97
อ ๑๑๑๐๑ ภำษำอังกฤษ
รำยวิชำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ
ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ ๑ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง
ปฏิบตั ติ าม คาส่งั ง่ายๆ ท่ีฟงั ตวั อักษรและเสยี ง และสะกดคางา่ ย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
ภาพตรงตามความหมายของคาและกลุ่มคาทฟี่ ัง เร่ืองใกล้ตวั คาส้ัน ๆ งา่ ย ๆ ในการส่ือสารระหว่างบคุ คลตาม
แบบทฟี่ ัง คาสง่ั ง่าย ๆ ตามแบบทฟี่ ัง ความต้องการง่ายๆของตนเองตามแบบทีฟ่ ัง การขอและให้ข้อมูลง่ายๆ
เกยี่ วกบั ตนเองตามแบบท่ีฟัง ข้อมลู ง่ายๆ เกีย่ วกบั ตนเองและเรอื่ งใกลต้ ัว ตามวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา
ชือ่ และคาศพั ท์เกี่ยวกับเทศกาลสาคญั ของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมที่
เหมาะสมกับวัย การระบตุ วั อักษรและเสียงอักษรของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย
คาศัพท์ทเ่ี กย่ี วข้องกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อ่ืน การฟงั /พูดในสถานการณง์ ่าย ๆ ทเี่ กดิ ข้ึนในหอ้ งเรียน
การใช้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) เพื่อรวบรวมคาศัพท์ท่เี ก่ยี วข้องใกลต้ วั
โดยการปฏบิ ัตติ าม ระบุ อ่านออกเสียง เลือกภาพ ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก พูด ขอ ให้ข้อมลู
ทาท่าประกอบ เขา้ รว่ ม ฟัง/พูด เพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันเกดิ
สมรรถนะตามความต้องการของหลกั สตู ร มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ ึ้นในตวั ของผูเ้ รียน และสามารถ
อยู่ร่วมกับผ้อู ื่นในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข สามารถนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชวี ติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้วี ัด
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวม ๘ มำตรฐำน ๑๖ ตวั ชี้วดั
98
อ ๑๒๑๐๑ ภำษำอังกฤษ
รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง
ปฏบิ ตั ิตามคาสงั่ ง่ายๆ และคาขอร้องง่ายๆ ที่ฟัง ระบุตัวอักษรและเสียง อ่านออกเสยี งคา สะกดคา
และอ่านประโยคงา่ ยๆ ถูกต้องตามหลกั การอา่ น เลอื กภาพตรงตามความหมายของคาและกลุ่มคาท่ีฟงั
ตอบคาถามจากการฟังประโยค บทสนทนาหรอื นิทานง่าย ๆ ทีม่ ภี าพประกอบ พูดโต้ตอบด้วยคาสน้ั ๆ ง่าย ๆ
ในการสือ่ สารระหวา่ งบคุ คลตามแบบที่ฟงั ใช้คาสง่ั และคาขอรอ้ งง่าย ๆ ตามแบบทฟี่ ัง บอกความตอ้ งการง่าย ๆ
ของตนเองตามแบบทฟ่ี งั พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เกยี่ วกับตนเองตามแบบที่ฟัง พดู ให้ข้อมูล เกย่ี วกบั ตนเอง
และเร่ืองใกลต้ ัว พูดและทาท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชอื่ และคาศัพท์เก่ียวกบั
เทศกาลสาคัญของเจ้าของภาษา การเข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมทเี่ หมาะสมกับวัย ระบุตัวอักษร
และเสียงอักษรของภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกคาศัพท์ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับกลุ่มสาระ
การเรียนรูอ้ ่นื ฟัง/พดู ในสถานการณง์ า่ ยๆท่เี กิดขึ้นในห้องเรียน ใช้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ)
เพือ่ รวบรวมคาศัพท์ทีเ่ ก่ียวขอ้ งใกลต้ วั
โดยการระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโตต้ อบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เขา้ ร่วม ฟัง เพื่อให้
ผเู้ รียนมีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความตอ้ งการของหลักสูตร
มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ขึ้นในตัวของผเู้ รียน และสามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อื่นในสงั คมได้อย่างมีความสุข
สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้
กบั ชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวชว้ี ัด
ต ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑
รวม ๘ มำตรฐำน ๑๖ ตัวช้วี ัด
99
อ ๑๓๑๐๑ ภำษำองั กฤษ
รำยวิชำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง
ปฏิบตั ติ ามคาส่งั และคาขอร้องท่ฟี งั หรืออ่าน คา สะกดคา อ่านกลมุ่ คาประโยค และบทพูดเข้าจังหวะ
(chant)ง่าย ๆ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่าน ภาพหรือสญั ลักษณ์ตรงตามความหมายของคากลุ่มคาและประโยคท่ี
ฟัง จากการฟังหรืออา่ นประโยค บทสนทนา หรอื นทิ านง่ายๆ คาสน้ั ๆ งา่ ย ๆในการส่ือสารระหว่างบุคคล
ตามแบบที่ฟัง คาส่งั และคาขอรอ้ งงา่ ย ๆ ตามแบบทฟ่ี ัง ความตอ้ งการงา่ ยๆของตนเองตามแบบท่ีฟงั ขอและ
ให้ขอ้ มลู งา่ ยๆ เกี่ยวกับตนเองและเพ่ือนตามแบบที่ฟัง ความรู้สกึ ของตนเองเกี่ยวกับสงิ่ ต่าง ๆ ใกล้ตวั หรอื
กจิ กรรมต่าง ๆ ตามแบบที่ฟัง ให้ขอ้ มลู ง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเรอ่ื งใกล้ตวั คาตามประเภทของ บุคคล สตั ว์
และส่ิงของตามทฟ่ี ังหรืออา่ น มารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ชอ่ื และคาศัพทง์ ่ายๆเกยี่ วกับ
เทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและชีวิตความเปน็ อยู่ของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่
เหมาะสมกบั วัย ความแตกต่างของเสียงตวั อกั ษร คา กลุ่มคา และประโยคง่าย ๆ ของภาษาตา่ งประเทศ
(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย คาศัพท์ทเี่ กยี่ วข้องกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน สถานการณ์ง่ายๆทีเ่ กิดข้นึ
ในห้องเรยี น ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพ่อื รวบรวมคาศัพท์ทเี่ กี่ยวข้องใกลต้ ัว
โดยการอา่ นออกเสียง สะกดคา ฟัง พดู เลือก/ระบุ ตอบคาถาม พดู โต้ตอบ ใช้ บอก จดั
หมวดหมู่ ทาท่าประกอบ เข้ารว่ มกิจกรรม เพ่ือให้มคี วามรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปปฏิบัติ
ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม มคี ุณธรรม จริยธรรม สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั
ต ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวม ๘ มำตรฐำน ๑๘ ตวั ชีว้ ดั
100
อ ๑๔๑๐๑ ภำษำองั กฤษ
รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ
ระดบั ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๔ เวลำ ๘๐ ช่วั โมง
เข้าใจและใชภ้ าษาองั กฤษสือ่ สาร แลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมลู ข่าวสาร สรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
บคุ คล ในเร่อื งที่เก่ยี วกบั ตนเอง บคุ คล สัตว์ และเรื่องใกล้ตวั มที ักษะการใช้ภาษาอังกฤษใน การฟัง พดู อ่าน เขียน
ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดขึ้นในหอ้ งเรยี นและสถานศึกษา ตามหวั เรอ่ื งทเ่ี กีย่ วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น
สิง่ แวดลอ้ ม อาหาร เครือ่ งดื่ม เวลาวา่ งและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซือ้ -ขาย และลมฟ้าอากาศ ในวง
คาศัพทส์ ะสมประมาณ ๕๕๐-๗๐๐ คา (คาศัพท์ท่เี ปน็ รูปธรรมและนามธรรม) ใช้ประโยคเดย่ี วและประโยคผสม
สญั ลักษณ์ เครื่องหมาย และสอื่ ความตามบรบิ ทตา่ ง ๆ เข้าใจข้อความที่เปน็ ความเรยี งใน การสนทนาในบรบิ ทท่ี
หลากหลายมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั วัฒนธรรมทางภาษา และชวี ติ ความเป็นอยู่ของเจา้ ของภาษา ตามบรบิ ทของ
ข้อความทพี่ บ ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ นาเสนอและสืบค้นขอ้ มลู ความรูใ้ นกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น
สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้
กับชวี ติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ต ๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ต ๑.๓ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวม ๘ มำตรฐำน ๒๐ ตัวชวี้ ดั
101
อ ๑๕๑๐๑ ภำษำองั กฤษ
รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ
ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง
ปฏิบตั ติ ามคาสงั่ คาขอร้อง และคาแนะนา ที่ฟงั หรอื อา่ น อา่ นออกเสยี ง ประโยค ข้อความ และบท
กลอนส้นั ๆ ถูกต้องตามหลักการอา่ น ระบ/ุ วาดภาพสญั ลักษณ์ หรอื เครอื่ งหมายตรงตามความหมายของประโยค
และข้อความสัน้ ๆท่ีฟังหรืออ่าน บอกใจความสาคญั และตอบคาถามจากการฟังหรืออ่านบทสนทนา และนิทาน
งา่ ยๆหรือเรื่องส้นั ๆ พดู /เขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหวา่ งบคุ คล ใช้คาสัง่ คาขอร้อง คาขออนญุ าตและ
ใหค้ าแนะนางา่ ย ๆ พูด/เขยี นแสดงความต้องการของตนเองตาม ขอความชว่ ยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธการให้
ความชว่ ยเหลอื ในสถานการณ์งา่ ยๆ พดู /เขียนเพื่อขอและให้ข้อมลู เกีย่ วกับตนเองเพ่ือน ครอบครวั และเร่ือง
ใกลต้ ัว พดู แสดงความรูส้ กึ ของตนเองเกี่ยวกบั เร่ืองตา่ ง ๆ ใกลต้ ัว หรือกจิ กรรมตา่ ง ๆ พร้อมท้งั ใหเ้ หตุผลสั้น ๆ
ประกอบ พดู /เขยี นใหข้ ้อมลู ง่าย ๆ เก่ยี วกบั ตนเองและเรอ่ื งใกลต้ วั เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมลู
ตา่ ง ๆ ตามท่ีฟังหรืออ่าน พดู แสดงความคิดเห็น เก่ียวกบั เร่ืองตา่ ง ๆ ใกลต้ วั ใชถ้ ้อยคา น้าเสียง และกริ ยิ าท่าทาง
