The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกษราพร ว30222 หน่วยที่ 4 โมลและสูตรเคมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เกษราพร ว30222 หน่วยที่ 4 โมลและสูตรเคมี

เกษราพร ว30222 หน่วยที่ 4 โมลและสูตรเคมี

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธีการวดั เครื่องมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ช้นิ งาน
แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์คะแนนไม่น้อยกวา่ รอ้ ย
แบบฝกึ หัด วดั ความถูกต้องของแบบฝกึ หัด 4.5 ละ 50

4.5 4.5

ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

ภาระงาน/ วิธีการวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์ท่ีใช้
ช้นิ งาน

- การทำ สังเกตการทำแบบฝึกหัด แบบสงั เกต ระดบั 4 ดีเย่ียม 4 คะแนน
แบบฝึกหัด รายบุคคลตามตวั ชีว้ ดั ต่อไปน้ี พฤติกรรม = ทำไดท้ ุกตวั ชีว้ ัด
รายบุคคล - ความซื่อสัตย์ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมวี ินยั = ทำไดม้ าก
ระหว่างเรยี น - ความมีเหตุผล ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย
- การร่วมแสดงความคิดเหน็ ระดับ 1 ต้องปรบั ปรุง
- ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของ 1 คะแนน
ผูอ้ ืน่ = ทำไม่ไดถ้ งึ ทำไดน้ ้อยมาก
- การทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้
อย่างสร้างสรรค์

กิจกรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสบื สอบ (Inquiry method)

ขนั้ นำ

1. ครใู ช้คำถามวา่ สตู รเคมคี ืออะไร (สัญลกั ษณท์ ่เี ขยี นแทนธาตุและสารประกอบ โดยแสดง
ชนดิ และอตั ราสว่ นของธาตทุ ่ีเปน็ องคป์ ระกอบ)

2. จงระบุวา่ สารทกี่ ำหนดใหต้ ่อไปนี้เป็นธาตุหรือสารประกอบ
Mg ธาตุ
S8 ธาตุ
CO2 สารประกอบ
CuSO4 สารประกอบ

3. ครูกล่าวต่อไปวา่ จากทน่ี ักเรยี นเหน็ วา่ สตู รเคมมี เี ลขอตั ราส่วนของธาตุทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ
เช่น CO2 1 โมลโมเลกุล ประกอบด้วย C 1 โมลอะตอม และ O 2 โมลอะตอม นักเรียนคิดว่า
นกั วิทยาศาสตร์ทราบเกยี่ วกบั อัตราสว่ นโดยโมลของอะตอมของธาตุได้อยา่ งไร (ตอบตามความคิดของ
นักเรียน)

ขัน้ สอน

1. ครูอธิบายความหมายของสตู รเคมี แล้วใช้คำถามต่อไปนี้

1.1 จากความหมายของสูตรเคมี สารประกอบหนึ่งๆ จะมีอัตราส่วนโดยโมล ของอะตอม

ของธาตคุ งท่ีหรือไม่ (คงที)่

1.2 นักเรียนคิดวา่ นักวิทยาศาสตรท์ ราบเก่ียวกับอตั ราส่วนโดยโมลของอะตอมของธาตไุ ด้

อยา่ งไร (ตอบตามความคิดของนักเรยี น)

1.3 นักเรียนคิดว่าหากทราบอัตราส่วนโดยมวลจะสามารถหาอัตราส่วนโดยโมลได้หรอื ไม่

เพราะเหตุใด (หาได้เนื่องจากมวลและโมลของสารมคี วามสัมพันธ์กัน เมื่อทราบอัตราส่วนโดยมวลจะ

สามารถหาอัตราสว่ นโดยโมลได้)

2. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลในตาราง 4.5 ปริมาณของทองแดงต่อกำมะถันที่ทำ

ปฏิกิริยาพอดีกัน เพื่อศึกษาอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบ

คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ แล้วร่วมกันตอบคำถามดงั น้ี

ตาราง 4.5 ปรมิ าณของทองแดงต่อกำมะถันท่ีทำปฏกิ ริ ยิ าพอดกี นั

การทดลองที่ มวลของสารทที่ ำปฏิกิริยาพอดกี ัน

มวลของทองแดง (g) มวลของกำมะถัน (g)

