The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TB nakglan, 2021-06-17 01:06:43

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

คำนำ

การศึกษาเป็นสิทธิ์ขั้นพื้นฐานของคนไทยทุกคน ที่รัฐต้องจัดให้เพื่อพัฒนาคนไทยทุกช่วงวัย
ให้มีความเจริญงอกงามทุกด้านเพื่อเป็นต้นทุนทางปัญญาท่ีสำคัญในการพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและ
สมรรถนะในการประกอบสมั มาชพี และการดำรงชีวติ ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อยา่ งเป็นสุขท่ามกลางกระแสการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21 กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
จึงได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ขึ้น เพ่ือวางกรอบเป้าหมายและทิศทาง การจัดการศึกษา
ของประเทศโดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึง โอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาท่ีมี
คุณภาพ พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาที่มีประสิทธภิ าพ พัฒนากำลังคนให้มสี มรรถนะในการทำงานท่ี
สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ

สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรีอยุธยาในฐานะหนว่ ยงานกลางทางการศกึ ษาในระดับพื้นที่
ทม่ี ีบทบาทหน้าท่ีในการนำนโยบายการพัฒนาคนตามนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ลงมาสู่การปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ีให้
สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของพ้ืนที่เป็นสำคัญ จึงไดจ้ ัดทำแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563-2565)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฉบับทบทวน ข้ึน โดยใชก้ ระบวนการมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน รวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วน
เสยี กบั ระบบการศกึ ษาและเสนอผ่านความเหน็ ชอบจากคณะอนกุ รรมการศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
เพือ่ ก่อใหเ้ กิดประโยชนก์ ารบริหารจัดการเชิงพนื้ ทเี่ ป็นสำคัญ

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่ได้มีส่วนร่วมในการ
จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563–2565) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฉบับทบทวน ในครั้งน้ีให้สำเร็จ
ลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องจะนำแผนพัฒนาการศึกษาฉบับนี้ ไปใช้เป็นกรอบ
แนวทาง ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเด็กและเยาวชนในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาตามชว่ งระยะเวลา
ดงั กล่าวได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและบรรลผุ ลสำเรจ็ ตามเปา้ หมายต่อไป

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
มิถนุ ายน 2563

สารบัญ

คำนำ

สว่ นที่ 1 สภาพท่วั ไปในจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

1. ขอ้ มลู ทว่ั ไปของจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (1)
2. สถานการณแ์ ละแนวโน้มด้านเศรษฐกจิ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (7)
3. ขอ้ มลู พ้นื ฐานด้านการศึกษาทุกประเภทในจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา (24)

ส่วนที่ 2 กรอบแนวคิดในการจดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

1. ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) (37)
2. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (40)
3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) (41)
4. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579) (45)
5. นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีการศึกษา 2563 (48)
6. ทศิ ทางการพฒั นาภาคในชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (50)
7. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด (51)
8. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา (52)
9. โครงสร้างการบริหารงานสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (55)
10. สถานการณแ์ ละแนวโน้มการจดั การศึกษาในจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (58)

ส่วนที่ 3 สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563-2565)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

1. วิสัยทัศน์ (61)
2. พนั ธกิจ
3. เปา้ ประสงค์
4. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ส่วนที่ 4 โครงการ

โครงการ/กิจกรรม (68)

สารบัญ (ตอ่ )

ส่วนที่ 5 การแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิ และการตดิ ตามประเมนิ ผล

1. การแปลงแผนพัฒนาการศึกษาจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยาสู่การปฏิบตั ิ (93)
2. แนวทางการประสานระดมทรัพยากรและการมสี ่วนรว่ มทางการศึกษา (94)
3. การตดิ ตามประเมินผลตามแผนพฒั นาการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (95)

ภาคผนวก

1. คณะทำงานจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษา (พ.ศ.2563-2565) จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
2. ประกาศจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เรอ่ื ง แตง่ ตั้งคณะทำงานทบทวนแผนพัฒนาการศกึ ษา

(พ.ศ.2562-2565) จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตราชธานีของไทย มีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น้ำ
เจ้าพระยา ต้ังแต่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 16 – 18 โดยมีร่องรอยของท่ีตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ
และเรอ่ื งราวเหตุการณ์ในลักษณะ ตำนานพงศาวดาร ไปจนถึงหลักศิลาจารึก ซ่ึงถือวา่ เป็นหลักฐานร่วมสมัยที่
ใกล้เคียงเหตุการณ์มากที่สดุ ซ่ึงเมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีรามเทพนคร หรอื เมืองพระราม มีที่ตั้งอยบู่ ริเวณ
ด้านตะวนั ออกของเกาะเมอื งอยุธยา มีบ้านเมอื งที่มีความเจรญิ ทางการเมือง การปกครอง และมวี ัฒนธรรมที่
รุ่งเรืองแห่งหน่ึง มีการใช้กฎหมายในการปกครองบ้านเมือง 3 ฉบับ คือ พระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จ
พระอัยการลักษณะทาส พระอัยการลักษณะกู้หน้ี สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนา
กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมื่อ พ.ศ. 1893 กรุงศรอี ยุธยา เป็นศูนย์กลางของประเทศสยามสืบต่อมายาวนาน
ถงึ 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ คือ 1. ราชวงศ์อู่ทอง 2. ราชวงศ์สุพรรณ
ภมู ิ 3. ราชวงศ์สโุ ขทยั 4. ราชวงศ์ปราสาททอง 5. ราชวงศบ์ า้ นพลหู ลวง ได้สญู เสยี เอกราชแกพ่ ม่า 2 ครั้ง ครั้งแรก
ใน พ.ศ. 2112 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกู้เอกราชคืน
มาได้ ใน พ.ศ. 2127 และ เสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี 2
ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอก
ราชไดใ้ นปลายปีเดยี วกันแล้วทรงสถาปนากรุงธนบรุ ีเป็นราช
ธานแี ห่งใหม่ โดยกวาดต้อนผู้คนจากกรุงศรีอยุธยาไปยังกรุง
ธนบุรีเพ่ือสร้างเมืองใหม่ แต่กรุงศรีอยุธยาไม่ได้กลายเป็น
เมอื งรา้ ง ยงั คงมคี นรกั ถ่ินฐานบ้านเดิมอาศัยอยู่และราษฎรท่ี
หลบหนีไปได้กลับเข้ามาอยู่รวมกัน ต่อมาได้รับการยกย่อง
เป็นเมืองจัตวาเรยี ก "เมืองกรงุ เกา่ "

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าข้ึนเป็นหัวเมืองจัตวา
เช่นเดียวกับสมัยกรุงธนบุรี หลังจากน้ัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้จัดการปฏิรูป
การปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยการปกครองส่วนภูมิภาคนั้นโปรดให้จัดการปกครอง แบบ
เทศาภิบาลข้ึนโดยให้รวมเมืองท่ใี กล้เคียงกัน 3 – 4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวง เทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง
โดยในปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรดให้จดั ต้ังมณฑลกรุงเก่าข้ึน ประกอบด้วยหัวเมืองต่างๆ คือกรุงเก่า หรืออยุธยา
อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บรุ ี ต่อมาโปรดให้รวมเมืองอินทร์ และเมอื งพรหม เข้ากับ
เมอื งสิงห์บุรี ตั้งที่ว่าการมณฑลที่อยุธยา และในปี พ.ศ. 2469 เปล่ยี นช่ือจากมณฑลกรงุ เก่า เป็นมณฑลอยุธยา
ซึ่งจากการจัดต้ังมณฑลอยุธยา มีผลให้อยุธยามีความสำคัญทางการบรหิ าร การปกครองมากขึ้น การสร้างสิ่ง
สาธารณูปโภคหลายอย่างมีผลต่อการพัฒนาเมืองอยุธยาในเวลาต่อมา จนเม่ือยกเลิกการปกครองระบบ
เทศาภิบาล ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึงเปล่ียนฐานะเป็นจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาจนถึงปัจจบุ ัน

ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรไี ด้มีนโยบายบูรณะโบราณสถานภายในเมือง
อยุธยา เพื่อเป็นการฉลองย่ีสิบห้า พุทธศตวรรษ ประกอบกับในปี พ.ศ.2498 นายกรัฐมนตรีประเทศพม่า
เดินทางมาเยือนประเทศไทย และมอบเงินจำนวน 200,000 บาท เพ่ือปฏิสงั ขรณ์วัดและองค์พระมงคลบพิตร
เป็นการเร่ิมต้นการบูรณะโบราณสถานในอยุธยาอย่างจริงจงั ซ่ึงตอ่ มากรมศลิ ปากรเปน็ หน่วยงานสำคัญในการ
ดำเนินการ จนองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรอื ยเู นสโก มมี ติให้ประกาศขึ้น
ทะเบยี นนครประวตั ิศาสตร์พระนครศรีอยธุ ยาเปน็ "มรดกโลก" เมื่อวันที่ 13 ธนั วาคม 2534 มพี ื้นที่ครอบคลุม
ในบรเิ วณโบราณสถานเมอื งอยธุ ยา

สถานทีต่ ั้ง อาณาเขต

จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยามอี าณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังน้ี- ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับ จังหวัด
อ่างทองและ จังหวัดลพบุรี - ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี -
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั จงั หวัดสระบรุ ี- ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั สุพรรณบุรี

คำขวญั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

"ราชธานีเก่า อู่ข้าวอนู่ ำ้ เลศิ ล้ำกานทก์ วี
คนดศี รอี ยธุ ยา เลอคุณค่ามรดกโลก"

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 2

ตราสญั ลกั ษณ์

รูปหอยสังข์ประดิษฐานอยู่บนพานแว่นฟ้าภายใน
ปราสาทใต้ต้นหมัน ดวงตราประจำจังหวัดน้ีมาจากตำนานการสร้าง
เมือง พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเล่ากันว่าในปี พ.ศ.1890 โรคห่าระบาด
จนผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก พระเจ้าอู่ทองจึงอพยพย้ายผคู้ นออก
จากเมืองเดิมมาต้ังเมืองใหม่ท่ีตำบลหนองโสน ซึ่งมีแม่น้ำล้อมรอบ
ระหว่างที่ปักเขตราชวัติฉัตรธง ต้ังศาลเพียงตา กระทำพิธีกลบบัตร
สุมเพลิง ปรับสภาพพื้นที่เพื่อตั้งพระราชวังอยู่น้ัน ปรากฏว่าเมื่อขุด
มาถึงใต้ต้นหมันได้พบหอยสังข์ทักษิณาวัตรบริสุทธิ์ พระเจ้าอู่ทอง
ทรงโสมนัสในศุภนิมิตนั้นจึงสร้างปราสาทน้อยขึ้นเป็นท่ีประดิษฐาน
หอยสังขด์ ังกล่าว

ธงประจำจงั หวดั

รูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า แบ่งออกเป็น 3 แถบเท่า ๆ
กนั มี 2 สี โดยมสี ีฟา้ อย่ตู รงกลางขนาบด้วยสีนำ้ เงนิ ซึ่งเป็นสี
ประจำภาค 1 ท้ังสองข้าง กลางธงแถบสีฟ้ามีตราประจำ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นรูปปราสาทสังข์ทักษิณาวัตร
ใต้ต้นหมัน ใต้รูปปราสาทมีคำว่า "อยุธยา" คันธงมีแถบสี
เหลอื งและสฟี ้า 2 แถบ

ตน้ ไมป้ ระจำจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ต้นหมันเป็นพันธ์ุไม้ตระกูล Boraginaceae
เป็นต้นไม้ขนาดปานกลาง สูงราว 60 ฟุต ลำต้นลักษณะ
คลา้ ยกระบอกเนื้อไม้สีเทาปนสีนำ้ ตาล มคี วามแขง็ ปานกลาง
เปลือกหนาประมาณ 1/2 นิ้ว สีเทาปนน้ำตาลซ่ึงมีรอยแตก
ยาวไปตามลำต้น ใบยาวประมาณ 5 นิ้ว กว้างประมาณ 3
น้ิว เป็นรูปไข่โคนใบคล้ายรูปหัวใจ ดอกสีขาว ผลเป็นพวง
สีเขียวเม่ือสุก ต้นหมันชอบขึ้นในป่าทั่วไปในภาคเหนือ
ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไม้ประเภทน้ีปกติ
ไม่นิยมใช้ประโยชน์ ต้นหมันเป็นต้นไม้ประจำจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยาเพราะในประวตั ิศาสตร์ เม่อื พระเจา้ อูท่ อง
ย้ายเมืองมาตั้งท่ีตำบลหนองโสน ได้ขุดพบสังข์ทักษิณาวัตร
1 ขอน อยใู่ ตต้ น้ หมันอนั เป็นสญั ลักษณป์ ระจำจังหวัด

