The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกษราพร ว30222 หน่วยที่ 4 โมลและสูตรเคมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เกษราพร ว30222 หน่วยที่ 4 โมลและสูตรเคมี

เกษราพร ว30222 หน่วยที่ 4 โมลและสูตรเคมี

แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

เคมี 2

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

นางสาวเกษราพร บรพิ ันธ์

ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี ชุมพร

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1

รายวชิ า เคมี 2 รหสั วิชา ว30222 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 4 โมลและสูตรเคมี เวลา 17 ช่วั โมง

เรอื่ ง มวลอะตอม เวลา 1 ชวั่ โมง

ผ้สู อน นางสาวเกษราพร บริพนั ธ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎร์ธานี

แนวคดิ สำคญั (สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด)
เนอื่ งจากอะตอมมีขนาดเล็กมากและมีมวลน้อยมากจนไมส่ ามารถชั่งได้ การบอกมวลอะตอม

ของธาตุจงึ ใช้วธิ ีการเปรยี บเทยี บกบั ธาตุท่ีใช้เป็นมาตรฐานวา่ หนักมากกว่าหรือน้อยกว่าธาตุมาตรฐาน
กี่เท่า และเรียกมวลของอะตอมทีได้จากการเปรียบเทียบนี้ว่า มวลอะตอมของธาตุ ซึ่งในปัจจุบันใช้
12C ซึ่งเป็นไอโซโทปที่มีมากที่สุดในธรรมชาติของคาร์บอนเป็นมาตรฐาน โดยกำหนดให้ 1 หน่วย
มาตรฐานมีคา่ เท่ากบั 1/12 เท่าของมวลของ 12C, 1 อะตอม ซง่ึ มคี า่ ประมาณ 1.66x10-24 กรมั

มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี3. เข้าใจหลกั การทำปฏิบัติการเคมี การวัดปรมิ าณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยน

หนว่ ย การคาํ นวณปรมิ าณของสาร ความเขม้ ข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และ
ทกั ษะในการอธบิ ายปรากฏการณ์ในชวี ติ ประจำวันและการแกป้ ญั หาทางเคมี

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำนวณมวลอะตอมเฉลยี่ ของธาตุ มวล

โมเลกลุ และมวลสตู ร

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุและมวลอะตอมสัมพัทธ์
2. คํานวณมวลอะตอมของธาตุและมวลอะตอมสัมพัทธ์

สาระการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

1. มวลอะตอม

2. มวลอะตอมสัมพัทธ์

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

1. อธิบายความหมายของมวลอะตอมและมวลอะตอมสัมพทั ธ์

2. คำนวณมวลอะตอมของธาตุและมวลอะตอมสมั พทั ธ์

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  5. อยอู่ ย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต  6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

 3. มวี นิ ัย  7. รกั ความเปน็ ไทย

 4. ใฝ่เรียนรู้  8. มจี ติ สาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี ินยั
 5. ใหเ้ กยี รติ

สมรรถนะที่สำคญั ของผเู้ รียน
 1. ความสามารถในการสือ่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผเู้ รียน
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเป็นในการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)

 R1– Reading (อ่านออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คิด

เลขเปน็ )
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา้ นการคิดอย่างมี

วิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรมต่าง

กระบวนทัศน์)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผนู้ ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร

สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทนั สือ่ )
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่อื สาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้)
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนรู้)  L2 – Leadership (ทักษะความเปน็ ผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ด้านความรู้

ภาระงาน/ วิธีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์ทใี่ ช้
ชิน้ งาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
แบบฝึกหัด
แบบฝกึ หัด ตรวจความถกู ต้องของ ตรวจสอบ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ความรกู้ ่อน
ตรวจสอบ แบบฝึกหดั ตรวจสอบความรู้ เรียน
แบบประเมิน
ความรกู้ ่อน ก่อนเรียน การตอบ
คำถาม
เรยี น สะท้อน
ความคิด
ตอบ ตรวจคำตอบของคำถาม

คำถาม สะทอ้ นความคิด ดังนี้

สะท้อน 1. ความถกู ต้องครอบคลุมส่ิงท่ี

ความคิด ได้เรียนรู้

2. ความสมเหตุสมผล

3. การตัง้ คำถามท่ีอยากรู้

ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชิน้ งาน แบบฝึกหดั
ผา่ นเกณฑ์คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อย
แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝกึ หัด 4.1 ขอ้ 1-4 ละ 50

4.1

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ชน้ิ งาน
แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ย
แบบฝึกหดั วดั ความถกู ต้องของแบบฝกึ หัด 4.1 ละ 50

4.1 4.1

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วธิ กี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชิน้ งาน

- การทำ สังเกตการทำแบบฝกึ หดั แบบสงั เกต ระดับ 4 ดเี ย่ียม 4 คะแนน
แบบฝึกหดั รายบุคคลตามตัวชี้วัดต่อไปน้ี พฤติกรรม = ทำได้ทุกตัวช้วี ัด
รายบุคคล - ความซือ่ สตั ย์ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมีวินยั = ทำไดม้ าก
ระหว่างเรยี น - ความมเี หตุผล ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
- การรว่ มแสดงความคิดเห็น ระดับ 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ
- ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของ 1 คะแนน
ผอู้ ืน่ = ทำไมไ่ ด้ถึงทำได้น้อยมาก
- การทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้
อยา่ งสร้างสรรค์

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบสืบสอบ (Inquiry method)

ขน้ั นำ
1. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบตรวจสอบความรู้กอ่ นเรยี น