1 1.0 0.5

2 1.9 1.0

3 2.9 1.5

4 4.0 2.0

5 4.9 2.5

2.1 ในการทดลองอตั ราส่วนระหว่างมวลของทองแดงต่อมวลของกำมะถันมคี ่าเฉล่ียเท่าใด
(อัตราสว่ นระหว่างมวลของทองแดงตอ่ กำมะถนั มีคา่ เฉล่ีย 2.0 : 1.0)

2.2 อัตราส่วนโดยโมลของทองแดงต่อกำมะถันที่ทำปฏิกิริยาพอดีกันเป็นสารประกอบ
คอปเปอร์ซัลไฟด์มคี า่ เฉลยี่ เทา่ ใด (อัตราสว่ นโดยโมลของทองแดงตอ่ กำมะถันมีค่าเฉล่ีย 1.0 : 1.0)

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า มวลของทองแดงที่ทำปฏิกิริยากันกับ
กำมะถนั เพม่ิ ขึ้นตามมวลของกำมะถนั โดยเมอื่ คำนวณอตั ราส่วนระหวา่ งมวลของทองแดงกับกำมะถัน
แต่ละครั้งมีค่าประมาณ 2:1 จึงกล่าวได้ว่าทองแดงทำปฏิกิริยากับกำมะถันได้สารประกอบคอปเปอร์

(II) ซัลไฟด์ด้วยอัตราส่วนโดยมวลเท่ากับ 2:1 และอัตราส่วนโดยโมลของสารประกอบหนึ่งๆจะมี
ค่าคงทเี่ ช่นเดียวกนั กับอัตราส่วนโดยมวล

4. ครูกล่าวว่าการคำนวณอัตราส่วนโดยโมลเป็นขั้นตอนสำคัญในการหาสูตรเคมีของ
สารประกอบ

5. ครูตั้งคำถามว่า อัตราส่วนโดยโมลของทองแดงกับกำมะถันมีค่าเท่าใด ซึ่งควรตอบว่ามี
ค่า เท่ากับ 1 : 1 โดยคำนวณได้จากการหารอัตราส่วนโดยมวลด้วยมวลอะตอมของธาตุแต่ละชนิด
จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมว่าอัตราส่วนโดยโมลของสารประกอบหนึ่งๆ จะมีค่าคงที่เช่นเดียวกับ
อัตราส่วนโดยมวล ซึ่งการคำนวณอัตราส่วนโดยโมลเป็นขั้นตอนสำคัญในการหาสูตรเคมีของ
สารประกอบ

6. นักเรียนและครูร่วมกันคำนวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของ
สารประกอบตามกฎสดั ส่วนคงท่ี โดยใช้ครูยกตัวอยา่ งจากโจทย์ตัวอยา่ งท่ี 7 ในหนังสอื เรียน ดงั นี้

ตัวอย่าง เม่ือเผาโลหะแมกนีเซียม (Mg) 2.64 กรัม ในอากาศ ได้แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) เกิดขึ้น
4.40 กรัม เมื่อนำโลหะแมกนีเซียม 2.42 กรัม มาเผากับแก๊สออกซิเจน (O2) 1.61 กรัม จะเกิดเป็น
แมกนีเซียมออกไซด์ทั้งหมด ผลการทดลองนี้เป็นไปตามกฎสัดส่วนคงที่หรือไม่ และถ้าอัตร่าวนโดย
โมลเฉล่ยี ของแมกนีเซียมต่อออกซิเจนทีท่ ำปฏิกริ ยิ าพอดีกนั เป็นสารประกอบน้ีมีคา่ เท่าใด

วธิ ีทำ

คำนวณอัตราส่วนโดยมวล

การทดลองที่ 1
มวลของออกซเิ จนในแมกนีเซยี มออกไซด์ = มวลของแมกนีเซียมออกไซด์ - มวลของแมกนเี ซยี ม

= 4.40 g – 2.64 g
= 1.76 g
อตั ราสว่ นโดยมวลของแมกนเี ซยี ม : ออกซิเจน = 2.64 : 1.76

= 1.50 : 1.00
การทดลองท่ี 2
อตั ราส่วนโดยมวลของแมกนเี ซียม : ออกซเิ จน = 2.42 : 1.61