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 3

ดอกไมป้ ระจำจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ดอกโสนเป็นต้นไม้ในตระกูล Leguminosae เป็น
ไม้ล้มลุก (Shrub) เนื้ออ่อนโตเร็ว ลำต้นอวบ ปลูกและขึ้น
เองตามแม่น้ำลำคลองหนองบึงท่ัวไปในภาคกลาง ดอกสี
เหลืองออกเป็นช่อห้อยและเหลืองอร่ามคล้ายทองไปท่ัวทุก
แห่ง ใชร้ ับประทานเปน็ อาหารได้ เม่อื พ.ศ. 1893 พระเจ้า
อู่ทองทรงตัง้ เมอื งข้ึนใหม่ท่ีตำบลเวยี งเหล็กทรงเลือกชยั ภูมิที่
จะต้ังพระราชวังทรงเห็นว่าท่ีตำบลหนองโสนเหมาะสม
เพราะมีต้นโสนมากดอกโสนออกดอกเหลืองอร่ามคล้าย
ทองคำสะพรัง่ ตาดงั น้ันดอกโสนจึงถอื ได้ว่าเปน็ ดอกไมป้ ระจำ
จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

สัตวป์ ระจำจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

กุ้งแม่น้ำ หรือ กุ้งก้ามกราม (กุ้งสมเด็จ)ชื่อ
สามัญ : Giant Freshwater Prawn ใน ปีพุทธศักราช
2523 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้
โปรดเกล้าฯให้จัดต้ังศูนย์ศิลปาชีพบางไทรขึ้นริมฝ่ังแม่น้ำ
เจ้าพระยา ที่ ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
และได้เสด็จพระราชดำเนินเปิดศูนย์ฯนี้เมื่อวันท่ี 7
ธันวาคม 2527 และทรงปล่อยลูกกุ้งชุดแรกท่ีหน้าศูนย์
ศิลปาชีพบางไทรแห่งน้ี และได้มีการปล่อย อย่างต่อเน่ือง
มาทุกปจี นถงึ ทุกวันน้ี ในบางปีที่เสดจ็ พระราชดำเนินมายัง
พระตำหนักสิริยาลัย ก็ได้นำลูกกุ้งก้ามกรามนับล้านตัวมา
ปลอ่ ยในบริเวณหนา้ พระตำหนกั

ภมู ิประเทศและภมู อิ ากาศ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาต้ังอยู่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางตอนล่างของประเทศ ลักษณะภูมิ
ประเทศเป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา ไม่มีภูเขา ไม่มีป่าไม้ มีแม่น้ำไหลผ่าน 4 สายได้แก่
แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำลพบุรีและแม่น้ำน้อยรวม ความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร มีลำคลอง
ใหญ่น้อย ประมาณ 1,254 คลอง เชื่อมต่อกับแม่น้ำเกือบท่ัวบริเวณ ห่างจากกรุงเทพมหานคร ทางถนนสาย
เอเซีย 75 กิโลเมตร ทางรถไฟ 72 กิโลเมตร และทางเรือ 103 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีประมาณ 2,556.64 ตาราง
กิโลเมตร หรอื 1,597,900 ไร่ นบั วา่ เป็นจงั หวดั ทมี่ ีขนาดใหญ่เป็นอันดับท่ี 63 ของประเทศไทย และเป็นอันดับ
ท่ี 11 ของจังหวดั ในภาคกลาง

ภูมิอากาศ มีลักษณะร้อนชื้นอยู่ภายใต้อิทธิพล ของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ในฤดูหนาว และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตใ้ นฤดูฝนทำให้มีฝนตกตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 4

ปี 2560 อุณหภูมิ สูงสุด 39.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 14.0 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน้ำฝนรวม
1,369.8 มิลลิเมตร

การปกครองและประชากร

การปกครอง

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อท่ีทั้งสิ้น 2,566.640 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองส่วน
ภูมิภาค ออกเป็น 16 อำเภอ 209 ตำบล 1,459 หมู่บ้าน โดยมีอำเภอดังน้ี อำเภอพระนครศรีอยุธยา อำเภอ
ทา่ เรอื อำเภอนครหลวง อำเภอบางซา้ ย อำเภอบาง ไทร อำเภอบางบาล อำเภอบางปะหัน อำเภอบางปะอิน
อำเภอบ้านแพรก อำเภอผักไห่ อำเภอภาชี อำเภอมหาราช อำเภอลาดบัวหลวง อำเภอวังน้อย อำเภอเสนา
และอำเภออุทัย การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยองคก์ าร บริหารสว่ นจงั หวัด 1 แห่ง มีเทศบาลทั้งหมด
36 แห่ง แยกเป็น เทศบาลนคร 1 แห่ง คือ เทศบาลนครพระนครศรีอยธุ ยา เทศบาลเมือง 4 แห่ง คอื เทศบาล
เมืองอโยธยา เทศบาลเมืองเสนา เทศบาลเมืองผักไห่ เทศบาลเมืองลำตาเสา มีเทศบาลตำบล 31 แห่ง และมี
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) 121 แหง่ จากสถิติ ของกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย

อำเภอ เน้ือท่ี ระยะห่างจาก เขตการปกครอง
(ตร.กม.) อำเภอ ถงึ
พระนครศรีอยธุ ยา จังหวัด (กม.) ตำบล หมูบ่ า้ น อบจ. ท.นคร ท.เมือง ท.ตำบล อบต.
ท่าเรอื 130.579
นครหลวง 106.189 1 21 121 1 1 1 - 13
บางไทร 198.919 75 9
บางบาล 219.679 20 10 84 - - - 2 6
บางปะอนิ 135.305 45 9
บางปะหนั 229.098 10 12 74 - - - 2 4
ผักไห่ 121.865 28 9
ภาชี 189.008 13 23 136 - - - 2 10
ลาดบวั หลวง 104.508 29 8
วังน้อย 199.928 35 16 111 - - - 2 7
เสนา 219.191 65 6
บางซา้ ย 205.567 20 18 149 - - - 9 9
อทุ ัย 150.756 20 9
มหาราช 186.802 34 17 94 - - - 1 4
บ้านแพรก 120.159 15 11
รวม 16 อำเภอ 39.087 25 16 129 - - 1 1 5
2,566.640 53 2
- 8 72 - - - 1 121

7 58 - - - 2

10 68 - - 1 -

17 118 - - 1 4

6 53 - - - 1

11 107 - - - 1

12 58 - - - 2

5 27 - - - 1

209 1459 1 1 4 31

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 5

ประชากร

จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจำนวนประชากร ในปี พ.ศ. 2562 รวมจำนวนท้ังสิ้น 820,188 คน
เป็นชาย 394,901 คน เป็นหญิง 425,287 คน พื้นที่ที่มีประชากรมากที่สุดได้แก่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา
จำนวน 70,135 คน และพ้ีนท่ีท่ีมีประชากรน้อยที่สุด ได้แก่ เทศบาลตำบลบ้านแพรก จำนวน 2,082 คน และ
มจี ำนวนครัวเรอื นทั้งส้นิ 329,102 ครวั เรอื น

พน้ื ท่ี ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) ครวั เรอื น
อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา 33,512 36,623 70,135 24,570
อำเภอทา่ เรอื 14,989 16,391 31,380 11,675
อำเภอนครหลวง 10,417 11,396 21,813 11,848
อำเภอบางไทร 15,585 16,324 31,909 11,365
อำเภอบางบาล 7,027 7,516 14,543 5,863
อำเภอบางปะอิน 23,807 26,087 49,894 26,610
อำเภอบางปะหนั 17,631 18,883 36,514 12,999
อำเภอผกั ไห่ 10,979 11,712 22,691 8,405
อำเภอภาชี 12,447 13,256 25,703 9,166
อำเภอลาดบวั หลวง 14,686 15,095 29,781 10,221
อำเภอวังนอ้ ย 26,750 28,068 54,818 24,896
อำเภอเสนา 15,344 16,113 31,457 10,573
อำเภอบางซ้าย 6,968 7,092 14,060 5,517
อำเภออทุ ยั 22,207 24,109 46,316 21,835
อำเภอมหาราช 6,492 7,117 13,609 5,277
อำเภอบ้านแพรก 3,225 3,672 6,897 2,857
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลสามเมือง 3,623 3,722 7,345 2,953
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลสามกอ 3,365 3,720 7,085 3,040
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลบางนมโค 3,514 3,878 7,392 4,255
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลบางกระส้นั 6,099 6,920 13,019 5,592
ทอ้ งถ่ินเทศบาลตำบลเชยี งรากนอ้ ย 4,861 5,153 10,014 4,356
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลคลองจกิ 4,345 4,858 9,203 5,275
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลปราสาททอง 2,163 2,352 4,515 2,832
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลบา้ นแพรก 1,006 1,076 2,082 900
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลโรงช้าง 3,046 3,351 6,397 2,577
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลมหาราช 1,610 1,694 3,304 1,544
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลอทุ ัย 2,981 3,375 6,356 3,942
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลบางซ้าย 2,585 2,692 5,277 1,973
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลหวั เวยี ง 2,909 3,103 6,012 1,975
ท้องถิ่นเทศบาลเมืองลำตาเสา 10,249 10,818 21,067 9,528
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลลาดบวั หลวง 1,302 1,339 2,641 1,426
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลภาชี 2,565 2,874 5,439 2,668
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลลาดชะโด 3,847 4,048 7,895 2,785
ท้องถิ่นเทศบาลเมอื งผกั ไห่ 4,774 5,131 9,905 4,577
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลพระอินทร์ราชา 4,439 4,921 9,360 6,315
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบ้านสร้าง 4,865 5,581 10,446 7,101

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 6

พน้ื ท่ี ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) ครวั เรือน

ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลบางปะอิน 3,413 3,529 6,942 2,274

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปะหัน 2,516 2,827 5,343 2,312

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลมหาพราหมณ์ 4,125 4,429 8,554 3,367

ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลบางบาล 5,265 5,827 11,092 4,024

ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลราชคราม 2,982 2,984 5,966 1,770

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางไทร 5,044 5,250 10,294 3,875

ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลอรญั ญิก 3,794 4,071 7,865 2,885

ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลนครหลวง 3,383 3,709 7,092 3,117

ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลทา่ หลวง 4,101 4,571 8,672 4,272

ทอ้ งถ่ินเทศบาลเมืองอโยธยา 9,329 10,706 20,035 9,569

ทอ้ งถ่นิ เทศบาลตำบลเจ้าเจ็ด 5,239 5,543 10,782 3,233

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลทา่ เรอื 3,124 3,552 6,676 3,294

ท้องถน่ิ เทศบาลเมืองเสนา 1,789 1,982 3,771 1,930

ทอ้ งถิ่นเทศบาลนครพระนครศรอี ยุธยา 24,583 26,247 50,830 20,811

รวมทั้งหมด 394,901 425,287 820,188 329,102

ทมี่ า : ระบบสถติ ิทางทะเบยี น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี 2562

ดา้ นเศรษฐกจิ

1. ภาพรวมเศรษฐกจิ

1) ตวั ชีว้ ัดดานภาพรวมเศรษฐกจิ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12
ศักยภาพด้านเศรษฐกิจตามตัวช้ีวัดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12

ของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา ในป พ.ศ. 2559 จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอัตราขยายตัวของผลิต
ภัณฑ มวลรวมจังหวัดเทากับ รอยละ - 2.94 (ลําดบั ท่ี 72 ของประเทศ) ซึ่งต่ำกวาคาเฉลี่ยของประเทศ แสดง
ถึงอัตรา การเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจหดตัวลงจากป พ.ศ. 2558 อยางไรก็ตามในป พ.ศ. 2559 จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยามีมลู คาผลติ ภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลย่ี ตอหัว (PER CAPITA) สูงถึง 460,223 บาท (ลาํ ดับท่ี
4 ของประเทศ) แตมีมูลคาลดลงจากป พ.ศ. 2558 ที่มีมูลคา เทากบั 481,107 บาท คดิ เปนรอยละ 4.34 สวน
ผลิตภาพแรงงานเฉล่ียตอคนในป พ.ศ. 2559 เทากับ 813,154 บาท ซ่ึงลดลงจากปพ.ศ. 2558 ท่ีมูลคาเทากับ
838,072 บาท คิดเปนรอยละ 2.97 อตั ราเงนิ เฟอทัว่ ไป จังหวดั พระนครศรีอยุธยามีแนวโนมอตั ราเงนิ เฟอสูงข้ึน
จากป 2558 โดยใน ปพ.ศ. 2560 มรี ะดับราคาสนิ คาทสี่ ูงขน้ึ จากป พ.ศ. 2559 เทากบั รอยละ 1.31

