47
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
รำยวชิ ำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ เวลำ ๘๐ ชวั่ โมง
ระบชุ ่ือพชื และสตั วท์ อี่ าศัยอยู่บรเิ วณต่าง ๆ ท่ไี ด้จากการสารวจบอกสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม
ในบรเิ วณทพี่ ชื และสัตว์อาศยั อยใู่ นบรเิ วณทสี่ ารวจบรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนษุ ย์
สตั วแ์ ละพืชรวมทง้ั บรรยายการทาหนา้ ที่รว่ มกนั ของสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ในการทากิจกรรมต่าง ๆ
จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ตระหนกั ถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายของตนเองและการดูแลสว่ นตา่ ง ๆ
อย่างถูกต้องและปลอดภัยอธิบายสมบตั ทิ ่ีสังเกตได้ของวสั ดุท่ีทาจากวัสดุชนดิ เดียวหรือหลายชนิดประกอบกัน
โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ระบุชนดิ ของวสั ดแุ ละจดั กลุ่มวสั ดตุ ามสมบัตทิ ่ีสังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียง
และทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ระบดุ าวท่ีปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน
และกลางคนื จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ อธบิ ายสาเหตทุ ่มี องไมเ่ หน็ ดวงดาวส่วนใหญใ่ นเวลากลางวันจากหลกั ฐาน
เชิงประจกั ษ์ อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของหนิ จากลกั ษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้
ศกึ ษาและฝึกทักษะในการแก่ปญั หาโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหาอยา่ งง่าย กาแสดงข้ันตอนการ
แกป้ ญั หา โดยการเขยี น บอกเล่า วาดภาพ หรือใชส้ ญั ลกั ษณ์ การเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายโดยใชซ้ อฟแวรห์ รือ
การใชง้ านอุปกรณ์เทคโนโลยเี บือ้ งต้น การใชง้ านซอฟแวร์เบ้ืองต้น การสรา้ ง การจดั เกบ็ และเรยี กใชไ้ ฟลต์ าม
วัตถปุ ระสงค์ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ข้อปฏิบตั ใิ นการใชง้ านและการดแู ลรักษาอุปกรณ์
การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งเหมาะสม มีนาเอาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชใ้ นการ
ดาเนนิ ชวี ติ เพ่ือเป็นฐานในการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวัน
มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๘.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวม ๗ มำตรฐำน ๑๕ ตวั ชี้วัด
48
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
รำยวิชำพนื้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง
ระบุวา่ พืชตอ้ งการแสงและน้าเพ่ือการเจรญิ เตบิ โตโดยใช้ข้อมลู จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ตระหนกั
ถึงความจาเปน็ ทีพ่ ชื ต้องการได้รับนา้ และแสง เพอื่ การเจริญเตบิ โตโดยดแู ลพืชใหไ้ ดร้ ับส่ิงดงั กลา่ วอยา่ งเหมาะสม
สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวติ ของพชื ดอก เปรยี บเทยี บลกั ษณะสง่ิ มชี วี ิตและสง่ิ ไม่มีชีวติ จากข้อมูลท่ี
รวบรวมได้ เปรยี บเทียบสมบัติการดดู ซับน้าของวัสดุไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทาวัสดุในชวี ติ ประจาวัน อธิบายสมบตั ิ
ท่ีนาวสั ดมุ าผสมกนั โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษก์ ารนามาทาเป็นวสั ดุในการใชง้ านการนากลับมาใช้ใหมต่ ระหนกั
ถึงประโยชน์ของการนาวสั ดทุ ่ีใชแ้ ลว้ กลับมาใชใ้ หม่ บรรยายแนวทางการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกาเนดิ แสง
และอธบิ ายการมองเห็นวัตถจุ ากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในการเหน็ คณุ ค่าของความรูข้ องการมองเหน็
โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตรายจากการมองเหน็ วตั ถุในท่ีมแี สงสวา่ งไมเ่ หมาะสม ระบุสว่ นประกอบ
ของดินและจาแนกชนดิ ของดินโดยใชล้ ักษณะเน้ือดินและการจบั ตัวเปน็ เกณฑ์ อธบิ ายการใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน
จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้
ศึกษาและฝกึ ทกั ษะในการแก่ปัญหาโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย กาแสดงข้ันตอนการแกป้ ัญหา
โดยการเขยี น บอกเลา่ วาดภาพ หรือใช้สญั ลกั ษณ์ การเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใชซ้ อฟแวรห์ รือการใชง้ าน
อปุ กรณ์เทคโนโลยเี บื้องต้น การใชง้ านซอฟแวรเ์ บือ้ งตน้ การสร้าง การจัดเก็บ และเรียกใชไ้ ฟลต์ ามวัตถปุ ระสงค์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ข้อปฏบิ ัติในการใชง้ านและการดแู ลรกั ษาอุปกรณ์ การใช้งาน
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งเหมาะสม มนี าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใช้ในการดาเนินชีวิต
เพื่อเปน็ ฐานในการแก้ปัญหาในชวี ติ ประจาวนั
มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๘.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวม ๖ มำตรฐำน ๑๖ ตัวชวี้ ดั
49
ว ๑๓๑๐๑ วิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี
รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ เวลำ ๘๐ ชวั่ โมง
บรรยายสงิ่ ที่จาเปน็ ตอ่ การดารงชีวิตและการเจรญิ เตบิ โตโดยใช้ข้อมลู จากท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึง
ประโยชน์ของอาหาร นา้ และอากาศโดยการดูแลตนเองและสตั วใ์ หไ้ ด้รับสงิ่ เหล่าน้ีอย่างเหมาะสม สรา้ ง
แบบจาลองทบ่ี รรยายวัฏจกั รชวี ิตของสัตว์และเปรียบเทียบวฏั จักรชวี ติ ของสัตวบ์ างชนิดคณุ คา่ ของชีวติ สตั ว์
โดยไมท่ าใหว้ ัฏจักรชวี ติ ของสัตวเ์ ปลย่ี นแปลง อธิบายว่าวัตถุประกอบกนั เป็นวตั ถชุ ิ้นใหม่ได้โดยใชห้ ลกั ฐาน
เชงิ ประจักษ์ อธิบายการเปล่ียนแปลงของวัสดเุ มื่อทาให้ร้อนข้ึนหรอื ทาใหเ้ ยน็ ลงโดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์
ระบุผลของแรงเปลย่ี นแปลงการเคลอื่ นท่ีของวตั ถจุ ากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบและยกตัวอยา่ งแรง
สมั ผสั และแรงสมั ผสั ท่ีมีผลต่อการเคล่ือนทีก่ ารจาแนกวัตถุโดยใช้การดงึ ดดู กบั แม่เหล็กเป็นเกณฑร์ ะบขุ ้ัวแม่เหล็ก
และพยากรณผ์ ลที่เกิดข้นึ ระหว่างขว้ั แม่เหล็กเม่ือนามาเขา้ ใกล้กันจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ยกตัวอย่าง
การเปลี่ยนพลงั งานหน่ึงไปเป็นอีกพลงั งานหนึง่ การทางานของเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้าและระบแุ หลง่ พลังงาน
ในการผลติ ไฟฟ้าประโยชน์ของไฟฟา้ โดยการนาเสนอวธิ ีการใช้อย่างประหยัดและปลอดภัย
อธบิ ายแบบรปู เส้นทางการขึ้นละตกของดวงอาทิตย์การเกิดกลางวนั กลางคืนและการกาหนดทศิ
โดยใช้แบบจาลองตระหนักถึงความสาคญั ของดวงอาทิตยป์ ระโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสง่ิ มชี ีวิต
ศึกษาและฝึกทักษะในการแก่ปญั หาโดยใช้ขน้ั ตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย กาแสดงขั้นตอนการแกป้ ัญหา โดยการ
เขยี น บอกเลา่ วาดภาพ หรือใช้สัญลกั ษณ์ การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟแวร์หรอื การใช้งานอปุ กรณ์
เทคโนโลยเี บื้องต้น การใช้งานซอฟแวรเ์ บอ้ื งต้น การสรา้ ง การจัดเกบ็ และเรียกใช้ไฟล์ตามวัตถุประสงค์ การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใชง้ านและการดูแลรักษาอุปกรณ์ การใชง้ านเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างเหมาะสม มีนาเอาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใช้ในการดาเนินชวี ิต เพ่ือเป็นฐาน
ในการแกป้ ญั หาในชวี ิตประจาวนั
มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๘.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวม ๗ มำตรฐำน ๒๕ ตัวชีว้ ดั
50
ว ๑๔๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๔ เวลำ ๑๒๐ ช่ัวโมง
บรรยายหนา้ ทขี่ องราก ลาต้น ใบและดอกของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มูลที่รวบรวมได้ จาแนกสิ่งมีชีวติ โดยใช้
ความเหมอื นและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชวี ิต ออกเป็นกลุม่ พชื กลุ่มสัตว์และกลมุ่ ที่ไมใ่ ช่พชื และสตั ว์
จาแนกพชื ออกเป็นพชื ดอกและพืชไมม่ ดี อกโดยใช้การมีดอกเกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลที่รวบรวมได้ จาแนกสตั ว์
ออกเป็นสตั วม์ กี ระดกู สันหลงั และสตั วไ์ มม่ ีกระดกู สันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลงั เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู
ที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะทีส่ งั เกตได้ของสตั ว์มีกระดูกสันหลงั ในกลุ่มปลา กล่มุ สตั ว์สะเทน้าสะเทนิ
บก กลุ่มสัตว์เลอ้ื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์เลยี งลกู ดว้ ยนม และตัวอย่างสงิ่ มีชีวติ ในแต่ละกล่มุ เปรยี บเทียบ
สมบตั ทิ างกายภาพ ดา้ นความแขง็ สภาพยืดหยุ่น การนาความรอ้ นและการนาไฟฟ้าของวัสดโุ ดยใช้หลกั ฐานเชงิ
ประจักษจ์ ากการทดลองและระบกุ ารนาสมบัติเรอ่ื งความแขง็ สภาพยดื หยนุ่ การนาความร้อนและการนาไฟฟา้
ของวัสดุไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลีย่ นความคดิ กบั ผู้อืน่ โดยการอภิปราย
เก่ยี วกับสมบัติทางกายภาพของวัสดอุ ย่างมีเหตุผลจากการทดลอง เปรยี บเทียบสมบตั ิของสสารทง้ั ๓ สถานะ
จากข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสังเกตมวล การตอ้ งการที่อยรู่ ูปรา่ งและปรมิ าตรของสสาร ใชเ้ คร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และ
ปรมิ าตรของสสารท้งั ๓ สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถว่ งท่ีมตี ่อวัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ใช้เคร่ืองชง่ั สปริง
ในการวัดนา้ หนกั ของวัตถุ บรรยายมวลของวตั ถุที่มีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงการเคลือ่ นท่ีของวัตถจุ ากหลักฐาน
เชิงประจักษ์ จาแนกวตั ถุเปน็ ตวั กลางโปร่งใส ตวั กลางโปรง่ แสงและวตั ถทุ ึบแสงโดยใช้ลักษณะการมองเห็น
สงิ่ ตา่ ง ๆ ผา่ นวตั ถุนั้นเปน็ เกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ อธบิ ายแบบรูปเสน้ ทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์
โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ สรา้ งแบบจาลองทอ่ี ธบิ ายแบบรูปการณเ์ ปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
และพยากรณร์ ูปร่างของดวงจันทร์ สร้างแบบจาลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสรุ ยิ ะและอธบิ าย
เปรียบเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจาลอง สามารถนาความร้ไู ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนโ์ ดยใช้
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้ีวัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๘.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวม ๗ มำตรฐำน ๑๘ ตัวชว้ี ดั
51
ว ๑๕๑๐๑ วิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี
รำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๕ เวลำ ๑๒๐ ชวั่ โมง
บรรยำยโครงสร้ำงและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมำะสมกับกำรดำรงชีวิตซึ่งเป็นผลมำจำกกำรปรับตัว
ของส่ิงมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ อธิบำยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตเพ่ือประโยชน์ต่อกำรดำรงชีวิต เขียนโซ่อำหำรและระบุบทบำทหน้ำท่ีของสิ่งส่ิงมีชีวิตท่ี
เป็นผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคในโซ่อำหำร ตระหนักในคุณค่ำของส่งิ แวดล้อมท่ีมีต่อกำรดำรงชีวติ ของส่ิงมีชวี ิตโดยมีส่วน
ร่วมในกำรดูแลรักษำส่ิงแวดล้อม อธิบำยลักษณะทำงพันธุกรรมท่ีมีกำรถ่ำยทอดจำกพ่อแม่สู่ลูกของ พืช สัตว์
และ มนุษย์ แสดงควำมอยำกรู้อยำกเห็นโดยกำรถำมคำถำมเกี่ยวกับลักษณะท่ีคล้ำยคลึงกันของตนเองกับพ่อ
แม่ อธิบำยกำรเปลี่ยนสถำนะของสสำรเม่ือทำให้สสำรร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์ อธิบำย
กำรละลำยของสำรในน้ำ โดยใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์ วิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงของสำรเม่ือเกิดกำร
