่ความตอ้ งการของประชาชน เพอื่ ให้ประชาชนดรี บั การบริการและการเขา้ ถงึ การรบั บริการทดี่ ี เพอื่ ชว่ ยบรรเทา
ความเจ็บปวดและลดอัตราการตายของประชาชน ให้การส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง
และมีอายทุ ย่ี นื ยาว
3.5 ร่วมพิจารณาหลักสูตรและร่างกระบวนการศึกษาของพยาบาลผดุงครรภ์อนามัยและพยาบาล
สาธารณสุข ตลอดจนหลักสตู รการศกึ ษา และหลกั สตู รเพม่ิ เติมความรแู้ กผ่ อู้ บรมต่าง ๆ
กองการพยาบาลในช่วงนั้นมีหน้าที่วางระบบโครงการนโยบายต่าง ๆ โดยเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับ
การพยาบาล ผดุงครรภ์อนามัย และพยาบาลสาธารณสุข อีกท้ังมีการประสานงานกับกองประกอบโรคศิลปะ
และกรม กองตา่ ง ๆ อกี ด้วย
พ.ศ. 2527 ได้มีการเปลี่ยนแปลงและการพิจารณาปรับปรุง โครงสร้างของหน่วยงานราชการ
ในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งกองการพยาบาลได้รับการอนุมัติให้มีการปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารงานใหม่ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ และมีการปรับปรุงหน้าท่ีความรับผิดชอบใหม่ เพื่อเป็นการสนับสนุน
การบริหาร บรกิ าร และวชิ าการ ทงั้ ในสถานบรกิ ารดแู ลในชมุ ชนแกห่ น่วยงานพยาบาลต่าง ๆ ของสำ� นกั งานปลดั
กระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งสนับสนุนหน่วยงานการพยาบาลของกรม กอง และกระทรวงอ่ืน ๆ ท้ังภาครัฐและ
เอกชน ตลอดจนการทำ� หน้าท่ีประสานงานกบั หน่วยงานพยาบาลของประเทศ
ความรับผดิ ชอบและหน้าท่ีของกองการพยาบาล พ.ศ. 2529
จากการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการบริหารงานใหม่ กองการพยาบาลมีความรบั ผดิ ชอบและหนา้ ทด่ี งั น้ี
1. การสนับสนุนและส่งเสริมงานบริการพยาบาลในชุมชนเก่ียวกับการวางแผน จัดระบบงาน การ
ก�ำหนดและปรับปรงุ มาตรฐานบรกิ ารพยาบาล การพฒั นาเทคโนโลยี และการควบคมุ ประสทิ ธภิ าพ คุณภาพของ
บรกิ ารพยาบาลในชุมชน ใหเ้ กิดกลไกการรเิ ร่ิม และการมสี ่วนร่วมของประชาชน
2. ศึกษาและวิเคราะห์เพื่อก�ำหนดแผนอัตราก�ำลังพยาบาลของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับ
การปฏิบตั ิงานการพยาบาลตามนโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุขและการแพทย์

28

3. ศึกษา วิเคราะห์ และท�ำวิจัยพัฒนาระบบและมาตรฐานการให้บริการพยาบาลและการบริหารงาน
ทางพยาบาล รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพของเทคนิคและวิธีการต่าง ๆ เกี่ยวกับการพยาบาลในสถานบริการ
ทางการแพทย์และสาธารณสขุ ของกระทรวงสาธารณสุข
4. ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และประสานงานการจัดการระบบการศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาระบบ
งานตา่ ง ๆ กบั บุคลากรวชิ าชีพการพยาบาลใหเ้ ปน็ มาตรฐานและทิศทางเดยี วกัน
5. ให้การสง่ เสริม เผยแพร่ และประสานงานการให้บรกิ ารทางพยาบาลของสถานบริการสาธารณสขุ ทั้ง
ภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือให้เทคนิคและกระบวนการให้บริการทางการพยาบาลเป็นมาตรฐานและเป็นทิศทาง
เดยี วกันในทางวชิ าการและบริหารงาน
6. ประสานงานกับสภาการพยาบาล
และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องท้ังภายใน
และภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจน
องค์การเอกชนและองค์การต่างประเทศ
พัฒนาการบริหาร บริการ และวิชาการ
ให้มคี ุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพ
7. จัดเผยแพร่ สนับสนุน และ
ส่งเสริมทางด้านวิชาการเก่ียวกับการให้บริการ
ทางการพยาบาลและการบรหิ ารจดั การสำ� หรับงานบรกิ ารพยาบาลของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เช่น การวางแผน
จัดระบบงาน การก�ำหนดและการปรับปรุงมาตรฐานบริการพยาบาล การควบคุมประสิทธิภาพและคุณภาพ
ของบรกิ ารพยาบาลของสถานบรกิ ารตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามระบบมาตรฐานทางวชิ าการ
พ.ศ. 2529-2533 จนถึงปี พ.ศ. 2537 ได้มีการปรับบทบาทภาระงานของกองการพยาบาลใหม่
โดยก�ำหนดให้กองการพยาบาลมีความรับผิดชอบเหมือนในแผนกรอบอัตราก�ำลังรอบท่ี 1 และ 2 และเพิ่มเติม
บทบาทใหม่
1. ศึกษาวิจัยพัฒนารูปแบบ เทคนิค และกลวิธีการจัดบริการพยาบาลท้ังในสถานบริการและในชุมชน
ตามปัญหาสาธารณสุขและความต้องการของประชาชนและชุมชน ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีทางการรักษา
พยาบาลและการสาธารณสุข ใหก้ ับสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทกุ ระดบั ท้ังภาครัฐและเอกชน
2. ศึกษาและวิเคราะห์งานการพยาบาลเพ่ือก�ำหนดแผนอัตราก�ำลังทางพยาบาลของหน่วยงานต่าง ๆ
ให้สอดคล้องกบั การปฏบิ ัติงานตามนโยบายและแผนพฒั นาสาธารณสุข
3. ขยายงานการพัฒนา การตรวจสอบคุณภาพและการควบคุมมาตรฐานทางการพยาบาล
ให้ครอบคลุมถึงสถานพยาบาลของรัฐวิสาหกิจและของภาคเอกชนทั่วประเทศ โดยมีสภาการพยาบาลและ
กองการพยาบาลประกอบโรคศลิ ปะเป็นทีมรว่ มดำ� เนนิ การ
4. พัฒนารูปแบบ กลยุทธ์ กลวิถีเชิงรุก ในการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
ของครอบครัว และของชุมชน ท้ังประชาชนทั่วไป ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ประชาชนที่เจ็บป่วย ตลอดจนผู้พิการ
หรือทุพพลภาพ เพ่ือขยายสู่หน่วยงานบริการสาธารณสุขทุกระดับท้ังภาครัฐและเอกชน โดยยึดระบบเครือข่าย
เป็นแกนในการขยายและติดตามผล

29

5. ศึกษารูปแบบและกลวิธีในการแก้ปัญหาเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาล
ในหน่วยงานทุกระดับ
6. ศึกษาและวิเคราะห์สถานภาพด้านการพยาบาลของหน่วยงานและสถานบริการสาธารณสุข
ทุกระดับ ทั้งในด้านการบริหารจัดการ การบริการ และด้านวิชาการ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการส่งเสริม
และสนบั สนนุ การพัฒนาให้เขา้ เกณฑ์มาตรฐานท่กี ำ� หนด
พ.ศ. 2545 กองการพยาบาลมีอายุครบ 50 ปี รัฐบาลมี พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมข้ึน
และได้มีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างอีกครั้งหน่ึงตามการปฏิรูปโครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข ตามพระราชกฤษีกา
การแบ่งส่วนราชการ ฯ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 2 ตุลาคม 2545 และกองการพยาบาล
ซึ่งเป็นหน่วยงานวิชาการพยาบาลได้ถูกโอนหน่วยงานมาอยู่ท่ีกรมการแพทย์และยกฐานะจากกอง “การพยาบาล”
เป็น “ส�ำนกั การพยาบาล” เนื่องจากภาระงานหลักทปี่ ฏิบตั เิ ปน็ งานวิชาการและมคี วามกวา้ งขวาง ในการทำ� หน้า
เป็นแกนในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีทางการพยาบาล ก�ำหนด และพัฒนา
มาตรฐานการพยาบาล ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ด้านพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
อันเป็นการสารต่อเจตนารมณ์ของกระทรวงสาธารณสุขในการพิทักษ์สิทธิและความเสมอภาคของประชาชนและ
เป็นหลักประกันดา้ นสุขภาพบริการสขุ ภาพ
พ.ศ 2552 อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา 8 ฉ แห่งพระราชบัญญัติระเบยี บราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534
ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2543 รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงสาธารณสุข (นายวิทยา แก้วภราดัย) ได้ออกกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2552 ลงนามไว้ ณ วันท่ี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยให้ยกเลิกกฎกระทรวงแบ่ง
ส่วนราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2545 และก�ำหนดให้ส�ำนักปลัดกระทรวง

30

กระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจเก่ียวกับการพัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผน
ปฏบิ ตั ริ าชการ จัดสรรทรัพยากรและบรหิ ารราชการทัว่ ไปของกระทรวงเพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย และเกิดผลสมั ฤทธ์ิ
ตามภารกิจของกระทรวง ส่งผลให้มีการแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงใหม่ ท�ำให้ส�ำนักการพยาบาล
ได้ย้ายกลับมาสังกัดส�ำนักงานปลัดประทรวง ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ณ วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2552
เลม่ ที่ 126 ตอนท่ี 98 ก หน้า 36 ข้อ 9
พ.ศ. 2560 จากราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 14 มิถุนายน 2560 เรื่อง แบ่งส่วนราชการส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 ลงนามโดยรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข (นพ.ปยิ ะสกล
สกลสัตยาทร) ให้ยกเลิกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2552 และ
พ.ศ. 2556 (ฉบบั ท่ี 2) และให้แบ่งสว่ นราชการสำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ เป็นราชการบริหารส่วนกลาง
และราชการบริหารส่วนภูมิภาค โดยจากส�ำนักการพยาบาล เป็นกองการพยาบาลส่วนราชการบริหารส่วนกลาง
ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