ตารางแสดงตวั ชี้วดั ดา้ นเศรษฐกิจภาพรวม

ตัวชวี้ ัดดา้ นเศรษฐกจิ ภาพรวม คา่ เฉลีย่ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
ค่าสถิติ หน่วย ลำดับ

(2559)อัตราการขยายตัวของผลิตภณั ฑ์มวลรวมฯแบบปริมาณลกู โซ่ 3.00 -2.97 รอ้ ยละ 72

(2559)มูลคา่ ผลติ ภัณฑ์ เฉลี่ยต่อตัว (PER CAPITA) 166,850 460,223 บาท 3

(2559)ผลติ ภาพแรงงานเฉล่ีย 301,906 813,154 บาท/คน/ปี 3

(2560)อัตราเงินเฟอ้ ทวั่ ไป 0.80 1.30 ร้อยละ 23

ท่มี า : ระบบฐานขอมูลโครงการพฒั นาศักยภาพในการเชื่อมโยงและจดั ทาํ แผนยุทธศาสตรเพอ่ื สนบั สนนุ การพัฒนาในระดบั พน้ื ที่

สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ : (ป พ.ศ. ของขอมลู ) ตัวชี้วดั

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 7

ภาพแสดงสถานการณด์ ้านเศรษฐกจิ ภาพรวม

ที่มา : ระบบฐานขอมูลโครงการพัฒนาศักยภาพในการเชื่อมโยงและจัดทําแผนยุทธศาสตรเพ่ือสนับสนุน การพฒั นาในระดบั พ้นื ที่
สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

2) ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ((GROSS PROVINCIAL PRODUCT : GPP)

ภาพแสดงผลติ ภณั ฑม์ วลรวมตงั หวัด

ที่มา : สาํ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรือ GROSS PROVINCIAL PRODUCT : GPP
ปพ.ศ. 2560 เทากับ 403,603 ลานบาท โดยแบงเปนภาคอุตสาหกรรมจํานวน 271,458 ลานบาท (รอยละ
67.26 ของผลติ ภณั ฑมวลรวมจงั หวัดทั้งหมด) ภาคการขายสงและการขายปลกี การซอมยานยนตและจกั รยาน
ยนต 46,996 ลานบาท (รอยละ 11.64 ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดทั้งหมด) ภาคเกษตร 10,668 ลานบาท
(รอยละ 2.64 ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดทั้งหมด) และภาคอ่ืน ๆ 74,481 ลานบาท (รอยละ 18.45 ของ
ผลิตภณั ฑมวลรวมจงั หวดั ท้ังหมด)

ปี พ.ศ.2560 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ว ล ร ว ม จั ง ห วั ด เฉ ลี่ ย ต่ อ หั ว
(GPP PER CAPITA) เท่ากับ 465,972 บาท
ต่อคน ซ่งึ เปน็ ลำดบั ที่ 4 ของประเทศ

ภาพแสดงผลติ ภัณฑมวลรวมของจังหวดั เฉลีย่ ตอคน

ทม่ี า : สาํ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 8

2. ดา้ นเศรษฐกจิ (เกษตร)

1) ตัวช้ีวดั ดานเศรษฐกิจ (เกษตร) ตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12
ศักยภาพดานเกษตรตามตัวช้ีวัดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 ของ

จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา พบวา ในป พ.ศ. 2559 จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสัดสวนมลู คาผลิตภัณฑมวลรวม
จังหวัดภาคเกษตรตอผลิตภัณฑมวลรวมจังหวดั ท้ังหมด เทากับ รอยละ 1.37 (ลาํ ดับที่ 73 ของประเทศ) และ มี
อัตราขยายตวั ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวดั ภาคเกษตรเทากบั รอยละ – 13.16 (ลําดบั ท่ี 75 ของประเทศ) ซ่ึง
ต่ำกวาคาเฉล่ียของประเทศ แสดงถึง การขยายตัวทางเศรษฐกิจภาคเกษตรของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี
แนวโนมลดลงอยางตอเนอ่ื ง

สําหรับตัวชี้วัดพื้นท่ีทางการเกษตรแบบยั่งยืน จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีการใชประโยชน
ท่ีดิน เพ่ือภาคเกษตรสูงถึงรอยละ 74.00 (ลําดับท่ี 10 ของประเทศ) ดานประสิทธิภาพการผลิต ในป พ.ศ.
2560 มีผลผลิตสินคาเกษตรสําคัญเฉลี่ยตอไร เทากับ 1,248 กิโลกรัมตอไร (ลําดับท่ี 54 ของประเทศ) ทั้งนี้มี
อัตรา เพ่ิมเฉล่ียของผลผลติ สินคาเกษตรสําคัญเฉล่ยี ตอไร (พืช) เทากับรอยละ 5.17 (ลําดับที่ 36 ของประเทศ)
แตยงั ต่ํากวาคาเฉล่ียของประเทศ

สดั สวนปริมาณพืชพลังงานตอสินคาเกษตรท้ังหมด เทากับ รอยละ 436.64 (ลําดับที่ 34 ของ
ประเทศ) จํานวนฟารมท่ีไดรับการรับรองมาตรฐานฟารม GAP จํานวน 84 ฟารม (ลําดับที่ 45 ของประเทศ)
ซ่ึงมีจํานวนเพิ่มข้ึนจากป พ.ศ. 2559 เชนเดียวกับโรงงานหรือสถานประกอบการท่ีผลิตสินคาเกษตรและ
อาหารไดรับการรับรองมาตรฐาน GMP/HACCP มจี ํานวนเพ่มิ ขน้ึ เปน 14 แหง (ลาํ ดับท่ี 14 ของประเทศ) และ
มอี ตั ราเพม่ิ ของแรงงานเกษตรกรในพนื้ ท่ี เทากบั รอยละ 16.00 (ลําดบั ท่ี 6 ของประเทศ)

ดานการใชน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีพื้นที่ชลประทานสูงถึง 1,501,488
ไร (ลําดับท่ี 2 ของประเทศ) แตมีปริมาณน้ำตนทุนตอความตองการใชน้ำ เทากับ – 726 ลานลูกบาศกเมตร
(ลําดับท่ี 70 ของประเทศ) แสดงถึงปริมาณความตองการใชน้ำในชวงฤดูแลงของพื้นท่ีสูงมาก อยางไรก็ตาม
ในป พ.ศ. 2560 จะมีสัดสวนหมูบานทีม่ ีน้ำใชเพื่อการเกษตรเพียงพอตลอดปเทากับ รอยละ 77.00 (ลาํ ดับที่ 9
ของประเทศ)

ดานรายไดสุทธิของเกษตรกร พบวา ในป พ.ศ. 2559 รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตรตอ
ครัวเรือน เทากับ 69,248 บาทตอครัวเรือน (ลําดับท่ี 30 ของประเทศ) โดยเปาหมายในการยกระดับรายได
สุทธิทางการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณของเม่ือส้ินสุดแผน เทากับ 59,460 บาท ถึงแมวา
เกษตรกรจะมีรายไดทเ่ี พ่ิมสูงขึน้ แตเกษตรกรในจังหวดั พระนครศรีอยุธยามสี ัดสวนหน้สี ินตอรายไดเงินสดสทุ ธิ
ทางการเกษตรสูงถึง 2.23 เทา (ลําดับที่ 36 ของประเทศ) ซ่ึงสูงกวาคาเฉล่ียของประเทศและมีสัดสวนท่ี
เพิ่มสูงขึ้นจากป พ.ศ. 2558 นอกจากน้ีเกษตรกรยังมีสัดสวนหน้ีเสียตอปริมาณเงินใหกูยมื เพื่อการเกษตรสงู ถึง
รอยละ 16.00 (ลาํ ดบั ที่ 75 ของประเทศ)

ดังนัน้ การยกระดับรายไดของครัวเรอื นเกษตรใหสูงข้ึน ลดความเหลือ่ มล้ำทางรายไดใน ภาค
เกษตร ถือเปนเปาหมายสําคญั ควรมุงเนนสงเสรมิ พฒั นาอาชีพตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง ภายใต การใช
ระบบอนุรักษดินและนำ้ ท่ีเหมาะสม การใชประโยชนท่ีดินบนพืน้ ฐานขอมูล Zoning สงเสริม การรวมกลุมทาง
การตลาด สนับสนนุ การเขาถงึ แหลงทุนการสงเสริมและจัดทําบัญชคี รัวเรือนและสรางอาชพี เสริมตาม
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 12

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 9

ตารางแสดงตวั ช้ีวดั ดา้ นเศรษฐกิจ (เกษตร)

ทม่ี า : ระบบฐานขอมลู โครงการพฒั นาศกั ยภาพในการเชอื่ มโยงและจัดทําแผนยทุ ธศาสตรเพือ่ สนับสนนุ การพัฒนาในระดบั พนื้ ที่
สํานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ : (ป พ.ศ. ของขอมูล)ตัวชีว้ ดั

ภาพแสดงสถานการณ์ดา้ นเศรษฐกจิ (เกษตร)

ที่มา : ระบบฐานขอมูลโครงการพัฒนาศักยภาพในการเชอื่ มโยงและจัดทาํ แผนยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุน การพัฒนาในระดบั พ้นื ที่
สํานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 10

ภาพแสดง ECONOMICS GROWTH ภาคเกษตร ตงั้ แต 2551-2560

ทม่ี า : สํานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ

โดย ปพ.ศ. 2560 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ภาคเกษตร แบบปริมาณลูกโซ เทากับ 5,217
ลานบาท มอี ัตราการขยายตัวจาก ป พ.ศ.2559 รอยละ 22.45 ซึ่งสงู กวาคาเฉลย่ี ของประเทศ (รอยละ 3.72)

2) พืน้ ท่ใี ชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร
การใชพ้ืนทีท่ างการเกษตร พบวา จังหวดั พระนครศรีอยุธยามกี ารใชประโยชนทางการเกษตร

จํานวน 1.18 ลานไร แบงเปนการใชประโยชนจากนาขาว 1,065,315 ไร คิดเปนรอยละ 90.28 ของพื้นท่ีใช
ประโยชนทางการเกษตร สวนไมผล ไมยืนตน 8,371 ไร คิดเปนรอยละ 0.71 ของพื้นที่ใชประโยชนทาง
การเกษตร สวนผัก/ไมดอก/ไมประดับ 9,711 ไร คิดเปนรอยละ 0.82 ของพ้ืนที่ใชประโยชนทางการเกษตร
และทีด่ ินทางการเกษตรอน่ื ๆ 94,948 ไร คิดเปนรอยละ 8.04 ของพน้ื ที่ใชประโยชนทางการเกษตร

ภาพแสดงพน้ื ที่ใชประโยชนทางการเกษตร

ทีม่ า : ระบบฐานขอมลู โครงการพัฒนาศกั ยภาพในการเชื่อมโยงและจดั ทําแผนยทุ ธศาสตรเพอ่ื สนบั สนุน การพัฒนาในระดับพื้นที่
สํานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 11

ภาพแสดงจำนวนครัวเรอื นภาคเกษตร และลักษณะการถือครองทีด่ นิ

ท่ีมา : ศนู ยปฏบิ ัติการ กรมสงเสรมิ การเกษตร (ตัดยอด 30 เมษายน 2562)

ป พ.ศ. 2561 จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยามีจาํ นวนครัวเรือนภาคเกษตร เทากับ 42,191 ครัวเรือน
มีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึน เทากับรอยละ 8.15 และคิดเปนรอยละ 15.66 ของครัวเรือนท้ังหมด และหัวหนา
ครัวเรือน สวนใหญมีอายุระหวาง 46 - 55 ป รอยละ 25.17 รองลงมาคือ อายุ65 ปข้ึนไป รอยละ 23.98
ตามลาํ ดับ โดยมลี ักษณะการถอื ครองท่ีดิน สวนใหญเปนการเชาที่ดินเพื่อทำการเกษตร เทากบั รอยละ 63.13

