The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กุ้งไทยหนังสือประกอบงานสัมมนาวิชาการวันกุ้งไทย ครั้งที่ 29
วันที่ 16 - 17 กุมภาพันธ์ 2562ครั้งที่ 29

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AQUA BIZ, 2022-04-10 00:11:36

ธุรกิจกุ้งไทย ไปต่อได้ไหม?

กุ้งไทยหนังสือประกอบงานสัมมนาวิชาการวันกุ้งไทย ครั้งที่ 29
วันที่ 16 - 17 กุมภาพันธ์ 2562ครั้งที่ 29

Keywords: งานวันกุ้งไทย,AQUABIZ,WeSupport_SustainableAquaculture,Premium_ThaiShrimp,กุ้งไทย,การเลี้ยงกุ้ง

วนั กงุŒ ไทย 29ครัง้ ที่

ธุรกิจกงุ ไทย ไปตอ ไดไหม?















þĬŃ ďħĔđĎįŕ Ķį Ęħıŕ ĕĝĪĤđĮ ĒĚĮ ĬĘĖğ
ûĬĝĶğĜįŖ āĒIJĝûĂĮ Ĥďī ġēł ŃŖĬüħāþčIJ

PAQ-Nanno Paste
ĖğďĮ Ěčī ċĺł ěĸþĝĶħğĶûĂþčIJ ĚĬĘĤijāķğĪĶĕĽ ēđĶįŕ Ąħıŕ Đħı ĤĬŃ ĥĝĔī Ĥďī ġēł ŃŖĬ
PAQ-Gro
Ĥďī ġēł ŃŖĬķüĽāķĝā ĕĝĪĤđĮ ĒĚĮ ĬĘûĬĝĶğĜįŖ āķğĪĢûī ĜĚĬĘĤIJüĚĬĘđĎįŕ į
PAQ-Tivate
ďĝþį ijčþčIJ ĘĶĮ ĢģüħāûĝĎĶĘħıŕ Ĥďī ġēł ŃŖĬ


Ĥ ĬĝĎijĎąěİ ąĔī ĤĬĝĘģĮ đěįŕ þį čIJ ĚĬĘķďûďĬľ āķğĪĕĝĪĤđĮ ĒĚĮ ĬĘđĺįŕ ěľĶĥěħı ēđġŕī ĺĕ

WWW.PAHC.COM

HEALTHY ANIMALS. HEALTHY FOOD. HEALTHY WORLD.®

ประวตั ิ

ชมรมผเู้ ล้ียงกงุ้ สุราษฎรธ์ านี

ช่ือภาษาไทย ชมรมผเู้ ลย้ี งกงุ้ สรุ าษฏรธ์ านี
ชอื่ ภาษาอังกฤษ SURATTHANI SHRIMP FARMERS CLUB
สำนักงานชมรมฯ 33/31-32 ม.1 ถ.กาญจนวถิ ี ต.บางกงุ้ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎรธ์ าน ี 84000

โทรศัพท์/โทรสาร (077) 282600

ตราสญั ลกั ษณ์

• ก่อต้งั วนั ที ่ 1 ธันวาคม 2533 ประกอบด้วยผูเ้ ลยี้ งก้งุ 26 ฟารม์
โดยมีคณุ ประคอง จันทรัตน ์ เป็นประธานชมรมฯ คนแรก
• มปี ระธานชมรมฯ ถึงปัจจบุ นั 9 ทา่ น
• มีการประชมุ ทกุ วันที ่ 1 และ 15 ของทุกเดือน
ปจั จบุ ันเป็นการประชุม ครั้งท ่ี 665 (1 กมุ ภาพันธ์ 2562)
• Web site: www.suratthanishrimp.com
• E-mail: [email protected]
วตั ถปุ ระสงคข์ องชมรมฯ มดี งั นี้
• เพ่ืออนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มเก่ยี วกบั การเลยี้ งกุ้งทะเล
• เพื่อแลกเปล่ยี นความรู้ ประสบการณ์ การเล้ยี งกุง้ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
• เพอ่ื ปรบั ปรงุ พฒั นาเครอ่ื งมอื อปุ กรณข์ องสมาชกิ ทใ่ี ชใ้ นฟารม์ กงุ้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
• เพื่อใหส้ มาชกิ ได้มโี อกาสแลกเปลี่ยนความร ู้ ความเคลื่อนไหวทางการตลาด
• เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ผลิตกุง้ ออกสตู่ ลาดอย่างมีคุณภาพ
• เพ่ือใหส้ มาชกิ มคี วามรู้ด้านการบรหิ าร และการจัดการฟาร์ม
• เพ่อื ส่งเสริมอาชีพการเลยี้ งก้งุ ให้เปน็ อาชพี ถาวร
• เพื่อส่งเสริมและสนบั สนุนการศกึ ษาวจิ ัยต่างๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเลีย้ งกงุ้
• เพ่ือดำเนินกิจกรรมอ่นื ๆ ตามท่ปี ระชุมเหน็ ชอบ

สารจาก

นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล

ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เนื่องในงานสัมมนาวิชาการ

“งานวันกุ้งไทย ครั้งที่ 29”
“ธุรกิจกุ้งไทย ไปต่อได้ไหม...??”

อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงกุ้งของไทยมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ได้ผ่านท้ัง
ความสำเร็จ ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะในพ้ืนที่จังหวัด
สุราษฎร์ธานี เป็นหน่ึงในจังหวัดที่ริเร่ิมการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลของประเทศ
เกษตรกรได้มีการปรับตัวและพัฒนาเทคนิควิธีการเล้ียงได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ เช่น การแก้ปัญหาการเกิดโรคตัวแดงระบาด การเป็นผู้นำการ
เปล่ียนแปลงวิธีการเลี้ยงกุ้งไปสู่การเลี้ยงแบบอาศัยความสะอาดเป็นตัวตั้ง
เป็นผรู้ เิ รม่ิ การบริหารจัดการแบบคลัสเตอร์ และใชห้ ลักการตลาดนำการผลิต
อยา่ งไรกต็ าม ในปจั จบุ นั ควรใหค้ วามสำคญั กบั การคา้ แบบออนไลน ์ โดยการ
ตอ่ ยอดเชอื่ มโยงใหเ้ กดิ การจบั คทู่ างธรุ กจิ (Business Matching) เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
เครอื ขา่ ยและขยายธรุ กจิ การคา้ ใหเ้ ตบิ โตเพมิ่ มากขน้ึ อกี ทง้ั เปน็ การเพมิ่ ขดี ความ
สามารถทางการแขง่ ขนั ในระดบั และเทศและระดบั สากล ซง่ึ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
มีชมรมผเู้ พาะเล้ยี งกุ้งทะเลท่ีมคี วามเข้มแขง็ มีโอกาสพฒั นาศกั ยภาพใหจ้ ังหวดั
สรุ าษฎรธ์ านเี ปน็ ศนู ยก์ ลางการผลติ และจำหนา่ ยสนิ คา้ กงุ้ ทะเลของไทยในอนาคต
ในโอกาสน ี้ ผมขออวยพรใหก้ ารจดั งานวนั กงุ้ ไทยครง้ั นปี้ ระสบความสำเรจ็
และขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิท้ังหลาย โปรดอำนวยพร
ให้ท่านสมาชิกและครอบครัวประสบแต่ความสุข ความเจริญ เพียบพร้อมด้วย
กำลงั กาย กำลงั ใจ และกำลงั สตปิ ญั ญา เพอื่ รว่ มกนั สรา้ งสรรคพ์ ฒั นาอตุ สาหกรรม
กุ้งไทยใหก้ า้ วหน้า รุ่งเรือง สดใส ตลอดไป

นายนวิ ตั ิ สธุ มี ชี ยั กลุ
ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรปี ระจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สารจากนายกสมาคมผเู้ ลี้ยงก้งุ ทะเลไทย

ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและผู้ค้ากุ้งรายใหญ่
สดุ แต่ผูเ้ ดียวทตี่ ิดต่อกนั มานานถึง 25 ปี แตผ่ ลกระทบ
จากโรคระบาด EMS ประกอบกับการดำเนินนโยบาย
แกไ้ ขทผี่ ดิ พลาดหลายอยา่ ง ในชว่ งระยะเวลาเพยี ง 3-4 ป ี
กท็ ำใหเ้ ราเปน็ ประเทศผผู้ ลติ และผคู้ า้ รายยอ่ ยไปเสยี แลว้
การเล้ียงกุ้งก็คือ “การเปล่ียนอาหารกุ้ง ให้เป็น
เนอ้ื กงุ้ ” มนั กอ็ ยทู่ ว่ี า่ ใครจะมคี วามสามารถ มปี ระสทิ ธภิ าพ
ในการแปรเปล่ียนไดด้ กี วา่ มตี ้นทุนทแ่ี ขง่ ขันได ้ ใครหรอื
ประเทศไหนทำได้ “ก็อยู่ได้แน่นอน” ถ้าทำไม่ได้หรือ
ต้นทุนผลิตสูงกว่าคู่แข่งมาก “ย่อมอยู่ไม่ได้” เพราะเราไม่ได้เป็นผู้ผลิตแต่ผู้เดียวในโลก
สำหรบั ประเทศผซู้ อื้ ทกุ ประเทศเหมอื นกนั หมด มหี ลกั การงา่ ยๆ แตส่ ากลกค็ อื “ตอ้ งการ
สนิ คา้ คณุ ภาพและบริการดีในราคาทีพ่ ึงพอใจ”
เราในฐานะผเู้ ลย้ี งกงุ้ ตอ้ งชว่ ยกนั อยา่ งไรในการแขง่ ขนั ผมมองวา่ ความสามารถสว่ นตวั
ของผูเ้ ลยี้ งไทยไม่ได้ดอ้ ยกว่าคู่แข่งเทา่ ใดนกั แต่เรายังมปี ระเด็นท่ีตอ้ งรบี แก้ไข คอื
• ต้องชว่ ยกันลดตน้ ทนุ แฝง ซงึ่ กค็ ือโรคระบาดตา่ งๆ ท่ีทำความเสียหายต่อการ
เลี้ยงมหาศาล เรอื่ งนี้ตอ้ งชว่ ยกันทำให้ได้ เพอื่ ความอยู่รอด
• ตอ้ งช่วยกันดแู ลสิ่งแวดลอ้ ม ให้อย่ใู นสภาพดีเพราะเปน็ ตัวแปรทีส่ ำคัญสุดตอ่
ความสำเรจ็ ไมถ่ า่ ยเลนสารอินทรยี ์ลงแหล่งน้ำ เป็นการรักษาความยั่งยนื ของอาชพี
• ชว่ ยกนั รกั ษามาตรฐานคุณภาพกงุ้ ทผ่ี ลติ ให้สด สะอาด ปลอดภัย ปราศจาก
สารตกค้าง โดยเฉพาะ เรื่องยาปฏิชีวนะตกค้าง เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของผู้เลี้ยง
กุง้ ทกุ คน
การจัดงานวนั กงุ้ ไทยน ้ี วัตถุประสงค ์ ก็เพอื่ เพิ่มศักยภาพความสามารถของก้งุ ไทย
ของเรา ผมขอถือโอกาสนี้ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนร่วมทุกๆท่าน ที่มีความมุ่งม่ันต้ังใจทำ
อย่างดีที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายโดยเฉพาะประธานและกรรมการของชมรมผู้เลี้ยงกุ้ง
สุราษฎร์ธานีผู้แข็งขันทุกท่าน และห้างร้านบริษัททุกบริษัทท่ีได้สนับสนุนมาโดยตลอด
รวมถงึ ผเู้ ลย้ี งกงุ้ ทว่ั ประเทศไทยทกุ คนทเ่ี ปน็ ฟนั เฟอื งรกั ษาอตุ สาหกรรม “กงุ้ ไทย” เอาไว้

