The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กุ้งไทยหนังสือประกอบงานสัมมนาวิชาการวันกุ้งไทย ครั้งที่ 29
วันที่ 16 - 17 กุมภาพันธ์ 2562ครั้งที่ 29

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AQUA BIZ, 2022-04-10 00:11:36

ธุรกิจกุ้งไทย ไปต่อได้ไหม?

กุ้งไทยหนังสือประกอบงานสัมมนาวิชาการวันกุ้งไทย ครั้งที่ 29
วันที่ 16 - 17 กุมภาพันธ์ 2562ครั้งที่ 29

Keywords: งานวันกุ้งไทย,AQUABIZ,WeSupport_SustainableAquaculture,Premium_ThaiShrimp,กุ้งไทย,การเลี้ยงกุ้ง

3. มีการกระตุ้นการขยายตัว หรือเพิ่มปริมาณของเช้ือโรค หรือแหล่งกำเนิดของ
เช้ือโรค ให้แพร่ขยายวงกว้างมากข้ึน (To increase the multiplication of the
diseases) ภายในบอ่ หรอื ภายในฟารม์ ในสง่ิ แวดลอ้ ม หรือเพิม่ การคงอยู่ (persisted)
ของเชอ้ื โรคหรอื แหลง่ กำเนดิ ของเชอื้ โรคนน้ั ใหม้ รี ะยะเวลาทยี่ าวนานขนึ้ เชน่ การปลอ่ ยให้
มีการกินกันเองของกุ้ง จากกุ้งที่เป็นปกติ ไปกินกุ้งท่ีตาย จนเกิดการแพร่กระจาย
ติดต่อกันไปของเช้ือในวงกว้าง จากการท่ีเราไม่สามารถเอากุ้งท่ีป่วยหรือกุ้งที่ตาย
หรือเศษซากของเปลือกกุ้งท่ีลอกคราบ หรืออาหารกุ้งท่ีไม่ได้กิน หรือตะกอนซาก
ของแพลงก์ตอนที่ตายและสารแขวนลอยในน้ำ หรือไบโอฟิมล์ท่ีเกาะอยู่ตามขอบบ่อ
ขอบพีอี ออกจากบ่อกุ้งของเราได้ จึงเป็นแหล่งสะสมของเช้ือโรค เช่น เช้ือแบคทีเรีย
แกรมลบ พวกวิบริโอที่ผลิตเมือกเหนียว (slime producing bacteria) และเป็นท่ี
เกาะยึดของสปอร์ของเช้ืออีเอชพีท่ีอาจถูกกินโดยกุ้งที่ปกติ จนเกิดการลุกลาม
และเพ่ิมจำนวนการติดเชื้อมากข้ึนในประชากรของกุ้ง เพราะอย่างที่กล่าวข้างต้น
บางคร้ังการติดเช้ือโรคในบางโรค มีช่องทางการติดเชื้อที่สำคัญผ่านทางการกิน
(Oral route infection) เป็นหลัก และการติดเชื้อในประชากร กุ้งอาจไม่ได้มีการ
ตดิ เช้อื พร้อมๆ กัน ในเวลาเดียวกนั ท้ังหมด แตห่ ากเราปล่อยสภาวะของการกินกันหรอื

51

สภาวะของการไปเก็บกินตะกอนหรือของเสียในบ่อกุ้งให้เกิดขึ้นเป็นระยะเวลาต่อเนื่อง
ยาวนาน ก็จะส่งผลเสียให้กุ้งของเราติดเช้ือได้เพิ่มข้ึน และมีประชากรกุ้งท่ีติดเชื้อเพ่ิม
มากขน้ึ และความเสยี หายกจ็ ะปรากฎชดั ขนึ้ ดงั นน้ั ความเขา้ ใจในกลไกการเกดิ โรคเหลา่ น้ี
มีส่วนสำคัญในการบรหิ ารจัดการใหค้ วามเสยี หาย หรอื โรคกุ้งใหเ้ พิม่ ข้ึน หรือลดลงได ้

52

นอกจากน้ี การจับกุ้งที่ป่วยหรือตายจากการติดเชื้อโรคโดยปราศจากการยืนยัน
โรคว่าเกิดจากเชื้อโรคชนิดใด และมีความรุนแรงในการลุกลาม เป็นอย่างไร หรือ
ขาดมาตรการการป้องกัน การแพร่กระจายของเช้ือโรค ขณะที่มีการจับกุ้งท่ีป่วยหรือ
ตายออกจากบอ่ จนทำให้ มีการปนเปื้อนของเช้อื โรคทีเ่ กดิ จากคนงาน จากยานพาหนะ
ท่ีเข้าออกภายในฟาร์ม จากอุปกรณ์เคร่ืองมือที่เคร่ืองใช้ ท่ี ใช้งานร่วมกันภายในบ่อ
และภายในฟาร์ม โดยไม่มีระบบการสุขาภิบาลที่ด ี ไม่มีระบบการฆ่าเชื้อโรคเพื่อป้องกัน
การปนเป้ือนท่ีดี หรือ ขาดระบบการสกัดก้ันทางเคมี ที่ดีก็เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทำให้
โรคเกิดการแพร่กระจายลุกลามอย่างรวดเร็วมาก นอกจากน้ี การปล่อยน้ำท้ิงที่
เสร็จจากการเล้ียงกุ้ง โดยเฉพาะจากบ่อกุ้งที่เกิดปัญหา หรือเกิดโรค หรือบ่อกุ้งป่วย
หรือตาย อันเกิดจากการติดเชื้อโรค ที่สามารถเป็นโรคท่ีระบาด และเป็นโรคท่ีติดต่อได้
โดยปราศจากมาตรการ การจัดการน้ำท้ิงท่ีถูกสุขลักษณะ ตามมาตรฐานที่ถูกต้อง
ก่อนท้ิงน้ำออกไป หรือขาดระบบการบำบัดน้ำท้ิง หรือขาดระบบหมุนเวียนกลับมา
เพ่ือลดปริมาณของเช้อื โรค และสปอร์ให้ลดลงก่อนปลอ่ ยออก สแู่ หล่งน้ำธรรมชาต ิ