ภาพแสดงรายไดในภาคเกษตร และหนส้ี นิ ในภาคเกษตรรายอำเภอ

ท่ีมา : ศนู ยปฏบิ ัตกิ าร กรมสงเสริมการเกษตร (ตัดยอด 30 เมษายน 2562)

ในปพ.ศ. 2561 อําเภอทม่ี ีรายไดในภาคเกษตรสงู กวาคาเฉลย่ี ของจงั หวดั ไดแก อําเภอทาเรอื
บางไทร บางปะอนิ ลาดบวั หลวง และอําเภอเสนา ทง้ั น้มี ี 5 อาํ เภอทม่ี ีสัดสวนหนสี้ นิ ตอรายไดสูงที่สุด ไดแก
อําเภอลาดบัวหลวง ภาชี บานแพรก มหาราช และอําเภอบางปะหนั

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 12

ตารางสรุปรายได้ – รายจ่ายและตวั ช้ีวดั เศรษฐกจิ ครวั เรือน ปเี พาะปลูก 2560/61

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 13

3. ดานเศรษฐกจิ (อตุ สาหกรรม)

1) ตัวชี้วัดดานเศรษฐกิจ (อุตสาหกรรม) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบบั ที่ 12

ศักยภาพดานอุตสาหกรรมตามตวั ช้ีวดั ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตฉิ บับที่ 12
ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา ในป พ.ศ. 2559 มีสัดสวนมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด
ภาคอุตสาหกรรม เทากับ รอยละ 71.86 (ลําดับที่ 3 ของประเทศ) อยางไรก็ตามในป พ.ศ. 2559 มีอัตรา
ขยายตวั ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดภาคอุตสาหกรรม เทากับ รอยละ – 3.83 (ลาํ ดับท่ี 65 ของประเทศ) ซึ่ง
ต่ำกวาคาเฉลี่ยของประเทศ แสดงถึงอัตราการเจริญเติบโตทางดานอุตสาหกรรมหดตัวลงจากป พ.ศ. 2558
นอกจากน้ีสัดสวนมูลคาสินคาอุตสาหกรรมเกษตรตอผลิตภัณฑมวลรวมท้ังหมด เทากับรอยละ 1.90 (ลําดับท่ี
64 ของประเทศ) และมีผลิตภาพแรงงานเฉล่ีย 813,154 บาท/คน/ป(ลําดับท่ี 3 ของประเทศ) ใน ป พ.ศ.
2560 จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีปริมาณการใชน้ำมันดีเซล เทากับ 497,341.25 พันลิตร (ลําดับที่ 8 ของ
ประเทศ) และปริมาณการใชพลังงานทดแทน เทากับ 197,526.00 พันลิตร (ลําดับที่ 10 ของประเทศ) โดยมี
แนวโนมเพ่ิมอยางตอเนื่องจากป พ.ศ. 2558 อยางไรก็ตามสัดสวนการใชพลังงานทดแทน ตอปริมาณการใช
พลังงานขั้นสุดทาย เทากับ 169.38 พันลิตรตอ 1 Ktoe (ลําดับที่ 66 ของประเทศ) ซึ่งต่ำกวาคาเฉล่ียของ
ประเทศ และสัดสวนการใชพลังงานขน้ั สุดทายตอผลิตภัณฑมวลรวมฯ 3.75 พันตัน เทียบเทาน้ำมันดิบ/พนั ลา
นบาท (ลําดับที่ 72 ของประเทศ) สําหรับตัวชี้วัดดานเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พิจารณาจากสัดสวนการปลอย
กาซเรือนกระจก ตอผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ซึ่งเปนการบงช้ีพื้นที่ท่ีควรเฝาระวังและหาแนวทางเพ่ิม
ประสิทธิภาพ การลดการปลอยกาซเรือนกระจก ซ่ึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสัดสวนการปลอยกาซเรือน
กระจกตอ ผลิตภณั ฑมวลรวมจังหวัด เทากับ 6.84 ตันของกาซเรือนกระจก/ลานบาท (ลําดบั ที่ 2 ของประเทศ)
และอัตรา เปลี่ยนแปลงของปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในสาขาขนสง รอยละ 2.68 (ลําดับท่ี 49 ของ
ประเทศ)

ตารางแสดงตวั ชี้วดั ดา้ นเศรษฐกิจ (อุตสาหกรรม)

ท่ีมา : ระบบฐานขอมลู โครงการพัฒนาศกั ยภาพในการเชอื่ มโยงและจัดทําแผนยทุ ธศาสตรเพือ่ สนบั สนุน การพฒั นาในระดับพน้ื ที่
สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย หมายเหตุ : (ป พ.ศ. ของขอมลู )ตวั ชี้วัด

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 14

ภาพแสดงสถานการณดานเศรษฐกจิ (อุตสาหกรรม)

ที่มา : ระบบฐานขอมลู โครงการพฒั นาศกั ยภาพในการเช่ือมโยงและจดั ทําแผนยุทธศาสตรเพ่อื สนบั สนนุ การพฒั นาในระดบั พนื้ ท่ี
สํานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

2) การลงทนุ ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีนิคมอุตสาหกรรม จํานวน 3 แหง ไดแก 1) นิคมอุตสาหกรรม
บางปะอิน พื้นท่ีท้ังหมด 1,926 ไร 2) นิคมอุตสาหกรรมบานหวา(ไฮเทค) พื้นที่ทั้งหมด 2,465 ไร และ
3) นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร พื้นที่ทั้งหมด 1,441 ไร และมีเขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แหง ไดแก
1) แฟคตอร่ีแลนดวงั นอย พ้ืนที่ทง้ั หมด 176 ไร และ 2) บรษิ ัทสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จาํ กัด (มหาชน) พ้ืนท่ี
ท้งั หมด 11,000 ไร
ประเภทของอุตสาหกรรมที่มีการลงทุน 5 อันดับแรก ไดแก อุตสาหกรรมผลิตภัณฑไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสจํานวนโรงงาน 220 แหง มีเงินทุนเทากับ 180,948.16 ลานบาท อุตสาหกรรมผลิต
เครอื่ งจักรกล จํานวนโรงงาน 189 แหง มีเงินทุนเทากับ 55,887.95 ลานบาท อุตสาหกรรมเครื่องมืออุปกรณ
ขนสง จํานวนโรงงาน 164 แหง มีเงินทุนเทากับ 47,676.27 ลานบาท อุตสาหกรรมอาหาร จํานวนโรงงาน
187 แหง มีเงินทุนเทากับ 29,809.83 ลานบาท และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง จํานวนโรงงาน 139 แหง มี
เงินทนุ เทากบั 29,259.62 ลานบาท ตามลาํ ดบั
ตารางแสดงประเภทโรงงานทม่ี ีการลงทุนสูงสดุ 5 อนั ดบั แรก

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 15

3) ภาวการณลงทุนภาคอุตสาหกรรมปจจุบัน ขอมูลของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ณ วันท่ี
30 มิถุนายน 2562 มีโรงงานอุตสาหกรรม ที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการท้ังหมด จํานวน 2,738 โรงงาน
เงินทุนรวม 630,328.85 ลานบาท คนงานรวม 297,537 คน มโี รงงานอุตสาหกรรมรับอนุญาตประกอบกิจการ
ใหม ในปงบประมาณ พ.ศ.2562 จาํ นวน 54 โรงงาน ขยาย จาํ นวน 15 โรงงาน เลิกกิจการ จาํ นวน 67 โรงงาน
สรุปวามีการขยายตัวภาคอุตสาหกรรม จํานวน -13 โรงงาน คิดเปนรอยละ -0.47 เงินลงทุน 6,120.61
ลานบาท คดิ เปนรอย 0.98
ตารางแสดงภาวการณลงทุนภาคอุตสาหกรรม ตงั้ แตปงบประมาณ 2561 -2562

4. ตัวชีว้ ัดดานเศรษฐกิจ (การคาและธุรกิจขนาดยอม)

1) ตัวช้ีวัดดานเศรษฐกิจ (การคาและธุรกิจขนาดยอม) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 12

ศกั ยภาพดานเศรษฐกิจ (การคาและธุรกิจขนาดยอม) ตามตวั ช้ีวดั ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และ สังคมแหงชาติฉบับที่ 12 ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา กําไรสุทธิของวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาด ยอมตอมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมทั้งหมด แบบปริมาณลูกโซ ในป พ.ศ. 2559 เทากับ รอยละ 2.40
(ลําดับที่ 51 ของประเทศ) อัตราเพิม่ รายไดจากการจําหนายสินคา OTOP ในป พ.ศ. 2560 อยูที่รอยละ 20.10
(ลาํ ดับที่ 50 ของประเทศ) แตยังต่ำกวาคาเฉล่ียของประเทศ จํานวนวสิ าหกิจชุมชนและเครือขายวิสาหกิจและ
เครือขาย วิสาหกิจชุมชนท่ีไดรับอนุมัติการจดทะเบียนในป พ.ศ. 2560 มีจํานวน 490 แหง (ลําดับที่ 49 ของ
ประเทศ) ซ่ึงมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น และสัดสวนมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมสาขาการขนสงสถานท่ีเก็บสินคา และ
การคมนาคม ตอผลติ ภณั ฑมวลรวมทงั้ หมด แบบปรมิ าณลูกโซ มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 2.62 (ลาํ ดับท่ี 32 ของ
ประเทศ) ซงึ่ ตำ่ กวาคาเฉลีย่ ของประเทศ ตารางท่ี1.24 ตวั ชว้ี ดั ดานเศรษฐกิจ (การคาและธรุ กิจขนาดยอม)

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 16

ตารางท่ีแสดงตวั ชว้ี ดั ดานเศรษฐกิจ (การคาและธุรกจิ ขนาดยอม)

ท่ีมา : ระบบฐานขอมลู โครงการพฒั นาศกั ยภาพในการเชอ่ื มโยงและจัดทําแผนยทุ ธศาสตรเพ่อื สนบั สนนุ การพัฒนาในระดับพืน้ ท่ี
สํานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย หมายเหตุ : (ป พ.ศ. ของขอมลู )ตัวชวี้ ัด

ภาพแสดงสถานการณดานเศรษฐกจิ (การคาและธรุ กจิ ขนาดยอม)

ทีม่ า : ระบบฐานขอมลู โครงการพฒั นาศักยภาพในการเชื่อมโยงและจัดทาํ แผนยทุ ธศาสตรเพ่อื สนบั สนนุ การพฒั นาในระดบั พ้ืนที่
สํานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

2) สนิ คาท่ีสำคญั ของจงั หวัด
จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา มีผูประกอบการสินคา OTOP จํานวน 1,015 ราย ในทุกอําเภอ มี

จํานวนผลิตภัณฑทั้งสิ้น 2,053 ชนิด แบงเปน ผลิตภัณฑอาหาร 953 ผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑของใช 640 ผลิต
ภัณฑ ผลิตภัณฑสมุนไพรที่ไมใชอาหาร 238 ผลิตภัณฑ เคร่ืองดื่ม 113 ผลิตภัณฑ และผลิตภัณฑเสื้อผาและ
เครื่องแตงกาย 109 ผลิตภัณฑ นอกจากนั้น จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาไดมีการสนับสนุนการผลิตภัณฑOTOP
เพื่อเปนการสรางงาน สรางรายไดใหกับประชาชน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่ผานมา มียอดจําหนาย
ผลิตภัณฑ OTOP ทง้ั ส้ินจาํ นวน 3,693,480,267 บาท

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดดาํ เนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล หนง่ึ ผลติ ภัณฑไทย ทุกรอบ 3
ป โดยลาสดุ เมอื่ ป พ.ศ.2559 ไดพิจารณา จํานวน 200 ผลติ ภณั ฑ ดังนี้

1. ระดบั 5 ดาว 34 ผลติ ภณั ฑ
2. ระดบั 4 ดาว 64 ผลิตภัณฑ
3. ระดบั 3 ดาว 70 ผลิตภณั ฑ
4. ระดับ 2 ดาว 26 ผลิตภัณฑ
5. ระดับ 1 ดาว 6 ผลติ ภณั ฑ

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 17

3) วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม
ในป พ.ศ. 2561 จังหวดั พระนครศรีอยุธยามีจาํ นวนผูประกอบการ MICRO, S, M (ตามนิยาม