= 1.50 : 1.00
ดงั น้นั ผลการทดลองทง้ั สองครั้งเป็นไปตามกฎสัดส่วนคงท่ี

คำนวณอตั ราส่วนโดยมวลเฉลี่ย

อัตราส่วนโดยมวลเฉลี่ยของแมกนีเซียมต่อออกซิเจนที่ทำปฏิกิริยาพอดีกันเป็น
สารประกอบเทา่ กับ 1.50 : 1.00

อัตราส่วนโดยโมลเฉลี่ยของแมกนีเซียม : ออกซเิ จน = 1.50 : 1.00
24.30 16.00

= 0.0617 : 0.0625

หรอื = 1 : 1

ดงั น้ัน อัตราส่วนโดยโมลเฉล่ยี ของแมกนีเซียมตอ่ ออกซิเจน เท่ากับ 1 : 1

ขนั้ สรปุ
1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายขอ้ สงสยั เก่ยี วกบั กฎสัดส่วนคงที่และการคำนวณ
2. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝกึ หัด 4.5

สอ่ื /แหล่งเรียนรู้
ส่ือการเรียนรู้
1. หนังสอื เรียนรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์ (เคมี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
2. แบบฝกึ หดั 4.5
3. ส่ือ PowerPoint
แหล่งเรียนรู้
1. เว็บไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-chem/m4-chem-book2/
2. เว็บไซต์ https://www.scimath.org/ebook-chemistry

แบบฝกึ หัด 4.5 เรื่องกฎสดั ส่วนคงท่ี



สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจดั กจิ กรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ..........................................................ผู้สอน
(นางสาวเกษราพร บริพันธ์)
............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสูตรฯ
 กิจกรรมการเรียนรเู้ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใชส้ อื่ หรือแหลง่ เรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และส่งเสริมการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
 ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวทิพวลั ย์ ช่อสวุ รรณ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนเิ ทศ

 กอ่ นใช้สอน  หลงั ใชส้ อน

 มีบันทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ดิ์)
หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศจ์ ิระศกั ด์ิ)

รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา เคมี2 รหัสวชิ า ว30222 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เรอ่ื ง

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมค่อนขา้ งบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง

ซื่อสัตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขที่ ผลการประเมนิ

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

ซื่อ ัสตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขท่ี ผลการประเมิน

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ ่าน
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30

ลงชอ่ื ......................................... ผู้ประเมนิ
(..............................................)

เกณฑ์การประเมนิ ( ชว่ งคะแนน 16 – 20 )
ระดบั คุณภาพ 4 = ดีมาก ( ช่วงคะแนน 11 – 15 )
ระดับคุณภาพ 3 = ดี ( ช่วงคะแนน 6 – 10 )
ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง ( ช่วงคะแนน 1 – 5 )
ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8

รายวิชา เคมี 2 รหสั วชิ า ว30222 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 โมลและสตู รเคมี เวลา 17 ช่วั โมง

เรื่อง ร้อยละโดยมวลของธาตุ เวลา 2 ชวั่ โมง

ผ้สู อน นางสาวเกษราพร บรพิ นั ธ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคญั (สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด)
สูตรเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนธาตุและสารประกอบ โดยแสดงธาตุและจำนวนอะตอม

ของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ดังนั้นสารประกอบหนึ่งๆ จะมีอัตราส่วนโดยโมลของอะตอมธาตุคงท่ี
เป็นไปตามกฎสดั ส่วนคงที่ และเมื่อทราบสูตรเคมีของสารแล้วจะสามารถคำนวณร้อยละโดยมวลของ
ธาตุทเี่ ป็นองค์ประกอบได้

มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี3. เขา้ ใจหลกั การทำปฏบิ ัตกิ ารเคมี การวดั ปริมาณสาร หนว่ ยวดั และการเปลี่ยน

หน่วย การคํานวณปรมิ าณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบรู ณาการความรู้และ
ทกั ษะในการอธบิ ายปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันและการแกป้ ญั หาทางเคมี

ผลการเรยี นรู้
3. คำนวณอตั ราสว่ นโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสดั ส่วนคงที่
4. คำนวณสูตรอยา่ งง่ายและสูตรโมเลกลุ ของสาร

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของร้อยละโดยมวลของธาตุได้
2. คำนวณร้อยละโดยมวลของธาตุจากสูตรเคมีที่กำหนดให้ได้

สาระการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

1. รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

1. อธบิ ายความหมายของร้อยละโดยมวลของธาตุ

2. คำนวณรอ้ ยละโดยมวลของธาตจุ ากสูตรเคมีที่กำหนดให้ได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

 2. ซือ่ สัตย์สุจรติ  6. มุ่งม่นั ในการทำงาน

 3. มวี ินัย  7. รักความเปน็ ไทย

 4. ใฝ่เรียนรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถีกาญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบัน
 2. กตัญญู
 3. บุคลกิ ดี
 4. มีวนิ ัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สูก่ ารพฒั นาผู้เรยี น
ความสามารถและทกั ษะทีจ่ ำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)

 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี

วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรมตา่ ง

กระบวนทศั น์)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การ
ทำงานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร

สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่ือ)
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสอ่ื สาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู้)  L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผนู้ ำ)

การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ช้นิ งาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
แบบประเมนิ
ตอบ ตรวจคำตอบของคำถาม การตอบ ผ่านเกณฑ์คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อย
คำถาม ละ 50
คำถาม สะท้อนความคิด ดังนี้ สะทอ้ น
ความคิด
สะทอ้ น 1. ความถูกต้องครอบคลุมสง่ิ ท่ี
แบบฝึกหดั
ความคดิ ได้เรยี นรู้ 4.6

2. ความสมเหตสุ มผล

3. การต้งั คำถามที่อยากรู้

แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝกึ หัด 4.6

4.6

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์ท่ใี ช้
ชิ้นงาน
แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อย
แบบฝึกหัด วัดความถูกต้องของแบบฝกึ หัด 4.6 ละ 50

4.6 4.6

ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธีการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชิน้ งาน

- การทำ สงั เกตการทำแบบฝึกหัด แบบสังเกต ระดบั 4 ดเี ย่ยี ม 4 คะแนน
แบบฝึกหดั รายบคุ คลตามตัวชว้ี ดั ตอ่ ไปน้ี พฤติกรรม = ทำได้ทุกตัวช้ีวดั
รายบุคคล - ความซอ่ื สัตย์ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมีวินยั = ทำไดม้ าก
ระหวา่ งเรียน - ความมีเหตผุ ล ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
- การรว่ มแสดงความคิดเหน็ ระดบั 1 ตอ้ งปรับปรุง
- ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของ 1 คะแนน
ผอู้ นื่ = ทำไม่ไดถ้ ึงทำไดน้ ้อยมาก
- การทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้
อย่างสร้างสรรค์

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบสบื สอบ (Inquiry method)

ขนั้ นำ

1.ครใู ช้คำถามว่า จากกฎสดั ส่วนคงท่ี การบอกองค์ประกอบของธาตุในสารประกอบสามารถ
บอกได้ในรูปของอัตราส่วน นักเรียนคิดว่าสามารถบอกในรูปแบบอื่นได้อีกหรือไม่ (ตอบตามความคิด
ของนกั เรียน)

2. ครแู สดงรปู เครอ่ื งช่ังน้ำหนัก แล้วใชค้ ำถามต่อไปนี้

2.1 นักเรียนเคยเห็นเคร่ืองชง่ั นำ้ หนกั ลกั ษณะดังกล่าวหรอื ไม่ และเคยเหน็ ท่ใี ด
2.2 ถ้าหากนาย ก มนี ำ้ หนกั จริง ๆ 30 กิโลกรัม ขึ้นไปช่งั นำ้ หนกั บนเครอื่ งช่ังดังกล่าว แต่
ก่อนหยอดเหรียญ นาย ข แอบขึ้นไปหลังนาย ก ทำใหเ้ มื่อหยอดเหรยี ญไปแลว้ ตราช่งั แสดงนำ้ หนกั
120 กิโลกรมั ขณะนี้เครอื่ งชั่งแสดงน้ำหนกั ของใครอยู่ (นาย ก และ นาย ข รวมกนั )
2.3 น้ำหนกั 120 กิโลกรัมเป็นของนาย ก เท่าไร (30 กโิ ลกรมั )
2.4 น้ำหนกั 120 กโิ ลกรัมเป็นของนาย ข เทา่ ไร (90 กิโลกรมั )
2.5 ถา้ เปรยี บนาย ก และ ข บนตราช่งั เปน็ โมเลกลุ หนง่ึ จะเขยี นสูตรโมเลกุลไดว้ า่ อย่างไร
(ก1ข1)
2.6 นำ้ หนักท้งั หมด เป็นของนาย ก ร้อยละเท่าใด (30/120*100 = 25 %)
2.7 นำ้ หนกั ทง้ั หมด เปน็ ของนาย ข รอ้ ยละเท่าใด (90/120*100 = 75 %)
2.8 นกั เรียนคิดว่ามวลของธาตุในสารประกอบจะสามารถบอกเปน็ ร้อยละไดห้ รือไม่ (ได)้
ขัน้ สอน
1. ครูอธบิ ายวิธีการคำนวณร้อยละโดยมวลของธาตอุ งคป์ ระกอบของสาร 1
โมเลกลุ โดยรอ้ ยละโดยมวลขอธาตุสามารถคำนวณได้โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ ดังน้ี

รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ A ในสารประกอบ = มวลของธาตุ A ×100%
มวลของสารประกอบ

2. ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ เกีย่ วกับการคำนวณรอ้ ยละโดยมวลของธาตุ โดยใช้ตวั อย่างต่อไปน้ี

ตัวอยา่ งที่ 1 ออกไซด์ของเหล็ก 159.69 กรัม ประกอบด้วยเหล็ก 111.60 กรมั จงคำนวณร้อยละโดย

มวลของเหล็ก (Fe) และออกซิเจน (O) ในออกไซดข์ องเหลก็
111.69 g Fe
วธิ ีทำ ร้อยละโดยมวลของ Fe = 159.69 g oxide of Fe × 100%

= 69.942 % Fe/g oxide of Fe
ดังน้นั สารประกอบออกไซด์ของเหล็กมีร้อยละโดยมวลของเหล็กเท่ากับ 69.942 และร้อยละ
โดยมวลของออกซิเจน = 100 – 69.942 = 30.058

3. ครูกล่าวต่อไปว่า ในทางกลับกัน หากทราบสูตรเคมีของสารประกอบ จะสามารถ
คำนวณหารอ้ ยละโดยมวลธาตุองคป์ ระกอบได้ ดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี

ตัวอย่างที่ 2 จงคำนวณร้อยละโดยมวลของคาร์บอน (C) และไฮโดรเจน (H) ในคาร์บอนไดออกไซด์

(CO2) และไอนำ้ (H2O) ตามลำดบั

วิธีทำ รอ้ ยละโดยมวลของ C ใน CO2

รอ้ ยละโดยมวลของ C = 12.01 g C × 100 %
44.01 g CO2

= 27.29 % g C/g CO2

ร้อยละโดยมวลของ H ใน H2O

ร้อยละโดยมวลของ H = 2 x 1.01 g H × 100 %
18.02 g H2O
= 11.2 % g H/g H2O

ดังนั้น CO2 มีร้อยละโดยมวลของ C เท่ากับ 27.29 ส่วน H2O มีร้อยละโดยมวลของ H

เท่ากับ 11.2

ขนั้ สรปุ
1. ครูและนักเรียนรว่ มอภปิ รายเพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรุปว่าการจะหารอ้ ยละโดยมวลของธาตนุ ั้น

สามารถคำนวณไดเ้ ม่ือโจทยบ์ อกมวลของธาตุองคป์ ระกอบและสารประกอบ และสามารถคำนวณได้
หากทราบสตู รเคมีของสารประกอบ

2. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบฝกึ หัด 4.6

สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้
สื่อการเรียนรู้
1. หนงั สอื เรียนรายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร์ (เคมี) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่ม 2
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
2. แบบฝกึ หดั 4.6
3. สือ่ PowerPoint
แหล่งเรยี นรู้
1. เว็บไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-chem/m4-chem-book2/
2. เว็บไซต์ https://www.scimath.org/ebook-chemistry

แบบฝึกหดั 4.6 เร่อื ง รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ



สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลงั จัดกิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน
(นางสาวเกษราพร บรพิ นั ธ์)
............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสูตรฯ
 กิจกรรมการเรียนรเู้ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใชส้ อื่ หรือแหลง่ เรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และส่งเสริมการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
 ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวทิพวลั ย์ ช่อสวุ รรณ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนเิ ทศ

 กอ่ นใช้สอน  หลงั ใชส้ อน

 มีบันทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ดิ์)
หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศจ์ ิระศกั ด์ิ)

รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา เคมี2 รหัสวชิ า ว30222 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เรอ่ื ง

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมค่อนขา้ งบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง

ซื่อสัตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขที่ ผลการประเมนิ

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

ซื่อ ัสตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขท่ี ผลการประเมิน

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ ่าน
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30

ลงชอ่ื ......................................... ผู้ประเมนิ
(..............................................)