53

เพ่ือไม่ให้เชื้อโรค และ สปอร์ นั้นๆ ปนเปื้อนสู่ส่ิงแวดล้อมเป็นจำนวนมาก
จนเกิดการคงอยู่ หรือเกิดการเพิ่มการขยายตัว หรือเพิ่มจำนวนของเช้ือโรคเหล่าน้ัน
ในสตั วพ์ าหะนำโรค และมกี ารสะสมเพมิ่ ปรมิ าณ ของสปอร ์ จำนวนมากจนอยใู่ นระดบั ทสี่ งู
และคงอยเู่ ปน็ ระยะเวลายาวนาน จนอาจเกดิ ผลกระทบกบั กงุ้ เมอื่ มกี ารสบู นำ้ เขา้ มาใชใ้ หม ่
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ หากไมม่ มี าตรการทางสุขาภบิ าลท่ีดี ทง้ั การเตรียมนำ้ การเตรียมบอ่
ท่ีดี ถูกสุขลักษณะ อย่างเข้าใจในกลไกการเกิดโรคนั้นๆ (Understanding diseases
pathogenesis) ก็จะยิ่งทำให้การเกิดโรคยังคงเกิดข้ึนอีกหมุนเวียนต่อเนื่อง ซ้ำแล้ว
ซ้ำอกี ตลอดเวลา และ ยากต่อการควบคุม ปอ้ งกัน ขึน้ เรือ่ ยๆ
ถงี เวลาทเ่ี ราตอ้ งเขา้ ใจปญั หาอยา่ งแทจ้ รงิ และวเิ คราะหต์ วั เราเอง วเิ คราะหโ์ รค และ
ส่ิงแวดลอ้ มรอบตัวเราท่เี ปลี่ยนไป
ในปจั จบุ นั นอกจากจะมเี ชอื้ โรคหลายชนดิ โดยเฉพาะชนดิ ใหมๆ่ ทไี่ มเ่ คยพบมากอ่ น
เข้ามาเก่ียวข้องกับการเกิดปัญหาแล้ว เรายังพบว่ากุ้งที่มีกลุ่มอาการของโรคระบาด
และโรคติดเชื้ออีกหลายๆชนิด เช่นกลุ่มอาการข้ีขาว ที่อาจมีการผสมผสาน ร่วมกับ
การไมโ่ ตของกงุ้ การแตกไซส ์ กรอบแกรบ FCR สูง และ ADG ต่ำ ทส่ี ่งผลกระทบด้าน
เศรษฐกจิ และตน้ ทนุ การเลยี้ งอยา่ งรนุ แรง รวมทงั้ โรคตดิ เชอ้ื อนื่ ๆ ทมี่ กั พบเกดิ บอ่ ยๆ และ
มคี วามถเี่ พม่ิ สงู ขนึ้ หรอื โรคไวรสั ตวั แดงดวงขาว ทเี่ มอื่ กอ่ นอาจพบไดเ้ ฉพาะในชว่ งทม่ี อี า
กาศเยน็ หรอื ฝนตกหนกั แตใ่ นปจั จบุ นั มกั พบไดบ้ อ่ ยและถขี่ นึ้ เกอื บตลอดทงั้ ป ี โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงการพบควบคู่กับการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน (2nd bacterial infection)

54

โรคอีเอ็มเอส หรือโรคตับวายเฉียบพลัน ที่เคยพบบ่อยในช่วงฤดูร้อน หรือช่วงท่ีน้ำ
มคี วามเค็มสงู แตใ่ นปจั จบุ ันกม็ ักพบไดเ้ กอื บทกุ ช่วงระยะเวลาของการเลี้ยง และอาจพบ
ผสมผสานร่วมกับโรคอ่ืนแบบ โพลีอินเฟคชั่น (Poly-infection) เช่นอาจพบร่วมกับ
โรคไวรัสตัวแดงดวงขาว หรือ อีเอชพี เป็นต้น ส่ิงเหล่านี้หากเราวิเคราะห์ลงไปอย่าง
ลึกซ้ึงจะพบว่า ปัญหาต่างๆ มีความเช่ือมโยง กับปัญหาความเส่ือมโทรมของบ่อน้ำ
ตัวกุ้ง และส่ิงแวดล้อม และการคงตัวอยู่ของเช้ือ และสปอร์ของเชื้อตะกอน และ
สารอนิ ทรยี ์ ปริมาณมากในส่ิงแวดลอ้ ม และในสตั วพ์ าหะ อย่างมนี ยั สำคัญมาก เหตุผล
เพราะสง่ิ แวดลอ้ มเหลา่ นีถ้ ูกผลกระทบจากการปนเปอ้ื นท่มี าจาก การเล้ยี งกงุ้ ของเราเอง
ในชุมชนของเรา จนเกิดความเส่ือมโทรม หมักหมม และ เกิดการสะสมของสิ่งเหล่าน้ี
มาเปน็ ระยะเวลายาวนาน การแกไ้ ขและอยรู่ อดกบั ปญั หาใหไ้ ดจ้ ำเปน็ ตอ้ งมกี รอบความคดิ
ในการแกไ้ ขปญั หาแบบ องคร์ วม (Holistic approaches strategy)

55

ความเส่อื มโทรม (Deterioration) และ การคงอยูข่ องเชื้อโรค (Persisted of the
pathogens) เหล่าน้ ี พบวา่ มักมีบทบาท และ มสี ่วนรว่ ม เป็นตัวกระตุน้ ใหเ้ กดิ ปัญหา
โรคตา่ งๆ ได้ ชดั เจน เพมิ่ มากข้ึนแตกต่างกันไปในแต่ละพ้ืนที่ของการเลีย้ ง โดยมกั พบว่า
กุ้งท่ีอยู่ในสภาวะแวดล้อมในการเล้ียงท่ีไม่ดี หรืออยู่ในแหล่งเส่ือมโทรมที่เล้ียงกุ้งมา
ยาวนาน หรือ อยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีความหนาแน่นของบ่อกุ้งสูงมาก หรืออยู่ในชุมชนท่ีมี
จำนวนบ่อเล้ียงกุ้งจำนวนมาก หรือมีปริมาณเช้ือและสปอร์ของเช้ือสะสมในส่ิงแวด
ล้อมสูง ประกอบกับถ้าระบบการจัดการ การเล้ียงท่ีไม่ดีหรือไม่เหมาะสมเพียงพอ
หรอื ไมเ่ ขม้ งวดรดั กมุ มกั พบวา่ พน้ื ทเ่ี หลา่ นจ้ี ะยงั คงมปี ญั หาการเกดิ โรค และความเสยี หาย
ด้านการเลี้ยง วนเวียนเกิดข้ึนได้ซ้ำแล้วซ้ำอีก และทำให้เกษตรกรเลี้ยงกุ้งได้ยากขึ้น
ต้นทนุ สงู ขน้ึ และประสบปัญหาการขาดทุนเกดิ ขึ้นได้บ่อยๆ

สภาพของสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ ฟารม์ (Environmental impact) รวมทงั้ สภาวะอากาศ
ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป และฤดกู าลทแ่ี ตกตา่ งกนั และรปู แบบการจดั การการเลย้ี ง วธิ กี ารเลยี้ ง
รวมท้ังการวางแผนการเล้ียง และการจับกุ้ง และสถานการณ์ราคาในช่วงเวลาน้ันๆ
มกั จะตอ้ งถกู มองและนำมาประเมนิ ควบคกู่ นั ไป เพอ่ื การบรหิ ารจดั การฟารม์ ทเ่ี หมาะสม
สภาพของสิง่ แวดลอ้ มท่ีแตกต่างกัน อาจหมายถึง