ใหม) เทากับ 40,730 ราย โดยจําแนกตามขนาดประเภท ดังน้ี นิติบุคคล จํานวน 7,997 ราย สวนบุคคล
วิสาหกจิ ชมุ ชน จํานวน 361 ราย สวนบุคคลและอืน่ ๆ จํานวน 32,373 ราย หากจําแนกตามขนาดธรุ กิจ ขนาด
M จํานวน 560 ราย ขนาด S จํานวน 4,598 ราย และขนาด MICRO จํานวน 35,572 ราย ทั้งนี้จํานวนผู

ประกอบการโดยสวนใหญเปนภาคบรกิ าร จาํ นวน 17,796 ราย รองลงมา คือ ภาคการคา จาํ นวน 16,833 ราย
ภาคการผลิต จาํ นวน 5,945 ราย และภาคธุรกิจเกษตร จํานวน 156 ราย ตามลาํ ดับ

ตารางแสดงจาํ นวนวสิ าหกจิ จําแนกตามประเภท

หนว่ ย : ราย

ทมี่ า : สํานกั งานสงเสรมิ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม, 2561

4. ดานเศรษฐกิจ (การทองเทีย่ วและบริการ)

1) ตัวชี้วัดดานเศรษฐกิจ (การทองเทยี่ วและบรกิ าร) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับท่ี 12

หากพิจารณาขอมูลดานการทองเท่ียวและบริการตามตัวช้ีวัดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม แหงชาติฉบับที่ 12 ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา รายไดจากการทองเที่ยวในป พ.ศ. 2559 มี
จํานวน 15,310 ลานบาท นอยกวาคาเฉลี่ยของประเทศที่มีจํานวนเทากับ 17,536 ลานบาท (ลําดับที่ 15 ของ
ประเทศ) แตมีแนวโนมเพ่ิมสูงขึ้น ทั้งน้สี ัดสวนมูลคาผลิตภณั ฑมวลรวมดานการทองเที่ยวตอผลิตภัณฑมวลรวม
ทั้งหมด แบบปริมาณลูกโซ เทากับรอยละ 0.63 (ลําดับที่ 49 ของประเทศ) นอกจากนี้ผลิตภัณฑมวลรวม
จังหวัดสาขา ท่ีพักแรมและบริการดานอาหารป พ.ศ.2559 เทากับ 2,661 ลานบาท โดยมีอัตราการขยายตัว
ในป พ.ศ. 2559 เทากับรอยละ 6.08 เพ่ิมข้ึนจากป พ.ศ. 2558 สวนดานการบริการสัดสวนมูลคาผลิตภัณฑ
มวลรวมภาคบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครัฐ) ตอผลิตภัณฑมวลรวมทงั้ หมด แบบปริมาณลกู โซ เทากับร
อยละ 26.40 ซง่ึ ต่ำกวาคาเฉลี่ยของประเทศ (ลําดบั ที่ 73 ของประเทศ) และมีอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ
มวลรวมภาคบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครัฐ) แบบปริมาณลูกโซ เทากับ รอยละ – 1.48 (ลําดับท่ี 74
ของประเทศ)

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 18

ตารางแสดงตวั ช้ีวดั ดานเศรษฐกจิ (การทองเที่ยวและบริการ)

ทม่ี า : ระบบฐานขอมลู โครงการพัฒนาศักยภาพในการเช่ือมโยงและจดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตรเพอื่ สนบั สนุน การพัฒนาในระดบั พื้นที่
สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ : (ป พ.ศ. ของขอมูล)ตวั ชีว้ ัด

ภาพแสดงรายได้จากการทอ่ งเทย่ี ว

ที่มา : สำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 19

ภาพแสดงจำนวนผเู ย่ยี มเยือน

ที่มา : สํานกั งานสถิติแหงชาติ

2) สถานการณดานการทองเที่ยว
รายไดจากการทองเท่ียวพบวา รายไดในป พ.ศ. 2561 มีรายไดเทากับ 19,016.22 ลานบาท ซ่ึง

เพ่ิมข้ึนจากป พ.ศ. 2560 ท่ีมีจํานวนเทากับ 16,901.48 ลานบาท คิดเปนรอยละ 12.51 และจํานวนผูเยี่ยม
เยือนต้ังแตป พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2561 เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในป พ.ศ. 2561 มีจํานวนผูเยี่ยมเยือนใน

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท้ังสิ้น 8,349,613 คน เพิ่มขึ้นจากป พ.ศ. 2560 ที่มีจํานวนผูเย่ียมเยือนเทากับ
7,631,557 คน คิดเปนรอยละ 9.41 และพบวาสวนใหญเปนผูเยี่ยมเยอื นท่ีเปนชาวไทย คิดเปนรอยละ 75.48
จากการเติบโตของภาคการทองเทยี่ ว เน่ืองจากจังหวัดมีการประชาสัมพันธการจัดกิจกรรมสงเสริม แผนพัฒนา

จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา พ.ศ.2561 – 2565 (ฉบับทบทวนป พ.ศ. 2564) หนา 45 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น และมีการจัดใหชมโบราณสถานแบบ NIGHT

TOURISM AND ONE DAY TRIP อยางตอเน่ือง สงผลใหนักทองเทยี่ วมาเท่ียวในจังหวัดเพิ่มข้นึ รวมท้ังกระแส
ละครอิงประวัติศาสตรท้งั ภาพยนตรศรีอโยธยา และละครบุพเพสันนิวาส สงผลใหมีนักทองเท่ียวเดินทาง ทอง
เที่ยวตามรอยละครจาํ นวนมาก โดยเฉพาะวันหยดุ เสาร-อาทติ ยจะเหน็ รถติดยาว ทําใหการทองเที่ยวเดนขึน้

สําหรับนักทองเที่ยวชาวตางประเทศสวนใหญเปนชาวญี่ปุน จีน และฝร่ังเศส มีคาใชจาย
ตอหัวอยูท่ี 2,231 บาท โดยกวาครึ่งเปนนักทองเที่ยวที่เดินทางเขาพักตามลําพัง (FREE INDIVIDUAL

TRAVELER : FIT) ท่ีเดินทางโดยรถตูโดยสารหรือรถไฟ และทองเท่ียวดวยรถตุกตุก หรือเชาจักรยานปนชม
โบราณสถาน

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 20

5. ดานสังคม (สุขภาพ และสาธารณสขุ )

1) ตัวชี้วัดดานสังคม (สุขภาพ และสาธารณสุข) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห
งชาติ ฉบบั ที่ 12

ศักยภาพขอมูลดานสังคม (สุขภาพ และสาธารณสุข) ตามตัวชี้วัดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 12 ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา ในป พ.ศ. 2560 อัตราการเกิดมีชีพ
เทากับ 9. 60 ราย ตอประชากรพันคน (ลาํ ดับที่ 34 ของประเทศ) ซ่ึงมีแนวโนมลดลงจากป พ.ศ. 2558 สดั สวน
เดก็ ทม่ี ีพัฒนาการ สมวยั เทากับ รอยละ 95.99 (ลําดบั ที่ 38 ของประเทศ) สัดสวนคนอายยุ ืนตง้ั แต 80 ปขึน้ ไป
เทากับ รอยละ 2.93 (ลําดบั ท่ี 12 ของประเทศ) ซ่ึงมแี นวโนมเพิ่มขน้ึ จากป พ.ศ. 2558

สัดสวนครัวเรือนท่ีมีน้ำสะอาดสําหรบั ดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดป เทากับ รอยละ 99.93
(ลาํ ดับท่ี 46 ของประเทศ) สัดสวนครวั เรอื นกนิ อาหารถกู สขุ ลักษณะ ปลอดภยั และไดมาตรฐาน เทากบั รอยละ
99.93 (ลําดับที่ 3 ของประเทศ) สัดสวนครัวเรือนมีการใชยาเพ่ือบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปวยเบื้องตนอยาง
เหมาะสม เทากบั รอยละ 99.87 (ลาํ ดบั ที่ 7 ของประเทศ)

สัดสวนผูสูงอายุที่พักอาศัยอยูในหองนอนชั้นลางหรืออยูบานชั้นเดียว เทากับ รอยละ 76.54
(ลําดับ ท่ี 54 ของประเทศ) สัดสวนผูสูงอายุที่มีหองน้ำหองสวมแบบโถน่ังหอยเทาภายในบาน เทากับ รอยละ
65.27 (ลาํ ดับที่ 13 ของประเทศ)

สัดสวนคนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําป เทากับ รอยละ 99.26 (ลําดับท่ี
15 ของประเทศ) สัดสวนคนอายุ 6 ปข้ึนไป ออกกําลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที เทากับ
รอยละ 99.60 (ลําดับที่ 33 ของประเทศ) สัดสวนประชากรที่มีภาวะอวนและหรืออวนลงพุง เทากับรอยละ
32.08 (ลาํ ดบั ท่ี 27 ของประเทศ)

อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ป เทากบั รอยละ 46.40 รายตอหญิงวัยเดียวกันพนั คน
(ลําดับ ท่ี 50 ของประเทศ) สวนอัตราการคลอดในมารดาอายุ 10-14 ป เทากับ รอยละ 1.40 รายตอหญิงวัย
เดยี วกนั พันคน (ลําดับที่ 38 ของประเทศ)

สัดสวนคนสูบบุหร่ี เทากับ รอยละ 3.48 (ลําดับท่ี 11 ของประเทศ) มีแนวโนมลดลง แต่
สัดสวน คนดมื่ สรุ ามีแนวโนมเพิม่ ข้ึน โดยในป พ.ศ. 2561 เทากับ รอยละ 3.84 (ลําดับที่ 21 ของประเทศ)

อตั ราผปู วยทางสขุ ภาพจติ เทากบั 2,887 รายตอประชากรแสนคน (ลําดบั ที่ 32 ของประเทศ)
อัตราเพิ่มของการเจ็บปวยดวย 5 โรคไมเรื้อรังท่ีสําคัญ (โรคหวั ใจ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิต
สงู หรือมะเรง็ ) เทากับ รอยละ 3.79 (ลําดับท่ี 31 ของประเทศ) อัตราการฆาตวั ตายตอประชากรแสนคน 5.55
รายตอประชากรแสนคน (ลําดับที่ 28 ของประเทศ)

สัดสวนคาใชจายประเภทเวชภัณฑและคาตรวจรักษาพยาบาล ตอคาใชจายท้ังหมดของ
ครัวเรือน เฉล่ียตอเดือน เทากับ รอยละ 1.39 (ลําดับท่ี 15 ของประเทศ) สัดสวนประชากรตอแพทย 1 คน
เทากบั 2,915 คน (ลําดบั ท่ี 49 ของประเทศ)

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 21

ตารางแสดงตวั ชี้วดั ดานสงั คม (สขุ ภาพ และสาธารณสุข)

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 22

ท่มี า : ระบบฐานขอมูลโครงการพฒั นาศักยภาพในการเชื่อมโยงและจดั ทําแผนยทุ ธศาสตรเพื่อสนบั สนุน การพฒั นาในระดับพื้นที่
สํานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

2) สถานการณ ดานสาธารณ สุข จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอัตราสวนประชากรต่อ
สถานพยาบาล เทากับ 47,506 : 1 และมี อตั ราสวนประชารกรตอเตียง เทากับ 648 : 1 หากพิจารณาสัดสวน
ประชากรตอบุคลากรทางการแพทย พบวา อัตราสวนประชากรตอแพทยมีแนวโนมลดลง กลาวคือ ในป
พ.ศ. 2558 มีสัดสวนเทากับ 3,015 : 1 แตในป พ.ศ. 2560 สัดสวนเทากับ 2,915 : 1 แตในทางตรงกันขาม
อัตราสวนประชากรตอพยาบาลเทคนิค มีแนวโนม เพิ่มสูงข้ึน กลาวคือใน ป พ.ศ. 2558 มีสัดสวนเทากับ
19,170 : 1 แตในป พ.ศ. 2560 มีสัดสวนเทากับ 54,015 : 1 สวนอัตราสวนประชากรตอพยาบาลทันตแพทย
เพิ่มสูงข้ึนจากป พ.ศ. 2559 เปน 8,712 : 1 ในป พ.ศ. 2560 และอัตราสวนประชากรตอเภสัชกรเพิ่มสูงขึ้น
จากป พ.ศ. 2559 เปน 5,787 : 1 ในป พ.ศ. 2560 รวมทั้งอัตราสวนประชากรตอพยาบาลวิชาชีพเพ่ิมสูงข้ึน
จากป พ.ศ. 2559 เปน 505 : 1 ในป พ.ศ. 2560