ท.พ.สรุ พล ประเทืองธรรม

12

สารจากประธานชมรมผ้เู ลยี้ งก้งุ สรุ าษฎร์ธานี

การจัดงานวันกุ้งไทยคร้ังที่ 29 เป็นอีกวาระหนึ่งของ
ชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี ในการทำกิจกรรมให้ความรู้กับ
เกษตรกรผเู้ ลยี้ งกงุ้ โดยไดจ้ ดั เนอ้ื หาสมั มนาวชิ าการเชญิ ครบู า
อาจารย์ผูม้ ี ประสบการณม์ ี ความรูท้ ่เี ก่ยี วกับอุตสาหกรรมกุ้ง
มาเป็นผู้ช้แี นะ นำเสนอแนวความรทู้ ่เี ป็นสถานการณป์ ัจจบุ นั
และในอนาคต เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรไดป้ รบั ตวั ใหท้ นั ตอ่ สถานการณ ์
และในอีกส่วนหน่ึงได้จัดนิทรรศการบูธแสดงผลิตภัณฑ์ท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั อตุ สาหกรรมกงุ้ รวมถงึ ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ นวตั กรรม
ใหม่ๆ ให้เกษตรกรไดศ้ กึ ษา และเลอื กซื้ออย่างหลากหลาย
งานสัมมนาวันกุ้งไทยมีการจัดงานต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบันคือ งานวันกุ้งไทย
ครงั้ ที่ 29 “ธรุ กจิ ก้งุ ไทย ไปตอ่ ได้ไหม?”
ภาพรวมสถานการณ์อุตสาหกรรมกุ้งไทยท้ังระบบช่วงสองสามปีท่ีผ่านมาถึง
ปัจจุบัน มีปัญหาต่างๆ รุมเร้า หลายด้าน ด้านผู้เล้ียงต้องฝ่าฟันกับโรคกุ้งมากมาย
ทง้ั โรคอเี อม็ เอส โรคตวั แดงดวงขาว โรคขขี้ าว สลบั กนั สรา้ งปญั หาใหแ้ กผ่ เู้ ลยี้ งกงุ้ อยา่ งหนกั
ทำให้เกิดภาวะความเส่ยี งสงู ตน้ ทนุ การเลีย้ งสงู ขน้ึ ฟาร์มเลี้ยงจงึ ต้องลดจำนวนบ่อเล้ยี ง
ลดปริมาณการปลอ่ ยให้นอ้ ยลง ทำให้ผลผลติ กงุ้ น้อยลง จากทีเ่ คยมผี ลผลติ สูงสดุ ถึงปีละ
600,000 ตัน ล่าสุดปี 2561 ผลผลิตไม่ถึง 300,000 ตัน เป็นเหตุให้ห้องเย็นผู้ส่งออก
ขาดวัตถุดิบป้อนเข้าระบบการผลิต ไม่กล้ารับออเดอร ์ เพราะไม่มีความม่ันใจผลผลิตกุ้ง
จากฟารม์ เลย้ี ง วา่ จะไดม้ ากนอ้ ยเทา่ ไหร ่ หอ้ งเยน็ จงึ ตอ้ งทยอยหยดุ กจิ การลง ดตู ามสถาน
การณป์ จั จบุ นั อตุ สาหกรรมกงุ้ ไทยคงจะถงึ จดุ จบในเวลาไมน่ านนกั จงึ เปน็ ทม่ี าของคำขวญั
“ธรุ กิจกุง้ ไทย ไปต่อได้ไหม?”
การสัมมนาครั้งน้ี คณะกรรมการจัดงานได้จัดเตรียมเนื้อหาในการสัมมนาให้เกิด
ความร่วมมือกันในทุกๆ ด้าน หวังว่าจะปรับตัวพลิกฟ้ืนอุตสาหกรรมกุ้งไทยให้อยู่ต่อไป
เป็นธุรกิจกุง้ ไทยทีย่ ่งั ยนื สืบไป
การจัดงานวันกงุ้ ไทยครั้งท่ ี 29 นี้ ไดร้ บั ความรว่ มมือจาก กรมประมง หน่วยงาน
ภาครฐั บาล ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ฟารม์ เลย้ี งกงุ้ แบบอยา่ ง นกั วชิ าการ อาจารยท์ เี่ ปน็ วทิ ยากร บรษิ ทั
ผู้ค้าปจั จัยรว่ มออกบธู และใหก้ ารสนับสนุนเป็นสปอนเซอร ์ จึงขอขอบพระคณุ ทุกทา่ นไว้
ณ โอกาสน้ี

นายชยั ภทั ร ประเสรฐิ มรรค

13

กำหนดการสมั มนาทางวิชาการ
“วันกงุ้ ไทย คร้งั ที่ 29”

วนั เสาร์ ท่ี 16 กุมภาพนั ธ์ 2562
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน / รับเอกสาร
09.00 น. พิธเี ปิดงานสัมมนาทางวชิ าการ วันกงุ้ ไทย คร้งั ที่ 29

โดย คณุ นิวัติ สธุ ีมีชัยกลุ ผู้ช่วยรัฐมนตรปี ระจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ ์

10.00 - 10.50 น. ธรุ กิจกงุ้ ไทย ไปต่อได้ไหม?
ภาครฐั หอ้ งเยน็ ผู้เล้ียง จบั มือ ฟ้นื ก้งุ ไทย

โดย คุณชูพงษ์ ลือสขุ ประเสริฐ กรรมการผจู้ ัดการ บริษัท มารนี โกลด ์ โปรดกั ส ์ จำกัด
คุณปรัชญา ศรสี วัสดิ์ ท่ปี รกึ ษาชมรมผู้เล้ยี งกงุ้ สรุ าษฎร์ธาน ี / ซวี ฟี ารม์
คณุ นิวตั ิ สธุ มี ีชยั กุล ผชู้ ่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดำเนนิ รายการโดย คุณสุขเกษม จารพุ งศ์ นิตยสารอควาบิซ

10.50-11.20 น. คยุ ขา่ ว รอ้ น : ระวังสารตกค้าง จะเป็นผูร้ า้ ย
โดย ดร.พทุ ธ ส่องแสงจินดา ผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นการเพาะเล้ยี งกงุ้ ทะเล
กองวิจยั และพัฒนาการเพาะเลย้ี งสัตว์นำ้ ชายฝ่ัง กรมประมง

ท.พ.สรุ พล ประเทอื งธรรม นายกสมาคมผู้เลยี้ งกุ้งทะเลไทย
11.20-11.30 น. วิดทิ ศั น์ Platinum Sponsor บรษิ ัท ไทยลักซ์ เอน็ เตอรไ์ พรส ์ (ประเทศไทย) จำกัด
11.30-12.00 น. โภชนาการในอาหารกุ้ง มติ ิใหม่ ที่เกษตรกรควรเขา้ ใจ
โดย คณุ กองทูล แก้วจนั ทร์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยการตลาด บริษทั พีพ ี ไพร์ม จำกดั (มหาชน)
คุณสาธติ พานิชย์ ผบู้ ริหาร บรษิ ัท มารีน ลีดเดอร ์ จำกดั
12.00-14.30 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน - ชมนิทรรศการ

14

14.30-16.00 น. หยุดโรค... ฟื้นส่งิ แวดลอ้ ม เพ่อื กุ้งไทยได้ไปตอ่
โดย น.สพ.ปราการ เจยี ระคงมัน่ รองกรรมการผู้จัดการ
บรษิ ทั เจรญิ โภคภณั ฑอ์ าหาร จำกดั (มหาชน)
การจดั การส่งิ แวดล้อมที่ดี เพือ่ ปอ้ งกันโรค
ศรีวชิ ยั ฟารม์ ซวี ีฟารม์ ศ.อาหล่ยั ฟารม์ สริ ิฟารม์
โดย น.สพ.สุรศกั ด์ิ ดิลกเกียรติ
16.00-16.10 น. พกั รับประทานอาหารว่าง
16.10-16.20 น. วดิ ทิ ัศน์ Platinum Sponsor บรษิ ัท เจริญโภคภัณฑอ์ าหาร จำกัด (มหาชน)
16.20-16.50 น. เทคนคิ 3 ปี ยงั ดีต่อเนือ่ ง
โดย คณุ ปรชี า สขุ เกษม ศรีสงขลาฟารม์

วันอาทิตย์ ท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2562
9.30-11.30 น. สารพัด “เทคนคิ การเล้ยี ง และ เทคนิคหยุดข้ขี าว”
ไชยวฒั น์ฟารม์ ศรีสบุ รรณฟาร์ม

พัก รับประทานอาหารว่าง

ประเสรฐิ ฟาร์ม พอดีฟาร์ม

สรุปวาระ โดย ผศ.ดร.นิติ ชูเชิด ผอู้ ำนวยการศูนย์วจิ ัยธุรกิจเพาะเลี้ยงสตั วน์ ำ้
คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์

11.30-12.00 น. นวัตกรรม ระบบฟาร์มกุง้ ยคุ อนาคต
โดย คณุ พนั กวี องั สมุ าลี อ.หลงั สวน จ.ชุมพร
12.00-14.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั - ชมนทิ รรศการ
14.00-14.10 น. วดิ ิทศั น ์ Platinum Sponsor บรษิ ัท เอเช่ียนฟดี จำกดั
14.10-14.40 น. ผลติ กุ้งอย่างไร ให้โดนใจห้องเยน็
โดย คุณวลั ลภ ล้อมล้มิ กรรมการผู้จดั การ บรษิ ัท เอเชย่ี นฟีด จำกดั
14.40-14.50 น. พกั รับประทานอาหารว่าง
14.50-15.50 น. ชี้ทางกงุ้ ไทย ต้องไปต่อ
โดย รศ.ดร.ชลอ ลิม้ สวุ รรณ ศูนยว์ ิจัยธรุ กิจเพาะเลยี้ งสัตว์นำ้
คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

15.50 น. ปิดสัมมนา

15

สารบญั

18 ธรุ กิจกงุ้ ไทย ไปต่อได้ไหม? ภาครฐั ห้องเย็น ผ้เู ล้ยี ง

จับมือฟ้นื กงุ้ ไทย

20 ธรุ กิจกุ้งไทย ไปตอ่ ได้ไหม??
26 ระวังสารตกคา้ ง จะเป็นผูร้ ้าย
30 คุยข่าวร้อน “ระวงั สารตกค้างจะเปน็ ผรู้ ้าย”
40 โภชนาการในอาหารกงุ้ ทีเ่ กษตรกรควรเขา้ ใจ
44 หยุดโรค...ฟน้ื สงิ่ แวดลอ้ ม เพื่อกงุ้ ไทยได้ไปตอ่
68 หยุดโรค...ฟ้ืนคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม เพอ่ื กุ้งไทยได้ไปต่อ
78 โรคตดิ เช้อื อีเอชพีกบั การเลยี้ งกุ้งขาว
87 โรคขี้ขาวในกงุ้ ขาว

16

97 เทคนคิ 3 ปี ดตี อ่ เนอื่ ง (3 ป ี 3 สะอาด)
111 การจดั การการเลี้ยงเพือ่ หยุดโรคขข้ี าว
117 นวัตกรรมระบบฟารม์ กงุ้ ยุคอนาคต
123 ช้ีทางกงุ้ ไทยตอ้ งไปต่อ
133 ธุรกิจก้งุ ไทย ไปตอ่ ได้ไหม?
134 ประเสรฐิ ฟาร์มเทคนคิ อนบุ าลบนคนั บอ่
138 เลีย้ งบาง เล้ียงง่าย เลยี้ งสไตล์ไชยวฒั นฟ์ าร์ม
144 แนวทางการเล้ียงกงุ้ แบบศรสี ุบรรณฟาร์ม
147 พอดฟี ารม์ เล้ยี งผ่านตลอดดว้ ย 3 สะอาดแบบเข้มขน้
151 คำประกาศเกยี รติคณุ ฟารม์ ดีเดน่ เชิงพัฒนาการ

ด้านการดแู ลสิ่งแวดล้อม ประจำป ี 2561-2562

17

ชัยภัทร ประเสรฐิ มรรค ประธานชมรมผเู้ ลย้ี งกงุ้ สุราษฎร์ธานี

ธรุ กจิ กุ้งไทยไปตอ่ ได้ไหม?

ภาครฐั หอ้ งเย็น ผ้เู ลี้ยง

จบั มอื ฟื้นกุ้งไทย

ปัญหาต่างๆ รุมเร้าอุตสาหกรรมกุ้งไทยในหลายด้าน ด้านผู้เลี้ยงต้องฝ่าฟันกับ
โรคกงุ้ มากมาย ทง้ั โรคอเี อม็ เอส โรคตวั แดงดวงขาว โรคขขี้ าว ทเี่ กดิ รว่ มหรอื สลบั กนั สรา้ ง
ปัญหาให้แก่ผู้เล้ียงกุ้งอย่างหนัก ทำให้เกิดภาวะความเส่ียงสูง ต้นทุนการเล้ียงสูงขึ้น
ฟารม์ เลยี้ งจงึ ลดจำนวนบอ่ เลย้ี งลง ลดปรมิ าณการปลอ่ ยใหน้ อ้ ยลง ทำใหผ้ ลผลติ กงุ้ นอ้ ยลง
จากท่ีเคยมผี ลผลติ สงู ถงึ ปีละ 600,000 ตัน ลา่ สดุ ปี 2561 ผลผลติ ไม่ถึง 300,000 ตนั
เปน็ เหตใุ หห้ อ้ งเยน็ ผสู้ ง่ ออกขาดวตั ถดุ บิ ปอ้ นเขา้ ระบบการผลติ ไมก่ ลา้ รบั ออเดอร์ เพราะ
ไมม่ คี วามม่นั ใจผลผลิตกุง้ จากฟาร์มเลยี้ ง วา่ จะได้ช่วงไหน ไซส์ไหนและมากน้อยเพียงใด
หอ้ งเยน็ จงึ ตอ้ งทยอยหยดุ กจิ การลง ถา้ ปลอ่ ยใหส้ ถานการณอ์ ยแู่ บบนตี้ อ่ ไปอตุ สาหกรรม
ก้งุ ไทยคงจะถึงจดุ จบในเวลาไมน่ านนัก
การที่ผู้เล้ียง ห้องเย็น ภาครัฐต้องหันมาจับมือกันพลิกฟื้นสถานการณ์ จึงเป็น
สิ่งท่ีจำเป็นท่ีสุด ด้านห้องเย็นคงต้องเดินหน้าเปิดตลาดเพิ่มยอดขาย ทั้งตลาดท่ีมี
อยู่เดิมและหาตลาดใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ด้านผู้เล้ียงคงต้องปรับระบบให้เลี้ยงกุ้งได้ผล
โดยเพ่ิมจำนวนผู้เลี้ยงท่ีประสบผลสำเร็จ เพื่อเพิ่มผลผลิตกุ้งให้มากขึ้น ส่ิงท่ีสำคัญ

18

ท้ังห้องเย็นและผู้เล้ียงจะต้องหันมาคุยกัน ร่วมกันเตรียมแผนการตลาดแผนการเลี้ยง
ให้สอดคลอ้ งกนั จับมือกนั สรา้ งเสถยี รภาพราคากุ้ง เสถียรภาพการขาย การรับออเดอร ์
แนวทางการตลาดนำการผลติ คงตอ้ งเรม่ิ นำมาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื แกป้ ญั หา และการรว่ มมอื
กันคร้ังนี้ อีกส่วนที่สำคัญคือภาครัฐคงต้องเข้ามาให้การสนับสนุนส่งเสริมทุกขั้นตอน
อย่างเป็นรปู ธรรมมากย่ิงขน้ึ
มนั่ ใจวา่ “ธรุ กจิ กงุ้ ไทยตอ้ งฟนื้ และไปตอ่ ได้ อยา่ งยงั่ ยนื ” ดว้ ยพวกเรา ทกุ ภาคสว่ น
ที่เก่ียวข้องในอุตสาหกรรมกุ้งไทยด้วยการความร่วมมือและสามัคคีกันอย่างมีคุณภาพ
เพราะ “สามคั คคี ือพลงั ”

19

น.สพ.สรุ ศกั ด์ิ ดลิ กเกยี รติ

ธุรกิจก้งุ ไทย
ไปตอ่ ได้ไหม??