อย่างสภุ าพตามมารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ตอบคาถาม/บอกความสาคัญของเทศกาล/วัน
สาคัญ/งานฉลองและชวี ติ ความเป็นอย่งู ่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตาม
ความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดตา่ ง ๆ การใช้เคร่อื งหมายวรรค
ตอน และการลาดับคา(order)ตามโครงสรา้ งของประโยคของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย
บอกความเหมือน/ความแตกตา่ งระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากบั ของไทย
คน้ ควา้ รวบรวม คาศัพทท์ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อื่น และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง พดู
และอา่ น/เขียนในสถานการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในห้องเรยี นและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
ในการสืบค้นและรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ
โดยการฟัง พูด อ่าน เขยี น ระบุ อ่านออกเสยี ง เลอื ก ตอบคาถาม พดู โตต้ อบ ใช้ บอก ทาท่าทาง
เข้าร่วม เพ่ือให้ผ้เู รยี นมีความรู้ความเขา้ ใจและนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั เกดิ สมรรถนะตามความ
ต้องการของหลักสูตร มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ขน้ึ ในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อนื่ ในสงั คมได้
อยา่ งมีความสุข สามารถนาความร้ไู ปใชใ้ ห้เกิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
102
มำตรฐำน/ตัวชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวม ๘ มำตรฐำน ๒๐ ตวั ช้วี ดั
103
อ ๑๖๑๐๑ ภำษำองั กฤษ
รำยวชิ ำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๖ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง
ปฏิบัตติ ามคาส่ัง คาขอร้อง และคาแนะนา ท่ีฟังและอา่ น อ่านออกเสียง ข้อความ นิทาน และบทกลอน
สน้ั ๆ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่าน เลอื ก/ระบปุ ระโยค หรอื ข้อความสน้ั ๆ ตรงตามภาพ สญั ลักษณ์ หรือ
เคร่ืองหมายท่ีอา่ น บอกใจความสาคัญ และตอบคาถามจากการฟังหรืออา่ น บทสนทนา หรือนทิ านงา่ ยๆและ
เรอ่ื งเล่า พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คาสง่ั คาขอรอ้ ง และคาขออนุญาตและให้คาแนะนา
พูด/เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลอื ตอบรบั และปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณง์ า่ ย ๆ
พดู /เขียนเพือ่ ขอและให้ข้อมลู เก่ียวกับตนเอง เพื่อน ครอบครวั และเรอ่ื งใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรสู้ กึ ของ
ตนเองเกยี่ วกับเร่ืองต่าง ๆ ใกลต้ วั หรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ พร้อมทงั้ ใหเ้ หตุผลสั้นๆประกอบ พดู /เขยี นให้ขอ้ มลู
เกย่ี วกบั ตนเอง เพ่ือน และสิ่งแวดล้อมใกลต้ ัว เขียนภาพ แผนผงั และแผนภูมิแสดงข้อมูลตา่ ง ๆ ตามที่ฟงั หรือ
อ่าน พูดเขยี นแสดงความคดิ เห็น เก่ียวกบั เรอ่ื งต่าง ๆ ใกลต้ ัว ใช้ถอ้ ยคา นา้ เสียง และกิริยาท่าทางอยา่ งสภุ าพ
เหมาะสมตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ให้ขอ้ มูลเกยี่ วกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง/
ชวี ิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความ
เหมอื น/ความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสยี งประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดบั คา
ตามโครงสรา้ ง ประโยค ของภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือน/ความ
แตกตา่ งระหวา่ งเทศกาลงานฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คาศพั ท์ที่
เกยี่ วข้องกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืนจากแหลง่ การเรียนรู้ และนาเสนอดว้ ยการพูด/การเขยี น ใชภ้ าษาส่ือสาร
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสบื ค้นและ
รวบรวมข้อมูลตา่ ง ๆ
โดยการฟัง พดู อา่ น เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ เขา้ ร่วม
เปรยี บเทยี บ คน้ คว้า ใช้ บอก เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจและนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั เกดิ
สมรรถนะตามความต้องการของหลกั สูตร มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ ึน้ ในตวั ของผู้เรียน และสามารถอยู่
รว่ มกับผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข สามารถนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
104
มำตรฐำน/ตวั ชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ต ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๒ ป.๖/๑
รวม ๘ มำตรฐำน ๒๐ ตัวช้ีวดั
105
อ ๑๑๒๐๑ ภำษำองั กฤษเพอื่ กำรสื่อสำร
รำยวชิ ำเพ่ิมเติม กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๑ เวลำ ๔๐ ชัว่ โมง
ใชค้ าสง่ั ท่ใี ช้ในห้องเรียน ตวั อักษร เสยี งตวั อักษร สระ การสะกดคา ใหข้ อ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง ประโยค
บอกความตอ้ งการเกย่ี วกบั ตนเอง ประโยค ให้ข้อมลู เก่ยี วกับตนเอง คาสั่งท่ใี ชใ้ นห้องเรยี น ขอ้ ความทีใ่ ชใ้ นการ
พดู ให้ข้อมูลเกย่ี วกับตนเอง และเรื่องใกล้ตวั คา ที่มีความหมายสัมพนั ธก์ ับสงิ่ ตา่ ง ๆ ใกล้ตัว อาหาร เครอ่ื งดื่ม
วัฒนธรรมเจ้าของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพดู แนะนาตนเอง การใชภ้ าษาในการฟัง พดู อา่ น
ในสถานการณ์ท่ีเกิดขนึ้ ในห้องเรยี น
โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมลู และมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซื่อสัตย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถงึ ความเปน็ ไทย
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถสอื่ สารส่งิ ทเ่ี รียนรู้ และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ใน
ชวี ิตประจาวนั สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
ผลกำรเรียนรู้
๑. ปฏบิ ัติตามคาสงั่ คาขอรอ้ งท่ีฟัง
๒. อา่ นออกเสยี งตัวอักษร คา กลมุ่ คา ประโยคงา่ ยๆ และ บทพูดเขา้ จังหวะงา่ ยๆ ถูกต้องตาม
หลกั การอา่ น
๓. บอกความหมายของคาและกลุ่มคาที่ฟงั ตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟงั หรอื อ่าน
ประโยคบทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
รวม ๓ ผลกำรเรยี นรู้
106
อ ๑๒๒๐๑ ภำษำอังกฤษเพ่ือกำสอื่ สำร
รำยวชิ ำเพิม่ เติม กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๒ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
ใช้คาสงั่ ทใ่ี ช้ในห้องเรียน ตัวอักษร เสียงตัวอักษร สระ การสะกดคา การอ่านออกเสยี ง คา กลมุ่ คา บท
อ่าน บทสนทนา ประโยค ให้ขอ้ มูลเก่ยี วกับตนเองคา ประโยคบทอ่าน บทสนทนา ประโยค ใหข้ อ้ มูลเกย่ี วกับ
ตนเอง ข้อความท่ใี ชใ้ นการพูดให้ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ตนเอง และเร่ืองใกลต้ ัว คา ที่มีความหมายสมั พันธก์ ับส่ิงตา่ ง ๆ
ใกลต้ วั อาหาร เคร่ืองดื่ม วัฒนธรรมเจา้ ของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนา
ตนเอง กิจกรรมทางภาษา
การร้องเพลง การใชภ้ าษาในการฟงั พดู อา่ นในสถานการณ์ทเี่ กิดขน้ึ ในห้องเรียน
โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมูลและมที ักษะทางสงั คม มวี ถิ ีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซอ่ื สัตย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถงึ ความเปน็ ไทย
เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถสอื่ สารสงิ่ ที่เรียนรู้ และ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ใน
ชวี ติ ประจาวนั สามารถนาความรไู้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
ผลกำรเรยี นรู้
๑. ปฏบิ ัตติ ามคาสง่ั คาขอรอ้ งทฟ่ี งั
๒. อ่านออกเสยี งตวั อักษร คา กลมุ่ คา ประโยคงา่ ยๆ และ บทพูดเขา้ จังหวะงา่ ยๆ
ถูกต้องตามหลักการอ่าน
๓. บอกความหมายของคาและกลุม่ คาที่ฟังตรงตามความหมายตอบคาถามจากการฟังหรืออ่าน
ประโยค บทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
๔. พูดโต้ตอบดว้ ยคาสน้ั ๆ งา่ ยๆ ในการส่อื สารระหว่างบคุ คลตามแบบทฟี่ งั ใช้คาส่ังและ
คาขอร้องง่ายๆ บอกความต้องการงา่ ยๆ ของตนเอง พูดขอและใหข้ อ้ มลู เก่ยี วกบั ตนเองและเพ่ือนบอกความรู้สกึ
ของตนเองเกย่ี วกบั สิง่ ต่าง ๆ ใกลต้ ัวหรอื กิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบที่ฟงั
๕. พูดใหข้ อ้ มลู เกีย่ วกับตนเองและเร่ืองใกล้ตวั จดั หมวดหม่คู าตามประเภทของบุคคล สตั ว์ และ
สิ่งของตามที่ฟังหรอื อา่ น
๖. พูดและทาท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา บอกช่ือและคาศพั ท์
งา่ ยๆ เกีย่ วกบั เทศกาล/วันสาคญั /งานฉลอง และชวี ิตความเป็นอย่ขู องเจา้ ของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา
และวัฒนธรรมท่เี หมาะกับวัย
รวม ๖ ผลกำรเรยี นรู้
107
อ ๑๓๒๐๑ ภำษำองั กฤษ
รำยวชิ ำเพมิ่ เติม กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ระดับช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ใช้คาสั่งที่ใชใ้ นห้องเรียน ตวั อักษร เสยี งตัวอกั ษร สระ การสะกดคา การอ่านออกเสียงคา กลุ่มคา