ภาพแสดงสถานการณดานสาธารณสขุ

ทม่ี า : ระบบฐานขอมลู โครงการพัฒนาศักยภาพในการเช่อื มโยงและจดั ทําแผนยุทธศาสตรเพอื่ สนับสนุน การพัฒนาในระดับพื้นท่ี
สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 23

ด้านการศกึ ษา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีสถานศึกษาทั้งสิ้น 754 แห่ง จำนวนนักเรียนทั้งส้ิน 159,335 คน
มีห้องเรียนทั้งสิ้น 6,207 ห้อง จำนวนผู้บรหิ ารและครูผู้สอนท้ังสิ้น 9,589 คน และมีองค์กรท่ีจัดการศึกษาใน
จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ดงั น้ี

จำนวนสถานศึกษา จำนวนนกั เรยี น/นักศึกษา หองเรียนและ ผบู้ ริหารและครูผสู้ อน

สังกดั สถานศึกษา นกั เรยี น/ หอ้ งเรยี น ผู้บริหารและ
นักศกึ ษา ครผู ูส้ อน

1.กระทรวงศึกษาธิการ 2,338
1,571
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 1,411

⬧ สพป.พระนครศรีอยธุ ยา เขต 1 177 35,789 1,885 8

⬧ สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2 158 23,716 1,566 1,541
314
⬧ สพม.เขต 3 (พระนครศรีอยธุ ยา) 29 26,006 750
436
⬧ ศนู ย์การเรยี นร้ปู ญั ญาภิวฒั น์ 1 304 8 156

⬧ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจำจงั หวดั 1 627 - 96
583
สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
656
⬧ สำนักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน 35 25,429 875
18
⬧ สำนกั งาน กศน. จังหวดั พระนครศรีอยุธยา 16 9,484 - 9,222

สำนกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา

⬧ วิทยาลยั ของรัฐ 9 12,210 428

⬧ วิทยาลัยของเอกชน 5 4,431 191

2.กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม 3 1,429 43
⬧ โรงเรียนสาธติ ม.ราชภัฎฯ 3 8,810 467

⬧ มหาวทิ ยาลัย

3.กระทรวงมหาดไทย

กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น

⬧ สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่ จงั หวดั 28 10,919 461

⬧ ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก สังกดั อปท. 282 8,093

4.สำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ

⬧ โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม (สายสามญั ) 2 296 18

รวมทง้ั ส้ิน 749 165,453 6,225

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 24

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 25

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 26

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 27

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 28

ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
จำนวน 432 โรงเรียน มีนักเรียน จำนวน 123,584 คน จดั การเรียนการสอนสายอาชีพ จำนวน 15 โรงเรียน
มนี ักเรียน จำนวน 14,641 คน การจดั การศึกษานอกระบบ จำนวน 16 แห่ง มนี กั เรยี น 9,484 คน

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปการศกึ ษา 2562

หน่วยงาน วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ

ระดับประเทศ 35.55 32.90 49.07 34.42

ระดับกระทรวง 35.68 33.10 49.18 34.64

ระดับภาคกลาง 35.85 33.29 49.82 35.03

ระดับ ศธภ.1 34.92 32.08 48.63 33.04

ระดับจงั หวดั 34.80 32.40 48.13 33.27

สพฐ. 33.63 30.95 46.84 30.27

สพป.พระนครศรีอยธุ ยา 33.63 30.95 46.84 30.27

สช. 38.43 37.07 52.69 41.52

อว. 47.32 54.02 56.64 59.84

อปท. 31.66 27.56 43.48 28.46

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 29

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปการศึกษา 2562

หนว่ ยงาน วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ

ระดับประเทศ 30.07 26.73 55.14 33.25

ระดับกระทรวง 30.25 27.19 55.63 33.69

ระดับภาคกลาง 29.91 26.72 55.06 33.32

ระดับ ศธภ.1 29.32 25.52 53.42 31.17

ระดบั จังหวดั 29.17 25.53 52.73 31.56

สพฐ. 29.00 25.04 52.74 31.06

สพป.พระนครศรีอยธุ ยา 29.40 26.80 54.06 32.46

สพม. 28.21 31.50 50.10 28.26

สช. 29.01 24.66 52.00 32.28

อว. 45.66 76.58 77.73 66.92

อปท. 27.28 20.64 48.55 27.68

พ.ศ. 28.34 21.43 43.63 29.80

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 30

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปการศึกษา 2562

หน่วยงาน วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย สงั คมฯ ภาษาอังกฤษ

ระดบั ประเทศ 29.20 25.41 42.21 35.70 29.20

ระดับกระทรวง 29.44 25.83 42.67 35.94 29.59

ระดับภาคกลาง 29.29 26.03 42.59 35.84 29.44

ระดับ ศธภ.1 28.51 24.39 41.44 35.26 27.52

ระดบั จังหวัด 27.89 24.13 40.24 34.79 27.54

สพฐ. 27.64 23.78 40.44 34.86 27.19

สพม. 27.68 23.78 40.53 34.92 27.27

สพป. 27.91 16.46 34.04 30.71 21.38

สช. 27.60 21.43 36.41 33.15 28.07

อว. 49.95 68.42 66.61 47.48 60.54

อปท. 24.78 18.15 31.63 30.33 21.98

พศ. 26.29 18.08 36.37 33.00 22.12

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 31

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ปกี ารศึกษา 2562
ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.)

หน่วยงาน จำนวนผเู้ ขา้ สอบ คะแนนเฉล่ีย
ระดบั ประเทศ 141322 43.63
28287 43.67
ระดับภาค: กลาง 8590 43.09
ระดบั ศธภ.1 1727 42.23
ระดับจงั หวัด 62 39.63
105 38.42
วทิ ยาลัยการอาชพี มหาราช 44 39.50
วทิ ยาลัยการอาชพี เสนา 303 41.19
69 39.57
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชีพบางไทร 8 41.95
วทิ ยาลัยเทคนคิ พระนครศรอี ยธุ ยา 303 41.91
44 36.75
วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละอุตสาหกรรมการต่อเรือพระนครศรีอยธุ ยา 157 43.98
วทิ ยาลัยเสริมทกั ษะพระภกิ ษุ สามเณร 23 39.67
วิทยาลัยเทคนิคพณิชยการอยุธยา 44 36.85
วิทยาลัยเทคโนโลยีอยุธยา 279 47.74
วทิ ยาลยั ไทยอโยธยาบรหิ ารธรุ กิจ
วิทยาลัยบรหิ ารธุรกิจอยุธยา
วทิ ยาลัยผดุงอาชีวะเสนา
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 32

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านอาชีวศกึ ษา (V-NET) ปีการศึกษา 2562
ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.)

หน่วยงาน จำนวนผ้เู ขา้ สอบ คะแนนเฉล่ยี
ระดบั ประเทศ 123,348 40.75
21,581 40.96
ระดับภาค: กลาง 7514 40.66
ระดับ ศธภ.1 1659 39.81
ระดับจังหวดั 278 40.44
44 34.86
วิทยาลยั เทคนคิ พณชิ ยการอยุธยา 193 40.43
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีอยุธยา 41 38.16
24 38.54
วิทยาลยั ไทยอโยธยาบริหารธุรกจิ 34 36.58
วิทยาลยั บรหิ ารธรุ กิจอยุธยา 76 37.22
วทิ ยาลัยผดงุ อาชีวะเสนา 14 37.50
วิทยาลยั การอาชีพมหาราช 478 41.56
วิทยาลยั การอาชพี เสนา 309 37.80
21 37.35
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชพี บางไทร 147 41.10
วทิ ยาลัยเทคนิคพระนครศรอี ยุธยา

วทิ ยาลยั เทคนิคอตุ สาหกรรมยานยนต์
วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรอื พระนครศรอี ยุธยา

วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 33

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)

ปกี ารศึกษา 2562 ระดบั ประถมศกึ ษา ครง้ั ที่ 2

หน่วยงาน สาระทักษะ สาระทกั ษะ สาระทักษะ สาระการพฒั นา สาระความรู้
การเรียนรู้ พน้ื ฐาน
การดำเนนิ ชีวิต การประกอบอาชีพ สังคม

ระดบั ประเทศ 42.61 44.93 41.29 43.69 38.93

สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 1 46.22 48.89 45.19 44.82 40.45

ศธจ. พระนครศรอี ยุธยา 43.88 44.83 41.59 43.03 39.02

กศน.จังหวดั 43.88 44.83 41.59 43.03 39.02

ท่าเรอื 36.67 36.67 28.33 33.33 32.92

นครหลวง 40.00 40.00 43.33 33.33 40.00

บางซ้าย 40.00 55.00 43.33 46.67 26.25

บางไทร 46.67 43.33 50.00 33.33 31.25

บางปะหัน 51.67 64.17 54.17 45.83 44.27

บางปะอิน 52.86 53.33 50.48 52.86 46.61

บา้ นแพรก 48.33 36.67 35.00 43.33 37.50

ผกั ไห่ 38.89 37.78 31.11 36.67 34.44

พระนครศรอี ยุธยา 39.7 40.51 37.32 40.10 40.40

มหาราช 48.33 50.00 60.00 56.67 28.54

ลาดบวั หลวง 47.50 47.5 47.92 49.17 32.19

วงั นอ้ ย 43.33 53.33 46.67 40.00 42.50

เสนา 54.00 48.00 45.33 46.67 36.25

อุทยั ไม่มผี เู้ ขา้ สอบ

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 34

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)

ปีการศึกษา 2562 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ คร้ังที่ 2

หน่วยงาน สาระทักษะ สาระทักษะ สาระทกั ษะ สาระการพัฒนา สาระความรู้
การเรยี นรู้ พ้นื ฐาน
การดำเนินชวี ิต การประกอบอาชพี สงั คม

ระดบั ประเทศ 35.73 43.08 39.99 40.55 35.1

สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 1 35.94 45.12 41.1 41.22 35.22

ศธจ. พระนครศรอี ยุธยา 35.5 46.26 41.57 40.69 35.75

กศน.จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 35.5 46.26 41.57 40.69 35.75

ทา่ เรือ 35.59 47.66 41.49 39.82 33.16

นครหลวง 33.74 41.72 37.98 38.99 32.35

บางซ้าย 34.24 43.03 34.24 38.18 36.06

บางไทร 37.08 52.08 45 41.46 41.12

บางบาล 33.33 43.33 43.02 38.96 35.81

บางปะหนั 35 47.95 38.14 38.72 34.63

บางปะอิน 39.7 47.2 41.74 41.89 35.9

บา้ นแพรก 35.33 46.33 34.83 36.67 31.5

ผักไห่ 33.89 45 41.16 38.33 33.3

พระนครศรอี ยุธยา 33.95 44.82 43.17 39.11 38.38

ภาชี 31.01 41.88 37.97 37.39 33.13

มหาราช 30.83 39.17 38.96 37.04 30.79

ลาดบวั หลวง 38.91 53.41 43.33 47.73 37.86

วังน้อย 40.19 49.07 43.33 44.63 33.58

เสนา 34.88 42.86 41.79 40.48 33.74

อุทยั 36.56 49.11 41.5 45.33 36.54

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 35

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)

ปีการศกึ ษา 2562 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คร้ังท่ี 2

หนว่ ยงาน สาระทกั ษะ สาระทกั ษะ สาระทักษะ สาระการพฒั นา สาระความรู้
การเรยี นรู้ พ้ืนฐาน
การดำเนินชวี ิต การประกอบอาชพี สังคม

ระดบั ประเทศ 32.27 36.84 41.74 31.46 30.25

สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค 1 32.68 37.85 42.65 31.72 30.45

ศธจ. พระนครศรอี ยธุ ยา 33.76 39.41 45.38 33 31.45

กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 33.76 39.41 45.38 33 31.45

