The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TB nakglan, 2021-06-17 01:06:43

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

5. ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมินผลมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล
7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
แนวทางการพฒั นา
1. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต
อย่างเหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพในแต่ละช่วงวยั
2. สง่ เสริมและพฒั นาแหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน และส่ือการเรยี นร้ตู ่างๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน
และประชาชนสามารถเข้าถึงแหลง่ เรียนรู้ได้โดยไม่จำกดั เวลาและสถานท่ี
3. สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึง
ประสงค์
4. พัฒนาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวดั และประเมินผลผเู้ รยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
5. พฒั นาคลังข้อมลู สือ่ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ทีม่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน
6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
7. พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศึกษา
เปา้ หมาย
1. ผเู้ รยี นทกุ คนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาทม่ี คี ุณภาพ
2. การเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพื่อการศึกษาสาหรบั คนทุกชว่ งวยั
3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพ่ือ
การวางแผนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมินและรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ
2. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่ือการศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ช่วงวัย
3. พัฒนาฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาท่มี ีมาตรฐาน เชือ่ มโยงและเข้าถึงได้
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิ
2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิ
3. การวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดล้อม
แนวทางการพฒั นา
1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิในการดำเนนิ ชีวติ
2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ที่
เก่ียวขอ้ งกับการสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ท่ีเป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 36

ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา
เป้าหมาย
1. โครงสรา้ ง บทบาทและระบบการบรหิ ารจัดการการศกึ ษามีความคล่องตวั ชัดเจนและสามารถ
ตรวจสอบได้
2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลตอ่ คุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา

3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
และพน้ื ท่ี

4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรบั ลักษณะ ที่แตกต่าง
กันของผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ

5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้าง
ขวญั กาลงั ใจ และสง่ เสรมิ ให้ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพ

แนวทางการพฒั นา
1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจดั การศึกษา
2. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการสถานศึกษา
3. ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพ
การจัดการศึกษา
5. พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา

นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

เพอื่ ให้การดำเนินการจดั การศึกษาและการบรหิ ารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีความสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
วัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน
เร่ืองการเตรียมคนสูศ่ ตวรรษที่ 21

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั นี้
หลักการ

1. ให้ความสําคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ท้ังบุคลากรทางการศึกษา
ข้าราชการพลเรือน ผู้บริหารทกุ ระดับ ตลอดจนสถานศกึ ษาทุกระดับทุกประเภท และเปน็ การศกึ ษาตลอดชวี ติ

2. บูรณาการการทํางานร่วมกันระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกํากับของ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความคล่องตัว รวมท้ังหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในพ้ืนท่ี
ภูมิภาคให้สามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อดําเนินการปฏิรูปการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค
ประชาชนตามนโยบายประชารฐั

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 37

ระดบั กอ่ นอนุบาล
เน้นประสานงานกับส่วนราชการและชุมชนในการเตรียมความพร้อมผ้เู รียน ทั้งด้านสุขภาพและ

โภชนาการ และจดั ประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่ีเชอ่ื มโยงกบั ระบบโรงเรียนปกติ
ระดับอนบุ าล

เน้นสร้างความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เพื่อออกแบบกิจกรรมการพัฒนาทักษะที่สําคัญ
ด้านต่าง ๆ เช่น ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจํา ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการรู้จักและ
ประเมินตนเอง
ระดบั ประถมศกึ ษา

ม่งุ คาํ นึงถงึ พหปุ ัญญาของผู้เรียนรายบุคคลทแ่ี ตกตา่ งกันตามศักยภาพ ดังน้ี
1. ปลกู ฝงั ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ทศั นคติท่ถี กู ต้อง โดยใชก้ ระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด
2. เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือในการเรียนรวู้ ิชาอน่ื
3. เรียนภาษาอังกฤษและภาษาพนื้ ถน่ิ (ภาษาแม)่ เนน้ เพื่อการส่ือสาร
4. เรยี นรดู้ ว้ ยวิธกี าร Active Learning เพ่อื พัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้ จากประสบการณ์
จรงิ หรือสถานการณ์จําลองผา่ นการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศนม์ ุมมองร่วมกันระหว่างผู้เรียนกับครูด้วยการ
จัดการเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ มากขน้ึ
5. สร้างแพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั เพือ่ การเรียนรู้ และใชด้ จิ ิทัลเป็นเครอ่ื งมอื การเรยี นรู้
6. จดั การเรียนการสอนเพือ่ ฝึกทักษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเปน็ ขนั้ ตอน (Coding)
7. พฒั นาครูใหม้ คี วามชํานาญในการสอนภาษาองั กฤษและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)
8. จดั ให้มโี ครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรียนคุณภาพ เน้นปรับสภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอก
บรเิ วณโรงเรียนใหเ้ อ้ือตอ่ การสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ
ระดบั มธั ยมศกึ ษา
มงุ่ ต่อยอดระดบั ประถมศึกษา ด้วยจดุ เน้น ดังน้ี
1. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาที่สาม)
2. จัดการเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย เพ่ือสร้างทักษะพืน้ ฐานท่เี ช่อื มโยงสกู่ ารสรา้ งอาชพี และการมงี านทาํ
ระดับอาชวี ศึกษา
มุ่งจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทําและสร้างนวตั กรรมตามความต้องการของพ้ืนที่ชุมชน ภูมิภาค
หรอื ประเทศ รวมทั้งการเปน็ ผปู้ ระกอบการเองด้วยจดุ เนน้ ดังนี้
1. จัดการศกึ ษาในระบบทวภิ าคี ให้ผูเ้ รียนมที ักษะและความเชยี่ วชาญเฉพาะด้าน
2. เรยี นภาษาอังกฤษ เพ่อื เพิม่ ทักษะสําหรบั ใช้ในการประกอบอาชพี
3. เรยี นร้กู ารใช้ดจิ ิทัล เพ่อื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือสาํ หรบั ในการสรา้ งอาชีพ
4. จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลติ และพฒั นากาํ ลังคนอาชวี ศึกษาในภูมิภาค
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ม่งุ สร้างโอกาสให้ประชาชนผเู้ รยี นที่สาเร็จหลกั สูตร สามารถมีงานทา ด้วยจดุ เนน้ ดงั น้ี
1. เรียนรกู้ ารใช้ดจิ ิทลั เพื่อใชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื สาหรับหาชอ่ งทางในการสรา้ งอาชพี
2. จดั ทาหลักสตู รพัฒนาอาชีพท่ีเหมาะสมสาหรบั ผทู้ เี่ ข้สู่สงั คมสูงวยั

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 38

การขับเคล่ือนสู่การปฏบิ ัติ
1. ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต้องปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการให้สอดคลอ้ งกับ

นโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใช้งบประมาณเป็นรายไตรมาส รวมท้ังใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม
กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ งบงั คบั ท่เี กย่ี วขอ้ ง

2. จดั ทาฐานข้อมลู (Big Data) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใหค้ รบถ้วน ถกู ตอ้ ง ทนั สมัย
3. ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการพัฒนางานท้ังระบบ เน้นการเรียนรู้และการ
บริหารจัดการ
4 ปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการให้เกิดความคล่องตัว หากติดขัดในเร่ืองข้อ
กฎหมายให้บรหิ ารระดบั สูงร่วมหาแนวทางการแกไ้ ขรว่ มกนั
5. ให้หน่วยงานระดับกรมกำหนดแผนงานสนับสนุนทรัพยากร งบประมาณ อัตรากาลังตาม
ความตอ้ งการจำเปน็ ใหแ้ ก่หนว่ ยงานในพ้ืนทภี่ มู ิภาค
6. ใช้กลไกกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มาบูรณาการการดำเนินงานรว่ มกับหน่วย
จดั การศกึ ษา
7. เร่งทบทวน (ร่าง)พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ......... โดยปรับปรงุ สาระสำคัญให้
เอ้อื ตอ่ การขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาล
8. ในระดับพ้ืนท่ีหากเกิดปัญหาข้อตดิ ขัดการปฏิบัติงาน ตอ้ งศึกษา ตรวจสอบข้อมูล/ข้อเท็จจริง
ที่เกิดข้ึน เช่น จำนวนเด็กในพื้นที่น้อยลง ซึ่งจำเป็นต้องมีการควบรวมโรงเรยี น ให้พิจารณาส่ือสารอธิบายทา
ความเขา้ ใจทช่ี ดั เจนกบั ชมุ ชน
9. วางแผนการใช้อัตรากาลัง โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดับอาชีวศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ และจัดทาแผนการประเมินครูอย่างเป็นระบบ รวมท้ังจัดทาหลักสูตรการพัฒนาครูให้มีองค์
ความรูแ้ ละทักษะในดา้ นพหปุ ญั ญาของผเู้ รยี น
10. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทาแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัด นาเสนอต่อ
คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั และขับเคลือ่ นสู่การปฏิบตั ิอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
11. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทหน้าที่ตรวจราชการ
ตดิ ตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
อน่ึง สาหรบั ภารกิจของส่วนราชการหลกั และหนว่ ยงานทป่ี ฏิบตั งิ านตามปกติ (Function) งานใน
เชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนที่ (Area) ซ่ึงได้ดำเนินการอยู่ก่อนน้ัน หากรัฐบาลหรือ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายสำคัญเพมิ่ เติมในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 นอกเหนือจากที่กำหนด หากมคี วาม
สอดคล้องกับหลักการในข้างต้น ให้ถอื เป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่งรัด
กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบใหก้ ารดำเนนิ การเกดิ ผลสำเรจ็ และมีประสิทธิภาพอย่างเปน็ รปู ธรรมดว้ ยเช่นกัน