ธุรกจิ กุ้งไทย ไปตอ่ ได้ไหม ?? ถอื เปน็ คำถามท่ีคาใจผู้ประกอบการในอตุ สาหกรรม
กงุ้ ไทยมากวา่ 2 ป ี และเรม่ิ กงั วลกนั มากขน้ึ หลงั จากทราบขา่ ววา่ กงุ้ ไทยไมส่ ามารถฟนื้ ตวั
หลงั วิกฤต ิ EMS ไดด้ งั หวงั ท่ามกลางสถานการณต์ รงกนั ข้าม คือ ประเทศเลี้ยงก้งุ กลุ่ม
นำหลายประเทศต่างเร่งพัฒนากิจการกุ้งส่งออกของตนก้าวหน้าได้อย่างต่อเน่ือง
จนกุ้งไทยหมดโอกาสกลับมาเป็นผู้นำในวงการกุ้งโลกท่ีเคยครองฐานะนี้คิดต่อกันถึง
23 ปี (2534-2555) ได้อีกต่อไป ซำ้ ต้องมากลายเป็นผู้สง่ ออกอันดบั 5 ในระบบตลาด
ทีเ่ ริม่ หา่ งสายตาจากวงการกุง้ โลกมากขึน้ ตามลำดบั

20

คณะกรรมการจดั งานสมั มนา “วนั กงุ้ ไทย ครง้ั ท่ี 29” ณ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน ี จงึ ขอ
ยกประโยคคาใจ “ธุรกจิ ก้งุ ไทย ไปต่อไดไ้ หม ??” มาเปน็ คำขวญั ประจำงานสัมมนาปีน้ี
พร้อมบรรจุวาระสัมมนาแบบเรียบง่าย ท่ีแต่ละวาระพร้อมจะเป็นคำตอบให้ชาวกุ้งไทย
ได้ม่ันใจร่วมกันว่า กุ้งไทยของเรายังไปได้ และมีทางเดินของตนเอง เพียงแต่เราต้อง
ก้าวเดินอย่างบูรณาการ ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ิมเติมที่สามารถปรับพัฒนา
ร่วมกันได้ ขอเพียงให้คำนึงถึงความม่ันคงของกิจการที่ตนเองดำเนินการอยู่ควบคู่
ความยงั่ ยนื ของกจิ การก้งุ ไทยโดยรวม เท่านัน้
บทความประกอบคำขวญั งานสัมมนา “วนั กุ้งไทย ครง้ั ที่ 29” จึงขอสรปุ เฉพาะ
ประเด็นสำคัญที่จำต้องเกริ่นนำไว้ เพื่อท่านผู้ร่วมสัมมนาจะสามารถรับข้อมูลและ
ประสบการณ์เพ่ิมเติมได้อย่างครบถ้วน และเกิดประโยชน์ต่อกิจการของท่านตาม
เปา้ หมายต่อไป

ประเดน็ ปัญหาอปุ สรรค

- ภาคสง่ ออก : วตั ถดุ บิ กงุ้ ไทยไมเ่ สถยี รพอ ทงั้ คณุ สมบตั ผิ ลผลติ (สเปค็ ) ขนาดตวั กงุ้
(ไซส)์ ปรมิ าณ ชว่ งเวลา รวมทงั้ ความเสยี่ งและภาระในการตรวจปอ้ งกนั สารตกคา้ ง และ
คา่ เงินบาทท่ีเสยี เปรียบคู่แข่ง ซง่ึ ไดส้ ่งผลบัน่ ทอนศักยภาพดา้ นการตลาด การขาย และ
การบริการมาอย่างตอ่ เนอื่ ง แมผ้ ู้ประกอบการอิสระในภาคส่งออกจะเหลือนอ้ ยรายและ
เร่ิมปรับทดแทนโดยกิจการครบวงจรระดบั หนึง่ แล้วกต็ าม

21

- ภาคการผลิต : ปัจจุบันชัดเจนแล้วว่า การที่ฟาร์มเล้ียงกุ้งเนื้อย้อนกลับมาใช้
วิธีเลี้ยงกุ้งโดยการตะลุยถ่ายตะกอนขี้กุ้งออกจากกลางบ่อเลี้ยงพร้อมการถ่ายน้ำกลาง
หรือริมบ่อมากเข้าว่าเพื่อพยุงกุ้งในบ่อให้ได้ผลผลิตมากสุดนั้น ได้ก่อภาวะหมักหมม
ของสารอินทรีย์และเช้ือก่อโรคกุ้งท้ังในฟาร์มและแหล่งน้ำภายนอกอย่างรวดเร็วทำให้
เล้ียงกุ้งยากย่ิงขึ้นและต้นทุนสูงขึ้น เมื่อประกอบกับเหตุร่วมจากกรณีลูกกุ้งด้อย
คุณภาพหรือต่อเช้ือโรคกุ้ง และ/หรือ มีเช้ือค้างในบ่อเลี้ยงจากการเร่งเล้ียงกุ้งต่อเนื่อง
และ/หรือ อาหารกุ้งที่ใช้ปลาป่นและวัตถุดิบทดแทนปลาป่นที่ด้อยคุณภาพหรือมีเชื้อรา
และ/หรอื การจัดการเล้ียงไมล่ งตวั มากพอ ทำให้เกดิ ปญั หาโรคติดเชอ้ื EHP และวบิ ริโอ
แบบเรอ้ื รงั ตามมา ทง้ั กงุ้ แตกไซส ์ โตชา้ และ กลมุ่ อาการกงุ้ ขข้ี าว ชะงกั การโต ทยอยตาย
ทำให้เกิดปัญหาต่อเน่ือง คือ ความเส่ียงสารตกค้างในผลผลิตที่กระทบถึงการตลาดได้
โดยตรง และเอ้ือใหเ้ กิดโรคไวรัสเร้อื รังตามมาได้อกี ด้วย แตป่ ระเด็นปัญหาน้ ี อาจพบชา้
หรอื น้อยกว่าในบางเขตเล้ยี ง เช่น เขตความเค็มต่ำซ่งึ ไมเ่ อื้อวิบริโอ เขตน้ำไหลทางเดียว
ซึ่งส่ิงถ่ายออกไหลไปท่ีอ่ืน เขตที่มีฟาร์มเลี้ยงโดดเด่ียวหรือน้อยราย และเขตใกล้ชายฝั่ง
ทะเลเปิดซึง่ เกิดหมักหมมช้าและไกลจากฟาร์ม แต่อยา่ งไรกต็ าม แมฟ้ ารม์ ในเขตเหล่าน้ี
ยังเล้ียงกันได้ก็ใช่ว่าจะไม่เส่ียงเสียหายในอนาคต ซ้ำอาจกระทบต่อกิจการที่เก่ียวข้อง
ไดอ้ กี ด้วย เช่น ฟารม์ ผลติ ลกู กงุ้ ท่อี ยูร่ ว่ มในแหล่งเลี้ยงน้นั ๆ

22

ดงั นน้ั คำถามท่ีว่า “ธรุ กจิ กงุ้ ไทย ก้าวต่อได้ไหม ??” ในภาวะทว่ี งการกงุ้ โลกต่าง
ฟนั ธงวา่ “กงุ้ นอกขาขน้ึ โดยการขยายพน้ื ทแ่ี ละพฒั นาการผลติ การตลาดอยา่ งตอ่ เนอื่ ง”
และ “กงุ้ ไทยขาลง โดยถกู ลดพนื้ ทแี่ ละตอ้ งแกป้ ญั หาโรคกงุ้ รมุ เรา้ มาโดยตลอด” เชน่ นี้
ย่อมเป็นพันธกิจสำคัญของชาวกุ้งไทยทั้งวงจรท่ีต้องเป็นผู้ร่วมดำเนินการให้กุ้งไทยก้าว
ตอ่ ไปไดอ้ ย่างมัน่ คงยง่ั ยนื

23

ในนามชมรมผู้เล้ียงสุราษฎร์ธานีและสมาคมผู้เล้ียงกุ้งทะเลไทย โดยคณะทำงาน
อาสาฯ มีความม่ันใจและยืนยันมาโดยตลอดว่า กุ้งไทยยังสามารถก้าวต่อได้ แต่ต้อง
ด้วยความมุ่งม่ันและรับผิดชอบร่วมกัน และเม่ือชาวกุ้งไทยเริ่มกังวลในประโยคท่ีว่า
“ธรุ กจิ กงุ้ ไทย กา้ วตอ่ ไดไ้ หม ??” ชดั เจนขน้ึ คณะกรรมการจดั งาน “วนั กงุ้ ไทย ครง้ั ท่ี 29”
จึงจัดวาระสัมมนาเพ่ือช่วยไขคำตอบร่วมกันตามลำดับ คือ แนวทางตลาดมิติใหม่ๆ
เชื้อโรคกุ้งกับส่ิงแวดล้อม และการมีฟาร์มตัวอย่างท่ีเล้ียงกุ้งได้และรับผิดชอบต่อ
สิ่งแวดล้อมได้มาถ่ายทอดประสบการณ์ในหลากหลายแนวทางการเล้ียงให้เป็นหลักฐาน
ยืนยันว่า “เราทำกันได้” แต่ทั้งนี้ ในฐานะผู้เรียบเรียงบทความน ้ี ขอสรุปประเด็นฝาก
จากชาวฟาร์มกุ้งเนื้อ ถึงผู้ประกอบการที่เก่ียวข้องในห่วงโซ่การผลิตเพื่อให้เราสามารถ
กา้ วตอ่ ไดอ้ ย่างทันสถานการณ์ ซึง่ มปี ระเดน็ สำคัญ คอื
1. ขอใหไ้ ดล้ กู กงุ้ คณุ ภาพทเี่ สถยี รและไมแ่ ถมเชอื้ กอ่ โรคกงุ้ เพราะลกู กงุ้ ดอ้ ยคณุ ภาพ
ทำใหฟ้ ารม์ กงุ้ เนอื้ ตอ้ งเลยี้ งฟรหี รอื ขาดทนุ ในบางบอ่ แตถ่ า้ แถมเชอื้ มาดว้ ย แมเ้ ปน็ บางชดุ
ก็ย่ิงหนักหน่วงเพราะทำให้ขาดทุนได้หลายบ่อ หลายฟาร์ม และหลายแหล่งเลี้ยงใน
คราวเดยี วกนั จนเป็นปญั หาไมร่ ูจ้ บต่อไปได้