2. ครูใชค้ ำถามต่อไปนี้
2.1 อนภุ าคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของสสารคอื อะไร (อะตอม)
2.2 หากต้องการทราบมวลของอะตอม สามารถนำอะตอมมาชั่งไดห้ รือไม่ (ไม่ได้ เพราะ

อะตอมมขี นาดเล็กมากจนไม่สามารถเหน็ ได้ดว้ ยตาเปล่า จงึ ไม่สามารถจับต้องหรือนำมาช่งั ได้)
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยกล่าววา่ ในทางเคมเี นื่องจากอะตอมของธาตุมขี นาดเล็กมาก มีมวล

นอ้ ยมากจนไม่สามารถช่ังได้ วธิ กี ารท่จี ะได้มาซึ่งมวลจึงหาได้จากการคำนวณหามวลของธาตุ 1

อะตอม หรือหาจากการเปรยี บเทยี บมวลอะตอมของธาตุ หรอื หาไดจ้ ากการคำนวณมวลอะตอมของ
ธาตแุ ล้วเฉล่ยี ตามปริมาณท่ีพบในธรรมชาติ น่ันคือมวลอะตอม มวลอะตอมสมั พทั ธ์และมวลอะตอมเฉลีย่

ขนั้ สอน
1. นกั เรียนตอบคำถามทบทวนเกีย่ วกับเรอื่ งอะตอม ดงั น้ี
1.1 ครแู สดงภาพโครงสรา้ งอะตอม แลว้ ถามว่า ภายในอะตอมประกอบดว้ ยอนภุ าคใดบ้าง

(โปรตรอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน)
1.2 โปรตอน นวิ ตรอนและอิเล็กตรอนมีมวลเท่าไร (โปรตอนและนวิ ตรอนมีมวลเท่ากันคือ

1.66 x 10-24 กรัม อเิ ล็กตรอนมมี วล 9.41 x 10-28 กรัม )
1.3 อนุภาคใดบ้างที่มีผลต่อมวลอะตอม (โปรตอนและนวิ ตรอน)
1.4 เพราะเหตุใดอนุภาคของอเิ ล็กตรอนจงึ ไมม่ ผี ลตอ่ มวลอะตอม (เพราะอเิ ลก็ ตรอนมี

มวลน้อยกวา่ โปรตอนและนิวตรอนประมาณ 1800 เทา่ มีค่านอ้ ยมากจนถือวา่ ไมม่ ผี ลต่อมวลอะตอม)
2. ครูและนักเรยี นรว่ มสรุปเรื่องมวลอะตอมว่า “มวลอะตอมของธาตหุ าไดจ้ ากผลรวมของ

มวลโปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอน แต่อิเลก็ ตรอนมีมวลนอ้ ยมาก มวลอะตอมจึงมีค่าใกล้เคียงกบั
ผลรวมของมวลโปรตอนและนิวตรอน ซึ่งมีคา่ น้อยมากในหนว่ ยกรัมหรอื กโิ ลกรัม”

3. ครูใชค้ ำถามว่า อะตอมของแต่ละธาตมุ ีมวลเท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตุใด ( ไมเ่ ทา่ กัน
เน่อื งจากธาตุแตล่ ะชนดิ มีจำ นวนโปรตอนและนิวตรอนไมเ่ ทา่ กนั ) จากนั้นครแู ละนกั เรียนอภิปราย
รว่ มกันเกย่ี วกับการหามวลอะตอมซึ่งไมส่ ามารถหาได้ด้วยวิธีการชัง่ มวล

4. ครูหยิบสงิ่ ของชนดิ เดยี วกันที่มลี ักษณะต่างกนั ขน้ึ มา 2 ช้นิ (เชน่ ปากกา 2 แบบ) แล้วถาม
นกั เรียนว่า "นกั เรียนคิดวา่ ของชนดิ เดียวกัน แตค่ นละแบบ อย่างเชน่ ปากกาท่ีครูถืออยู่ทงั้ สองด้ามนี้ มี
มวลเท่ากนั หรอื ไม"่ (ไม่เทา่ กนั )

5. ครใู ชค้ ำถามวา่ "แล้วเราจะทราบได้อยา่ งไรว่าอันใดหนักกวา่ กนั " (ตัวอย่างคำตอบ: ลองถือ
หรอื ช่งั น้ำหนกั )

6. ครูกล่าวว่า "จากการชง่ั น้ำหนักจะพบวา่ ปากกาดา้ มท่ี 1 มีมวล 10 กรมั ส่วนปากกาด้ามที่
2 มีมวล 30 กรัม ถ้าเราใช้วิธีการเปรียบเทียบมวลของปากกาทั้งสองด้าม โดยให้ปากกาด้ามที่ 1 มี
มวลเป็น 1 หน่วย แลว้ ปากกาด้ามที่ 2 จะมมี วลเทา่ กบั ก่หี นว่ ย" (3 หนว่ ย)

7.ครูกล่าวว่า "ในทางเคมีเนื่องจากอะตอมของธาตุมีขนาดเล็กมาก มีมวลน้อยมากจนไม่
สามารถชั่งได้ วิธีการที่จะได้มาซึ่งมวลจึงให้การเปรียบเทียบคล้าย ๆ กับที่ครูเปรียบเทียบปากกาท้ัง
สองดา้ มนั่นเอง" เพื่อนำเขา้ สวู่ ิธีการหามวลอะตอมสัมพทั ธโ์ ดยเปรียบเทยี บกับธาตุมาตรฐาน

8. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับมวลอะตอมสัมพัทธ์ซึ่งเป็นค่าที่ไม่มีหน่วยกำกับและวิธีการ
เปรียบเทียบมวลอะตอมของธาตุกับธาตุมาตรฐาน โดยปัจจุบันใช้ 12C ที่เป็นไอโซโทปหลักของ
คาร์บอนเปน็ ธาตุ มาตรฐานในการเปรียบเทียบจากนนั้ ครอู ธบิ ายการคำนวณโดยยกตวั อยา่ งประกอบ

ตัวอยา่ งที่ 1 ธาตุแมกนเี ซียม (Mg) มีมวลอะตอมสัมพัทธ์ 24.30 ธาตุแมกนเี ซียมมีมวลอะตอมเท่าไร

มวลอะตอมสัมพัทธ์ = มวลอะตอมของธาตุ (g)
มวลอะตอมของ Mg (g) = 1.66 × 10-24(g)

24.30 x 1.66 x 10-24 g

= 4.03 x 10-23 g

ดงั นน้ั ธาตุแมกนีเซยี มมีมวลอะตอม 4.03 x 10-23 g

ตัวอย่างท่ี 2 ธาตุโซเดยี ม (Na) 10 อะตอม มีมวล 3.82 x 10-22 กรัม มวลอะตอมสมั พทั ธ์ของธาตุ
โซเดียมมคี ่าเท่าใด

วธิ ที ำ ข้ันท่ี 1 หามวลอะตอมของโซเดียมหรอื มวลของโซเดยี ม 1 อะตอม

มวลของ Na 1 อะตอม 3.82 x 10-22g
= 10 atom
= 3.82 x 10-23 g/atom

ข้ันท่ี 2 หามวลอะตอมสมั พทั ธ์ของโซเดียม

มวลอะตอมสัมพัทธ์ = มวลอะตอมของธาตุ (g)

1.66 × 10-24(g)

3.82 x 10-23 g
= 1.66 × 10-24g

= 23.0

ดงั นั้น มวลอะตอมสมั พทั ธข์ องธาตโุ ซเดียมมีค่าเท่ากับ 23.0

ขัน้ สรุป
1. ครูและนกั เรียนร่วมกันอภิปรายขอ้ สงสยั เกยี่ วกับมวลอะตอมและมวลอะตอมสัมพทั ธ์
2. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝกึ หัดท่ี 4.1 ในหนงั สือเรยี น ข้อ 1-4 จากนนั้ ครูและนักเรียนรว่ มกนั

เฉลยและแสดงวธิ ีทำพรอ้ มกัน

สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1. หนงั สือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ (เคมี) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ 2
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
2. แบบฝึกหดั ท่ี 4.1
แหลง่ เรยี นรู้
1. เวบ็ ไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-chem/m4-chem-book2/
2. เว็บไซต์ https://www.scimath.org/ebook-chemistry



สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจัดกิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ..........................................................ผ้สู อน
(นางสาวเกษราพร บริพนั ธ์)
............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสูตรฯ
 กิจกรรมการเรียนรเู้ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใชส้ อื่ หรือแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีทนั สมัยและส่งเสริมการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
 ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวทิพวลั ย์ ช่อสวุ รรณ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนเิ ทศ

 กอ่ นใช้สอน  หลงั ใชส้ อน

 มีบันทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ดิ์)
หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศจ์ ิระศกั ด์ิ)

รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา เคมี2 รหัสวิชา ว30222 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เรอ่ื ง

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมค่อนขา้ งบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง

ซื่อสัตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขที่ ผลการประเมนิ

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

ซื่อ ัสตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขท่ี ผลการประเมิน

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ ่าน
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30

ลงชอ่ื ......................................... ผู้ประเมิน
(..............................................)

เกณฑ์การประเมนิ ( ชว่ งคะแนน 16 – 20 )
ระดบั คุณภาพ 4 = ดีมาก ( ช่วงคะแนน 11 – 15 )
ระดับคุณภาพ 3 = ดี ( ช่วงคะแนน 6 – 10 )
ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง ( ช่วงคะแนน 1 – 5 )
ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2

รายวิชา เคมี 2 รหสั วชิ า ว30222 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 โมลและสตู รเคมี เวลา 17 ชว่ั โมง

เรือ่ ง มวลอะตอมเฉลี่ยและมวลโมเลกุล เวลา 2 ชวั่ โมง

ผู้สอน นางสาวเกษราพร บริพันธ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี

แนวคดิ สำคญั (สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด)
มวลอะตอมเฉล่ีย ได้จากการเฉล่ยี จากค่าของมวลอะตอมแต่ละไอโซโทปตามปรมิ าณท่ีอยู่ใน

ธรรมชาติ
เม่อื อะตอมของธาตรุ วมกนั เป็นโมเลกุล ผลรวมมวลอะตอมของธาตใุ นสตู รเคมี เรยี กวา่

มวลโมเลกุล (molecular mass) สารทีไ่ มอ่ ยู่ในรูปโมเลกุล เช่น สารประกอบไอออนิก โลหะ ผลรวม
มวลอะตอมของธาตุในสตู รเคมี เรียกวา่ มวลสตู ร (formula mass)

มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี3. เขา้ ใจหลักการทำปฏบิ ัตกิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยน

หนว่ ย การคาํ นวณปรมิ าณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมทง้ั การบูรณาการความรแู้ ละ
ทักษะในการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นชวี ิตประจำวันและการแก้ปญั หาทางเคมี

ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำนวณมวลอะตอมเฉลยี่ ของธาตุ มวล

โมเลกลุ และมวลสตู ร

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายของมวลอะตอมเฉล่ีย มวลโมเลกลุ และมวลสูตร
2. คาํ นวณมวลอะตอมเฉล่ยี ของธาตุ
3. คำนวณมวลโลเลกุลและมวลสูตร

สาระการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

1. มวลอะตอมเฉลีย่

2. มวลโมเลกลุ และมวลสูตร

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

1. อธบิ ายความหมายของมวลอะตอมเฉลย่ี มวลโมเลกุลและมวลสตู ร

2. คำนวณมวลอะตอมเฉลยี่ มวลโมเลกุลและมวลสูตร

ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  5. อยู่อย่างพอเพยี ง

 2. ซอื่ สัตยส์ ุจริต  6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

 3. มีวนิ ัย  7. รกั ความเป็นไทย

 4. ใฝ่เรยี นรู้  8. มจี ติ สาธารณะ

เบญจวถิ กี าญจนา
 1. เทิดทูนสถาบัน
 2. กตัญญู
 3. บคุ ลกิ ดี
 4. มวี ินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะทีส่ ำคญั ของผเู้ รียน
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เน้นสู่การพัฒนาผ้เู รียน
ความสามารถและทักษะทีจ่ ำเปน็ ในการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)

 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อย่างมี

วจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรมต่าง

กระบวนทัศน์)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความร่วมมือ การ
ทำงานเป็นทีมและภาวะผนู้ ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร

สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสือ่ )
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสอื่ สาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู้)  L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผู้นำ)

การวดั และประเมินผล

ด้านความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชิ้นงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
แบบประเมิน
ตอบ ตรวจคำตอบของคำถาม การตอบ ผา่ นเกณฑ์คะแนนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ย
คำถาม ละ 50
คำถาม สะท้อนความคดิ ดังน้ี สะท้อน
ความคดิ
สะท้อน 1. ความถูกต้องครอบคลุมสงิ่ ที่
แบบฝกึ หดั
ความคิด ได้เรียนรู้ 4.1

2. ความสมเหตุสมผล

3. การตงั้ คำถามที่อยากรู้

แบบฝกึ หดั ตรวจแบบฝึกหัด 4.1 ข้อ 5-8

4.1

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์ท่ใี ช้
ชิ้นงาน
แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ย
แบบฝึกหัด วัดความถูกต้องของแบบฝกึ หัด 4.1ข้อ 5-8 ละ 50

4.1 ข้อ 5-8 4.1 ขอ้ 5-8

ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชิ้นงาน

- การทำ สังเกตการทำแบบฝกึ หดั แบบสงั เกต ระดบั 4 ดเี ย่ียม 4 คะแนน
แบบฝึกหดั รายบุคคลตามตวั ช้ีวัดตอ่ ไปน้ี พฤติกรรม = ทำไดท้ ุกตวั ชีว้ ดั
รายบุคคล - ความซื่อสตั ย์ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมีวินยั = ทำได้มาก
ระหวา่ งเรียน - ความมเี หตุผล ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
- การรว่ มแสดงความคิดเหน็ ระดับ 1 ตอ้ งปรับปรุง
- ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของ 1 คะแนน
ผ้อู ่ืน = ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้น้อยมาก
- การทำงานรว่ มกับผู้อืน่ ได้
อย่างสร้างสรรค์

กจิ กรรมการเรียนรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นร้แู บบสืบสอบ (Inquiry method)

ขน้ั นำ

1. ครนู ำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เร่ืองไอโซโทปของธาตุโดยใช้คำถามต่อไปน้ี
1.1 ไอโซโทปคืออะไร (ไอโซโทป คอื อะตอมของธาตเุ ดยี วกัน มจี ำนวนโปรตอน

เทา่ กันแต่มจี ำนวนนิวตรอนต่างกัน)
1.2 หากจำนวนโปรตอนเท่ากันแตน่ วิ ตรอนตา่ งกนั มวลอะตอมจะตา่ งกันหรือไม่

(ต่างกัน)
2. ครูยกตวั อย่างไอโซโทปของธาตคุ ารบ์ อนในธรรมชาติ ได้แก่ H-1 H-2 และ H-3 จากน้ัน

ถามว่า นักเรยี นคิดว่าในธรรมชาตมิ ีปรมิ าณ H-1 H-2 และ H-3 เท่ากนั หรือไม่ (ไมเ่ ท่ากัน)

3. ครเู กร่นิ นำเข้าส่บู ทเรียนว่า เนือ่ งจากธาตบุ างชนิดมหี ลายไอโซโทป การคดิ หามวละตอม
ของธาตุจึงต้องคิดจากมวลอะตอมเฉลีย่

ขั้นสอน

1.ครอู ธบิ ายวา่ เนอ่ื งจากสารเกิดจากการรวมตวั กนั ของอะตอมของธาตุ ซง่ึ ในธรรมชาตธิ าตุ

แต่ละชนดิ อาจมีหลายไอโซโทปในปรมิ าณท่แี ตกตา่ งกนั ดังน้นั การคำนวณเก่ยี วกบั มวลของสารจึงใช้

มวลอะตอมท่ีได้จากการเฉลีย่ จากคา่ ของมวลอะตอมของแต่ละไอโซโทปตามปรมิ าณที่อยู่ในธรรมชาติ

2. ครใู หค้ วามรู้เกีย่ วกบั มวลอะตอมและปริมาณของไอโซโทปในธรรมชาติ เช่น คาร์บอนมี 3

ไอโซโทป คือ 12C มมี วลอะตอม 12.0000 ในธรรมชาตมิ ีอย่รู ้อยละ 98.930 13C มีมวลอะตอม