เปลี่ยนแปลงทำงเคมี โดยใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์ วิเครำะห์และระบุกำรเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และกำร
เปลย่ี นแปลงทผ่ี ันกลับไม่ได้ อธิบำยวธิ กี ำรหำแรงลพั ธ์ของแรงหลำยแรงในแนวเดยี วกันท่ีกระทำต่อวตั ถุในกรณี
ที่วัตถุอยู่นิ่งจำกหลักฐำนเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภำพแสดงแรงที่กระทำตอ่ วัตถุท่ีอยใู่ นแนวเดยี วกันและแรงลพั ธ์
ที่กระทำต่อวัตถุ ใช้เคร่ืองชั่งสปริงในกำรวัดแรงที่กระทำต่อวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทำนท่ีมีต่อกำร
เปล่ียนแปลงกำรเคล่ือนที่ของวัตถุจำกหลักฐำนเชิงประจักษ์ เขียนแผนภำพแสดงแรงเสียดทำนและแรงท่ีอยู่ใน
แนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ อธิบำยกำรได้ยินเสียงผ่ำนตัวกลำงจำกหลักฐำนเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปรทดลอง
และอธิบำยลักษณะและกำรเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ ออกแบบกำรทดลองและอธิบำยลักษณะและกำรเกิดเสียงดัง
เสียงค่อย วัดระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวัดระดับเสียง ตระหนักในคุณค่ำของควำมรู้เรื่องระดับเสียงโดย
เสนอแนะแนวทำงในกำรหลีกเล่ียงและลดมลพิษทำงเสียง เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของดำวเครำะห์และดำว
ฤกษ์จำกแบบจำลอง ใช้แผนที่ดำวระบุตำแหน่งและเส้นทำงกำรข้ึนและตกของกลุ่มดำวฤกษ์บนท้องฟ้ำและ
อธิบำยแบบรูปเส้นทำงกำรข้ึนและตกของกลุ่มดำวฤกษ์บนท้องฟ้ำในรอบปี เปรียบเทียบปริมำณน้ำในแต่ละ
แหล่งและระบุปริมำณน้ำท่ีมนุษย์สำมำรถนำมำใชป้ ระโยชนไ์ ด้จำกข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงคุณค่ำของน้ำ
โดยนำเสนอแนวทำงกำรใช้น้ำอย่ำงประหยัดและกำรอนุรักษ์น้ำ สร้ำงแบบจำลองท่ีอธิบำยกำรหมุนเวียนของ
น้ำในวัฏจักรน้ำ เปรียบเทียบกระบวนกำรเกิดเมฆ หมอก น้ำค้ำง และน้ำค้ำงแข็ง จำกแบบจำลอง เปรียบเทียบ
กระบวนกำรเกิด ฝน หิมะ และลกู เห็บ จำกขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้
ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในกำรแก้ปญั หำ อธิบำยกำรทำงำนกำรคำดกำรณ์ผลลพั ธ์อย่ำงง่ำย ออกแบบ และเขยี น
โปรแกรมที่มีกำรใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะโดยเขยี นขอ้ ควำมหรือผังงำน ฝกึ ตรวจสอบหำข้อผิดพลำด จำก
โปรแกรมของผูอ้ ำ่ นและแกป้ ัญหำได้จำกโปรแกรม scratch logo ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตคน้ หำขอ้ มูล ตดิ ต่อส่อื สำรทำง
อเี มล บล็อก โปรแกรมสนทนำ ประเมินควำมเช่อื ถือของข้อมลู ได้จำกกำรเปรยี บเทยี บแหล่งข้อมูลควำมสมบรู ณ์
ของขอ้ มลู รวบรวมข้อมลู ประเมนิ นำเสนอ สรำ้ งทำงเลือก ประเมินผล เพื่อกำรแก้ปัญหำและตดั สินใจได้อย่ำงมี
ประสิทธภิ ำพ ใช้เทคโนโลยอี ยำ่ งปลอดภัยจำกอันตรำยจำกกำรใชง้ ำน อำชญำกรรมทำงอนิ เทอร์เน็ต และ
มำรยำทในกำรตดิ ต่อสือ่ สำรผ่ำนอินเทอร์เนต็ มนี าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช้ในการดาเนนิ
ชวี ิต เพื่อเป็นฐานในการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวัน
52
มำตรฐำน/ตัวช้ีวัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๘.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวม ๘ มำตรฐำน ๓๒ ตัวช้วี ัด
53
ว ๑๖๑๐๑ วิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี
รำยวชิ ำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรูว้ ทิ ยำศำสตร์
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ เวลำ ๑๒๐ ชวั่ โมง
ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชนข์ องสารอาหารแตล่ ะประเภทจากอาหารที่ตนเองรบั ประทานบอก
แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดสว่ นท่เี หมาะสมกับเพศและวยั รวมทัง้
ความปลอดภยั ต่อสุขภาพ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของสารอาหาร โดยการเลือกรบั ประทานอาหารท่ีมีสารอาหาร
ครบถ้วนในสดั ส่วนท่เี หมาะสมกับเพศและวยั รวมทง้ั ความปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ สรา้ งแบบจาลองระบบย่อย
อาหารและบรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหาร รวมท้ังอธบิ ายการย่อยอาหารและการดูดซึม
สารอาหาร ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวยั วะในระบบ
ย่อยอาหารใหท้ างานเปน็ ปกติ อธบิ ายและเปรยี บเทียบการแยกสารผสมโดยการหยบิ ออก การรอ่ น การใช้
แมเ่ หลก็ ดงึ ดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ รวมท้ังระบวุ ธิ ีแก้ปัญหา
ในชวี ติ ประจาวันเกย่ี วกบั การแยกสาร อธบิ ายการเกดิ และผลของแรงไฟฟา้ ซ่ึงเกดิ จากวัตถุทผี่ ่านการขัดถโู ดยใช้
หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ระบุส่วนประกอบและบรรยายหนา้ ท่ีของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย
จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ออกแบบการทดลองด้วยวธิ ีท่ีเหมาะสม
ในการอธิบายวธิ ีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรูข้ องการต่อ
เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ออกแบบการทดลองและทดลอง
ด้วยวธิ ที ่ีเหมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรู้
ของการตอ่ ไฟฟา้ แบบอนุกรม แบบขนาน อธิบายการเกดิ เงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพ
รงั สขี องแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว สรา้ งแบบจาลองที่อธิบายการเกดิ และเปรยี บเทยี บปรากฏการณ์
สุริยปุ ราคาและจันทรปุ ราคา อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และการใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน
จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดหนิ อัคนี หนิ ตะกอน และหนิ แปร สรา้ งแบบจาลองท่ี
อธิบายการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดตี ของซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล
มรสุมรวมทง้ั อธบิ ายผลที่มีตอ่ สิ่งมชี ีวติ และสิ่งแวดล้อมจากแบบจาลอง อธบิ ายผลของมรสุมตอ่ การเกดิ ฤดูของ
ประเทศไทย จากข้อมูลที่รวบรวม บรรยายลักษณะและผลกระทบของนา้ ทว่ ม การกดั เซาะชายฝ่งั ดนิ ถล่ม
แผ่นดนิ ไหว ตระหนักถึงผลกระทบของภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ตั ภิ ยั โดยนาเสนอแนวทางในการเฝ้าระวงั และ
ปฏิบัตติ นให้ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพิบัติภัย ที่อาจเกิดในท้องถิ่น อธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณเ์ รอื น
กระจกและผลของปรากฏการณเ์ รือนกระจกตอ่ สิ่งมีชีวติ ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์เรอื นกระจก
โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตนเพื่อลดกิจกรรมทีก่ ่อใหเ้ กิดแก็ซเรือนกระจก
ใชเ้ หตผุ ลตรรกะแก้ปัญหาเหตุการณ์ในชวี ติ ประจาวนั อยา่ งเป็นขัน้ ตอน ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย
โดยเขยี นเป็นข้อความหรือผงั งาน ตรวจสอบคาสัง่ ข้อผดิ พลาดและแก้ปัญหาของโปรแกรม จากโปรแกรมเกม
ซอฟแวร์ scrath, logo ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการคน้ หาข้อมูลในเวลาทร่ี วดเรว็ จากแหลง่ ข้อมลู ทีน่ ่าเชือ่ ถือ ใชเ้ ทคนคิ
ค้นหาข้ันสงู จดั ลาดับผลลพั ธ์ของการค้นหาของโปรแกรม การเรียบเรียงสรปุ สาระสาคัญ ใช้เทคโนโลยี
54
สารสนเทศร่วมกนั อย่างปลอดภยั จากอันตรายการใชง้ าน อาชญากรรมทางอินเทอร์เนต็ กาหนดรหสั ผ่าน
ตรวจสอบและป้องกันมลั แวร์ เข้าใจสิทธิและหนา้ ท่ขี องตน เคารพการในสิทธิ์ของผอู้ ืน่ แจ้งผเู้ ก่ียวขอ้ งเมือ่ พบ
ข้อมลู หรือบคุ คลทไี่ ม่เหมาะสม มีนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ เพือ่ เปน็
ฐานในการแก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั
มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๘.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๗ มำตรฐำน ๓๗ ตัวชวี้ ัด
55
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กลุ่มสำระกำรเรียนร้สู ังคมศกึ ษำ
ศำสนำและวฒั นธรรม
56
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม
รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรูส้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๑ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
สงั เกต ศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมขอ้ มูล อภิปราย ความหมาย ความสาคญั องค์ประกอบเบื้องต้นของ
ศาสนา ประโยชน์ ประวัติ ศาสดาของศาสนา สรปุ ใจความสาคญั ของคมั ภีร์ ความคดิ หลกั ของศาสนา สรุปหลัก
จรยิ ธรรม การบาเพญ็ ประโยชน์ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การใช้ภาษาเกี่ยวกบั ศาสนพธิ ี พิธกี รรมในวันสาคญั ฝกึ ปฏิบัติการ
บรหิ ารจติ ปฏิบัติตนตามคาแนะนา รวบรวมขัน้ ตอน ของศาสนพิธี คณุ ลักษณะของการเป็นพลเมืองดใี นสังคม
ประชาธปิ ไตยมีความรบั ผดิ ชอบ ความซื่อสัตย์ ความกลา้ หาญ ความเสียสละ การเคารพสิทธแิ ละ
หนา้ ท่ี วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน การแกป้ ญั หาความขัดแย้ง ในครอบครวั กฎ กตกิ า ความหมาย
ความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชนข์ องรายรับ-รายจา่ ย ต้นทนุ ผลประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั ทรพั ยากรในท้องถน่ิ
ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและชุมชน การซอ้ื ขายแลกเปลีย่ นสินค้าและบริการ ใน
ชีวติ ประจาวัน ลักษณะทางกายภาพของบ้าน โรงเรยี น และชุมชน องค์ประกอบของ แผนผัง การเขยี นแผนที่
เบ้ืองต้นอย่างงา่ ย ทรพั ยากรธรรมชาติ การพงึ่ พาอาศยั ซ่ึงกันและกนั ผลเสยี การทาลาย
ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อมทางสังคม การสร้างสรรค์ สิ่งแวดลอ้ ม การอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ
และทางสังคม โดยใชก้ ระบวนการทางสังคม กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่มและกระบวนการแก้ปัญหา
เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ รกั ความเป็นไทย
มจี ิตสาธารณะ สามารถดาเนินชีวติ อย่างสนั ตสิ ุขในสงั คมไทย และสังคมโลก ผู้เรยี นมีลักษณะท่ีดีของคนไทย
ภาคภมู ิใจและรกั ษาไวซ้ งึ่ ความเปน็ ไทยแสดงออกถงึ ความรักชาตยิ ึดมนั่ ในศาสนาเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
ดาเนนิ ชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยอย่รู ว่ มกับผู้อืน่ อยา่ งสันติสามารถจัดการความขดั แย้งดว้ ยสนั ตวิ ธิ แี ละมวี ินยั ใน
ตนเอง สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไป
ประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ติ ประจาวันได้ อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
รวม ๘ มำตรฐำน ๒๔ ตัวช้วี ัด
57
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษำศำสนำและวัฒนธรรม
รำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู งั คมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
สงั เกต ศกึ ษาคน้ คว้า การรวบรวมขอ้ มลู อภปิ ราย ความหมาย ความสาคญั องคป์ ระกอบเบ้อื งต้น
ของศาสนา ประวตั ิศาสนา ศาสดาของศาสนา คัมภีร์ และการใช้ภาษาของศาสนา รวบรวมหลกั จรยิ ธรรม
การบาเพ็ญประโยชน์ตอ่ ครอบครวั โรงเรยี น และชุมชน หลกั ปฏิบตั ิการอยรู่ ว่ มกนั อย่างเป็นสขุ ศาสนพธิ ี
และพิธีกรรมในวนั สาคญั ของศาสนา การบรหิ ารจติ การเจริญปญั ญาเบื้องต้น การทาความดีของบคุ คล
ในครอบครัว และโรงเรยี น การปฏิบตั ติ นตามคาแนะนาเก่ยี วกับศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ดี ีงาม การเป็น
พลเมอื งดี ในสังคมประชาธิปไตย การยอมรบั การเคารพสิทธิ และหนา้ ท่ขี องตนเอง เป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครัว สิทธิของบุคคลท่พี งึ ไดร้ บั การคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม คา่ นยิ ม ความเช่ือ ประเพณี
วฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญาของท้องถิ่น ความสมั พนั ธ์ของสมาชกิ ในครอบครวั บทบาทหน้าท่ีของตนเอง
การแกป้ ัญหาความขัดแย้ง ข้อตกลง กฎ กติกา ระเบียบในโรงเรียน ความหมาย และความสาคัญของรฐั ธรรมนญู
ประโยชนข์ องรายรับ–รายจ่ายของครอบครัว ตัดสนิ ใจเลือกอย่างเหมาะสม