56

สภาพความเส่ือมโทรมของสภาพบ่อ (Pond deterioration) ท้ังบ่อเล้ียง
บ่อพัก บ่อทรีต บ่อตกตะกอน บ่อน้ำพร้อมใช้ ทั้งบนพ้ืนผิวของบ่อ และใต้พ้ืนพีอี
ความเก่าแก่ของพื้นพีอี ท่ีใช้งานมายาวนาน โดยขาดการดูแลรักษา หรือขาดการพัก
บ่อหรือหยุดการเล้ียงเพ่ือให้เกิดการบำบัดตามธรรมชาติ (Pond resting area and
restoration) ความโป่งพองของพลาสติกที่ปูท่ีขาดการวางแผนในการจัดการน้ำใต้พีอี
จนเป็นเหตุให้เกิดบอลลูน ท่ีขวางกั้นทางน้ำ และเป็นแหล่งสะสมตะกอนและของเสีย
ภายในบ่อ จนทำให้เกิดปัญหาความเสียหายจากโรค เพราะกุ้งมากินตะกอนตามแนว
ขอบบอลลูน และ ความไมเ่ รยี บรอ้ ยของการปูพลาสตกิ พีอีคลุมบ่อ จนเกิดรอยรวั่ หรอื
รูรั่วตามด ท่ีทำให้เกิดปัญหาที่มีจากใต้พื้นพีอี ที่ทำให้เชื้อโรคเช่นไวรัสตัวแดงดวงขาว
และสปอรข์ องเชอ้ื โรคหลดุ รอดออกมาสรา้ งความเสยี หาย หรอื สภาพการเปยี กแฉะไมเ่ คย
แห้งของใต้พ้ืนพีอี หรือบ่อดินท่ีไม่สามารถตากบ่อได้ดี ที่เป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค
และ สปอร์ของเชือ้ โรค และ สตั ว์พาหะนำโรค ทอี่ าจกลายเปน็ ระเบดิ เวลาท่กี ลับมาสรา้ ง
ความเสียหายด้านการเล้ียงอยู่บ่อยๆโดยเฉพาะ การเกิดปัญหากลุ่มอาการขี้ขาว
หรือก้งุ ไม่โต กรอบแกรบ ตวั หลวมน่มิ อนั เกดิ มาจากการตดิ เชอื้ อีเอชพ ี ทมี่ สี ปอรส์ ะสม
คงค้างอย่ทู ่พี ื้นบ่อในปริมาณสงู เปน็ ตน้

57

สภาพความเส่ือมโทรมของการใช้งานมานานของพื้นท่ีและชุมชนของบ่อกุ้ง
(Environmental deterioration) หรอื สภาพของการเลยี้ งกงุ้ ทม่ี มี ายาวนานแตกตา่ งกนั
ก็ควรมีส่วนในการนำมาวิเคราะห์ในการออกแบบการจัดการระบบ และวิธีการเล้ียงท่ี
เหมาะสมด้วย เพราะเรายังคงต้องเลี้ยงกุ้งโดยพ่ึงพาสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา รวมถึง
ต้องคำนึงสภาพน้ำหรือแหล่งน้ำรอบฟาร์มเรา ที่อาจมีการสะสมของเชื้อโรค และ
สปอรข์ องเชอ้ื โรค สตั วพ์ าหะนำโรคหรอื เวคเตอร ์ ทมี่ าจากการสะสมของนำ้ ทง้ิ ของฟารม์
เลยี้ งกงุ้ จำนวนมากทจี่ บจากการเลยี้ งกงุ้ หรอื ทงิ้ เลนตะกอนทดี่ ดู ออกมาจากหลมุ กลางบอ่
หรอื ทง้ิ เลนตะกอนทเี่ กดิ จากการลา้ งบอ่ ทตี่ กตะกอนเอาไว ้ และของเสยี ตา่ งๆ ทเี่ กดิ ในบอ่
เล้ียงกุ้ง โดยไม่มีการจัดเก็บเป็นสัดส่วน ในบ่อเก็บเลนตะกอน (Sludge pond) แต่
ปล่อยทง้ิ นำ้ และของเสยี เหลา่ น้ีปนเปอ้ื นลงในคลองสาธารณะ และในที่สดุ กค็ งคา้ งอยูใ่ น
ส่ิงแวดล้อม โดยไม่ผ่านการบำบัด โดยวิธีการท่ีถูกต้อง ก่อนท้ิงออกสู่คลองสาธารณะ
หรือ ทะเลธรรมชาติ หรือขาดการจัดการ การหมุนเวียน บำบัดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่
(Recycle system) โดยเลนทจี่ ดั เกบ็ เปน็ สดั ส่วนในบ่อทงิ้ เลน สามารถผ่านการแปรรูป
เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ ไมใ่ หเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มได ้ โดยถา้ พวกเราหนั มามอง
วเิ คราะห ์ และ เข้าใจปัญหาอยา่ งถอ่ งแท ้ และ ร่วมไม้ร่วมมอื กนั อย่างจริงจัง ทำความ
เข้าใจถึงสภาพการเส่ือมโทรมดังกล่าว และอย่าพยายามซ้ำเติมปัญหาให้มากขึ้นไปอีก
ก็จะทำให้พวกเราสามารถจะฝ่าฟันปัญหาเหล่าน้ีไปได้ร่วมกัน แต่ถ้าหากพวกเรา
ไม่ร่วมไม้ร่วมมือกัน และต่างคนต่างคิดว่าไม่ใช่ธุระ ไม่ใช่หน้าท่ีของเรา ในท่ีสุดปัญหา
เหลา่ นี้ กจ็ ะย้อนกลับมา และจะทำให้พวกเราเล้ียงกุ้งได้ยากลำบากมากขึ้น หากทุกคน
ไม่ช่วยกัน ทำความเขา้ ใจร่วมกัน และตระหนกั ในการลดผลกระทบเหล่าน ี้ รว่ มกัน

58

การบริหารจัดการโรคกุ้งต่างๆ จำเป็นต้องเข้าใจที่มาและสาเหตุของโรคเหล่านี้
อย่างถ่องแท้ และวิเคราะห์หาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นองค์รวม
(Holistic approaches strategies) การคำนึงถึงส่วนรวมท่ีเล้ียงกุ้งอยู่ในพื้นท่ี
เดียวกัน ใกล้เคียงกัน (Social responsibility) การคำนึงถึงส่ิงแวดล้อมและธรรมชาติ
(Environmental responsibility) เช่น การมีบ่อเก็บเลนเป็นสัดส่วนเพียงพอภายใน
ฟาร์มตนเอง เพอ่ื ทำการบำบัด แปรรูปเลน เป็นป๋ยุ เปน็ แกส๊ ธรรมชาติ หรอื เปน็ พลังงาน
อ่ืนๆ โดยไม่ปล่อยให้ของเสียจากการเลี้ยงกุ้ง หรือ น้ำท่ีจบจากการเลี้ยงกุ้ง ไปปะปน
เป็นภาระในส่ิงแวดล้อม หรือลงในคลองสาธารณะ หรือลงไปในทะเล ไม่ทิ้งเลน
หรือ น้ำท่ีใช้ในการล้างบ่อ และ ตะกอนต่างๆท่ีอยู่ในบ่อ ซึ่งอาจมีเช้ือโรคชนิดใหม่ๆ
หรือ มีสปอร์ของเชื้อโรค มีสารอินทรีย์ และของเสียปริมาณสูง ออกไปนอกฟาร์ม
ของเราก่อนการถูกบำบัดด้วยวิธีการที่เหมาะสม เพราะการกระทำดังกล่าวอาจส่งผลให ้
การคงอยขู่ องเชอ้ื โรค หรอื สปอร ์ ของเชอื้ โรค (Persisted of pathogen and EHP Spore)
และทำให้เกิดแพร่กระจายไปในสิ่งแวดล้อม หรือเกิดการขยายตัวในสัตว์พาหะ หรือ
เวคเตอร์ (Viral multiplication in the carriers or vector) จนเกดิ การเพ่ิมปรมิ าณ
หรอื การคงอยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ ระยะเวลายาวนาน และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ การเลย้ี ง
กงุ้ ในระยะยาว ท้งั กับตวั เราเอง หรือ ตอ่ เพ่อื นรว่ มอาชพี ท่ีอยู่ในพ้ืนทีเ่ ดียวกนั ใหไ้ ด้รบั
ผลกระทบเหลา่ นอี้ ย่างหลกี เลีย่ งไม่ได้

