The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรประถม2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by satika9925, 2022-09-06 10:48:57

หลักสูตรประถม2565

หลักสูตรประถม2565



หลกั สตู รโรงเรียนบ้านหนองแสง

พทุ ธศักราช ๒๕๖๕

ตามตหาลมกัหสลูตกั รสแูตกรนแกกลนากงลกาางรกศากึ รษศากึ ขษนั้ าพขนั้้ืนพฐาื้นนฐาน
พุทธพศุทกั ธรศากั ชรา๒ช๕๕๒๑๕๕(ฉ๑บ(ับฉปบรับับปปรรับุงป๒รุง๕๖๒๐๕)๖๐)

สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำอุดรธำนี เขต ๒
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร



ประกำศโรงเรยี นบ้ำนหนองแสง
เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรียนบำ้ นหนองแสง พทุ ธศักรำช ๒๕๖๕
ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑(ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช ๒๕๖๐)

……………………………….

ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการได้ออกคาสั่งท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ เร่อื งการใชม้ าตรฐานการเรียนรู้
และตวั ชี้วดั กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลุม่ สาระสงั คมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เพือ่ ใหก้ ารจัดการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมีความทนั สมัย ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงและ
ความเจริญกา้ วหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ และคานึงถึงการส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมีทักษะท่จี าเปน็ สาหรบั การเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ เตรยี มผู้เรยี นให้มคี วามพร้อมท่ีจะเรียนรู้ส่ิงตา่ ง ๆ พรอ้ มท่ีจะประกอบอาชพี เมอื่ จบการศึกษา
หรือสามารถศึกษาต่อในระดับสงู ข้ึน สามารถแข่งขันและอยรู่ ่วมกบั ประชาคมโลกได้ กาหนดใหท้ ุกโรงเรยี น
เริ่มใชห้ ลกั สูตรนี้ในระดบั ชนั้ ป.๑ - ม.6 ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

โรงเรียนบ้านหนองแสง จึงได้ดาเนินการบริหารและปรบั ปรงุ หลกั สูตร เพื่อใหเ้ ป็นไปตามคาสงั่
กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรือ่ งการใชม้ าตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชีว้ ดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง
๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จึงประกาศใหใ้ ชห้ ลกั สูตรให้ใช้
หลักสตู รโรงเรียนบา้ นหนองแสง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) เป็นต้นไป

ท้ังนห้ี ลกั สตู รโรงเรยี นได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เมื่อวนั ท่ี ๑๒
พฤษภาคม ๒๕๖๕ จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลกั สูตรโรงเรียนตงั้ แต่บัดนี้เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๒ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

ลงชือ่ ลงช่อื
(นายพิทักษ์ ทัพอาสา) ( นายเสงยี่ ม กมลเศษ )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านหนองแสง
โรงเรียนบ้านหนองแสง



คำนำ

กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใชม้ าตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วดั กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสัง่ กระทรวงศึกษาธิการ
ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเ้ ปล่ยี นแปลงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมคี าส่งั ให้โรงเรยี นดาเนนิ การใชห้ ลักสูตรในปี
การศกึ ษา ๒๕๖๓ ทกุ ระดับชน้ั ให้เป็นหลักสตู รสถานศึกษา โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้
เป็นเปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นมีพัฒนาการเตม็ ตามศักยภาพ มคี ุณภาพและมที ักษะ
การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อใหส้ อดคล้องกับนโยบายและเปา้ หมายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน

โรงเรยี นบ้านหนองแสง จงึ ได้ทาการปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศึกษาพุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑( ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เพ่อื นาไปใช้ประโยชนแ์ ละเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษาและจดั การเรียนการ
สอน โดยมเี ปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลกั สูตรไปสูก่ ารปฏิบัติ โดยมกี ารกาหนด
วิสยั ทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั
โครงสรา้ งเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมนิ ผลให้มีความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เปดิ โอกาส
ให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจดั ทาหลักสตู รการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและ
จดุ เน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางทีช่ ัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพร้อมในการ
ก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อยา่ งแท้จรงิ และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชวี้ ัดที่กาหนดไว้ในเอกสารนี้ เกิดจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในระดับท้องถิ่น
และสถานศึกษาร่วมกันพฒั นาหลักสตู รขนึ้ มา ทาให้การจดั ทาหลักสตู รในระดบั สถานศึกษามีคุณภาพและมีความ
เป็นเอกภาพย่งิ ขึ้น อีกท้ังยังช่วยใหเ้ กิดความชดั เจนเร่ืองการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการ
เทียบโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดังนน้ั ในการพัฒนาหลักสูตรในทกุ ระดับต้ังแตร่ ะดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศกึ ษา
จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ดั ทีก่ าหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั
พืน้ ฐาน รวมทงั้ เปน็ กรอบทิศทางในการจัดการศกึ ษาทุกรปู แบบ และครอบคลมุ ผู้เรยี นทุกกลมุ่ เป้าหมายในระดับ
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีกาหนดไว้

งานวชิ าการ
โรงเรยี นบา้ นหนองแสง

สำรบญั ค

เร่อื ง หน้ำ
ประกาศโรงเรยี น ก
คานา ข
สารบญั ค
ความนา ๑
วสิ ยั ทัศน์ ๒
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๓
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๓
มาตรฐานการเรียนรู้ ๔
โครงสรา้ งเวลา ๕
โครงสรา้ งหลกั สูตรชัน้ ปี ๑๓
คาอธบิ ายรายวชิ า
๒๕
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๓๔
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ๔๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕๕
กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๗๗
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ๙๑
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ๙๖
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ ๑๐๙
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๑๐
กิจกรรมแนะแนว ๑๑๑
กิจกรรมนักเรยี น ๑๑๓
กิจกรรมชมุ นมุ ๑๑๒
กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๑๖
เกณฑ์การจบการศึกษา
ภาคผนวก

1

ควำมนำ

กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใชม้ าตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสง่ั กระทรวงศกึ ษาธิการ
ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคาสง่ั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเ้ ปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) มีคาสั่งให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา
ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้เร่ิมใชใ้ นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ และใหใ้ ชห้ ลักสูตรโรงเรียนปีการศึกษา
๒๕๖๓ กับนกั เรียนทกุ ระดับช้ัน จากการพัฒนาปรบั ปรงุ ตามหลกั สตู รแกนกลางของประเทศ โดยกาหนด
จดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เป้าหมายและกรอบทศิ ทางในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนมพี ัฒนาการเตม็
ตามศักยภาพ มีคุณภาพและมที กั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือใหส้ อดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

โรงเรียนบา้ นหนองแสง จงึ ได้ทาการปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษาพทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามแนวทาง
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ในกลุม่ สาระ
การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม เพ่อื นาไปใชป้ ระโยชน์และเปน็ กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษาและจัดการ
เรียนการสอน โดยมีเปา้ หมายในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ใหม้ กี ระบวนการนาหลักสตู รไปสู่การปฏิบัติ โดยมี
การกาหนดวสิ ัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้
และตวั ช้ีวดั โครงสร้างเวลาเรยี น ตลอดจนเกณฑ์การวดั ประเมนิ ผลใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการ
เรยี นรู้ เปดิ โอกาสใหโ้ รงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลกั สตู รการเรยี นการสอนในแตล่ ะระดับตาม
ความพร้อมและจุดเนน้ โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทางทช่ี ัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐
มีความพร้อมในการกา้ วส่สู งั คมคณุ ภาพ มคี วามรู้อยา่ งแทจ้ รงิ และมีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ และไดน้ าจุดเน้น
นโยบายของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ มาดาเนินการควบคดู่ ว้ ย

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ัดท่กี าหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาใหห้ นว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ในทุกระดบั
เห็นผลคาดหวังทต่ี ้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รียนทช่ี ัดเจน ซึง่ จะสามารถช่วยใหห้ นว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
ในระดบั ท้องถ่นิ และสถานศึกษารว่ มกนั พฒั นาหลักสูตรได้อย่างมนั่ ใจ ทาให้การจดั ทาหลักสูตรในระดบั
สถานศึกษามคี ุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขนึ้ อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชดั เจนเร่อื งการวัดและประเมินผล
การเรยี นรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดงั นนั้ ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา จะต้อง
สะทอ้ นคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ดั ทกี่ าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
รวมทั้งเป็นกรอบทศิ ทางในการจดั การศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลมุ ผ้เู รยี นทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับ
การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

การจดั หลักสตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานจะประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝา่ ยท่ี
เกี่ยวขอ้ งทงั้ ระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอยา่ งเป็นระบบ

2

และตอ่ เนื่องในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ข เพอ่ื พัฒนาเยาวชน
ของชาติไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ทู ีก่ าหนดไว้

การจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรยี นบ้านหนองแสง ครัง้ นดี้ าเนินการเพ่ือให้สอดคลอ้ งกับ
นโยบายของสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ตามจุดเน้นนโยบาย 6 มิตคิ ุณภาพสู่การปฏบิ ตั ิ ดังนี้

ในมิติที่ ๑ เรือ่ งการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา หลกั สตู รปฐมวัย ระเบยี บว่าด้วยการวัดผลประเมนิ ผล
กรอบสาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ

มิติท่ี ๒ เร่ืองการจัดการเรยี นรู้
มิติท่ี ๓ เรอ่ื งการใชเ้ ทคโนโลยแี ละแหล่งเรยี นรู้
มติ ิที่ ๔ เร่ืองการวัดและการประเมนิ ผล
มิตทิ ี่ ๕ เรอ่ื งการนเิ ทศภายใน
มติ ิที่ ๖ เรอ่ื งวิจยั ในช้นั เรยี น
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพและบรรลเุ ป้าหมายต่อไป