13.0034 ในธรรมชาติมีอยรู่ ้อยละ 1.070 สว่ น 14C เปน็ ไอโซโทปกัมมนั ตรังสมี ีปริมาณน้อยมาก แลว้

อภปิ รายรว่ มกนั เกี่ยวกบั วิธีการหามวลอะตอมเฉลยี่ ของธาตุ ซึง่ หาไดจ้ าก

มวลอะตอมเฉลีย่ ของธาตุ = ผลรวมของ [ (% ไอโซโทป) (มวลอะตอมของไอโซโทป) ]

100

จากนั้นคำนวณมวลอะตอมเฉลี่ยของคารบ์ อน ซงึ่ คำนวณได้เทา่ กบั 12.011

3. ครูให้นกั เรยี นพจิ ารณามวลอะตอมในตารางธาตุ เพื่ออภิปรายและลงข้อสรุปวา่ คา่

มวลอะตอมที่ปรากฏในตารางธาตเุ ปน็ ค่ามวลอะตอมเฉลีย่ ซ่งึ นิยมเรยี กวา่ มวลอะตอม ซึ่งสังเกตได้

จากคา่ มวลอะตอมของคาร์บอนในตารางธาตุไม่เท่ากับ 12.0000 แต่เท่ากบั 12.01 จากนน้ั

ยกตัวอยา่ งมวลอะตอมของธาตุอืน่ ๆ ท่ีปรากฏในตารางธาตุเปรียบเทยี บกบั คา่ มวลอะตอมเฉลยี่ ใน

ตาราง 4.1 ในหนงั สือ

4. ครูอธิบายเก่ียวกบั วธิ คี ำนวณมวลโมเลกลุ และมวลสตู รของสาร ซึ่งหาไดจ้ ากผลรวมของ

มวลอะตอมของธาตุองค์ประกอบตามสตู รเคมี เนน้ ยำ้ ความเหมือนและความแตกตา่ งของมวลโมเลกุล

และมวลสตู ร โดยยกตัวอย่างต่อไปนี้

ตวั อย่างที่ 1 จงคำนวณหามวลโมเลกุลของน้ำ (H2O)
มวลโมเลกุลของ H2O = (มวลอะตอมของ H x 2) + (มวลอะตอมของ O x 1)
= (1.01 x 2) + (16.00 x 1)

= 2.02 + 16.00

= 18.02

ตวั อยา่ งท่ี 2 น้ำตาลทรายมีสูตรโมเลกุลเป็น C12H22O11 มมี วลโมเลกลุ เท่าไร
มวลโมเลกลุ ของ C12H22O11 = (มวลอะตอมของ C x 12) + (มวลอะตอมของ H x 22)
+ (มวลอะตอมของ O x 11)

= (12.01 x 12) + (1.01 x 22) + (16.00 x 11)

= 342.34

ตัวอยา่ งที่ 3 จงหามวลสูตรของแคลเซยี มซัลเฟต (CaSO4)

มวลสตู รของ CaSO4 = (มวลอะตอมของ Ca x 1) + (มวลอะตอมของ S x 1)

+ (มวลอะตอมของ O x 4)

= (40.08 x 1) + (32.06 x 1) + (16.00 x 4)

= 136.14

ขนั้ สรุป
1. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายข้อสงสยั เก่ียวกบั มวลอะตอมเฉลี่ย มวลโมเลกุลและมวลสูตร
2. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหัดท่ี 4.1 ในหนงั สอื เรยี น ข้อ 5-8 จากนัน้ ครูและนักเรยี นร่วมกนั

เฉลยและแสดงวธิ ที ำพรอ้ มกัน

สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์ (เคมี) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่ม 2
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
2. แบบฝึกหดั ที่ 4.1
3. ส่ือ PowerPoint
แหล่งเรียนรู้
1. เวบ็ ไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-chem/m4-chem-book2/
2. เว็บไซต์ https://www.scimath.org/ebook-chemistry

แบบฝึกหดั 4.1 ข้อ 5-8



สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจดั กจิ กรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ..........................................................ผู้สอน
(นางสาวเกษราพร บริพันธ์)
............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสูตรฯ
 กิจกรรมการเรียนรเู้ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใชส้ อื่ หรือแหลง่ เรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และส่งเสริมการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
 ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวทิพวลั ย์ ช่อสวุ รรณ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนเิ ทศ

 กอ่ นใช้สอน  หลงั ใชส้ อน

 มีบันทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ดิ์)
หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศจ์ ิระศกั ด์ิ)

รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา เคมี2 รหัสวิชา ว30222 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เรอ่ื ง

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมค่อนขา้ งบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง

ซื่อสัตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขที่ ผลการประเมนิ

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

ซื่อ ัสตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขท่ี ผลการประเมิน

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ ่าน
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30

ลงชอ่ื ......................................... ผู้ประเมิน
(..............................................)

เกณฑ์การประเมนิ ( ชว่ งคะแนน 16 – 20 )
ระดบั คุณภาพ 4 = ดีมาก ( ช่วงคะแนน 11 – 15 )
ระดับคุณภาพ 3 = ดี ( ช่วงคะแนน 6 – 10 )
ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง ( ช่วงคะแนน 1 – 5 )
ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3

รายวชิ า เคมี 2 รหัสวชิ า ว30222 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 โมลและสูตรเคมี เวลา 17 ชว่ั โมง

เรอ่ื ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างโมลกบั จำนวนอนุภาค เวลา 2 ชั่วโมง

ผูส้ อน นางสาวเกษราพร บริพนั ธ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สรุ าษฎร์ธานี

แนวคิดสำคญั (สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด)
โมล (mole) คอื หน่วยทใี่ ช้บอกปริมาณสารทางเคมี สารใดๆ 1 โมล มจี ำนวนอนภุ าคเท่ากับ