เกณฑ์การประเมนิ ( ชว่ งคะแนน 16 – 20 )
ระดบั คุณภาพ 4 = ดีมาก ( ช่วงคะแนน 11 – 15 )
ระดับคุณภาพ 3 = ดี ( ช่วงคะแนน 6 – 10 )
ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง ( ช่วงคะแนน 1 – 5 )
ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 9

รายวชิ า เคมี 2 รหสั วิชา ว30222 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 โมลและสตู รเคมี เวลา 17 ชว่ั โมง

เรอื่ ง การหาสูตรโมเลกุลและสูตรอย่างงา่ ย เวลา 2 ชั่วโมง

ผู้สอน นางสาวเกษราพร บริพนั ธ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สุราษฎร์ธานี

แนวคดิ สำคญั (สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด)
สูตรเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนธาตุและสารประกอบ โดยแสดงธาตุและจำนวนอะตอม

ของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ดังนั้นสารประกอบหนึ่งๆ จะมีอัตราส่วนโดยโมลของอะตอมธาตุคงท่ี
เป็นไปตามกฎสดั ส่วนคงที่ และเมื่อทราบสูตรเคมขี องสารแล้วจะสามารถคำนวณร้อยละโดยมวลของ
ธาตุที่เปน็ องคป์ ระกอบได้

มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี3. เข้าใจหลักการทำปฏิบตั ิการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวดั และการเปล่ยี น

หน่วย การคาํ นวณปรมิ าณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมท้ังการบูรณาการความร้แู ละ
ทักษะในการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวันและการแกป้ ญั หาทางเคมี

ผลการเรียนรู้
3. คำนวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองคป์ ระกอบของสารประกอบตามกฎสดั สว่ นคงท่ี
4. คำนวณสตู รอยา่ งง่ายและสูตรโมเลกุลของสาร

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1.

สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K)

1. รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

1. อธิบายความหมายของร้อยละโดยมวลของธาตุ

2. คำนวณรอ้ ยละโดยมวลของธาตุจากสตู รเคมีทกี่ ำหนดใหไ้ ด้

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  5. อยู่อยา่ งพอเพียง

 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ  6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

 3. มีวนิ ยั  7. รกั ความเป็นไทย

 4. ใฝ่เรียนรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตัญญู
 3. บคุ ลกิ ดี
 4. มีวินยั
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผเู้ รียน
 1. ความสามารถในการสือ่ สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผู้เรยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)

 R1– Reading (อ่านออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คิด

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมี

วิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรมตา่ ง

กระบวนทัศน์)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การ

ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผูน้ ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการส่ือสาร

สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่ือ)
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่อื สาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนรู)้  L2 – Leadership (ทักษะความเป็นผ้นู ำ)

การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์ท่ีใช้
ชิน้ งาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
แบบประเมนิ
ตอบ ตรวจคำตอบของคำถาม การตอบ ผ่านเกณฑ์คะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ย
คำถาม ละ 50
คำถาม สะทอ้ นความคิด ดังน้ี สะท้อน
ความคดิ
สะท้อน 1. ความถูกต้องครอบคลุมส่งิ ที่
แบบฝึกหัด
ความคิด ไดเ้ รยี นรู้ 4.6

2. ความสมเหตุสมผล

3. การตงั้ คำถามท่ีอยากรู้

แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝกึ หัด 4.6

4.6

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน
แบบฝึกหดั วดั ความถูกต้องของแบบฝึกหัด แบบฝกึ หดั ผ่านเกณฑ์คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ย
4.6 4.6 ละ 50
4.6

ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ วธิ กี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชิ้นงาน