วสิ ัยทศั น์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลงั ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี

ความสมดลุ ท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรแู้ ละทักษะพืน้ ฐาน รวมท้งั เจตคติ
ทจี่ าเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมงุ่ เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั บนพื้นฐาน
ความเช่อื วา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ

มุ่งการสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีทกั ษะทจ่ี าเปน็ สาหรับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เปน็ สาคญั เตรยี มผ้เู รยี นให้
มคี วามพร้อมที่จะเรียนรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ พรอ้ มท่ีจะประกอบอาชพี เมื่อจบการศกึ ษาหรือสามารถศกึ ษาต่อในระดับ
ที่สูงขนึ้ สามารถแขง่ ขันและอยู่รว่ มกบั ประชาคมโลกได้

ภายในปี ๒๕๖๕ นกั เรียนโรงเรยี นบ้านหนองแสง เปน็ ผูม้ ีคุณธรรม นาความรู้ สชู่ วี ิตพอเพียง
หลกี เลย่ี งอบายมุข สุขภาพสมบูรณ์ เพิ่มพูนทกั ษะ มีสาธารณะในจติ ใจ สภาพภายในสวยงาม นาชุมชน
มสี ว่ นร่วม ความพงึ พอใจ กา้ วไปไทยแลนด์ ๔.๐

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ในการพัฒนาผเู้ รียนตามหลกั สูตรโรงเรยี นบ้านหนองแสง พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลาง

การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)ม่งุ เน้นพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั นี้

3

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านหนองแสง พุทธศักราช ๒๕๖๕ มุง่ ให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา
ถา่ ยทอดความคดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารและ
ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสังคม การเลือกรบั หรือไมร่ บั ข้อข่าวสารดว้ ยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธกี ารสื่อสาร ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีมตี อ่
ตนเองและสงั คม
๒. ควำมสำมำรถในกำรคดิ เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอื่ นาไปส่กู ารสร้างองค์ความร้หู รือสารสนเทศ
เพื่อการตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม

๓. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ที่เผชญิ ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธแ์ ละ
การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการปอ้ งกันและแก้ไข
ปญั หา และมีกาตัดสินใจท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวัน การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทางาน และการอยูร่ ่วมกนั ในสังคมด้วยการ
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งบุคคล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตวั
ให้ทันกับการเปลยี่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการร้จู กั หลกี เล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่สี ่งผล
กระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน

๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทางาน
การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนบา้ นหนองแสง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนในสังคมได้
อยา่ งมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รกั ษ์ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซ่ือสัตย์สจุ รติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจติ เปน็ สาธารณะ

4

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กิดความสมดุล ตอ้ งคานึงถงึ หลักพฒั นาการทางสมองและพหปุ ัญญา หลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน จึงกาหนดใหผ้ ู้เรียนเรียนรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ดังน้ี

๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชีพ
๘. ภาษาต่างประเทศ

ในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเปา้ หมายสาคัญของการ
พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน มาตรฐานการเรยี นรู้ ระบสุ ิ่งที่ผู้เรียนพงึ ร้แู ละปฏบิ ัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ท่พี ึงประสงค์ ท่ีต้องการให้เกิดแกผ่ เู้ รยี นเมื่อจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากน้นั มาตรฐานการเรียนรู้
ยังเป็นกลไกสาคัญ ในการขบั เคลือ่ นพฒั นาการศึกษาทง้ั ระบบเพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนใหท้ ราบวา่
ตอ้ งการอะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอยา่ งไรและประเมนิ อยา่ งไร รวมทัง้ เป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการ
ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชร้ ะบบการประเมินคณุ ภาพภายใน และการประเมินคณุ ภาพภายนอกซงึ่ รวมถึง
การทดสอบระดบั เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาและการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกลา่ ว
เป็นส่ิงสาคัญทีช่ ่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามทม่ี าตรฐานการเรยี นรู้
กาหนดเพียงใด

หลักสูตรได้มีการกาหนดรหสั กากับมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัด เพ่อื ความเข้าใจและให้สอื่ สาร
ตรงกนั ดังน้ี (ตวั อย่าง)

ว ๑.๑ ป. ๑/๒ ตวั ชวี้ ดั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ขอ้ ที่ ๒
ป. ๑/๒ สาระที่ ๑ มาตรฐานขอ้ ที่ ๑
๑.๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์


5

สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กาหนดมาตรฐานการเรยี นรูใ้ น ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้
จานวน ๕๘ มาตรฐาน ดังนี้

ภำษำไทย
สำระที่ ๑ กำรอ่ำน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ัดสินใจ
แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอา่ น

สำระ ที่ ๒ กำรเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน
เรือ่ งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นควา้ อยา่ ง มีประสิทธิภาพ

สำระที่ ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้
ความคิด และ ความร้สู กึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและ
สร้างสรรค์

สำระที่ ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา
และพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ
ของชาติ

สำระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คณุ ค่าและนามาประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

6

คณิตศำสตร์
สำระที่ ๑ จำนวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวนการดาเนนิ การ
ของจานวนผลที่เกิดขน้ึ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนินการ และ
นาไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดบั และอนุกรม
และนาไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพนั ธ์ หรือชว่ ย
แก้ปญั หาท่ีกาหนดให้

หมำยเหตุ: มาตรฐาน ค ๑.๓ สาหรับผเู้ รียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖
สำระที่ ๒ กำรวัดและเรขำคณติ

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทต่ี ้องการวดั และ
นาไปใช้

มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณติ ความสมั พนั ธ์
ระหว่างรปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

มาตรฐาน ค ๒.๓ เข้าใจเรขาคณิตวเิ คราะห์ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๔ เขา้ ใจเวกเตอร์ การดาเนนิ การของเวกเตอร์ และนาไปใช้
หมำยเหตุ: ๑. มาตรฐาน ค ๒.๑ และ ค ๒.๒ สาหรับผู้เรียนในระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑

ถึงระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓
๒. มาตรฐาน ค ๒.๓ และ ค ๒.๔ สาหรบั ผเู้ รยี นในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ –

๖ ที่เนน้ วิทยาศาสตร์
สำระที่ ๓ สถิติและควำมนำ่ จะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความร้ทู างสถติ ิในการแกป้ ญั หา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลกั การนบั เบื้องตน้ ความนา่ จะเป็น และนาไปใช้
หมำยเหตุ: ค ๓.๒ สาหรับผ้เู รยี นในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖
สำระที่ ๔ แคลคูลัส
มาตรฐาน ค ๔.๑ เขา้ ใจลิมติ และความต่อเนื่องของฟังก์ชนั อนพุ ันธข์ องฟงั กช์ นั และปริพันธ์

ของฟังก์ชนั และนาไปใช้
หมำยเหต:ุ มาตรฐาน ค ๔.๑ สาหรบั ผเู้ รียนในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ – ๖ ท่ีเนน้ วิทยาศาสตร์

7

วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
สำระที่ ๑ วิทยำศำสตร์ชีวภำพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ส่ิงไม่มีชวี ติ กบั ส่ิงมชี ีวติ และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมชี วี ติ กบั
สง่ิ มชี ีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปล่ยี นแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร
ปัญหาและผลกระทบท่ีมีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหา
สง่ิ แวดลอ้ มรวมทงั้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้นื ฐานของส่ิงมชี ีวติ การลาเลียง
สารผ่านเซลล์ ความสมั พันธข์ อง โครงสรา้ ง และหนา้ ทข่ี องระบบ
ตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ที่ างานสัมพันธ์กนั ความสัมพันธ์ของ
โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสมั พันธ์กัน
รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธุกรรมท่มี ผี ล
ตอ่ สง่ิ มชี วี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการ ของ
สิ่งมชี ีวติ รวมทงั้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สำระท่ี ๒ วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนยี่ วระหว่าง
อนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงท่ีกระทาต่อ
วัตถุ ลกั ษณะการเคลือ่ นท่ีแบบ ต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอน
พลงั งาน ปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งสสาร และพลงั งาน พลงั งานในชวี ิต
ประจาวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับเสยี ง
แสง และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สำระที่ ๓ วิทยำศำสตรโ์ ลก และอวกำศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการ
ของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทง้ั
ปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสุริยะท่ีสง่ ผลต่อส่งิ มชี ีวิตและการ

มาตรฐาน ว ๓.๒ 8

สำระที่ ๔ เทคโนโลยี ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี อวกาศ
มาตรฐาน ว ๔.๑
เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการ
มาตรฐาน ว ๔.๒ เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี บิ ตั ภิ ยั กระบวนการ
เปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้ัง ผลตอ่
ส่งิ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อม

เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พ่อื การดารงชวี ติ ในสังคมทีม่ ีการ
เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางด้าน
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรอื
พฒั นางานอย่างมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถึง
ผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และสิ่งแวดล้อม
เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ญั หาท่พี บในชวี ิตจริง
อย่างเป็นข้นั ตอนและเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารในการเรยี นรู้การทางาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ รูเ้ ท่าทนั และมีจริยธรรม

9

สังคม
สำระที่ ๑ ศำสนำ ศีลธรรม จรยิ ธรรม

มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนบั ถือและศาสนาอืน่ มศี รัทธาที่ถูกต้อง
ยึดมั่น และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพ่อื อยูร่ ว่ มกนั อย่างสันตสิ ุข

มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนที่ดี และธารงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

สำระที่ ๒ หน้ำที่พลเมือง วัฒนธรรม และกำรดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏิบัตติ นตามหน้าทีข่ องการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นยิ มที่ดี
งาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ิตอยู่
รว่ มกนั ในสังคมไทย และ สงั คมโลกอยา่ งสนั ติสขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปัจจบุ ัน ยดึ มนั่
ศรทั ธา และธารงรักษาไว้ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

สำระที่ ๓ เศรษฐศำสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการ
บริโภคการใช้ทรัพยากรทม่ี ีอยู่จากดั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและ
คุม้ ค่า รวมทัง้ เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื การ
ดารงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ

มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธท์ าง
เศรษฐกิจและความจาเปน็ ของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจใน
สำระท่ี ๔ ประวัตศิ ำสตร์ สงั คมโลก
มาตรฐาน ส ๔.๑
เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ สามารถใชว้ ิธีการทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อยา่ งเปน็
ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจพฒั นาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ในด้านความสมั พนั ธ์
และการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่อื ง ตระหนักถงึ ความสาคัญ
และสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกดิ ขึ้น
เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาไทย มคี วาม
รัก ความภมู ใิ จและธารงความเป็นไทย

สำระท่ี ๕ ภมู ศิ ำสตร์ 10
มาตรฐาน ส ๕.๑
เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธข์ องสรรพส่งิ
มาตรฐาน ส ๕.๒ ซึ่งมีผลตอ่ กัน ใชแ้ ผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา
วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนใช้ภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
เข้าใจปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษยก์ ับสิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพท่ี
กอ่ ให้เกดิ การสร้างสรรค์วิถีการดาเนนิ ชวี ติ มีจติ สานึกและมสี ว่ น
รว่ มในการจดั การทรัพยากร และส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน

11

สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ
สำระที่ ๑ กำรเจริญเติบโตและพฒั นำกำรของมนษุ ย์

มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
สำระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะใน
การดาเนินชีวติ

สำระที่ ๓ กำรเคล่อื นไหว กำรออกกำลังกำย กำรเลน่ เกม กีฬำไทย และกีฬำสำกล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม
และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบตั เิ ปน็
ประจาอย่างสมา่ เสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ้าใจนกั กีฬา มีจติ
วญิ ญาณในการแข่งขัน และช่ืนชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

สำระที่ ๔ กำรสรำ้ งเสรมิ สขุ ภำพ สมรรถภำพและกำรปอ้ งกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคณุ ค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดารงสุขภาพ
การปอ้ งกันโรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ

สำระที่ ๕ ควำมปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกนั และหลีกเลย่ี งปัจจยั เส่ียง พฤติกรรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพ
อุบตั เิ หตุ การใช้ ยา สารเสพตดิ และความรุนแรง

ศิลปะ 12
สำระที่ ๑ ทศั นศิลป์
สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลปต์ ามจนิ ตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณค์ ณุ คา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ
ความคดิ ต่องาน ศลิ ปะอย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใชใ้ น
มาตรฐาน ศ ๑.๒ ชีวิตประจาวนั
เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ
สำระที่ ๒ ดนตรี วัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่างาน ทศั นศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ
มาตรฐาน ศ ๒.๑ ปญั ญาท้องถนิ่ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์
วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคดิ ต่อดนตรี
สำระที่ ๓ นำฏศลิ ป์ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เหน็ คณุ คา่ ของดนตรีทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น
มาตรฐาน ศ ๓.๒ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วพิ ากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่ นาฏศลิ ป์ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดอย่าง
อสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิต ประจาวนั
เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละ
วฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

13

กำรงำนอำชีพ
สำระที่ ๑ กำรดำรงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง๑.๑ เขา้ ใจการทางาน มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน
ทักษะ การจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการทางานรว่ มกัน
และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลักษณะนสิ ัยในการทางาน
มีจิตสานกึ ในการใช้พลังงาน ทรพั ยากร และส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือการ
ดารงชีวิตและครอบครวั

สำระท่ี ๒ กำรอำชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจ มีทักษะท่จี าเปน็ มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชพี
ใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มคี ุณธรรม และมเี จตคตทิ ่ีดีต่ออาชีพ

14

ภำษำต่ำงประเทศ
สำระที่ ๑ ภำษำเพ่อื กำรสื่อสำร

มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเร่ืองท่ีฟังและอ่านจากส่ือประเภทตา่ ง ๆ และ
แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเหตุผล

มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสาร
แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอยา่ งมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเห็นใน
เรอ่ื งต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน

สำระที่ ๒ ภำษำและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งภาษากับวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา
และนาไปใช้ ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษากบั ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสม

สำระท่ี ๓ ภำษำกบั ควำมสัมพันธ์กบั กลุ่มสำระกำรเรยี นรอู้ นื่
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลมุ่ สาระการ
เรียนร้อู ืน่ และเป็นพน้ื ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ
เปิดโลกทศั น์ของตน

สำระท่ี ๔ ภำษำกับควำมสัมพันธก์ บั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทั้งในสถานศกึ ษา ชมุ ชน
และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นเครอ่ื งมือพน้ื ฐานในการศึกษาต่อ
การประกอบอาชพี และ การแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ บั สงั คมโลก

15

โครงสรำ้ งหลักสูตรโรงเรยี นบำ้ นหนองแสง

โครงสรำ้ งหลักสูตรเวลำเรยี นโรงเรียนบำ้ นหนองแสง

เวลำเรียน(ชวั่ โมง/ปี)

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้/ กจิ กรรม ระดับประถมศึกษำ

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลำเรยี น (พ้ืนฐำน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
 รำยวชิ ำเพ่มิ เตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -

ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สาร

หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลำเรียน (เพ่มิ เตมิ ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

 กจิ กรรมพฒั นำผเู้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กิจกรรมนกั เรียน ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
- กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชมุ นุม

กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ บูรณาการ

รวมเวลำเรียนทง้ั หมด ๑,๐๐๐ ช่ัวโมง/ปี

หมำยเหตุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ใช้เป็นรายวิชาพ้ืนฐาน จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๔๐ ชว่ั โมง

โครงสร้ำงหลักสตู รช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ 16
โรงเรยี นบ้ำนหนองแสง
เวลำเรียน
รหสั กลมุ่ สำระกำรเรียนร้/ู กจิ กรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๑๑๐๑ รำยวิชำพืน้ ฐำน ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์
ส ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๑๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐
พ ๑๑๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๑๖๐
อ ๑๑๒๐๑ ๔๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
องั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน
แนะแนว ๓๐
กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐

• ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐
บรู ณาการ
• ชุมนมุ

กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้

โครงสรำ้ งหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ 17
โรงเรยี นบ้ำนหนองแสง
เวลำเรียน
รหัส กลมุ่ สำระกำรเรียนร้/ู กจิ กรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๒๑๐๑ รำยวิชำพ้นื ฐำน ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ว ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์
ส ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๒๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔๐
พ ๑๒๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๑๖๐
อ ๑๒๒๐๑ ๔๐
รำยวชิ ำเพิม่ เติม ๔๐
อังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพฒั นำผเู้ รียน
แนะแนว ๓๐
กิจกรรมนกั เรียน ๔๐

• ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐
บรู ณาการ
• ชุมนุม

กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้

โครงสร้ำงหลกั สูตรช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ 18
โรงเรยี นบ้ำนหนองแสง
เวลำเรียน
รหัส กลุ่มสำระกำรเรียนร้/ู กจิ กรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๓๑๐๑ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๒๐๐
ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ว ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์
ส ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐
พ ๑๓๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
อ ๑๓๑๐๓ การงานอาชพี ๔๐
ภาษาอังกฤษ ๑๖๐
อ ๑๓๒๐๑ ๔๐
รำยวิชำเพ่มิ เติม ๔๐
องั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพฒั นำผเู้ รียน
แนะแนว ๓๐
กิจกรรมนักเรียน ๔๐

• ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐
บรู ณาการ
• ชมุ นุม

กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้

โครงสรำ้ งหลักสูตรชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๔ 19
โรงเรียนบำ้ นหนองแสง
เวลำเรียน
รหัส กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู/้ กิจกรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๔๑๐๑ รำยวิชำพ้นื ฐำน ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ว ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ส ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ส ๑๔๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
พ ๑๔๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
ศ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ง ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
อ ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๘๐
ส ๑๔๒๐๑ ๔๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น
แนะแนว ๓๐
กิจกรรมนักเรียน ๔๐

• ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐
บรู ณาการ
• ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้

โครงสรำ้ งหลักสูตรชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๕ 20
โรงเรียนบำ้ นหนองแสง
เวลำเรียน
รหัส กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู/้ กิจกรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๕๑๐๑ รำยวิชำพ้นื ฐำน ๑๖๐
ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ว ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ส ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ส ๑๕๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
ศ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๘๐
ส ๑๕๒๐๑ ๔๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น
แนะแนว ๓๐
กิจกรรมนักเรียน ๔๐

• ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐
บรู ณาการ
• ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้

โครงสรำ้ งหลักสูตรชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๖ 21
โรงเรียนบำ้ นหนองแสง
เวลำเรียน
รหัส กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู/้ กิจกรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๖๑๐๑ รำยวิชำพ้นื ฐำน ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ว ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ส ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ส ๑๖๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
พ ๑๖๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
ศ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ง ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
อ ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๘๐
ส ๑๖๒๐๑ ๔๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น
แนะแนว ๓๐
กิจกรรมนักเรียน ๔๐

• ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐
บรู ณาการ
• ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้

รำยวิชำของโรงเรยี นบ้ำนหนองแสง 22

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย จานวน ๒๐๐ ชัว่ โมง
รำยวชิ ำพ้ืนฐำน จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ **************** จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
รำยวชิ ำพน้ื ฐำน **************** จานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
จานวน ๘๐ ช่วั โมง
กลุ่มสำระกำรเรียนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
รำยวิชำพืน้ ฐำน

ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์

***************

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม 23
รำยวชิ ำพนื้ ฐำน
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาฯ
จานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์
รำยวชิ ำเพ่มิ เตมิ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๒๐๑ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๕๒๐๑ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ส ๑๖๒๐๑ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

****************

กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู ุขศึกษำและพลศึกษำ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
รำยวชิ ำพืน้ ฐำน จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ
พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาฯ
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ

****************

24

กลุม่ สำระกำรเรียนรูศ้ ิลปะ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
รำยวิชำพืน้ ฐำน จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ
ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ

****************

กลุ่มสำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชีพ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
รำยวิชำพ้นื ฐำน จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ฯ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพฯ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพฯ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ฯ
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ฯ
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ฯ

****************

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ(องั กฤษ) จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
รำยวชิ ำพื้นฐำน จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
รำยวิชำเพ่มิ เตมิ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
อ ๑๑๒๐๑ อังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
อ ๑๒๒๐๑ องั กฤษเพ่ือการสื่อสาร
อ ๑๓๒๐๑ อังกฤษเพ่ือการสื่อสาร

****************

25

คำอธิบำยรำยวิชำ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย

26

ท ๑๑๑๐๑ ภำษำไทย

รำยวิชำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย
ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๑ เวลำ ๒๐๐ ชว่ั โมง

ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และข้อความสน้ั ๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม
เลา่ เรอ่ื งยอ่ คาดคะเนเหตุการณ์ เลอื กอ่านหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอ นาเสนอเร่อื งท่อี า่ น
บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สาคญั ทมี่ ักพบเหน็ ในชวี ติ ประจาวนั มมี ารยาทในการอ่าน
ฝกึ คัดลายมือด้วยตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขยี นสอื่ สารด้วยคาและประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขยี น

ฝกึ ทักษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คาสงั่ ง่ายๆและปฏิบัตติ าม ตอบคาถาม เลา่ เร่อื ง พูดแสดงความ
คดิ เห็นและความรู้สกึ จากเรอื่ งทีฟ่ งั และดู พูดสอ่ื สารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟงั การดแู ละ
การพดู

ฝกึ ทักษะการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ ต่อคาคล้องจองงา่ ย ๆ

บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมร้อยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก ฝกึ ทอ่ งจาบท
อาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทกึ การตั้งคาถาม
ตอบคาถาม ใชท้ ักษะการฟัง การดูและการพดู พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด

เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สอ่ื สารได้ถูกต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณคา่
ของการอนรุ ักษภ์ าษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๒ ตวั ช้ีวัด

27

ท ๑๒๑๐๑ ภำษำไทย

รำยวชิ ำพนื้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง

ฝกึ อา่ นออกเสยี งคา คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ อธบิ ายความหมายของคา
และข้อความทอ่ี า่ น ตง้ั คาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคดิ เหน็ และ
คาดคะเนเหตกุ ารณ์ เลอื กอ่านหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องท่ีอา่ น อ่านข้อเขียนเชงิ
อธิบาย และปฏิบตั ติ ามคาสั่งหรอื ข้อแนะนา มีมารยาทในการอา่ น

ฝึกคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขยี นเร่ืองสัน้ ๆ เกี่ยวกบั ประสบการณ์ เขยี นเร่ืองสน้ั ๆ
ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน

ฝึกทกั ษะการฟัง ฟงั คาแนะนา คาสง่ั ท่ีซบั ซ้อนและปฏิบตั ิตาม เลา่ เรื่องบอกสาระสาคญั ของเร่ือง
ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเหน็ ความรสู้ ึก พูดส่ือสารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาท
ในการฟัง การดแู ละการพดู

ฝึกทกั ษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมาย
ของคา เรยี บเรียงคาเป็นประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการสือ่ สาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ

ฝึกจับใจความสาคัญจากเร่ือง ระบขุ ้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมสาหรับเดก็
เพอ่ื นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ร้องบทร้องเลน่ สาหรับเดก็ ในทอ้ งถ่ิน ท่องจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดและ
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสอ่ื ความ กระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏบิ ัติ
อธิบาย บันทกึ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดแู ละการพูด พดู แสดงความคิดเหน็
กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด

เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สอ่ื สารไดถ้ ูกต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่า
ของการอนรุ ักษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความร้ไู ปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๗ ตวั ช้ีวัด

28

ท ๑๓๑๐๑ ภำษำไทย

รำยวชิ ำพน้ื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ระดับช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ เวลำ ๒๐๐ ช่ัวโมง

ฝึกอ่านออกเสยี งคา ข้อความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ อธบิ ายความหมายของคาและ
ข้อความท่อี ่าน ตัง้ คาถาม ตอบคาถามเชิงเหตผุ ล ลาดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ขอ้ คิด
จากเร่ืองทีอ่ า่ น เพื่อนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั เลอื กอา่ นหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอ
เร่ืองที่อา่ น อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธิบาย และปฏิบตั ิตามคาสั่งหรอื ข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจาก
แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอา่ น

ฝกึ คัดลายมือดว้ ยตัวบรรจงเต็มบรรทดั เขียนบรรยาย เขียนบนั ทกึ ประจาวัน เขียนเรื่องตามจินตนาการ
มีมารยาทในการเขียน

ฝกึ ทักษะการฟงั การดูและการพดู เลา่ รายละเอยี ด บอกสาระสาคัญ ต้งั คาถาม ตอบคาถาม พูดแสดง
ความคิดเหน็ ความรสู้ กึ พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด

ฝึกเขียนตามหลักการเขยี น เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบชุ นิด หน้าที่ของคา
ใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคา แตง่ ประโยคงา่ ย ๆ แต่งคาคลอ้ งจองและคาขวัญ เลือกใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

ระบขุ ้อคิดที่ไดจ้ ากการอา่ นวรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั รูจ้ ักเพลงพ้ืนบา้ น เพลงกล่อมเด็ก
เพอื่ ปลูกฝงั ความช่ืนชมวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยานตามที่
กาหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการส่อื ความ กระบวนการแกป้ ญั หา
การฝกึ ปฏิบัติ อธบิ าย บนั ทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและการพูด พดู แสดง
ความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารได้ถกู ต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ ค่า
ของการอนรุ ักษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรูไ้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดยใช้หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๑ ตัวชี้วดั

29

ท ๑๔๑๐๑ ภำษำไทย

รำยวิชำพืน้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ระดบั ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๔ เวลำ ๑๖๐ ชวั่ โมง

ฝกึ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและสานวน
จากเรือ่ งทอี่ ่าน อา่ นเรอื่ งสน้ั ๆ ตามเวลาทก่ี าหนดและตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอา่ น แยกข้อเท็จจรงิ และ
ขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรอื่ งที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรปุ ความรู้และข้อคดิ
จากเรือ่ งท่ีอา่ น เพ่อื นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน เลอื กอา่ นหนังสอื ทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและ
แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับเรื่องท่ีอ่าน มีมารยาทในการอา่ น ฝกึ คัดลายมอื ด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครงึ่
บรรทัด เขยี นส่ือสารโดยใชค้ าได้ถูกตอ้ ง ชัดเจนและเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ
เพือ่ ใช้พฒั นางานเขียน เขียนยอ่ ความจากเร่ืองส้นั ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบนั ทกึ และเขียน
รายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า เขียนเรอื่ งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น

ฝกึ ทักษะการฟงั การดแู ละการพูด จาแนกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเห็นเร่ืองท่ฟี ังและดู พูดสรุป
จากการฟงั และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สกึ เก่ียวกบั เรื่องท่ีฟังและดู ต้งั คาถามและตอบ
คาถามเชงิ เหตผุ ลจากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู พูดรายงานเรื่องหรอื ประเดน็ ที่ศึกษาคน้ คว้าจากการฟงั การดูและ
การสนทนา มีมารยาทในการฟงั การดูและการพดู ฝกึ เขียนตามหลกั การเขยี น เขยี นสะกดคาและบอก
ความหมายของคาในบริบทต่าง ๆ ระบชุ นิดและหนา้ ทีข่ องคาในประโยค ใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคา
แตง่ ประโยคไดถ้ ูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและคาขวญั บอกความหมายของสานวน เปรยี บเทียบ
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้

ระบขุ ้อคดิ จากนทิ านพื้นบ้านหรือนทิ านคติธรรมอธบิ ายข้อคดิ จากการอ่านเพื่อนาไปใชใ้ นชีวติ จริงร้อง
เพลงพืน้ บ้านทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการ
อา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการคิดวเิ คราะหแ์ ละสรุป
ความ กระบวนการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสอื่ ความ กระบวนการแกป้ ญั หา การฝกึ ปฏบิ ตั ิอธิบาย
บันทกึ การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทกั ษะการฟัง การดูและการพูดพดู แสดงความคิดเห็นกระบวนการสรา้ ง
ความคดิ รวบยอด

เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สือ่ สารได้ถูกต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ ค่า
ของการอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความร้ไู ปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชว้ ิธีการของเศรษฐกจิ
พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กบั ชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