59

การจัดการน้ำในระบบหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ หรือ ท่ีเราเรียกว่า การทำระบบ
การเลย้ี งกุ้งในระบบปิดและจัดการน้ำแบบหมนุ เวยี น (Closed recycle system) หรือ
การจดั การสขุ าภิบาลนำ้ แบบระบบปิดภายในฟารม์ เราเอง (ปรีชา สขุ เกษม, 2561) คอื
การออกแบบดีไซน์ผังฟาร์มและรูปแบบฟาร์มใหม่ ให้มีระบบการหมุนเวียนน้ำหลังจบ
การเลี้ยงกุ้งกลับมาบำบัด และนำกลับมาใช้เล้ียงกุ้งในรอบต่อไป โดยแบ่งสัดส่วนต่างๆ
ตามรายละเอียดดังน ้ี เชน่ บ่อพกั นำ้ บอ่ ตกตะกอน บ่อทรตี นำ้ 1 บอ่ ทรีตน้ำ 2 บ่อนำ้
พร้อมใช้ บ่อเล้ียง บ่อทิ้งเลนตะกอน บ่อบำบัดน้ำ และทางเดินน้ำเพ่ือการหมุนเวียน
กลับมา เป็นต้น การทำระบบปิดและจัดการน้ำแบบหมุนเวียนไม่ได้หมายความว่าเรา
ไม่มีแหล่งน้ำดิบมาใช้ในการเล้ียงกุ้ง เพราะหลายๆ พื้นที่มีฟาร์มเลี้ยงกุ้งท่ีติดกับทะเล
ธรรมชาติท่ีมีปริมาณน้ำอย่างมหาศาลอยู่แล้ว แต่การจัดการสุขาภิบาลน้ำแบบระบบ
ปิดนั้น มาจากพ้ืนฐานแนวคิดท่ีต้องการให้ระบบการเลี้ยงของเราอยู่ในระบบที่สะอาด
ไม่ปนเปื้อนจากน้ำภายนอก ขณะเดียวกันเราก็ไม่ไปสร้างความปนเป้ือนให้แหล่งน้ำ
ภายนอกเพ่ิมขึ้นไปกว่าน้ีอีก เพ่ือป้องกันไม่ให้ผลเสียของน้ำท้ิงที่จบจากการเลี้ยงกุ้ง
หรือเลนก้นบ่อหรือตะกอนที่เกิดจากการเล้ียงกุ้งท่ีอาจมีทั้งเชื้อโรค และสปอร์ของ
เชอื้ โรค และสัตว์พาหะนำโรคเหลา่ น ี้ วนเวียนกลับมาทำรา้ ยกุง้ ของเราหรอื ทำอนั ตราย
และสร้างความเสียหายให้กับกุ้งของเรา และตัวเราอีกในอนาคตเมื่อเราสูบน้ำดิบ
ท่ีมีคุณภาพแย่ๆ เหล่านั้นเข้ามาในระบบของเรา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในฤดูกาลท่ีมี
ความเสี่ยงในการเล้ียงกุ้ง เช่น ฤดูมรสุมท่ีมีลมทะเลตีซัดเข้ามาท่ีฝั่งตลอดเวลาทำให้
พัดพาตะกอนปริมาณมหาศาลที่มีทั้งเช้ือโรค และสปอร์ของเชื้อโรค และสารอินทรีย์สูง
เขา้ มาส่บู อ่ เลีย้ งกุ้งไดง้ ่ายข้ึน และทำใหเ้ กดิ ปญั หากับกงุ้ ไดเ้ สมอๆ

60

นอกจากน้ี การวิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพ และความสามารถในการเล้ียงของ
ตวั เราเอง (Carrying capacity analysis) โดยคำนงึ ถงึ ปจั จยั หลายๆ ดา้ นทมี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง
ในความสำเร็จของการเล้ียง เช่น การวิเคราะห์แหล่งที่ต้ังฟาร์ม สภาพดินสภาพบ่อ
ฤดูกาลท่ีส่งผลกระทบ ชุมชนใกล้เคียง และแหล่งอุตสาหกรรม และสภาพชุมชน
และความหนาแน่นของฟาร์มกุ้งรอบฟาร์มปริมาณน้ำ และคุณภาพน้ำใช้รอบฟาร์ม
ทัง้ ทางกายภาพ ทางเคมี ทางชวี ภาพแหล่งชกุ ชุมของเช้ือโรค และความเสอื่ มโทรมของ
สงิ่ แวดลอ้ มรอบฟารม์ เหลา่ นลี้ ว้ นมสี ว่ นในการตดั สนิ ใจ เพอื่ นำมาใชใ้ นการวางแผนเลอื ก
ระบบการเลยี้ ง และวธิ กี ารเลย้ี งทเ่ี หมาะสมกบั ตวั เราเองโดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งลอกเลยี นแบบ
ใคร ความหนาแนน่ ทีเ่ หมาะสม (Optimum density) ในการปล่อยกุ้ง ตอ้ งถกู วเิ คราะห์
จากปริมาณผลผลิตที่ต้องการ โดยคำนึงถึงแผนการเลี้ยงและการจับกุ้งท่ีเหมาะสม
ตามสภาวะอากาศฤดูกาล และสภาวะราคาและการตลาด นอกจากน้ียังข้ึนกับความ
พร้อมของตัวเราเองและฟาร์มเราเอง ท้ังด้านระบบน้ำความพอเพียงของน้ำทั้งปริมาณ
และคณุ ภาพ (Water availability in term of quality and quantity) ความพรอ้ มของบอ่
พนื้ บอ่ และการเตรียมบ่อ การเตรยี มน้ำ ความพร้อมของระบบโครงสรา้ งฟารม์ ผังฟาร์ม
การออกแบบดีไซน์บอ่ พืน้ บอ่ สโลปบ่อ หลุมกลางบอ่ ให้เหมาะสมกบั ระบบทเี่ ราจะเลย้ี ง
ความพร้อมของระบบสาธารณูปโภค และไฟฟ้าความพร้อมของอุปกรณ์เคร่ืองมือ

61

ที่จำเป็นในการเลี้ยง ความพร้อมและความพอเพียงของคนงานและนักวิชาการ
ความพร้อมของการลงทุนและการปรับปรุงฟาร์มหากจำเป็นต้องมี โดยสรุปก็คือ
เราต้องวิเคราะห์ตัวเองและสภาพของฟาร์มตัวเองว่ามีศักยภาพและความสามารถ
ในการเลี้ยงมากน้อยแค่ไหนก่อนที่จะตัดสินใจเลี้ยงกุ้งต่อไป ด้วยระบบและวิธีการ
แบบไหนทเี่ หมาะสมกบั เรามากที่สุด