บทอ่าน พูดเข้าจงั หวะ บทสนทนา ประโยค ใหข้ ้อมูลเกย่ี วกับตนเองคา เลือกระบภุ าพ ตรงความหมาย
บทสนทนา ใหข้ ้อมูลเก่ียวกับตนเอง ประโยคบอกความต้องการเกี่ยวกับตนเอง คาสง่ั ทใ่ี ช้ในหอ้ งเรียน ขอ้ ความ
ทใี่ ช้ในการพูดใหข้ ้อมลู ความรู้สึกเก่ียวกับตนเอง และเรือ่ งใกล้ตัว วัฒนธรรมเจา้ ของภาษาแสดงกิริยา
การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนาตนเอง การใช้ภาษาในการฟงั พดู อ่านในสถานการณ์ที่เกดิ ขึน้ ในห้องเรียน
โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมลู และมที ักษะทางสงั คม มวี ถิ ีของ
ระบอบประชาธปิ ไตย ซ่ือสัตย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถงึ ความเป็นไทย เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถ
สือ่ สารส่งิ ท่เี รียนรู้ และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
ผลกำรเรียนรู้
๑. ปฏบิ ัตติ ามคาสั่ง คาขอร้องท่ฟี งั
๒. บอกความหมายของคาและกลมุ่ คาท่ีฟังตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟังหรอื อ่าน
ประโยคบทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ
๓. พูดโต้ตอบด้วยคาส้นั ๆ งา่ ยๆ ในการส่ือสารระหว่างบคุ คลตามแบบทฟ่ี งั ใช้คาสั่งและคาขอรอ้ ง
งา่ ย ๆ
๔. บอกความต้องการงา่ ยๆ ของตนเอง พูดขอและให้ขอ้ มลู เก่ียวกับตนเองและเพ่ือน บอกความรูส้ กึ
ของตนเองเกย่ี วกบั สงิ่ ตา่ ง ๆ ใกลต้ วั หรือกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามแบบท่ีฟัง
๕. พดู ใหข้ อ้ มูลเก่ียวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตวั จดั หมวดหม่คู าตามประเภทของบุคคล สตั ว์ และ
ส่ิงของตามที่ฟงั หรอื อ่าน
๖. พดู และทาท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
๗. บอกชอื่ และคาศัพท์ง่ายๆ เกีย่ วกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง และชีวติ ความเป็นอยู่ของ
เจ้าของภาษา เข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมทเ่ี หมาะกับวัย
๘. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอกั ษร คา กลมุ่ คา และประโยคงา่ ยๆ ของภาษาองั กฤษและ
ภาษาไทย
๙. ฟงั /พูดในสถานการณ์งา่ ยๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในห้องเรียน
รวม ๙ ผลกำรเรยี นรู้
108
กิจกรรมพฒั นำผู้เรียน
109
กิจกรรมพฒั นำผ้เู รยี น
โรงเรยี นบ้านหนองแสง ได้จัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนโดยมุง่ ใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้จากประสบการณ์ตรง
ได้ฝึกปฏิบตั ิจริงและค้นพบความถนดั ของตนเอง สามารถค้นควา้ หาความรู้เพิ่มเติมตามความสนใจจากแหลง่
เรยี นรู้ที่หลากหลาย บาเพ็ญประโยชน์เพ่ือสงั คม มที ักษะในการดาเนนิ งาน สง่ เสริมให้มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์
สังคม ศลี ธรรม จริยธรรม ใหผ้ ู้เรียนรู้จักและเขา้ ใจตนเอง สามารถวางแผนชวี ิตและอาชีพได้อยา่ งเหมาะสม
กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนเป็นกิจกรรมทมี่ ุ่งใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาการเรียนร้อู ยา่ งรอบ
ดา้ นเพื่อความเป็นมนษุ ย์ทสี่ มบรู ณท์ ั้งร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสงั คม เสรมิ สร้างให้เป็นผมู้ ศี ีลธรรม
จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินยั ปลูกฝังใหส้ ร้างจิตสานกึ ของการทาประโยชนเ์ พ่ือสังคม สามรถจกั การตนเองไดแ้ ละอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสขุ โรงเรียนบ้านหนองแสง ไดจ้ ัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยแบ่งออกเปน็ ๓ ลกั ษณะ
ดงั น้ี
๑. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมทสี่ ่งเสรมิ และพฒั นาผ้เู รยี นให้รูจ้ กั ตนเอง รูร้ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
สามารถตดั สนิ ใจ คดิ แก้ปญั หา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทง้ั ด้านการเรยี น และอาชีพ สามารถปรบั ตนได้
อยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ยี งั ช่วยใหค้ รรู จู้ ักและเข้าใจผเู้ รยี น ทัง้ ยงั เป็นกิจกรรมทช่ี ่วยเหลอื และให้คาปรึกษาแก่
ผู้ปกครองในการมสี ่วนร่วมพัฒนาผเู้ รยี น โดยนกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ชวั่ โมงตอ่ ปี
การศกึ ษา
๒. กจิ กรรมนักเรยี น เป็นกิจกรรมทีม่ ่งุ พัฒนาระเบียบวนิ ยั ความเป็นผนู้ า ผูต้ ามทด่ี ี ความรับผิดชอบ
การทางานรว่ มกัน รจู้ ักแก้ปัญหา การตดั สนิ ใจทีเ่ หมาะสม ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปนั เออ้ื อาทรและ
สมานฉนั ท์ โดยจัดใหส้ อดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผ้เู รียน ให้ได้ปฏบิ ตั ิดว้ ย
ตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศกึ ษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏบิ ัตติ ามแผนประเมนิ และปรบั ปรุงการทางานเนน้
การทางานรวมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒภิ าวะของผู้เรยี นและบริบทของสถานศึกษา
และท้องถ่ิน กิจกรรมนักเรยี น ประกอบด้วย กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี นักเรยี นทกุ คนตอ้ งเข้าร่วม กิจกรรม
ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐ ชั่งโมงตอ่ ปกี ารศึกษา กจิ กรรมชมุ นมุ นกั เรยี นทุกคนตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรม ชมรม ๔๐
ชงั่ โมงต่อปีการศกึ ษา
๓. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เปน็
ประโยชนต์ ่อสังคม ชุมชนและท้องถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผดิ ชอบ
ความดงี าม ความเสยี สละการมจี ติ สาธารณะ เชน่ กจิ กรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
นักเรียนทกุ คนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชวั่ โมงต่อปีการศกึ ษา
110
โครงสรำ้ งและอตั รำเวลำกำรจดั กจิ กรรม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษา
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
๑. กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. กจิ กรรมนักเรยี น
๒.๑ ลูกเสอื -เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๒.๒ กจิ กรรมชุมนมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
และสาธารณประโยชน์
เวลาเรยี นรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑. กจิ กรรมแนะแนว
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือผู้เรียนค้นพบความถนัด ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รักละเห็นคุณค่าในตนเองและ
ผูอ้ ่นื
๒. เพื่อให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากข้อมูล ข่าวสาร แหล่งเรียนรู้ ทั้งด้านการศึกษา อาชีพส่วนตัว
สังคม เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน เลือกแนวทางการศึกษาอาชีพได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับ
ศักยภาพของตนเอง
๓. เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นได้พฒั นาบคุ ลิกภาพ และรับตวั อย่ใู นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
๔. เพอื่ ให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ มที ักษะ มีความคิดสรา้ งสรรค์ ในงานอาชพี และมีเจตคตทิ ดี่ ตี ่ออาชีพสจุ รติ
๕. เพือ่ ให้ผู้เรยี นมีค่านิยมท่ดี ีงามในการดาเนินชวี ติ สร้างเสริมวนิ ัย คุณธรรมและจริยธรรมแกน่ ักเรยี น
๖. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมีจติ สานกึ ในการรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
แนวกำรจัดกิจกรรม โรงเรียนบ้านหนองแสง ได้จัดกิจกรรมแนะแนวเพ่ือช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียน
ดังนี้
๑. จัดกิจกรรมเพ่ือให้ครูได้รู้จักและช่วยเหลือผู้เรียนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการทางจิตวิทยา การ
จัดบริการสนเทศ โดยให้มีเอกสารเพ่ือใช้ในการสารวจข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ด้วยการสังเกต
สัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผู้ปกครองก่อนและระหว่างเรียน การ
เย่ียมบ้านนักเรียน การให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเรื่องสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทาระเบียน
สะสม สมดุ รายงานประจาตัวนักเรียน และบตั รสขุ ภาพ
๒. การจัดกิจกรรมพฒั นาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยทาแบบทดสอบเพือ่ รจู้ กั และเขา้ ใจตนเอง มที กั ษะ
ในการตดั สินใจ การปรับตวั การวางแผนเพ่อื เลือกศึกษาต่อ เลือกอาชพี
111
๓. การจัดบริการให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนรายบุคคล และรายกลุ่ม ในด้านการศึกษา อาชีพ และ
สว่ นตัว โดยมผี ้ใู ห้คาปรึกษาทีม่ ีคุณวฒุ ิ และมีความเช่ียวชาญในเรื่องการให้คาปรกึ ษา ตลอดจนมี
ห้องให้คาปรึกษาทเ่ี หมาะสม
๓.๑ ชว่ ยเหลือผู้เรียนทปี่ ระสบปญั หาด้านการเงนิ โดยการใหท้ ุนการศกึ ษาแก่ผ้เู รียน
๓.๒ ติดตามเกบ็ ขอ้ มูลของนักเรียนที่สาเร็จการศกึ ษา
๒. กิจกรรมนักเรยี น
๑. กจิ กรรมลกู เสอื
กจิ กรรมลกู เสอื - เนตรนำรี
ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ทุกคน ได้ฝึกอบรมวิชาลูกเสือ - เนตรนารี เพ่ือส่งเสริม
หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ส่งเสริมความสามัคคี มีวินัย และ
บาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สังคม โดยดาเนนิ การจดั กิจกรรมตามขอ้ กาหนดของคณะกรรมการลกู เสอื แห่งชาติ
วัตถปุ ระสงค์
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม เพ่ือพัฒนา
ลูกเสือท้ังทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรค์
สังคม เพื่อให้เกิดความสามัคคี และความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพ่ือความสงบสุข และความ ม่ังคงของ
ประเทศชาติตามแนวทางดังต่อไปนี้
๑. ใหม้ นี สิ ัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟัง และพงึ่ ตนเอง
๒. ให้มีความซื่อสัตยส์ ุจริต มีระเบยี บวนิ ยั และเห็นอกเห็นใจผู้อน่ื
๓. ใหร้ จู้ ักบาเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์
๔. ให้รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. ให้รจู้ ักรักษาและส่งเสริมจารตี ประเพณี วัฒนธรรม และความมง่ั คงชองชาติ
แนวกำรจดั กจิ กรรม
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนำรี ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี ๑-๓
เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบานการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเน้นระบบหมู่ สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชุมกอง โดยให้ผู้เรียน
ศกึ ษาและฝกึ ปฏิบตั ดิ งั นี้
๑. เตรียมลูกเสือสารอง นิยายเรื่อเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจกรรมลูกเสือสารอง การทา
ความเคารพเป็นหมู่ (แกรนด์ฮาวล์) การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย
ระเบียบแถวเบ้อื งตน้ คาปฏญิ าณ กฎ และคติพจนข์ องลูกเสอื สารอง
๒. ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๑ , ๒ และ ๓ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ
การคน้ หาธรรมชาติ ความปลอดภยั บรกิ าร ธง และประเทศต่าง ๆ การฝีมือ กจิ กรรม
กลางแจ้ง การบันเทิง การผูกเง่ือน คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสารองโดยใช้กระ
112
บานการทางาน กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ
กระบวนการคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบัติ ทางลูกเสือ กระบวนการทาง
เทคโนโลยี และภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลกู เสอื สารอง มนี ิสยั ในการสงั เกต จดจา เชื่อฟัง และพ่ึงตนเอง ซอื่ สัตย์ สุจรติ มีระเบียบวินยั และเห็นอก
เห็นใจผู้อ่ืน บาเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนี้โดยไม่
เกี่ยวข้องกับลัทธิทางการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนำรี ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๔-๖
เปดิ ประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเน้นระบบหมู่ สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชุมกอง โดยให้ผู้เรียนศึกษา
และปฏบิ ตั ิในเรือ่ ง
๑. ลูกเสือตรี ความรู้เกี่ยวกับขบวนการลูกเสือ คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ กิจกรรม
กลางแจ้ง ระเบยี บแถว
๒. ลูกเสือโท การรู้จักดูแลตนเอง การช่วยเหลือผู้อ่ืน การเดินทางไปยังสถานท่ีต่าง ๆ ทักษะทาง
วชิ าลูกเสือ งานอดิเรกและเร่ือท่ีน่าสนใจ คาปฏิญาณ และกฎของลกู เสอื ระเบียบแถว
๓. ลูกเสือเอก การพ่ึงพาตนเอง การบริการ การผจญภัย วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว โดย
ใช้กระบวนการทางาน กระบวนการแก้ปัญหา ระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ
กระบวนการคดิ รเิ ริ่ม สร้างสรรค์ กระบวนการฝกึ ปฏิบัติทางลกู เสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี
และภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นได้อยา่ งเหมาะสม
เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลกู เสือสามญั มนี สิ ัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟัง และพง่ึ ตนเอง ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต มีระเบียบวินัย และเหน็
อกเหน็ ใจผู้อ่นื บาเพญ็ ตนเพ่อื สารธารณประโยชน์ รูจ้ ักทาการฝมี ือ พัฒนากาย จติ ใจ และศลี ธรรม ทง้ั นี้โดย
ไม่เก่ียวข้องกับลัทธิทางการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
หมำยเหตุ ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม และผ่านการทดสอบแล้ว จะได้รับเครื่องหมายลกู เสือตรี ลูกเสือโท
และลกู เสอื เอก
113
๒. กิจกรรมชุมนมุ
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนไดป้ ฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน
๒. เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด
ประสบการณ์ท้งั ทางวิชาการและวชิ าชพี ตามศกั ยภาพ
๓. เพ่อื สง่ เสริมให้ผู้เรียนใชเ้ วลาให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
๔. เพื่อใหผ้ ู้เรียนทางานร่วมกบั ผู้อ่นื ไดต้ ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
แนวกำรจัดกจิ กรรม
การจัดกิจกรรมตามความสนใจ (ชุมนุม) ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าเป็นสมาชิกชมรม วางแผนการ
ดาเนนิ กิจกรรมร่วมกัน โดยมีชมรมทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วยั และความสนใจของผู้เรียน ประกอบด้วย
กิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมการเรียนรู้ และ
ค่ายวชิ าการ การศกึ ษาดงู าน การฝึกปฏิบัติ การบรรยายพเิ ศษดังตัวอยา่ งพอสงั เขปต่อไปน้ี
๑. กิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรมและจริยธรรม จัดสอนจริยธรรมในห้องเรียน จัด
ให้มกี ารปฏบิ ัติกิจกรรมเน่ืองในวันสาคัญท้ังทางชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยผเู้ รยี นมีส่วน
ร่วมในการจดั กจิ กรรมท้ังในดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี กฬี า และศีลปะ
๒. กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต จัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาสีทุกช่วงชั้น โดยผู้เรียนได้ฝึกทักษะการ
ทางาน และการแกป้ ัญหาทุกข้ันตอน
๓. กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการทางาน จัดกิจกรรมวันวิชาการโดยผู้เรียนมีโอกาสปฏิบัติจริง และ
ฝึกทกั ษะการจัดการ
๔. กิจกรรมเพ่ืออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมไทย เช่น
ประเพณีไหว้ครู ประเพณีลอยกระทง
๕. กิจกรรมส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย จัดให้มีการเลือกคณะกรรมการนักเรียน
โดยให้นากระบวนการประชาธปิ ไตยไปใชใ้ นการร่วมวางแผนดาเนนิ งานพฒั นาโรงเรียน
๖. กิจกรรมคนดีของสังคม จัดให้มีการบรรยายให้ความรู้ เพ่ือป้องกันปัญหาโรคติดต่อร้ายแรง
ปญั หายาเสพตดิ ปญั หาวัยรุ่น ให้ความรู้เพอื่ ปลกู ฝังให้เป็นสภุ าพบรุ ุษ สุภาพสตรี
๗. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยจัดแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการทางภาษา
ห้องปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ หอ้ งเทคโนโลยีสารสนเทศ
๘. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัย ให้บริการห้องพยาบาล มีบริการให้ความรู้แก่ผู้เรียน เพื่อ
ป้องกนั โรคระบาดอย่างทนั เหตกุ ารณ์
114
๓. กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสำธำรณประโยชน์
วัตถุประสงค์
๑. เพ่ือให้ผ้เู รยี นบาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน และประเทศชาติ
๒. เพ่ือให้ผู้เรียนออกแบบกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตามความถนัด
และความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร
๓. เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
๔. เพ่ือให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จริยธรรมตาม
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
๕. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
แนวกำรจดั กิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทาประโยชน์
ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละต่อสังคม มีจิตใจมุ่งทาประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ กิจกรรม
บาเพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมสร้างสรรคส์ งั คม กิจกรรมดารงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม กจิ กรรม
พฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยี
เ ว ล า เ รี ย นส าห รับ กิจ กรร มเพ่ื อสั งคมแล ะสา ธา รณป ร ะโยช น์ใน ส่วน กิจ กร รมเ พื่ อสั งคมและ
สาธารณประโยชน์ จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ รวม ๖ ปี จานวน ๖๐ ช่ัวโมง(เฉล่ียปีละ
๑๐ ชั่วโมง)
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ เป็นการจัด
กิจกรรมภายในเวลาเรียน โดยให้ผู้เรียนรายงานแสดงกรเข้าร่วมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผู้รับรองผลการ
เข้ารว่ มกจิ กรรมทุกครั้ง
แนวทำงกำรประเมินกิจกรรมพฒั นำผู้เรียน
โรงเรยี นบา้ นหนองแสง กาหนดแนวทางในการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนดงั น้ี
๑. กำรประเมนิ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียนรำยกจิ กรรม มีแนวทางปฏิบตั ดิ ังน้ี
๑.๑ การตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน
ตลอดปีการศึกษา