31

ผลงานเด่น
ผลงานช่วงที่ 1 กองการพยาบาล ส�ำนักงานปลดั กระทรวง (พ.ศ. 2498 - 2544)
ด้านการพัฒนาวชิ าชพี พยาบาล

การจดั ท�ำแผนและพฒั นาหลักสตู ร
พ.ศ. 2498
v กองการพยาบาลร่วมกับองค์การอนามัยโลก องค์การบริหารวิเทศกิจ แห่งสหรัฐอเมริกา (USOM)
และกรมการแพทย์ ร่วมกันก่อต้ังโรงเรียนครูพยาบาล โดยอยู่ในความดูแลของกองการพยาบาลและต่อมา
ได้โอนไปขึน้ กับกรมการแพทย์ในปี พ.ศ.2500
พ.ศ. 2507
v ดำ� เนินการเปดิ หลักสูตรวิชาครพู ยาบาล ระดบั ปริญญาตรี ให้เป็นแผนกหนงึ่ ในครุศาสตรจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย และต่อมาได้มอบให้อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นภาค
พยาบาลศึกษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปจั จุบนั
พ.ศ. 2514
v กองการพยาบาลร่วมกับสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ฯ พิจารณาจัดท�ำหลักสูตรมาตรฐาน
กลาง โดยก�ำหนดให้ผู้ส�ำเร็จการศึกษาได้รับประกาศนียบัตรวิชาพยาบาลและอนามัย และผดุงครรภ์และก�ำหนด
เงินใหม่ของพยาบาลใหม่เป็นทางการทั่วท้ังประเทศ และผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีจึงท�ำให้เป็นที่
ยอมรับเป็นทางการทว่ั ประเทศ
พ.ศ. 2516
v ริเร่ิมจัดท�ำวารสารกองการพยาบาล ซ่ึงเป็นวารสารวิชาการ เพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรม
ทางการพยาบาล ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัยของบุคลากรพยาบาล และเป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่างบุคลากรทางการพยาบาลและผู้สนใจหรือผู้เก่ียวข้อง โดยจัดพิมพ์ปีละ 3 ฉบับ และได้ด�ำเนินการพัฒนา
คณุ ภาพวารสารอยา่ งต่อเน่อื งจนถึงปัจจบุ นั

32

พ.ศ. 2519
v เปน็ ผู้ริเริ่มพฒั นาโครงการอบรมผูบ้ ริหารทางการพยาบาล โดยจัดหลัดสตู รอบรมระยะส้นั (3 เดอื น)
เรื่องการบริหารบนหอผู้ป่วยแก่พยาบาลระดับหัวหน้าหอผู้ป่วย หรือผู้บริหารการพยาบาลของโรงพยาบาล
ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และได้คัดสรรผู้ท่ีมีความสามารถไปพัฒนาเป็นทีมในการจัดอบรมพยาบาล
ใน รพศ./รพท. ทั่วประเทศ ซึ่งนับว่าได้ช่วยพัฒนาผู้น�ำทางบริการพยาบาลและได้เริ่มสร้างความเข้มแข็ง
ให้ผ้บู รหิ ารทางการพยาบาลของโรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ไดจ้ นถึงปจั จุบัน
ใบประกอบโรคศิลปะ
พ.ศ. 2499
v กองการพยาบาลร่วมกับสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ร่วมกันก�ำหนดการทดสอบผลการศึกษา
พยาบาลของทกุ โรงเรยี น ทงั้ ของทางรฐั บาลและเอกชน เป็นการสอบขึน้ ทะเบยี นประกอบโรคศลิ ปะและการเรียก
ผู้สอบขึ้นทะเบียนประกอบโรคศิลปะสาขาพยาบาลและผดุงครรภ์ว่า “Registered Nurse R.N.” (พยาบาล
ขึ้นทะเบียน พ.ท.)
คา่ ตอบแทน
พ.ศ. 2538
v ร่วมกับสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ฯ ต่อสู้ให้ ก.พ. ยอมรับและเพิ่มเติมให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
การพยาบาลผดุงครรภไ์ ดร้ ับเงินประจำ� ต�ำแหนง่ จนในทสี่ ดุ พระราชบัญญตั ิเงินเดือนและเงนิ ประจำ� ต�ำแหน่ง พ.ศ.2538
ได้ก�ำหนดให้ต�ำแหน่งพยาบาลาวิชาชีพเป็นต�ำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะต้ังแต่ระดับ 7 ขึ้นไปและได้รับเงิน
ประจ�ำต�ำแหน่ง รวมท้ังต่อสู้ให้มีการจ่ายค่าตอบแทนให้ครอบคลุมถึงเจ้าหน้าที่ท่ีช่วยปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราว
ในหน่วยบริการอื่นในสังกัดอีกด้วย จนได้มีการเบิกจ่ายเงินบำ� รุงเป็นค่าลูกจ้างรายคาบโดยให้หัวหน้าส่วนราชการ
พิจารณาตามความเหมาะสมตามแต่ละหนว่ ยบริการ

33

พ.ศ. 2539
v กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้มีการทบทวนเร่ืองหลักเกณฑ์การจ่ายงานค่าตอบแทนแก่บุคลากร
ทกุ ระดบั เพ่ือแกป้ ัญหาภาวะขาดแคลนบคุ ลากรวิชาชีพของหน่วยงาน ส�ำนกั การพยาบาลจงึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะท�ำงาน
เฉพาะกิจเพ่ือหาข้อมูลเก่ียวกับค่าตอบแทนและสวัสดิการอื่นท่ีพยาบาลได้รับ และเสนอเข้าท่ีประชุมผู้บริหาร
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จนมีมติเห็นชอบให้เพ่ิมค่าตอบแทนและสวัสดิการปฏิบัติการพยาบาล
ใน 3 ประเด็น คือ
• เพม่ิ คา่ ตอบแทนในยามวิกาล (เวรบ่าย ดกึ )
• ค่าเบ้ยี เล้ียงเหมาจ่ายในถิ่นทุรกนั ดาร
• สวัสดกิ ารด้านความปลอดภัย ในการประกันชวี ติ /ประกนั อบุ ัตเิ หตุ
พ.ศ. 2540
v จากการประสบปัญหาภาวะเศษฐกิจของประเทศ ท�ำให้งบประมาณค่าตอบแทนท่ีกระทรวงสาธารณสุข
ได้รับลดลงท�ำให้โรงพยาบาลตา่ ง ๆ มีปัญหาในการจ่ายค่าตอบแทน กระทรวงสาธารณสุข จงึ ได้พิจารณาปรบั ลด
ค่าตอบแทนในเวรผลัดบ่ายดกึ ของพยาบาล
• พยาบาลวิชาชีพจากเดิม 200 บาท ลดเหลอื 170 บาท/เวร
• พยาบาลเทคนคิ จากเดิม 150 บาท ลดเหลอื 130 บาท/เวร
• เจา้ หนา้ ทพี่ ยาบาลจากเดมิ 120 บาท ลดเหลอื 100 บาท/เวร

พัฒนาคพวฒั านมากคา ววาหมนก้าาวใหนนตา้ ำใแนหตำ�นแง หหนน่งาหทนข่ี้าทอ่ีขงอสงาสยางยางนานพพยยาาบบาาลล ((CCaarreeeer rLaLdaddedr)er)

กลุมท่ี 3 งานพยาบาลท่เี นน หนกั ทางวชิ าการพยาบาลโดยตรง ซง่ึ เปน งานที่
ตองการบคุ คลทมี่ คี วามรูและประสบการณส ูงเกย่ี วกับงานพยาบาล
กลุมที่ 2 งานพยาบาลทต่ี องปฏบิ ัตโิ ดยใชพ ยาบาลทีม่ ีความรู
ความสามารถสงู

กลมุ ที่ 1 งานพยาบาลข้นั พนื้ ฐานทไี่ มจ าํ เปน ตอ งใชเ ทคนคิ การพยาบาล
ข้นั สงู

พ.ศ. 2544

เ กพปร.็นะศทธ.จรร2ารว5มงกส4แvนา4ล โธะยจาเารบสกณามนสยอโุขยกภจบาาึงาครไยดสกแ้แราลตาระ่งสงตมรหั้งีก้าลคงาหณักรลจปะักัดกรปสระรรรกะมรกันงกบันาสรสปุขพุขรภภิจะาามารพพาณถณถ้วาใวนขหน้อหมบนห่ภัง้านาคขยาับอใขงตรวอ้ัฐ่างพบดรื้าน้วัฐลยทบใเ่ีแหงาินล้ปละบรใจะ�ำห�ชรำุงนาปชวรกนนะาไปรชดจร้รา่ะาับชยชบนเารงกไินิกดราทรรคท่ีรับ่าับ่ีมตบีคอผรุณิบดิกชแภาทอารบพนที่มี
คุณภาพทเป่ีถอื นปธฏริบรัตมใิ นแคลณะะเสน้นัมใอหภ้ยกาเคลกิ แทลั้งหะมมดีกแาลระจกัดอสงกรารรงพบยปาบราะลมไดาเ้ณปน็ใหสว่มนภหานย่ึงใในตก าพรตื้น่อทสีู้จ่แนลสะาจมำารนถวไดน้รปบั รกะารชเพากิ่มรที่
รับผิดชอคบ่าตกอรบะแททรนวกงาสราปธฏาิบรัตณิกาสรุขพจยึงาไบดาแลใตนงยตาั้มงควิกณาละก(เรวรรมบก่ายารดพึกิจ) าใรหณ้กลาับขคอืนบมังาคเทับ่าเดวิมาแดลวะยเพเง่ิมินคบ่าตำอรบุงแกทานรปจฏาิบยัตเิ งิน
สคาามตาอรบถแไเงหดทามนรนาบัเปจกทา่็นายี่ถเรวอือเรีกพปหด่มิรว้ฏือยคิบผา ัตลตักิใอนดบันคแใณหท้พะนยนกาัา้นบรใาปหลฏวยิชบิกาัตเชลิกีพิกาททรี่ปพั้งฏยหิบามัตบดิงาาลนแใใลนนะสยกถาอามนงวีกอิกนาาารลมพัย(ยเใวานรบพบื้านา ลทยไ่ีทดดุรเกึกปัน)นดใาสหรวก ในหล้ไหบั ดคน้รนืับึ่งใคมน่าาเกเบทาี้ยารงเตเดลอิมี้ยสแงูจลนะ
เพิ่มคา3ต4อบแทนปฏิบัติงานเปนเวรหรือผลักดันใหพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานีอนามัยในพื้นท่ี
ทรุ กันดารใหไดรบั คา เบี้ยงเล้ยี งเหมาจายอีกดวย