62

ขอ้ คดิ “เพือ่ หยุดโรค และ กุ้งไทยสามารถไปตอ่ ได”้

1. ควรมกี ารวเิ คราะหค์ วามสามารถในการเลย้ี ง (Carrying capacity analysis) ของ
ฟารม์ ตวั เอง โดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งตามคนอนื่ หรอื ฟารม์ อน่ื ๆ วา่ ฟารม์ เรา ม ี ความสามารถ และ
ความเพียงพอ ด้านน้ำทั้งคุณภาพและปริมาณ ด้านบ่อและความเสื่อมโทรมและ
การทะนุบำรุงรักษา ด้านแรงงาน ด้านเป้าหมายผลผลิตและการจับกุ้ง ด้านการลงทุน
ด้านการจัดการความเส่ียง ด้านสิ่งแวดล้อมรอบฟาร์ม ด้านฤดูกาล ด้านราคากุ้ง
ด้านการตลาด เป็นอย่างไร เป็นต้น ซึ่งการวิเคราะห์ความสามารถในการเลี้ยงเหล่าน ี้
จะช่วยทำให้เราสามารถตอบตัวเราได้เองว่า ควรเล้ียงกุ้งด้วยความหนาแน่นเท่าไร
ท่ีเหมาะสมกับเรา มีผลผลิตเท่าไร เมื่อไรอย่างไรเม่ือไรควรเล้ียงเม่ือไรควรจับ
เมอ่ื ไรควรพกั บอ่ และ ควรจะเลยี้ งกุ้งกบ่ี ่อ มีบอ่ พักน้ำก่บี ่อ และ ควรมรี ะบบการเลีย้ งที่
เหมาะสมกับตัวเราเองอย่างไร ด้วยวิธีการอย่างไร ในพ้ืนที่ท่ีเราอยู่ หรือ ภายในฟาร์ม
ของตวั เอง เพอ่ื ไมใ่ หส้ ง่ิ เหลา่ นเ้ี ปน็ ภาระมากเกนิ ไปตอ่ ระบบการเลยี้ ง เปน็ ภาระมากเกนิ ไป
ตอ่ ระบบนำ้ หรอื มีความเส่ยี งในการเล้ียงมากเกนิ ไป เพราะเป้าหมายของการเล้ียงก้งุ ท่ีดี
คอื ผลผลิตทส่ี ูง ความเสยี หายตำ่ และได้ตามเป้าหมายตามเวลาที่ต้องการอยา่ งรวดเร็ว
ขณะทตี่ น้ ทนุ การเลยี้ งเหมาะสม และไดร้ าคาขายทเ่ี หมาะสม และไดผ้ ลกำไรจากการเลยี้ ง
ท่ที ้งั หมดต้องมีความลงตัวและเหมาะสม กบั ความสามารถของฟาร์มเราเอง

63

2. ควรคำนึงถึงหลักการของความสะอาด และความปลอดภัยทางชีวภาพ
เป็นหัวใจของการเลี้ยง (Clean and Bio-security oriented concern concept)
เพราะปัจจุบันส่ิงแวดล้อมรอบๆ ตัวเราได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก โดยเริ่มจาก
เลือกลูกพันธุ์กุ้ง จากโรงเพาะฟัก หรือแหล่งที่เชื่อถือและไว้วางใจได้ (Trustworthy
seed quality) วา่ เปน็ สายพนั ธท์ุ ด่ี ี แขง็ แรง โตเรว็ ผลติ จากพอ่ แมพ่ นั ธทุ์ ป่ี ลอดโรค (SPF)
ไม่มีโรคแอบแฝงท่ีเราไม่ทราบ มกี ารตรวจสอบคดั กรองโรคที่สำคญั ๆ ที่รู้จกั ไม่ให้ติดเชื้อ
เหล่าน้ันมาจากลูกกุ้ง เพื่อไม่เป็นแหล่งนำเช้ือโรคเข้ามาสู่ระบบการเลี้ยงของเรา และ
ส่ิงแวดล้อมรอบๆตัวเราด้วย เพราะส่ิงเหล่านี้สามารถช่วยลดความเส่ียงของการเล้ียง
อนั เปน็ หนงึ่ ในต้นทุน และ ตน้ น้ำทีส่ ำคญั ของการเล้ยี งกุ้ง การควบคมุ ใหก้ ุง้ ของเราเกิด
ความเสียหาย หรือ ความล้มเหลวของการเลี้ยงให้ต่ำท่ีสุด และเลี้ยงกุ้งให้จบหรือให้กุ้ง
ออกจากบ่อของเราให้เร็วที่สุดอย่างปลอดภัยตามที่ต้ังใจไว้ เพื่อลดความเสี่ยงระหว่าง
การเล้ยี ง และสามารถจับขายกงุ้ ไดเ้ รว็ ในราคาทตี่ ้องการ เปน็ แนวทางที่เราควรจะยึดถือ
และปฏบิ ตั เิ พอื่ ควบคมุ ตน้ ทนุ การเลยี้ ง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ หากเราสามารถบรหิ ารจดั การ
ด้านสุขภาพ และความแข็งแรงของลูกกุ้ง เริ่มต้นได้ท่ีฟาร์มของเราในระบบท่ีควบคุม
และคอนโทรลได้ดี เช่น สามารถมีระบบการอนุบาลลูกกุ้งที่ฟาร์มเราเอง (Extension

64

of nursery phase in grow out farm) เพื่อเพ่ิมความแข็งแรงของลูกกุ้ง ในสภาวะ
ทเ่ี หมาะสม และมกี ารจดั การทด่ี เี หมาะสม และ อยา่ งเขา้ ใจในระบบอนบุ าลอยา่ งถอ่ งแท้
(หากสามารถทำได้) เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการเลี้ยงในบ่อในช่วงท่ีลูกกุ้งยังเล็ก
ใหล้ ดความเสยี หายใหล้ ดนอ้ ยลง กจ็ ะเปน็ อกี แนวทางหนงึ่ ทจี่ ะชว่ ยลดความเสยี่ งในชว่ งที่
กงุ้ มขี นาดเล็กๆ ไมใ่ ห้ไปปนเปือ้ นในสง่ิ แวดล้อมทค่ี วบคุมได้ยากในบอ่ ขนาดใหญ่ของเรา

3. ควรมกี ารศกึ ษาหาความรู้ (Knowledge oriented management practices)
และ ศาสตร์ด้านการเล้ียงกุ้งในทุกๆด้าน ให้มากๆ ท้ังด้านเทคนิคการเล้ียงทุกแขนง
การจัดการด้านต่างๆ ท่ีสำคัญทั้งหมด การศึกษาและทำความเข้าใจด้านโรค
สุขภาพกุ้ง และปัญหาอุปสรรคด้านการเล้ียงต่างๆ การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
สภาวะอากาศ ที่ต้องเฝ้าติดตาม เป็นต้นโดยหาเวลาการไปดูงานด้านการเลี้ยงกุ้ง
ไปร่วมฟังการบรรยายเรื่องการเล้ียงกุ้งท่ีประสบผลสำเร็จ และ ไม่ประสบผลสำเร็จ
แล้วนำมาวิเคราะห์ไตร่ตรองว่าเกิดข้ึนเพราะอะไร ควรปรับปรุงอย่างไร จะเรียนรู้จาก
ความผิดพลาดได้อย่างไร เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบกับการเล้ียงกุ้งของเรา เช่นปัจจุบัน
นยิ มเลย้ี งกงุ้ ในระบบบอ่ เลก็ ลง (Best small pond) เพราะจดั การไดง้ า่ ยขนึ้ นยิ มเลย้ี งกงุ้
ในบ่อที่ยกพื้นให้สูง หรือ บ่อลอย (Elevated pond or tank) เพื่อลดปัญหาความ
เปียกแฉะหมักหมมของเชื้อโรค และ สปอร์ที่สะสมท่ีพ้ืนบ่อ และใต้พ้ืนพลาสติกพีอี
ที่ไม่แห้ง นิยมแบ่งโซน หรือ แบ่งพ้ืนที่การเล้ียง (Pond zoning and resting &
restoration) เพ่ือให้มีบางบ่อ บางโซนได้เลี้ยง บางบ่อ บางโซนได้พัก ได้ตากบ่อ
ไดบ้ ำบดั บอ่ และใหเ้ กดิ ธรรมชาตบิ ำบดั กบั บอ่ ของเรา (Natural healing) และไมเ่ ปน็ การ
โหลดสภาพบอ่ สภาพนำ้ ใหห้ นกั หนว่ งจนเกนิ ไปในการทตี่ อ้ งลงกงุ้ จำนวนมาก และ หนาแนน่
ตอ่ เนอื่ งตลอดเวลาในบอ่ บางเทคนคิ นยิ มการเลย้ี งแบบ ระบบสะอาดแบบสมดลุ ธรรมชาติ
(Clean pond and water with water maturation and balancing concept) เชน่
มีการจดั การความสะอาดของน้ำ และ บ่อ โดยการดูดของเสีย ออกมาเก็บในบอ่ ท้ิงเลน
ควบคู่กับ การบำบัด ด้วยจุลินทรีย์เพื่อเพ่ิมความหลากหลายและเพิ่มการแข่งข่ม
(Microbiome and competitive exclusion concept) เพอื่ ชว่ ยลดตะกอนทแี่ ขวนลอย
ท่ีเป็นที่เกาะยึดของสปอร์ (EHP spore substrate) ลดแก๊สพิษ แอมโมเนีย ไนไตรท์
ไฮโดรเจน ซัลไฟด์ที่เป็นอันตรายแก่กุ้ง ลดสารอินทรีย์ที่ละลายน้ำโดยการ ย่อยสลาย
สารอินทรีย์ ที่อาจเปน็ อาหารของแพลงกต์ อน และ แบคทีเรยี ใหล้ ดต่ำลง โดยไม่จำเป็น
ต้องโหลดระบบน้ำมากจนเกินไป หรือสามารถทำควบคู่ไปกับระบบการเปล่ียนถ่ายน้ำ
หรือ ดูดของเสยี ไปรว่ มกนั กไ็ ด้