ทศิ ทางการพัฒนาภาค ในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12

สานักงานการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) ได้จัดทาทิศทางการพัฒนาภาคใน
ระยะ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการแปลงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 สู่การปฏิบัติอย่างเป็น
รูปธรรม วัตถุประสงค์การจัดทาทิศทางการพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 เพ่ือกำหนดทิศทาง
การพัฒนา เชิงพ้ืนท่ตี ามศักยภาพภูมิสงั คมของแต่ละภาคท่ีเชอ่ื มโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 12 โดยยดึ แนวคิดการพัฒนาตามหลัก “ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้เกดิ การพัฒนาท่ีสมดุล
เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันผลกระทบการเปล่ียนแปลงทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ ควบคู่กับ
“การพัฒนาอย่างบูรณาการและเป็นองค์รวม ที่เชื่อมโยงการพัฒนาทุกมิติทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 39

วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ้ ม และความมั่นคง” และ“การพฒั นาให้สอดคล้องกับภมู ิสังคม” ท่ีแต่ละพ้ืนท่ีมคี วามต่าง
ของ ศักยภาพวิถีชีวิต วัฒนธรรม อัตลักษณ์ธรรมชำติรวมท้ัง “ความเช่ือมโยงสอดคล้องกับทิศทางของ แผน
พัฒนาฯ ฉบับท่ี 12” ซ่ึงมีเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลางและพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีดังนี้
“ภาคกลาง” เป็นฐานการผลิตสินค้ำและบริการท่ีมีมูลค่ำสูง รวมท้ังพัฒนา “กรุงเทพมหานคร” สู่ มหานคร
ทันสมัยระดับโลกควบคูก่ บั การพัฒนาคุณภาพชีวติ และแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มเมือง เป็นศนู ย์กลาง การค้ำและ
อุตสาหกรรมสีเขียวชน้ั น้ำของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ให้ภาคกลางเป็นฐานการผลิตอาหาร และสินค้า
เกษตรที่มีคุณภาพปลอดภัยและได้มาตรฐาน พัฒนาธุรกิจการค้ำและบริการให้มีคุณภาพ เป็นศูนย์รวม การ
ทอ่ งเทยี่ วของเอเชีย และมีการบริหารจัดการนำ้ อย่างมีประสิทธภิ าพ พฒั นาแหล่งน้ำเพิ่มเติมเพื่อรองรับ ความ
ตอ้ งการใชน้ ้ำท่เี พิ่มขนึ้ จากการขยายตวั ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และชมุ ชนได้อยา่ งพอเพยี งและ มีเสถียรภาพ
รวมถึงแนวทางการพัฒนาเมือง “ปริมณฑล” ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการบริการธุรกิจและ การพาณิชย์
ศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกสศ์ ูนย์บริการด้านสุขภาพ การศกึ ษา และเมืองที่อย่อู าศัยตลอดจนการจัดการ
ส่ิงแวดล้อม ให้เอ้ือต่อการอยู่อาศัยการเดินทางและการขนส่งโดยสะดวกและปลอดภัย การป้องกันน้ำท่วม
แก้ไขปัญหาน้ำเสีย การจัดให้มีพื้นที่สีเขียว ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบด้วย 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนา คุณภาพชีวิตและแก้ไข
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีชือ่ เสียงระดับน้ำน้ำชำติ และสร้าง
ความ เชื่อมโยงเพื่อกระจายการท่องเท่ียวท่ัวทั้งภาค ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยกระดับการผลิตสินค้ำเกษตรและ
อุตสาหกรรมโดยใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้อย่างย่ังยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 บริหารจัดการน้ำและทรัพยากรธรรมชำติเพ่ือแก้ไขปัญหาน้ำท่วมภัยแล้ง และคงความสมดุล
ของระบบนิเวศอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 5 เปิดประตูการค้า การลงทุน และการท่องเท่ียว เชื่อมโยงเขต
เศรษฐกจิ พิเศษ ทวาย-ภาคกลาง-ระเบียบเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 พัฒนาความเช่ือมโยง
เศรษฐกิจและสังคมกับทุกภาคเพ่ือเสริมสร้าง เสถียรภาพและลดความเหลื่อมล้ำภายในประเทศ โดยประเด็น
การพัฒนาภาคกลางท่ีสอดคล้องกับกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑล และพ้ืนที่ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ การ
พัฒนามาตรฐานฟารม์ เพ่ือผลิตอาหารปลอดภัย การสง่ เสรมิ การใช้ เทคโนโลยีการเกษตรเพื่อยกระดับสู่ Smart
Farmer และ Smart Farming การพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการ บริการธุรกิจและการพาณิชย์ ศูนย์กลางการ
ขนส่งและโลจิสติกส์ ศูนย์บริการด้านสุขภาพและการศึกษาและ เมืองท่ีอยู่อาศัย การเพ่ิมความสามารถการ
แข่งขันอุตสาหกรรมสู่การใช้เทคโนโลยีที่สูงข้ึนเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนและ
ระบบขนส่งสาธารณะ การแก้ไขปัญหาขยะ น้ำเสีย น้ำท่วม/ มลภาวะทางอากาศ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ
บรหิ ารจัดการน้ำ การพัฒนาแหล่ง/กจิ กรรมการท่องเท่ียว และเชอื่ มโยงการทอ่ งเท่ยี ว รวมท้ังพัฒนาระบบดูแล
ผู้สงู อายุ

แผนพฒั นากลุ่มจงั หวดั

เปา้ หมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด “ศนู ย์กลางการค้ำการลงทุน บริการธุรกจิ และการพาณิชย์ การ
ผลิต อุตสาหกรรมระดับประเทศ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ ศูนย์กลางบริหารด้านสุขภาพ (Medical Hub) แหล่ง
ผลิต อำหารปลอดภัย การศึกษาระดับมาตรฐานสากล ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สู่การเมืองน่าสอยู่” กำหนด
ประเด็นการพัฒนา ดังน้ี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนานวัตกรรมด้านการผลิต และยกระดับอุตสาหกรรม
เกษตร อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมที่ได้มาตรฐาน รองรับการเติบโตระดับโลกของกรุงเทพมหานคร
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ เมือง ชุมชนอย่างเป็นระบบ พัฒนาการ
บริหารจัดการน้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและย่ังยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนา
เมืองและยกระดับคุณภาพชีวิตและความปลอดภยั ของประชำชน ส่งเสรมิ บริการทางการแพทย์และการศึกษา

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 40

สู่การเปน็ สังคมน่าอยู่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยว และส่งเสรมิ การท่องเทยี่ วเชงิ อนุรกั ษ์และ
วฒั นธรรม อย่างครบวงจร

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ประเด็นการพัฒนาของจังหวัด ตามที่รัฐบาลไดประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และ กําหนดยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) เปนแผนแมบทหลัก
ของการพัฒนาประเทศ เพื่อใหประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง และยั่งยืน ซ่ึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 12 กาํ หนดเปาหมายที่ตองการบรรลุอยางชัดเจน ประกอบดวย ดานเศรษฐกิจ สงั คม และส่ิง
แวดลอม โดยเฉพาะ ยุทธศาสตรท่ี 9 การพัฒนาภาคเมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ซ่ึงเปนการดําเนินยุทธศาสตร
เชงิ รุก เพอื่ เสริมจุดเดน ในระดับจังหวดั และระดับภาคในการเปนฐานการผลติ และบริการท่ีสําคญั โดยเนนการ
พัฒนาที่ยึดพ้ืนท่ีเปน ตัวต้ังและการเสริมสรางความเขมแข็งใหแกกลไกบริหารจัดการเชิงพ้ืนท่ีแบบบูรณาการ
ระหวางภาคสวนตาง ๆ โดยยึดหลักพื้นที่ ภารกิจ และการมีสวนรวม ในการขับเคลื่อนการพัฒนาใหบรรลุผล
สอดคลองกับแผนพัฒนา ในระดับตาง ๆ ตลอดจนนโยบายที่สําคัญของรัฐบาล และความตองการของ
ประชาชนในพื้นที่ จังหวัด พระนครศรอี ยุธยาจึงไดกาํ หนดประเดน็ การพัฒนา ดังนี้