๑.๒ ประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและผลงาน/ชนิ้ งานของผเู้ รียน ผเู้ รยี น
ต้องได้รับการประเมินทุกผลการเรียนรู้ และผ่านทุกผลการเรียนรู้ โดยแต่ละผลการเรียนรู้ผ่านไม่น้อยกล่ารอ้ ย
ละ ๕๐ หรือมีคณุ ภาพในระดับ ๑ ขึน้ ไป
115
๑.๓ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิน้ งานของผู้เรียนตามเกณฑ์
ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “ผ” ผ่านการประเมินกิจกรรมและนาผลการประเมินไป
บนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรียน
๑.๔ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานไม่เป็นไปตาม
เกณฑ์ ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทา
กจิ กรรมในส่วนท่ผี ู้เรยี นไม่ไดเ้ ขา้ รว่ มหรือไม่ไดท้ าจนครบถว้ น แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรยี นจาก “มผ” เปน็ “ผ”
และนาผลการประเมนิ ไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน
๒. กำรประเมนิ กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี นเพอ่ื กำรตดั สิน มีแนวปฏบิ ตั ิดงั น้ี
๒.๑ กาหนดให้ผรู้ ับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับการรว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นของผู้เรียน
ทกุ คนตลอดระดบั การศึกษา
๒.๒ ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคลตาม
เกณฑท์ ่โี รงเรียนกาหนด ผู้เรียนจะต้องผา่ นกจิ กรรม ๓ กิจกรรมสาคัญดังนี้
๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว
๒.๒.๒ กจิ กรรมนักเรยี น ไดแ้ ก่
๑. กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี
๒. กจิ กรรมชุมนุม
๒.๒.๓ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ การนาเสนอผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรียนร้แู ละกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
๒.๔ เสนอผู้บริหารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์การ
จบแต่ละระดบั การศกึ ษา
116
เกณฑ์กำรจบกำรศึกษำ
หลกั สูตรโรงเรียนบ้านหนองแสง พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๐) กาหนดเกณฑส์ าหรับการจบการศึกษา ดงั น้ี
เกณฑก์ ำรจบระดับประถมศึกษำ
๑. ผเู้ รียนเรียนรายวชิ าพื้นฐาน จานวน ๘๔๐ ช่วั โมง และรายวิชาเพ่ิมเติมจานวน ๘๐ ชั่วโมง
และมผี ลการประเมินรายวชิ าพ้ืนฐานผา่ นทกุ รายวชิ า
๒. ผู้เรยี นตอ้ งมีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ข้นึ ไป
๓. ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ข้นึ ไป
๔. ผเู้ รยี นต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนและได้รับการตดั สินผลการเรยี น “ผ่าน” ทุกกิจกรรม
กำรจัดกำรเรียนรู้
การจดั การเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสูก่ ารปฏบิ ตั ิ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน เปน็ หลกั สตู รทม่ี ีมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียน
เปน็ เป้าหมายสาหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณสมบัตติ ามเปา้ หมายหลักสตู ร ผ้สู อนพยายามคดั สรร กระบวนการเรยี นรู้
จัดการเรียนรู้โดยชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้งั ปลูกฝัง
เสรมิ สร้างคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะต่าง ๆ อันเป็นสมรรถนะสาคญั ใหผ้ ูเ้ รยี นบรรลุตามเป้าหมาย
๑. หลักกำรจัดกำรเรยี นรู้
การจัดการเรียนรเู้ พอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีความรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั และ
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทกี่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยยดึ หลักวา่ ผู้เรียนมี
ความสาคญั ท่ีสดุ เช่ือว่าทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้ ยดึ ประโยชนท์ ี่เกิดกับผเู้ รียน
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ต้องสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ คานงึ ถงึ
ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมองเน้นให้ความสาคัญท้ังความรู้ และคณุ ธรรม
๒. กระบวนกำรเรียนรู้
การจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ผเู้ รยี นจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย เป็น
เครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสูเ่ ปา้ หมายของหลักสูตร กระบวนการเรยี นรูท้ ี่จาเปน็ สาหรับผ้เู รียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏบิ ตั ิ ลง
มือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรยี นรู้การเรยี นรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา
ลกั ษณะนิสยั
กระบวนการเหลา่ นเ้ี ปน็ แนวทางในการจดั การเรียนรู้ทผี่ ้เู รียนควรไดร้ ับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรไู้ ดด้ ี บรรลเุ ป้าหมายของหลักสตู ร ดงั น้นั ผู้สอน จงึ จาเปน็ ต้องศกึ ษาทา
117
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่ือใหส้ ามารถเลอื กใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ
๓. กำรออกแบบกำรจดั กำรเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั สมรรถนะสาคัญของ
ผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับผ้เู รยี น แล้วจงึ พิจารณาออกแบบการ
จัดการเรยี นรโู้ ดยเลือกใชว้ ธิ ีสอนและเทคนิคการสอน สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล เพ่ือให้ผูเ้ รยี นได้
พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลุตามเปา้ หมายที่กาหนด
๔. บทบำทของผสู้ อนและผู้เรยี น
การจัดการเรียนรเู้ พื่อให้ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลักสูตร ท้ังผู้สอนและผเู้ รยี นควรมบี ทบาท
ดงั น้ี
๔.๑ บทบำทของผู้สอน
๑) ศกึ ษาวเิ คราะห์ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล แล้วนาขอ้ มูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ทท่ี ้าทายความสามารถของผ้เู รยี น
๒) กาหนดเป้าหมายท่ตี อ้ งการให้เกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน ดา้ นความรู้และทักษะกระบวนการ ท่ีเป็น
ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทง้ั คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรยี นรทู้ ี่ตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและ
พฒั นาการทางสมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เปา้ หมาย
๔) จัดบรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รยี นให้เกิดการเรยี นรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใชส้ อ่ื ใหเ้ หมาะสมกับกิจกรรม นาภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
๖) ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของผ้เู รียนดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา
และระดบั พัฒนาการของผู้เรียน
๗) วเิ คราะห์ผลการประเมนิ มาใชใ้ นการซ่อมเสรมิ และพัฒนาผเู้ รยี น รวมท้งั ปรับปรงุ การจัดการ
เรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบำทของผเู้ รียน
๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ ตัง้ คาถาม คิดหา
คาตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวิธีการต่าง ๆ
๓) ลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ สรปุ สิง่ ทไ่ี ดเ้ รียนรูด้ ้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณต์ า่ ง
ๆ
๔) มีปฏสิ ัมพนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกบั กลุ่มและครู
๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง
118
สื่อกำรเรียนรู้
ส่ือการเรยี นรู้เปน็ เครอื่ งมือส่งเสริมสนับสนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู้ ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ถึงความรู้
ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ สื่อการเรียนรูม้ ี
หลากหลายประเภท ทง้ั ส่ือธรรมชาติ สื่อส่งิ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี และเครือข่าย การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ท่มี ใี นทอ้ งถิน่
การเลือกใช้สือ่ ควรเลือกให้มีความเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการ และลลี าการเรยี นรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
การจัดหาสอื่ การเรียนรู้ ผูเ้ รียนและผ้สู อนสามารถจดั ทาและพฒั นาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี
คณุ ภาพจากสือ่ ตา่ ง ๆ ท่มี ีอยู่รอบตวั เพื่อนามาใช้ประกอบในการจดั การเรียนร้ทู ่สี ามารถส่งเสรมิ และสอ่ื สารให้
ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพฒั นาใหผ้ ูเ้ รยี น เกดิ การเรียนรอู้ ยา่ งแทจ้ รงิ
สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องและผู้มหี นา้ ทจ่ี ัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ควรดาเนินการดังนี้
๑. จัดให้มแี หลง่ การเรยี นรู้ ศูนย์สอ่ื การเรยี นรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพทั้งในสถานศกึ ษาและในชุมชน เพอ่ื การศึกษาค้นควา้ และการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหวา่ งสถานศึกษา ท้องถน่ิ ชุมชน สังคมโลก
๒. จัดทาและจัดหาสือ่ การเรยี นรสู้ าหรับการศกึ ษาค้นคว้าของผเู้ รียน เสริมความรูใ้ หผ้ สู้ อน รวมทั้ง