พ.ศ. 2522
v ปรับปรุงสายงานพยาบาล ให้ครอบคลุมต�ำแหน่งท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพยาบาลทุกประเภท
โดยพจิ ารณาจากลักษณะหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ ซึ่งจำ� แนกได้ 3 กลมุ่
v ปรบั ปรุงสายงานชว่ ยพยาบาล ซึ่งเป็นลักษณะงานในกลุ่มที่ 1 โดยเปลี่ยนชอื่ สายงานผชู้ ว่ ยพยาบาล
“เจ้าหน้าท่ีพยาบาล” และเมื่อผ่านหลักสูตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดแล้วสามารถขอก�ำหนดต�ำแหน่ง
เป็นพยาบาลตอ่ ไปได้
v ปรับปรุงเกณฑ์การก�ำหนดต�ำแหน่ง เก่ียวกับการพยาบาล ก�ำหนดแนวทางของพยาบาลไว้
ตามประเภทของงาน โดยให้พยาบาลมีโอกาสเล่ือนต�ำแหน่งสูงข้ึนกว่าเดิมตามความสามารถในงานบริการพยาบาล
งานพยาบาลเฉพาะด้าน
พ.ศ. 2530
v ก.พ. มีการปรับปรุงสายงานการพยาบาล และกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดจ�ำนวนเตียงในหอผู้ป่วยใหม่
จากเดิม หอผู้ป่วย 1 หอ เท่ากับ 25 เตียง เป็น หอผู้ป่วย 1 หอ เท่ากับ 30 เตียง และก�ำหนดให้มีต�ำแหน่ง
ทางวชิ าการในตำ� แหนง่ เกี่ยกบั การพยาบาลซึ่งตอ้ งใช้วชิ าชีพประเภทหนึ่ง
พ.ศ. 2531
v ปรับปรงุ เกณฑ์การกำ� หนดต�ำแหน่งใหเ้ หมาะสมกับสภาพการทำ� งาน โดยยดึ ถือตามภาระหน้าท่ขี อง
ต�ำแหน่งที่ปฏิบัติ ซ่ึง อ.ก.พ. วิสามัญ คณะท่ี 3 พิจารณาและอนุมัติให้ใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาก�ำหนด
ต�ำแหนง่ สายงานที่เกี่ยวกบั การพยาบาลได้ ตั้งแต่วนั ท่ี 7 มิถุนายน 2531 โดยผลกั ดนั ความก้าวหนา้ ของพยาบาล
วิชาชพี อาวุโส พยาบาลเทคนคิ อาวุโส เจา้ หนา้ ทพี่ ยาบาลอาวโุ สให้มีความกา้ วหนา้ มากข้ึน โดยใชฐ้ านเปรยี บเทยี บ
กับอัตราส่วนพยาบาลในต�ำแหน่งเดียวกัน/คิดเทียบจ�ำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ/คิดจากจ�ำนวนหอผู้ป่วย
และจ�ำนวนเตียงในแต่ละหอผู้ป่วยมาเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดความก้าวหน้าของทีมพยาบาลในหอผู้ป่วยนอก
งานหอผู้ป่วยใน งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน งานห้องผ่าตัด งานวิสัญญีพยาบาล งานห้องคลอด งานผู้ป่วยหนัก ฯลฯ
รวมถงึ ตำ� แหน่งหวั หน้าพยาบาล

35

พ.ศ. 2538
v แต่งตั้งคณะท�ำงานขึ้นเพ่ือพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาเกณฑ์ก�ำหนดต�ำแหน่งใหม่ ซ่ึงประกอบด้วย
หลักเกณฑค์ ือ
• กำ� หนดจำ� นวนทีมบริการ
• ก�ำหนดขนาดหอผปู้ ว่ ย
• พจิ ารณาตามแนวทางการกำ� หนดตำ� แหนง่ งานของสายงานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
• พจิ ารณาตามขอบเขตหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบของหน่วยงาน
• คณุ ภาพของงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบของต�ำแหน่ง
การจัดตัง้ สภาการพยาบาล
พ.ศ. 2521
v กองการพยาบาลโดยนางสาวละม่อม ศรีจันทราพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการกองการพยาบาล เป็นประธาน
ร่วมกับสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ ยกร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อจัดตั้ง
สภาการพยาบาล และไดป้ ระกาศลงในราชกจิ จานุเบกษา ก�ำหนดใหม้ ีสภาการพยาบาล พ.ศ. 2528

ดา้ นการพฒั นาคุณภาพ

การพฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาลในชุมชน
พ.ศ. 2524
v ริเร่ิมโครงการพัฒนาโรงพยาบาลอ�ำเภอ (โรงพยาบาลชุมชน) เพ่ือจัดระบบการให้บริการพยาบาล
ในโรงพยาบาลอ�ำเภอให้มีประสิทธิภาพ โดยน�ำวิธีการของการก�ำหนดรูปแบบระบบการท�ำงานและพัฒนาบุคลากร
ปรับปรุงคุณภาพบริการพยาบาลให้ดีขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเปิดโรงพยาบาลอ�ำเภอแห่งใหม่ โดยคัดเลือก
ตัวแทนท่ีเข้าอบรมและจัดทีมสนับสนุนจากสหวิชาชีพในระดับกระทรวง และมีนักวิชาการพยาบาลเป็นแกนหลัก
และได้ร่วมเปน็ ทีมสนบั สนนุ การพฒั นาสถานีอนามัยทง้ั ประเทศในเวลาตอ่ มา