ประเดน็ การพฒั นาที่ 1 พฒั นาคุณภาพการทองเทีย่ วและการบรกิ ารสูมาตรฐานสากล
ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 พัฒนาเมอื งและชุมชนใหนาอยู
ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 พัฒนาการผลติ ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคาและบรกิ ารโดยใชนวัตกรรมและ

ภมู ปิ ญญาท่สี รางสรรค
ประเด็นการพัฒนาท่ีมีความสําคัญลําดับที่ 1 ไดแก ประเด็นการพัฒนาที่ 1 พัฒนาคุณภาพ
การทองเที่ยวและการบริการสูมาตรฐานสากล เนื่องจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีอุทยานประวัติศาสตร
พระนครศรีอยุธยาท่ีไดรับการขนึ้ ทะเบียนเปนมรดกโลกและมีแหลงทองเท่ียวซ่ึงกรมการทองเท่ยี วไดรวบรวม
ในฐานขอมูลในป พ.ศ.2561 จํานวน 4 ประเภท จํานวน 73 แหง ไดแก แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร
จาํ นวน 57 แหง อาทิ พระราชวังหลวงหรือพระราชวงั โบราณ พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา วัดพระ
ศรีสรรเพชญ วิหารพระมงคลบพิตร วัดใหญชัยมงคล วัดหนาพระเมรุ วัดไชยวัฒนาราม เปนตน แหลงทอง
เท่ียวทางวัฒนธรรม จํานวน 10 แหง เชน คลองรางจระเขโฮมสเตย มัสยิดกุฎีชอฟา แหลงทองเท่ียว
เชงิ นันทนาการ จํานวน 3 แหง เชน ตลาดโกงโคง ตลาดนํา้ อโยธา เปนตน แหลงทองเที่ยวทางศิลปะวิทยาการ
จาํ นวน 3 แหง เชน หมูบานฮอลนั ดา ศนู ยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ ศูนยทองเท่ียวทางวฒั นธรรม และ
ภมู ิปญญาทองถ่ิน เปนตน โดยรายไดจากการทองเท่ยี วของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ในป พ.ศ. 2561 มรี ายได
เทากับ 19,016.22 ลานบาท ซ่ึงเพิ่มข้ึนจากป พ.ศ. 2560 ที่มีจํานวนเทากับ 16,901.48 ลานบาท คิดเปน
รอยละ 12.51 และจํานวนผูเยี่ยมเยือนต้ังแตป พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2561 เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยใน ป
พ.ศ. 2561 มีจํานวนผูเยี่ยมเยือนท้ังสิ้น 8,349,613 คน เพ่ิมขึ้นจากป พ.ศ. 2560 ท่ีมีจํานวนผูเยี่ยมเยือน
เทากบั 7,631,557 คน คิดเปนรอยละ 9.41 และพบวาสวนใหญเปนผูเย่ียมเยอื นท่ีเปนชาวไทย คดิ เปนรอยละ
79.72 จากการเติบโตของภาคการทองเท่ียว ดังนั้นจังหวัดจึงใหความสําคัญการพัฒนาภาคการทองเท่ียว
เปนลาํ ดบั แรก

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 41

ประเด็นการพัฒนาท่ีมีความสําคัญลําดับท่ี 2 ไดแก ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 พัฒนาเมืองและ
ชมุ ชน ใหนาอยู พบวา ในชวงระหวางป พ.ศ. 2559- 2561 ประชากรมีแนวโนมเพ่ิมขน้ึ อยางตอเนอื่ งทุกป โดย
ในป พ.ศ. 2560 มีประชากรรวม 813,852 คน เพ่ิมขนึ้ จากป พ.ศ. 2559 รอยละ 0.44 โดยเปนประชากรเพศ
ชาย รอยละ 48.18 และประชากรเพศหญิง รอยละ 51.82 ทง้ั นี้ประชากรของจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยามีโครง
สราง ประชากรเปนสังคมผูสูงอายุมากขึ้น ซ่ึงในป พ.ศ. 2561 ประชากรที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป มีจํานวนเทากับ
142,868 คน คิดเปนรอยละ 17.48 จากประชากรทั้งหมด ซ่ึงมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึนอยางตอเน่ืองจากป
พ.ศ. 2559 และมีสัดสวนคนอายยุ นื ตง้ั แต 80 ปขึ้นไป เทากับ รอยละ 2.93 (ลาํ ดบั ที่ 12 ของประเทศ) สําหรับ
ดานความมั่นคง จากสถิติพบวา มีอัตราการเกิดคดีอาชญากรรมตอประชากรแสนคน เทากับ 160 คดีตอ
ประชากรแสนคน (ลําดับท่ี 71 ของประเทศ) ซึ่งสูงกวาคาเฉล่ียของประเทศ จํานวนการแจงความคดี ชีวิต
รางกาย เพศ และคดีประทุษรายตอทรัพยในป พ.ศ. 2562 เทากับ 116.22 รายตอประชากรแสนคน และมี
สัดสวนคดีที่จับกุมไดตอคดีท่ีรับแจง เทากับ รอยละ 48.65 (ลําดับท่ี 67 ของประเทศ) ซึ่งตํ่ากวาคาเฉล่ียของ
ประเทศ สวนดานทรัพยากรธรรมชาติ ในป พ.ศ. 2560 มีการรองเรียนปญหาดานส่ิงแวดลอมของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาเพิ่มข้ึน อยางไรก็ตามจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนจังหวัดนํารองการกําจัดขยะ
ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแหงชาติและกระทรวงมหาดไทย ซึ่งจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยามีองคการ
ปกครองสวนทองถน่ิ ท้ังหมด 185 แหง ประกอบดวย องคการบริหารสวนจงั หวดั 1 แหง เทศบาลนคร 1 แหง
เทศบาลเมือง 4 แหง เทศบาลตาํ บล 31 แหง และองคการบริหารสวนตาํ บล 121 แหง และมกี ารรวมกลุมพน้ื ที่
ในการจัดการขยะมูลฝอย (Clusters) จากผลการดําเนินงานที่ผานมาทําใหสัดสวนของขยะมูลฝอยชุมชน
ท่ีไดรับการจัดการอยางถูกตอง มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น เปนรอยละ 78.71 (ลําดับท่ี 21 ของประเทศ) ซ่ึงในป
พ.ศ. 2558 มีสัดสวนเพียงรอยละ 16.65 สงผลใหลําดับของจังหวัดท่ีมีการจัดการขยะมูลฝอยอยางถูกตอง
จาก ลําดับที่ 61 เปนลําดับที่ 21 ดังนั้นจังหวัดควรใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะ
อยางย่ิงผูสูงอายุ เสริมสรางความมั่นคง ความปลอดภัยในสังคม และชวยกันจัดการปญหาขยะมลู ฝอย เพื่อให
จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยาเปนเมอื งทนี่ าอยู

ประเดน็ การพฒั นาท่ีมคี วามสําคญั ลําดับท่ี 3 ไดแก ประเด็นการพัฒนาที่ 3 พัฒนาการผลิตภาค
เกษตร อุตสาหกรรม การคาและบริการโดยใชนวัตกรรมและภูมิปญญาท่ีสรางสรรค พ้ืนที่ของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาสวนใหญใชประโยชนทางการเกษตรสูงถึง 1,178,345 ไร คิดเปนรอยละ 73.74 ของพื้นที่
ทั้งหมด มีสัดสวนมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดภาคเกษตรตอผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดท้ังหมด เทากับ
รอยละ 1.37 ท้ังน้ีมีอัตราเพ่ิมเฉล่ียของผลผลติ สินคาเกษตรสําคัญเฉล่ียตอไร (พืช) เทากับรอยละ 5.17 (ลําดับ
ที่ 36 ของประเทศ) สวนดานอุตสาหกรรม พบวา มีสัดสวนผลิตภณั ฑมวลรวมสาขาอุตสาหกรรมตอผลิตภัณฑ
มวลรวมทั้งหมด เทากับ รอยละ 67.26 และมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ย เทากับ -2.37 เนื่องจากจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา มีนิคมอุตสาหกรรม จํานวน 3 แหง และเขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แหง นอกจากนี้
ในปพ.ศ. 2561 จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจํานวนผูประกอบการ MICRO, S, M (ตามนิยามใหม) เทากับ
40,730 ราย โดยจําแนกตามขนาดประเภท ดังนี้ นิติบุคคล จํานวน 7,997 ราย สวนบุคคล วิสาหกิจชุมชน
จํานวน 361 ราย สวนบุคคลและอ่ืนๆ จํานวน 32,373 ราย หากจําแนกตามขนาดธุรกิจ ขนาด M จํานวน 560
ราย ขนาด S จํานวน 4,598 ราย และขนาด Micro จํานวน 35,572 ราย สวนรายไดจากการจําหนาย สินคา
OTOP ป พ.ศ.2561 เทากับ 3,693,480,267 บาท ซึ่งมีอัตราการขยายตัวเทากับ 23.41 ดังน้ันจังหวัด
จงึ ใหความสําคัญในการพัฒนาภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคาและบรกิ ารเปนลาํ ดับทีส่ าม