6.02 x 1023 อนุภาค และเรยี กจำนวนอนุภาคน้วี า่ เลขอาโวกาโดร (Avogadro’s number)

มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี3. เขา้ ใจหลกั การทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หนว่ ยวัดและการเปลี่ยน

หน่วย การคาํ นวณปรมิ าณของสาร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย รวมทั้งการบรู ณาการความรู้และ
ทกั ษะในการอธบิ ายปรากฏการณ์ในชวี ติ ประจำวันและการแก้ปัญหาทางเคมี

ผลการเรียนรู้
2. อธิบายและคำนวณปริมาณใดปรมิ าณหนง่ึ จากความสมั พันธข์ องโมล จำนวนอนุภาค มวล

และปรมิ าตรของแก๊สที่ STP

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายของโมลและเลขอาโวกาโดร
2. อธิบายความสัมพนั ธ์ของโมลกับจำนวนอนภุ าค
3. คำนวณปริมาณสารจากความสัมพันธข์ องโมลกบั จำนวนอนุภาค

สาระการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)

1. โมล

2. ความสมั พันธ์ระหว่างโมลกับจำนวนอนภุ าค

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. อธบิ ายความหมายของโมลและเลขอาโวกาโดร

2. คำนวณปรมิ าณสารจากความสมั พันธ์ของโมลกบั จำนวนอนุภาค

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

 2. ซือ่ สัตยส์ ุจรติ  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

 3. มีวินยั  7. รกั ความเปน็ ไทย

 4. ใฝ่เรียนรู้  8. มีจิตสาธารณะ

เบญจวถิ กี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบัน
 2. กตญั ญู
 3. บุคลิกดี
 4. มวี ินัย
 5. ใหเ้ กียรติ

สมรรถนะท่สี ำคญั ของผเู้ รียน
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จุดเนน้ สูก่ ารพฒั นาผู้เรยี น
ความสามารถและทกั ษะทีจ่ ำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)

 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี

วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรมตา่ ง

กระบวนทศั น์)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การ
ทำงานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร

สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่ือ)
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสอ่ื สาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู้)  L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผนู้ ำ)

การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ช้นิ งาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
แบบประเมนิ
ตอบ ตรวจคำตอบของคำถาม การตอบ ผ่านเกณฑ์คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อย
คำถาม ละ 50
คำถาม สะท้อนความคิด ดังนี้ สะท้อน
ความคิด
สะทอ้ น 1. ความถูกต้องครอบคลุมสง่ิ ท่ี
แบบฝกึ หดั
ความคดิ ได้เรยี นรู้ 4.2

2. ความสมเหตสุ มผล

3. การต้งั คำถามที่อยากรู้

แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝกึ หัด 4.2

4.2

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์ที่ใช้
ชน้ิ งาน
แบบฝกึ หดั ผ่านเกณฑ์คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อย
แบบฝึกหดั วัดความถกู ต้องของแบบฝกึ หัด 4.2 ละ 50

4.2 4.2

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เครื่องมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ชนิ้ งาน

- การทำ สงั เกตการทำแบบฝึกหดั แบบสงั เกต ระดับ 4 ดีเย่ยี ม 4 คะแนน
แบบฝึกหัด รายบคุ คลตามตัวช้วี ัดตอ่ ไปนี้ พฤติกรรม = ทำได้ทุกตวั ชวี้ ดั
รายบคุ คล - ความซอ่ื สัตย์ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมีวนิ ัย = ทำไดม้ าก
ระหว่างเรยี น - ความมีเหตุผล ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย
- การร่วมแสดงความคิดเห็น ระดบั 1 ต้องปรบั ปรงุ
- ยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของ 1 คะแนน
ผ้อู น่ื = ทำไมไ่ ด้ถงึ ทำได้น้อยมาก
- การทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้
อยา่ งสรา้ งสรรค์

กิจกรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู บบสืบสอบ (Inquiry method)

ขน้ั นำ
1. นกั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

1.1 รูปท่นี กั เรยี นเห็นคืออะไร และมลี กั ษณนามหรือหน่วยนบั เรียกว่าอะไร
(ไข่ไก่ เรียกเปน็ ฟอง)

1.2 ในรูปมีไข่ไก่กี่ฟอง (12 ฟอง) 12 ฟอง คิดเปน็ กี่โหล (1 โหล)
1.3 กระดาษ A4 มีหน่วยเป็นอะไร (แผน่ )

1.4 หากมกี ระดาษ A4 500 แผ่นเราสามารถบอกปรมิ าณกระดาษในรปู แบบอ่นื ไดอ้ ีก
หรือไม่ อย่างไร (ได้ กระดาษ A4 1 รีม)

1.5 นักเรยี นคิดว่าทำไมจึงต้องมหี น่วยโหลหรอี รมี อีก ในเมื่อมเี รามหี นว่ ยฟองหรือแผน่
เพื่อใชใ้ นการเรียกอยู่แล้ว (เพอ่ื ให้สะดวกตอ่ การเรียกและการใชง้ าน)

2. ครูนำเข้าสู่บทเรียนว่า การบอกปริมาณสารเคมีก็เช่นกัน อาจบอกเป็นหน่วยมวล หน่วย
ปริมาตร หรือหน่วยแสดงจำนวนอนุภาคของสาร แต่เนื่องจากสารประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็ก
และมจี ำนวนมาก นักเคมีจงึ กำหนดหน่วยโมลเพ่ือให้สะดวกต่อการเรียกและวดั ได้ในชวี ติ ประจวนั