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏบิ ตั ิในการดาเนินชีวิต มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สัตย์ มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ รกั ความเปน็ ไทย
มจี ิตสาธารณะ สามารถดาเนินชีวติ อย่างสันติสขุ ในสังคมไทย และสงั คมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ
ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ ง
ถกู ต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวชีว้ ดั
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวม ๘ มำตรฐำน ๒๘ ตวั ชว้ี ดั
58
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษำศำสนำและวฒั นธรรม
รำยวิชำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ เวลำ ๔๐ ชัว่ โมง
สงั เกต ศกึ ษาคน้ คว้า รวบรวมข้อมลู อภปิ ราย แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสาคัญความหมาย
ความสาคัญ องคป์ ระกอบของศาสนา ประโยชน์ ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ที่ใช้ในคัมภรี ข์ องศาสนาท่ีตน
นบั ถอื หลกั จรยิ ธรรมในการพัฒนาตน การบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อครอบครัว โรงเรยี น วธิ ีปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั ศาสนพธิ ี
พธิ ีกรรมในวันสาคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญา สติ สัมปชญั ญะ ความราลึกได้ ความรู้ตวั
ชื่นชมการทาความดีของบุคคลในครอบครวั และโรงเรียน ศีลธรรม จริยธรรม คา่ นิยมที่ดงี าม การเปน็ พลเมืองดี
ในสงั คม ประชาธิปไตย การเคารพสิทธแิ ละหนา้ ทข่ี อง ตนเอง บทบาทสิทธิ เสรีภาพ หนา้ ท่ี สถานภาพ สทิ ธขิ อง
บุคคลที่พงึ ได้รบั การคุ้มครอง การขดั เกลาของสังคม ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี การอนุรกั ษว์ ฒั นธรรม และภูมิ
ปัญญา ของท้องถิ่น การสร้างความดี การแกป้ ัญหาความขัดแยง้ กฎ กติกา ระเบียบในชุมชน ความสาคัญของ
กฎหมายรัฐธรรมนญู รายรับ–รายจ่าย ผลประโยชนท์ ่ผี ู้บริโภคได้รบั การตัดสนิ ใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบ
เศรษฐกิจพอเพยี ง อาชีพในชุมชนการแลกเปล่ียน สนิ คา้ และบรกิ ารความสาคัญของธนาคาร ภาษที เี่ กยี่ วขอ้ ง
ในชีวติ ประจาวัน องค์ประกอบทางกายภาพ ลกั ษณะ ความเกี่ยวข้องแผนผัง แผนที่ ตาแหน่ง ระยะทิศทาง
เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การพงึ่ พาอาศัยกนั สง่ิ แวดล้อมทางสังคม การอนุรกั ษ์ การใช้
พลังงาน การดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ ม การรจู้ ักสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว โดยใชก้ ระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการ
คดิ วเิ คราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ญั หา
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏบิ ตั ิในการดาเนินชวี ติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สตั ย์ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสนั ติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์
โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถูกต้อง
เหมาะสม
59
มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖
รวม ๘ มำตรฐำน ๓๑ ตวั ช้วี ัด
60
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษำศำสนำและวัฒนธรรม
รำยวิชำพน้ื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง
สงั เกต ศกึ ษาค้นควา้ อภปิ ราย ซักถาม แสดงความคดิ เห็น รวบรวมข้อมลู สบื คน้ ขอ้ มูลสรปุ ใจความ
สาคัญเก่ียวกบั ความสาคัญทางศาสนา และศาสดาของศาสนาพทุ ธ คัมภีร์ทางศาสนาท่ีตนนบั ถอื หลกั ธรรมของ
ศาสนา การบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญา ช่นื ชมการทาความดีของบุคลากรในสังคม แปลความหมายในคัมภีร์
ศาสนาทตี่ นนับถือ เสนอแนวทางการกระทาของตนเองและผู้อื่นในฐานะพลเมืองดขี องสังคม สิทธิเด็ก เพ่อื
ปอ้ งกันตวั เองและสงั คม เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของวฒั นธรรมในทอ้ งถ่นิ การยอมรบั คณุ ค่าของกนั และกัน
การรวมกลมุ่ ท้ังภาครฐั และเอกชน ชื่นชมการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์เป็นประมุข
การรวมกลุ่มภาครัฐและเอกชนเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น อานาจอธิปไตย ปฏิบัตติ ามกฎหมายในชวี ติ ประจาวัน
วิเคราะห์ ผ้ผู ลิต ผู้บริโภค วิธกี ารของเศรษฐกจิ การหารายได้ การออม การลงทนุ ผลผลิตทางดา้ นเศรษฐกจิ
การตลาด การธนาคาร สถาบันการเงินอนื่ ๆ ภาษีทีเ่ ก่ยี วข้องในชีวิตประจาวนั การพึ่งพา การแข่งขนั ทางด้าน
เศรษฐกจิ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ แผนทีแ่ ละเคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ ความแตกตา่ งของสงิ่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ
โดยใชก้ ระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกล่มุ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละ
แกป้ ัญหา
เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสัตย์ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ รักความเป็นไทย มีจติ
สาธารณะ สามารถดาเนนิ ชวี ิตอย่างสนั ติสขุ ในสงั คมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกต้อง
เหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชว้ี ดั
ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
รวม ๘ มำตรฐำน ๓๐ ตัวช้ีวัด
61
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ระดับชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๕ เวลำ ๘๐ ชว่ั โมง
สังเกต ศึกษาคน้ ควา้ วเิ คราะห์ อภิปราย สนทนาซักถาม แสดงความคดิ เหน็ รวบรวมข้อมูล สืบค้น
ขอ้ มลู สรุปใจความสาคัญเกี่ยวกบั เรอ่ื งราวพืน้ ฐานเก่ยี วกบั ประวัติศาสตรค์ วามสาคญั ของศาสนา ศาสดา และ
คัมภรี ท์ างศาสนาท่ีตนนบั ถือ หลกั ธรรมของศาสนาทีต่ นนบั ถือ เพ่ือเข้าใจในการพฒั นาตนและ
สังคม ความหมาย การบริหารจิต และเจรญิ ปัญญา ช่นื ชมการทาความดขี องตนเองและบคุ คลในสงั คม และแนว
ปฏิบัตใิ นการช่นื ชม การทาความดขี องบุคคลสาคัญกลุ่มเพื่อน ประโยชน์ของการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาของ
ศาสนาที่ตนนบั ถือ กระบวนการประชาธปิ ไตยในการทางานร่วมกันในครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน การปฏิบัติ
ตน ตามสทิ ธิ หน้าท่ี เสรภี าพในฐานะพลเมืองดีของประเทศ การดาเนนิ ชีวิต ความแตกต่างของวฒั นธรรมในกลมุ่
คนในภมู ภิ าค การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมุขโครงสรา้ งการปกครอง
ประเทศ ซ่ึงมที ้ังส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าค และส่วนท้องถิ่น เพื่อเชอื่ มโยงความสัมพันธร์ ะหวา่ ง คนกับการปกครอง
ประเทศ ความสาคัญในกฎหมายในชวี ิตประจาวัน หนา้ ทข่ี องผผู้ ลิต และผูบ้ ริโภค ความหมายของระบบสนิ เชอื่
ผลดีผลเสยี ตอ่ ภาวะ การเงิน การเลอื กของผู้บรโิ ภค ผลกระทบตอ่ ทรัพยากรที่มีอยู่ ระบบสหกรณ์ การบรหิ าร
ทางดา้ นเศรษฐกจิ บทบาทการใชเ้ งนิ ในท้องถ่นิ การบริการต่าง ๆ ของธนาคารและสถาบันการเงนิ ใน
ต่างประเทศ ผู้บริโภค ผยู้ ืมและนกั ธุรกิจ การจดั หาแหล่งรายได้ของรฐั ความเชยี่ วชาญ ชานาญดา้ นจานวน
ปริมาณสนิ คา้ รวมทัง้ ท่ีผลิตการซ้ือมาทางเศรษฐกจิ การใช้แผนท่ใี นท้องถ่นิ ต่าง ๆ ลักษณะความแตกตา่ ง
ผลกระทบของสิ่งแวดลอ้ มทางสงั คม วฒั นธรรม วิถชี ีวติ ในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของไทยกบั ส่ิงแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ ผลกระทบจากการกระทาของมนษุ ย์ท่มี ตี ่อสิง่ แวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และรกั ษา
สมดลุ ในระบบนิเวศน์ โดยใชก้ ระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกล่มุ กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏบิ ัตใิ นการดาเนนิ ชวี ิต มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือ่ สตั ย์ มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความเปน็ ไทย มจี ิต
สาธารณะ สามารถดาเนนิ ชีวติ อยา่ งสนั ตสิ ุขในสงั คมไทย และสังคมโลก สามารถนาความร้ไู ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
62
มำตรฐำน/ตวั ชว้ี ัด
ส ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป. ๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
รวม ๘ มำตรฐำน ๒๘ ตวั ชี้วัด
63
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๖ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง
สังเกต ศึกษาคน้ คว้า วิเคราะห์ อภปิ ราย สนทนา ซักถาม แสดงความคิดเหน็ รวบรวมข้อมลู สบื ค้น
ขอ้ มลู ความสาคญั หลักธรรมพระรตั นตรัย ไตรสิกขา หลักธรรมโอวาท ๓ การทาความดีของบคุ คลในประเทศ
การสวดมนต์ แผเ่ มตตาของศาสนาทต่ี นนบั ถือ สรปุ ใจความสาคญั เกีย่ วกับพุทธประวตั ิตั้งแตป่ ลงอายุสังขาร
จนถงึ สังเวชนยี สถาน ประวตั ิศาสดา ขอ้ คดิ จากประวัติสาวก ชาดก เร่อื งเลา่ ศาสนิกชนตวั อย่าง ศาสนพธิ ี
สถานทีใ่ นศาสนสถาน ศาสนิกชนทด่ี ี ประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี พธิ ีกรรม กิจกรรมในวนั สาคัญ
ทางศาสนา การบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาวนั สาคัญทางศาสนา การกระทาทีแ่ สดงถึงคุณลกั ษณะของการเปน็
พลเมืองดใี นสงั คมประชาธปิ ไตย สทิ ธเิ ดก็ ทีพ่ งึ ได้รบั การคุ้มครองตามสิทธิมนุษยชน บทบาทหนา้ ทีค่ วาม
รับผดิ ชอบของตนเอง บรรทดั ฐานทางสังคมและวฒั นธรรม สญั ลักษณ์ เอกลักษณ์ ค่านยิ ม ประเพณี วฒั นธรรม
ในท้องถ่นิ อานาจอธิปไตยและการมีส่วนร่วมในการปกครองระบอบประชาธิปไตย กฎหมายใน
ชวี ิตประจาวนั การเลือกใชท้ รพั ยากรท่ีมีผลกระทบ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม การเพ่มิ รายไดเ้ งนิ ออมจากการลงทนุ
สิทธแิ ละการคุ้มครองผบู้ ริโภค เศรษฐกจิ พอเพียง ระบบสหกรณ์ การบริหาร ดา้ นการผลิต และการพ่งึ พา
ทางเศรษฐกิจ บทบาทการใชเ้ งนิ และการบริการด้านการเงินต่างประเทศ การจัดเกบ็ ภาษี การกยู้ ืมเงนิ
จากต่างประเทศ แผนที่ชนดิ ต่าง ๆ การกระทาท่ีส่งผลดีและผลเสยี ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มทางสังคม วัฒนธรรม
รวมทัง้ ผลกระทบจากการที่มนษุ ยเ์ ปล่ยี นแปลงส่ิงแวดล้อมในด้านบวกและด้านลบ การกระทาท่ีมีสว่ นช่วย
แกป้ ัญหา และเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิน่ โดยใช้กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกป้ ัญหา
เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสตั ย์ มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ รักความเปน็ ไทย
มีจติ สาธารณะ สามารถดาเนินชวี ติ อยา่ งสนั ติสขุ ในสงั คมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรไู้ ปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ิตประจาวนั ได้
อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
64
มำตรฐำน/ตวั ชีว้ ัด
ส ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ส ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔
ส ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕
ส ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
รวม ๘ มำตรฐำน ๓๑ ตัวช้วี ัด
65
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ ำสตร์
รำยวชิ ำพื้นฐำน กลุม่ สำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษาและใชป้ ฏทิ ินในการบอกวัน เดือน ปี ท่ใี ชใ้ นชีวิตประจาวัน ซง่ึ มที ง้ั ระบบสุริยคตแิ ละจนั ทรคติ
คาท่ีแสดงชว่ งเวลาเพ่ือใช้เล่าเหตกุ ารณ์ปัจจุบนั วนั น้ี เดือนนี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนคา่ และ
เรียงลาดับเหตกุ ารณ์ในชีวติ ประจาวนั ตามวันเวลาทีเ่ กิดขึ้น โดยใชท้ กั ษะการสังเกต การบอกเลา่ การเช่ือมโยง
เพื่อใหส้ ามารถใชเ้ วลาตามปฏิทินแสดงเหตุการณ์ในปจั จุบันและใชค้ าแสดงชว่ งเวลาเรียงลาดับเหตกุ ารณ์
ท่เี กดิ ขน้ึ ได้
รวู้ ธิ ีสบื ค้นประวตั คิ วามเปน็ มาของตนเองและครอบครวั อย่างงา่ ยๆโดยสอบถามผู้เกยี่ วข้องและ
การบอกเลา่ เรอ่ื งราวทส่ี ืบคน้ ได้ โดยใชท้ กั ษะการสอบถาม การรวบรวมขอ้ มูล การสรปุ ความ การเล่าเรื่อง เพอ่ื