จดั หาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถ่ินมาประยุกตใ์ ช้เปน็ สื่อการเรียนรู้
๓. เลือกและใชส้ ่ือการเรยี นรู้ทมี่ คี ุณภาพ มคี วามเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ้ ง กบั วธิ กี าร
เรียนรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผู้เรยี น
๔. ประเมนิ คณุ ภาพของสื่อการเรยี นรูท้ ีเ่ ลอื กใช้อย่างเป็นระบบ
๕. ศกึ ษาคน้ คว้า วจิ ัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนร้ใู หส้ อดคล้องกบั กระบวนการเรียนรขู้ องผ้เู รียน
๖. จัดให้มีการกากับ ตดิ ตาม ประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธภิ าพเกีย่ วกับส่ือและการใช้สื่อ
การเรยี นรเู้ ปน็ ระยะ ๆ และสมา่ เสมอ
ในการจัดทา การเลอื กใช้ และการประเมินคณุ ภาพส่ือการเรียนร้ทู ใ่ี ชใ้ นสถานศึกษา ควรคานึงถงึ
หลักการสาคัญของสื่อการเรยี นรู้ เชน่ ความสอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ใหผ้ ู้เรยี น เน้ือหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคงของ
ชาติ ไม่ขัดต่อศลี ธรรม มีการใช้ภาษาทถี่ กู ต้อง รปู แบบการนาเสนอที่เข้าใจงา่ ย และน่าสนใจ
กำรวดั และประเมินผลกำรเรียนรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนร้ขู องผู้เรียนต้องอยูบ่ นหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมิน
เพอื่ พัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตดั สินผลการเรยี น ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ให้ประสบผลสาเรจ็ นน้ั
ผเู้ รียนจะตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาและประเมินตามตัวช้วี ดั เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ
สาคญั และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี นซึง่ เปน็ เป้าหมายหลกั ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรใู้ นทุก
ระดบั ไมว่ า่ จะเปน็ ระดับชัน้ เรียน ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนโดยใช้ผลการประเมนิ เป็นขอ้ มลู และสารสนเทศที่
119
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหนา้ และความสาเร็จทางการเรยี นของผู้เรยี น ตลอดจนขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การ
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นเกิด การพัฒนาและเรยี นรอู้ ย่างเตม็ ตามศักยภาพ
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดับช้ันเรยี น ระดับสถานศกึ ษา ระดบั
เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา และระดบั ชาติ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้
๑. กำรประเมินระดบั ช้ันเรยี น เปน็ การวดั และประเมินผลที่อย่ใู นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผ้สู อน
ดาเนินการเปน็ ปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เชน่ การ
ซักถาม การสงั เกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน
การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผ้สู อนเปน็ ผ้ปู ระเมนิ เองหรือเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมนิ
เพื่อน ผปู้ กครองรว่ มประเมนิ ในกรณีที่ไมผ่ ่านตัวชี้วัดใหม้ ีการสอนซ่อมเสริม
การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบวา่ ผู้เรยี นมพี ัฒนาการความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ อนั เป็น
ผลมาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มสี ่ิงทจ่ี ะตอ้ งได้รับการพฒั นา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนี้
โดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั
๒. กำรประเมินระดับสถำนศกึ ษำ เป็นการประเมินทส่ี ถานศึกษาดาเนนิ การเพ่ือตดั สินผล การเรยี น
ของผู้เรียนเป็นรายป/ี รายภาค ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน นอกจากน้ีเพื่อให้ไดข้ ้อมูลเกยี่ วกบั การจดั การศึกษา ของสถานศึกษา วา่ สง่ ผลต่อ
การเรยี นรู้ของผู้เรยี นตามเป้าหมายหรอื ไม่ ผูเ้ รยี นมจี ดุ พฒั นาในดา้ นใด รวมทง้ั สามารถนาผลการเรยี นของ
ผเู้ รียนในสถานศกึ ษาเปรยี บเทยี บกับเกณฑร์ ะดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศเพ่ือการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธกี ารจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนเพ่อื การ
จัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกนั คุณภาพการศกึ ษาและการรายงาน
ผลการจดั การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ผู้ปกครองและชมุ ชน
๓. กำรประเมนิ ระดับเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรยี นในระดับเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนร้ตู ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพื่อใชเ้ ป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาของเขตพ้นื ที่การศึกษา ตามภาระความรับผดิ ชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รยี นดว้ ยข้อสอบมาตรฐานท่จี ัดทาและดาเนนิ การโดยเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา หรือดว้ ยความร่วมมือ
กับหน่วยงานต้นสังกดั ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียงั ได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการ
ประเมนิ ระดับสถานศกึ ษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา
๔. กำรประเมนิ ระดับชำติ เป็นการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี นในระดับชาตติ ามมาตรฐานการเรยี นรตู้ าม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน สถานศึกษาตอ้ งจัดให้ผ้เู รียนทกุ คนที่เรยี น ในชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เขา้ รบั การประเมิน ผลจากการประเมินใชเ้ ป็นข้อมูลในการเทยี บเคยี งคุณภาพการศึกษา
ในระดับตา่ ง ๆ เพื่อนาไปใชใ้ นการวางแผนยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปน็ ขอ้ มลู สนบั สนุนการ
ตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ
120
ขอ้ มูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพฒั นา
คุณภาพผ้เู รียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือ ปรบั ปรุงแก้ไข
ส่งเสรมิ สนบั สนนุ เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพบนพื้นฐานความแตกตา่ งระหว่างบุคคลทจ่ี าแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรยี นทว่ั ไป กลุ่มผู้เรยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ กลุ่มผเู้ รียนท่ีมี
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนต่า กล่มุ ผู้เรียนทม่ี ปี ญั หาด้านวนิ ยั และพฤติกรรม กลุ่มผูเ้ รยี นทป่ี ฏเิ สธโรงเรยี น กลุม่
ผเู้ รยี นที่มปี ญั หาทางเศรษฐกิจและสงั คม กลุม่ พิการทางรา่ งกายและสตปิ ัญญา เป็นตน้ ขอ้ มูลจากการประเมิน
จงึ เปน็ หัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนได้ทนั ท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนไดร้ บั การพฒั นา
และประสบความสาเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพอ่ื ให้บุคลากรทเ่ี กี่ยวข้องทุกฝา่ ยถือปฏบิ ัตริ ว่ มกัน
เกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรเรยี น
๑. กำรตัดสนิ กำรให้ระดับและกำรรำยงำนผลกำรเรยี น
๑.๑ กำรตดั สินผลกำรเรียน
ในการตดั สินผลการเรยี นของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นน้ัน ผู้สอนต้องคานงึ ถงึ การพัฒนาผูเ้ รยี นแตล่ ะคนเป็นหลัก และต้อง
เกบ็
ข้อมูลของผ้เู รียนทุกด้านอยา่ งสมา่ เสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียน รวมทงั้ สอนซ่อมเสริมผเู้ รียนให้พฒั นาจน
เตม็ ตามศกั ยภาพ
ระดบั ประถมศึกษำ
(๑) ผู้เรยี นต้องมีเวลาเรยี นไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(๒) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวช้ีวดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด
(๓) ผเู้ รยี นต้องได้รับการตัดสินผลการเรยี นทุกรายวิชา
(๔) ผเู้ รียนต้องได้รบั การประเมนิ และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด ใน
การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
การพจิ ารณาเล่ือนชน้ั ถ้าผูเ้ รียนมขี ้อบกพร่องเพยี งเล็กน้อย และสถานศึกษาพจิ ารณาเห็นว่า
สามารถพฒั นาและสอนซอ่ มเสริมได้ ให้อยู่ในดลุ พนิ ิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผนั ใหเ้ ล่ือนชน้ั ได้ แตห่ ากผู้เรียน
ไมผ่ า่ นรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโนม้ ว่าจะเปน็ ปญั หาต่อการเรยี นในระดบั ชน้ั ที่สงู ข้ึน สถานศกึ ษาอาจต้ัง
คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซา้ ชนั้ ได้ ทงั้ น้ใี ห้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ
๑.๒ กำรให้ระดบั ผลกำรเรยี น
ระดบั ประถมศกึ ษำ ในการตัดสินเพอื่ ให้ระดบั ผลการเรยี นรายวิชา สถานศกึ ษาสามารถให้ระดับ
ผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผเู้ รียน เป็นระบบตวั เลข ระบบตัวอักษร ระบบรอ้ ยละ และระบบ
ทใี่ ชค้ าสาคัญสะท้อนมาตรฐาน
121
การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์นั้น ให้ระดบั ผล การ