ขนั้ สอน

1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับหน่วยวัดปริมาณในชีวิตประจำวัน เช่น กรัม ลิตร โหล

เพื่อเชื่อมโยงเขา้ สู่การบอกปริมาณสารเคมีที่อาจบอกเปน็ หน่วยมวล หน่วยปริมาตร หรือหน่วยแสดง

จำนวนอนุภาค แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่หน่วยโมล โดยอธิบายความหมายของโมลที่สัมพันธ์กับเลขอาโวกา

โดร หรือค่าคงตัวอาโวกาโดร และให้สังเกตว่า เลขอาโวกาโดรเป็นส่วนกลับของ 1.66 × 10-24 ซ่ึง

เท่ากับ 1 หนว่ ยมวลอะตอม

2. ครูให้นักเรียนพิจารณาตาราง 4.2 เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า หน่วยโมลสามารถใช้ในการบอก

จำนวนอนุภาคซึ่งอาจเป็นอะตอม โมเลกุล ไอออน หรืออื่น ๆ ขึ้นอยู่กับประเภทของสาร จากน้ัน

อธิบายเกี่ยวกับการหาจำนวนอะตอมหรือไอออนที่เป็นองค์ประกอบของสาร โดยพิจารณาจากสูตร

เคมแี ละความสมั พันธ์ระหว่างจำนวนโมลและจำนวนอนภุ าคของสาร

ตาราง 4.2 จำนวนอนุภาคของสารบางชนิดปรมิ าณ 1 โมล

สาร จำนวนอนภุ าค

ครปิ ทอน (Kr) 6.02 x 1023 อะตอม

นำ้ (H2O) H2O 6.02 x 1023 โมเลกุล
H 6.02 x 1023 อะตอม

O 6.02 x 1023 อะตอม

โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4) Na+ 2 x 6.02 x 1023 ไอออน
SO42- 6.02 x 1023 ไอออน

3. ครใู ห้นักเรียนตอบถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ

4. ครอู ธิบายวา่ เนื่องจากสารมีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนไมเ่ ทา่ กัน ดังน้นั สารแตล่ ะชนดิ
ปริมาณ 1 โมล อาจมีมวลและปริมาตรไม่เท่ากัน จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเขียนแฟก
เตอร์เปลย่ี นหนว่ ยจากความสมั พนั ธ์ระหวา่ งจำนวนโมลและจำนวนอนภุ าค

5. ครูยกตัวอย่างและแสดงการคำนวณหาปริมาณสารจากความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับ
จำนวนอนุภาค ดงั น้ี

ตัวอยา่ งท่ี 1 Ar 3.0 โมล มกี อ่ี นุภาค 3.0 โมล Ar x 6.02 × 1023 อะตอม Ar

จำนวนอะตอมของ Ar = 1.8 x 1024 อะตอม 1 โมล Ar
=

ตัวอย่างที่ 2 K+ 3.01 x 1023 ไอออน มกี ี่โมล

จำนวนโมลของ K+ = 3.01 x 1023 ไอออน K+ x 1 โมล K+ K+
6.02 × 1023 ไอออน
= 0.500 โมล K+

ขั้นสรปุ

1. นกั เรยี นตอบคำถามเพ่ือสรปุ บทเรยี นดังต่อไปนี้

1.1 นกั วทิ ยาศาสตร์กำหนดหน่วยโมลขึ้นมาเพื่ออะไร (นบั ปริมาณอนุภาคของสาร)

1.2 จำนวน 1 โมลของสง่ิ ใดก็ตามจะมจี ำนวนกชี่ ้นิ (6.02 x 1023 ชิ้น)

1.3 จำนวน 6.02 x 1023 เรียกอีกอยา่ งวา่ อะไร (เลขอาโวกาโดร หรอื คา่ คงตัวอาโวกาโดร)

2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายข้อสงสัยเก่ียวกับโมลกับจำนวนอนภุ าค

3. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝึกหัดที่ 4.2 ในหนังสือเรยี น จากน้นั ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั

เฉลยและแสดงวิธที ำพร้อมกัน

สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ (เคมี) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ 2
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
2. แบบฝึกหดั ที่ 4.2
3. ส่ือ PowerPoint
แหลง่ เรียนรู้
1. เว็บไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-chem/m4-chem-book2/
2. เวบ็ ไซต์ https://www.scimath.org/ebook-chemistry

แบบฝกึ หดั 4.2





สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน
ดี
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจัดกิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ..........................................................ผ้สู อน
(นางสาวเกษราพร บริพนั ธ์)
............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสูตรฯ
 กิจกรรมการเรียนรเู้ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใชส้ อื่ หรือแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีทนั สมัยและส่งเสริมการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
 ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวทิพวลั ย์ ช่อสวุ รรณ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนเิ ทศ

 กอ่ นใช้สอน  หลงั ใชส้ อน

 มีบันทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ดิ์)
หวั หน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศจ์ ิระศกั ด์ิ)

รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา เคมี2 รหัสวชิ า ว30222 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เรอ่ื ง

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมค่อนขา้ งบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง

ซื่อสัตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขที่ ผลการประเมนิ

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

ซื่อ ัสตย์ ุสจริต
ีม ิวนัย
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ัมนในการงาน
ีม ิจตสาธารณะ

รวม
เลขท่ี ผลการประเมิน

4 4 4 4 4 20 ผ่าน ไมผ่ ่าน
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30

ลงชอ่ื ......................................... ผู้ประเมนิ
(..............................................)