ฝกึ ทักษะพนื้ ฐานของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรใ์ นการสืบคน้ เร่อื งราวจากแหล่งข้อมูล(เช่นบุคคล)และบอกเล่า
ขอ้ เท็จจรงิ ทค่ี ้นพบไดอ้ ย่างน่าสนใจ
ศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มสงิ่ ของเคร่ืองใช้หรือการดาเนินชีวติ ของตนเองในสมยั
ปัจจุบนั กับสมยั ของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายทเ่ี ป็นรปู ธรรมและใกล้ตวั ผูเ้ รยี น เตารีด (การรีดผ้าดว้ ยเตาถ่านกบั
เตาไฟฟ้า) หม้อหงุ ขา้ ว (การหุงขา้ วทีเ่ ชด็ น้าดว้ ยฟืนหรือถ่านกับหม้อหุงขา้ วไฟฟ้า) เกวยี นกบั รถยนต์
(การเดินทาง) ถนน บา้ นเรือน การใช้ควายไถนากบั รถไถนา รวมท้งั เหตกุ ารณส์ าคญั ของครอบครัวทเ่ี กิดข้ึน
ในอดตี ที่มผี ลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ( การย้ายบา้ น การยา้ ยโรงเรียน การเลอ่ื นช้นั เรยี น การไดร้ บั รางวลั
การสญู เสียบคุ คลสาคัญของครอบครวั ) โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การใชเ้ หตุผล การเปรยี บเทียบ การแยกแยะ
การยกตวั อย่าง และการบอกเลา่ เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจการเปล่ยี นแปลงตามกาลเวลาและความสาคญั ของอดีตที่มตี ่อ
ปัจจุบันและอนาคต สามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากบั วิถีชีวติ ปจั จุบันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ศึกษาความหมายและความสาคัญของสัญลกั ษณ์ของชาติไทย ได้แก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสรญิ
พระบารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแตง่ กายแบบไทย วฒั นธรรมและขนบธรรมเนียม
ประเพณไี ทย และการปฏิบตั ิตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมท้ังรูจ้ กั สถานทสี่ าคญั ซ่ึงเป็นแหลง่ วัฒนธรรม
ในชมุ ชน ศาสนสถาน ตลาด พพิ ธิ ภัณฑ์ และสิง่ ทเี่ ปน็ ความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ท่ีใกล้ตัวผเู้ รียนและเหน็ เปน็
รูปธรรม โดยใชท้ ักษะการสงั เกต การแสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตผุ ล การอธบิ าย การปฏิบตั ิตนอย่างถูกต้อง
เพื่อกอ่ ใหเ้ กิดความรกั และความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย ท้องถน่ิ และประเทศชาติ ภูมใิ จในสถาบนั ชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ ตระหนักและเห็นคุณค่าทจ่ี ะธารงรกั ษาและสืบทอดต่อไป สามารถนาความรู้ไปใช้
ให้เกดิ ประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ติ ประจาวันได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
66
มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒
ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
รวม ๓ มำตรฐำน ๘ ตัวชว้ี ัด
67
ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ ำสตร์
รำยวิชำพน้ื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้สู งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง
รจู้ ักวนั เวลาตามระบบสุรยิ คติและจนั ทรคติที่ปรากฏในปฏิทินที่แสดงเหตุการณ์สาคญั ในอดตี และ
ปจั จบุ นั รวมทัง้ การใช้คาท่ีแสดงชว่ งเวลาในอดีต ปัจจบุ นั และอนาคต วันนี้ เมอื่ วานน้ี พรงุ่ น,ี้ เดือนน้ี
เดือนก่อน เดอื นหน้า, ปนี ี้ ปีก่อน ปหี น้า ในการอธิบายเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้ึน โดยใชท้ ักษะการสังเกต การสอบถาม
เชื่อมโยง เรียงลาดับ การเลา่ เรอื่ ง การรวบรวมข้อมลู การอธิบาย เพอ่ื ใหส้ ามารถใช้วันเวลาเรียงลาดบั
เหตุการณส์ าคัญได้ถกู ต้อง ว่าเหตุการณใ์ ดเกดิ กอ่ น เหตุการณใ์ ดเกิดหลัง
รูว้ ธิ ีสบื คน้ เหตุการณท์ เ่ี กดิ ขึน้ ในครอบครัวโดยใชห้ ลักฐานทเี่ กย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ ภาพถา่ ย สตู ิบัตร
ทะเบยี นบา้ น เครอื่ งมอื เครอื่ งใช้ มาอธบิ ายเรื่องราวต่าง ๆ และวิธีสืบคน้ ขอ้ มลู ในชุมชนอย่างงา่ ย ๆ ในเร่ือง
เก่ยี วกบั การเปลี่ยนแปลงในวิถชี ีวติ ของคนในชุมชนในด้านต่าง ๆ จากอดีตถึงปจั จุบัน ทางด้านการประกอบ
อาชีพ การแตง่ กาย การสอื่ สาร ขนบธรรมเนียมประเพณีในชุมชน เข้าใจสาเหตแุ ละผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงทม่ี ตี ่อวิถชี วี ิตของคนในชมุ ชน สามารถเรียงลาดับเหตุการณ์ที่สบื คน้ ได้โดยใช้เส้นเวลา ฝกึ ทกั ษะ
การสอบถาม การสงั เกต การวเิ คราะห์ การอธิบายอยา่ งมีเหตมุ ผี ล ทาผังความคิดและการจดั นิทรรศการ
เพ่ือให้เข้าใจวธิ ีการทางประวัติศาสตรใ์ น เร่อื งเกีย่ วกบั การใช้หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์สบื ค้นเรือ่ งราวในอดตี
และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขน้ึ ตามกาลเวลา อย่างตอ่ เน่ือง มีความเขา้ ใจชมุ ชนท่ีมีความแตกตา่ งและ
สามารถปรบั ตัวอยู่ในชวี ิตประจาวันได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ศกึ ษา สบื คน้ ประวัตแิ ละผลงานของบุคคลท่ีทาประโยชนต์ ่อท้องถ่นิ หรือประเทศชาติ ในด้านการ
สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรม /การสร้างความเจริญรงุ่ เรืองและความมน่ั คงโดยสังเขป รวมทง้ั วัฒนธรรมไทย ประเพณี
ไทย และภมู ปิ ัญญาไทยที่ภาคภูมใิ จและควรอนรุ ักษ์ไว้ การทาความเคารพแบบไทย ประเพณีไทย ศิลปะไทย
ดนตรีไทย โดยใช้ทักษะการสืบคน้ การสงั เกต การอ่าน การรวบรวมขอ้ มูล กาารวิเคราะห์ การใช้เหตผุ ล
การอธบิ าย และการนาเสนอ เพ่ือใหเ้ ห็นคณุ ค่าและแบบอยา่ งการกระทาความดขี องบรรพบรุ ษุ ที่ไดส้ รา้ ง
ประโยชน์ใหท้ อ้ งถนิ่ และประเทศ เกิดความรกั และความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย วฒั นธรรมไทย
ภูมปิ ัญญาไทย และธารงความเป็นไทย ดารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในชวี ิตประจาวนั ได้อย่าง
มีความสขุ
มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด
ส ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๓ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
รวม ๓ มำตรฐำน ๖ ตัวช้ีวัด
68
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศำสตร์
รำยวิชำพน้ื ฐำน กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๔๐ ชวั่ โมง
ศึกษาความหมายและท่ีมาของศักราชทป่ี รากฏในปฏิทิน ได้แก่ พทุ ธศักราช คริสต์ศักราช
(ถา้ เป็นชาวมสุ ลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศกั ราชด้วย) วิธีการเทียบครสิ ต์ศักราชกับพทุ ธศกั ราช และใช้ศกั ราชในการ
บันทกึ เหตกุ ารณ์สาคัญที่เกย่ี วข้องกบั ตนเองและครอบครวั ปีเกดิ ของผ้เู รียน เหตุการณ์สาคัญของตนเอง และ
ครอบครัว โดยใชท้ ักษะการเปรยี บเทยี บ การคานวณ การเชื่อมโยง การอธิบาย เพอื่ ให้มพี ืน้ ฐานในการศึกษา
เอกสารที่แสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลาดบั เหตุการณ์ได้ถูกตอ้ ง วา่ เหตุการณใ์ ดเกดิ ก่อน
เหตุการณ์ใดเกิดหลงั อันเปน็ ทักษะทจ่ี าเป็นในการศึกษาประวัตศิ าสตร์
รวู้ ธิ สี ืบคน้ เหตกุ ารณ์สาคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลกั ฐานและแหลง่ ข้อมูลทเ่ี กีย่ วข้อง รปู ภาพ
แผนผงั โรงเรียน แผนท่ีชุมชน หอ้ งสมุดโรงเรยี น แหล่งโบราณคดี – ประวตั ศิ าสตร์ในท้องถน่ิ สามารถใช้เส้น
เวลา (Timeline) ลาดับเหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นในโรงเรยี นและชุมชน โดยใชท้ ักษะการสารวจ การสงั เกต
การสอบถาม การอ่าน การฟงั การเลา่ เรอ่ื ง การสรปุ ความ เพ่อื ฝึกทกั ษะพื้นฐานของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์
ในการสืบค้นเร่ืองราวรอบตวั อยา่ งง่าย ๆ โดยการใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เก่ียวข้อง สามารถนาเสนอ
เร่อื งราวทค่ี ้นพบได้ตามลาดบั เวลา
ศึกษาปัจจยั ทีม่ ีอิทธิพลต่อการต้ังถ่ินฐานและพฒั นาการของชมุ ชน ปัจจัยท่ที าให้เกิดวัฒนธรรมและ
ประเพณใี นชมุ ชน ซงึ่ ประกอบด้วย ปจั จยั ทางภมู ิศาสตร(์ ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร) และปจั จยั ทาง
สังคม (ความเจริญทางเทคโนโลยี เช้อื ชาติ ศาสนา ความเชอ่ื การคมนาคม ความปลอดภัย ) ศึกษาและ
เปรยี บเทยี บความเหมือนและความแตกต่าง ของขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรมของชมุ ชนตนเอง
และชมุ ชนใกล้เคียง ในเร่ืองความเชือ่ และการนบั ถอื ศาสนา อาหาร ภาษาถน่ิ การแตง่ กาย โดยใชท้ กั ษะ
การอา่ น การสอบถาม การสังเกต การสารวจ การฟัง การสรุปความ เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจและภมู ใิ จในชมุ ชน
ของตนเอง ยอมรับความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม เขา้ ใจพฒั นาการของชุมชน สามารถดาเนินชวี ติ อยูร่ ่วมกัน
ในสังคมไดอ้ ยา่ งสันติสุข รว่ มอนุรกั ษ์สบื สานขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรมไทย
ศึกษาพระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กิจ โดยสังเขปของพระมหากษตั รยิ ์ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทยั
อยุธยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร์ ตามลาดับ ได้แก่ พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจา้ อู่
ทอง) สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศกึ ษาพระราช
ประวัตแิ ละพระราชกรณียกจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าหัวอยู่ภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์
พระบรมราชินนี าถโดยสังเขป และศกึ ษาวรี กรรมของบรรพบรุ ุษไทยท่มี สี ่วนปกป้องประเทศชาติ ได้แก่ สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช ทา้ วเทพกระษัตรี – ท้าวศรสี ุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพิชยั ดาบหกั ท้าวสุรนารี
เป็นต้น โดยใชท้ ักษะการอา่ น และสอบถาม การฟงั การสรุปความ การเขยี น การเลา่ เร่ือง เพือ่ ใหเ้ ข้าใจความ
เปน็ มาของชาติไทย เกิดความรกั ความภูมใิ จและเหน็ แบบอย่างการเสยี สละเพ่อื ชาติ และธารงความเป็นไทย
69
สามารถนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้
กบั ชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ส ๔.๑ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
ส ๔.๒ ป ๓/๑, ป ๓/๒
ส ๔.๓ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
รวม ๓ มำตรฐำน ๘ ตวั ชี้วดั
70
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ิศำสตร์
รำยวชิ ำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สงั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดับชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษาความหมาย วิธีการนบั และการใชช้ ว่ งเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์การแบง่
ยคุ สมยั ในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาตทิ ่ีแบง่ เป็นสมยั ก่อนประวัติศาสตร์และสมยั ประวัตศิ าสตร์
รวมทัง้ ชว่ งสมยั ในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ไทย สมยั ก่อนสโุ ขทยั สมัยสโุ ขทยั สมยั อยุธยา สมัยธนบรุ ี และสมยั
รตั นโกสนิ ทร์ ตวั อยา่ งการใช้ช่วงเวลาในเอกสารตา่ ง ๆ โดยใชท้ ักษะการอา่ น การสารวจ การวเิ คราะห์
การคานวณ เพ่ือให้ใช้ช่วงเวลาในการบอกเลา่ เร่ืองราวได้ถกู ต้อง และเข้าใจเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามชว่ งเวลา
ที่ปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์
ศึกษาลักษณะสาคัญ และเกณฑก์ ารจาแนกหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ใ่ี ช้ในการศึกษาความเปน็ มา
ของทอ้ งถนิ่ อยา่ งง่าย ๆ ตวั อยา่ งของหลักฐานทีพ่ บในทอ้ งถ่ินทง้ั หลักฐานชนั้ ต้นกบั ชัน้ รอง หลักฐานท่ีเป็น
ลายลกั ษณ์อกั ษร กบั ไมเ่ ป็น ลายลกั ษณ์อักษร โดยใช้ทักษะการสารวจ การวิเคราะห์ การตรวจสอบขอ้ มลู
การจาแนก การตีความ เพื่อฝกึ ทักษะการสืบค้นข้อมูลดว้ ยวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์
ใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ในการศึกษาปัจจยั การต้ังถิ่นฐานและพัฒนาการของมนุษยชาติ
ในสมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ และสมัยประวัตศิ าสตรใ์ นดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อตงั้ อาณาจักรโบราณ
ในดนิ แดนไทย ได้แก่ ทวารวดี ศรีวชิ ยั ตามพรลิงค์ เปน็ ตน้ โดยใช้ทกั ษะการสารวจ การวิเคราะห์ การตีความ