36

 เริ่มตนโครงการพัฒนาการบริการพยาบาลของโรงพยาบาลศูนยและโรงพยาบาลทั่วไป โดยจัดทีม
นักวิชาการพยาบาลไปพัฒนาโรงพยาบาลที่มีความพรอมและสนใจ และจัดตั้งทีมแกนนำในการบริการ
พAพgยัฒน eาักนnบวาtาิช)ใลานใกในโหารแรมกvพงตพคีพา. ศลยรวยเ.ะพาราา2บิ่จมมัฒบ5ังตาสาน2หล้นาล6าไวมโปทคคัดาพุณัร่วรตงัฒไถภกปอในาานมพารโการโพบรไางัฒดรงรพิกพพสนยายรัฒาาราากพบนบงาคายาารลวาโลบรบาชทรงมาุิมก่ีมพเลาีชคขยใรวนมนาพาภแบโมยรขาาาพงยลง็บพรขใศา้อยนอลูนมาเงขยขแบเอคแลตางรมะลโือซสขรขึนง่งาพถาใยจยืยอแคาวแบลุณาละาเภปะลไจาดศนพัดดูนตตำยนเ้ังเป์แนแทนลบินีมะผแกบโูน กราขำงนรอกพสนงายน�ำรา“ใับเนบโปสคกาลนลารี่ยุนรทงนบกก่ัวแราไาปิกปรรพาขลโรยงัฒดพาย(นยCยจาาผhัดบรลaทะาnกีมลบgาบeร
บรใหกิ ้มารีคขวอามงสถามานารบถรใกินากราแรลสะร้าหงนคว ยามงาเขน้มสแาขธ็งาขรอณงสเคขุ รใือนขส่าวยนคภุณูมภิภาาพค เ(ปพ็นบผสู้น.)�ำ”การเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
ในแต่ลพะจ.ศัง.ห2ว5ัด31ต่อมาได้พัฒนาโรงพยาบาลศูนย์แม่ข่าย และได้ด�ำเนินการสนับสนุนการขยายผลการพัฒนา
ในโรงพยาบราิเลรทิ่มั่วพไัฒปนโารง“พรยะาบบบาบลรชิกุมาชรนใหภาคยำใปนรเึกขษตาซด่ึงาถนือสวุข่าภเปาพ็นตอ้นนแามบัยบ”ขอแงกผ“ูปโควรยงนกอากรพแัฒละนผาูประวบยทบี่พบรักิกราักรษา
คในำ ข โปอรรงงสึกพถษยาาานดบบพvาารน. ลศิกสรศ.าิเุขูรน2รแภ5ิ่มยล3พา ะโ1พัฒรหองนนพนาว่ ยายม“างบราัยนะาใบนสลาบรทธะบั่วาบรไรปิกบณาเสโรคดุขใรหยใือน้คจขส�ำัดา่วปกยนราอภึกรีกมูษอทิภาบดาั้งรคผ้ามนลแ(พสักลุขบดะภสันทา.ใ)ำพ”หคอเูมกนือิดาปมงาัยฏน”ิบกัตแาิงกรา่ผบนู้ปริสก่วยรานรางใอหรกูปคแแำลปบะรผบึกู้ปในษ่วยกาทดารี่พาบนักรสริกักุขาษภราาใพห
อนในาโมรัยงพแผยานบกาผลูปศวูนยยน์ โอรกงขพอยงาบราพลศท.่ัว/ไรปพทโด. ยทจุกัดแกหารงอแบลระมตแอละมทา�ไำดคทู่มือำมปาฏติบรัตฐิงาานนกสารร้บางรริกูปาแรบใบหใคนำกปารรึกบษริกาาดราน
สุขใหภ้คาพ�ำปอรนึกาษมายั ดเ้าพนื่อสใุขหภพ ายพาอบนาาลมผัยปู ใฏนบิระัตบมิ บแี เนควรทือาขง่าปยฏอีกิบทตั ้ังิ ผาลนักอดยันา งใหม้เีคกณุ ิดงภาานพกไาดรมบารติกราฐราในหจ้คน�ำปถรึงึกปษจาจดุบ้าันนสุขภาพ
อนามัยพแผ.ศน.ก2ผ5ู้ป3่ว8ยนอกของ รพศ./รพท. ทุกแห่ง และต่อมาได้ท�ำมาตรฐานการบริการให้ค�ำปรึกษาด้านสุขภาพ
เโนร อเงืน่อพน่อืงายงจมาจายับากเกาพไไลือ่ดดพvอใ้ยยด. หำศกกำนด้พ.ฐเฐ�ำา2ยนาเาจ5านนินนเบ3ะิจนก8ะาเรกาปลเิญราป็นผสรูป้โนสแรนฏโงนลับรบิพัะบสงัตยโสพนรมิานงบุนยีแุนพานากกลยบวาาปาทรารบรพาลพะงาัฒปัจฒปลำ�รนฏหนจะิบานางั จคตัคหอำุณิงุณวงจาบดั ภภนังวั 3าอาหลพพยแวำ่าใใหัภดนงน่งมู โโค3รคีรืองงณุ แพพโภหรยยางางาพพบคบยไาือดาาลล้มบชโชาารุมตลุมงชรสชพนฐมนายทเนทดาี่ไจด็จี่ไบดนพ้ยายถกรลกึงะรสปยระมัจุพะดจเดับรดุบาับเ็จชปันเสพป็นรนโระระโแงรยพกงุพ้วยพโารยรบางาพชาบลสยาทารลบั่วะทไาแั่วปลกไปว
อำ� นาจเพจ.รศิญ. 2แ5ล4ะ1โรงพยาบาลหนองบวั ลำ� ภู
พด.ศำ.เ2น5ิน4ก1ารในดานพัฒนาคุณภาพทางเทคนิคบริการและวิชาการพยาบาล ตลอดจน ตรวจสอบ
แล ะควบคุมvค ุณดภ�ำเานพินกกาารรพในยดาบ้านาพลขัฒอนงาสคถุณาภนาบพรทิกาางรเทโดคยนปิคบระรสิกาานรแคลวะาวมิชราวกมากรับพผยาูปบฏาิบลัตติงาลนอใดนจพนื้นตทรี่แวตจลสะอเบขต
บตเพอรแแพเืพ่อิกเลลยน่ือใาะะาห่อืใรเบคหปงพขวาแ้ข็นยยลบลยกาาคะาาบยแุมยรเลขปาพขคะลอนอฒัุณกบบกแนาภเาเลราขขารบทะพตตพรก่ยีกกกัฒิห่ังาาาายารนรรรนืรบพาพพกใรัฒทนยาัฒิหี่ยรานทานั่งพบากุ รยคายาพกืนคลุณา้นืาใบขุณรภทนาอพา่จีภทลงพนยตุกาสใถาพาพถหบงึมาในื้้ปกามหนทลัจลาบกุ่มจีจ่ตตรลุบงนราิกาุมนัฐมถนาางงึมรกนาปาานทจตโรดก่ีกจพรยอาุบฐยปรงาันากพนรบาะทยารสลาี่กพาไบอยดนางา้มคลกบีกวไาาาาดรลรมพมกตรยี�กำร่วหะาามหบนรกนตาดับลักรสผกะตาู้ปมห่ืนำฏหาตนริบนัวักถแัตดตดลิงส�ำื่นะาาเนพตนมใัฒัินวานแไรนพดถลา้อื้นดะรยทะำพ่าบเ่ีแัฒนงบตตินนบ่ล่อไาระเดนริกเอขะ่ือายตรบงาบง
ดานการประกันคณุ ภาพ
หน หด นว้ายน่วยงกงาาาพนรน.ภปศภvพา.ารร. คศค2ะิเรร.รร5กิเัฐัฐ2ิ่ม3รนั ห5หิ่ม5แค3นนแล5ณุ่วลวะยะยพภงพงาาัฒานัฒพนนแนรแาากตรตทกัวัวี่เทแผแบยี่เบผแบบยพกกแราา่แพรรนรคควแววคนบบิดวคคคคุมุุณมิดคคภคุณุณาุณพภภกภาาาพาพรพกพกากยาราารพบรพยาพยลายาบาบแาบลาลาะลใลตนในิดโแรสโลรงินพงะกพตยารยิาดรบาสับบาินรลาอกแลงาลคแระุณลรใะับภนใารชนพอุมชกงชุมาคนรชุณพนซภย่ึงาาซเบพึป่งาเก็นลปานร
พยโดายบกาำ�ลหโนดดยเปกน็ำห5นอดงเปคป์น ร๕ะกอองบคคปือระกอบ คอื

1. ควบคมุ คุณภาพ 2. กาํ หนดมาตรฐาน 3. การวัดและการ 4. การตัดสนิ และการ 5. การสนบั สนุนและ
การพยาบาล การพยาบาล ประเมนิ คณุ ภาพการ รับรองคุณภาพ การพัฒนา
พยาบาล

พ.ศvพ.. ศ2ท.5บ245ท24ว2นแก้ไขและปรับปรุงมาตรฐานการพยาบาลให้สอดคล้องกับกระบวนการด�ำเนินตามรูปแบบ

ของ Hospital Accreditation

37

พ.ศ. 2543
v พัฒนาแก้ไขและปรับปรุงมาตรฐานการพยาบาลตามแนวทางของ Joint Commission on
Accreditation of Healthcare Organizations (JCAHO) โดยจัดพิมพ์และเผยแพร่เป็นเอกสาร “การประกัน
คณุ ภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล” ในปี 2544 ซง่ึ ครอบคลุมเนอื้ หาสาระงานบรกิ ารพยาบาล 9 งาน

ดา้ นการพัฒนานวัตกรรมองค์ความรู้

พฒั นามาตรฐานการพยาบาล
พ.ศ. 2522
v จัดท�ำมาตรฐานขั้นต้นด้านโครงสร้างของระบบบริการพยาบาลจ�ำนวน 9 งาน เพ่ือพัฒนาวิเคราะห์
งาน ประกอบการพฒั นาระบบบริการพยาบาล รพศ./รพท./รพช. และสอ.
พ.ศ. 2528
v เผยแพร่แนวคิดเกี่ยวกับมาตรฐานการพยาบาลและตรวจสอบคุณภาพการพยาบาลให้กับสถานบริการ
ท่ัวประเทศ และให้การสนับสนุนติดตามพัฒนาระบบบริการพยาบาลตามมาตรฐานของสถานบริการสาธารณสุข
ท่เี ป็นแมข่ า่ ยโครงการ พบส.
พ.ศ. 2534
v ร่วมกันก�ำหนดมาตรฐานการพยาบาลโดยสร้างความชัดเจนในบริบทของ “การพยาบาล”
ว่าหมายถึง “การดูแลสุขภาพคนท้ังคน” และได้จัดท�ำเป็นมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาลและมาตรฐาน
การพยาบาลในชุมชน และต่อมาได้ท�ำการจัดเพิมพ์และเผยแพร่ไปยังสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับในปี
พ.ศ. 2535 – 2536
พ.ศ. 2541
v ริเริ่มพัฒนาเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับประเทศ โดยจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่าย
พัฒนาคุณภาพการพยาบาล เพื่อขับเคลื่อนนโยบายทางการพยาบาลสู่การปฏิบัติให้ครอบคลุมในทุกเขตสุภาพ
องค์ประกอบของคณะกรรมการมาจากผู้บรริหารการพยาบาลระดับ รพศ./รพท./รพช. และผู้รับผิดชอบงาน
พัฒนาคุณภาพการพยาบาลของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจังหวัด โดยมอบหมายให้มีนักวิชาการ
พยาบาลเปน็ ผนู้ ิเทศการพยาบาลประจ�ำเขต ๆ ละ 1 คน

38

v ทบทวนและปรับปรุงแก้ไข มาตรฐานการพยาบาลและมาตรฐานในชุมชน ให้สอดคล้องกับ
กระบวนการ Hospital Accreditation ตามมาตรฐานในโรงพยาบาล ฉบับปีกาญจนาภเิ ษก พ.ศ. 2538 โดยจดั ทำ�
เป็นมาตรฐานระดับสถาบัน เพื่อเป็นแนวทางในการน�ำไปก�ำหนดเป็นมาตรฐานระดับหน่วยงาน ซึ่งได้จัดพิมพ์
และเผยแพร่มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาลและมาตรฐานพยาบาลชุมชนฉบับปรับปรุงแก้ไข ครั้งที่ 2
ในปี พ.ศ. 2542 – 2544

โครโงคสรรงสา งรเ้านงเอื้ นหอ้ื าหขาอขงอมงมาตาตรรฐฐาานนปปรระะกกออบบดดว้ว ยยโโคครรงงสสรรา้ างงหหลลกั ัก33สว่ สนวนดงั ดนังี้ น้ี

สว นท่ี 1 สว นท่ี 2 สว นที่ 3
มาตรฐานการบริการพยาบาล มาตรฐานการปฏบิ ตั กิ าร เกณฑชีว้ ดั คุณภาพ

พยาบาล

พัฒนางานปอ้ งกนั และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
พัฒ นางานปพอง.ศก.ัน2แ53ล0ะค–ว2บ5ค3มุ4การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล

พ.ศ.v2 5ม3งุ่ 0เน–้นก2า5รพ34ฒั นางาน พัฒนาระบบงาน ป้องกนั และควบคมุ การติดเชือ้ ในโรงพยาบาลให้มปี ระสิทธิภาพ
ประสานควมาุงมเรน่วมนมกือารระพหวัฒ่างนภาางคารนัฐ ชพมัฒรมนคาวรบะคบุมบกางราตนิดเปช้ืออใงนกโรันงพแยลาะบคาวลบแหค่งุมปกระาเรทตศิดไทเยชภื้อาใคนเอโรกงชพนทยี่เากบ่ียวาขล้อใงหมี
ภปารคะชแ เสลมุอิทะชกสนธชนพิภ”นับ.าทศจสพี่เัด.พvกนอ2.ป่ยีุน ศบ5วเกร.ร3รขาะ2่งม5รอสร5พกงดั3า-ยอ่ขน5แ2าตยลคบ5-งั้าะว3า2ย“สาล95ผชนมค3ลมวรบั9กรบวสามมครนพพุมมุนยกัฒือกาารบนาระราาตกหลิดโอคดวเชตวยาือ้บมงั้งใภคงุ่ “นเมุานชโคกรม้นงารรคพรัฐมุณตยพิดชาภยบเมาชาาพรอ้ืบลมกใาขนาคลอรโวครงดบโงวำ�รพคบเงนยุมคพินาุมกยบงากาาาบรานลรตาเแพตลิดหชดิอ่ื เง่ มุชขเปชชืย้อรอ้ื นาใะใยนขเนทผนโโรลศรางกไดงทพพา3รยยยพ0”าาฒับบเตานาลยีลางแสแหู่หข“งน้ึโงปรไปงปรรพะเะพยเทเาื่อทศบเปศไาท็นไลทย”ย
แกนน�ำการเพรัฒงรนัดาใขนยเคารยอื ผขลา่ ยกาพรบพส.ัฒในนราะดโบัดอย�ำมเภุงอเแนลนะคเปุณน็ จภุดาเรพ่มิ กตาน้ รขดอำงกเนารินขยงาายนผเลพสื่อ่สู ถขายนาอี ยนผามลัยการพัฒนาสู
“โร งพยาบาลพช.ศุม.ช2น53”8จัดอบรมพยาบาลควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลของโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30
เตีย ง ขึ้นไปเพvื่อ เผปลนักแดกันนในหำ้มกีกาารรพจัฒัดตน้ังาคใณนเะคกรรือรขมากยารพอบ�ำสน.วใยนกราะรดพับัฒอนำาเภงาอนแคลวะบเปคนุมจกุดารเรติ่มิดตเชน้ือขใอนงโกรางรพขยยาาบยาผลลสู
สถากในนาอีรรปะนดรพาะับม.สศสัยา.่วน2นค5กว3ลา8ามงร่วซมึ่งมคอื ณอะยก่างรเรปมน็ กราปู รธปรรระมกทอั้งบเดช้ิงวนยโยผบู้บารยิหแาลระกงรบมป/รกะอมงาจณากทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ส่งให้เกิด

 ผลักดันใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการอำนวยการพัฒนางานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลใน
ระดับสวนกลาง ซึ่งคณะกรรมการประกอบดวย ผูบริหารกรม/กองจากทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ สงใหเกิดการ
ประสานความรวมมอื อยางเปน รปู ธรรม ท้ังเชงิ นโยบายและงบประมาณ

ผลงานชวงที่ 2 สำนักการพยาบาล กรมการแพทย (พ.ศ. 2545-2551)

ในป พ.ศ. 2545 รัฐบาลไดปฏิรูประบบราชการครั้งใหญ มีการยุบรวมสวนราชการที่มีภารกิจซ้ำซอน
ปรับโครงสรางและจัดกลุมภารกิจของสวนราชการการใหสอดคลองกับภารกิจหลัก กองการพยาบาลไดรับการ
ยกฐานะเปน “สำนักการพยาบาล” และใหไปสังกัดกรมการแพทยตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
พ.ศ. 2545 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 กำหนดใหมีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับ
การศึกษา วิจัย พัฒนา และถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีทางการพยาบาล กำหนดและพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานทางวิชาการของสถานบริการสุขภาพทุกระดับทั้งภาครัฐและเอกชน ประสานในการเพ่ิมพูนทัก3ษ9ะ
การปฏิบัติงานดานการพยาบาลและปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นท่ี

ผลงานช่วงที่ 2 สำ� นกั การพยาบาล กรมการแพทย์ (พ.ศ. 2545-2551)

ในปี พ.ศ. 2545 รัฐบาลได้ปฏิรูประบบราชการคร้ังใหญ่ มีการยุบรวมส่วนราชการท่ีมีภารกิจซ้�ำซ้อน
ปรับโครงสร้างและจัดกลุ่มภารกิจของส่วนราชการการให้สอดคล้องกับภารกิจหลัก กองการพยาบาลได้รับ
การยกฐานะเปน็ “สำ� นักการพยาบาล” และใหไ้ ปสังกดั กรมการแพทย์ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
พ.ศ. 2545 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันท่ี 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ก�ำหนดให้มีอ�ำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ
การศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางการพยาบาล ก�ำหนดและพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานทางวิชาการของสถานบริการสุขภาพทุกระดับทั้งภาครัฐและเอกชน ประสานในการเพ่ิมพูนทักษะ
การปฏิบัติงานด้านการพยาบาลและปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง
หรือทไี่ ด้รบั มอบหมาย
ดังนั้นในช่วงท่ีสังกัดกรมการแพทย์ ส�ำนักการพยาบาลจึงได้มุ่งเน้นการด�ำเนินการศึกษาวิจัยและ
ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี รวมท้งั พัฒนารปู แบบการพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาล โดยมีผลงานเด่นสรุปได้
ดังน้ี

ด้านการพฒั นาคุณภาพ

พ.ศ. 2546
v รเิ ริ่มการพัฒนาระบบประเมนิ คณุ ภาพการพยาบาลภายนอก โดนใช้กรอบแนวคดิ ของระบบคณุ ภาพ
ในถาพใหญ่และบูรณาการมาตรฐานการพยาบาลจากทุก ๆ สถาบันเข้าด้วยกัน เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา
คุณภาพบริการพยาบาลอย่างต่อเน่ืองของทุก ๆ หน่วยงานบริการพยาบาลภายในกลุ่มการพยาบาล ส่งผลให้
โรงพยาบาล/ สถาบัน/ สถานบริการสุขภาพทกุ ระดับ ผ่านการรบั รองคณุ ภาพบรกิ ารในระบบคณุ ภาพทกุ ๆ ระบบ
พ.ศ. 2549
v พัฒนาระบบ Benchmarking คุณภาพการพยาบาล โดยพัฒนา Center of Excellence
ด้านศูนย์การเทียบเคียงคุณภาพการพยาบาลระดับประเทศ เป็นการกระตุ้นให้สถานบริการสุขภาพทุกระดับ
เกดิ การพฒั นาบริการพยาบาลแบบกา้ วกระโดด สร้าง Nursing Best Practices อยา่ งกว้างขวาง

40

v รางวัลคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลที่เป็นเลิศ (Nursing Quality Award: NQA) ส่งเสริม
สนับสนุนการพัฒนาและค้นหา Nursing Best Practices เพ่ือน�ำไปสู่การเผยแพร่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ในวงกว้าง
พร้อมทัง้ ตั้งรางวลั Nursing Quality Award (NQA) เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจ และขวญั กำ� ลงั ใจแก่พยาบาล
ที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพ ได้สร้างหลักสูตรอบรมผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล
ท่ีเปน็ เลศิ และแตง่ ต้งั ใหท้ �ำหนา้ ท่ีผู้ตรวจประเมินรางวัล NQA ของกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2550
v ปรับปรุงมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล โดยใช้กรอบแนวคิดของ 1) เกณฑ์คุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2550 2) มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับฉลองสิริราชสมบัติครบ
60 ปี พ.ศ. 2549 ซึ่งกำ� หนดโดยสถาบันพฒั นาและรบั รองคณุ ภาพโรงพยาบาล 3) มาตรฐานบรกิ ารการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ระดับทุติยภูมิและระดับตติยภูมิ พ.ศ.2548 ซ่ึงก�ำหนดโดยสภาการพยาบาล 4) กระบวนการ
พยาบาล และ 5) การพยาบาลแบบองคร์ วม เพือ่ บูรณาการแนวคดิ ตา่ ง ๆ ให้เอ้ือกับการปฏบิ ัติงานบริการพยาบาล
ในสถานบริการสขุ ภาพทุกระดับของประเทศ
พ.ศ. 2551
v จัดท�ำยุทธศาสตร์บริการพยาบาลระดับประเทศ พ.ศ. 2551-2555 โดยก�ำหนดทิศทาง และความ
ก้าวหน้าการพฒั นาคุณภาพการพยาบาล เพ่อื ประโยชนข์ องประชาชนของประเทศไทยได้รบั บรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพ

ดา้ นการศกึ ษา วจิ ัย พฒั นาและถา่ ยทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยที างการพยาบาล

ในชว่ งปี พ.ศ.2545-2551 ส�ำนกั การพยาบาล ผลิตผลงานวิชาการทีค่ รอบคลุมทัง้ ระดบั ปฐมภูมิ ทุตยิ ภูมิ
และตติยภูมิ ได้แก่ งานวิจัย มาตรฐานการพยาบาล การพัฒนาแนวทางบริการพยาบาลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง
และถ่ายทอดองค์ความรู้โดยการจัดประชุม/
สัมมนาวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิชาการ
โดยจัดท�ำเอกสารหนังสือให้กับผู้บริหารทาง
การพยาบาล และผู้ปฏิบัติการพยาบาล และ
ทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่เก่ียวข้องของ
โรงพยาบาลทุกระดับท่ัวประเทศ และเผยแพร่
ผลงานวิชาการต่างๆ ลงเว็บไซด์ของส�ำนัก
การพยาบาลดว้ ย