24

2. ขอให้ได้อาหารกุ้งคุณภาพท่ีเสถียร ไม่แถมเชื้อรา กุ้งสามารถกิน ย่อยและ
นำสารอาหารไปใช้ได้มากสุด สารส่วนเหลือให้ต้องบำบัดน้อยสุด ไม่ปนเป้ือนสารที่
กระทบต่อสุขภาพกุ้ง คุณสมบัติเม็ดอาหารเหมาะสมกันแต่ละระยะ และฝุ่นตะกอนใน
อาหารน้อยท่ีสุด ทั้งน้ี เพื่อให้การเลี้ยงกุ้งเน้ือง่ายขึ้นและต้นทุนต่ำสุดตามเง่ือนไขและ
ความพรอ้ มของแตล่ ะฟาร์ม
3. ขอให้มีแลปบริการอย่างทั่วถึง ท้ัง การส่งเสริมหรือบริการแลป.สดในฟาร์ม
หรือกลุ่มฟาร์มโดยภาครัฐ แลปบริการของธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และแลป.ยืนยันโดย
สถาบันต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ความเส่ียงโรคกุ้งยุคปัจจุบัน และ
ใหส้ ามารถหยุดปัญหาโรคกุ้งเรือ้ รังได้โดยเร็ว เพราะงานแลปนีจ้ ำเป็นตอ่ แนวทางเล้ียงกงุ้
ยคุ ตอ่ ไป ท่ีตอ้ งรักษาสมดุลสงิ่ แวดลอ้ ม โดยเน้นทกี่ ารปอ้ งกันแทนแกไ้ ขปัญหาเปน็ หลัก
4. ขอใหผ้ ปู้ ระกอบการฟารม์ กงุ้ เนอื้ เลอื กแนวทางการเลยี้ งทส่ี อดคลอ้ งกบั เงอ่ื นไข
และความพรอ้ มของแตล่ ะฟารม์ และแหลง่ เลยี้ งนน้ั ๆ โดยสามารถผลติ กงุ้ คณุ ภาพไดอ้ ยา่ ง
ต่อเน่ือง ไม่ก่อภาวะหมักหมมของเชื้อในระบบฟาร์มและแหล่งเล้ียง ต้นทุนแฝงเพราะ
โรคกุ้งเป็นศูนย์หรือต่ำสุด เพื่อให้ต้นทุนการผลิตสุทธิต่อหน่วยต่ำ และพร้อมผ่านการ
แข่งขันในทกุ สถานการณก์ ้งุ โลกไปได้อย่างมัน่ คงยัง่ ยนื
5. ขอให้เกิดพลังรว่ มด้านการตลาดมิตใิ หมอ่ ย่างมีคณุ ภาพ ถงึ ปัจจบุ ัน เรากระจา่ ง
ร่วมกันแล้วว่า การที่หลายประเทศขยายการผลิตกุ้งส่งออกพร้อมๆ กัน และส่วนใหญ่
มีพื้นท่ีเลี้ยงกุ้งมากกว่าไทยหลายเท่าตัวเช่นน้ี ชาวกุ้งไทยทั้งระบบไม่มีทางเลือกอ่ืน
นอกจากต้องพฒั นาและถอื ครองตลาดเชิงคณุ ภาพ คุณคา่ และภาพลกั ษณ์ใหไ้ ดม้ ากสดุ
แทนการแข่งขันในสินค้ากุ้งทั่วไปเพียงอย่างเดียว ส่วนยุทธวิธีและมิติการตลาดนั้น
มน่ั ใจวา่ ไมเ่ กนิ ความสามารถของชาวกงุ้ ไทยทคี่ รำ่ หวอดในวงการกงุ้ โลกมานาน ขอเพยี ง
“ผนึกพลัง และลยุ รว่ มกันด้วยใจเป็นหนึ่ง เทา่ น้นั ”

สรปุ

คณะกรรมการจดั งาน “วนั กุ้งไทย ครง้ั ท่ี 29” คาดหวงั วา่ บทความน ี้
พร้อมสาระในวาระสัมมนาทั้งหมด จะเกิดประโยชน์ให้ผู้ประกอบการใน
กิจการกุ้งไทย เช่ือมน่ั ว่า ธุรกจิ กุ้งไทย ยังเดินต่อไดอ้ ยา่ งม่ันคง และเกดิ พลงั
ความรว่ มมอื ใหพ้ นั ธกจิ นบ้ี รรลผุ ลรว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งทนั การณ์ และเกิดประโยชน์
โดยตรงต่อผู้ประกอบการและประเทศชาติโดยรวมอย่างไม่เป็นรองใครและ
ชาตใิ ดไดอ้ ย่างยั่งยนื ในอนาคต

25

ท.พ.สรุ พล ประเทืองธรรม

“ระวงั สารตกค้างจะเปน็ ผรู้ ้าย”

ภาคการผลิตกุ้งของไทยซ่ึงเคยสามารถผลิตได้มากสุด ได้เป็นอดีตไปแล้ว
แต่เราก็ยังหาจุดแข็งของ “กุ้งไทย” เพ่ือแข่งขันในตลาดโลกต่อไป ซึ่งก็คือ “คุณภาพ”
ของกงุ้ ไทย ทเี่ ปน็ ภาระหนา้ ทขี่ องพวกเราทกุ คน เพอื่ ความอยรู่ อดและยง่ั ยนื ของ “กงุ้ ไทย”
ต่อไป
ประเด็นเร่ืองสารตกค้าง ก็เป็นประเด็นสำคัญย่ิงประเด็นหนึ่งในเร่ืองคุณภาพ
กุ้งท่ีลูกค้าให้ความสำคัญมาก ซ่ึงเราจะพบว่ามีการตีกลบั สินค้าทสี่ ่งไปขายแล้วอยู่บ่อยๆ
โดยเฉพาะจากบางประเทศ แตท่ นี่ า่ ยนิ ดกี ค็ อื “กงุ้ ไทย” มกี ารตรวจพบสารตกคา้ งนอ้ ยกวา่
ซ่ึงถอื วา่ ยังเปน็ จุดแขง็ ของเราในการแข่งขนั ท่ีพวกเราตอ้ งชว่ ยกันรกั ษาไว้ใหด้ ี

26

สารตกคา้ งเราอาจแบ่งคร่าวๆ ดังนี้
1. สารเคมตี อ้ งห้ามตา่ งๆ หลกั ๆ ทีเ่ จอบ้างกค็ ือ มาลาไคท์กรีน ซง่ึ พวกเราทราบ
โทษของมันกันดีแล้วว่ารุนแรงเพียงใด ลูกค้ารับไม่ได้เลย น่ายินดีท่ีคนเลี้ยงกุ้งของเรา
ทราบดีและไมม่ กี ารใช้กนั แลว้
2. ยาปฏิชวี นะต่างๆ ซงึ่ มีมากมายหลายชนดิ บางชนดิ ตลาดบางประเทศเขม้ งวด
มากเป็นพิเศษ เช่น กลุ่มไนโตรฟูแลน เข้มงวดมากในกลุ่ม EU, ครอแรมฟินิคอล และ
กลุ่มดิวไนโรน เข้มงวดมากในตลาดสหรัฐ, กลุ่มออกซีเตตร้าไซคลีน เข้มงวดมาก
ในตลาดญี่ปุ่น แต่สรุปสุดท้ายแล้ว ลูกค้ารับไม่ได้ทุกกลุ่มยา โดยตั้งเป้าในกุ้งที่นำเข้า
ประเทศวา่ ใหป้ ลอดยาปฏชิ วี นะทกุ ชนดิ ซง่ึ พวกเรากน็ า่ จะเขา้ ใจไดไ้ มย่ าก โดยเปรยี บเทยี บ
กับความร้สู ึกของเราเองวา่ ถา้ จะกินก้งุ แลว้ เลือกได้จะกนิ กุ้งที่มยี าตกคา้ งหรอื ไม่

ทำไมทั่วโลกถึงตอ่ ต้านการใชย้ าในสตั วท์ ่เี ลย้ี งเปน็ อาหาร?

1. พบเช้ือโรคก็ด้ือยาเพ่ิมมากขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเรามีการพบ
เช้ือโรคเดิมๆ ที่ดื้อยาต่อการรักษามากข้ึน ทั้งจำนวน ชนิดของเชื้อและความรุนแรง
ทำให้ในการรักษาติดเช้ือในคนยากลำบากข้ึนมาก และในแต่ละปีก็มีคนตายจากการ
ตดิ เชือ้ โรคธรรมดาๆ แต่เกดิ ด้ือยารกั ษาเพมิ่ มากขนึ้ ตลอด จงึ มีการเพง่ เลง็ มายงั การใชย้ า
อย่างฟุ่มเฟือย และไม่เหมาะสมถูกต้องว่า เป็นการเร่งให้เกิดภาวะเชื้อดื้อยามากข้ึน
เรอ่ื ยๆ อยา่ งน่าตกใจ

27

2. กระแสความตื่นตัวของผู้บริโภคในเร่ืองความปลอดภัยของอาหารมีมากขึ้น
เรอ่ื ยๆ โดยเฉพาะคนบริโภคสื่อต่างๆ มากข้ึนกม็ กี ารตกใจกลัวกันมาก จนถึงมากเกินไป
3. เทคนิคการตรวจหายาตกค้างพัฒนาละเอียดข้ึนมาก จนสามารถตรวจพบ
ในระดบั 0.1 PPB (0.1 สว่ นในพนั จำนวน) หรอื บางตวั ตรวจไปถงึ วา่ ไมพ่ บยาตกคา้ งแตพ่ บวา่
เคยใชย้ าตกมาก่อนกไ็ ด้ ในความเป็นจริงการตรวจพบในระดบั PPB ท่ีนอ้ ยมากไม่ได้เปน็
อันตรายต่อผู้บริโภคแต่อย่างใด แต่กลายเป็นกระแสความต่ืนตระหนก เพราะเป็นเร่ือง
อ่อนไหวในแง่ผบู้ รโิ ภคที่ยอมรบั ไม่ได้

แลว้ เราจะแกป้ ญั หา เรื่องสารและยาตกคา้ งได้อยา่ งไร?

ประการแรก ต้องห้ามใช้สารมาลาไคท์กรีน ยาในกลุ่มคลอแรมฟินิคอล และ
กลมุ่ ไนโตรฟแู ลน โดยเดด็ ขาดในทกุ ขบวนการผลติ ของเรา อยา่ งไรกต็ ามดงั ทที่ ราบมาดวี า่
ปัจจบุ นั ลูกค้าไม่สามารถยอมรบั การตกคา้ งของยาทุกชนดิ ได ้ และประกอบกับเครื่องมือ
ตรวจมีความละเอียดและไวมาก ดังน้ันขบวนการผลิตกุ้งของเราถูกบังคับให้ไม่ให้ใช้ยา
ในการเล้ยี ง โดยเฉพาะใน 30-40 วันสดุ ทา้ ย เพราะอาจตรวจพบสารตกคา้ งได้
เราต้องควบคุมจำนวนเชื้อแบคทีเรียของเราในบ่อเล้ียงให้อยู่ในระดับท่ีไม่ก่อ
ให้เกิดปัญหา โดยการใช้โปรไบโอติค และการให้โปรแกรมอาหารท่ีเข้มงวด ม้ือต่อม้ือ
โดยเฉพาะในกุง้ 30 วนั แรกทีม่ ักจะใหอ้ าหารมากเกนิ ไปจนเป็นสาเหตขุ องโรคตา่ งๆ เช่น
ขี้ขาว อเี อ็มเอสไ ดว้ ธิ เี ดียวทีด่ ที สี่ ดุ ในการควบคมุ เชอื้ แบคทเี รีย กค็ อื การควบคุมอาหาร
ของแบคทีเรียไม่มากเกินไป เพราะถ้าอาหารมากย่อมเอ้ือต่อการเพ่ิมจำนวนของ
แบคทีเรียมากตามอาหาร เราไม่สามารถใช้ยาหรือสารเคมีมาฆ่าแบคทีเรียให้หมดได้
ตราบใดที่ยังมีอาหารให้แบคทีเรียอยู่อย่างมากมาย แบคทีเรียก็จะเพิ่มจำนวนกลับมา
มากไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เสมอ