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 42

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 43

โครงสรา้ งการบริหารงานสานักงานศึกษาธิการจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา แบ่งกลุ่มงานภายในออกเป็น 8 กลมุ่ ดงั น้ี
1. กลุ่มอำนวยการ มหี นา้ ท่รี บั ผดิ ชอบดังนี้

1.1 รับผิดชอบงานธุรการของ กศจ. คณะอนุกรรมการและคณะทางานรวมทั้งปฏิบัติงาน
ราชการท่เี ป็นไปตามอำนาจหนา้ ทขี่ อง กศจ. และตามท่ี กศจ. มอบหมาย

1.2 ปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของกระทรวงศึกษาธิการและประสานงาน
ต่าง ๆ ในระดบั จังหวัด

1.3 ดำเนินงานเกี่ยวกบั งานบรหิ ารทั่วไป
1.4 ดำเนนิ งานเกย่ี วกับงานบรหิ ารการเงนิ บัญชี และพัสดุ
1.5 ดำเนินงานเก่ยี วกับระบบบริหารงานและการควบคุมภายใน
1.6 ดำเนินงานเก่ียวกับงานประชาสัมพันธ์ เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของสานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด และหน่วยงานทางการศึกษาในพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบ
1.7 ดำเนินงานเกี่ยวกับอาคารสถานท่ี สิง่ แวดล้อม และยานพาหนะ
1.8 ดำเนนิ งานเกี่ยวกับงานบรหิ ารงานบุคคลของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด
1.9 ดำเนนิ งานเกย่ี วกับงานพัฒนาองค์กร
1.10 ปฏิบัติภารกิจเกย่ี วกบั ราชการประจำท่ัวไปของกระทรวงศึกษาธิการและประสานงาน
ตา่ ง ๆ ระดับ จังหวดั
1.11 ปฏิบัติงานรว่ มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอืน่ ทเ่ี กีย่ วข้องหรือที่ไดร้ ับ
มอบหมาย
2. กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล มหี น้าที่รับผิดชอบดังนี้
2.1 รบั ผิดชอบงานธุรการของ อกศจ. และคณะทางานท่ีเกยี่ วขอ้ ง รวมทั้งปฏิบัติงานราชการ
ทเ่ี ป็นไป ตามอำนาจหนา้ ที่ของ อกศจ. และตามท่ี อกศจ. มอบหมาย
2.2 เสนอแนะเกี่ยวกับการกาหนดจำนวนและอัตราตำแหน่ง การเกล่ียอัตรากาลังให้
สอดคล้องกับ นโยบายการบรหิ ารงานบคุ คล ระเบยี บ หลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด
2.3 เสนอแนะเก่ียวกับการพิจารณาวิทยฐานะ ความดีความชอบ การเสริมสร้างขวญั กาลังใจ
การยกยอ่ ง เชิดชูเกยี รติ และสทิ ธปิ ระโยชน์อนื่ ของข้าราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา
2.4 เสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาการเสริมสร้างการปกป้องคุ้มครอง
ระบบ คุณธรรมของขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา
2.5 เสนอแนะเกี่ยวกับการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เช่น
การบรรจุและ การแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับการคัดเลอื ก การย้าย การโอน การเปลี่ยนตำแหน่งและ
การเล่อื นตำแหน่ง การบรรจุกลบั เขา้ รับราชการ เป็นตน้
2.6 นาเสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือพิจารณาความดีความชอบของผู้บริหาร
สถานศึกษา ผ้บู ริหารการศึกษาในหน่วยงานการศกึ ษาและข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในจังหวัด
2.7 เสริมสร้างขวัญกาลังใจ การยกย่องเชิดชูเกียรติ และสิทธิประโยชน์อ่ืนของข้าราชการ
และบุคลากร ทางการศกึ ษา
2.8 ดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ การร้องทุกข์ของข้าราชการ และ
บุคลากร ทางการศึกษา
2.9 จดั ทาแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงาน
การศึกษาในพนื้ ที่รับผิดชอบ

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 55

2.10 จัดทาทะเบยี นประวตั ขิ ้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบ
2.11 จดั ทามาตรฐานคณุ ภาพงาน กาหนดภาระงานขนั้ ตำ่ และเกณฑ์การประเมนิ ผลงานสา
หรบั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ
2.12 ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทารายงานการบริหารงานบุคคลเสนอ
อกศจ.เพื่อเสนอต่อ ก.ค.ศ.
2.13 ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเป็น
เลศิ ทางวิชาการและวิชาชพี
2.14 ดำเนินการให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียน ข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา และประชาชนผา่ นระบบศูนยบ์ ริการแบบเบ็ดเสรจ็
2.15 ดูแลและควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณ ของวิชาชีพตามที่คุรุสภากาหนด รวมทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริมยกย่องและพัฒนาวิชาชีพตาม
มาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
2.16 ปฏิบัตงิ านรว่ มกับหรอื สนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอื่นท่เี กย่ี วขอ้ งหรือทไี่ ด้รับ
มอบหมาย
3. กลุม่ นโยบายและแผน มีหน้าที่รบั ผดิ ชอบดังน้ี
3.1 ร่วมรับผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการเก่ียวกับการพัฒนาการศึกษาและคณะ
ทางานที่ เกยี่ วข้องรวมทง้ั ปฏิบัติงานราชการที่เป็นไปตามอำนาจหนา้ ที่ของ กศจ. และตามที่ กศจ. มอบหมาย
รว่ มกับกลมุ่ พฒั นาการศึกษา
3.2 จัดทาข้อเสนอยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษาในจังหวัดที่สอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ
3.3 จัดทาแผนพฒั นาการศกึ ษาของจังหวดั และแผนปฏิบตั ิการของจงั หวดั
3.4 จัดทาแผนปฏิบัติราชการของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดรวมท้ังการติดตามและ
รายงานผลการปฏบิ ัติราชการของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั
3.5 วิเคราะ ห์ ก ารจัดต้ังงบ ป ระ มาณ ขอ งส่วน ราชก ารห รือ ห น่ วยงาน ใน สังกั ด
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในจังหวดั
3.6 จัดระบบ ส่งเสริมและประสานงานระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาที่
ครอบคลมุ ถูกต้อง และเป็นปัจจุบนั เพอื่ วางแผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมินและรายงานผล
3.7 ติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณ
3.8 ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอื่นที่เก่ียวข้องหรอื ที่ได้รับ
มอบหมาย
4. กลมุ่ พัฒนาการศึกษา มีหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบดังนี้
4.1 รว่ มรับผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาและคณะ
ทางานที่เก่ียวข้องรวมท้ังปฏิบัติงานราชการท่ีเป็นไปตามอำนาจหน้าท่ีของ กศจ. และตามท่ี กศจ. มอบหมาย
รว่ มกบั กล่มุ นโยบายและแผน
4.2 ดำเนนิ การเกย่ี วกับการจดั ต้งั ยุบ รวม เลกิ และโอนสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
4.3 จัดระบบส่งเสริมและประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
การศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีดิจิตอลเพือ่ การศึกษาและระบบบรกิ ารอเิ ล็กทรอนิกส์ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพและสามารถ
ให้บริการได้ โดยสะดวก รวมถึงการพัฒนาบุคลากรให้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทันการ
เปลย่ี นแปลง