- การทำ สังเกตการทำแบบฝึกหดั แบบสังเกต ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน
แบบฝึกหดั รายบคุ คลตามตัวชว้ี ดั ต่อไปน้ี พฤติกรรม = ทำได้ทุกตัวชีว้ ดั
รายบคุ คล - ความซ่อื สัตย์ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมีวนิ ยั = ทำไดม้ าก
ระหวา่ งเรียน - ความมีเหตผุ ล ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
- การรว่ มแสดงความคิดเหน็ ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ
- ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของ 1 คะแนน
ผอู้ ืน่ = ทำไมไ่ ด้ถงึ ทำได้น้อยมาก
- การทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้
อยา่ งสร้างสรรค์

กิจกรรมการเรยี นรู้

ใชก้ ระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบสบื สอบ (Inquiry method)

ข้นั นำ

1. นักเรียนตอบคำถามเพื่อทบทวนความรู้ ต่อไปน้ี
1.1 สตู รเคมคี ืออะไร (สญั ลักษณท์ เ่ี ขียนแทนธาตุและสารประกอบ โดยแสดงชนิดและ

อตั ราส่วนของธาตทุ ี่เป็นองคป์ ระกอบ)
1.2 กฎสดั สว่ นคงท่ีกลา่ วไวว้ า่ อย่างไร (อัตราสว่ นโดยมวลของธาตทุ ี่รวมกนั เปน็

สารประกอบ จะมีคา่ คงท่ีเสมอ)
1.3 ถา้ ทราบอตั ราสว่ นโดยมวลของธาตุจะทำให้เป็นอตั ราส่วนโดยโมลไดอ้ ย่างไร

(หารมวลด้วยมวลอะตอมของธาตนุ ้นั ๆ)
2. ครูหยิบแวน่ ตาหรือแสดงภาพแวน่ ตาขึ้นมาใหน้ กั เรียนดูแลว้ ถามนักเรียน ดังนี้
2.1 ส่ิงทีค่ รูถืออยู่หรือภาพท่นี กั เรียนเห็นคอื อะไร (แว่นตา)
2.2 แวน่ ตา มีส่วนประกอบอะไร และมีจำนวนอยา่ งละเท่าใดบ้าง

(เลนส์ 2 เลนส์ และขาแว่น 2 ขา)
2.3 ถ้าครูเขียนแบบสตู รเคมี จะเขยี นได้ว่าอย่างไร (เลนส์2ขา2)
2.4 ถ้าครูอยากทำใหเ้ ปน็ อัตราส่วนอย่างต่ำจะได้วา่ อยา่ งไร (เลนส์1ขา1)
2.5 ถ้าครูอยากวาดโครงสรา้ งของแวน่ จะวาดไดอ้ ยา่ งไร

3. ครูกล่าวว่า "จากที่คุยกันมาทั้งหมดเมื่อสักครู่ ราวกับว่าเราไดเ้ ขียนสูตรในทางเคมีไปครบ
ทุกแบบแล้ว ในวันนี้เราจะมาเรียนรู้ว่าสูตรเคมีมีกี่แบบ อะไรบ้าง และการคำนวณเกี่ยวกับปริมาณ
ของธาตุแตล่ ะชนดิ ในสตู รเคมีเป็นอย่างไร

ขนั้ สอน
1. ครอู ธบิ ายความหมายของสูตรอย่างงา่ ยหรือสูตรเอมพิรคิ ัล สตู รโมเลกุลและสตู รโครงสร้าง

พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบการอธิบาย
2. นกั เรียนและครูอธิปรายร่วมกนั เกย่ี วกับสูตรเอมพิรคิ ัลและสตู รโมเลกลุ โดยใช้คำถามดังนี้
2.1 ในสูตรเคมี ตัวเลขที่ห้อยอยู่ท้ายแต่ละธาตุแสดงอะไร (แสดงจำนวนอะตอมของธาตุ

นั้น ๆ ท่ีเป็นองค์ประกอบของสารประกอบ) พร้อมยกตัวอย่างสตู รเคมีของ CuS และ CO2
2.2 ดังนั้นถ้าโจทย์บอกมวลของธาตุแต่ละชนิด เราสามารถหาจำนวนอะตอมของธาตุ