28

การควบคุมปัญหาจากแบคทเี รียวิบรโิ อในบอ่ เลี้ยง

1. โปรแกรมให้อาหารรัดกุม ให้น้อยลงกว่าท่ีกุ้งกินจริง ไม่ให้มีอาหารเหลือ
ปรับอาหารมอ้ื ตอ่ มือ้ ตามสภาพแวดลอ้ ม และอารมณ์การกนิ อาหารของกุง้ ใหท้ นั
2. นำข้ีกุ้งและเศษอาหารในบ่อให้ออกได้มากสุดในเวลาสั้นสุด เพ่ือไม่ให้เกิด
ภาวะหมกั หมมในบ่อ
3. รักษาพน้ื บอ่ ใหส้ ะอาดทกุ ๆ พ้ืนที่
4. เปลยี่ นถา่ ยนำ้ พอสมควรตามความจำเปน็ หรือตามผลคา่ นำ้ ทว่ี ัดได้
5. ตรวจสอบวัดค่าคุณภาพน้ำในบ่อเล้ียงและบ่อพักเป็นประจำ ตลอดจนมีการ
เพาะเชื้อของน้ำ และตัวกุ้งอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือเป็นการรับรู้ปัญหาล่วงหน้าก่อนกุ้งจะมี
ปญั หา
6. รักษาออกซเิ จนทง้ั บ่อใหส้ งู อยู่เสมอ
7. ลงลูกกุ้งพี ความหนาแน่นไม่มากเกินศักยภาพ ความสามารถของบ่อ และ
อุปกรณ์ในการรองรบั ถ้าเคยเล้ยี งแลว้ มปี ญั หากต็ อ้ งลดความหนาแน่นลงไปอกี
8. ถ้ามีการอนุบาลลูกกุ้งก่อนลงบ่อ ก็จะช่วยลดโอกาสโรคจากเช้ือกลุ่มวิบริโอ
ลงได้ เพราะบ่อจะยงั สะอาดอยู่
9. กรณีลงลูกกุ้ง โดยตรงในบ่อเลี้ยง ต้องพยายามทำให้เกิดห่วงโซ่อาหารในน้ำ
ได้ชัดเจน และมีจำนวนมากพอ เพราะจะทำให้แทบไม่ต้องใช้อาหารเม็ดในช่วงแรก
ก็เปน็ การลดโอกาสปัญหาจากเช้ือวบิ ริโอไดด้ ีวธิ ีหนงึ่
10. มีการใช้โปรโบโอติค เพื่อควบคุมความสะอาดของบ่อและควบคุมวิบริโอ
อยา่ งสม่ำเสมอ
สิบวิธีท่ีนำเสนอมาเพ่ือช่วยควบคุมปัญหาจากแบคทีเรียในบ่อกุ้ง แต่ถ้าจะสรุป
ง่ายๆ ก็คือ การควบคุมสารอินทรีย์ที่จะเป็นอาหารของเชื้อวิบริโอให้มีน้อยที่สุด
จนเชอ้ื ไม่สามารถเพมิ่ จำนวนขึน้ มาก (ตามจำนวนของอาหาร) จนก่อเกิดปัญหากบั กงุ้ ได้
และดว้ ยวธิ ดี งั กลา่ ว “เรากไ็ มม่ คี วามจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งไปใชย้ าปฏชิ วี นะ” การใชย้ า
ปฏิชีวนะเป็นการแก้ไขท่ีปลายเหตุ ที่มักจะไม่ได้ผล เพราะในท่ีสุดเช้ือโรคก็จะกลับมา
ใหม่ตราบเท่าที่ยังมีอาหารมากอยู่ และเช้ือแบคทีเรียก็จะค่อยๆ พัฒนาความรุนแรง
เพิม่ ขน้ึ และด้ือยาท่รี ักษาอย่างรวดเร็ว ส่งผลเสยี ตามมาอยา่ งรนุ แรง
เรายังไม่มีสารหรือยาวิเศษท่ีใช้แล้วจะสามารถแก้ปัญหาที่ปลายเหตุได ้ ถ้ามีจริง
ทั่วโลกคงไม่ต้องมีปัญหาจากโรคกุ้งแล้ว แต่ทุกท่านสามารถพยายามแก้ปัญหานี้ได้
โดยการแก้ท่ีต้นเหตุน้ันคือ ควบคุมอาหารเหลือให้แบคทีเรียน้อยท่ีสุด เราก็จะมีปัญหา
จากแบคทเี รียน้อยลงด้วย

29

ดร.พุทธ ส่องแสงจินดา ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการเพาะเลยี้ งก้งุ ทะเล

คยุ ขา่ วรอ้ นกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำชายฝั่ง กรมประมง

“ระวังสารตกคา้ งจะเปน็ ผู้รา้ ย”

สารตกค้างจะเปน็ ผรู้ า้ ย จริงหรือ??

ในชว่ งป ี 2543 สหภาพยโุ รปไดป้ ระกาศการตรวจพบยาปฏชิ วี นะคลอแรมเฟนคิ อล
ตกคา้ งในเนอื้ กงุ้ ทสี่ ง่ ออกจากประเทศจนี เวยี ดนาม และอนิ โดนเี ซยี และกลายเปน็ ปญั หา
ใหญท่ ที่ ำใหอ้ ตุ สาหกรรมกงุ้ ในหลายประเทศรวมทง้ั ประเทศไทยตอ้ งเขม้ งวดกบั มาตรการ
ควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ เพราะคลอแรมฯ เป็นยาท่ีมีการประกาศห้ามใช้ในการเลี้ยง
ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้ำ โดยสหภาพยุโรปและอเมริกา ต่อมาก็มีรายงานจากประเทศ
เนเธอร์แลนด์ว่า ได้สุ่มตรวจตัวอย่างกุ้งแช่แข็งจากไทยแล้วพบว่ามีสารตกค้างในกลุ่มยา
ไนโตรฟแู รน และสนิ คา้ ชดุ นนั้ จะตอ้ งถกู ทำลายทนั ท ี เพราะไนโตรฟแู รนเปน็ ยาอกี ตวั หนง่ึ
ทอี่ ยใู่ นรายชอื่ ยาทห่ี า้ มใชใ้ นการเลยี้ งสตั วท์ เี่ ปน็ อาหารของคนเชน่ กนั โดยทปี่ ระเทศผนู้ ำเขา้
ไดใ้ ชเ้ ครือ่ งมือแบบใหม่ทีส่ ามารถตรวจสอบยาตกคา้ งได้ในความเขม้ ข้นที่ต่ำมากๆ แมว้ ่า
ยานนั้ จะมกี ารเปลยี่ นโครงสรา้ งไปแลว้ กย็ งั คงตรวจได ้ และเมอื่ ตรวจพบเรากไ็ มม่ ขี อ้ แกต้ วั
หรอื ตอ่ รอง เพราะยาที่ตรวจพบเป็นยาทหี่ ้ามใช้ในการเล้ยี งสตั ว์

30

การใช้ยาปฏิชีวนะในการเล้ียงสัตว์ทำให้คนมีโอกาสได้รับยาปฏิชีวนะทางอ้อม
ได้จากการรับประทานเนื้อสัตว์ที่มีการปนเป้ือนของยาปฏิชีวนะ และสามารถทำให้เกิด
การตกค้างของยาในเนื้อสัตว์ได้ และยังมีความเข้าใจผิดว่ายาปฏิชีวนะสามารถป้องกัน
โรคได ้ และไม่ทำใหเ้ กดิ การตกคา้ งของยาในแหลง่ น้ำตามธรรมชาติ ดังนนั้ ในการจัดการ
เพาะเลี้ยงกุ้งของตน หากเกษตรกรคิดเพียงเพื่อความอยู่รอดของตนเอง โดยการใช้ยา
ปฏิชีวนะแก้ปัญหาสุขภาพกุ้ง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุจากการจัดการเลี้ยงกุ้ง
แบบไม่เหมาะสม และไม่ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้ฆ่าเช้ือโรคบางชนิดซึ่งเป็น
สารเคมีที่ส่งผลร้ายแรงต่อการส่งออกสินค้ากุ้งเป็นอย่างมาก ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่า
สารท่ีใช้อยู่น้ันเป็นสารอะไร มีอันตรายมากน้อยแค่ไหนก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งท่ีทำให้การ
ควบคมุ การใชย้ าปฏชิ วี นะขาดประสทิ ธภิ าพ นอกจากทำใหเ้ สยี เงนิ ทองกบั การรกั ษาและ
ยังเป็นการเสียเวลาโดยใช่เหตุอีกด้วย เนื่องจากการผลิตกุ้งเพื่อส่งออกน้ัน ผู้ส่งออกต้อง
สุ่มตัวอย่างกุ้งในบ่อมาทำการตรวจสอบหาสารตกค้างก่อน โดยจะเสียค่าวิเคราะห์เป็น
จำนวนตัวอย่างละ 4,000 บาท และถ้าหากพบสารตกค้างก็จะไม่สามารถส่งออกได้
หรือแมแ้ ต่สมุ่ ตรวจไม่พบแต่เมื่อนำเขา้ ประเทศปลายทางก็จะมีการสุ่มตรวจใหม ่ ซึ่งหาก
พบทีป่ ลายทางก็จะตอ้ งทำลายทันที ใหเ้ กดิ ความเสียหายทางด้านการค้า

31

ดงั นน้ั หากระบบควบคมุ สารตกคา้ งของประเทศผสู้ ง่ ออกกงุ้ ประเทศหนง่ึ ประเทศใด
ก็ตามไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะและการตกค้างใน
ผลผลิตอย่างถูกต้องได้ ผลผลิตเหล่าน้ีเม่ือถูกผลิตมาเป็นอาหารทะเลและส่งออกไป
ต่างประเทศ สารตกค้างก็จะถูกตรวจพบและการส่งออกอาหารทะเลของประเทศน้ันๆ
ก็จะถูกควบคุมเข้มงวดขึ้น ทำให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาการส่งออก
ยอ้ นกลบั มาทผ่ี ผู้ ลติ เมอื่ ถงึ ขน้ั น ี้ ปญั หาสารตกคา้ งในกงุ้ จะถกู รายงานออกมาสสู่ าธารณชน
ทำให้ผูท้ ่สี ร้างปัญหาสารตกค้างกลายเปน็ ผู้รา้ ยในสายตาของผู้บรโิ ภคอย่างแน่นอน และ
การพัฒนาการเพาะเล้ียงของอุตสาหกรรมกุ้งต้องชะงักและย้อนกลับไปแก้ปัญหาเดิมๆ
ในอดีต จึงอยากฝากถึงเกษตรกรและร้านค้าต่างๆ และผู้ขายตรง ให้ตระหนักถึง
ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกุ้งทั้งระบบ อย่าเห็นแต่ประโยชน์เล็กๆ น้อยๆ เนื่องจาก
จะส่งผลกระทบตอ่ อตุ สาหกรรมกุ้งในภาพรวมเปน็ อย่างมาก

32

ภาวะดื้อยาปฏิชวี นะ
และยาปฏิชีวนะที่สงวนไว้เพอ่ื ใช้เฉพาะรกั ษามนุษย์

ภาวะดอื้ ยาปฏชิ วี นะ เปน็ สภาวะทเี่ ชอื้ โรคมกี ารพฒั นาพนั ธก์ุ รรมในเซลลแ์ บคทเี รยี
ให้สามารถด้ือต่อการใช้ยา หากเกษตรกรนำยาปฏิชีวนะที่สงวนไว้ใช้เฉพาะรักษามนุษย์
ไปใชแ้ ทนยาสตั ว ์ แลว้ เกดิ เชอ้ื แบคทเี รยี ดอ้ื ยา สง่ ผลใหก้ ารรกั ษาโรคกนิ ระยะเวลานานขนึ้
ซง่ึ เปน็ ผลเสยี ตอ่ การรกั ษาโรคทง้ั ในสตั วเ์ ลย้ี งและมนษุ ย ์ โดยเฉพาะในมนษุ ยเ์ มอ่ื ยาปฏชิ วี นะ
ท่ีเคยใช้รักษาแล้วได้ผลแล้วใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์
เป็นวงกว้าง ต้องผลิตยาใหม่ แต่การวิจัยและพัฒนายาใหม่น้ันไม่ทันต่อความรุนแรง
ของเชื้อดื้อยาท่ีปรับตัวเองให้ทนต่อยามากข้ึน อาจรักษาไม่หาย หรือยาใหม่มีราคาแพง
รวมทั้งมผี ลข้างเคยี งรนุ แรงด้วย

33

ปจั จยั สำคญั ทท่ี ำใหเ้ กดิ ปญั หาเชอื้ ดอื้ ยาคอื การใชย้ าปฏชิ วิ นี ะมากเกนิ ความจำเปน็
และไมเ่ หมาะสม ขาดมาตรการควบคมุ รวมถงึ การนำเอายาคนมาใชเ้ ปน็ ยาสตั ว ์ การตดิ เชอ้ื
ด้ือยาจึงเป็นปัญหาคุกคามต่อการควบคุมโรคติดเช้ือ เพราะเม่ือเช้ือเกิดการดื้อยาข้ึน
ในกลุ่มประชากรหน่ึง (รวมถึงในสัตว์น้ำด้วย) สามารถทำให้เกิดการแพร่ระบาดไปท่ัว
ภูมิภาคได้ รวมถึงการด้ือยาข้ึนในแหล่งเลี้ยงสัตว์น้ำด้วย ในประเทศท่ีกำลังพัฒนา
จะส่งผลกระทบท่ีมีความรุนแรงมากข้ึน เพราะการเปลี่ยนยาตามความไวของเชื้อมัก
ต้องใช้ยาที่มีราคาสูงข้ึน อันจะทำให้ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงหรือไม่สามารถรับภาระ
ราคายาท่ีเพิ่มสูงข้ึนกว่าการรักษาขั้นพื้นฐาน และในแหล่งเพาะเล้ียงสัตว์น้ำ เชื้อดื้อยา
จะทำใหก้ ารรักษาโรคสัตว์น้ำดว้ ยตัวยาเดิมไมไ่ ดผ้ ล
ดงั นั้น ผู้ผลิตและจำหน่ายยา รวมถึงเกษตรกร จงึ ตอ้ งทำความเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท ้
ในแนวทางการจดั การใชเ้ ชือ้ จลุ ชพี ทเ่ี หมาะสม และความจำเปน็ ในการสงวนยาปฏิชวี นะ
ท่ีสำคัญไว้รักษาโรคสำหรับมนุษย์ และต้องไม่นำเอายามนุษย์ไปใช้เป็นยาสัตว์ ซึ่งเป็น
ส่วนสำคัญส่วนหน่ึงของการลดการแพร่กระจายของเช้ือด้ือยาทั่วโลก การจัดการ
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมและรอบคอบ ภาครัฐท่ีมีอำนาจหน้าที่ได้กำหนด
ให้ต้องข้ึนทะเบียนยาอย่างถูกต้อง มีการตรวจสอบคุณภาพยาสัตว์หลังออกสู่ตลาด
ปราบปรามยาสัตว์ผิดกฎหมาย ห้ามใช้ยาปฏิชีวนะท่ีมีความเส่ียงผสมในอาหารสัตว์
และห้ามใช้ยาปฏิชีวนะผสมในอาหารสัตว์เพ่ือเร่งการเจริญเติบโต มีสัตวแพทย์ควบคุม
การใช้ยาและผสมยาในอาหารสัตว์ในฟาร์มเลี้ยง เก็บตัวอย่างเพ่ือเฝ้าระวังเช้ือดื้อยา
ปฏิชีวนะในสัตว์ ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มอย่างสมเหตุสมผล การเล้ียงสัตว์
แบบไมใ่ ช้ยาปฏชิ ีวนะ ใชส้ มุนไพรและผลิตภณั ฑ์ทางเลือก