การสรปุ ความ เพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติท่ีมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเนื่องจากอดีตจนถงึ ปจั จบุ นั
ศึกษาประวตั ิศาสตรเ์ ป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัยโดยสังเขป ในเรื่องเกยี่ วกบั การสถาปนา
อาณาจักร พฒั นาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคัญ ไดแ้ ก่
พอ่ ขุนศรีอินทราทติ ย์ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พระยาลิไทย) และภมู ิปญั ญาไทย
ในสมยั สุโขทัยท่ีน่าภาคภูมิใจ ซงึ่ เปน็ ผลใหอ้ ทุ ยานประวตั ศิ าสตร์ในสโุ ขทยั และศรีสัชนาลยั ได้รับการยกยอ่ ง
เป็นมรดกโลก โดยใชท้ ักษะการอ่าน การสารวจ การสบื คน้ การวเิ คราะห์การตคี วาม เพ่ือเข้าใจความเปน็ มา
ของชาติไทยในสมยั สุโขทยั รวมท้งั วฒั นธรรมไทย ภมู ิปญั ญาไทย และบุคคลสาคัญในสมัยสโุ ขทัย เกิดความรัก
และความภมู ิใจในความเป็นไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบรุ ษุ ไทยทไี่ ด้ปกปอ้ ง
และสรา้ งสรรคค์ วามเจริญให้บา้ นเมือง ตกทอดเป็นมรดกทางวฒั นธรรมสืบต่อถงึ ปจั จุบัน สามารถนาความรู้ไป
ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวนั ได้
มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ส ๔.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
ส ๔.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒
ส ๔.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
รวม ๓ มำตรฐำน ๘ ตัวชี้วัด
71
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ ำสตร์
รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๕ เวลำ ๔๐ ชวั่ โมง
สืบค้นความเปน็ มาของท้องถ่ินโดยใชห้ ลกั ฐานหลากหลาย ด้วยการต้ังประเด็นคาถามทาง
ประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี ก่ยี วข้องกบั ท้องถ่ิน ความเป็นมาของชื่อหมู่บ้าน ชื่อตาบล ช่อื ถนน ความเปน็ มาของสถานท่ี
สาคัญ ความเปน็ มาของขนบธรรมเนียมประเพณใี นทอ้ งถ่นิ ร้จู กั แหล่งข้อมลู หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีอยู่
ในท้องถนิ่ สามารถรวบรวมข้อมลู จากหลักฐานท่เี ก่ียวข้อง รู้จักวเิ คราะหต์ รวจสอบข้อมูลอย่างงา่ ย ๆ
เขา้ ใจความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเทจ็ จริงทป่ี รากฏในข้อมูลจากหลกั ฐานต่าง ๆ แยกแยะความคิดเห็น
กับข้อเทจ็ จรงิ ท่ีอยู่ในข้อมูลได้ โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม การสารวจ การเปรียบเทยี บ การวิเคราะห์
การเชอ่ื มโยง และการสังเคราะหอ์ ย่างงา่ ย ๆ เพ่ือฝกึ ฝนทักษะวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์วเิ คราะห์เหตุการณ์
ทเี่ กิดขึน้ ในท้องถน่ิ อยา่ งเปน็ ระบบ สามารถใช้ข้อมลู ขา่ วสารไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาการเข้ามาและอิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดีย และจนี ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้โดยสงั เขป ไดแ้ ก่ การปกครอง การนบั ถือศาสนา ความเชือ่ วฒั นธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร
และการแตง่ กาย ศึกษาอทิ ธิพลของวัฒนธรรมตา่ งชาติ ท้ังตะวนั ตกและตะวันออกท่ีมีต่อสังคมไทยในปจั จุบัน
โดยสังเขป โดยใช้ทักษะการอา่ น การสบื ค้นข้อมูล การสงั เกต การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเชอื่ มโยง
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในวัฒนธรรมไทยในสงั คมปจั จุบัน และวัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบา้ นในภูมภิ าคเอเชยี
ตะวันออกเฉียงใต้ท่ีมีท้งั ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่าง เพ่อื ให้เกดิ การยอมรับในความแตกต่างทาง
วัฒนธรรมและอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ย่างสนั ตสิ ุข
ศกึ ษาพัฒนาการของอาณาจักรอยธุ ยา และธนบรุ ี ในเรอื่ งเกีย่ วกับการสถาปนาอาณาจักร ปจั จัยท่ี
สง่ เสรมิ ความเจรญิ รงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
โดยสังเขป ประวตั แิ ละผลงานบุคคลสาคัญในสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี ได้แก่ สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ สมเดจ็
พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ชาวบา้ นบางระจัน สมเดจ็
พระเจา้ ตากสนิ มหาราช และภมู ปิ ัญญาไทยในสมัยอยธุ ยา และธนบุรี ท่ีน่าภาคภูมใิ จ ควรค่าแก่การอนุรกั ษไ์ ว้
ซึ่งเปน็ ผลให้พระนครศรีอยธุ ยาได้รับการยกยอ่ งเป็นมรดกโลก ได้แก่ ทางด้าน ศลิ ปกรรม วรรณกรรม และ
การคา้ โดยใชท้ กั ษะการอ่าน การสบื คน้ ขอ้ มูล การเช่ือมโยง การวิเคราะห์ การอธบิ าย การสรุปความ การ
เรยี งความ เพ่ือให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเห็นความสาคญั ท่จี ะธารงรกั ษา
ความเป็นไทยสืบต่อไป สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
72
มำตรฐำน/ตัวช้ีวัด
ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป ๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๓ มำตรฐำน ๙ ตัวชว้ี ัด
73
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศำสตร์
รำยวิชำพ้ืนฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ เวลำ ๔๐ ช่วั โมง
ศกึ ษาความหมายและความสาคญั ของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์อยา่ งง่าย ๆ และใช้วธิ กี ารทาง
ประวตั ิศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราว หรือเหตุการณ์สาคญั ตามลาดบั ข้นั ตอนอย่างเป็นระบบ ไดแ้ ก่
การตง้ั ประเดน็ ศึกษาเร่ืองราวทีต่ นสนใจ การสารวจแหล่งขอ้ มูลที่เกย่ี วข้อง การรวบรวมขอ้ มูลจากหลกั ฐานที่
หลากหลาย การวเิ คราะห์ความนา่ เชือ่ ถือของข้อมลู การตีความ การเรยี บเรยี งและนาเสนอความร้ทู ่ีค้นพบได้
อย่างนา่ สนใจ โดยใช้ทักษะ การสารวจ การอ่าน การเปรียบเทยี บ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การอธบิ าย
การสรุปความ การเขยี นเรียงความ การจดั ทาโครงงานและการจดั นิทรรศการ เพอ่ื ฝึกทกั ษะการสืบค้น
เหตกุ ารณ์สาคัญด้วยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์
ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพ่ือนบ้านในปจั จบุ ันโดยสังเขป เชอ่ื มโยง และ
เปรยี บเทยี บกับประเทศไทย ศกึ ษาความเป็นมา และความสัมพันธ์ของกลมุ่ อาเซียนโดยสงั เขป โดยใชท้ ักษะ
การอ่าน การสารวจ การเปรียบเทยี บ การวิเคราะห์ เพื่อให้เข้าใจพฒั นาการของประเทศเพ่ือนบ้านทม่ี ี
ความสัมพนั ธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวฒั นธรรม
และอยรู่ ่วมกนั ได้อยา่ งสนั ติสุข
ศึกษาประวตั ิศาสตร์ความเปน็ มาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ในเรอื่ งเกย่ี วกับการสถาปนา
อาณาจักร ปัจจัยทีส่ ่งเสรมิ ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พฒั นาการทางด้านตา่ ง ๆ
โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสาคญั ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช
สมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาสุรสงิ หนาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และภูมปิ ัญญาไทยท่ีสาคัญ
ท่นี า่ ภาคภมู ใิ จ ควรค่าแกก่ ารอนรุ ักษ์ไว้ โดยใช้ทกั ษะการอา่ น การสืบคน้ ข้อมลู การเชื่อมโยง การวเิ คราะห์
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนกั ถึงความพากเพียรพยายามของ บรรพบุรษุ ที่ได้
ปกปอ้ ง และสรา้ งสรรค์ความเจริญใหบ้ ้านเมืองตกทอดเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมสืบต่อถงึ ปัจจบุ ัน
สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้
กับชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ส ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๒ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๓ ป ๖/๑, ป ๖/๒, ป ๖/๓, ป ๖/๔
รวม ๓ มำตรฐำน ๘ ตวั ช้ีวัด
74
ส ๑๔๒๐๑ หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
รำยวิชำเพ่ิมเติม กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สงั คมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
ระดับชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ศึกษาแนวคดิ ของหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งตามสภาพปัญหาทรพั ยากร สง่ิ แวดล้อมในชุมชนและแก้ปัญหา
เพอ่ื ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การวางแผนใช้จ่ายเงินของตนเอง การเหน็
คุณค่าของภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และสารวจสภาพปัญหาทรัพยากร สิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชนและเสนอแนวทางในการ
แกป้ ัญหา สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป
ประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
ผลกำรเรียนรู้
1. อธิบายหลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกต้อง
2. นาหลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
3. สารวจสภาพปญั หาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มในชุมชน
4. อธบิ ายขอ้ มลู การใชจ้ า่ ยเงินของตนเองและครอบครัวในชีวิตประจาวันได้
5. วางแผนและจดั ทาบันทึกรายรับ - รายจา่ ยของตนเอง
6. เหน็ คณุ คา่ และประโยชนข์ องการจัดทารายรบั – รายจา่ ยประจาวันของตนเอง
7. สารวจ/บันทกึ ประเภทบคุ คลที่เปน็ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินในชมุ ชนของตนเอง
8. จาแนกประเภทภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นตา่ ง ๆ
รวม 8 ผลกำรเรียนรู้
75
ส ๑๕๒๐๑ หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
รำยวิชำเพม่ิ เติม กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
ระดบั ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๕ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ศกึ ษาและปฏิบัติตนตามหลักแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง การใชท้ รพั ยากรและส่ิงแวดล้อมอยา่ งสมดลุ ใน
ชุมชน สภาพรายรับ-รายจา่ ย ของครอบครัว นาเศรษฐกิจพอเพียงมาลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ให้ครอบครวั การมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชนโดยการสืบค้น การแลกเปล่ียน การสารวจ
การวิเคราะห์ การฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เห็นความสาคัญ เกิดความรู้ความเข้าใจ และดาเนินชวี ิตตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
ผลกำรเรยี นรู้
1. สามารถปฏบิ ตั ติ นตามแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
2. วิเคราะห์ทรัพยากร สง่ิ แวดลอ้ มของชุมชน และนามาใชไ้ ดอ้ ยา่ งสมดุล
3. เขา้ ใจแนวทางการลดคา่ ใช้จ่ายและเพ่ิมรายได้ของครอบครวั
รวม 3 ผลกำรเรียนรู้
76
ส ๑๖๒๐๑ หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง
รำยวชิ ำเพ่มิ เติม กลุม่ สำระกำรเรียนรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๖ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
การประกอบตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่ือการสร้างรายได้ อย่างมั่นคง มง่ั คัง่ และย่ังยืน
มงุ้ เน้นให้ผู้เรียนมกี ารพิจารณาอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และระมัดระวงั ในการวางแผนและการ
ดาเนนิ งานทกุ ขน้ั ตอน เพื่อมิให้เกดิ ความเสียหายต่อการพัฒนา เป็นการประกอบอาชพี ทค่ี านงึ ถึงการมีรากฐานท่ี
ม่ันคงแข็งแรง ให้เจริญเตบิ โตอย่างมีลาดับขน้ั สามารถยกระดบั คุณภาพชีวิตท้ังทางกายภาพและทางจติ ใจควบคู่
กัน การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจงึ มิได้ขดั กบั กระแสโลกาภวิ ัตน์ ตรงกนั ขา้ มกลบั
ส่งเสรมิ ใหก้ ระแสโลกาภิวัตน์ไดร้ ับการยอมรบั มากขนึ้ ด้วยการเลือกรบั การเปลีย่ นแปลงท่ีส่งผลกระทบในแง่ดตี ่อ
ประเทศ ในขณะเดยี วกันเป็นการสร้างภมู คิ มุ้ กนั ในตัวท่ีดีต่อการเปลย่ี นแปลงในแง่ทไี่ ม่ดีและไม่อาจหลีกเลยี่ งได้
เพอื่ จากัดผลกระทบให้อยู่ในระดบั ไม่ก่อความเสียหายหรือไม่เป็นอนั ตรายร้ายแรงต่อประเทศ สามารถน้อม
นาเอาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ต์ปรับเปล่ียนใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวันได้
ผลกำรเรียนรู้