41

รายงานวิจยั ได้แก่
v การศึกษาพลงั อำ� นาจในการจัดการกบั การเจบ็ ป่วยของกลุม่ ผ้ปู ่วยเร้อื รังในบรบิ ทสงั คมไทย
v การศกึ ษารูปแบบหนว่ ยงานสาธิตทางการพยาบาลโดยใชก้ ระบวนการพยาบาล: งานหอผู้ป่วยใน
v การศึกษาบทบาทวิชาชีพพยาบาลในการควบคมุ การบริโภคยาสบู
v การศึกษาเวลามาตรฐานตามเกณฑก์ ารจ�ำแนกประเภทผูป้ ่วย
v การวจิ ยั การศึกษาคุณลักษณะผนู้ ำ� ทางการพยาบาลทพ่ี ึงประสงค์
v การศึกษาการประเมินเทคโนโลยีทางการพยาบาล การกระจาย การใช้ และการเข้าถึงมาตรฐาน
การพยาบาลในโรงพยาบาล
v การศึกษาการมีสว่ นรว่ มของพยาบาลวชิ าชีพในการดำ� เนนิ งานพฒั นาคุณภาพบริการพยาบาล
v การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผ้ปู ว่ ยโรคหัวใจ
v งานวิจัยและพัฒนาคุณภาพการพยาบาลที่เป็นเลิศด้านการป้องกันและควบคุมการติดเช้ือ
ในโรงพยาบาลของศูนยโ์ รคหวั ใจตตยิ ภมู ิ
v การวิจัยระบบบรหิ ารงานบริการท่พี งึ ประสงค์
มาตรฐาน/แนวทาง/ค่มู ือ ไดแ้ ก่
v แนวทางการจดั บริการพยาบาลระดับปฐมภมู ิ
v คูม่ ือการใชง้ านโปรแกรมระบบฐานขอ้ มลู ด้านการพยาบาล
v การดแู ลรักษาผตู้ ิดเชอ้ื เอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์
v แนวทางการบรหิ ารจดั การทางการพยาบาลเพือ่ ดแู ลผู้ป่วย SARS
v บทบาทหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบของเจา้ หนา้ ท่ีทางการพยาบาลทปี่ ฏิบตั ิการพยาบาลในโรงพยาบาล
v บทบาทหนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบของเจา้ หนา้ ทที่ างการพยาบาลทีป่ ฏิบัตกิ ารพยาบาลในชมุ ชน
v แนวทางการกำ� หนดรหัส มาตรฐานการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล ICNP
42

v การปอ้ งกนั การติดเชอื้ จากการให้บริการสุขภาพ
v แนวทางการพยาบาลผปู้ ว่ ยติดเชือ้ ไขห้ วดั นก
v หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดบริการตามมาตรฐานบริการพยาบาลส�ำหรับศูนย์ตติยภูมิเฉพาะทาง
โรคมะเร็ง
v หลักเกณฑแ์ ละแนวทางการจดั บรกิ ารตามมาตรฐานบริการพยาบาลสำ� หรบั Trauma Center
v การจำ� แนกประเภทผู้ปว่ ยงานบริการพยาบาลผปู้ ว่ ยใน
v มาตรฐานการบริการพยาบาลศนู ยต์ ตยิ ภูมิเฉพาะทางศูนย์อบุ ัตเิ หตุ
v มาตรฐานบรกิ ารพยาบาลศนู ย์ตตยิ ภมู เิ ฉพาะทางศนู ย์โรคหัวใจ
v แนวทางการเฝา้ ระวงั การติดเช้อื ในโรงพยาบาล
v หน้าที่รับผิดชอบหลักและสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
และผู้ปว่ ยโรคเอดส์
v หน้าท่ีรับผิดชอบหลกั และสมรรถนะวิสญั ญพี ยาบาล
v ความรู้ ทกั ษะ และตัวชี้วดั เฉพาะงานการพยาบาลใน 5 จงั หวดั ชายแดนใต้
เอกสารวชิ าการอนื่ ๆ ไดแ้ ก่
v รายงานผลการประเมินคุณภาพการพยาบาลของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ประจ�ำปงี บประมาณ 2550
v รายงานผลการประเมินคุณภาพการพยาบาลของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ประจำ� ปีงบประมาณ 2551
v หนงั สือการพฒั นาคุณภาพบริการพยาบาล เพอ่ื ความคมุ้ คา่ คุม้ ทนุ

43

ผลงานชว่ งที่ 3 ส�ำนกั การพยาบาล ส�ำนกั งานปลดั กระทรวง (พ.ศ. 2552-2559)

ในปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลได้อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 8 ฉ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2534 ซึง่ แก้เพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2543
โดยเม่ือ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552 สมัยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายวิทยา แก้วภราดัย)
ได้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข โดยให้ยกเลิกกฎกระทรวง
แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข และก�ำหนดใหส้ �ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ มีภารกจิ
เกี่ยวกับการพัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติราชการ มีหน้าท่ีจัดสรรทรัพยากร
และบริหารราชการประจ�ำทั่วไปของกระทรวง เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข
ส่งผลให้ส�ำนักการพยาบาลได้ย้ายกลับมาสังกัดสำ� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา
ณ วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เล่มที่ 126 ตอนที่ 98 ก หน้า 36 ข้อ 4 ดังน้ันในช่วงนี้ส�ำนักการพยาบาล
จึงกลับมาสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และด�ำเนินภารกิจด้านการพัฒนาระบบบริการพยาบาล
สู่ความเป็นเลิศในระดับประเทศ นอกจากน้ียังขยายขอบเขตการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานทางการพยาบาลไปสู่
การพยาบาลระดับปฐมภูมิเพ่ือให้ทัดเทียมกับการให้บริการการพยาบาลในโรงพยาบาล โดยมีผลงานสรุป
โดยสงั เขป ดงั น้ี
พ.ศ. 2552
v ปรับปรุงระบบและแนวทางการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายนอก โดยใช้กรอบแนวคิดของ
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพ่ือองค์กรท่ีเป็นเลิศ (Thailand Quality Award: TQA) และกรอบแนวคิดของ
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบรอบ 60 ปี (HA) ปรับเป็น
“แนวทางการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายนอกเพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศ” และได้เผยแพร่ สนับสนุนและ
เชญิ ชวนให้กลมุ่ การพยาบาลของสถานบริการสุขภาพทุกระดบั ขอรับการประเมนิ ไดโ้ ดยความสมัครใจ
พ.ศ. 2554
v ทบทวนระบบประกันคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล โดยมีเครื่องมือวัดและประเมินคุณภาพ
การพยาบาลภายในตามมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล พ.ศ. 2550 ส�ำนักการพยาบาล จงึ ได้จัดทำ� หนงั สือ
การประกนั คุณภาพการพยาบาล : การประเมนิ คุณภาพในงานการพยาบาล 1 ชดุ ซ่งึ มีจ�ำนวน 11 เลม่ ครบตาม
หน่วยงานการพยาบาล 11 งาน
พ.ศ. 2556
v ริเร่ิมพัฒนาแนวทางการจดั บรกิ ารพยาบาลเพอื่ การปฏิบตั กิ ารพยาบาลขน้ั สูง เพือ่ ให้องคก์ รพยาบาล
ทั้งผู้บริหารทางการพยาบาล พยาบาล และผูปฏิบัติการ พยาบาลข้ันสูง สามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางการจัด
บริการพยาบาลในองคก์ รพยาบาลได้
v พัฒนามาตรฐานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต โดยกองการพยาบาลร่วมมือกับกรมสุขภาพจิต
เพ่ือให้องค์กรพยาบาลสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบริการพยาบาลงานจิตเวชและสุขภาพจิต อันจะเป็น
ประโยชนต์ ่อการให้บรกิ ารประชาชนตอ่ ไป
v จัดท�ำหนังสือการพยาบาลที่บ้าน เพื่อให้พยาบาลท่ีปฏิบัติงานปฐมภูมิในสถาน บริการทุกระดับ
ใช้เปน็ แนวทางในการจดั บริการพยาบาลผปู้ ่วยท่บี ้าน และพัฒนาาบรกิ ารดูแลผู้ป่วยท่ีบ้านใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

44

พ.ศ. 2557
v พัฒนาเกณฑ์คุณภาพงานเย่ียมบ้าน เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินงานส�ำหรับทีมการพยาบาล
ทีป่ ฏิบัตงิ านดแู ลผ้ปู ว่ ยในพ้ืนท่ีนอกโรงพยาบาล (ทีบ่ า้ น) ทมี การพยาบาลสามารถน�ำเกณฑค์ ณุ ภาพงานเยยี่ มบา้ น
ไปใช้เป็นเกณฑ์ประเมินเพื่อหาจุดพัฒนา ให้เกิดความสมบูรณ์ของปัจจัย องค์ประกอบ กระบวนการด�ำเนินงาน
และผลลพั ธท์ ค่ี าดหวงั ให้บรรลุจากการให้ บรกิ ารพยาบาลทีบ่ ้านได้
พ.ศ. 2559
v ปรับปรุงมาตรฐานการพยาบาลในชุมชน เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์และความต้องการบริการ
พยาบาลที่เปลย่ี นแปลง ตอบสนองความตอ้ งการการดูแลของทกุ กลมุ่ วัย เพ่ือใหอ้ งค์กรพยาบาลของสถานบริการ
สุขภาพทุกระดับ ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาบริการพยาบาลให้มีมาตรฐาน ยกระดับคุณภาพบริการพยาบาล
ส่งผลต่อคณุ ภาพบริการพยาบาลทม่ี อบให้กบั ประชาชน และผูร้ บั บรกิ ารพยาบาล
v พัฒนาระบบบริการพยาบาลแบบประคับประคอง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบบริการ
พยาบาลแบบประคับประคอง โดยบูรณาการการด�ำเนินการดูแลประคับประคองให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
รวมถึงการพัฒนาการดูแลผูป้ ว่ ย ใหม้ คี ุณภาพอย่างย่งั ยนื เปา้ หมายเพอ่ื ให้ผ้ปู ว่ ยและครอบครวั มคี ุณภาพชวี ิตท่ีดี
v พัฒนาคู่มือการบริหารจัดการอัตราก�ำลังผู้ช่วยพยาบาล เพื่อใหองคกรพยาบาลสังกัดกระทรวง
สาธารณสขุ ใชเ้ ปน็ แนวทางการบรหิ ารจดั การอัตรากําลังผ้ชู ่วยพยาบาลในหน่วยงานของตน