34

แนวทางในการแก้ไขปัญหาทัง้ ระบบ

การแก้ปัญหาสารต้องห้ามตกค้างในเนื้อสัตว์น้ำได้อย่างถาวร ก่อนอ่ืนคงต้อง
ยอมรับความจริงว่า ในการเล้ียงสัตว์น้ำแบบหนาแน่นมากๆ เพื่อหวังผลผลิตสูงสุดน้ัน
การเกิดโรคเป็นส่ิงที่ยากจะหลีกเลี่ยงได้ เม่ือเกิดโรค ผู้เลี้ยงก็นึกถึงยาเพ่ือรักษา
ถ้าหากมีการใช้ยาอย่างถูกวธิ ี การตกคา้ งของยาต้องห้ามกจ็ ะไม่เกิดข้นึ ซง่ึ ต้องยอมรบั วา่
การตอบคำถามน้ีทางทฤษฎีไม่ยาก แต่วิธีปฏิบัติยากมาก ดังนั้นจึงควรมีการดำเนินการ
ดังนี้
เกษตรกรต้องรู้ก่อนว่ายาอะไรบ้างที่ห้ามไม่ให้ใช้ในการเลี้ยงสัตว์น้ำท่ีเป็น
อาหารมนุษย์ ซึ่งผู้เก่ียวข้อง เช่น คนท่ีมีหน้าที่ในการแนะนำเกษตรกรให้ใช้ยา
คนขายยาและสารเคมตี อ้ งรเู้ รอื่ งนเ้ี ปน็ อยา่ งด ี และเมอื่ รแู้ ลว้ ตอ้ งไมแ่ นะนำใหเ้ กษตรกรใช ้
และไม่ขายยาเหล่านี้ให้เกษตรกร และเกษตรกรไม่ควรซื้อมาใช้เพราะการตรวจสอบ
ยอ้ นกลบั จะสามารถชไี้ ปที่บคุ คลทีเ่ ปน็ ผู้ทำใหเ้ กดิ สารตกคา้ งได้เสมอ
เกษตรกรต้องรู้ว่าสัตว์น้ำตายมีสาเหตุมาจากอะไร ซ่ึงอาจเกิดจากโรคติดเชื้อ
หรือจากปัญหาคุณภาพน้ำก็ได้ และถ้าตายเพราะติดเชื้อโรคต้องรู้ว่าเชื้ออะไร ซ่ึงหาก
เป็นเช้ือไวรัสไม่จำเป็นต้องใช้ยา เพราะโรคไวรัสไม่มียารักษา หากเป็นเช้ือแบคทีเรีย
ในระยะแรกๆ การใช้ยาปฏิชีวนะที่อนุญาตให้ใช้ในการเพาะเล้ียงสัตว์น้ำอาจได้ผล
ถ้าใช้ยาถูกชนิดรวมท้ังมีความเข้มข้นและระยะเวลาการใช้ และระยะเวลาท่ีหยุดยา
อย่างถกู ทถ่ี กู ตอ้ ง

35

อย่างไรก็ตาม ในบางกรณีถึงแม้จะมีความรู้มาก แต่มีความโลภบังตา อยาก
ขายยาได้มากๆ หรืออยากให้กุ้งท่ีเล้ียงมีอัตรารอดสูงในสภาพการเลี้ยงที่เส่ียงต่อการ
ติดเชื้อจากการวางแผนและจัดการเลี้ยงไม่เหมาะสม เกินความสามารถของการจัดการ
ใหก้ งุ้ มสี ขุ ภาพดี เกษตรกรอาจทำการผสมยาตอ้ งหา้ มมาขาย เพราะใหผ้ ลในการรกั ษาดี
และเมื่อพอใจและซ้ือยาชนิดนั้นมาใช้อย่างสม่ำเสมอโดยไม่รู้ว่าเป็นยาอะไร คนขายยา
อาจจะรำ่ รวยในระยะเวลาสั้นแต่การทำเชน่ นีเ้ ป็นการทำลายธุรกจิ การเลี้ยงสตั ว์นำ้
แนวทางการควบคุมในระยะส้ัน หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องนำกฎหมายและ
ระเบียบต่างๆ ที่มีอยู่มาจัดการกับคนท่ีทำผิดอย่างรีบด่วน ถ้าพบว่ามีการขายยาปลอม
หรือยาที่ห้ามใช้ ต้องลงโทษเจ้าของร้านหรือผู้ผลิตทันที ให้ความรู้เกษตรกรถึงอันตราย
ของการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรจะต้องรวมกลุ่มกันเพื่อผลิตสัตว์น้ำที่ปลอดยา
เฝ้าระวังและตรวจสอบยาท่ีมีวางขายในตลาด ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเร่ืองการใช้ยา
อย่างถูกต้อง หน่วยราชการท่ีเกี่ยวข้องต้องตรวจสอบยาที่วางขายในตลาดอย่างเข้มงวด
มากข้ึน มีโครงการตรวจสอบยาตกค้างในเน้ือสัตว์น้ำอย่างสม่ำเสมอ ผลักดันให้มีการ
ผลิตยาสำหรับสัตว์น้ำที่ถูกต้องเข้าสู่ตลาดให้มากข้ึนและเป็นเร่ืองของจิตสำนึกของผู้ท่ี
เก่ียวข้องกับเร่ืองการวางจำหน่ายยา จะต้องหยุดการขายยาที่ต้องห้ามโดยเด็ดขาด
การแก้ปัญหาเรื่องนี้จะสำเร็จได้ถ้าหากทุกฝ่ายร่วมมือกันอย่างจริงจังและจริงใจ และ
ก็คงจะรักษาตวั เลขการสง่ ออกกุ้งของเราไวใ้ นระดับนีห้ รือเพม่ิ ข้นึ ไดต้ ามที่ตอ้ งการ

หลกั การจดั การสขุ ภาพและการแก้ไขปัญหาโรคกุง้ โดยไม่ใชย้ าปฏชิ ีวนะ

ปัญหาสุขภาพกุ้งนับเป็นอุปสรรคท่ีสำคัญต่อการเล้ียงกุ้งทะเล เน่ืองจากสามารถ
ก่อให้เกิดความเสียหายได้ทุกขณะ โดยเฉพาะเวลาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ
ภูมิอากาศ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อความเครียดของกุ้ง การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ
และส่งผลต่อมายังการเกิดโรค อัตรารอด และผลผลิตกุ้ง ในท่ีสุดทำให้แผนการผลิต
ของเกษตรกรไม่สามารถดำเนินการไดต้ ามเปา้ หมาย
เกษตรกรควรเลือกลูกกุ้งคุณภาพ และปลอดโรคมาเล้ียง เพื่อตัดวงจรของการ
ติดเชื้อโรคและลดความเสี่ยง โดยเฉพาะโรคไวรัสกุ้งที่อาจติดมาจากพ่อแม่พันธ์ุที่ไม่มี
คุณภาพส่ลู ูกก้งุ เพ่อื ลดความเสยี่ งในด้านการนำเอาโรคกงุ้ เข้ามาในระบบการผลติ

36

ในระหว่างการเลี้ยงกุ้ง สาเหตุท่ีทำให้กุ้งเป็นโรคได้ต้องประกอบด้วย 3 สาเหตุ
หลกั รว่ มกนั คอื (1) มเี ชอื้ โรคทรี่ นุ แรงเกดิ ขนึ้ ในบอ่ เลย้ี ง (2) สขุ ภาพของกงุ้ ไมแ่ ขง็ แรง และ
(3) มีส่ิงแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากการจัดการหรือการเปล่ียนแปลงของธรรมชาติ
ทเี่ ราควบคุมไดย้ าก การจดั การสขุ ภาพกุ้งทะเลที่ดใี นระหวา่ งเล้ยี ง จึงควรจดั การใหก้ งุ้ มี
ความแข็งแรงอยเู่ สมอ ได้อยใู่ นสภาพแวดล้อมที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิง่ คณุ ภาพนำ้ และดนิ
ที่สามารถจัดการได้ให้เหมาะสมดังท่ีได้กล่าวมาแล้ว รวมทั้งการตัดวงจรของเชื้อโรค
ท่ีอาจถ่ายทอดมากับพ่อแม่พันธุ์ การติดเช้ือที่มากับพาหะ ดังนั้น เกษตรกรควรซื้อ
ลูกพันธ์ุกุ้งจากแหล่งที่เชื่อถือได้และได้มาตรฐาน ผ่านการตรวจสอบการติดเช้ือไวรัส
ท่สี ำคญั เชน่ WSSV, IHHNV, YHV, TSV และ IMNV นอกจากน้ ี การระวงั การปนเปื้อน
ของเช้อื โรคทมี่ ากับน้ำท่ีใช้เพาะเล้ยี ง และปอ้ งกันหรือลดความเครยี ดของกงุ้ ทีถ่ ูกกระตุ้น
จากการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของสภาพแวดล้อมในบ่อ จะเป็นแนวทางในการลด
ความเส่ียงของโรคกุ้งโดยเฉพาะเวลามีการเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศท่ีส่ง
ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของกุง้ ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม

37

การจัดการเลี้ยงกุ้งให้มีความแข็งแรงเป็นสิ่งที่เกษตรกรต้องมีการดูแลอย่าง
สม่ำเสมอ เพื่อลดความเส่ียงจากการติดเชื้อโรคกุ้ง การจัดการเล้ียงที่ดี เช่น ดูแล
การให้อาหาร ความหนาแน่น อุณหภูมิน้ำ การลดปริมาณสารอินทรีย์ที่สะสม
ในบ่อเลี้ยงกุ้ง โดยการจัดการด้านอาหาร การถ่ายน้ำ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
และเม่ือพบว่ากุ้งเร่ิมแสดงอาการผิดปกติ เกษตรกรควรดูผลการบันทึกคุณภาพน้ำ
สุขภาพประจำวนั ยอ้ นหลัง เพอื่ ค้นหาสาเหตุเบือ้ งตน้ พรอ้ มๆ กบั นำกงุ้ ที่ปว่ ยโดยเฉพาะ
กุ้งท่ีกำลังแสดงอาการส่งตรวจท่ีห้องปฏิบัติการที่อยู่ใกล้เคียง เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง
และแนวทางการรักษาทีเ่ หมาะสม
บางคร้ัง ปัญหาสุขภาพกุ้งท่ีเกิดจากการติดเช้ือ อาจเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วจน
แก้ปัญหาไม่ทัน เกษตรกรควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีเนื่องจากอาจส่งผลกระทบ
ตอ่ การจัดการระบบนเิ วศในบ่อได้กงุ้ ทต่ี ิดเชื้อแบคทเี รยี โดยส่วนใหญเ่ กดิ จากการตดิ เช้ือ
วิบริโอ ใช้การจัดการเล้ียงที่ดีดังท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้นซึ่งเป็นวิธีการต้ังรับที่เหมาะสม
และปลอดภัยที่สุด อย่างไรก็ตามหากมีความจำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ต้องใช้กลุ่มยา
ปฏิชีวนะท่ีอนุญาตให้ใช้เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเท่านั้น และใช้แล้วควรมีระยะเวลา
พกั การใชย้ ากอ่ นการเก็บเกย่ี ว (Withdrawal Period) ประมาณ 1 เดอื น ก่อนเก็บเก่ยี ว
ผลผลติ ขาย แต่ถา้ หากพบกงุ้ เริม่ แสดงอาการปว่ ยเมื่ออายปุ ระมาณ 3 เดอื น ควรใช้การ
จัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันการระบาดขยายออกไปในวงกว้าง หรือการติดเชื้อ
มีอาการรุนแรงควรตัดสินใจจับกุ้ง โดยหลีกเล่ียงการใช้ยาปฏิชีวนะให้มากท่ีสุด เพราะ
ไม่สามารถจดั การเรอ่ื งระยะพกั การใชย้ าปฏิชวี นะได้