1. ตระหนกั ในความสาคัญของการการประกอบอาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. เพอื่ การสร้างรายได้อย่างมั่นคง มัง่ คั่ง และย่งั ยนื พัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภวิ ตั น์ และเลือก
แนวทาง
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชีวติ อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อความเปลยี่ นแปลงของประเทศภายใต้กระแส
โลกาภิวัตน์
รวม 3 ผลกำรเรียนรู้
77
คำอธบิ ำยรำยวิชำ
กลุม่ สำระกำรเรยี นรสู้ ุขศกึ ษำ
และพลศึกษำ
78
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ
รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู ุขศึกษำและพลศึกษำ
ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ ๑ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
รูเ้ ขา้ ใจธรรมชาติการเจรญิ เติบโต การพฒั นาการของมนุษย์ อธิบายหนา้ ทข่ี องอวยั วะภายนอกดูแล
รกั ษา เห็นคุณคา่ ความรกั ความผกู พัน ชน่ื ชอบภูมิใจในตนเอง ทั้งสมาชิกในครอบครัว รเู้ ขา้ ใจความแตกต่าง
ระหว่างเพศหญงิ -ชาย มีทกั ษะในการดาเนินชีวิต การเคลือ่ นไหวทางกายสอดคล้องกับอุปกรณป์ ระกอบกจิ กรรม
การเลน่ เกมกฬี า มวี นิ ัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้าใจ จติ วญิ ญาณ เสริมสร้างสขุ ภาพ สมรรถภาพ
มคี วามสามารถปฏบิ ตั ติ ามสุขบัญญตั ิ ปฏิบัติตนตามคาแนะนา การเจบ็ ปว่ ยของตนเอง หลกี เล่ียงพฤติกรรม
ปัจจัยเสยี่ ง ตอ่ สุขภาพ อบุ ตั เิ หตุ การใช้ยา สารเสพตดิ ความรุนแรง การพูด ท่าทาง ขอความชว่ ยเหลือ
การเกิดเหตรุ ้าย ทจี่ ะเกิดขึน้ ทง้ั ทีบ่ า้ นทีโ่ รงเรียน
มีความสามารถในการปอ้ งกันดูแล รกั ษา การตัดสินใจ และการแก้ปัญหางา่ ยๆ ของตนเอง
และครอบครัว มีความนิยมที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานกึ ตอ่ การดาเนินชีวติ ตามธรรมชาตสิ อดคลอ้ ง
กับชวี ิตประจาวัน
รู้เขา้ ใจเหน็ คุณคา่ ของการเลน่ เกมกิจกรรมกีฬาพน้ื บา้ น นนั ทนาการ การทอ่ งเท่ียว อาหารพน้ื บ้าน
ปฏิบัตติ นเก่ียวกบั การเจบ็ ป่วยโรคในหม่บู ้านนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์
โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้อง
เหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ช้วี ัด
พ ๑.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๒.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
พ ๓.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๓.๒ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๔.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
พ ๕.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
รวม ๖ มำตรฐำน ๑๕ ตัวชีว้ ัด
79
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ
รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
รูเ้ ขา้ ใจธรรมชาตกิ ารเจริญเติบโต เหน็ คณุ ค่าของตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา มที ักษะในการดาเนนิ ชวี ติ
การเคลอ่ื นไหว การออกกาลังกาย การเลม่ เกมกีฬาไทยสากล มนี ้าใจนักกีฬา มจี ติ วญิ ญาณ การสรา้ งสุขภาพ
สมรรถภาพ การป้องกนั โรค หลีกเล่ียงสารเสพติด การใช้ยา การเกดิ อบุ ตั เิ หตุ ความรนุ แรง มีความปลอดภัยใน
ชวี ติ ดแู ลรกั ษาอวัยวะภายใน รู้หน้าทีบ่ ทบาทของตนเอง สมาชิกในครอบครวั เพ่ือน เข้าใจความแตกตา่ งเพศ
หญิงเพศชาย มีความภมู ใิ จในเพศตนทง้ั หญงิ ชาย การเลน่ เกม กีฬา การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายอาศยั อปุ กรณไ์ ด้ด้วย
ตนเอง กลุม่ อยา่ งสนุกสนาน ตามกฎ กติกา มีวนิ ยั ในการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ การมีสขุ ภาพดี การดูแลการ
เกดิ อบุ ตั ิเหตุ การเจบ็ ป่วย บาดเจ็บ การใชย้ า เลย่ี งสารเสพตดิ ความรนุ แรง ปฏิบตั ิตนตามสญั ลักษณ์ พฤติกรรม
เส่ียงได้อย่างปลอดภยั
รู้เข้าใจหน้าที่ การดูแล เสริมคุณคา่ ตนเอง สงั คม ครอบครัว เพ่ือน การมีพฤติกรรมกอ่ ให้เกดิ ความ
มีสุขภาพกาย การอยรู่ ่วมกัน การเสรมิ สร้างสุขภาพดี การดูแล เกิดการเจบ็ ป่วย อุบัตเิ หตุเบอื้ งต้น มีค่านยิ ม
มคี ณุ ธรรม ในการดาเนินชีวติ สอดคล้องกับธรรมชาติ ช่วยให้มคี วามปลอดภัยในชวี ิต
รู้เข้าใจเหน็ คุณค่าของการเล่นเกมกิจกรรมกีฬาพ้ืนบ้าน นันทนาการ มีกฎระเบียบกติกา มคี วามรู้
ความเขา้ ใจการท่องเท่ียว อาหารพืน้ บ้าน ปฏบิ ัติตนเกยี่ วกับการเจ็บป่วยโรคในหม่บู า้ นรู้จักชื่อและอาการของ
โรคนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับชีวติ ประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวชีว้ ดั
พ ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓
พ ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔
พ ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๓.๒ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
พ ๕.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๑ ตวั ชีว้ ัด
80
พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
รำยวชิ ำพน้ื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรูส้ ุขศกึ ษำและพลศึกษำ
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
เขา้ ใจลักษณะการเจรญิ เตบิ โต ความแตกต่าง สมั พนั ธ์ ภาพในครอบครวั กลมุ่ เพื่อน สรา้ งสมั พนั ธภาพ
หลกี เลี่ยงพฤติกรรมนาไปสา่ การล่วงละเมดิ ทางเพศ มีการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ทาอยู่กบั ท่ี และ
รอบทิศทาง การใช้อปุ กรณ์ในการออกกาลังกาย การเลน่ เกม กีฬา ปฏิบตั ิตนอย่างสม่าเสมอ มีวนิ ัย มคี วามถนัด
รู้จักจุดเดน่ จดุ ด้อยของตนเอง รู้เข้าใจการละเลน่ กฬี าพืน้ เมือง อธบิ ายการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของโรค การ
เลอื กอาหารตามสัดสว่ นรูว้ ิธปี อ้ งกันโรค เข้าใจวธิ กี ารแปรงฟนั ได้อย่างถกู วิธี มคี วามปลอดภยั ในชีวิต ทงั้ การขอ
ความชว่ ยเหลอื จากบคุ คล เม่ือเกิดเหตรุ ้าย อุบัติเหตุ ท้ังการใชย้ า เว้นสารเสพตดิ ลดความรุนแรง ทงั้ ทบี่ ้านและ
ทโี่ รงเรียน
ปฏบิ ัติตนในการรู้เขา้ ใจอธิบาย การเปล่ียนแปลงของมนุษย์ ความแตกตา่ งท้ังรา่ งกาย อารมณใ์ ห้
เหมาะสมกับวัย การตัดสินใจ แก้ปญั หาง่ายๆ จากใกลต้ วั บา้ น โรงเรยี น มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม จติ สานกึ ความ
รบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง และผอู้ ่ืน
รูเ้ ขา้ ใจวิธกี ารกิจกรรมการเล่นกฬี าพนื้ บ้าน นนั ทนาการ การทอ่ งเท่ยี ว อาหารพื้นบ้าน รวู้ ิธรี ักษาการ
เจบ็ ป่วยของโรคในตาบล ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ กติกาของการเลน่ เกมนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน สามารถนา
ความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กบั
ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
พ ๑.๑ ป. ๓/๑, ป.๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๒.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๓.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๓.๒ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๔.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ป. ๓/๕
พ ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
รวม ๖ มำตรฐำน ๑๘ ตวั ชว้ี ัด
81
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ
รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๔ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง
รู้เขา้ ใจหน้าท่ีของอวัยวะตา่ ง ๆ เหน็ ความสาคัญของการทางานของอวยั วะ สามารถปอ้ งกนั ดูแลอวยั วะ
การเจรญิ เตบิ โต การเปลีย่ นแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจอารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา รู้วธิ ีการแกไ้ ขปญั หาและ
การป้องกนั ปญั หาที่เกดิ ข้ึน เข้าในบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเองตอ่ ครอบครัว เห็นคณุ ค่าและความสาคัญของเพศชาย
เพศหญงิ สามารถควบคุมตนเองและขณะปฏบิ ัติการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การกีฬา เลม่ เกม มสี ่วนรว่ ม
ในกิจกรรมกีฬากบั ชุมชน ปฏิบตั ติ ามกฎกติกา รู้และเข้าใจการมสี ุขภาพทีด่ ี การป้องกนั โรค การเลอื กบรโิ ภค
อาหาร อารมณแ์ ละความเครียด ร้จู กั การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ร้แู ละเข้าใจในเรื่องการเสริมสรา้ ง
สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ การป้องกนั หลีกเล่ยี งปัจจยั เสีย่ งท่เี กิดจากอุบตั ิเหตุ สิ่งเสพติด การปฐม
พยาบาล จัดหมวดหมู่อวัยวะของร่างกายปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเลน่ เกม กฬี าพ้ืนบา้ น ฝกึ ทดสอบกิจกรรมยดื หย่นุ
พ้นื ฐาน หลกี เลยี่ งปัจจยั เส่ียงตอ่ สุขภาพ อุบัติภัย
รู้ปฏบิ ัติตนการเลน่ เกมกฬี าพื้นบ้านในระดับอาเภอ การทาอาหารพ้นื บ้าน รู้วิธีรักษาและปฏิบัติตน
การเจบ็ ปว่ ยตามคาแนะนา เลอื กแหล่งบริการสขุ ภาพท่เี หมาะสม มคี วามรใู้ นการบริโภคอาหาร เลือกซื้อ เลือก
บริโภคประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
พ ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
พ ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวม ๖ มำตรฐำน ๑๙ ตวั ช้วี ดั
82
พ ๑๕๑๓๑ สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
รำยวชิ ำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนร้สู ุขศึกษำและพลศึกษำ
ระดบั ช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๕ เวลำ ๘๐ ชว่ั โมง
รเู้ ข้าใจในการทางานของอวยั วะต่าง ๆ สุขอนามัยทางเพศ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สตปิ ญั ญา รแู้ ละเข้าใจเห็นคุณค่าของชีวิตครอบครัว มที กั ษะในการดาเนินชวี ติ หลักการเคลื่อนไหว
การออกกาลังกาย เกมกีฬาไทยและกีฬาสากล ร้แู ละเข้าใจกลวธิ ีการรกุ และการป้องกนั การสง่ เสรมิ สุขภาพ
ของตน การบรโิ ภคอาหารเพ่ือสุขภาพและความปลอดภัยจากปัจจัยเสี่ยงตอ่ สุขภาพตา่ ง ๆ ศึกษาคน้ ควา้
การทางานของระบบอวยั วะสุขภาพทางเพศ การเปล่ียนแปลงทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สตปิ ัญญา
หลักของการเคล่ือนไหว การกฬี า การมสี ุขภาพดี การบรโิ ภคอาหารเพ่ือสขุ ภาพ การปฏิบัติควบคมุ จนเอง
ในการเคลื่อนไหว การเข้ารว่ มกจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม ออกกาลังกาย การเการพกฎ กติกา ความมีนา้ ใจ
เป็นนักกีฬา การอภิปรายและการรายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมวดั ประเมนิ ผลโดยการสงั เกตพฤติกรรมทดสอบ
ความรู้ ทดสอบการเลน่ กีฬา
เขา้ ใจกฎ กติกา กีฬาพน้ื บ้านในระดับจังหวดั เหน็ ประโยชน์ของการเล่นเกม รู้อนรุ ักษ์การทาอาหาร
พน้ื บา้ นป้องกันการเจบ็ ป่วย เลอื กแหลง่ บริการสุขภาพ เลือกกจิ กรรมทัศนศึกษาการพกั ผ่อนเขา้ ใจเกย่ี วกบั
วธิ กี ารปฏิบัติตนใหม้ ีความรู้ความเข้าใจนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ ห้เกดิ
ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั
พ ๑.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒
พ ๒.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓
พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖
พ ๓.๒ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔
พ ๔.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
พ ๕.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๕ ตวั ช้ีวัด
83
พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษำและพลศึกษำ
รำยวิชำพน้ื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง
รู้เขา้ ใจในการทางานของอวยั วะต่าง ๆ ของร่างกาย สุขอนามัยทางเพศ การพฒั นาการ ของวัยแรกรนุ่
การเปล่ยี นแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สตปิ ญั ญา และจิตวญิ ญาณในวัยแรกร่นุ ชวี ิตครอบครวั
หลกั การเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย เกมกีฬาไทย กีฬาสากล กลวธิ ีการรกุ การป้องกัน และเสรมิ สรา้ งสุขภาพ
ท่ีดี สมรรถภาพ การป้องกนั การเกดิ โรค การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นเม่ือเกดิ อุบัติเหตุศึกษาคน้ ควา้ การทางาน
ของระบบอวัยวะ การเปล่ียนแปลงทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สติปญั ญา จติ วิญญาณในวัยแรกรุ่นหลักของ