30

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๓ ตัวชี้วัด

31

รำยวิชำพ้ืนฐำน ท ๑๕๑๐๑ ภำษำไทย
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

ฝกึ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความทเี่ ป็น
การบรรยายและการพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ
คดิ เห็น อ่านงานเขียนเชงิ อธิบาย คาสั่ง ขอ้ แนะนา และปฏบิ ัติตาม เลอื กอ่านหนังสอื ทีม่ คี ณุ คา่ ตามความ
สนใจ มีมารยาทในการอ่าน

ฝกึ คัดลายมอื ดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทดั และครงึ่ บรรทัด เขยี นสือ่ สาร เขียนแผนภาพโครงเรอ่ื ง
แผนภาพความคิด เขยี นยอ่ ความ เขยี นจดหมายถงึ ผปู้ กครองและญาติ เขยี นแสดงความรสู้ ึกและความคดิ เหน็
กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น

ฝึกทกั ษะการฟงั การดแู ละการพูด พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็นและความรู้สึก ตัง้ คาถาม
ตอบคาถาม วเิ คราะหค์ วาม พดู รายงาน มีมารยาทในการฟงั การดูและการพดู

ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค จาแนกสว่ นประกอบของประโยค เปรยี บเทยี บภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถ่ิน ใช้คาราชาศัพท์ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบท
ร้อยกรอง ใช้สานวนได้ถูกตอ้ ง

สรปุ เร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อา่ น ระบุความรู้ ขอ้ คิดจากการอา่ นวรรณคดแี ละวรรณกรรม
ที่สามารถนาไปใชใ้ นชีวิตจริง อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและ
บทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิดวเิ คราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ กระบวนการ
สอ่ื ความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏบิ ัติ อธิบาย บนั ทกึ การตง้ั คาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง
การดูและการพูด พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอื่ สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ ค่า
ของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยใชว้ ธิ ีการของเศรษฐกจิ
พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๓ ตัวช้ีวดั

32

ท ๑๖๑๐๑ ภำษำไทย

รำยวิชำพน้ื ฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๖ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

ฝกึ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความ
ทเี่ ป็นโวหาร อา่ นเร่ืองสน้ั ๆอยา่ งหลากหลาย แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งทอี่ า่ น วิเคราะห์
และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับเรอ่ื งท่ีอ่านเพอื่ นาไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ อา่ นงานเขยี น เชิงอธบิ าย คาสง่ั
ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากการอา่ นแผนผงั แผนที่ แผนภมู แิ ละกราฟ
เลอื กอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจและอธบิ ายคุณค่าท่ีได้รบั มมี ารยาทในการอ่าน

ฝกึ คดั ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคดิ เพอ่ื ใช้พัฒนางานเขียน เขยี นเรียงความ
เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองอา่ น เขียนจดส่วนตวั กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและ
สรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการเขียน

ฝกึ ทักษะการฟัง การดแู ละการพูด พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจจดุ ประสงค์ของเร่อื งที่ฟังและดู
ตง้ั คาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผลจากเรือ่ งท่ีฟงั และดู วเิ คราะห์ความนา่ เช่ือถอื จากเร่ืองที่ฟังและดสู ่อื โฆษณา
อย่างมเี หตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พดู โนม้ นา้ ว
อยา่ งมเี หตผุ ลและนา่ เชอื่ ถอื มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด

ฝกึ วิเคราะห์ชนิดและหน้าทีข่ องคาในประโยค ใชค้ าไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล รวบรวมและ
บอกความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศท่ใี ชใ้ นภาษาไทย ระบุลกั ษณะของประโยค แต่งบทรอ้ ยกรอง
วเิ คราะห์เปรยี บเทียบสานวนที่เปน็ คาพงั เพยและสภุ าษติ

ฝกึ แสดงความคดิ เห็นจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมท่ีอา่ น เลา่ นิทานพื้นบ้านทอ้ งถนิ่ ตนเองและนิทาน
พื้นบ้านของท้องถ่ินอ่ืน อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ นและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ทอ่ งจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและบทร้อย โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวเิ คราะหแ์ ละสรุปความ กระบวนการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการสงั เกต กระบวนกรแยกข้อเทจ็ จริง กระบวนการ
คน้ คว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยใี นการสอื่ สาร กระบวนการใชท้ ักษะทางภาษา การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บนั ทกึ
การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคิด
รวบยอด

เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สื่อสารไดถ้ ูกต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เห็นคุณคา่
ของการอนรุ ักษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใชว้ ิธกี ารของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

33

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๔ ตัวช้ีวดั

34

คำอธบิ ำยรำยวิชำ
กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์

35

ค ๑๑๑๐๑ คณิตศำสตร์

รำยวิชำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง

ศกึ ษาฝึกทกั ษะการคิดคานวณและฝึกแก้ปญั หา จานวนนับ ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจานวน
ส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย การบอกอนั ดับท่ีหลัก ค่าของเลข
โดดในแตล่ ะหลัก และเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้
เคร่อื งหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนต้งั แต่ ๓ ถงึ ๕ จานวน และหาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยค
สญั ลกั ษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบ ของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐
ความยาวและน้าหนัก สรา้ งโจทย์ปญั หาพร้อมท้ังแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของ
จานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบจุ านวนทหี่ ายไปในแบบรูปของจานวนท่ีเพ่ิมข้นึ หรือลดลงทลี ะ๑ ทีละ ๑๐
รูปท่ีหายไปในแบบรปู ซา้ ของรปู เรขาคณิตและรูปอนื่ ๆ ท่ีสมาชิกในแต่ละชุดทซี่ า้ มี ๒ รูป วดั และเปรียบเทยี บ
ความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้าหนักเปน็ กโิ ลกรัมเป็นขีด และใช้หน่วยที่ไม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน จาแนกรูป
สามเหลย่ี ม รปู ส่ีเหล่ยี ม วงกลม วงรี ทรงสเ่ี หล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมลู จากแผนภมู ิ
รูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เม่อื กาหนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หน่วย

โดยใช้ความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคดิ แก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ใหเ้ หตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อยา่ งเหมาะสม ใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่อื สาร สอ่ื
ความหมาย และนาเสนอไดอ้ ย่างถกู ต้อง เชอ่ื มโยงความร้ตู ่าง ๆ ในคณติ ศาสตรแ์ ละเชือ่ มโยงคณิตศาสตรก์ บั
ศาสตรอ์ น่ื ๆ

เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่าและมีเจตคติทดี่ ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ มีความคดิ ริเรม่ิ
สรา้ งสรรคพ์ ร้อมท้งั ตระหนกั ถึงความสมเหตสุ มผลของคาตอบ สามารถทางานอย่างมรี ะบบ ซ่ือสตั ย์สจุ ริต มี
วินัย ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามม่งุ ม่นั ในการทางาน โดยยึดหลักของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวม ๕ มำตรฐำน ๑๐ ตวั ชี้วดั

36

ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศำสตร์

รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุม่ สำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๒๐๐ ชว่ั โมง

จำนวนและพีชคณิต เขยี นและอำ่ น ตัวเลขฮนิ ดูอำรบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงปรมิ ำณของ
สิง่ ของ หรอื จำนวนนับกำรนบั เพิ่มทีละ ๕ ทลี ะ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ กำรนับลดทลี ะ ๒ ทลี ะ ๑๐ และ ทีละ ๑๐๐
จำนวนคู่ จำนวนคี่หลักและค่ำของเลขโดดในแตล่ ะหลกั กำรใช้ ๐ เพ่ือยึดตำแหน่งของหลกั ตวั เลขแสดงจำนวน
ในรูปกระจำย

เปรยี บเทยี บจำนวนนับโดยใช้เครอ่ื งหมำย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนไมเ่ กินห้ำจำนวนกำรบวก ลบ
คณู หำร และบวก ลบ คูณ หำร ระคน

ควำมหมำยของกำรคูณ กำรใชเ้ ครอ่ื งหมำย ื กำรคูณจำนวนหน่งึ หลักกับจำนวนไมเ่ กินสองหลกั กำรหำร
กำรใช้เครือ่ งหมำย ๗ กำรหำรทีต่ วั หำรและผลหำรมีหนึง่ หลกั วเิ ครำะห์และหำคำตอบของโจทย์ปญั หำและโจทย์
ปญั หำระคนกำรสร้ำงโจทยป์ ัญหำกำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร จำนวนนบั ไมเ่ กินหนึง่ พันและศนู ย์

บอกจำนวนและควำมสมั พนั ธ์ในแบบรปู ของจำนวนทีเ่ พม่ิ ขึ้นทลี ะ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ และลดลงที
ละ ๒ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐, รปู และควำมสัมพนั ธใ์ นแบบรูป ของรปู ที่มีรูปรำ่ ง ขนำด หรือสีทส่ี มั พันธ์กันอยำ่ งใด
อยำ่ งหนงึ่ ทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์

กำรวัดและเรขำคณิต บอกควำมยำวเป็นเมตร และเซนตเิ มตรน้ำหนักเปน็ กิโลกรัมและขีดปรมิ ำตรและ
ควำมจุเปน็ ลิตรจำนวนเงินจำกเงินเหรยี ญ และธนบัตรชนิดต่ำง ๆ และคำ่ ของเงินเหรยี ญและธนบัตรเวลำบน
หนำ้ ปัดนำฬิกำ ชว่ ง ๕ นำทีเวลำเป็นนำฬิกำกับนำทีช่วง ๕ นำทวี ัน เดือน ปี จำกปฏทิ นิ กำรอำ่ นปฏิทนิ เดือน
และอันดับท่ีของเดือน