ทา่ เรอื 33.41 41.06 44.09 31.63 30.77

นครหลวง 34.42 41.24 48.8 32.4 30.06

บางซา้ ย 32.14 35.48 42.38 31.9 31.04

บางไทร 32.05 36.67 43.67 37.35 36.99

บางบาล 30.2 37.84 43.19 31.96 29.22

บางปะหัน 30.9 39.42 45.96 31.92 29.41

บางปะอนิ 34.21 42.46 48.62 33.78 32.18

บ้านแพรก 35.96 41.58 43.51 35.79 32.7

ผักไห่ 33.4 39.31 48.58 29.65 29.46

พระนครศรีอยุธยา 32.03 34.09 40.25 32.25 32.12

ภาชี 30.53 35.79 39.39 30.7 26.12

มหาราช 34.67 44.53 51 36.13 31.03

ลาดบวั หลวง 39.45 46.03 48.35 36.08 34.98

วังน้อย 35 41.05 48.46 32.32 30.32

เสนา 34.04 39.15 43.97 30.85 29.35

อุทัย 35.83 42.08 50.18 34.17 30.35

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 36

สว่ นที่ 2 กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้นายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 แผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561–2580) แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560-2564 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายรัฐบาล นโยบายความม่ันคง
แห่งชาติ พ.ศ. 2558-2564 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ..2563 และ
แผนงานบูรณาการ 14 แผนงาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
รา่ ง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และบรบิ ทต่างๆ ที่เกีย่ วข้องมา
เชื่อมโยงกับอำนาจหน้าท่ีของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และกำหนดเป็นกรอบแนวทางในการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมี
รายละเอียด ดังน้ี

ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580)

คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เม่ือวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2561 เพือ่ ใช้เปน็ กรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกำหนดวสิ ยั ทัศน์
เปา้ หมาย และยุทธศาสตร์ ดงั น้ี

วิสยั ทศั น์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่งั ยืน เป็นประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรอื เปน็ คติพจนป์ ระจำชาตวิ า่ “มั่นคง มง่ั ค่งั ย่งั ยนื ”
ความม่ันคง หมายถึง หมายถึง การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลง
ท้ังภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจก
บุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น
ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธปิ ไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
พระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยม์ ีความเข้มแขง็ เป็นศูนยก์ ลางและเปน็ ที่ยดึ เหนยี่ วจิตใจ ของ
ประชาชน มีระบบการเมืองท่ีมั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศท่ีต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลัก
ธรรมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง
ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการดำรงชีวิต มีการออม
สาหรบั วยั เกษยี ณ ความมนั่ คงของอาหาร พลงั งาน และน้ำ มที ีอ่ ยูอ่ าศัย และความปลอดภัยในชวี ิตทรัพยส์ นิ
ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน
จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหล่ือมล้ำของการพัฒ นาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุข
ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างท่ัวถึงทุกภาคส่วน
มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจ
ในประเทศมีความเขม้ แข็ง ขณะเดยี วกันต้องมีความสามารถในการแขง่ ขันกบั ประเทศต่างๆ ทง้ั ในตลาดโลกและ
ตลาดภายในประเทศ เพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง
ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทย
มีบทบาทที่สำคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศ
ในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสำคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน
และการทาธุรกิจ เพ่ือให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากน้ัน ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้าง

การพัฒนาต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเคร่ืองมือเคร่ืองจักร
ทุนทางสังคม และทุนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิต
ของประชาชนให้เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษา
และการฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ
ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภค
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์
มากข้ึนและส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอ้ืออาทร เสียสละ เพ่ือ
ผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสำคัญกับการมี
ส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อการพฒั นาอย่างสมดลุ มีเสถยี รภาพและยั่งยืน

โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ
ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและ
ความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐ
ของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบด้วย

1) ความอย่ดู ีมสี ุขของคนไทยและสงั คมไทย
2) ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ
4) ความเทา่ เทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม และความยงั่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถึงการใหบ้ ริการของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเก่ียวข้องกับภารกิจของสานักงาน
ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยุทธศาสตร์ ดงั นี้
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช
อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ
เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้
ทกุ รูปแบบ และทกุ ระดับความรนุ แรง ควบคูไ่ ปกับการป้องกนั และแก้ไขปัญหาดา้ นความม่ันคงท่ีมอี ยู่ในปจั จบุ ัน
และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใชก้ ลไกการแก้ไขปัญหาแบบบรู ณาการท้ังกับสว่ นราชการ ภาคเอกชน ประชา
สังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ ทั่วโลกบนพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาลเพื่อ
เอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอื่นๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทาง
และเปา้ หมายที่กำหนด

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 27

2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการ
ยกระดับศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพืน้ ฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่

1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี
วถิ ีชีวิต และจุดเดน่ ทางทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีหลากหลาย รวมทง้ั ความได้เปรียบเชิงเปรยี บเทยี บของประเทศใน
ด้านอ่ืนๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และ
สงั คมโลกสมยั ใหม่

2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศในมิติ
ตา่ งๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนสง่ โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจทิ ลั และการปรับ
สภาพแวดลอ้ มให้เอือ้ ตอ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมและบรกิ ารอนาคต

3) “สร้างคณุ ค่าใหมใ่ นอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผปู้ ระกอบการ พัฒนาคนรุน่ ใหม่ รวมถึง
ปรับรูปแบบธรุ กิจ เพ่ือตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยทุ ธศาสตรท์ ีร่ องรับอนาคต บนพืน้ ฐาน
ของการต่อยอดอดีตและปรับปจั จุบนั พรอ้ มท้งั การส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้าง
ฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนใน เวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับ
รายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมขึ้นของคนช้ันกลางและลดความเหล่ือมล้ำของคนในประเทศได้ในคราว
เดียวกนั

3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการ
พัฒนาท่ีสำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย
มีความพ ร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญ ญ า มีพั ฒ น าก ารท่ีดีรอบ ด้าน และมีสุขภาวะท่ี ดีใน ทุก ช่วงวัย
มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนรุ ักษ์ภาษาท้องถน่ิ มีนสิ ัยรักการเรียนรแู้ ละการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
ตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืนๆ โดยมี
สัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่
สำคัญที่ให้ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน มาร่วม
ขับ เคลื่อน โดยก ารสนั บสนุน ก ารรวมตัวขอ งป ระชาชน ใน ก ารร่วมคิด ร่วม ท าเพ่ื อ ส่วน รวม
การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผน่ ดินในระดบั ท้องถ่นิ การเสรมิ สร้าง ความ
เข้มแขง็ ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ท้ังในมิตสิ ขุ ภาพ เศรษฐกิจ
สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเอง และทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และ
สังคมให้นานที่สดุ โดยรฐั ให้หลักประกันการเขา้ ถงึ บริการและสวัสดกิ ารทีม่ ีคุณภาพอย่างเปน็ ธรรมและทั่วถึง

5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพ่ือนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้าน สังคม
เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันท้ังภายในและภายนอก
ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวต้ังในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้
เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดยเป็นการดำเนินการ บนพ้ืนฐานการเติบโต
ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง
3 ดา้ น อนั จะนาไปสู่ความยัง่ ยนื เพ่ือคนรนุ่ ตอ่ ไปอย่างแทจ้ ริง

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 28

6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มเี ปา้ หมาย
การพัฒนาท่ีสำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์
สว่ นรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่เี หมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐที่ทาหนา้ ท่ี
ในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลัก ธรรมาภิบาล
ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสมั ฤทธ์แิ ละผลประโยชน์สว่ นรวมมีความทนั สมัยและพร้อม ท่ีจะปรับตัว
ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาด
ใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล
รวมท้ังมลี ักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถงึ กนั และเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเขา้ มามีส่วนรว่ ม เพ่ือตอบสนองความ
ตอ้ งการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมตอ้ งรว่ มกันปลูกฝังค่านยิ ม
ความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่าง
ส้ินเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจำเป็นมีความทันสมัย มีความเป็นสากล มี
ประสทิ ธภิ าพ และ นาไปสู่การลดความเหล่ือมล้ำและเอื้อตอ่ การพัฒนา โดยกระบวนการยตุ ิธรรมมีการบริหาร
ท่มี ีประสิทธภิ าพ เปน็ ธรรม ไม่เลอื กปฏิบัติและการอำนวยความยุติธรรมตามหลกั นติ ิธรรม

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

ตามพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติว่า เมื่อมีพระบรม
ราชโองการ ประกาศใชย้ ุทธศาสตรช์ าติแลว้ ให้คณะกรรมการจดั ทายทุ ธศาสตร์ชาตแิ ต่ละด้านจัดทาแผนแมบ่ ท
เพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ เสนอคณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบ
และเสนอตอ่ คณะรฐั มนตรใี หค้ วามเห็นชอบและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้าหมายตามท่ี กำหนดไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจำปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบด้วย 6 ด้าน 23 ประเด็น (ข้อมูล : พฤศจิกายน 2561) ดงั นี้

1. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความม่ันคง
1) แผนแม่บทประเด็นความมนั่ คง
2) แผนแมบ่ ทประเดน็ การต่างประเทศ

2. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
3) แผนแม่บทประเดน็ การพัฒนาการเกษตร
4) แผนแมบ่ ทประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต
5) แผนแมบ่ ทประเด็นการท่องเที่ยว
6) แผนแมบ่ ทประเด็นการพัฒนาพ้ืนทแี่ ละเมอื งน่าอยู่อจั ฉรยิ ะ
7) แผนแม่บทประเดน็ โครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบโลจสิ ติกส์ และดจิ ทิ ลั
8) แผนแม่บทประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานผู้ประกอบการยุคใหม่และวิสาหกิจ

ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
9) แผนแม่บทประเดน็ เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
23) แผนแมบ่ ทประเดน็ วิจยั และพัฒนานวัตกรรม

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 29

3. ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
10) แผนแม่บทประเดน็ การปรบั เปลี่ยนคา่ นิยมและวัฒนธรรม
11) แผนแม่บทประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
12) แผนแมบ่ ทประเด็นการพัฒนาการเรยี นรู้
13) แผนแมบ่ ทประเด็นการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะทด่ี ี
14) แผนแมบ่ ทประเด็นการพฒั นาศักยภาพการกฬี า

4. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
15) แผนแมบ่ ทประเดน็ การเสรมิ สรา้ งพลังทางสงั คม
16) แผนแมบ่ ทประเดน็ การพัฒนาความเสมอภาค และส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก
17) แผนแม่บทประเดน็ การสรา้ งหลกั ประกันทางสงั คม

5. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม
18) แผนแม่บทประเดน็ การสร้างการเตบิ โตอยา่ งยั่งยนื
19) แผนแม่บทประเดน็ การบริหารจดั การนำ้ ท้ังระบบ

6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั
20) แผนแมบ่ ทประเด็นการพัฒนาการบรกิ ารประชาชนและการพฒั นาประสิทธิภาพภาครัฐ
21) แผนแมบ่ ทประเด็นการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
22) แผนแมบ่ ทประเด็นการพฒั นากฎหมายและการพฒั นากระบวนการยุตธิ รรม

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564 สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี
ซ่ึงเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและ
วางรากฐานในการยกระดบั ประเทศไทยใหเ้ ป็นประเทศทพ่ี ัฒนาแล้ว มคี วามมั่นคง มง่ั คงั่ ยั่งยนื ด้วยการพฒั นา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีหลักการทส่ี ำคัญ คอื

1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพ่ือให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ อย่าง
สมเหตสุ มผล มีความพอประมาณ และมรี ะบบภมู ิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสีย่ งที่ดี ซ่ึงเป็นเงอื่ นไขที่
จำเป็นสาหรับการพัฒนาท่ียั่งยืนซึ่งมุ่งเน้นการพฒั นาคน มีความเป็นคนที่สมบรู ณ์ สงั คมไทย เปน็ สงั คมคุณภาพ
มีท่ยี นื และเปิดโอกาสใหก้ ับทกุ คนในสงั คมได้ดำเนนิ ชวี ติ ทด่ี ีมีความสุข และอยู่รว่ มกันอย่างสมานฉันท์

2) ยึด “คนเป็นศนู ย์กลางการพัฒนา”ม่งุ สรา้ งคุณภาพชีวิต และสุขภาวะที่ดี สาหรับคนไทย พัฒนา
คนให้มคี วามเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวนิ ัย ใฝ่รู้ มคี วามรู้ มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มที ัศนคตทิ ่ีดี รับผิดชอบต่อ
สงั คม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทกุ ช่วงวยั และเตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ
รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยา่ งเหมาะสม

3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560-2564 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย
มีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
หรือเปน็ คตพิ จน์ประจำชาติว่า “ม่ันคง มั่งคั่ง ยง่ั ยนื ”

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 30

4) ยดึ “เปา้ หมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ที่เป็นเปา้ หมายในยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
มาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ
เปา้ หมายท่ียง่ั ยนื (SDGs)