38

บทสรปุ

สารตกค้างในอาหารท่ีเกิดจากการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรและยาสัตว์
การควบคุมด้านอาหารปลอดภัยจึงห้ามใช้ยาสัตว์และวัตถุอันตรายในการผลิตอาหาร
จากการเพาะเล้ียงสัตว์น้ำ และมีการควบคุมสารตกค้างและการตรวจสอบย้อนกลับ
ก่อนการนำเข้าไปบริโภคในแต่ละประเทศ ดังน้ันหากมีสารต้องห้ามตกค้างในกุ้งและ
ถกู สมุ่ ตรวจพบกจ็ ะสามารถตรวจสอบย้อนกลับมาสู่ผผู้ ลิตได้
แนวทางในการแก้ไขในระยะสั้นต้องใช้กฎหมายและระเบียบต่างๆ จัดการกับคน
ท่ีทำผิดอย่างรีบด่วน และสำหรับเกษตรกรต้องพยายามจัดการเล้ียงที่หลีกเลี่ยงปัจจัย
ท่ีทำให้เกิดความเส่ียงกุ้งติดเช้ือโรค และหากเม่ือเกิดโรคแล้วควรหลีกเล่ียงที่จะใช้ยา
ปฏิชีวนะ ถ้าหากมีความจำเป็นถึงท่ีสุด ต้องไม่ใช้ยาปฏิชีวนะที่ห้ามใช้ และห้ามใช้ยา
ทสี่ งวนไวร้ กั ษาโรคของมนษุ ย ์ ควรใชย้ าสตั วห์ รอื สมนุ ไพรเฉพาะทอ่ี นญุ าตใหใ้ ชก้ บั สตั วน์ ำ้
และใชอ้ ยา่ งถกู วธิ ี มรี ะยะพกั หยดุ ทนี่ านเพยี งพอ การตกคา้ งของยาตอ้ งหา้ มกจ็ ะไมเ่ กดิ ขน้ึ
และขอให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันผลิตสัตว์น้ำท่ีปลอดสารตกค้าง เฝ้าระวังและตรวจสอบ
ยาทม่ี วี างขายในตลาด โดยผเู้ กย่ี วขอ้ งทงั้ หมดอยา่ ปลอ่ ยใหค้ วามโลภบงั ตา และชว่ ยระวงั
ไม่ให้ “ผู้ทำให้เกิดสารตกค้าง กลายเป็นผู้ร้ายในอุตสาหกรรมกุ้ง” รักษามาตรฐาน
อาหารปลอดภัยของสินค้ากุ้งที่ผลิตจากประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตกุ้งที่ดีหล่อเล้ียง
คนทว่ั โลกตอ่ ไป

39

บรษิ ัท ไทยลักซ์ เอน็ เตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จำกัด

“ทโเี่ กภษชตนรากกในรอาาครหวารรเขกา้ ใจ้งุ ”

อาหารก้งุ เปน็ อกี หนง่ึ ปัจจยั ทมี่ ีความ เกิดอะไรขึ้นในตลาดกงุ้ ไทย…ปัจจบุ ัน...
สำคัญต่อการผลิตกุ้งไทยในปัจจุบันและยัง สรุปราคาประมูล/ซ้ือ/ขาย/กงุ้
เป็นโจทยท์ ่หี ลายๆ ทา่ นใหค้ วามสนใจ ผเู้ ลยี้ ง ในเขตพ้นื ที่ต่าง ๆ จากทว่ั ประเทศ
กงุ้ ตอ้ งการเหน็ อาหารกงุ้ ทสี่ ามารถตอบสนอง โดยเครือขา่ ยผู้เลยี้ งกงุ้ ไทย
ความต้องการของกงุ้ ได้อยา่ งชัดเจนเน่อื งจาก ณ วันท ี่ 12 มกราคม 2562
ก้งุ เป็นสัตว์นำ้ ทีม่ ีลำไส้ส้ัน ฉะน้นั วัตถดุ ิบทนี่ ำ
มาผลิตอาหารกุ้งต้องคัดสรรเป็นพิเศษเพราะ เขตพื้นที่ จ.ระนอง
เมอื่ กงุ้ กนิ เขา้ ไปแลว้ ตอ้ งสามารถยอ่ ยงา่ ยและ
นำไปใช้ได้มากท่ีสุด เพ่ือเพิ่มศักยภาพของ 42 ตัว กงุ้ เป็น 240 บาท
ผลผลิตอุตสาหกรรมกุ้งไทยให้มีความยั่งยืน
และอกี หนง่ึ เรอ่ื งของความทา้ ทายของผเู้ ลย้ี งกงุ้ เขตพืน้ ท่ี จ.สรุ าษฎรธ์ านี
ในปจั จบุ นั คอื ตอ้ งผลติ กงุ้ ใหต้ รงความตอ้ งการ
ของผู้บริโภคนอกเหนือจากความปลอดภัย 29 ตวั กงุ้ เป็น 287 บาท
ได้ดว้ ย เช่น ความสด รสชาต ิ สสี ัน ตลอดจน 37 ตวั กงุ้ สด 248 บาท
คุณค่าทางอาหารท่ีดีท่ีผู้บริโภคจะได้รับจาก 32 ตวั กุ้งเปน็ 280 บาท
ผลผลติ กุ้งไทย (Functional Food) อีกด้วย 56 ตัว ก้งุ สด 200 บาท
70 ตัว กงุ้ สด 191 บาท
135 ตัว ก้งุ สด 100 บาท

40

ตลาดกำลังจะเปลีย่ นไป...เราเตรียมพร้อมหรอื ยงั ...

ดว้ ยเกษตรกรผเู้ ลย้ี งกงุ้ มหี ลายคำถาม เขตพนื้ ท่ี จ.นครศรธี รรมราช
อยู่บ่อยครั้งไม่ว่าจะเป็นคำถามเร่ืองความ
ต้องการอาหารกุ้งท่ีส่งเสริมด้านสุขภาพกุ้ง 100 ตวั กุง้ สด 124 บาท
การเจรญิ เตบิ โต รสชาติ สสี นั และคณุ คา่ ทาง
อาหารที่ดีที่ผู้บริโภคจะได้รับจากผลผลิตกุ้ง เขตพน้ื ที่ จ.พงั งา
ไทยแลว้ ทางบริษทั ไทยลกั ซ ์ เอน็ เตอรไ์ พรส์
(ประเทศไทย) จำกดั ในเครอื บรษิ ทั พพี ี ไพรม์ 32 ตัว ก้งุ เปน็ 310 บาท (ก้งุ ดำ)
จำกัด (มหาชน) จึงได้พัฒนาสูตรอาหารกุ้ง 48 ตวั ก้งุ เปน็ 235 บาท (กุง้ ดำ)
ที่สามารถตอบสนองความต้องการของ 55 ตัว กุ้งเปน็ 230 บาท (กุ้งดำ)
เกษตรกรผู้เล้ียงกุ้งและผู้ซ้ืออย่างจริงจัง 62 ตัว กงุ้ เปน็ 225 บาท (กงุ้ ดำ)
จนได้สูตรอาหารกุ้งที่ดีท่ีสุด เพื่อเน้นสร้าง
ผลกำไรและความยง่ั ยนื ใหก้ บั เกษตรกรผเู้ ลยี้ ง เขตพ้นื ที่ จ.จันทบรุ ี
กงุ้ ไทยพรอ้ มไดผ้ ลผลติ ตรงความตอ้ งการของ
ผซู้ อ้ื อกี ดว้ ย เพราะวตั ถดุ บิ ทนี่ ำมาผลติ อาหาร 130 ตัว กุ้งสด 115 บาท
กุ้งของบริษัทเราเน้นคัดสรรวัตถุดิบจาก
ธรรมชาติคุณภาพสูงเพื่อให้ได้อาหารกุ้ง หมายเหตุ ราคานเี้ ปน็ การซื้อขายจรงิ
ท่ีดีท่ีสุด เสริมด้วยพรีมิกซ์คุณภาพสูงที่ ตรวจสอบขอ้ มูลโดยชมรมตา่ งๆ
ส่งเสริมการเล้ียงของเกษตรกรได้ดีขึ้น เช่น # กุ้งสด
อตั ราการรอดสงู ลอกคราบสมบรู ณ ์ เมด็ ไขมนั คือ กงุ้ ที่จับตายหนา้ ปากบ่อ
ในตับสมบูรณ์ ทนต่อสภาวะแวดล้อมที่ # กุง้ เปน็
เปลยี่ นแปลงในบอ่ เลย้ี งและโรคระบาด สรา้ ง คือ กงุ้ ท่ีจับเป็นไปโรงงาน
เม็ดสี แข็งแรงสามารถจับกุ้งเป็นส่งโรงงาน
ได้อย่างม่ันใจ
ปัจจุบนั ตลาด (ผูบ้ รโิ ภค) เปลีย่ นไป...
แต่ยงั ต้องการกนิ กุง้ เหมอื นเดมิ

41

อาหารกุ้งไทยลกั ซ์

DHA + Astaxanthin + Hi-Pro

DHA ผลติ จากสาหร่าย Schizochytrium sp.

ซง่ึ เปน็ สาหรา่ ยทมี่ ปี รมิ าณกรดไขมนั DHA สงู ถงึ 28 เปอรเ์ ซน็ ตโ์ ดยนำ้ หนกั จงึ สามารถนำ
สาหร่ายชนิดน้ีมาใช้เป็นแหล่งของกรดไขมันไม่อิ่มตัว โอเมก้า 3 ชนิด DHA ได้เป็นอย่างดี
มปี ระโยชนท์ างโภชนาการสำหรบั ลกู กงุ้ และลกู ปลา อกี ทงั้ มขี นาดเลก็ แขวนลอยและกระจายตวั
ในน้ำได้ดี ช่วยในการลอกคราบ เพ่ิมปริมาณเม็ดไขมันในตับ (Lipids Global) เสริมสร้าง
ความแข็งแรง และเพิม่ อัตรารอดของลกู กุ้ง

DHA ผลิตจากสาหรา่ ย Schizochytrium sp.

ผลติ จากแบคทเี รยี Paracoccus carotinifaciens เปน็ แอสตาแซนทนิ ชนดิ พเิ ศษทส่ี กดั
จากแบคทเี รยี ซง่ึ มคี ณุ สมบตั คิ อื เรง่ และสรา้ งเมด็ สไี ดท้ กุ เฉดส ี คณุ ประโยชนท์ ส่ี ำคญั ในดา้ นตา่ งๆ
เช่น การมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่สูงมาก สามารถป้องกันการเกิดออกซิเดชั่นของไขมันและ
การทำลายของเซลล์เมมเบรนและเน้ือเย่ืออันเนื่องมาจากออกซิเจน รงควัตถุชนิดนี้จึงมีความ
น่าสนใจในการนำคุณค่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเสริมสร้างสุขภาพของผู้บริโภคมากยิ่งข้ึน
นอกเหนอื ไปจากคณุ สมบตั ิการเปน็ สารใหส้ ีเพียงอย่างเดียว

Hi-Pro

คือ แหล่งโปรตีนใหม่ท่ีไม่ใช่พืช ซึ่งอุดมไปด้วยกรดอะมิโนท่ีจำเป็นต่อการเจริญเติบโต
และสุขภาพของกุ้ง ที่สำคัญกุ้งสามารถย่อยได้และนำไปใช้ได้ 100% Hi-Pro จึงเป็นวัตถุดิบ
ที่คัดสรรพิเศษสำหรับการพัฒนาสูตรอาหารกุ้งท่ีดีที่สุดของบริษัทฯ ปัจจุบันเราต้องการใช้
โปรตีนจากพืชเท่าท่ีจำเป็นเท่านั้น เพื่อให้ได้คุณภาพอาหารตามหลักโภชนาการของกุ้งท่ี
ตอบสนองทงั้ การเจรญิ เตบิ โตและสขุ ภาพทสี่ มบรู ณแ์ ขง็ แรงของกงุ้ ตอ่ สภาวะอากาศเปลย่ี นแปลง
และสภาพการเล้ียงปัจจุบนั ...

42

กรอบแนวคิดของการคน้ หา วัตถดุ ิบ Hi-Pro
1. มีระดับกรดอะมโิ นที่สำคัญต่อกงุ้ สูงกวา่ กากถั่วเหลอื ง
2. ก้งุ สามารถย่อยและนำไปใช้ได้ 100%
3. ตอบสนองการกินดี การเจริญเตบิ โตดี ระบบภูมคิ ้มุ กนั ดี

และผลผลิตสามารถเพิ่มมลู คา่ ได้

43

นายสัตวแพทย์ ปราการ เจียระคงมั่น
รองกรรมการผ้จู ัดการฝ่ายวิชาการผลิตภณั ฑ์
บรษิ ัท แอด๊ วา้ นซฟ์ าร์ม่า จำกัด เครอื เจรญิ โภคภัณฑ์ [email protected]

หยุดโรค...