กำรวัดควำมยำว เมตร เซนตเิ มตรกำรชัง่ นำ้ หนกั กิโลกรัม ขดี เปรยี บเทียบควำมยำวน้ำหนักในหน่วย
เดียวกันปริมำตรและควำมจุ ลติ รคำ่ ของเงนิ เหรยี ญและธนบัตรแกป้ ัญหำเก่ยี วกบั กำรวัดควำมยำว กำรชัง่ กำร
ตวง และเงนิ แกโ้ จทย์ปัญหำเก่ียวกับกำรวดั ควำมยำว บวก ลบกำรชง่ั บวก ลบกำรตวง บวก ลบ คณู หำรเงิน
บวก ลบ หนว่ ยเป็นบำท

บอกชนิดของรปู เรขำคณติ สองมติ วิ ่ำเปน็ รูปสำมเหลยี่ ม รูปส่ีเหล่ียม รูปวงกลม รปู วงรี ทรงส่เี หล่ียมมุม
ฉำก ทรงกลม หรอื ทรงกระบอก

จำแนกรูปสเี่ หล่ยี มมมุ ฉำกกบั ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉำกรปู วงกลมกับทรงกลม, รปู เรขำคณิตสองมติ ิกบั รปู
เรขำคณิตสำมมติ เิ ขียนรูปเรขำคณิตสองมติ ิโดยใช้แบบของรูปเรขำคณิตสำมเหลีย่ ม รปู สี่เหล่ียม รปู วงกลม และ
รูปวงรี

สถติ ิและควำมน่ำจะเป็นใชว้ ธิ กี ำรทห่ี ลำกหลำย ใช้ควำมรู้ ทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ใน
กำรแก้ปัญหำในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม ให้เหตผุ ลประกอบกำรตัดสนิ ใจ และสรปุ ผลได้อย่ำง
เหมำะสม ใชภ้ ำษำและสญั ลกั ษณ์ทำงคณิตศำสตร์ในกำรสอ่ื สำร กำรสือ่ ควำมหมำย และกำรนำเสนอไดอ้ ย่ำง
ถูกต้อง เช่ือมโยงควำมรู้ต่ำง ๆ ในคณิตศำสตร์และเช่ือมโยงคณติ ศำสตร์กับศำสตร์อ่ืน ๆ มคี วำมคดิ ริเริ่ม
สร้ำงสรรค์ สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไป

ประยุกต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

37

มำตรฐำน/ตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑

รวม ๔ มำตรฐำน ๑๖ ตัวชว้ี ดั

38

ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศำสตร์

รำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณติ ศำสตร์
ระดับช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ชวั่ โมง

จำนวนและและพีชคณติ เขียนและอำ่ น ตวั เลขฮินดูอำรบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือ แสดงปริมำณ
ของสง่ิ ของหรือจำนวนนบั ตัวเลข แสดงจำนวนในรปู กระจำย กำรนับเพ่มิ ทีละ ๓ ทลี ะ ๔ ทลี ะ ๒๕ และ ทีละ
๕๐กำรนบั ลดทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ และทีละ ๕๐

เปรยี บเทียบและเรยี งลำดบั จำนวนนับ ไม่เกนิ หนง่ึ แสนและศนู ย์ โดยใช้เครอ่ื งหมำย = ≠ > <หลักและ
คำ่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักกำรใช้ ๐ เพือ่ ยดึ ตำแหน่งของหลกั กำรเรยี งลำดับจำนวนไมเ่ กินหำ้ จำนวน

บวก ลบ คณู หำร และบวก ลบ คูณ หำรระคน ของจำนวนนบั ไม่เกนิ หน่ึงแสนและศูนย์ , กำรคณู
จำนวนหนงึ่ หลกั กับจำนวนไม่เกินสี่หลกั , กำรคณู จำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลกั , กำรหำรท่ตี วั ต้งั ไม่เกินส่ี
หลักและตวั หำรมีหนึง่ หลกั

วิเครำะหแ์ ละแสดงวธิ ีหำคำตอบ ของโจทยป์ ัญหำ กำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร , โจทยป์ ัญหำ
ระคนของกำรบวก ลบ คูณ หำรระคนของจำนวนนับไมเ่ กินหนึง่ แสนและศูนย์ กำรสร้ำงโจทยป์ ญั หำกำรบวก
กำรลบ กำรคูณ กำรหำร

บอกจำนวนและควำมสมั พนั ธ์ ของแบบรูปของจำนวนท่เี พ่ิมขนึ้ ทีละ ๓ ทีละ ๔ ทลี ะ ๒๕ ทีละ ๕๐ และ
ลดลงทีละ ๓ ทลี ะ ๔ ทลี ะ ๕ ทลี ะ ๒๕ ทีละ ๕๐ และแบบรูปซ้ำแบบรปู ของรปู ท่ีมีรูปรำ่ ง ขนำด หรอื สที ่สี มั พนั ธ์
กันสองลกั ษณะ

กำรวดั และเรขำคณิต บอก ควำมยำวเปน็ เมตร เซนติเมตรและมิลลิเมตรนำ้ หนักเปน็ กิโลกรมั กรมั และ
ขีด ปริมำตรและควำมจุเปน็ ลิตร มิลลิลิตร บอกเวลำบนหนำ้ ปดั นำฬกิ ำ ชว่ ง ๕ นำทีโดยใช้จดุ เลือกเครื่องมือ วัด
ควำมยำว ไม้เมตร ไม้บรรทัด สำยวัดตัว สำยวดั ชนิดตลับเครอ่ื งชั่ง เครื่องชง่ั สปรงิ เครอ่ื งชง่ั น้ำหนักตัว เครอื่ งชงั่
สองแขน เครื่องช่งั แบบตุม้ ถว่ งเครอื่ งตวง ถงั ลติ ร ช้อนตวง กระบอกตวง ถ้วยตวง เคร่ืองตวงน้ำมันเชอ้ื เพลิง
และหยอดเคร่อื ง

เปรียบเทียบ ควำมยำว เมตร เซนติเมตรน้ำหนักกำรช่งั กโิ ลกรมั กรมั ขีดปริมำตรและควำมจุของ
ภำชนะ ในหนว่ ยเดียวกัน

กำรคำดคะเน ควำมยำว เมตร เซนติเมตร, คำดคะเนน้ำหนกั กิโลกรมั , กำรคำดคะเนปรมิ ำตรของ
ส่งิ ของและควำมจุของภำชนะ ลิตร

กำรวดั ควำมยำว เมตร เซนตเิ มตร มิลลเิ มตรกำรตวง ลิตร มิลลลิ ิตร บอกควำมสัมพันธ์ ของหน่วยกำร
วัด ควำมยำว มิลลิเมตรกบั เซนติเมตร เซนตเิ มตรกับเมตรหนว่ ยกำรช่ัง กิโลกรมั กบั ขีด ขีดกบั กรัม กิโลกรัมกับ
กรมั , ควำมสัมพนั ธ์ของหนว่ ยเวลำ นำทีกบั ช่วั โมง ชัว่ โมงกบั วัน วนั กบั สปั ดำห์ วนั กบั เดือน เดอื นกับปี วันกับปี

อ่ำนและเขียน เวลำช่วง๕นำทีโดยใชจ้ ุด จำนวนเงนิ โดยใชจ้ ดุ , บันทกึ รำยรบั รำยจ่ำย, บนั ทึกกจิ กรรม
หรอื เหตุกำรณท์ ีร่ ะบเุ วลำ

แกป้ ัญหำและแก้โจทย์ปัญหำ เกี่ยวกับกำรวัดควำมยำว กำรช่ัง กำรตวง เงิน และเวลำบวก ลบ
บอก ชนิดของรูปเรขำคณติ สองมติ ิที่เป็นส่วนประกอบของส่ิงของทม่ี ลี ักษณะเปน็ รปู เรขำคณิตสำมมติ ิ
รูปวงกลม รูปวงรี รูปสำมเหลย่ี ม รูปสี่เหลีย่ ม รปู ห้ำเหลีย่ ม รปู หกเหล่ียม รปู แปดเหลย่ี ม, รูปเรขำคณิตต่ำง ๆ ท่ี
อยใู่ นสง่ิ แวดล้อมรอบตัว
ระบุ รูปเรขำคณติ สองมิติที่มีแกนสมมำตรจำกรปู ท่ีกำหนดให้

39

เขียน ชือ่ จุด เสน้ ตรง รังสี สว่ นของ เสน้ ตรง มุม และสญั ลักษณ์, รูปเรขำคณิตสองมิติโดยใชแ้ บบ
ของรปู เรขำคณิตรปู เรขำคณติ สองมติ ิท่ีกำหนดให้ในแบบต่ำง ๆ

สถติ ิและควำมน่ำจะเปน็ รวบรวมและจำแนกข้อมูล เก่ียวกับตนเองและสง่ิ แวดลอ้ มใกลต้ ัวทพี่ บเห็นใน
ชีวติ ประจำวนั อ่ำนข้อมลู จำกแผนภูมริ ปู ภำพและแผนภูมิแท่งอย่ำงง่ำย