ประเมนิ เป็น ดีเย่ยี ม ดี และผ่าน
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน จะต้องพิจารณาทัง้ เวลาการเขา้ รว่ มกจิ กรรม การปฏิบัตกิ จิ กรรม
และผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด และให้ผลการเขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ ผ่าน และไมผ่ า่ น
๑.๓ กำรรำยงำนผลกำรเรยี น
การรายงานผลการเรียนเป็นการสอ่ื สารให้ผปู้ กครองและผู้เรียนทราบความกา้ วหน้าในการเรียนรู้
ของผเู้ รยี น ซ่งึ สถานศึกษาต้องสรปุ ผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเปน็ ระยะ ๆ
หรืออย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง
การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน็ ระดบั คุณภาพการปฏิบัตขิ องผู้เรยี นท่ีสะท้อน
มาตรฐานการเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรียนรู้
๒. เกณฑก์ ำรจบกำรศกึ ษำ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ คือ
ระดบั ประถมศึกษา
๒.๑ เกณฑก์ ำรจบระดับประถมศึกษำ
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานกาหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กาหนด
(๓) ผ้เู รยี นมีผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรบั กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ เชน่ การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผมู้ ี
ความสามารถพเิ ศษ การศึกษาทางเลอื ก การศึกษาสาหรบั ผ้ดู อ้ ยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย
ใหค้ ณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพ้นื ที่การศึกษา และผู้ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดาเนินการวดั และประเมินผล การเรยี นรู้
ตามหลักเกณฑใ์ นแนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำ
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญที่บนั ทึกผลการเรยี น ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ
พัฒนาการของผู้เรียนในด้านตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี
๑. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำทกี่ ระทรวงศกึ ษำธกิ ำรกำหนด
122
๑.๑ ระเบยี นแสดงผลกำรเรยี น เปน็ เอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรยี นของ
ผู้เรียนตามรายวชิ า ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ของสถานศึกษา และผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน สถานศึกษาจะต้องบนั ทึกขอ้ มูลและออกเอกสารน้ี
ใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คล เมื่อผู้เรียนจบการศกึ ษาระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖)
๑.๓ แบบรำยงำนผู้สำเรจ็ กำรศึกษำ เป็นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสูตรโดยบนั ทกึ รายชอื่ และ
ขอ้ มูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖)
๒. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศกึ ษำทสี่ ถำนศกึ ษำกำหนด
เปน็ เอกสารทีส่ ถานศึกษาจดั ทาขึน้ เพือ่ บันทกึ พฒั นาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมลู สาคญั เกีย่ วกบั ผเู้ รียน
เชน่ แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรยี นประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรบั รองผลการ
เรียน และ เอกสารอ่นื ๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการนาเอกสารไปใช้
กำรเทียบโอนผลกำรเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรยี นของผูเ้ รียนในกรณีตา่ ง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศกึ ษา การ
เปลีย่ นรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาตอ่ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในประเทศ นอกจากน้ี ยงั สามารถเทยี บโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรียนรูอ้ ่ืน ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดย
ครอบครวั
การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในชว่ งก่อนเปดิ ภาคเรยี นแรก หรอื ต้นภาคเรยี นแรก
ทีส่ ถานศึกษารบั ผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งน้ี ผูเ้ รยี นที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนตอ้ งศึกษาต่อเนื่อง
ในสถานศึกษาทรี่ ับเทยี บโอนอยา่ งน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศกึ ษาทีร่ บั ผเู้ รยี นจากการเทยี บโอนควรกาหนด
รายวิชา/จานวนหน่วยกิตที่จะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม
การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดาเนนิ การได้ ดงั น้ี
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผเู้ รยี น
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นโดยการทดสอบดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรแู้ ละ
ภาคปฏบิ ัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัตใิ นสภาพจริง
การเทยี บโอนผลการเรยี นให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
กำรบริหำรจัดกำรหลกั สตู ร
ในระบบการศึกษาท่ีมกี ารกระจายอานาจใหท้ ้องถนิ่ และสถานศกึ ษามบี ทบาทในการพฒั นาหลกั สตู รนน้ั
หนว่ ยงานต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้องในแตล่ ะระดับ ตง้ั แต่ระดับชาติ ระดับท้องถ่ิน จนถึงระดบั สถานศึกษา มบี ทบาท
หนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบในการพฒั นา สนับสนุน สง่ เสรมิ การใชแ้ ละพฒั นาหลักสูตรให้เปน็ ไปอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้การดาเนนิ การจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาและการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษามี
123
ประสิทธภิ าพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นบรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกาหนดไวใ้ น
ระดบั ชาติ
ระดับท้องถ่นิ ไดแ้ ก่ สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา หน่วยงานตน้ สงั กัดอน่ื ๆ เปน็ หน่วยงานท่ีมบี ทบาท
ในการขบั เคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษา เป็นตวั กลางที่จะเชือ่ มโยงหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานท่ี
กาหนดในระดบั ชาติให้สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถนิ่ เพ่ือนาไปสู่การจดั ทาหลักสตู รของ
สถานศึกษา สง่ เสริมการใชแ้ ละพัฒนาหลักสตู รในระดบั สถานศกึ ษา ใหป้ ระสบความสาเร็จ โดยมีภารกจิ สาคญั
คือ กาหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ในระดับท้องถน่ิ โดยพจิ ารณาใหส้ อดคล้องกับส่ิงที่
เป็นความตอ้ งการในระดบั ชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรทู้ ้องถน่ิ ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาในระดับทอ้ งถ่ิน
รวมท้งั เพม่ิ พูนคุณภาพการใช้หลกั สูตรดว้ ยการวจิ ยั และพฒั นา การพัฒนาบุคลากร สนบั สนุน ส่งเสรมิ ติดตามผล
ประเมนิ ผล วเิ คราะห์ และรายงานผลคณุ ภาพของผู้เรยี น
สถานศึกษามีหน้าที่สาคัญในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนนิ การใช้หลักสตู ร
การเพ่ิมพูนคุณภาพการใช้หลักสตู รดว้ ยการวจิ ยั และพฒั นา การปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สตู รจัดทาระเบยี บการ
วัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาใหส้ อดคลอ้ ง กบั หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน และรายละเอียดท่เี ขตพืน้ ที่การศึกษา หรือหน่วยงาน สงั กัดอน่ื ๆ ในระดับท้องถ่ินได้จัดทา
เพ่มิ เติม รวมท้ัง สถานศึกษาสามารถเพมิ่ เตมิ ในสว่ นท่ีเกย่ี วกบั สภาพปญั หาในชุมชนและสังคม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่
และความต้องการของผู้เรยี น โดยทุกภาคส่วนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
124
ภำคผนวก
125
คำสัง่ โรงเรียนบำ้ นหนองแสง
ท่ี ๑๔/๒๕๖๕
เร่ือง แตง่ ตัง้ คณะกรรมกำรบรหิ ำรหลักสูตรและงำนวิชำกำรของสถำนศึกษำขั้นพน้ื ฐำน
------------------------------------------
เพื่อให้กำรบริหำรหลักสูตรและงำนวิชำกำรสถำนศึกษำข้ันพ้ืนฐำนเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ
สอดคล้องกับพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม หมวด 4 มำตรำ 27 ที่
กำหนดให้สถำนศึกษำข้ันพ้ืนฐำนมีหน้ำที่จัดทำสำระของหลักสูตรเพ่ือควำมเป็นไทย ควำมเป็นพลเมืองที่ดีของ
ชำติ กำรดำรงชีวิต และกำรประกอบอำชีพตลอดจนเพื่อกำรศึกษำต่อ ในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภำพของปัญหำใน
ชุมชนและสังคม ภูมิปัญญำท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมำชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชำติ
อำศัยระเบียบกระทรวงศึกษำธิกำร ว่ำด้วยคณะกรรมกำรบริหำรหลักสูตรและงำนวิชำกำร
สถำนศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำน พ.ศ.๒๕๔๔ ขอ้ 5 และประกำศใชห้ ลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน พทุ ธศักรำช
2551 เม่ือวันที่ 11 กรกฎำคม พ.ศ.2551 โรงเรียนบ้ำนหนองแสงจึงแต่งตั้งคณะกรรมกำรและ
คณะอนุกรรมกำรบริหำรหลักสูตร งำนวชิ ำกำรของโรงเรยี น ดังนี้
๑. คณะกรรมการทป่ี รึกษา ประกอบดว้ ยผู้ทรงคุณวฒุ ิ ดงั นี้
๑.๑ นำยพทิ กั ษ์ ทัพอำสำ ประธำนกรรมกำรสถำนศึกษำ