ฟื้นสง่ิ แวดล้อมเพ่อื กงุ้ ไทยไปตอ่

องคป์ ระกอบของการเกิดโรคในการเลยี้ งกุ้ง
ต้องประกอบดว้ ย 3 สว่ นหลกั ๆ ทส่ี ำคญั ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ตัวของกุง้ เอง และปจั จยั ด้านความแขง็ แรง และสุขภาพของตวั ก้งุ
2. การจัดการ และส่ิงแวดล้อมรอบๆ ตัวกุ้ง
ท่สี ง่ ผลกระทบใหก้ งุ้ เกิดความออ่ นแอลง
3. แหลง่ กำเนิดของโรคน้ัน หรอื เชือ้ โรค ทั้งปรมิ าณ
และความรุนแรงของเชอ้ื โรค

44

ปจั จัยท่สี ง่ ผลทำใหก้ ุ้งเกิดโรค หรอื ความเสียหายประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบ

ตวั ของกุ้งเอง
และความแข็งแรงของกุง้

โรคกุ้ง
และความเสยี หาย
การจัดการ แหลง่ กำเนิดโรค
และส่งิ แวดล้อม และเช้ือโรค
ทัง้ ปริมาณ
และความรุนแรง

ดังนั้นหากพวกเราต้องการจะเลี้ยงกุ้ง และจัดการไม่ให้เกิดโรค พวกเราจำเป็น
ตอ้ งเขา้ ใจ และพยายามควบคุม และจดั การ องคป์ ระกอบของการเกิดโรคทง้ั สามส่วนน ี้
ไม่ให้ส่งผลกระทบจนทำให้กงุ้ ของเราเกิดโรค หรือปญั หา ขึ้นมา
โดยท่ัวไป โรคหรือปัญหา ท่ีเกิดขึ้นกับการเล้ียงกุ้งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ท่สี ำคญั คือ
1. โรคกุ้งหรือความเสียหาย ที่ไม่ได้เกิดจากการติดเช้ือ (Non-infectious
disease) หมายถึงการเกิดโรคหรือความเสียหายในการเล้ียงกุ้ง ที่มีสาเหตุเร่ิมต้น
ไม่ได้เกิดจากเช้ือโรคเช่นโรคกุ้งหรือปัญหาท่ีเกิดข้ึนอันเกิดมาจากการจัดการที่ไม่ดี
ภายในบ่อเลี้ยงและภายในฟาร์มของเรา (Poor management practices) เช่น
การปล่อยกุ้ง ในอตั ราความหนาแนน่ ของกุ้งที่สูงมากเกินไป เกินกวา่ ระดบั ความสามารถ
และศักยภาพของบ่อ หรือของฟาร์มท่ีจะสามารถเล้ียงกุ้งให้ประสบความสำเร็จต่อไปได ้
เพราะความพร้อมของระบบ ท้ังเร่ืองระบบน้ำ ทั้งปริมาณ และคุณภาพ ไม่ดีพอ
ไมเ่ พยี งพอ หรือไมเ่ หมาะกบั ความหนาแน่นนั้นๆ (Over carrying capacity) นอกจากนี้
การจัดการอาหารท่ีไม่เหมาะสมทั้งมากเกินไป หรือน้อยเกินไป เพราะกุ้งดำรงชีวิตและ

45

อาศัยอยู่ในน้ำ และการบริหารจัดการอาหาร ต้องกระทำผ่านทางน้ำ จนบางคร้ังอาจ
ทำให้การควบคุมปริมาณอาหาร และคุณภาพการกินอาหาร ของกุ้งไม่เหมาะสม
(Inappropriate feed intake and feeding management) ก็สามารถทำให้
กุ้งเกิดการเจ็บป่วย หรือเป็นโรคได้ การจัดการพื้นบ่อ หรือการจัดการคุณภาพน้ำ
พื้นฐานท่ีไม่ดี พอทั้งก่อนลงกุ้ง และระหว่างเล้ียงกุ้งจนเป็นสาเหตุที่ทำให้กุ้งเกิดความ
เครยี ด ภมู ิคุ้มกันของก้งุ ลดต่ำลง จนทำใหก้ ุ้งมคี วามอ่อนแอ และมคี วามไวตอ่ การติดเชอื้
โรคต่างๆได้ ง่ายข้ึน การจัดการของเสียที่พ้ืนบ่อ และในน้ำ ท่ีไม่ดีพอ จนกลายเป็น
แหลง่ สะสมของแกส๊ พษิ และสารอนิ ทรยี ใ์ นนำ้ และทพ่ี นื้ บอ่ เชน่ แกส๊ แอมโมเนยี ไนไตรท์
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือ เป็นแหล่งสะสมของสารอินทรีย์คาร์บอน และ ไนโตรเจน และ
ซลั เฟอร์ ทเี่ กดิ เกดิ จากขกี้ งุ้ อาหารทเ่ี หลอื เศษซากเปลอื กกงุ้ และ เศษซากแพลงกต์ อนตาย
ที่ละลายน้ำ (Dissolved organic carbon and nitrogen and sulphur)
ซงึ่ ในทีส่ ุด สารอินทรยี เ์ หล่านี้ จะกลายเป็นอาหารของเชอ้ื โรค เช่น เชอื้ แบคทีเรยี หรือ
กลายเปน็ ทเี่ กาะยดึ ของสปอร์ เปน็ ตน้ โรคกงุ้ หรอื ความ เสยี หาย ทไ่ี มไ่ ดเ้ กดิ จากการตดิ เชอื้
ยังรวมถึง โรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม ท่ีไม่เหมาะสมในการเลี้ยงกุ้ง (Environmental
impact) จนทำใหก้ งุ้ เกดิ ความเครยี ด จนออ่ นแอ และเจบ็ ปว่ ยไดง้ า่ ยขนึ้ เชน่ การเลย้ี งกงุ้

46

ในสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงกระทันหันฉับพลันทันที ซ่ึงเป็นสภาวะที่กุ้งไม่ชอบเช่น
มีแดดแรงและร้อนจัดมากเกินไป หรือมีฝนตกหนักติดต่อกัน เป็นระยะเวลายาวนาน
มีสภาวะอากาศและอุณหภูมิเปล่ียนแปลงอย่างเฉียบพลัน มีค่าคุณภาพน้ำพ้ืนฐาน ทั้ง
พเี อช และ ดโี อ และอลั คาไลน์ แรธ่ าตุ ทไ่ี มเ่ หมาะสม มแี กส๊ พษิ ในนำ้ มาก เชน่ มี แอมโมเนยี
ไนไตร์ท และไฮโดรเจนซัลไฟด์สูง มีสารอินทรีย์สะสมจำนวนมากในน้ำ และที่พื้นบ่อ
มีสภาวะน้ำที่เค็มจัด หรือน้ำที่จืดเกินไป เป็นต้น รวมถึง โรคหรือความเสียหายของกุ้ง
ทเี่ กิดจากความบกพร่องและความผดิ ปกตทิ างพันธกุ รรม (Genetic defect & disorder
problem) เช่น ความพิการบางประเภทของกุ้งที่เกิดจากความผิดปกติ ทางพันธุกรรม
(Deformity) เปน็ ตน้

47

2. โรคกุ้งหรือความเสียหาย ที่เกิดจากการติดเช้ือ (Infectious disease)
หรอื โรคทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได ้ (Communicable diseases) หมายถงึ การเกดิ โรคหรอื ความ
เสยี หายในการเลยี้ งกงุ้ ทมี่ สี าเหตเุ รมิ่ ตน้ เกดิ มาจากเชอื้ โรค ซงึ่ สามารถกลายเปน็ โรคระบาด
และ โรคท่ีสามารถติดต่อจากบ่อหนึ่ง ไปอีกบ่อหน่ึง หรือจากฟาร์มหนึ่ง ไปอีกฟาร์ม
หน่ึงได้ เช่น การติดเช้ือ ไวรัส (Viral infection) เช่น โรคไวรัสตัวแดงดวงขาว
(WSSV) โรคไวรัสหัวเหลือง (YHV) การติดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial infection) เช่น
โรคติดเชื้อแบคทีเรียวิบริโอ (Vibriosis) จากโรคตับวายเฉียบพลัน หรือโรคอีเอ็มเอส
(EMS) หรือ (Acute hepatopancreatic necrosis disease / AHPND) การติดเชอื้
ไมโครสปอร์ริเดียน เชื้อโปรโตซัว หรือเช้ือรา เช่นโรคติดเชื้อไมโครสปอร์ริเดียน
อีเอชพี (Microsporidean Enterocytozoon hepatopenaei / EHP) ที่เป็น
ส่วนร่วมที่สามารถทำให้เกิดโรคข้ีขาว (White feces syndrome / WFS) เป็นต้น
ช่องทางการติดของโรค (Route of infection) ก็มีส่วนร่วมในการทำให้โรคระบาด
ลกุ ลามรนุ แรง โรคตดิ เชอ้ื ในก้งุ บางชนดิ เช่น เช้อื ไว รสั มี ตำแหนง่ ในการตดิ ท่ีตัวกุง้
หลายจุด หลายอวยั วะ เมอ่ื เปรยี บเทียบกบั เช้อื โรคชนิดอืน่ ๆ ขณะท่ ี เช้ือแบคทเี รยี และ
เชอื้ ไมโครสปอรร์ เิ ดยี น ม ี ตำแหนง่ ในการตดิ หลกั ๆ ผา่ นทางการกนิ เขา้ ไปทที่ างเดนิ อาหาร
และ ตับเป็นหลัก ดังน้ัน การระบาด และการลุกลาม (Disease progression and
disease onset) จะช้า และ ต่ำกว่า เช้ือไวรสั หลายเท่าตัว

48

นอกจากน้ี หลายๆ คร้ัง ความเสียหายหรือโรคทั้งแบบท่ีเกิดจากการที่ไม่ติดเชื้อ
และแบบท่ีเกิดจากการติดเชื้อ อาจมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกันได้ เพราะการจัดการ
และสภาวะอากาศ และ ส่ิงแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมสามารถกระตุ้นทำให้กุ้งเกิด
ความอ่อนแอ เจ็บป่วยและตายจากการติดเชื้อได้ ดังน้ันหากพวกเราต้องการจัดการ
ไม่ให ้ เกดิ โรคพวกเราจำเป็นตอ้ งเขา้ ใจความเชือ่ มโยงดังกล่าวนี้ และพยายามควบคุมให ้
ปัจจัยท้ังสองส่วนที่กล่าวมาแล้ว มีผลกระทบต่อกุ้งของเราให้น้อยที่สุด โดยพยายาม
ควบคุม ปัจจัยด้านการจัดการและสภาวะอากาศ และ ส่ิงแวดล้อม โดยหมั่นสังเกตุ
ตรวจสอบ จดบันทึก และควบคุมอย่างใกล้ชิด ให้ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อกุ้ง
ใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ ขณะเดยี วกนั กต็ อ้ งเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการตดิ เชอื้ โรค โดยพวกเราตอ้ งรเู้ ชอ้ื โรค
ชอบอะไร และไม่ชอบอะไร สภาวะไหนท่ีเชื้อโรคจะมากหรือน้อย ตำแหน่งหรือ
อวยั วะเป้าหมาย ของเชือ้ โรคแตล่ ะชนดิ คืออะไร และทำความเขา้ ใจกลไกการตดิ เชอ้ื โรค
ของโรคแต่ละชนิดของกงุ้ และพยายามควบคุม ไมใ่ หเ้ กิดสภาวะท่ีเอ้อื อำนวยใหเ้ ช้ือโรคมี
ความแขง็ แกรง่ หรือ เพ่ิมปริมาณ จนสามารถทำอนั ตรายแก่กงุ้ ของเราได้
ในกลมุ่ ของโรคกงุ้ หรอื ความเสยี หาย ทีเ่ กดิ จากการตดิ เช้อื (Infectious disease)
ส่วนใหญ่การลุกลามของโรคให้เกิดการแพร่กระจายลุกลามจนเกิดความเสียหายอย่าง
มากมาย มกั เกิดจากปัจจัยทีส่ ำคญั 3 ประการ ดังตอ่ ไปน ้ี

1. การมีเชื้อโรคจำนวนมากหลุดรอด เข้าสู่ระบบการเลี้ยงจากช่องทางใด
ช่องทางหน่ึง (The presence of the pathogens into the culture system)
เช่น อาจมาจากลูกกุ้งที่ติดเช้ือแฝง โดยไม่ผ่านการคัดกรองตรวจสอบโรคท่ีดีพอ หรือ

49

อาจมาจากนำ้ จากตะกอน จากพนื้ บอ่ ทไี่ มส่ ะอาด จากพาหะและตวั นำโรคทเี่ ขา้ มาในบอ่
และในฟารม์ จากคนงานและนกั วชิ าการทปี่ ฏบิ ตั งิ านภายในฟารม์ จาก รถยนตท์ เี่ ขา้ ฟารม์
จากอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ ที่ใช้งานร่วมกันโดยไม่มีระบบการสุขาภิบาล และ
การสกดั กัน้ เชอื้ โรค ทางเคมที ่ีดี (Chemical precaution measure) เปน็ ตน้
2. กุ้งภายในบ่อ ได้รับผลกระทบบางอย่าง จนทำให้เกิดความเครียด และ
เกิดความอ่อนแอมีความไวต่อการติดเช้ือ เพ่ิมสูงข้ึน (To increase diseases
susceptibility to shrimp) เชน่ ผลกระทบจากสภาวะอากาศ และสงิ่ แวดลอ้ ม ผลกระทบ
จากการจัดการภายในฟาร์มผลกระทบของคุณภาพน้ำที่ไม่เหมาะสมระหว่างการเล้ียง
ผลกระทบของการควบคมุ ของเสียท่เี กิดข้ึนระหว่างการเลยี้ งเป็นตน้

50


Click to View FlipBook Version