แผนพฒั นาการศึกษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 56

4.4 สง่ เสริม สนับสนุนการศกึ ษาเพื่อคนพกิ าร ผ้ดู อ้ ยโอกาสและผู้มคี วามสามารถพิเศษ
4.5 ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และ
นวัตกรรม การศกึ ษา
4.6 ส่งเสริมสนับสนนุ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
4.7 จัดระบบการประสานงาน สนับสนุน ช่วยเหลือ และการรายงานเหตภุ ัยพิบัติและภาวะ
วกิ ฤตทาง การศกึ ษาในจงั หวัด
4.8 ส่งเสริม สนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
สถานศกึ ษา
4.9 ส่งเสริมและประสานงานการศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา
4.10 สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ประสานและส่งเสริมการ
บริหารและ การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
ของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบันสงั คมอ่นื ทจี่ ัดการศกึ ษา เพ่อื สร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
4.11 สง่ เสริมและพฒั นาการจัดการศกึ ษาเฉพาะกิจ เฉพาะกลุ่ม เฉพาะพื้นท่ี
4.12 ปฏบิ ัตงิ านร่วมกบั หรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอื่นท่ีเก่ยี วขอ้ งหรือทไี่ ด้รับ
มอบหมาย
5. กล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล มหี น้าทรี่ ับผิดชอบดังนี้
5.1 รบั ผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์และคณะทา
งานท่ี เก่ยี วขอ้ งรวมทั้งปฏิบัติงานราชการทเี่ ป็นไปตามอำนาจหน้าท่ีของ กศจ. และตามที่ กศจ. มอบหมาย
5.2 ขับเคล่ือน ประสานงาน เร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารจัด
การศึกษา ของหน่วยงานทางการศึกษาในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในพืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
5.3 ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเก่ียวกับงานด้านวิชาการ การนิเทศ งานแนะแนว
การศกึ ษาทกุ ระดับและทกุ ประเภทรวมทัง้ ติดตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจัดการศึกษา
5.4 ประสานและสนบั สนนุ การตรวจราชการของผูต้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
5.5 ศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มลู สารสนเทศ เพ่ือสนับสนนุ การตรวจราชการ จัดทาแผนการรับรอง
การตรวจ ราชการ และดำเนินการเก่ียวกับการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงในการตรวจราชการ
ตดิ ตาม และ ประเมนิ ผลตามนโยบายและแผนการตรวจราชการของกระทรวง
5.6 สง่ เสรมิ และพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
และส่ือการ เรียนร้ตู า่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การสร้างเสรมิ คุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม
5.7 สั่งการ กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือ
หน่วยงานและ สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ และ ยุทธศาสตรช์ าติ
5.8 จดั ทากรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและกาหนดตัวช้ีวัดการดำเนินงานในลักษณะ
ตวั ชวี้ ดั รว่ ม ของสว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานศึกษาในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในจังหวดั
5.9 ขับเคล่ือนระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา
5.10 ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนที่เกยี่ วขอ้ งหรอื ทไี่ ดร้ ับ
มอบหมาย

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 57

6. กล่มุ สง่ เสริมการศึกษาเอกชน มหี นา้ ที่รับผิดชอบดังนี้
6.1 กากับ ดูแล ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วย

โรงเรยี นเอกชน
6.2 ดำเนินการเก่ียวกับการออกใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน และการเปล่ียนแปลงกิจการ

โรงเรียนเอกชน
6.3 ดำเนนิ การเกี่ยวกบั การสงเคราะห์และเงินทดแทนตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงเรียนเอกชนท่ี

กฎหมาย อ่นื กาหนด
6.4 ดำเนินการอ่ืนเก่ียวกับงานการศึกษาเอกชนตามท่ีกฎหมายกาหนด
6.5 ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ

มอบหมาย
7. กลุม่ ลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น มีหน้าทร่ี ับผิดชอบดังนี้
7.1 ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการและประสานเกี่ยวกับกิจการลูกเสือ ยุวกาชาด และ

กิจการนักเรียน
7.2 ส่งเสริม สนับสนุน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อการพัฒนานักเรียนนักศึกษา โดยผ่าน

กระบวนการ ลกู เสือและยวุ กาชาด
7.3 ส่งเสริม สนับสนุนการน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา พระราชปณิธาน พระ

ราชกระแส ดา้ นการศกึ ษาและโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริทเี่ กี่ยวกบั การศกึ ษา
7.4 สง่ เสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ

และความ ปรองดอง สมานฉนั ท์
7.5 สร้างจติ สานึกรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มีคุณธรรมจริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบัตใิ นการดำเนินชีวิต
7.6 ส่งเสรมิ การปอ้ งกัน แก้ไข และคุ้มครองความประพฤตินกั เรียน นกั ศึกษา
7.7 ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ

มอบหมาย
8. หน่วยตรวจสอบภายใน มหี นา้ ที่รับผดิ ชอบดงั น้ี
8.1 ดำเนินการเก่ียวกับการตรวจสอบด้านการบริหารการเงินและการบญั ชีของสว่ นราชการ

หรอื หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ
8.2 ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องหรือที่ได้รับ

มอบหมาย

สถานการณ์และแนวโนม้ การจดั การศึกษาในจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environment Analysis) ด้านการศึกษาของหน่วยงานการศึกษา
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาทั้งภายนอกและภายในดว้ ยเครื่องมือ SWOT Analysis เป็นเครื่องมือพ้ืนฐานในการ
วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์เพื่อให้ทราบบริบทของการจัดการศึกษาว่าเป็นอย่างไร พบว่าปัจจัยท่ีเป็นโอกาสหรือ
ข้อจำกัดและจดุ แข็งหรือจุดอ่อนที่ส่งผลกระทบ และควรพัฒนาตามสภาพความเปน็ จริง ดงั น้ี

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 58

1. การวเิ คราะห์ปจั จยั ภายใน (Internal Factors Analysis)
1.1 จุดแข็ง (Strength)
1) สถาบันการศึกษามีการจดั การศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตั้งแตร่ ะดับ

ปฐมวยั จนถงึ ระดบั อดุ มศกึ ษา
2) สถาบันการศึกษามีการจัดการศึกษาเฉพาะด้านในการอนุรักษ์ เผยแพร่ สร้างสรรค์

ศิลปวัฒนธรรม ดนตรี กีฬา และอาชีพท่ีมีศักยภาพส่งผลให้ประชาชนในพ้ืนที่มีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง
ท่ัวถงึ

3) สถาบันการศึกษานาพระราชดำรัส “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาใช้ในการ
จดั การเรยี นการสอน และส่งเสรมิ การเรียนรู้ในการดำรงชวี ีติตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

4) สถาบนั การศึกษา ได้รบั การรับรองมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาจากสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)

5) สถาบันการศึกษามกี ารดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นอย่างเป็นระบบ
6) สถาบันการศึกษามีและใชส้ ื่อเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการการสอนอยา่ งทว่ั ถึง
7) สถาบันการศึกษามีเครือข่ายหน่วยงานทางการศึกษาท่ีมีความเข็มแข็งในการบริหาร
จดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล
8) สถาบันการศึกษามีการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน บรรลุเป้าหมาย
ได้ใช้ศกั ยภาพอย่างเต็มที่ เพือ่ เป็นแบบอยา่ งการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื
9) ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษามีวุฒิการศึกษา และได้รับการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง ด้วยวธิ ที ีห่ ลากหลาย มีการพฒั นาตนเองตามแผนพัฒนาตนเอง (ID plan)
10) บุคลากร มกี ารทางานเปน็ ทีมสามารถปฏิบัติภารกจิ ตามหน้าทไ่ี ดอ้ ย่างครบถว้ นตาม
บทบาทหน้าที่ มีสมรรถนะสอดคล้องกับภารงานและมาตรฐานวชิ าชีพ พัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถปฏิบตั ิงาน
ไดบ้ รรลเุ ป้าหมายในสภาวะการเปลยี่ นแปลง
11) ผ้เู รยี น มีคณุ ธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1.2 จุดอ่อน (Weakness)
1) สถาบันการศึกษาในเขตเมืองกับเขตนอกเมืองมีความแตกต่างกันในด้านปัจจัย
กระบวนการ และผลผลิตทางการศึกษา สง่ ผลตอ่ ภาพรวมในการบริหารจัดการศกึ ษา
2) มีสถานศึกษาขนาดเล็กจำนวนมากท่ีมีทรัพยากรทางการศึกษาไม่เพียงพอส่งผลต่อ
การ บรหิ ารจดั การ และคุณภาพการจดั การศึกษา
3) สถานศึกษาส่วนหนึ่งยังไม่สามารถบริหารจัดการหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพ
บรบิ ทท่เี ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว
4) ระบบข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาในภาพรวมของจังหวัด ยังไมค่ รอบคลมุ และไม่
ครบถว้ น
5) ครูผู้สอนส่วนหนึ่งสอนไม่ตรงกับสาชาวิชาเอก และสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวนมาก
เปน็ สถานศกึ ษาขนาดเลก็ ท่ีมีครูไมค่ รบชั้น
6) การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วน
ยงั ไมค่ มุ้ คา่ ไมเ่ กดิ ประโยชน์สูงสุด
7) นักเรียนสว่ นหน่ึงมปี ญั หาด้านการอา่ น การเขียนและขาดทักษะความรู้ความสามารถ
ในการคดิ วเิ คราะห์ การใชเ้ หตุผลและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 59