1.2 นำงทศั นีย์ วิเศษอตุ ผแู้ ทนผูป้ กครอง
1.3 นำยตักจนิ ดำ้ นพงษ์ ผแู้ ทนองคก์ รชุมชน
1.4 นำยบุญล้อม มหำวนั ผแู้ ทนองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
1.5 นำยธนำกร ศลิ ำรัตน์ ผแู้ ทนศษิ ยเ์ ก่ำ
1.6 นำงเพ็ญประภำ แสนเทพ ผู้แทนองค์กรศำสนำ
1.7 นำยธนวิน อังคะฮำด ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
มีหนำ้ ท่ี ให้คำปรึกษำเกย่ี วกับนโยบำยกำรจดั กำรศึกษำของโรงเรยี นบ้ำนหนองแสง
2. คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการ ประกอบดว้ ย
2.1 นำยเสงีย่ ม กมลเศษ ผู้อำนวยกำรโรงเรยี น ประธำน
กรรมกำร
2.2 นำงปริศนำ หงษส์ งิ ห์ หัวหนำ้ กลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย
กรรมกำร
2.3 นำงสำวสำธกิ ำ จนั ทะมำลำ หวั หน้ำกลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์
กรรมกำร
2.4 นำงสำวพนั ทิวำ ฤทธสิ อน หัวหนำ้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ
กรรมกำร
2.5 นำงสำวยุพำลักษณ์ บุรำณเดช หัวหน้ำกลุม่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์
กรรมกำร
126
2.6 นำยสถำพร กำไรทอง หวั หน้ำกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
กรรมกำร
2.7 นำงสำวสิรนิ ธร วงศส์ นทิ หัวหน้ำกล่มุ สำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี ฯ
กรรมกำร
2.8 นำยภำคภูมิ สขุ รมย์ หวั หน้ำกลมุ่ สำระกำรเรยี นรสู้ ุขศกึ ษำและพลศึกษำ
กรรมกำร
2.9 นำงสำวอรวรีย์ พรมทำ หัวหน้ำกลมุ่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำตำ่ งประเทศ
กรรมกำร
2.10 นำงสำววรำนชุ ชื่นชม หัวหนำ้ กำรเรียนรปู้ ฐมวยั
กรรมกำร
2.11 นำยอทิ ธพิ ล ปัตถำวโร หัวหน้ำงำนกิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน
กรรมกำร
2.12 นำงปรศิ นำ หงษ์สิงห์ หัวหน้ำงำนแนะแนว
กรรมกำร
2.13 นำงสำวสำธิกำ จนั ทะมำลำ หวั หน้ำงำนวดั ผลและประเมนิ ผลกำรศึกษำ
กรรมกำร
2.14 นำงณฐั พร สริ ิธนสุข หวั หนำ้ งำนพัฒนำหลกั สตู ร กรรมกำร/
เลขำนกุ ำร
2.15 นำงสำวสำธิกำ จนั ทะมำลำ ผชู้ ่วยกลุม่ บรหิ ำรงำนวชิ ำกำร ผูช้ ว่ ยกรรมกำร/
เลขำนุกำร
คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร มหี นำ้ ที่
1. วำงแผนดำเนินงำนวชิ ำกำร กำหนดสำระรำยละเอียดของหลักสตู รระดบั
สถำนศกึ ษำ
และแนวทำงกำรจัดสัดสว่ นสำระกำรเรียนรู้ และกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียนของสถำนศึกษำ ใหส้ อดคล้องกบั หลกั สูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 และสภำพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญำ
ทอ้ งถ่นิ
2. จดั ทำคมู่ ือบริหำรหลกั สตู ร และงำนวชิ ำกำรของสถำนศึกษำ นิเทศ กำกบั ตดิ ตำม
ใหค้ ำ
ปรึกษำเกย่ี วกับกำรพฒั นำหลักสตู ร กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้ กำรวัดและประเมินผลและกำรแนะแนวให้
สอดคล้องและเป็นไปตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน พทุ ธศักรำช 2551
3. สง่ เสริมสนับสนนุ กำรพัฒนำบุคลำกรเกีย่ วกับกำรพฒั นำหลกั สูตร กำรจดั
กระบวนกำร
เรยี นรู้ กำรวดั และประเมินผลและกำรแนะแนวใหเ้ ป็นไปตำมจดุ หมำยและแนวทำงกำรดำเนนิ กำรของหลักสตู ร
4. ประสำนควำมรว่ มมือจำกบคุ คล หน่วยงำน องค์กรตำ่ ง ๆ และชุมชน เพ่อื ใหก้ ำร
ใช้
หลักสูตรเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพและมีคณุ ภำพ
5. ประชำสมั พันธห์ ลักสูตรและกำรใช้หลกั สูตรแกน่ กั เรยี น ผูป้ กครอง ชมุ ชน และ
ผู้เกย่ี วข้อง
และนำข้อมลู ป้อนกลับจำกฝ่ำยต่ำง ๆ มำพิจำรณำเพอื่ ปรับปรงุ และพฒั นำหลักสูตรของสถำนศกึ ษำ
127
6. ส่งเสรมิ สนับสนุนกำรวจิ ยั เกย่ี วกับกำรพฒั นำหลักสตู ร และกระบวนกำรเรยี นรู้
7. ติดตำมผลกำรเรยี นของนักเรียนเปน็ รำยบุคคล ระดับชนั้ และช่วงช้ัน ระดับวิชำ
กลมุ่ วิชำ
ในแต่ละปีกำรศึกษำ เพ่ือปรบั ปรุงแก้ไข และพัฒนำกำรดำเนินงำนดำ้ นต่ำง ๆ ของสถำนศกึ ษำ
8. จัดทำคูม่ ือหลักสูตรและสำระกำรเรยี นรูท้ ้องถิ่น
9. วิเครำะหข์ ้อมูล สภำพปญั หำของโรงเรยี น ควำมต้องกำรของโรงเรยี นและผ้เู รียน
ฯลฯ
10. ตรวจสอบ ทบทวน ประเมนิ มำตรฐำน กำรปฏิบตั งิ ำนของครุ และกำรบรหิ ำร
หลักสตู ร
ระดับสถำนศึกษำในรอบปีท่ีผ่ำนมำ แล้วใช้ผลกำรประเมนิ เพือ่ วำงแผนพัฒนำกำรปฏบิ ตั ิงำนของครูและกำร
บริหำรหลกั สตู รปีกำรศึกษำต่อไป
11. รำยงำนผลกำรปฏิบตั ิงำนและผลกำรบริหำรหลกั สตู รของสถำนศกึ ษำ โดยเน้น
ผลกำร
พฒั นำคณุ ภำพนักเรยี นต่อคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน คณะกรรมกำรบริหำรหลกั สูตรระดบั เหนอื
สถำนศกึ ษำ สำธำรณชน และผทู้ ่เี กย่ี วข้อง
12. ให้ดำเนินกำรประชมุ คณะกรรมกำรอย่ำงนอ้ ยภำคเรยี นละ 2 ครง้ั
3. คณะอนุกรรมการบริหารหลักสตู รระดับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย
3.1 คณะอนุกรรมการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีรำยนำมดังนี้
นำงปริศนำ หงษ์สิงห์ ประธำนอนุกรรมกำร
นำงสำวบุณฑรกิ ำ จำบรรณ์ อนกุ รรมกำร
นำงสำววรัญญำ แพนพำ อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร
3.2 คณะอนกุ รรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ มรี ำยนำมดงั น้ี
นำงสำวสำธกิ ำ จนั ทะมำลำ ประธำนอนุกรรมกำร
นำยภำคภูมิ สขุ รมย์ อนุกรรมกำร/เลขำนุกำร
3.3 คณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม มรี ำยนำม
ดงั น้ี
นำยพนั ทวิ ำ ฤทธสิ อน ประธำนอนุกรรมกำร
นำงสำวสิรนิ ธร วงศส์ นทิ อนกุ รรมกำร/เลขำนุกำร
3.4 คณะอนกุ รรมการกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ มรี ำยนำมดังนี้
นำงสำวยพุ ำลักษณ์ บรุ ำณเดช ประธำนอนกุ รรมกำร
นำยรังษี มชี ำติ อนกุ รรมกำร/เลขำนุกำร
๓.๕ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา มีรำยนำมดังน้ี
นำยภำคภมู ิ สขุ รมย์ ประธำนอนุกรรมกำร
นำยรงั ษี มชี ำติ อนกุ รรมกำร/เลขำนุกำร
3.6 คณะอนกุ รรมการกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีรำยนำมดงั นี้
นำงสำวอรวรีย์ พรมทำ ประธำนอนุกรรมกำร
นำงณฐั พร สริ ธิ นสขุ อนุกรรมกำร/เลขำนุกำร
3.7 คณะอนกุ รรมการกลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี ฯ มรี ำยนำมดงั นี้
นำงสำวสริ นิ ธร วงศ์ศนทิ ประธำนอนุกรรมกำร
128
นำยอิทธิพล ปตั ถำวโร อนกุ รรมกำร/เลขำนุกำร
3.8 คณะอนุกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ มีรายนามดงั น้ี
นำยสถำพร กำไรทอง ประธำนอนุกรรมกำร
นำงสำวยุพำลักษณ์ บุรำณเดช อนุกรรมกำร/เลขำนุกำร
3.9 คณะอนกุ รรมการกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น มร่ี ายนามดงั น้ี
นำยอทิ ธิพล ปตั ถำวโร ประธำนอนุกรรมกำร
นำงสำวยพุ ำลกั ษณ์ บรุ ำณเดช อนกุ รรมกำร/เลขำนุกำร
คณะอนุกรรมการบริหารหลักสตู รระดับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ มีหน้ำท่ดี งั น้ี
1. กำหนดสดั สว่ นสำระกำรเรียนรูก้ ลุ่มวชิ ำ และพฒั นำหลักสตู รรำยวิชำของกลุม่ วชิ ำ
ใน
สำระกำรเรียนรู้แกนรว่ ม แกนเลอื ก และเลือกเสรตี ำมหลกั สูตรกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน
2. ดำเนินกำรพฒั นำกำรจดั กระบวนกำรเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ท่ีสดุ กำรวัด
และ
ประเมนิ ผลรำยวิชำต่ำง ๆ เพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู ทแ่ี สดงควำมสำมำรถท่ีแทจ้ ริงของนกั เรยี น
3. พฒั นำแผนกำรสอนรำยวิชำที่เป็นมำตรฐำนกลำง เพ่ือให้ผสู้ อนสำมำรถปรับใช้ตำม
ควำม
เหมำะสมและให้กำรสอนนำไปส่กู ำรเรยี นรูม้ ำกที่สุด
4. พฒั นำสอื่ กำรเรียนรู้ทเี่ หมำะสมและสอดคลอ้ งกบั กำรจัดกำรเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี น
เป็น
สำคัญทส่ี ุด
5. กำหนดแนวทำงพฒั นำเครื่องมอื และกำกับ ติดตำมกำรดำเนนิ กำรวดั และประเมินผล
กำร
เรยี นรูข้ องนักเรยี นให้เป็นไปตำมมำตรฐำนกำรเรียนรู้กลุ่มวิชำทก่ี ำหนด
6. วิเครำะห์พฒั นำกำรของนักเรียนเป็นรำยบคุ คลและรำยกลุ่ม
7. ดำเนนิ กำรวิจัยกำรศึกษำในชน้ั เรียนเพือ่ แกป้ ญั หำและพฒั นำกระบวนกำรเรียนรู้และ
กำรวัดปละประเมนิ ผล
8. นิเทศภำยในแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์กำรดำเนินงำนเพื่อพัฒนำคณุ ภำพกำรเรยี น
กำรสอนและประสิทธภิ ำพในกำรปฏิบตั งิ ำน
9. รวบรวมข้อมูลเพ่ือกำรปรบั ปรงุ และพัฒนำหลักสตู รรำยวิชำและกำรจัด
กระบวนกำร
เรยี นรตู้ ลอดจนตรวจสอบและประเมินกำรบริหำรหลกั สตู รรำยวิชำและกลุม่ วชิ ำในภำคเรียนท่ผี ำ่ นมำและ
วำงแผนพฒั นำกำรบริหำรหลักสูตรในภำคเรียนต่อไป
10. รำยงำนผลกำรปฏบิ ตั งิ ำนตำมมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำนของครู-อำจำรยแ์ ละผล
กำร
บรหิ ำรหลักสตู รของกลุม่ วชิ ำ โดยเนน้ ผลที่เกดิ ขึ้นกับผเู้ รียนต่อคณะกรรมกำรบรหิ ำรหลักสตู รและงำนวิชำกำร
สถำนศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน และผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง
ทั้งนใ้ี ห้ผู้ไดร้ ับกำรแต่งต้งั ปฏิบัตหิ นำ้ ท่ที ไ่ี ด้รบั มอบหมำยอยำ่ งมีประสิทธภิ ำพและบรรลตุ ำม
วัตถปุ ระสงค์ท่ีต้ังไว้ ต้งั แต่บัดน้ีเป็นต้นไป
129
ทั้งนี้ ตง้ั แตบ่ ดั นเ้ี ป็นต้นไป
สัง่ ณ วนั ที่ ๑๐ เดอื น พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๕
(นำยเสงย่ี ม กมลเศษ)
ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนบ้ำนหนองแสง