ด้านการศกึ ษา วจิ ัย พัฒนาและถ่ายทอดองคค์ วามร้แู ละเทคโนโลยีทางการพยาบาล

รายงานวจิ ัย/มาตรฐาน/แนวทาง/คมู่ ือ ไดแ้ ก่
v การพฒั นาระบบบรกิ ารพยาบาลระดบั ปฐมภมู ิ โดยพัฒนาแนวทางการจัดบริการชมุ ชน
v พัฒนาแนวปฏบิ ัติการดแู ลสุขภาพทีบ่ า้ น ส�ำหรบั พยาบาล
v พฒั นารูปแบบการดูแลผปู้ ว่ ยดว้ ยระบบผจู้ ดั การรายกรณี
v การพฒั นาการพยาบาลศนู ย์อบุ ตั เิ หตฉุ ุกเฉนิ โดยใช้ระบบพ่เี ล้ียง
v พฒั นาแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล

45

v การพฒั นาหนว่ ยงานตน้ แบบ (หนว่ ยสาธิตทางการพยาบาล)
v ยุทธศาสตร์การบรกิ ารพยาบาลเพือ่ กา้ วสปู่ ระชาคมอาเซียน พ.ศ. 2556-2558
v คมู่ อื หลักสูตรอบรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา่ งด้าว (อสต.) ปีพุทธศักราช 2558
v คูม่ อื หลักสูตรอบรมพนักงานสาธารณสขุ ตา่ งดา้ ว (พสต.) ปพี ทุ ธศักราช 2558
v แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยภาวะเรือ้ รัง
v พัฒนามาตรฐานการพยาบาลตรวจรักษาพเิ ศษ

ผลงานช่วงที่ 4 กองการพยาบาล ส�ำนกั งานปลัดกระทรวง (พ.ศ. 2560 - ปจั จบุ ัน)

ในปี พ.ศ. 2560 จากราชกิจจานุเบกษา เม่อื วันท่ี 14 มถิ นุ ายน 2560 เร่ือง แบง่ สว่ นราชการสำ� นกั งาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2556 (ฉบับท่ี 2) และให้แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุข เป็นราชการบริหารส่วนกลาง และราชการบริหารส่วนภูมิภาค โดยจากส�ำนักการพยาบาล
เปน็ กองการพยาบาลส่วนราชการบรหิ ารส่วนกลาง ส�ำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ มกี ารปฏิรูประบบบรกิ าร
สุขภาพ พัฒนาคุณภาพการพยาบาลสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของระบบสุขภาพ อาทิ Service Plan
ระบบบริการปฐมภูมิ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ตลอดจนสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อ
กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 เพ่ือให้การพัฒนาบริการพยาบาลได้คุณภาพ ประชาชน
มีสภุ าพดี เจา้ หน้าที่มคี วามสขุ โดยมผี ลงานสรุปโดยสังเขป ดังนี้
พ.ศ. 2560
v ริเร่ิมจัดท�ำแนวทางการวางแผนสืบทอดต�ำแหน่งสายงานพยาบาลวิชาชีพ ตามหลักธรรมาภิบาล
เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนา สมรรถนะให้มีความพร้อมในการก้าวสู่ต�ำแหน่งระดับสูงต่อไป และใช้เป็นแผน
แม่บทของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการพยาบาล ให้สามารถบริหารจัดการบริการพยาบาล เพื่อรองรับ
การเปล่ียนแปลงไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

46

v ริเร่ิมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ส�ำหรับโรงพยาบาลชุมชนท่ียกฐานะเป็นโรงพยาบาลทั่วไป
เพ่ือให้ผู้บริหารทางการพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพใช้เป็น แนวทางในการจัดระบบบริการพยาบาลในการยกระดับ
โรงพยาบาลในแต่ละสถานบริการ บุคลากรพยาบาลมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยท่ีมีภาวะซับซ้อน เพื่อการเข้าถึง
บรกิ ารสุขภาพของประชาชนและตอบสนองปญั หาสุขภาพ ประชาชนปลอดภัยและมีคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี
v ปรับปรุงยุทธศาสตร์บริการพยาบาลระดับประเทศ พ.ศ. 2560-2564 เพื่อให้สอดคล้องกับ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เป้าหมายการพัฒนาท่ียังยืน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 เพอื่ ให้องคก์ รพยาบาลของสถานบริการสาธารณสขุ ทุกระดบั ใช้เปน็ กรอบแนวทาง
ในการพฒั นาคุณภาพบรกิ ารพยาบาล มงุ่ สเู่ ปา้ หมาย “การบริการ พยาบาลมีคณุ ภาพเป็นเลศิ บุคลากรมีความสขุ
บนวถิ แี ห่งการพัฒนาทีย่ ่งั ยนื เพือ่ สขุ ภาวะท่ดี ขี อง ประชาชน”
พ.ศ. 2561
v พัฒนาระบบบริการพยาบาล:
Service Plan โดยกองการพยาบาลจัดท�ำ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการพยาบาล:
Service Plan เพื่อให้บุคลากรพยาบาล
ทั้งผบู้ ริหาร ผู้ปฏบิ ัติ และผเู้ กย่ี วข้องกบั งาน
บริการพยาบาลน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการ
ประเมินระบบบริการพยาบาล ก�ำหนด
แผน ด�ำเนินงาน ติดตาม และประเมินผล
การพัฒนาระบบบริการพยาบาล: Service
Plan ในประเทศ

47

v จัดท�ำแนวทางการจัดบริการพยาบาลในคลินิกหมอครอบครัว เพื่อให้พยาบาลท่ีปฏิบัติงาน
ในทมี หมอครอบครวั สามารถจดั และพัฒนาระบบบรกิ ารพยาบาล ขับเคล่อื นการด�ำ เนนิ งานคลินิก หมอครอบครวั
ใหเ้ ป็นไปตามเปา้ หมายของกระทรวงสาธารณสขุ
พ.ศ. 2562
v ปรับปรุงการประเมนิ คณุ ภาพการพยาบาลภายนอกเพ่ือมุ่งสคู่ วามเป็นเลศิ โดยปรบั เกณฑแ์ ละเครื่องมือ
การประเมนิ คุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาลขึน้ ใหม่ ให้มคี วามทนั สมยั ทันการณ์ สอดคล้อง และเช่อื มโยงกับ
โครงสร้างของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์/ โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ที่มีการปรับเปล่ียนในปี พ.ศ. 2560 และก�ำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพการพยาบาลท่ีเฉพาะเจาะจงมากขึ้น
คือ งานป้องกันและควบคุมการติดเช้ือในโรงพยาบาล งานวิจัย และพัฒนาการพยาบาล รวมทั้งปรับระบบ
การให้คะแนนเป็นตวั เลขเชิงปริมาณ เป็นรายหมวด/หวั ข้อ และขอ้ กำ� หนด ตามล�ำดับ
v พัฒนาแนวทางการจัดบริการพยาบาลผู้ป่วยระยะกลาง เพื่อเป็นการสนับสนุนการ ด�ำเนินงาน
ของพยาบาลที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยระยะกลางในโรงพยาบาลชุมชน ให้สามารถปฏิบัติงานการพยาบาลให้เกิด
ความต่อเน่ือง น�ำไปสู่การพัฒนาบริการพยาบาล ในพื้นท่ีให้บรรลุเป้าหมายบริการพยาบาล คือ ประชาชน
ปลอดภัย ฟ้นื หาย ไมเ่ กิดภาวะทุพพลภาพ สามารถปฏบิ ัตชิ ีวิตประจ�ำวันได้และใช้ชีวติ อยู่ใน สงั คมรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้
อยา่ งมคี วามสขุ
v พัฒนาแนวทางการจัดบริการพยาบาลอาชีวอนามัย ในเขตพื้นที่เสี่ยงมลพิษส่ิงแวดล้อม เพื่อให้
พยาบาลที่เกี่ยวข้องสามารถน�ำ แนวทางการจัดบริการพยาบาลอาชีวอนามัยในเขตพื้นที่เสี่ยงมลพิษส่ิงแวดล้อม
ไปวางแผนและปฏิบัติการพยาบาลท่ีมีคุณภาพตอบสนองกับสถานการณ์ปัญหา ความต้องการการดูแลสุขภาพ
ของผู้ประกอบอาชีพและประชาชนผู้ท่ีได้รับผลกระทบ จากมลพิษส่ิงแวดล้อมให้มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี
ต่อไป
v พัฒนาหนังสือการประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริการพยาบาล
ตรวจรักษาพิเศษ เพ่ือให้ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงานบริการพยาบาลตรวจรักษาพิเศษ และพยาบาลที่รับผิดชอบงาน
คุณภาพการพยาบาล นําไปศึกษาควบคู่กับหนังสือมาตรฐานการ พยาบาลตรวจรักษาพิเศษ และใช้เป็นแนวทาง
ในการประเมิน พฒั นา และประกันคณุ ภาพการพยาบาล ภายในองค์กรของตน
พ.ศ. 2564
v พัฒนาคู่มือการบรหิ ารการพยาบาลในสถานการณก์ ารระบาดของโรค COID-19 เพ่ือใช้เป็นแนวทาง
ในการบริหารการพยาบาล โดยการบริหารจัดการ เตรียมความพร้อมในการรองรับสถานการณ์การระบาดของ
COVID-19 ทอ่ี าจเกิดข้ึนในโรงพยาบาล
v พฒั นาแนวทางการพัฒนาระบบบรกิ ารพยาบาล ส�ำหรับผู้รับบริการกัญชาทางการแพทย์ สนบั สนุน
การด�ำเนินงานของพยาบาลที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วย ท่ีได้รับบริการกัญชาทางการแพทย์ ให้สามารถปฏิบัติงาน
การพยาบาล ให้เกิดความต่อเนอื่ ง และมีแนวทางการบรกิ ารพยาบาลดูแลผู้ป่วยท่ไี ด้รบั บรกิ ารกัญชาทางการแพทย์
ในพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบให้ได้รับการบริการพยาบาล ทีม่ ีคุณภาพและผูป้ ว่ ยมคี วามปลอดภยั
v แนวทางการวางแผนจ�ำหน่ายผู้ป่วยติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (10วัน+4) ส�ำหรับพยาบาล เพ่ือให้
พยาบาลสามารถน�ำแนวทางน้ีไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
ปอ้ งกันการแพร่กระจายเชอื้
48