ใช้วธิ ีกำรทีห่ ลำกหลำย ใชค้ วำมรู้ ทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ในกำรแกป้ ัญหำใน
สถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ใหเ้ หตุผลประกอบกำรตัดสินใจ และสรุปผลได้อยำ่ งเหมำะสม ใชภ้ ำษำและสญั ลักษณ์ทำง
คณิตศำสตร์ในกำรส่ือสำร กำรสื่อควำมหมำย และกำรนำเสนอได้อย่ำงถูกต้อง เชอื่ มโยงควำมรู้ตำ่ ง ๆ ใน
คณติ ศำสตร์และเชื่อมโยงคณิตศำสตรก์ ับศำสตรอ์ ่ืน ๆ มีควำมคิดริเร่มิ สรำ้ งสรรค์ สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ
ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวติ ประจาวันได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ ,
ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,
ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๘ ตัวช้วี ัด

40

ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศำสตร์

รำยวิชำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง

ศึกษา ฝกึ ทักษะการอ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวนนับท่ี
มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ เศษสว่ น จานวนคละ ทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหน่ง แสดงปริมาณของสิง่ ตา่ ง ๆ ที่กาหนด
พรอ้ มทงั้ เปรียบเทยี บและเรียงลาดับจานวนนบั ทมี่ ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ เศษสว่ นทตี่ วั สว่ นตัวหนงึ่ เปน็ พหุคณู ของ
อกี ตวั หนงึ่ จานวนคละ และทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง จาก สถานการณ์ต่าง ๆ ใช้การประมาณผลลัพธ์ของการ
บวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้อย่างสมเหตสุ มผล หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยค
สัญลกั ษณ์ แสดงการบวก การลบของจานวนนบั ท่ี มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลาย
หลัก ๒ จานวน ท่มี ี ผลคูณ ไม่เกนิ ๖ หลัก และแสดงการหารท่ตี วั ตง้ั ไม่เกนิ ๖ หลกั ตัวหารไมเ่ กิน ๒ หลกั
หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับ และ ๐ เศษส่วน จานวนคละท่ีตวั ส่วนตวั หนง่ึ เปน็ พหคุ ณู
ของอีกตัวหนึง่ และทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง สร้างโจทย์และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ขน้ั ตอน
ของจานวนนับท่ีมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ การบวก การลบเศษส่วน จานวนคละท่ตี ัวส่วนตัวหน่งึ เป็นพหุคณู
ของอีกตัวหนึ่ง และทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหน่ง จาแนกชนดิ ของมุม บอกชื่อมุม สว่ นประกอบของมุมและเขยี น
สัญลักษณ์แสดงมุม วดั และสร้างมุม โดยใช้ โพรแทรกเตอร์ สรา้ งรูปสีเ่ หล่ยี มมมุ ฉากเม่อื กาหนดความยาว
ของดา้ น แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั เวลา ความยาว รอบรปู และพ้นื ที่ของรูปส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก
ใช้ข้อมลู จากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทาง ในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

ใชว้ ธิ กี ารทหี่ ลากหลายแกป้ ัญหาใชค้ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยีในการ
แกป้ ัญหาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรปุ ผลไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม ใชภ้ าษา สัญลกั ษณท์ างคณิตศาสตรใ์ นการส่ือสาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอได้อยา่ งถกู ต้อง
และเหมาะสม เช่อื มโยงความร้ตู า่ ง ๆ ในคณติ ศาสตรแ์ ละเชื่อมโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อ่นื ๆ มคี วามคิดริเร่มิ
สรา้ งสรรค์

เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจเห็นคุณคา่ และมเี จตคตทิ ่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ มีความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์
พรอ้ มทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ สามารถทางานอย่างมรี ะบบ มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ใน
ดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอื่ สตั ย์สุจริต มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง มุง่ มน่ั ในการทางาน รักความ
เป็นไทย มจี ติ สาธารณะ สามารถดาเนินชวี ติ อย่างสนั ติสขุ ในสังคมไทยและสังคมโลกโดยยึดหลกั ของปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงและนาไปสปู่ ระชาคมอาเซียน

41

มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐,
ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๔ มำตรฐำน ๒๒ ตัวชวี้ ัด

42

ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศำสตร์

รำยวิชำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์
ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ ๕ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

จำนวนและพชี คณิต ควำมหมำย เขียนและอำ่ น เศษสว่ น จำนวนคละ และทศนิยมไมเ่ กนิ สองตำแหนง่
เศษส่วนแท้ เศษเกนิ เศษสว่ นทเ่ี ทำ่ กบั จำนวนนับกำรเขียนจำนวนนับในรปู เศษสว่ นกำรเขียนเศษเกินในรปู
จำนวนคละและกำรเขียนจำนวนคละในรปู เศษเกนิ เศษส่วนท่เี ทำ่ กนั , เศษสว่ นอยำ่ งต่ำกำรเขยี นทศนิยมในรปู
กระจำยเขยี นเศษสว่ นในรปู ทศนยิ มและร้อยละ เขยี นร้อยละในรูปเศษสว่ นและทศนยิ ม เขยี นทศนยิ มในรปู
เศษสว่ นและร้อยละกำรเขยี นเศษส่วนทต่ี วั ส่วนเปน็ ตัวประกอบของ ๑๐ และ ๑๐๐ ในรูปทศนิยมและร้อยละ

เปรียบเทยี บและเรยี งลำดับ เศษสว่ นและทศนิยมไมเ่ กนิ สองตำแหนง่ หลัก คำ่ ประจำหลกั
และค่ำของเลขโดดในแต่ละหลักของจำนวนนบั และทศนยิ มไมเ่ กินสองตำแหน่ง, กำรเปรยี บเทียบและเรียงลำดับ
เศษสว่ นท่ีตวั สว่ นตวั หนึ่งเป็นพหคุ ณู ของตัวส่วนอีก ตวั หนึ่ง

บวก ลบ คูณ หำร และบวก ลบ คูณระคน ของเศษส่วน, กำรบวก กำรลบเศษสว่ นที่ตวั ส่วนตัวหนง่ึ เป็น
พหุคณู ของตัวส่วนอีกตัวหน่งึ , กำรคูณเศษส่วนกับจำนวนนับ, กำรคูณเศษส่วนกบั เศษส่วน, กำรหำรเศษส่วนดว้ ย
จำนวนนบั , กำรหำรจำนวนนับด้วยเศษสว่ นกำรหำรเศษส่วนด้วยเศษสว่ น

บวก ลบ คณู และบวก ลบ คูณระคน ของทศนิยมทคี่ ำตอบเปน็ ทศนิยมไมเ่ กินสองตำแหน่งกำรบวก
และกำรลบทศนยิ มไมเ่ กนิ สองตำแหน่ง, กำรคูณทศนยิ มไม่เกนิ สองตำแหนง่ กับจำนวนนับ กำรคณู ทศนิยม
หนึ่งตำแหนง่ กับทศนิยมหน่ึงตำแหน่ง

วิเครำะหแ์ ละแสดงวิธหี ำคำตอบ ของโจทยป์ ัญหำและโจทย์ปัญหำระคนของจำนวนนับ เศษสว่ น
ทศนิยม และรอ้ ยละ, กำรบวก กำรลบ กำรคูณ กำรหำร และกำรบวก ลบ คูณ หำรระคนของจำนวนนับ,
โจทยป์ ัญหำที่ใช้บญั ญัติไตรยำงศ์ โจทยป์ ัญหำกำรบวก กำรลบ กำรคณู ทศนิยม โจทย์ปัญหำรอ้ ยละใน
สถำนกำรณ์ต่ำง ๆ รวมถึงโจทย์ปัญหำรอ้ ยละเกยี่ วกบั กำรหำกำไร ขำดทุน กำรลดรำคำและกำรหำรำคำขำย

สรำ้ งโจทยป์ ัญหำเก่ยี วกับ จำนวนนบั , กำรบวก กำรลบ กำรคณู กำรหำรเศษสว่ นกำรบวก ลบ คูณ
ระคนของเศษส่วนและจำนวนนับ ค่ำประมำณใกลเ้ คียง จำนวนเตม็ สบิ เตม็ ร้อย และเต็มพันของจำนวนนบั
และนำไปใชไ้ ด้

บอกจำนวนและควำมสมั พันธ์ในแบบรปู ของจำนวนที่กำหนดให้ กำรวดั และเรขำคณติ
บอกควำมสมั พันธ์ ของหนว่ ยกำรวดั ปรมิ ำตร หรอื ควำมจุ หำควำมยำวรอบรปู ของรูปส่ีเหล่ียม รปู สำมเหลยี่ ม
หำพน้ื ท่ี ของรูปสเี่ หล่ียมมุมฉำกและรูปสำมเหล่ียมวดั ขนำดของมมุ หำปรมิ ำตรหรอื ควำมจุ ของทรงสเ่ี หล่ียม
มมุ ฉำกแกป้ ัญหำเกย่ี วกับพนื้ ท่ี ควำมยำวรอบรปู ของรูปสีเ่ หล่ยี มมุมฉำกและรูปสำมเหล่ียม

เรขำคณิต บอกลักษณะและจำแนกรูปเรขำคณติ สำมมติ ิชนิดตำ่ ง ๆ ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปริซมึ
พีระมิดควำมสมั พนั ธแ์ ละ จำแนกรูปส่เี หลย่ี มชนิดตำ่ ง ๆ รูปสเ่ี หลี่ยมจตั ุรสั รปู สเ่ี หล่ียมผนื ผ้ำ รูปส่ีเหลีย่ มขนม
เปยี กปูน รูปส่ีเหล่ียมด้ำนขนำน รปู สเ่ี หล่ียมคำงหมู รปู สเี่ หลยี่ มรปู วำ่ วสว่ นประกอบ ควำมสมั พนั ธ์ และจำแนก
รูปสำมเหลีย่ มชนดิ ต่ำง ๆรปู สำมเหลยี่ มแบ่งตำมลกั ษณะของดำ้ น รูปสำมเหลย่ี มแบ่งตำมลักษณะของมุม
ส่วนประกอบของรูปสำมเหล่ียม มุมภำยในของรูปสำมเหล่ียม สร้ำงมมุ โดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ สรำ้ งรปู ส่เี หลย่ี ม
มมุ ฉำก รปู สำมเหล่ยี ม และรูปวงกลมสร้ำงเสน้ ขนำนโดยใช้ไมฉ้ ำก