65

4. ควร ฝกึ เปน็ ผมู้ วี นิ ยั (Discipline and monitoring system) และ มคี วามละเอยี ด
รอบคอบ และขยันหม่ันสังเกตุ ตรวจตรา และตรวจสอบจดบันทึกสอบถามระบบ
การเล้ียงทุกๆรูปแบบ คุณภาพน้ำ การจัดการทุกๆด้านการตรวจตราการปฎิบัติงาน
ของคนงาน ระบบอปุ กรณเ์ ครอื่ งไมเ้ ครอ่ื งมอื ระบบไบโอซเี คยี วรติ ี้ สภาพแวดลอ้ มรอบฟารม์
สภาวะอากาศและฤดูกาลให้อยู่ในสภาพท่ีเหมาะสมตลอดเวลา และตลอดการเล้ียง
เพราะหลายๆคร้ังของฟาร์มท่ีประสบความสำเร็จอยู่ท่ีความใส่ใจในรายละเอียด และ
การตรวจสอบตรวจตราเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดของเจ้าของฟาร์มคือหัวใจของความสำเร็จ
ในการบรหิ ารจดั การฟาร์ม โดยเฉพาะการปลกู ฝังใหค้ นในฟาร์มมคี วามรูส้ กึ ในการเปน็
เจา้ ของรว่ ม เพอื่ ใหท้ กุ คนปฏบิ ตั งิ านตามภาระหนา้ ทข่ี องตนเองอยา่ งจรงิ จงั และละเอยี ด
ถีถ่ ว้ น ถกู ตอ้ งและรัดกมุ

5. ควรมีความรับผิดชอบ ตอ่ สังคม และ ส่ิงแวดลอ้ มรอบๆตัวเราทเี่ รายงั เลี้ยงกุ้ง
อยู่ (Social and environmental responsibility and respect) เพราะเราไม่ไดเ้ ปน็
คนเล้ียงกุ้งคนเดียวในระบบและในส่ิงแวดล้อมในธรรมชาติ ยังมีเพ่ือนร่วมอาชีพท่ีอยู่ใน

66

สง่ิ แวดลอ้ มเดยี วกนั กบั เราอกี มากมาย รวมทงั้ ยงั มคี นอกี หลากหลายอาชพี ทยี่ งั ตอ้ งอาศยั
ในสิ่งแวดล้อม และในธรรมชาติเหล่านี้ และการเล้ียงกุ้งของพวกเรา ยังต้องพึ่งพาน้ำ
และ ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มรอบๆ ตัวเราไปอกี นาน เราตอ้ งทำความเขา้ ใจตอ่ บทบาท
และหนา้ ที่ ของเราตอ่ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม และธรรมชาติ เหลา่ นนั้ และจะตอ้ งตระหนกั
และมคี วามรบั ผดิ ชอบ ทจ่ี ะไมท่ ำอะไรทส่ี ง่ ผลกระทบ ทางสงั คมสว่ นรวม และสง่ิ แวดลอ้ ม
ให้เกิดความเสียหายหรือเกิดผลกระทบ และเกิดความเสื่อมโทรมไปมากกว่าน้ี เพราะ
ในที่สุด ผลกระทบเหล่าน้ี จะวนเวียนย้อนกลับมา ส่งผลกระทบกลับมาที่ตัวเราอีก
ในอนาคต จนยากเกินกว่าท่ีจะเยียวยา และเราอาจจะต้องเสียทรัพยากรจำนวนมาก
อยา่ งมหาศาล ทงั้ ด้านทรพั ยากรน้ำ ดา้ นทรพั ยากรเงินทนุ ด้านทรัพยากรแรงงาน และ
ด้านการจัดการอีกหลายๆด้าน เพื่อจะควบคุมผลกระทบเหล่าน้ีให้ลดลง จนทำให้เรา
ต้องแบกรับต้นทุนในการผลิตสูง แต่ผลผลิตต่ำ เพราะความเสียหายในระบบการเลี้ยง
อาจจะเกิดข้ึนบ่อยและตลอดเวลา และทำให้กำไรในการเลี้ยงลดน้อยลงจนบางครั้ง
อาจทำให้ผลผลิตกุ้งไทยจะไม่สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ดังน้ัน พวกเราทุกคน
จึงจำเป็นต้องช่วยกัน และร่วมไม้ร่วมมือกัน ทำความเข้าใจในสิ่งเหล่าน้ี และ
หามาตรการร่วมกัน ในการป้องกัน ควบคุม และจัดการอย่างเข้าใจ เพ่ือให้พวกเรา
สามารถทจี่ ะเล้ยี งกุ้งไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลเพมิ่ มากขึ้น เพอื่ ท่ีจะทำให้
กุง้ ไทยของเราสามารถไปต่อไปไดใ้ นเวทโี ลกได้ สมดงั เจตนารมณท์ เี่ ราตงั้ ใจกันทกุ ๆ คน

67

หยุดโรคน.สพ.สุรศักดิ์ ดิลกเกียรติ ชมรมผ้เูลีย้ งกุ้งสุราษฎรธ์ านี...
เพือ่ กุง้ ฟไ้นื ทคณุ ยภไาดพส้ไง่ิ ปแวดตล้อ่อม