5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหล่ือมล้าและขับเคล่ือนการเจริญเติบโต
จากการเพมิ่ ผลติ ภาพการผลติ บนฐานของการใช้ภมู ิปญั ญาและนวัตกรรม”

6) ยึด “หลักการนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธ์ิ ท่ีเป็น
เปา้ หมายระยะยาว”

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยค่านิยมท่ีดี
มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งท่ีมีทักษะ
ความรูค้ วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชวี ิต
2. เพ่ือให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึง
ทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเขม้ แข็งพ่ึงพา
ตนเองได้
3. เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งของ
ฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากข้ึน สร้างความเข้มแข็งของ
เศรษฐกิจฐานราก และสร้างความมั่นคงทางพลังงาน อาหาร และน้ำ
4. เพ่ือรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้สามารถสนับสนุน
การเติบโตทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อมและการมคี ุณภาพชีวิตทด่ี ขี องประชาชน
5. เพ่อื ให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธภิ าพ โปรง่ ใส ทนั สมัย และมกี ารทางานเชิงบูรณา
การของภาคกี ารพฒั นา
6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับ
การพฒั นายกระดบั ฐานการผลติ และบรกิ ารเดิมและขยายฐานการผลิตและบรกิ ารใหม่
7. เพื่อผลกั ดันให้ประเทศไทยมีความเช่ือมโยง (Connectivity) กับประเทศตา่ งๆ ทั้งในระดับอนุ
ภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมท้ังให้ประเทศไทยมีบทบาทนาและ
สร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ ทั้งในระดับ อนุภูมิภาค
ภูมภิ าค และโลก
เป้าหมายรวม เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประกอบดว้ ย
1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดี
ของสังคม มีความเป็นพลเมืองต่ืนรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความ
รบั ผิดชอบและทาประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ดี ี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมวี ิถีชีวิต
ท่พี อเพยี ง และมีความเปน็ ไทย
2. ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ
อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 31

3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขนั ได้ โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ปรับสู่เศรษฐกิจฐานบรกิ าร
และดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กท่ี
เข้ ม แ ข็ ง ส าม า ร ถ ใช้ น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ เท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ใน ก า ร ส ร้ าง ส ร ร ค์ คุ ณ ค่ าสิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร มี ร ะ บ บ
การผลิตและใหบ้ รกิ ารจากฐานรายไดเ้ ดิมท่มี ีมูลคา่ เพ่ิมสูงขน้ึ และมกี ารลงทุนในการผลติ และบรกิ ารฐานความรู้
ชั้นสูงใหมๆ่ ท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและการให้บรกิ ารสภู่ ูมิภาคเพ่ือลด
ความเหลื่อมล้ำ โดยเศรษฐกจิ ไทยมีเสถียรภาพ

4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดลอ้ ม มีความม่นั คงทางอาหาร พลงั งาน และน้ำ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจ
ของสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 9 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสำคัญกับการ
วางรากฐานการพัฒนาคนให้มคี วามสมบูรณ์ เริม่ ต้งั แต่กลมุ่ เด็กปฐมวยั ท่ีตอ้ งพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มี
ทักษะทางสมอง ทกั ษะการเรียนรู้ และทักษะชวี ิต เพ่ือให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพฒั นาคนไทยใน
ทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม
มีทักษะความรู้ และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปล่ียนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพื้นฐานของการมี
สถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และ
ภาคเอกชนท่ีร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมสำคัญในการขับเคล่ือนการ
พฒั นาประเทศ

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมล้ำในสังคม ให้ความสำคัญกับ
การดำเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ท่ัวถึงโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการศึกษาและสาธารณสุข
รวมทั้งการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซ่ึงเป็นการดำเนินงานต่อเนื่องจากท่ีได้ขับเคล่ือน
และผลกั ดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และมงุ่ เน้นมากขึ้นในเร่ืองการเพ่ิมทกั ษะแรงงานและการใช้นโยบาย
แรงงานที่สนบั สนุนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สงู ขึ้น และการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและ
สังคมโดยเฉพาะอย่างยงิ่ การสนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชพี รายได้ และให้ความช่วยเหลอื ทีเ่ ช่ือมโยง การเพิม่ ผลิต
ภาพสาหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่ำสุด ผู้ด้อยโอกาสสตรี และผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจ
ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนและวสิ าหกิจเพื่อสังคมการพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานราก
และการเข้าถึงเงนิ ทุนเพื่อสร้างอาชพี และการสนับสนุนการเข้าถึงปัจจัยการผลิตคุณภาพดีทรี่ าคาเป็นธรรม เป็นต้น
และในขณะเดียวกนั กต็ ้องเพ่มิ ประสิทธิภาพการใชง้ บประมาณเชิงพนื้ ทีแ่ ละบูรณาการเพอื่ การลดความเหลื่อมล้ำ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืนเน้นให้
เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไก
สำคัญในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลติ ของประเทศเพิ่มขนึ้ การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการ
ขยายตวั อย่างต่อเน่อื งและมาจากความร่วมมอื กนั มากขึ้น ประชาชนและผปู้ ระกอบการเข้าสู่ระบบภาษีมากขึ้น
และประเทศไทยมขี ีดความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ สงู ขึน้ นอกจากน้ี ยงั เนน้ ใหเ้ ศรษฐกจิ รายสาขามี
การเติบโตอย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมย่ังยืนและให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มข้ึน มีการพัฒนา
เมืองอุตสาหกรรมนิเวศ การท่องเที่ยวสามารถทารายได้และแข่งขันได้มากข้ึน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจมากข้ึน ภาคการเงินมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น และใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมขนั้ ก้าวหน้าท่ีเข้มข้นมากข้ึน การพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจิทลั การพฒั นาและยกระดับคณุ ภาพของกา
ลังคน และความคิดสร้างสรรคใ์ นการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนว

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 32

ระเบียงเศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการเข้ากับการค้าและการเตรียมความพร้อมของภาคบริการ
ใหส้ ามารถรองรบั การแข่งขนั ทเี่ สรขี ้ึน

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน ประเด็น
ท้าทายที่ต้องเร่งดำเนินการในช่วงแผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพส่ิงแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและ
คณุ ภาพชีวติ ของประชาชน เร่งแกไ้ ขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพือ่ ลดมลพิษท่ีเกิดจากการผลิต และการบริโภค
พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการที่โปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสรมิ การผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นวง
กว้างมากขนึ้ ต้องเรง่ เตรียมความพรอ้ มในลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิมขีดความสามารถในการปรบั ตัว
ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ รวมทั้งบรหิ ารจดั การเพื่อลดความเส่ยี งด้านภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคงั่ และ
ยั่งยืน ให้ความสำคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความม่ันคงที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและ
อุดมการณ์บนพ้ืนฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและการ
เตรยี มการรับมือกับภัยคกุ คามข้ามชาตซิ ึ่งจะส่งผลกระทบอยา่ งมีนยั ยะสำคัญต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศในระยะ 20 ปีข้างหนา้

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ
ธรรมาภิบาล ในสังคมไทย เป็นช่วงเวลาสำคัญทต่ี ้องเร่งปฏิรปู การบรหิ ารจัดการภาครัฐใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์อิ ย่าง
จริงจงั เพอื่ ให้เปน็ ปัจจัยสนับสนุนสำคัญที่จะชว่ ยสง่ เสริมการพัฒนาประเทศในทกุ ดา้ นใหป้ ระสบผลสำเรจ็ บรรลุ
เปา้ หมาย ทั้งการบรหิ ารจัดการภาครัฐใหโ้ ปร่งใส มปี ระสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และ
ประชาชนมีสว่ นร่วม มีการกระจายอำนาจ และแบ่งภารกิจรับผดิ ชอบท่ีเหมาะสม ระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค
และทอ้ งถน่ิ และวางพ้นื ฐานเพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี 2579

ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นการขยาย
ขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและพ้ืนท่ีเศรษฐกิจหลัก
และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเช่ือมโยงในอนุภูมิภาคและใน
อาเซียนอย่างเป็นระบบ โดยมีโครงข่ายเช่ือมโยงภายในประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวระเบียง
เศรษฐกิจต่างๆ การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการและการกากบั ดูแลใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานสากลเพ่ือเพ่ิม
ประสิทฺธิภาพ การดำเนินการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการพื้นฐาน และการคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาอุตสาหกรรมตอ่ เนอ่ื งเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกจิ ให้กับประเทศ และการพฒั นาผปู้ ระกอบการ ใน
สาขาโลจสิ ตกิ ส์และหน่วยงานทม่ี ศี กั ยภาพเพ่อื ไปทาธุรกจิ ในต่างประเทศ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้ความสำคญั กับการ
ใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด
สร้างสรรค์อย่างเข้มข้นท้ังในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมทั้งให้ความสำคัญกับการพัฒนา
สภาวะแวดล้อมหรอื ปัจจัยพื้นฐานที่เอ้ืออำนวยทั้งการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย
โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพื่อช่วยขับเคล่ือนการพัฒนา
ประเทศให้กา้ วส่เู ป้าหมาย

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 33

ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ ประเทศไทยต้องใช้ประโยชน์จาก
ศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี และการดำเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกเพ่ือเสริมจุดเด่นในระดับภาคและ
จงั หวัดในการเป็นฐานการผลิตและบริการที่สำคัญ ประกอบกบั การขยายตัวของประชากรในเขตเมือง จะเป็น
โอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายได้ของประชาชนโดยการพัฒนาเมืองให้เปน็ เมอื งน่าอยู่และมี
ศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน รวมท้ังลดแรงกดดันจากการกระจุกตัวของการพัฒนา ในกรุงเทพฯ
และภาคกลางไปสู่ภูมิภาค นอกจากนี้ การเป็นส่วนหน่ึงของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยังเป็นโอกาสในการ
เปดิ พืน้ ท่เี ศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเชือ่ มโยงการค้าการลงทุนในภมู ิภาคของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านอกี ด้วย

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัด
การศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค
ในการศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะ
ในการทางานที่สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ แนวคิดการจัดการศกึ ษา
ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสำคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
(Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียม และท่ัวถึง (Inclusive Education)
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For
Education) อีกท้ังยึดตามเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030)
ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
ของประเทศ ความเหล่ือมล้ำของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนายุทธศาสตรช์ าติมาเป็น
กรอบความคิดสำคัญในการจดั ทาแผนการศึกษาแหง่ ชาติ โดยมสี าระสำคญั ดังน้ี

วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่าง
เป็นสขุ สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ
บทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ
3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ
ร่วมมอื ผนึกกาลงั มุง่ สกู่ ารพฒั นาประเทศอย่างยั่งยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำ
ภายในประเทศลดลง
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของสานักงานปลัด
กระทรวงศึกษาธิการทง้ั 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพอื่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนที่พิเศษได้รับ
การศกึ ษาและเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ
3. คนทุกชว่ งวัยได้รบั การศกึ ษา การดูแลและปอ้ งกนั จากภัยคุกคามในชวี ติ รปู แบบใหม่

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 34

แนวทางการพัฒนา
1. พฒั นาการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพ้ืนท่ีพิเศษ (พื้นที่สูงพื้นที่ตาม
แนวตะเข็บชายแดน และพ้ืนท่ีเกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชน-
ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว)

4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจดั ระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ
อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติ ใหม่
ภยั จากไซเบอร์ เปน็ ตน้

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

เป้าหมาย
1. กาลงั คนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศ
เฉพาะดา้ น
3. การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่ิมทาง
เศรษฐกิจ
แนวทางการพฒั นา
1. ผลิตและพฒั นากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาทีต่ รงตามความต้องการของตลาดงานและการ
พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
2. สง่ เสรมิ การผลิตและพฒั นากาลังคนทีม่ ีความเช่ยี วชาญและเปน็ เลศิ เฉพาะด้าน
3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่ิม
ทางเศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
เป้าหมาย
1. ผเู้ รยี นมีทักษะและคุณลกั ษณะพนื้ ฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลกั ษณะที่จำเป็นใน
ศตวรรษท่ี 21
2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ
มาตรฐานวชิ าชีพ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตไดต้ ามศกั ยภาพ
3. สถานศึกษาทกุ ระดบั การศึกษาสามารถจดั กจิ กรรม/กระบวนการเรียนร้ตู ามหลักสูตรได้อย่าง
มีคุณภาพและมาตรฐาน
4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ
ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 35


Click to View FlipBook Version