การเคลือ่ นไหว ความมีสุขภาพดี ปฏบิ ัตกิ ารเคลื่อนไหว ความมสี ขุ ภาพดี การปฏิบัตกิ ารเคล่ือนไหวอยกู่ ับที่
การบังคับสง่ิ ของ การเข้ารว่ มเลน่ กิจกรรมทางกาย เกมกีฬา การเการพกฎกติกา ท่ายดื หยุ่นพ้ืนฐาน ปฏบิ ัตทิ ่า
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย อภปิ รายรายงานผล การฝกึ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมสังเกตพฤติการณแ์ ละความสนใจ
ในการฝกึ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ทดสอบความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับระบบการทางานของอวยั วะ การพัฒนาการ
ของวัยรุ่น การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมวัยรนุ่ ชีวติ ครอบครัว สังเกตการเคล่ือนไหว
การออกกาลงั กายการเลน่ กีฬา
เข้าใจการเล่นเกมกฬี าพน้ื บ้าน กฎกตกิ าระดับจังหวดั ร้ปู ระโยชนข์ องการเลน่ ปฏบิ ตั ติ นในการอนรุ ักษ์
อาหารพน้ื บ้าน วธิ ีการทา ปฏบิ ัติตนป้องกนั การเจบ็ ปว่ ย การรักษา การแนะนา การป้องกันโรค เลือกแหลง่
บริการสุขภาพในท้องถนิ่ ได้อยา่ งเหมาะสม เลือกปฏิบตั ิกจิ กรรมในการบรโิ ภคอาหาร สามารถนาความรู้ไปใช้ให้
เกิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจาวันได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ช้วี ดั
พ ๑.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๒.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๓.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔, ป. ๖/๕
พ ๓.๒ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๕, ป. ๖/๖
พ ๔.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔
พ ๕.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๒ ตวั ช้วี ดั
84
คำอธบิ ำยรำยวิชำ
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ
85
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ
รำยวิชำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
ระดับชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี ๑ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ทอ่ ง เลา่ เลยี นแบบ แสดง เกี่ยวกับรูปรา่ ง
ลักษณะ และขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาติ และสงิ่ ท่ีมนุษยส์ รา้ งขึน้ ความรู้สกึ ทมี่ ตี อ่ ธรรมชาติ และ
ส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั สง่ิ แวดล้อมในหมู่บา้ น มพี นื้ ฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์สร้างงานทศั นศิลป์โดยการทดลอง
ใชส้ ี ดว้ ยเทคนิคง่าย ๆวาดภาพระบายสภี าพธรรมชาตติ ามความรู้สกึ ของตนเองงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจาวัน
สิ่งตา่ ง ๆ สามารถก่อกาเนดิ เสียง ท่ีแตกตา่ งกัน ลกั ษณะของเสียงดัง-เบา และความชา้ - เรว็ ของจังหวะ
บทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ มีส่วนร่วมใน กิจกรรมดนตรีอย่างสนกุ สนานความเกี่ยวขอ้ งของเพลงที่ใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั เพลงในท้องถ่ิน สง่ิ ท่ีชน่ื ชอบในดนตรที ้องถ่ิน เครื่องดนตรีจากพืชและสัตวใ์ นหมู่บา้ น
การเคล่อื นไหว ทา่ ทางงา่ ย ๆ เพ่ือส่ือความหมาย แทนคาพูด ส่งิ ท่ีตนเองชอบ จากการดูหรือรว่ มการแสดง
เลน่ การละเลน่ ของเด็กไทย
รู้ เข้าใจ เห็นคุณคา่ ช่นื ชม เก่ียวกบั รูปรา่ ง ลักษณะ และขนาดของส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติ และ
สง่ิ ทีม่ นุษย์สร้างขึ้น ความรูส้ กึ ที่มีต่อธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมรอบตวั ส่งิ แวดล้อมในหมู่บ้าน มพี น้ื ฐานในการใช้
วสั ดุ อุปกรณ์สร้างงานทศั นศิลปโ์ ดยการทดลองใชส้ ี ด้วยเทคนคิ งา่ ย ๆวาดภาพระบายสีภาพธรรมชาตติ าม
ความรสู้ กึ ของตนเองงานทัศนศิลปใ์ นชีวติ ประจาวัน สงิ่ ตา่ ง ๆสามารถก่อกาเนิดเสยี ง ทีแ่ ตกตา่ งกนั ลักษณะ
ของเสียงดัง-เบา และความชา้ -เรว็ ของจังหวะ บทกลอน รอ้ งเพลงง่าย ๆ มีสว่ นรว่ มใน กจิ กรรมดนตรีอยา่ ง
สนุกสนานความเกยี่ วข้องของเพลงทีใ่ ชใ้ นชีวิตประจาวัน เพลงในท้องถิ่นเครื่องดนตรีจากพืชและสตั ว์ในหมูบ่ ้าน
สิง่ ทีช่ ่นื ชอบในดนตรที ้องถิ่น การเคล่ือนไหว ทา่ ทางงา่ ย ๆเพอ่ื สื่อความหมาย แทนคาพูด สงิ่ ท่ตี นเองชอบ
จากการดหู รือร่วมการแสดง เลน่ การละเล่นของเด็กไทย รักและมุ่งมน่ั ในการทางาน สามารถนาความรไู้ ปใช้
ให้เกดิ ประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ติ ประจาวนั ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวชว้ี ัด
ศ ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ศ ๑.๒ ป.๑/๑
ศ ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ศ ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ศ ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ศ ๓.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๖ มำตรฐำน ๑๘ ตวั ช้วี ดั
86
ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ
รำยวิชำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๒ เวลำ ๔๐ ชัว่ โมง
บรรยาย อภปิ ราย บอก มีทกั ษะ สรา้ ง วาดภาพ ระบุ ท่อง เลา่ เลียนแบบ แสดง จาแนก เคาะ
รอ้ งเพลง เก่ียวกับรปู ร่าง รูปทรงทพ่ี บใน ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม ทศั นธาตุทอ่ี ยู่ในสงิ่ แวดล้อมและงาน
ทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเสน้ สี รปู ร่าง และรปู ทรง ป้ันสตั วช์ นิดตา่ ง ๆทีม่ ใี นหมู่บ้าน งานทศั นศลิ ป์ต่าง ๆ
โดยใช้ทศั นธาตุทเี่ นน้ เสน้ รปู ร่าง การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ ๓ มิติ ภาพปะตดิ โดยการตัดหรือ
ฉีกกระดาษ ภาพปะตดิ ภาพสถานทีท่ ่องเทย่ี วในตาบลหนองแสง อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี วาดภาพเพ่ือ
ถ่ายทอดเรื่องราวเก่ียวกับครอบครัวของตนเอง และเพ่ือนบ้าน รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว เป็นรปู แบบงาน
โครงสรา้ งเคลื่อนไหว ความสาคัญของงานทัศนศิลป์ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวนั งานทศั นศิลปป์ ระเภทต่าง ๆ
ในทอ้ งถนิ่ โดยเนน้ ถึงวิธีการสรา้ งงานและวัสดุอปุ กรณ์ ท่ใี ช้ แหลง่ กาเนิด ของเสียงทีไ่ ด้ยนิ คณุ สมบัติของเสียง
สงู - ตา่ , ดัง-เบา, ยาว-ส้นั ของดนตรี เคาะจงั หวะหรือเคลื่อนไหวรา่ งกายให้สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาของ
เพลงง่าย ๆ ทเี่ หมาะสมกับวัยความหมายและความสาคญั ของเพลงที่ไดย้ นิ ความสัมพันธ์ของเสยี งร้อง เสียง
เครื่องดนตรีในเพลงท้องถนิ่ โดยใชค้ าง่าย ๆ เคร่ืองดนตรใี นบ้านหนองคู ได้แก่ กลอง แคน ซงุ เขา้ รว่ ม
กจิ กรรมทางดนตรีในทอ้ งถน่ิ เคลื่อนไหวขณะอยู่กบั ทีแ่ ละเคลอ่ื นที่ ที่สะท้อนอารมณ์ ของตนเองอยา่ งอสิ ระ
เลียนแบบทา่ ทางสัตวใ์ นการรา สัตว์ทีม่ ใี นบ้านหนองคู ท่าทาง เพื่อสื่อความหมาย แทนคาพดู แสดงทา่ ทาง
ประกอบจงั หวะอยา่ งสรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการชมการแสดง เล่นการละเลน่ พ้นื บ้าน เชื่อมโยงสงิ่ ทพ่ี บเห็น
ในการละเลน่ พืน้ บ้านกบั ส่ิงท่ีพบเหน็ ในการดารงชวี ติ ของคนไทย สิง่ ทช่ี น่ื ชอบและภาคภมู ใิ จ ในการละเลน่
พ้นื บ้าน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้กบั ชีวิตประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้วี ดั
ศ ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ศ ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ศ ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ศ ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ศ ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ศ ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๕ ตัวชีว้ ัด
87
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ
รำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ
ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สรา้ ง วาดภาพ ระบุ ทอ่ ง เล่า เลียนแบบ แสดง จาแนก
เปรยี บเทยี บ เคาะ ร้องเพลง เกยี่ วกับรปู ร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม และงานทัศนศิลป์ วสั ดุ
อปุ กรณ์ท่ใี ชส้ รา้ งผลงาน เม่ือชมงานทศั นศลิ ป์ ทศั นธาตุของสิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาตสิ ง่ิ แวดล้อม และงานทัศนศิลป์
โดยเน้นเรื่องเสน้ สี รปู รา่ ง รปู ทรง และพนื้ ผิว วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว การวาดภาพประเพณวี ัฒนธรรม
ในหมบู่ า้ นและตาบลและวาดภาพเก่ียวกับเศรษฐกจิ พอเพยี งในครอบครัว การใชว้ สั ดุ อุปกรณส์ รา้ งสรรค์
งานปั้น ทอดความคิดความรู้สกึ จากเหตกุ ารณ์ชีวิตจริง โดยใชเ้ ส้น รูปร่าง รปู ทรง สี และพ้ืนผวิ เหตผุ ลและ
วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ โดยเนน้ ถึงเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์ สงิ่ ทีช่ น่ื ชมและสิ่งทคี่ วรปรบั ปรงุ ในงาน
ทัศนศิลปข์ องตนเอง ภาพตามทศั นธาตุ ท่เี นน้ ในงานทัศนศลิ ป์นั้น ๆ ลักษณะรปู รา่ ง รูปทรง ในงาน การ
ออกแบบส่ิงต่าง ๆ ท่มี ีในบ้านและโรงเรียน ความสาคัญและประโยชนข์ องดนตรีต่อการดาเนินชีวิตของคนใน
ท้องถิน่ การเคล่ือนไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ ในสถานการณส์ ัน้ ๆ ท่าทางประกอบเพลง ตามรปู แบบนาฏศลิ ป์
บทบาทหน้าที่ของผแู้ สดงและผชู้ ม กิจกรรม การแสดงทเี่ หมาะสมกับวัย ประโยชนข์ องการแสดงนาฏศลิ ปใ์ น
ชีวิตประจาวัน การแสดงนาฏศิลปท์ ี่เคยเหน็ ในท้องถ่นิ สง่ิ ที่เปน็ ลักษณะเดน่ และเอกลักษณข์ องการแสดง
นาฏศลิ ป์ ความสาคัญของการแสดงนาฏศลิ ป์
มำตรฐำน/ตวั ชว้ี ัด
ศ ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒,ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐
ศ ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ศ ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗
ศ ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ศ ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
ศ ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๙ ตวั ชวี้ ดั
88
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ
รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๔ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สรา้ ง วาดภาพ ระบุ ท่อง เลา่ เลียนแบบ แสดง จาแนก เปรยี บเทียบ
เคาะ ร้องเพลง เก่ยี วกับรปู ลักษณะของรปู รา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทศั นศิลป์ อิทธิพลของสี
วรรณะอนุ่ และสีวรรณะเยน็ ท่มี ีต่ออารมณข์ องมนุษย์ ทัศนธาตุ ของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และงาน
ทัศนศลิ ป์โดยเนน้ เรื่อง เสน้ สี รปู ร่าง รปู ทรง พนื้ ผิว และพน้ื ทีว่ ่าง มที ักษะพ้นื ฐานในการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์
สร้างสรรค์งานพิมพภ์ าพและงานวาดภาพระบายสี ลกั ษณะของภาพโดยเนน้ เร่ืองการจัดระยะ ความลกึ น้าหนกั
และแสงเงาในภาพ วาดภาพระบายสี โดยใชส้ ีวรรณะอนุ่ และสีวรรณะเยน็ ถ่ายทอดความร้สู กึ และจินตนาการ
ความคดิ ความรสู้ กึ ที่ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศลิ ป์ของตนเองและบุคคลอน่ื วรรณะสีเพอ่ื ถ่ายทอดอารมณ์
ความรู้สกึ ในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ งานทัศนศิลปใ์ น เหตกุ ารณ์ และงานเฉลมิ ฉลองของวฒั นธรรม ในท้องถน่ิ
และแหลง่ ท่องเทย่ี วในอาเภอวารนิ ชาราบ งานทัศนศลิ ปท์ ่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ประโยคเพลงอยา่ งง่าย
ประเภทของเครื่องดนตรีทใ่ี ช้ในเพลงท่ีฟงั ทิศทางการเคลอ่ื นที่ ขึน้ – ลง งา่ ย ๆ ของทานอง รปู แบบ จงั หวะ
และความเร็วของจงั หวะในเพลงท่ฟี ัง โน้ตดนตรไี ทยและสากล ร้องเพลงโดยใช้ช่วงเสียงท่เี หมาะสมกบั ตนเองใช้
และเกบ็ เคร่อื งดนตรอี ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั ดนตรี สามารถใช้ในการสื่อเร่ืองราว แหล่ง ที่มาและ
ความสัมพนั ธ์ของวิถีชวี ิตไทย ท่ีสะท้อนในดนตรแี ละเพลงท้องถน่ิ เพลงกล่อมเด็กในอาเภอหนองแสงหรอื ใน
จงั หวัดอดุ รธานี ความสาคญั ในการอนุรักษ์สง่ เสริมวฒั นธรรมทางดนตรี ทักษะพน้ื ฐานทางนาฏศลิ ป์และการ