43

สถิติและควำมน่ำจะเปน็ เขียนแผนภูมิแท่งท่ีมกี ำรย่นระยะของเสน้ แสดงจำนวนกำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
และกำรจำแนกข้อมลู อ่ำนข้อมลู จำกแผนภูมแิ ท่งเปรยี บเทียบคำดคะเนเกย่ี วกบั กำรเกิดข้นึ ของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ
เกดิ ขึ้นอย่ำงแนน่ อน อำจจะเกดิ ขนึ้ หรือไม่ก็ได้ ไม่เกดิ ข้ึนอยำ่ งแน่นอน

ใชว้ ิธกี ำรทห่ี ลำกหลำยแก้ปัญหำใชค้ วำมรู้ ทักษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์และเทคโนโลยีใน
กำรแกป้ ัญหำในสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ ได้อย่ำงเหมำะสม, ใหเ้ หตผุ ลประกอบกำรตัดสนิ ใจ และสรปุ ผลได้อยำ่ ง
เหมำะสมใชภ้ ำษำและสัญลักษณท์ ำงคณิตศำสตรใ์ นกำรสอื่ สำร กำรส่ือควำมหมำย และกำรนำเสนอได้อย่ำง
ถกู ต้องและเหมำะสมเชื่อมโยงควำมรูต้ ่ำง ๆ ในคณติ ศำสตรแ์ ละเชอ่ื มโยงคณิตศำสตรก์ ับศำสตร์อนื่ ๆ มีควำมคิด
รเิ ริม่ สร้ำงสรรค์ สามารถนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ช้กับชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวม ๔ มำตรฐำน ๑๙ ตัวชว้ี ัด

44

ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศำสตร์

รำยวชิ ำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณติ ศำสตร์
ระดบั ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๖ เวลำ ๑๖๐ ชวั่ โมง

จานวนและพีชคณติ
เขยี นและอ่ำน ทศนยิ มไมเ่ กนิ สำมตำแหน่งกำรเขยี นทศนิยมในรปู กระจำย, กำรเขยี นทศนิยมไม่เกนิ สำม

ตำแหน่งในรปู เศษสว่ นกำรเขียนเศษสว่ นที่ตัวสว่ นเปน็ ตวั ประกอบของ ๑๐, ๑๐๐, ๑๐๐๐ ในรูปทศนยิ ม
เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับ เศษส่วนและทศนยิ มไมเ่ กินสำมตำแหนง่ , หลัก คำ่ ประจำหลัก และค่ำของเลข

โดดในแตล่ ะหลักของทศนยิ มสำมตำแหน่ง
บวก ลบ คณู หำร และบวก ลบ คูณ หำรระคน ของเศษส่วน จำนวนคละ และทศนิยม, กำรบวก กำรลบ

กำรคณู กำรหำร และกำรบวก ลบ คณู หำรระคนทศนยิ มท่มี ผี ลลัพธ์เปน็ ทศนิยมไม่เกินสำมตำแหนง่
วเิ ครำะหแ์ ละแสดงวิธีหำคำตอบ โจทย์ปัญหำและโจทยป์ ัญหำระคนของ จำนวนนบั เศษสว่ น จำนวน

คละ ทศนิยม และร้อยละ
กำรสร้ำงโจทยป์ ญั หำ กำรคูณ กำรหำร และกำรคณู หำรระคนของทศนิยม, โจทย์ปญั หำรอ้ ยละใน

สถำนกำรณ์ต่ำง ๆ รวมถึงโจทย์ปญั หำรอ้ ยละเกี่ยวกบั กำรหำกำไร ขำดทนุ กำรลดรำคำ กำรหำรำคำขำย
กำรหำรำคำทุน และดอกเบย้ี

บอกค่ำประมำณใกล้เคียงจำนวนเต็ม หลกั ตำ่ ง ๆ ของจำนวนเต็มหมน่ื เตม็ แสน และเตม็ ล้ำนนับ และ
นำไปใช้ได้ค่ำประมำณของทศนิยมไมเ่ กินสำมตำแหนง่ , สมบัติกำรสลบั ที่ กำรเปลยี่ นหมู่แจกแจงกำรบวก กำร
คูณ กำรบวก ลบ คูณ หำรระคน หรม. และ ครน. จำนวนนบั ตวั ประกอบ จำนวนเฉพำะ และ ตัวประกอบเฉพำะ

แก้ปญั หำเกี่ยวกับแบบรูปเขยี นสมกำรจำกสถำนกำรณ์หรอื ปัญหำ และแกส้ มกำรพรอ้ มท้ังตรวจคำตอบ,
สมกำรเชงิ เส้นทีม่ ตี ัวไมท่ รำบคำ่ หนึง่ ตัว, กำรแก้สมกำรโดยใชส้ มบตั ขิ องกำรเท่ำกนั เกี่ยวกบั กำรบวก กำรลบ กำร
คูณ หรือกำรหำร, กำรแกโ้ จทยป์ ัญหำด้วยสมกำร

กำรวัดและเรขำคณิต อธิบำยเส้นทำงหรือบอกตำแหน่งของสิ่งตำ่ ง ๆ โดยระบทุ ิศทำงและระยะทำงจริง
จำกรูปภำพ แผนท่ี และ แผนผงั ทิศ กำรบอกตำแหน่งโดยใช้ทิศ มำตรำส่วน กำรอำ่ นแผนผังหำพน้ื ทข่ี องรปู
ส่เี หล่ียมโดยใชค้ วำมยำวของด้ำนและสมบัติของเสน้ ทแยงมมุ หำควำมยำวรอบรูปและพ้ืนทข่ี องรูป วงกลม
แก้ปัญหำเกย่ี วกับพน้ื ที่ ควำมยำวรอบรูปของรูปส่ีเหลีย่ มและรูปวงกลมคำดคะเนพ้ืนท่ขี องรปู ส่ีเหล่ยี ม, โจทย์
ปัญหำเก่ียวกบั ควำมยำวรอบรปู พ้นื ท่ขี องรูปส่เี หล่ยี ม และ พืน้ ท่ีของรปู วงกลมปรมิ ำตรและควำมจุของทรง
สี่เหลีย่ มมมุ ฉำก, เขียนแผนผงั แสดงตำแหน่งของส่งิ ต่ำง ๆ และแผนผงั แสดงเส้นทำงกำรเดนิ ทำงและ กำรเขยี น
แผนผงั โดยสงั เขป

บอกชนดิ ของรูปเรขำคณติ สองมิติทีเ่ ป็นส่วนประกอบของรูปเรขำคณิตสำมมติ ิ ทรงสีเ่ หล่ียมมมุ ฉำก ทรง
กลม ทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมดิ สมบตั ิของเส้นทแยงมมุ
ของรปู สี่เหล่ยี มชนิดต่ำง ๆคุณสมบัติของเสน้ ตรงท่ีขนำนกันโดยอำศัยมุมแยง้ และอำศัยผลบวกของขนำดของมุม
ภำยในที่อยู่บนข้ำงเดียวกันของเส้นตดั เปน็ ๑๘๐ องศำ ม, ประดษิ ฐ์ทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉำก ทรงกระบอก กรวย

ปริซมึ และ พรี ะมิด จำกรปู คลีห่ รือรปู เรขำคณิตสองมติ ิ , สรำ้ งรปู สี่เหลีย่ มชนดิ ตำ่ ง

สถิติและควำมน่ำจะเปน็ อำ่ นข้อมูลจำกกรำฟเสน้ และแผนภมู ิรปู วงกลม , เขยี นแผนภมู ิแท่ง
เปรยี บเทยี บและกรำฟเสน้ , อธบิ ำยเหตกุ ำรณโ์ ดยใช้คำวำ่ เกดิ ขนึ้ อยำ่ งแน่นอน อำจจะเกิดขึน้ หรือไมก่ ็ได้ ไม่
เกิดขน้ึ อยำ่ งแนน่ อนคำดคะเนเกีย่ วกบั กำรเกิดข้ึนของเหตกุ ำรณต์ ่ำง ๆ

45

ใชว้ ิธีกำรที่หลำกหลำยแกป้ ัญหำใชค้ วำมรู้ ทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์และเทคโนโลยใี น
กำรแกป้ ัญหำในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ได้อย่ำงเหมำะสม, ให้เหตุผลประกอบกำรตัดสนิ ใจ และสรปุ ผลได้อยำ่ ง
เหมำะสมใชภ้ ำษำและสญั ลักษณท์ ำงคณิตศำสตรใ์ นกำรสือ่ สำร กำรสอื่ ควำมหมำย และกำรนำเสนอได้อย่ำง
ถกู ต้องและเหมำะสมเช่อื มโยงควำมรตู้ ่ำง ๆ ในคณติ ศำสตร์และเชื่อมโยงคณิตศำสตร์กับศำสตร์อน่ื ๆ, มีควำมคดิ
ริเร่มิ สร้ำงสรรค์ สามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,
ป.๖/๑๑, ป.๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๑ ตัวช้วี ัด

46

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์

และเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version