เพมิ่ สงู ขึน้ 8) คณุ ภาพการศกึ ษามีผลสัมฤทธิ์ตำ่ กวา่ คา่ เฉลย่ี ระดับประเทศ
9) อัตราการออกกลางคันของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษามีแนวโน้ม

10) จำนวนผู้เรยี นสายอาชีพต่ำกว่าเปา้ หมาย
11) การผลิตกาลังคนไม่สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดแรงงาน

2. การวเิ คราะห์ปจั จัยภายนอก (External Factors Analysis)
2.1 โอกาส (Opportunities)

1) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการเปิดโอกาสให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร
สถานศกึ ษาสอดคลอ้ งกับบริบทของพืน้ ที่

2) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กให้มี
ประสทิ ธิภาพ

3) นโยบายการเปิดประชาคมอาเซียน (AEC) ส่งผลต่อโอกาสทางการศึกษาด้านวิชาชีพ

ของผเู้ รียนมากข้ึน
4) ระเบียบ กฎหมาย วา่ ดว้ ยการบริหารจัดการศึกษาเชิงพ้ืนที่ ทาให้การจัดการศึกษามี

เอกภาพ
5) จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยามีแหลง่ เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ทส่ี ่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การ

เรยี นรขู้ องผ้เู รยี นทกุ ระดับ

6) หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครอื ข่ายร่วมจดั และ
สนับสนุนการจัดการศึกษา และพัฒนาศักยภาพความสามารถด้านกีฬา ดนตรี นาฏศิลป์ ตามความสามารถของ

ผู้เรียน
7) การคมนาคมภายในจังหวัดสะดวกสง่ ผลให้ผปู้ กครองมีทางเลือกในการสง่ บุตรหลานเข้า

เรยี นในสถานศึกษาทีต่ อ้ งการ

2. อปุ สรรค (Threat)
1) นโยบายในการจัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายรายหัว เป็นอุปสรรคต่อการบริหาร

จดั การขนาดเล็ก
2) สภาพภูมิศาสตร์ในพื้นท่ีประสบปัญหาภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง ส่งผล

กระทบต่อสภาพเศรษฐกิจในจงั หวัดและมีผลต่อผูป้ กครองที่จะส่งบุตรหลานเข้าเรยี น

3) ทศั นคติ ค่านิยมของผ้ปู กครอง ส่วนหนงึ่ ไมส่ นับสนนุ และไม่เหน็ ความสาคัญของการ
เรยี นทางดา้ นอาชพี

4) ค่านิยมของผู้ปกครอง มักส่งลูกหลานมาเรียนในโรงเรียนยอดนิยมของจังหวัด
ทงั้ รฐั บาลและเอกชน

5) ปัญหาสังคม อบายมุข ยาเสพติด สื่อไม่สร้างสรรค์ แม่วัยใส สถานการณ์ยาเสพติด

ในภาพรวมยงั คงมีความรนุ แรง
6) ผูป้ กครองบางสว่ นมีรายไดต้ ำ่ และไมแ่ น่นอน ส่งผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รยี น

สรุป : สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของการจัดการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นลักษณะเอื้อและแข็ง เหมาะต่อการพัฒนาและต่อยอดความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาแต่ละระดับ
ใหม้ ีคุณภาพ

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563 – 2565 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 60

ส่วนท่ี 3 สาระสำคัญของแผนพฒั นาการศกึ ษา(พ.ศ.2563-2565)
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

การพัฒนาการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี พ.ศ. 2562-2565 มุ่งเน้นโอกาสการเข้าถึง
บริการทางการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำ ยกระดับคุณภาพการศึกษาต้ังแต่เด็กแรกเกิดจนถึงมีงานทำ และมี
มาตรฐานการบริหารจดั การศึกษาของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียมกัน โดยการสร้างความเช่ือมั่นให้แก่
นักเรียน นกั ศึกษา ผปู้ กครอง ประชาชนในพื้นที่ให้ได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาตลอดชวี ิตอย่างเสมอภาค สามาร
พัฒนาเยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรม พึ่งพาตนเองได้ และมีทักษะท่ีสำคัญในศตวรรษท่ี 21 และมีอัตลักษณ์
ความเป็นอยุธยา ตอบสนองความต้องการของพื้นท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสังคมโลก จึงได้กำหนดทิศ
ทางการพัฒนาการศึกษา ปี พ.ศ. 2562-2565 ดังนี้

วสิ ัยทศั น์ (VISION)

ผู้รับบริการการศึกษาได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ก้าวทันต่อการเปล่ยี นแปลง ของโลกศตวรรษท่ี 21 และมีอตั ลกั ษณ์ของชาวอยุธยา

พนั ธกจิ (MISSION)

1. เสริมสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาให้กับผู้รับบริการทุกกลุ่ม ทุกระดับ
ทุกประเภทอย่างท่วั ถงึ และเท่าเทียม

2. พัฒนาคุณภาพการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ทุกระดับ ทุกประเภท ให้มีทักษะในศตวรรษ
ท่ี 21 สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีอตั ลักษณข์ องชาวอยธุ ยา

3. สง่ เสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพตามพหุปัญญาของผรู้ บั บรกิ ารทกุ ชว่ งวัย
4. เสรมิ สร้างและพัฒนาคณุ ภาพและประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
5. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างกำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการพัฒนาอาชีพตาม
ภูมิสังคม

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

1. พัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศทางการศึกษาของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
2. ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีเป็นระบบให้กับผู้รับบริการอย่างทั่วถึงและ
เท่าเทียม
3. พฒั นาคณุ ภาพและกระบวนการเรยี นรู้ของผู้รับบรกิ ารทางการศกึ ษา
4. พฒั นาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
5. ส่งเสริมการผลิตและการพัฒนากำลงั คนทส่ี อดคล้องกับการพฒั นาอาชีพตามภมู ิสังคม

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศทางการศึกษาของจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
เปา้ ประสงค์
มีข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษาของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอย่างถูกต้อง

ครบถว้ น ทันสมัยและใชร้ ่วมกนั ของทกุ หนว่ ยงานทางการศกึ ษา
ตวั ชี้วัด
1. มีระบบการจัดเก็บฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาที่เชื่อมต่ออย่างเป็นระบบและใช้ร่วมกันได้

ทกุ หน่วยงานทางการศึกษาในจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
2. มฐี านข้อมูลกลางด้านการศึกษาของจงั หวดั ทีค่ รอบคลุม ครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมัย
กลยุทธท์ ี่ 1 พฒั นาระบบโปรแกรมฐานข้อมลู ทางการศกึ ษาของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
มาตรการ
พัฒ นาระบบโปรแกรมฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาท่ีเชื่อมต่อกับหน่ วยงานทางการศึกษาใน

จงั หวัดรวมท้งั ผา่ นชอ่ งทางเครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศอน่ื ๆ
กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาระบบฐานข้อมลู กลางด้านการศึกษาที่ครอบคลมุ ครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทันสมัย
มาตรการ
พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาและท่ีเก่ียวข้องของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ครอบคลมุ ครบถว้ น ถกู ต้อง ทันสมยั รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรที่เกยี่ วขอ้ ง

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีเป็นระบบให้กับผู้เรยี นอย่างทั่วถึงและเท่า
เทียม

เป้าประสงค์
ผู้บริหารทางการศึกษาทุกกลุ่ม ทุกระดับและทุกประเภทสามารถเข้าถึงบริการทางการศึกษา
อยา่ งทั่วถึง (Access) และเท่าเทียม (Equity)
ตัวชวี้ ัด
1. สดั สว่ นนกั เรียนระดับปฐมวัย(3-5 ป)ี ตอ่ ประชากรกล่มุ อายุ 3-5 ปี เพ่ิมขน้ึ
2. ประชากรอายุ 6-14 ปี ไดเ้ ข้าเรียนระดับการศกึ ษาภาคบงั คบั ทกุ คน
3. สัดส่วนนักเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (15-17 ป)ี ตอ่ ประชากรกลุม่ อายุ 15-17
ปี เพมิ่ ขึน้
4. สัดส่วนของผพู้ กิ ารเขา้ รบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพิ่มขึ้น
5. ผขู้ าดโอกาสได้รับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพิ่มขนึ้
6. อตั ราการออกกลางคนั ของผ้เู รียนระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานลดลง
กลยทุ ธ์ท่ี 1 จัดระบบการตรวจ ติดตามการเข้าเรียนของผู้เรียนทุกกลุ่ม ทุกระดับ และทุก
ประเภท
มาตรการ
1. ประมวลผลและวเิ คราะห์ข้อมูลการเข้ารับการศกึ ษาของผู้เรียนทุกกลุ่ม ทุกระดบั ทกุ ประเภท
2. จัดระบบการตดิ ตามผูเ้ รียนทกุ กลุ่ม ทุกระดับ ทกุ ประเภท ใหเ้ ข้ารับการศกึ ษาตามเป้าหมาย