ละครที่ใชส้ ือ่ ความหมายและอารมณ์ภาษาทา่ และนาฏยศัพท์หรือศัพทท์ าง การละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอด
เรือ่ งราว เลยี นแบบการเคลอ่ื นไหวของสัตวท์ ี่มใี นอาเภอวารนิ ชาราบตามรูปแบบของนาฏศิลป์ แสดง การ
เคลือ่ นไหว ในจงั หวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน แสดงนาฏศิลปเ์ ป็นคู่ และหมู่ สง่ิ ท่ชี อบในการแสดง โดยเน้น
จุดสาคญั ของเรือ่ งและลักษณะเด่นของตวั ละคร ประวตั ิความเปน็ มาของนาฏศิลป์ หรือชดุ การแสดงอย่างงา่ ย ๆ
การแสดงนาฏศลิ ป์กับการแสดงท่มี าจากวฒั นธรรมอ่นื การแสดงของทอ้ งถ่นิ ความสาคัญของการแสดงความ
เคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศลิ ป์ เหตผุ ลท่ีควรรกั ษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศิลป์
มำตรฐำน/ตัวชวี้ ดั
ศ ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗ , ป.๔/๘ , ป.๔/๙
ศ ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗
ศ ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ศ ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๙ ตวั ชี้วดั
89
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ
รำยวิชำพนื้ ฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ
ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๕ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ท่อง เลา่ เลียนแบบ แสดง จาแนก เปรียบเทยี บ
เคาะ รอ้ งเพลง เก่ียวกับเกี่ยวกับจังหวะ ตาแหนง่ ของ ส่งิ ต่าง ๆ ท่ปี รากฏในสิ่งแวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์
ความแตกตา่ งระหว่างงานทศั นศิลป์ ท่ีสร้างสรรคด์ ว้ ยวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละวธิ ีการทตี่ า่ งกนั เทคนิคของแสงเงา
นา้ หนัก และวรรณะสี การวาดภาพภูมศิ าสตร์ของสถานท่ที ่องเท่ียวและประเพณีวฒั นธรรมในอาเภอหนองแสง
และจังหวดั อุดรธานี งานปนั้ จาก ดนิ นา้ มนั หรือดนิ เหนยี วโดยเน้นการถ่ายทอดจนิ ตนาการ งานพิมพ์ภาพ โดย
เนน้ การจดั วางตาแหน่งของสง่ิ ต่าง ๆ ในภาพ ปญั หาในการจดั องค์ประกอบศิลป์ และการส่ือความหมายในงาน
ทศั นศิลปข์ องตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานใหด้ ีขึ้น ประโยชนแ์ ละคุณค่าของงานทศั นศลิ ปท์ ่ีมผี ลต่อชวี ิต
ของคน ในสังคม เกี่ยวกบั ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลปใ์ นแหล่งเรยี นรหู้ รอื นิทรรศการศิลปะ งาน
ทัศนศลิ ป์ที่สะท้อนวฒั นธรรมและภูมิปัญญาในท้องถ่นิ องค์ประกอบดนตรีในเพลงท่ีใชใ้ นการสือ่ อารมณ์
ลกั ษณะของเสยี งขับร้องและเครื่องดนตรีทีอ่ ยู่ในวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ โนต้ ดนตรไี ทยและสากล ๕ ระดับเสยี ง
เครอ่ื งดนตรีทาจังหวะและทานอง เพลงไทยหรือเพลงสากล หรือเพลงไทยสากลท่เี หมาะสมกบั วยั ประโยค
เพลงแบบถามตอบใชด้ นตรีร่วมกบั กจิ กรรมในการแสดงออกตามจินตนาการความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรกี ับ
ประเพณใี นวฒั นธรรมต่าง ๆ คณุ ค่าของดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมที่ตา่ งกนั องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ ทา่ ทาง
ประกอบเพลงหรือเรื่องราวตามความคิดของตน แสดงนาฏศลิ ป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ในการ
ส่ือความหมายและการแสดงออกการรารองเง็ง เลียนแบบการเคลอื่ นไหวของธรรมชาติทม่ี ใี นจังหวัดอุดรธานี
การเขยี นเค้าโครงเรื่องหรือบทละครส้นั ๆการแสดงนาฏศิลป์ชุดต่าง ๆประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการชมการแสดง
การแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทย ในแต่ละท้องถ่ิน แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พ้นื บ้าน ท่ีสะท้อนถึงวัฒนธรรม
และประเพณี
สามารถนาความรู้ดา้ นศลิ ปะ ทศั นศิลป์ และนาฏศิลป์ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์และนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งนาไปประยุกต์ใชก้ ับชวี ิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวชวี้ ดั
ศ ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๖ ตวั ช้ีวดั
90
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ
รำยวชิ ำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๖ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง
บรรยาย อภปิ ราย บอก มีทักษะ สรา้ ง อ่าน เขยี น วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลยี นแบบ แสดงจาแนก
เปรียบเทยี บ เคาะ ร้องเพลง เก่ยี วกับ สีคตู่ รงข้าม และอภปิ รายเกี่ยวกับการใช้ สคี ูต่ รงขา้ ม ในการถ่ายทอด
ความคิดและอารมณ์ หลักการจัดขนาดสดั ส่วนความสมดลุ ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ งานทศั นศลิ ป์จากรปู แบบ
๒ มติ ิ เปน็ ๓ มิติ โดยใช้หลกั การของแสงเงาและน้าหนักงานปนั้ โดยใชห้ ลักการเพิ่มและลด ปนั้ แผนผังของ
โรงเรียนบ้านหนองแสง อาเภอหนองแสง จงั หวดั อุดรธานี งานทัศนศิลป์ โดยใชห้ ลกั การของรปู และพ้นื ท่ีวา่ งใชส้ ี
คูต่ รงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดลุ วาดภาพสถาปตั ยกรรมที่มีในจังหวัดอุดรธานี ทศั นศลิ ป์
เปน็ แผนภาพ แผนผงั และภาพประกอบ เพ่ือถ่ายทอดความคดิ หรอื เรื่องราวเกีย่ วกบั เหตุการณ์ต่าง ๆ
บทบาทของงานทศั นศิลป์ท่ีสะท้อนชีวิตและสงั คม เก่ียวกับอทิ ธิพลของความเชื่อความศรทั ธาในศาสนาท่ีมผี ล
ต่องานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถน่ิ อิทธพิ ลทางวฒั นธรรมในท้องถ่ินทีม่ ีผลตอ่ การสร้างงานทัศนศิลป์ของบคุ คล
เพลงท่ีฟงั โดยอาศยั องค์ประกอบดนตรี และศัพท์สงั คตี ประเภทและบทบาทหน้าทีเ่ ครื่องดนตรีไทยและ
เคร่ืองดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ โน้ตไทย และโนต้ สากลทานองง่าย ๆ ใช้เครอ่ื งดนตรีบรรเลง
ประกอบการร้องเพลงดน้ สดท่ีมจี งั หวะและทานองง่าย ๆ ความรู้สกึ ทีม่ ีต่อดนตรี ทานอง จงั หวะ การประสาน
เสียง และคุณภาพเสียงของเพลงทีฟ่ ัง เร่ืองราวของดนตรีไทยในประวตั ศิ าสตร์ ดนตรีท่ีมาจากยุคสมัยท่ตี า่ งกัน
อิทธิพลของวฒั นธรรมตอ่ ดนตรใี นท้องถิน่ การเคล่ือนไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรอื อารมณ์
เคร่อื งแตง่ กาย หรืออุปกรณป์ ระกอบการ แสดงนาฏศิลปแ์ ละการละคร อยา่ งง่าย ๆ ความรสู้ กึ ของตนเองทีม่ ีต่อ
งานนาฏศลิ ป์และการละครอยา่ งสรา้ งสรรค์ การแสดงความคิดเห็นในการชมการแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
นาฏศิลป์และการละครกับส่ิงทีป่ ระสบในชีวิตประจาวนั สง่ิ ท่ีมคี วามสาคญั ต่อการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร
ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ ห้เกิด
ประโยชนโ์ ดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวติ ประจาวันได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั
ศ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗
ศ ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
รวม ๖ มำตรฐำน ๒๗ ตัวชีว้ ัด
91
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชีพ
92
ง ๑๑๑๐๑ กำรงำนอำชีพ
รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี
ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง
ศึกษาวิธกี ารทางานเพอื่ ชว่ ยเหลอื ตนเอง การแตง่ กาย การเก็บของใช้ การหยิบจบั และใช้ของสว่ นตวั
การจดั โตะ๊ ตู้ ชัน้ วิธีการใช้เคร่อื งมือในการรดนา้ ต้นไม้ การทาความคนุ้ เคยกบั การใชเ้ ครื่องมือในงานบ้าน
งานเกษตร การพับกระดาษเป็นของเลน่ วิธกี ารทางานอย่างปลอดภยั ความหมายของข้อมูล ข้อมูลเก่ยี วกับ
บคุ คล สัตว์ สง่ิ ของ เร่ืองราว และเหตกุ ารณ์จากแหลง่ ข้อมูลท่ีอยูใ่ กลต้ ัวหรือในชมุ ชน เช่น บา้ น โทรทัศน์
ห้องสมดุ ครู ผูป้ กครอง
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การเกบ็ รวบรวม ค้นหา และฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริง เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเหน็ คุณคา่
ของการทางานและนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน มคี วามรบั ผดิ ชอบ กระตอื รือรน้ ในการทางาน สามารถนาความรู้ไป
ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชวี ติ ประจาวนั ได้
อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ง ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓
รวม ๑ มำตรฐำน ๓ ตัวชี้วดั
93
ง ๑๒๑๐๑ กำรงำนอำชพี
รำยวชิ ำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๒ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ผู้เรียนจะได้รบั การพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในวิธีการและประโยชนก์ ารทางานตา่ ง ๆ
เพื่อชว่ ยเหลือตนเองและครอบครวั ประโยชน์ของส่ิงของเคร่ืองใช้ในชีวติ ประจาวัน นาความรู้เก่ียวกับการใช้
อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ทถ่ี ูกวิธเี หมาะสมกบั งานและประหยดั ยังตอ้ งทางานต่าง ๆ เพ่อื ช่วยเหลือตนเองและครอบครวั
ไดอ้ ย่างปลอดภัย
โดยใชท้ กั ษะการปฏิบตั งิ าน การอธิบาย การทางานบรรลุเป้าหมาย การสร้างช้นิ งาน
การแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ือสารส่งิ ท่เี รยี นรแู้ ละมี
ความสามารถในการตดั สนิ ใจ เหน็ คณุ คา่ ของการนาความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั มีวนิ ยั มคี วามมุง่ ม่ัน
ในการทางาน ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดย
ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๑ มำตรฐำน ๓ ตวั ชว้ี ัด
94
ง ๑๓๑๐๑ กำรงำนอำชีพ
รำยวิชำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพ
ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
ศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจวธิ กี ารและประโยชนก์ ารทางานต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลอื ตนเอง ครอบครัว
และส่วนรวม นาความรู้เกีย่ วกบั การใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมือท่ีถูกวิธีเหมาะสมกบั งานไปประยุกตใ์ ช้มี
การค้นหาข้อมลู อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน นาเสนอขอ้ มลู ในลกั ษณะต่าง ๆ นอกจากน้ันยงั ต้องทางานด้วยความสะอาด
ความรอบคอบ และอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
โดยใชท้ กั ษะการปฏบิ ตั งิ าน การอธบิ าย การทางานบรรลุเปา้ หมาย การสรา้ งชิ้นงาน การแสวงหา
ความรู้ เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสง่ิ ทเ่ี รียนร้แู ละมคี วามสามารถ
ในการตดั สินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั มวี ินยั มีความมงุ่ มนั่
ในการทางาน ใฝ่เรยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดย
ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด
ง ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวม ๑ มำตรฐำน ๓ ตวั ชวี้ ัด
95
ง ๑๔๑๐๑ กำรงำนอำชพี
รำยวชิ ำพื้นฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรู้งำนอำชพี
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง
ศกึ ษาใหค้ วามร้กู ารทางานด้าน การดแู ลรักษาของใช้ส่วนตวั การจดั ตูเ้ สอ้ื ผ้า โต๊ะเขียนหนังสอื
และกระเป๋านกั เรียน การปลูกไมด้ อก หรือ ไมป้ ระดบั การซอ่ มแซมวัสดุ อุปกรณ์ และเคร่อื งมือ การประดิษฐ์
ของใช้ ของตกแต่งจากใบตอง และกระดาษ การจดั เก็บเอกสารส่วนตัว ดา้ นมารยาท การต้อนรับบดิ ามารดา
หรอื ผูป้ กครอง ในโอกาสตา่ ง ๆ การรบั ประทานอาหาร การใช้ห้องเรียน ห้องนา้ และห้องส้วม ความหมาย
และความสาคัญของอาชีพ
โดยใชท้ ักษะการปฏบิ ตั งิ าน การอธิบาย การทางานบรรลุเป้าหมาย การสรา้ งชิ้นงาน การแสวงหา
ความรู้ เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอส่ือสารส่งิ ท่ีเรยี นร้แู ละมคี วามสามารถ
ในการตดั สินใจ เหน็ คุณค่าของการนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั มวี นิ ัย มีความมุง่ มัน่ ในการ
ทางาน ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์โดยใช้
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ง ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔,
ง ๒.๑ ป๔/๑
รวม ๒ มำตรฐำน ๕ ตัวชี้วัด
96
คำอธิบำยรำยวิชำ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