เกณฑ์การประเมนิ ( ชว่ งคะแนน 16 – 20 )
ระดบั คุณภาพ 4 = ดีมาก ( ช่วงคะแนน 11 – 15 )
ระดับคุณภาพ 3 = ดี ( ช่วงคะแนน 6 – 10 )
ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง ( ช่วงคะแนน 1 – 5 )
ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4

รายวิชา เคมี 2 รหัสวิชา ว30222 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4

กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 โมลและสูตรเคมี เวลา 17 ชว่ั โมง

เร่อื ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างโมลกบั มวลของสาร เวลา 2 ช่วั โมง

ผู้สอน นางสาวเกษราพร บริพันธ์ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคญั (สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด)
มวลของสาร 1 โมล ทม่ี ีหน่วยเปน็ กรัม เรียกวา่ มวลตอ่ โมล ซ่ึงมคี ่าตวั เลขเท่ากับมวลอะตอม

มวลโมเลกุลหรอื มวลสตู รของสารน้นั
มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี3. เขา้ ใจหลกั การทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวัดปริมาณสาร หนว่ ยวดั และการเปล่ียน
หน่วย การคาํ นวณปรมิ าณของสาร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย รวมทงั้ การบูรณาการความร้แู ละ
ทกั ษะในการอธบิ ายปรากฏการณ์ในชีวติ ประจำวันและการแกป้ ัญหาทางเคมี

ผลการเรยี นรู้
2. อธิบายและคำนวณปริมาณใดปรมิ าณหนง่ึ จากความสัมพันธข์ องโมล จำนวนอนภุ าค มวล

และปริมาตรของแกส๊ ที่ STP

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ของโมลกบั มวลของสาร
2. คำนวณมวลโมเลกุลและมวลสตู ร
3. คำนวณปริมาณสารจากความสัมพนั ธข์ องโมลกบั มวลของสาร
4. คำนวณปริมาณสารจากความสัมพนั ธ์ของ โมล มวล และจำนวนอนุภาค

สาระการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

1. ความสมั พันธร์ ะหว่างโมลกับมวลของสาร

2. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโมล มวลและอนภุ าคของสาร

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างโมลกบั มวลของสาร

2. คำนวณปรมิ าณสารจากความสัมพันธข์ องโมลกับมวลของสาร

3. คำนวณปรมิ าณสารจากความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโมล มวลและอนุภาคของสาร

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยูอ่ ย่างพอเพียง

 2. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝ่เรยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตัญญู
 3. บุคลกิ ดี
 4. มีวนิ ัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่สี ำคญั ของผู้เรียน
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จุดเนน้ สูก่ ารพฒั นาผู้เรยี น
ความสามารถและทกั ษะทีจ่ ำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)

 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี

วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรมตา่ ง

กระบวนทศั น์)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การ
ทำงานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร

สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่ือ)
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสอ่ื สาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู้)  L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผนู้ ำ)

การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ช้นิ งาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
แบบประเมนิ
ตอบ ตรวจคำตอบของคำถาม การตอบ ผ่านเกณฑ์คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อย
คำถาม ละ 50
คำถาม สะท้อนความคิด ดังนี้ สะทอ้ น
ความคิด
สะทอ้ น 1. ความถูกต้องครอบคลุมสง่ิ ท่ี
แบบฝึกหดั
ความคดิ ได้เรยี นรู้ 4.3

2. ความสมเหตสุ มผล

3. การต้งั คำถามที่อยากรู้

แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝกึ หัด 4.3

4.3

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื เกณฑ์ทใ่ี ช้
ช้ินงาน
แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อย
แบบฝึกหดั วัดความถกู ต้องของแบบฝกึ หัด 4.3 ละ 50

4.3 4.3

ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ช้นิ งาน

- การทำ สังเกตการทำแบบฝึกหัด แบบสงั เกต ระดับ 4 ดเี ยย่ี ม 4 คะแนน
แบบฝกึ หัด รายบคุ คลตามตวั ชีว้ ดั ต่อไปน้ี พฤติกรรม = ทำได้ทุกตวั ชว้ี ดั
รายบคุ คล - ความซือ่ สัตย์ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
- พฤติกรรม - ความมวี ินยั = ทำได้มาก
ระหว่างเรยี น - ความมีเหตุผล ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำไดน้ อ้ ย
- การร่วมแสดงความคิดเหน็ ระดบั 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของ 1 คะแนน
ผ้อู ่นื = ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำไดน้ ้อยมาก
- การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างสร้างสรรค์

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบสืบสอบ (Inquiry method)

ขัน้ นำ

1. นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1.1 นักวิทยาศาสตร์กำหนดหนว่ ยโมลข้นึ มาเพ่ืออะไร (นบั ปรมิ าณอนุภาคของสาร)
1.2 หนว่ ยโมลสามารถใชใ้ นการบอกจำนวนอะตอมเพยี งอย่างเดยี วใช่หรอื ไม่ (ไม่ใช่)
1.3 หน่วยโมลสามารถใช้ในการบอกจำนวนอนภุ าคอะไรได้บา้ ง (อะตอม โมเลกลุ ไอออน)
1.4 สาร 1 โมลมอี นภุ าคจำนวนเท่ากับเท่าไร (6.02 x 1023 อนุภาค)
1.5 จำนวน 6.02 x 1023 เรียกว่าอะไร (เลขอาโวกาโดร หรือคา่ คงตวั อาโวกาโดร)
2. ครเู ขยี นสตู รเคมีของแอมโมเนยี (NH3) บนกระดานและใชค้ ำถามถามนักเรียนดังน้ี


Click to View FlipBook Version