ถึงวันน ี้ ท่านผู้ร่วมสัมมนา “งานวันกุ้งไทย ครั้งท่ี 29” ที่ติดตามข้อมูลวงกว้าง
คงจะประจักษ์ร่วมกันแล้วว่า คุณภาพสิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อการเลี้ยงกุ้งเป็น
อย่างยิ่ง ตามท่ีทราบว่า ปัจจุบันหลายประเทศมีฟาร์มกลุ่มหลักของเขาสามารถเล้ียง
กุ้งได้ง่ายๆ และต้นทุนการผลิตต่ำเพราะปล่อยกุ้งบางในอัตราพอเหมาะและลงตัวกับ
เงื่อนไขของเขา ฟาร์มท่ีเลี้ยงแนวทางน้ีสามารถผลิตกุ้งคุณภาพและปลอดยาปฏิชีวนะ
(ไมม่ ี ไมใ่ ช้) ไดอ้ ย่างต่อเนื่อง และเป็นฐานสนิ ค้ากุ้งท่ีสำคัญของประเทศน้ันๆ ได้อกี ด้วย
ฟาร์มเหล่านี้มีทั้งที่ เอกวาดอร์ อินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย บังคลาเทศ และอื่นๆ
แต่ด้วยเง่ือนไขท่ีเขามีพ้ืนท่ีเล้ียงกุ้งมาก จึงมีฟาร์มอีกส่วนหนึ่งท่ีเน้นการเล้ียงกุ้งเชิง
ปรมิ าณและตา่ งมงุ่ มัน่ พฒั นารูปแบบและแนวทางการเลย้ี งเชน่ เดียวกบั ไทย ซงึ่ เขาตา่ งก็
ประสบปัญหาโรคกุ้งรุมเร้าด้วยเช่นกัน เพียงแต่ชนิดโรคและความรุนแรงของปัญหา
ตา่ งกนั เทา่ นนั้ (และกลมุ่ เลยี้ งกงุ้ แนน่ ไดก้ ลายเปน็ แหลง่ แพรเ่ ชอ้ื ใหก้ ลมุ่ เลยี้ งกงุ้ บางพลอย
เดอื ดรอ้ นกนั ไปด้วย)

68

สำหรับประเทศไทย เรารับรู้และตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพส่ิงแวดล้อม
สำหรบั การเลยี้ งกงุ้ มายาวนานแลว้ แตด่ ว้ ยพฤตกิ รรมมนษุ ยท์ ตี่ อ้ งการ “เอาเรว็ ๆ เอามากๆ
และเอาอีก เอาอีก” ความตระหนักจึงต้องเป็นฝ่ายถอยให้ความโลภเข้าครองจนต้อง
มาตะลุมบอนแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ อนั เกดิ จากเชื้อโรคกุ้งอยูถ่ ึงปจั จบุ ัน
ดังน้ัน ในฐานะกิจกรรมอาสาฯ โดยชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี จึงได้รณรงค์
ดา้ นการดูแล รักษา และปกปอ้ งคุณภาพสงิ่ แวดล้อมในแหล่งเลีย้ งกงุ้ มาโดยตลอด ต้งั แต ่
การเลิกใช้เซ็นทรัลเดรนและปรับสู่การเล้ียงกุ้งระบบปิดรายบ่อ การเฝ้าระวังทุกกิจการ
ท่ีก่อผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม การร่วมและสนับสนุนกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
การปรับใช้ระบบน้ำหมุนเวียน การกักเก็บสารอินทรีย์ท่ีเกิดจากการเล้ียงกุ้งและการนำ
เลนบ่อกุ้งไปปลูกพืชผักและสวนปาล์มน้ำมัน ถึงกระน้ัน เราก็ยังถือว่าเป็นเพียงการร่วม
อนรุ ักษ์หรือรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มไดร้ ะดับหนึ่งเท่าน้ัน
และเม่ือถึงยุคเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม ที่สามารถผลิตกุ้งต่อพื้นที่ได้มากกว่ากุ้ง
กุลาดำ ความตระหนักเรื่องคุณภาพส่ิงแวดล้อมก็ยิ่งถอยลงตามลำดับ และย่ิงถอยหนัก
เมอ่ื เราประสบปญั หาวกิ ฤต ิ EMS จนตอ้ งปรบั สกู่ ารเลย้ี งกงุ้ แบบนำ้ โปรง่ (โปรง่ สารอนิ ทรยี ์
ตะกอน แพลงกต์ อนและซากแพลงกต์ อน เชอ้ื และตวั ตอ่ เชอื้ ) ทง้ั ทไ่ี ดเ้ สนอไว้ 2 ทางเลอื ก
คือ การเล้ียงกุ้งบางอัตราพอเหมาะแบบปิดรายบ่อ และการเลี้ยงกุ้งหนาแน่นแบบถ่าย
ตะกอนกลางออกบำบัดนอกบ่อเลี้ยง แต่สุดท้ายผลจากงานสัมมนาพิเศษกลางปี 2557

69

เพื่อหยุด EMS เราได้เสนอไว้ เราต้องประสบปัญหาตามมา คือ โรคติดเช้ือจากฟังก์ไจ
EHP และแบคทีเรีย Vibriosis ซึ่งเกิดเร้อื รังใหต้ อ้ งทุกข์ใจกนั เกือบทุกแหลง่ เลยี้ งกุ้งไทย
ในปัจจุบัน อาจยังพอเล้ียงได้อยู่ก็เป็นเขตท่ีน้ำไหลทางเดียว หรือชายฝ่ังทะเลเปิด หรือ
เขตท่ีมีฟาร์มเลี้ยงกุ้งน้อยราย หรือเลี้ยงกุ้งอัตราพอเหมาะที่ใช้น้ำหมุนเวียนเป็นหลัก
และปฏิบัติการผลิตได้ลงตัวสำหรับเขตที่มีฟาร์มกุ้งหนาแน่น ซ่ึงได้ยกตัวอย่าง 4 ราย
ให้ผรู้ ่วมสัมมนาไดร้ บั รู้ ตามวิดที ศั นท์ ีไ่ ดเ้ สนอในวาระสมั มนานี้ ซ่งึ ทุกฟารม์ ได้ชปี้ ระเดน็
เรื่อง คุณภาพการผลิต การใช้น้ำหมุนเวียนและการร่วมดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ให้เป็นทปี่ ระจักษ์ด้วยแล้ว

แต่เนอ่ื งจากการเพาะเลยี้ งกุ้ง และการดแู ลดา้ นบริหารจดั การ และพัฒนากิจการ
กงุ้ ไทยประกอบดว้ ยบคุ คลากรเกา่ -ใหม่ หลายรนุ่ หลายชว่ งอายุ หลายความคดิ ความเขา้ ใจ
จงึ ขอสรุปข้อมูลกจิ กรรมปอ้ งกัน แกไ้ ขปญั หาในการผลติ ก้งุ ไทยเพือ่ ทราบรว่ มกัน ณ ทนี่ ี้

ขอ้ มลู ประกอบ

เนื่องจากการเลี้ยงกุ้งในยุคปัจจุบันประกอบด้วยผู้ประกอบการหลายรุ่น
การสมั มนางาน “วนั กงุ้ ไทย ครงั้ ที่ 29” น้ี ผมขอนำขอ้ มลู ทก่ี จิ กรรมเครอื ขา่ ยคนไทย-กงุ้ ไทย
ได้ดำเนินการในนามสมาคมผู้เล้ียงกุ้งทะเลไทยและชมรมผู้เล้ียงกุ้งสุราษฎร์ธานีในอดีต
สรุปให้เพ่ือนชาวฟาร์มกุ้งและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง ท้ังรุ่นเก่า-ใหม่ได้รับทราบเพิ่มเติม
พร้อมกัน ที่สำคญั มีดงั นี้