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563-2565 จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 62

กลยทุ ธท์ ่ี 2 จัดระบบการติดตามและส่งตอ่ ผู้เรียน
มาตรการ
จัดระบบและโปรแกรมการส่งต่อนักเรียนท่ีออกหรือย้ายสถานศึกษา รวมท้ังระบบการติดตาม
ผู้เรยี นรายบคุ คล
กลยทุ ธท์ ี่ 3 ระดมทนุ และทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา
มาตรการ
จดั ระบบและกระบวนการระดมทุนและทรัพยากรจากทุกภาคสว่ นเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
สำหรับผพู้ กิ าร ด้อยโอกาส และความสามารถพเิ ศษ
กลยทุ ธ์ท่ี 4 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษานอกระบบสำหรบั คนทกุ ช่วงวัย
มาตรการ
1. จัดระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาท่ีทันสมัย สนองตอบความต้องการของ
ผู้เรยี นและผูใ้ ช้บริการอย่างทวั่ ถึงและมีประสทิ ธิภาพ
2. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีความ
หลากหลายและสามารถใหบ้ ริการไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : พัฒนาคุณภาพและกระบวนการเรียนรูข้ องของผู้รบั บริการทางการศึกษา
เปา้ ประสงค์
ผูร้ บั บริการทางการศกึ ษามีทักษะสำคัญจำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพตามพหุ

ปัญญา ดำรงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีอัตลักษณข์ องชาวอยุธยา
ตัวชว้ี ัด
1. ผูเ้ รียนระดบั ปฐมวัยทุกคนมีพฒั นาการสมวยั
2. ผ้รู ับบริการการศกึ ษาทุกคนมีทักษะสำคัญจำเปน็ สำหรับศตวรรษท่ี 21 ที่เหมาะสมกบั ระดับ

การศึกษา (1. ความฉลาดทางเชาว์ปัญญา/อารมณ์ 2. ทักษะการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน 3. ความคิดริเริ่ม
สรา้ งสรรค์ 4. ทกั ษะด้านภาษา/ศิลปะ 5. ความรู้สุขภาพอนามัยและการสร้างภมู ิค้มุ กัน 6. การวางแผนชีวติ /
การเงิน 7. การเป็นผู้ประกอบการใหม่ 8. การทำงานร่วมกับผู้อ่ืน 9. ทักษะการคิดวิเคราะห์/สังเคราะห์ 10.
สวสั ดิภาพร่างกายและจิตใจ)

3. มฐี านข้อมูลการพัฒนาศกั ยภาพตามพหุปัญญาของผู้เรยี น
4. จำนวนสถานศกึ ษาท่ไี ดร้ ับการพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรูต้ ามพหปุ ัญญา
5. ผู้รบั บริการการศึกษาทุกคนนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการดำรงชวี ติ
6. ผู้เรียนทุกคนมีอัตลักษณ์ของชาวอยุธยา (1. มีวินัย 2. ซ่ือสัตย์ 3. มีจิตสาธารณะ 4. รักษ์
ส่ิงแวดลอ้ ม 5. ร้ปู ระวัตศิ าสตร์ 6. รักทอ้ งถิน่ )
กลยุทธท์ ี่ 1 พัฒนาครูส่กู ารพัฒนาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
มาตรการ
1. พัฒนาเจตคติ และเทคนิคทักษะการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะ และกระบวนการ
เรยี นรขู้ องผเู้ รยี น (Active Learning : AL) ตามพหุปญั ญา
2. สง่ เสริม สนับสนุนการวจิ ัยและพฒั นาส่ือ นวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนของครู
3. พฒั นาทักษะการออกแบบทดสอบ และประเมินผลผู้เรยี นโดยเน้นการวัดทักษะ กระบวนการ
คิด วิเคราะห์ แกป้ ญั หา สรา้ งสรรค์ มากขนึ้

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563-2565 จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 63

4. สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้และแก้ปัญหาร่วมกันของครหู รือการจัดกลุ่มจัดการความรู้
ของครู (Professional Learning Community : PLC) ทั้งในสถานศึกษาเดียวกันและต่างสถานศึกษา หรือ
ความรว่ มมอื ของกลมุ่ โรงเรยี น หรอื กลุ่มเครือขา่ ย

5. สง่ เสรมิ การประกวด แขง่ ขัน หรือแสดงผลงานสื่อนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนของครู

กลยทุ ธ์ท่ี 2 พฒั นากระบวนการเรยี นร้สู ทู่ กั ษะในศตวรรษท่ี 21
มาตรการ
1. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะและกระบวนการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน (Active Learning : AL) ที่เน้นการพัฒ นาทักษะสำคัญ ในศตวรรษท่ี 21 ตามพ หุปัญ ญ า
(โดยกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านกิจกรรม กระบวนการ โครงการ โครงงาน ฯลฯ ท้ังการเรียนรู้ใน
หอ้ งเรียน สถานทีจ่ รงิ และการเรยี นรู้ผ่านเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท้งั ภายในประเทศและต่างประเทศ
ตามพหุปัญญา)
2. สง่ เสริมการประกวดแขง่ ขนั หรือแสดงผลงานหรอื นวัตกรรมการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
กลยทุ ธ์ท่ี ๓ แก้ปญั หาและพัฒนาการเรยี นรู้ภาษาไทย
มาตรการ
1. จัดหาและพัฒนานวัตกรรมและนำมาใช้ในการแก้ปัญหาผู้เรียนที่มีปัญหาด้านการอ่าน การ
เขียน การคดิ วิเคราะห์ สรปุ ประเดน็ และการสร้างสรรคผ์ ลงานด้านการใชภ้ าษาไทยอยา่ งเปน็ ระบบ
2. พฒั นาสถานศึกษาต้นแบบด้านการแกป้ ัญหา และมพี ัฒนาการดา้ นการใชภ้ าษาไทยอยา่ งเป็น
ระบบและมกี ารขยายผลไปยงั สถานศกึ ษาอนื่ ๆ
กลยุทธ์ที่ ๔ แกป้ ัญหาและพัฒนาการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศที่จำเป็น (ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน
ภาษาญีป่ ุ่น และการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัลเพื่อการส่ือสาร)
มาตรการ
1. จัดหาและพัฒ นานวัตกรรมและนำมาใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒ นาทักษะการใช้
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปนุ่ และการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการส่อื สาร)
2. ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน
ภาษาญี่ปุ่น) (ท่ีเนน้ ให้นักเรียนไดฝ้ ึกทักษะการสื่อสาร ผ่านกิจกรรมกระบวนการในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้ง
การใชจ้ ริงในสถานการณจ์ รงิ หรือผ่านเครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ)
3. พัฒนาสถานศึกษาต้นแบบและการขยายผลไปยังสถานศึกษาอื่น ๆ และความร่วมมือ
ช่วยเหลอื กันระหว่างสถานศึกษา
กลยุทธท์ ี่ ๕ พัฒนาการศกึ ษาปฐมวัย
มาตรการ
1. พัฒนารูปแบบและนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย (๓ – ๕ ป)ี อย่างเป็นระบบโดยเน้นพัฒนาการ
ท่ีสมวัย ด้วยกิจกรรมและกระบวนการที่สนุกสนาน และปลูกฝังกระบวนการคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา
คณุ ธรรมและพัฒนาการท่เี หมาะสมกับช่วงวัย
2. พฒั นาสถานศึกษาตน้ แบบและมีการขยายผลในโรงเรียนหรอื กล่มุ โรงเรียนอ่นื ๆ

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563-2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 64