เหลา่ น้นั ที่เปน็ องคป์ ระกอบไดจ้ ากการคำนวณอย่างไร (คำนวณโดยใช้ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง มวล-โมล)
2.3 นักเรียนคิดว่าสารที่มีสูตรเอมพิริคัล CH2O มีเพียงกรดแลคติกชนิดเดียวหรือไม่

(ตอบตามความคิดของนักเรยี น)

2.4 ถ้าสูตรเอมพิริคัลแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำ นักเรียนคิดว่าสูตรโมเลกลุ ของสารมีโอกาส
เหมือนกนั กับสตู รเอมพริ คิ ัลหรือไม่ (มโี อกาส)

3. ครูอธิบายต่อว่า "ถึงแม้ว่า CH2O เป็นสูตรเอมพิริคัลของกรดแลคติก (C3H6O3) หรือ
นำ้ ตาลกูลโคส (C6H12O6) แต่ CH2O ยังเปน็ สตู รโมเลกุลของสารชนดิ หน่ึงท่ีมีชื่อว่าฟอร์มาลดีไฮด์หรือ
ทร่ี ้จู ักกันดีว่าฟอร์มาลีน"

4. ครูอธิบายวิธีการคำนวณหาสูตรเอมพิริคลั และสูตรโมเลกุล โดยแสดงวธิ กี ารคำนวณโดยใช้
โจทย์ตวั อยา่ ง 10 - 13 ในหนังสอื เรียน

5. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า "ถ้ามวลโมเลกุลที่โจทย์กำหนดให้มีคา่ เท่ากับมวลของสูตรเอมพิริคลั
ทีค่ ำนวณได้ แสดงว่าสูตรโมเลกุลของสารดังกลา่ วเหมือนกนั กบั สตู รเอมพริ ิคลั "

ขน้ั สรุป
1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มอภปิ รายเพอื่ ให้ได้ข้อสรุปว่า สารประกอบเกิดจากการรวมตวั ของธาตุ

ตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไป โดยมีอตั ราส่วนโดยมวลของธาตุองคป์ ระกอบคงท่ีตามกฎสัดสว่ นคงที่ อัตราส่วน
โดยมวลของธาตุองค์ประกอบในสารประกอบสามารถแสดงในรูปร้อยละโดยมวล ซึ่งสามารถใช้หา
อัตราสว่ นอยา่ งต่ำโดยโมลของธาตอุ งค์ประกอบในสารน้ัน และแสดงไดด้ ว้ ยสตู รเอมพิรคิ ัลหรือสตู ร
อย่างงา่ ย และถ้าทราบมวลโมเลกุลของสารจะสามารถแสดงสตู รโมเลกุลของสารได้

2. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัด 4.7
สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้

สือ่ การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร์ (เคมี) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่ม 2
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
2. แบบฝึกหดั 4.7
3. สอื่ PowerPoint

แหลง่ เรียนรู้
1. เว็บไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-chem/m4-chem-book2/
2. เวบ็ ไซต์ https://www.scimath.org/ebook-chemistry

แบบฝกึ หดั 4.7 เร่อื ง การหาสูตรโมเลกลุ และสูตรอยา่ งงา่ ย












สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลงั จดั กิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน
(นางสาวเกษราพร บริพันธ์)
............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสูตรฯ
 กิจกรรมการเรียนรเู้ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใชส้ อื่ หรือแหลง่ เรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และส่งเสริมการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
 ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวทิพวลั ย์ ช่อสวุ รรณ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนเิ ทศ

 กอ่ นใช้สอน  หลงั ใชส้ อน

 มีบันทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ดิ์)
หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศจ์ ิระศกั ด์ิ)

รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา เคมี2 รหัสวชิ า ว30222 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เรอ่ื ง

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมค่อนขา้ งบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง

ซื่อสัตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขที่ ผลการประเมนิ

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

ซื่อ ัสตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขท่ี ผลการประเมิน

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ ่าน
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30

ลงชอ่ื ......................................... ผู้ประเมนิ
(..............................................)

เกณฑ์การประเมนิ ( ชว่ งคะแนน 16 – 20 )
ระดบั คุณภาพ 4 = ดีมาก ( ช่วงคะแนน 11 – 15 )
ระดับคุณภาพ 3 = ดี ( ช่วงคะแนน 6 – 10 )
ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง ( ช่วงคะแนน 1 – 5 )
ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง


Click to View FlipBook Version