ด้านการศกึ ษา วจิ ัย พฒั นาและถ่ายทอดองค์ความร้แู ละเทคโนโลยที างการพยาบาล

รายงานวจิ ัย/มาตรฐาน/ แนวทาง/ คู่มอื ได้แก่
v รูปแบบและกลไกการขบั เคล่ือนการดาํ เนนิ งานสรา้ งเสริมสุขภาพ โดยบรหิ ารการพยาบาลเขตสุขภาพ
v หลักสตู รผนู้ �ำการเปลี่ยนแปลงดา้ นการสร้างเสริมสขุ ภาพ
v บทบาทหนา้ ท่ขี องพยาบาลวชิ าชพี
v แนวทางการจัดเกบ็ ตวั ชวี้ ัดการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำ� ปง บประมาณ 2561
v แนวทางการจัดเกบ็ ตวั ชี้วัดการพัฒนาคณุ ภาพบริการพยาบาล ประจ�ำปง บประมาณ 2562
v แนวทางการจดั เกบ็ ตัวชว้ี ัดการพัฒนาคุณภาพบรกิ ารพยาบาล ประจ�ำปง บประมาณ 2563
v แนวทางการจดั เกบ็ ตัวช้วี ดั การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำ� ปง บประมาณ 2564
v รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานของพยาบาล ในสถานการณก์ ารระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
v รายงานผลการด�ำเนนิ งานศูนยป์ ระสานความรว่ มมอื ของพยาบาลในภาวะการตดิ เชื้อ COVID-19
v รายงานผลการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลตามนโยบายการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
โรงพยาบาลสงั กดั สำ� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ�ำปงี บประมาณพ.ศ. 2561 – 2564
v แนวทางการจดั เกบ็ ตัวชว้ี ัดการพฒั นาคุณภาพบรกิ ารพยาบาล ประจำ� ปง บประมาณ 2565
v หลักสูตรการพยาบาลเพื่อส่งเสรมิ การจดั การสขุ ภาพตนเองของผปู้ ่วยและผูด้ ูแล
v ตน้ แบบการจัดบริการพยาบาลในการสรา้ งเสรมิ การจดั การสขุ ภาพตนเองของประชาชน
v รายงานการถอดบทเรยี น การสร้างเสริมการจัดการสขุ ภาพตนเอง ของประชาชน
v รูปแบบการพยาบาลในการสร้างเสริมการจัดการสุขภาพตนเอง ของประชาชนกลุมเส่ียงโรคเร้ือรัง
และผู้ดแู ล
v รูปแบบการพยาบาลในการสร้างเสริมการจัดการสุขภาพตนเอง ของกลุมผู้ป่วยท่ีตองการการดูแล
แบบระยะกลางและผู้ดแู ล
v รูปแบบการพยาบาลในการสร้างเสริมการจัดการสุขภาพตนเอง ของกลุมผู้ป่วยท่ีตองการการดูแล
แบบเรอ้ื รังและผ้ดู แู ล
v รูปแบบการพยาบาลในการสร้างเสริมการจัดการสุขภาพตนเอง ของกลุมผู้ป่วยที่ตองการการดูแล
แบบระยะยาวและผู้ดแู ล
v รูปแบบการพยาบาลในการสร้างเสริมการจัดการสุขภาพตนเอง ของกลุมผู้ป่วยท่ีตองการการดูแล
แบบประคบประคองและผู้ดแู ล

49

ผลงานท่สี ร้างสรรค์



ผลงานดา้ นบริการพยาบาล

1. การจดั ต้งั ศูนย์ประสานความรว่ มมือของพยาบาลในภาวะการตดิ เชื้อ COVID-19
กองการพยาบาลได้จัดต้ัง “ศูนย์ประสานความร่วมมือของพยาบาลในภาวะการติดเชื้อ COVID-19
(Nursing Collaboration Center for COVID-19)” ทันทีท่พี บการระบาดใหญ่ในประเทศไทยเมือ่ เดอื นมีนาคม
พ.ศ. 2563 การเสียชีวิตของผู้ติดเช้ือและบุคลากรทางการแพทย์ท�ำให้ประชาชนเกิดความตื่นตระหนก
โรงพยาบาลต่างๆ รับมือกันอย่างโกลาหลตามประสบการณ์และทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจ�ำกัด กองการพยาบาล
เห็นความส�ำคญั ท่จี ะต้องจัดตง้ั ศนู ยป์ ระสานความรว่ มมือของพยาบาลในภาวะการติดเชื้อ COVID-19 เพ่ือใหเ้ ปน็
หน่วยงานกลางของกระทรวงสาธารณสุขในการก�ำหนดนโยบายและพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ติดเช้ือและ
ผู้สงสัยติดเช้ือ (Patient Under Investigation - PUI) พัฒนากลไกการติดตามและประสานความร่วมมือของ
พยาบาลในการบริหารจัดการบริการพยาบาลผู้ติดเช้ือ รวมถึงพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาลท่ีเกี่ยวข้องกับ
การพยาบาลผตู้ ดิ เชอ้ื
ผลงานของศูนย์ประสานความร่วมมือของพยาบาลในภาวะการติดเช้ือ COVID-19 ได้แก่
1) ด้านการก�ำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารจัดการบริการพยาบาล เช่น นโยบายการบริหารอัตราก�ำลัง
พยาบาลในการดูแลผู้ติดเชื้อแต่ละประเภท นโยบายการจัดบริการพยาบาลและการปฏิบัติตนของพยาบาลตาม
แบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) นโยบายการพยาบาลผู้ติดเช้ือที่ไม่มีอาการ นโยบายการจัดบริการพยาบาล
cohort ward นโยบายการบริหารจัดบริการพยาบาลโรงพยาบาลสนาม 2) ด้านการพัฒนากลไก ติดตาม และ
ประสานความรว่ มมือของพยาบาลในการดแู ลผู้ตดิ เช้อื เชน่ Dashboards ในการเฝา้ ระวังขอ้ มลู ความพรอ้ มตา่ งๆ
(จำ� นวนพยาบาล จ�ำนวนอปุ กรณ์ต่างๆ จำ� นวนห้องความดนั ลบ จ�ำนวนโรงพยาบาลสนาม) ประสานความร่วมมือ
รตทวา3เก(าPปมง)างeๆถ็นรไดrกแึงทs3้าเบลo่ีปป)น่งnนรดกป(aึกoทาาันlษnนรี่ปทpพlากรiรnดrัฒาึกัพoe้ารษนtยนพeVาาากัฒcดDกอาtารOงนiรvนรคาบeะกc์คอรหoาวงิหeวรnาคqาบ่าfมคeรงuรรวโบriิหู้ทeรpารงาnาmมิกพรงcราบeกยeูทรnราา)พาบิรกtพงยพาาก-ัาฒรลยาบพPารนแาบยPพาลลาEายอะบ)ลากงเาปพบคาลเ็นชรราค้อเล่กศนบวมูานาิเกรทจยชมจเัด้ั์งกบนร่าเปลิปกูยแจารจ็นคงลัะดาศ่กาชะปยตูานุมจครรอยเะัดารผบ์แชัตบทยจแุมอบำแกทบเรเพจผนิปจแ่ารยเาทยนส่อแคนใี่ยแงพอหคเงนุปรส้กภ์คอวกี่ยับัยวงปรงโาคณภรฏมแงคัย์ปลิรบพวู้ผ้อะแัยาต่ใงาลมาิหทกนบะรัน้กกาใูาผหรางาลา่ารกรกทนงชปาา่ีจกก่วรรร�ำาายะชพเยรปเชวสยหปุยม็น่วาลรเทนบหะือราบชลตาวงุคุืมอลม่าไคกงถๆลลึง
(g(uoindleinlieneV)DจOำนcวoนn4feเrรeือ่ nงceจ)ดั ทพำฒั สนื่อาสอางรคส์คนวเทามศรู้แ(inลfะoจgดั rทapำ� เhปicน็ )แจนำวนปวฏนบิ 1ตั 7ิทาเรงก่อื างรแพลยะาจบดั าทลำ(สg่ือuวidดิ eที lัศinนe )(VจDำ� Oนวน
cl4ipเ)รกอ่ื างรจสัดาธทติ �ำกสา่ือรสใาสรแ สลนะเกทาศรถ(iอnดfoอgปุ raกpรhณicป)อจง�ำกนนั วแนบบ17ตา เงรๆื่องจำแนลวะนจดั 1ท2ำ� สเร่ือือ่ วงดิ ีทัศน์ (VDO clip) การสาธติ การใส่
และการถอดอุปกรณป์ อ้ งกันแบบต่างๆ จำ� นวน 12 เรอ่ื ง
50


Click to View FlipBook Version