กลยทุ ธ์ที่ ๖ ปลกู ฝงั วิถีชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรการ
1. จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้อง
เหมาะสมกบั ระดับ และประเภทของการจัดการศกึ ษา
2. จัดกิจกรรม กระบวนการ แนวปฏบิ ตั ิตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในสถานศึกษาทงั้ การ
สอดแทรกในการเรียนการสอนวิชาต่างๆ และการปฏิบัติเป็นวิถีชีวิตประจำวันในสถานศึกษาในครอบครัว
ชุมชน นำไปสูก่ ารสร้างวฒั นธรรมทเ่ี ขม้ แขง็ ต่อไป
3. พฒั นาสถานศึกษาต้นแบบและขยายผลในโรงเรยี นหรอื กลุ่มโรงเรยี นอ่ืนๆ
4. ส่งเสริมการประกวดแข่งขัน หรือแสดงส่ือนวัตกรรมที่ใช้ในการปลูกฝังวิถีชีวิต เศรษฐกิจ
พอเพยี งของสถานศกึ ษา
กลยทุ ธ์ที่ ๗ เสริมสร้างอัตลักษณ์ของชาวอยธุ ยา (มีวนิ ัย ซอ่ื สตั ย์ จิตสาธารณะ รักษ์ส่ิงแวดล้อม
รูป้ ระวตั ิศาสตร์ รกั ทอ้ งถนิ่ )
มาตรการ
1. จัดหลกั สูตรและสอดแทรกเน้ือหาในกิจกรรม และกระบวนการเรยี นการสอนในรายวิชาต่างๆ
2. จัดกิจกรรม กระบวนการ แนวปฏิบัติในการปลูกฝัง เสริมสร้างอัตลักษณ์ชาวอยุธยาเป็นวิถี
ชีวิตประจำวันของนักเรียนท้ังในสถานศึกษา ความร่วมมือกับครอบครัว และชุมชน นำไปสู่การสร้าง
วัฒนธรรมของสถานศกึ ษา ของครอบครัวและชุมชน
3. พัฒนาสถานศึกษาตน้ แบบ และการขยายผลไปสสู่ ถานศึกษาหรอื กลุ่มสถานศกึ ษาอนื่ ๆ
4. ส่งเสริมการประกวดแข่งขัน หรือแสดงสื่อนวัตกรรมที่ใช้ในการเสริมสร้างอัตลักษณ์ของ
สถานศึกษา

ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 : พัฒนาคุณภาพและประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
เป้าประสงค์
สถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพและประสิทธิภาพ
ตวั ชวี้ ดั
1. สถานศกึ ษาทุกแหง่ มกี ารบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล
2. สถานศึกษาทุกแห่งมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและให้บริการการศึกษาอย่างมี

คณุ ภาพ
กลยทุ ธ์ท่ี ๑ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
มาตรการ
1. สง่ เสริมระบบและรปู แบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง
2. สง่ เสริมสถานศึกษามีแผนและกระบวนการพฒั นาการศึกษาอย่างเปน็ ระบบ
3. ส่งเสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษามีความพร้อมด้านเทคโนโลยี และมีอินเตอร์เน็ตความเรว็ สงู
กลยทุ ธ์ท่ี ๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทั่วไป
มาตรการ
1. ส่งเสริมสนับสนุนความพร้อมการจัดการสถานศึกษาทั้งด้านอาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อม

วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี บคุ ลากร ฯลฯ

แผนพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2563-2565 จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 65

2. ส่งเสริมความร่วมมือในการใช้บุคลากรและทรัพยากรร่วมกันระหว่างสถานศึกษาหรือกลุ่ม
สถานศกึ ษา

3. ระดมทรพั ยากรจากทุกภาคส่วนมาใช้ในการจัดและพฒั นาคุณภาพการศึกษา
กลยุทธท์ ่ี ๓ พฒั นาศักยภาพสถานศึกษาที่มีความพร้อมสงู
มาตรการ
1. ส่งเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐานสากลทั้งรูปแบบ และ
กระบวนการที่หลากหลาย สามารถสร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในการจัดการศึกษากับสถานศึกษาที่มีชอ่ื เสยี ง
กบั องคก์ ร สถานประกอบการ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ฯลฯ ท้งั ภายในภมู ภิ าค ประเทศ และต่างประเทศ
2. สง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษาบริหารจดั การท่มี คี วามคลอ่ งตวั และ มอี ิสระในรูปแบบตา่ งๆ
กลยุทธ์ท่ี ๔ แก้ปัญหาและพฒั นาสถานศึกษาขนาดเลก็
มาตรการ
1. ส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างสถานศึกษาท่ีอยู่ใกล้เคียงกัน หรือ
ภายในกลุ่มสถานศึกษาเดียวกนั หรือตา่ งกลุ่มสถานศกึ ษา
2. ส่งเสริมการควบรวมสถานศึกษา โดยควบรวมทั้งสถานศึกษาหรือเฉพาะบางชนั้ ทง้ั นี้ โดยยึด
ประโยชนข์ องผู้เรยี นและความเห็นร่วมกนั
3. สง่ เสรมิ การนำทรัพยากร ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ หรือผู้มคี วามสามารถท่หี ลากหลายทั้งในและนอก
พน้ื ทม่ี าช่วยหรือสนบั สนนุ การจดั การศึกษา

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 : พฒั นาการจดั การศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา้ งกำลงั คนทส่ี อดคล้องกับภูมิสงั คม
เปา้ ประสงค์
มกี ารผลติ และพัฒนากำลงั คนเพอื่ การพัฒนาอาชีพในอนาคตท่ีสอดคล้องกบั ภูมิสงั คม
ตวั ชี้วัด
1. จำนวนสถานศึกษาที่จัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นการลงมือปฏบิ ัติและทักษะอาชีพท่สี อดคล้อง

กับภมู สิ งั คม
2. สัดสว่ นผูเ้ รยี นอาชวี ศกึ ษาเพ่ิมข้ึน
3. อตั ราส่วนการมีงานทำของผสู้ ำเร็จการศึกษาในสายอาชีพเพ่มิ ขนึ้
กลยุทธ์ท่ี 1 ผลติ และพัฒนากำลังคนสำหรับอนาคต
มาตรการ
1. ศึกษาขอ้ มูล และวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนของประเทศ ของภูมิภาค กลุ่มจังหวัดและ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในอนาคต พร้อมกำหนดจุดเน้นและสาขาอาชีพท่ีจะจัดการศึกษา ในจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา

2. วิเคราะหจ์ ดุ แข็งและความพร้อมของสถานศึกษาด้านอาชพี ของจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาและ
กำหนดความรบั ผดิ ชอบการจดั การศกึ ษาของแตล่ ะสถานศกึ ษา

3. พัฒนาความพร้อมทุกด้านของสถานศึกษาท่ีจะจัดหรือสาขาที่มีอยู่เดิมให้เหมาะสมกับการ
พฒั นาทกั ษะแรงงานและอาชีพในอนาคต

4. ส่งเสรมิ สนับสนุนการผลิตและพฒั นากำลังคนของสถานศึกษา โดยการมสี ่วนร่วมจัดของสถาน
ประกอบการท่ีมีความเช่ียวชาญแต่ละด้าน และความร่วมมือกับบุคคลและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่
เกี่ยวข้อง

แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563-2565 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ.2564) | 66

กลยุทธท์ ี่ 2 วางพ้นื ฐานการพฒั นากำลงั คนด้านอาชพี
มาตรการ
1. เสริมสร้างและพัฒนาทักษะด้านอาชีพในกระบวนการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับแต่ละช่วง
วัย โดยเน้นการปลกู ฝงั เจตคติที่ดีตอ่ การพฒั นาอาชพี และคณุ ลักษณะอน่ื ๆ
2. พัฒนาแนวทาง จุดเน้น หลักสูตร การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพทุกระดับ ต้ังแต่
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน เชอื่ มโยงไปถงึ การจดั อาชีวศึกษา และอดุ มศกึ ษาดา้ นอาชีพ
กลยทุ ธท์ ี่ 3 การเพ่ิมช่องทางการศกึ ษาดา้ นอาชีพ
มาตรการ
1. เพิ่มความร่วมมือการจัดการศึกษาในรูปแบบทวิภาคึให้เข้มข้นหลากหลายข้ึน ทั้งการให้
ภาคเอกชน สถานประกอบการเข้ามาร่วมจัดในสถานศกึ ษา การฝึกงานในสถานประกอบการ หรือการจดั ให้
สถานประกอบการเป็นหน่วยจัดการศึกษาของสถานศึกษาด้านอาชีพ
2. เพิ่มความร่วมมือจัดการศกึ ษาในรปู แบบทวิศึกษาใหห้ ลากหลายสาขายิง่ ขนึ้ ในสถานศึกษาทุก
ประเภท
3. จัดระบบการให้บริการข้อมูล ส่ือ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่
ผู้เรยี นและผู้ใชบ้ รกิ ารทุกกลมุ่ เปา้ หมายสามารถเขา้ ถงึ และใช้ประโยชน์ได้

แผนพัฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2563-2565 จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (ทบทวนปงี บประมาณ พ.ศ.2564) | 67


























































Click to View FlipBook Version