1. ชว่ งปลายของกงุ้ กุลาดำ (ปี 2540 - 2544) มีงานสำคญั 2 เร่ือง คอื
1.1 การแก้ปัญหาพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำด้อยคุณภาพและต่อเช้ือ : ได้

ประสานงานกับฟาร์มเพาะฟักลูกกุ้ง และทีมเรือจับพ่อแม่พันธุ์กุ้งฝั่งอันดามัน เพ่ือ
แกป้ ญั หาดงั กลา่ ว ทง้ั การเลอื กพน้ื ทล่ี ากอวนจบั พอ่ แมพ่ นั ธใ์ุ นแตล่ ะชว่ งฤดกู าล (ความลกึ ,
ร่อง, ดอน, เนินโขดหินใต้น้ำ) วิธีการลากอวนจับพ่อแม่พันธ์ุ การขนส่งและถ่ายน้ำ
ระหว่างการขนส่งพ่อแม่พันธุ์ถึงชายฝั่ง การย้ายพ่อแม่พันธ์ุจากเรือสู่ฟาร์มเพาะลูกกุ้ง
รวมท้ังการซื้อพ่อแม่พันธุ์จากโครงการพัฒนาสายพันธุ์กุ้งฯ ให้ฟาร์มเพาะฝึกการเลี้ยง
พอ่ แมพ่ ันธุ์ต่อเนอื่ งจนถึงข้นั ตอนเพาะนอเพลยี ส และให้ปรับวธิ ีการตดั เชอื้ คมุ เชอ้ื ตลอด
ขน้ั ตอนเลี้ยงขุนพ่อแม่พันธ์ุ เพาะนอเพลยี ส และอนบุ าลเปน็ กุ้งพ.ี 15

สรปุ 4 ปี ไดใ้ ชง้ บกจิ กรรมเครอื ขา่ ยฯ ไปจำนวนมาก แตง่ านไมบ่ รรลผุ ลตามเปา้ หมาย
เพราะเราลากจับพ่อแม่พันธ์ุจนแหล่งจับเสียสมดุล และช่วงมรสุมรุนแรงฝ่ังอันดามัน
ทำให้เรือต้องลากพ่อแม่พันธุ์ใกล้ชายฝ่ังที่ติดเช้ือจากการเปิดทิ้ง ถ่ายน้ำ และเปิดจับ
ก้งุ บ่อป่วยของฟาร์มเลีย้ ง สุดท้าย ปี 2545 ตอ้ งเสนอกรมประมงขอนำเข้าพอ่ แมพ่ ันธุ์กงุ้
ขาวแวนนาไมมาเพาะเล้ียงอย่างเปน็ ทางการ

70

ข้อนี้ เป็นการยืนยันว่า การปล่อยเช้ือโรคกุ้งจากกุ้งบ่อป่วยลงสู่แหล่งน้ำ ส่งผล
กระทบใหพ้ อ่ แมพ่ นั ธก์ุ งุ้ ธรรมชาตติ ดิ เชอ้ื ไปดว้ ย และการลากอวนจบั พอ่ แมพ่ นั ธจุ์ นระบบ
นิเวศทอ้ งทะเลบริเวณน้ันหมดสภาพ พ่อแม่พันธ์กุ ุ้งกจ็ ะดอ้ ยคุณภาพและลดลงดว้ ย
* ช่วงเวลาดังกล่าว เราจับพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำจากอันดามันเพื่อใช้ท้ังไทย
เวียดนาม ไต้หวัน และเราใช้แม่พันธุ์ผลิตนอเพลียสช่วงสั้นเพียง 1 เดือน จึงต้องใช้
พอ่ แม่พันธจ์ุ ำนวนมาก จนเกินความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาที่ต้นทาง

1.2 การรว่ มศกึ ษาวจิ ยั จลุ นิ ทรยี เ์ พอื่ หยดุ ปญั หาโรคตดิ เชอ้ื วบิ รโิ อ (ปี 2542
- 2544) : งานดังกล่าวได้ร่วมกับทีมท่าน อ.เกรียงศักดิ์ พูนสุข ภาควิชาจุลชีววิทยา
คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยรับงบสนับสนุนจากบริษัท
เคเอ็มพ.ี ไบโอเทค จำกดั , บริษทั เอฟอ.ี ซิลลคิ จำกัด ในสว่ นการวจิ ยั ทางห้องปฏบิ ตั ิการ
และใชง้ บกจิ กรรมเครอื ขา่ ยฯ ในสว่ นการวจิ ยั และทดสอบภาคสนาม จนไดข้ อ้ สรปุ งานวจิ ยั
3 ชุด คือ

- การคดั เลอื กและปรบั คณุ สมบตั สิ ายพนั ธจ์ุ ลุ นิ ทรยี ์ : สรปุ คอื ตอ้ งใชส้ ายพนั ธ์ุ
ทไ่ี มแ่ กรง่ เกนิ สรา้ งนำ้ ยอ่ ยพอเหมาะ และโปรตเี อสปานกลาง ไลเปสกลางตำ่ และไคตเิ นส
ต่ำสุด เพ่ือไมไ่ ปเอือ้ ให้วบิ ริโอแกร่งยิ่งข้ึน

71

ซงึ่ สามารถปรบั คณุ สมบตั ไิ ดโ้ ดยเลย้ี งซำ้ ๆ ในสตู รอาหารเฉพาะเปา้ หมาย และ
ต้องสร้างคลังสำรองหัวเชื้อจุลินทรีย์ท่ีมากพอ เพื่อให้สามารถนำมาทดสอบและใช้งาน
ได้ต่อเน่อื ง

- การผลติ ผลติ ภณั ฑ์จลุ นิ ทรยี ์ : สรปุ คือ ตอ้ งใช้วธิ ีการเพาะขยายจุลนิ ทรีย์
ด้วยถังเพาะระบบปิด (งานวิจัยทดสอบท้ังแบบเพาะกอง เพาะถังเปิด เพาะถังปิด)
ตอ้ งใชเ้ ทคนคิ เตมิ สารอาหาร หวั เชอ้ื และเครอ่ื งมอื อปุ กรณเ์ ปน็ การเฉพาะ เพอื่ ใหไ้ ดจ้ ลุ นิ ทรยี ์
เขม้ ขน้ ครบถว้ นแตล่ ะชนดิ ตามสตู รผลติ ภณั ฑ์ ควบค ู่ การทดสอบภาคสนามอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
และควรใช้สอื่ ท่ีใหจ้ ลุ นิ ทรีย์เกาะไดด้ มี าก และอยูน่ านทสี่ ดุ

- การใชผ้ ลติ ภณั ฑจ์ ลุ นิ ทรยี แ์ ละการปอ้ งกนั ผลขา้ งเคยี ง : สรปุ คอื เนน้ การเตมิ
จุลินทรีย์ท่ีดีและหลากหลายคุณสมบัติ/ชนิดให้มีความหนาแน่นระดับ (105)แสนเซลล์/
มล.นำ้ ในอา่ งหรอื บอ่ เลยี้ งกงุ้ เพอ่ื ไปแยง่ ใชส้ ารอาหารและแขง่ , ขม่ วบิ รโิ อไว ้ ตามหลกั การ
“พวกมากเขา้ วา่ ไมใ่ ชแ่ รงกวา่ เขา้ วา่ ” และจะไดผ้ ลดสี ดุ เมอื่ ควบคมุ สารอนิ ทรยี ไ์ ดล้ งตวั
โดยไม่เกินจนจุลินทรีย์ดีย่อยไม่ทันหรือบลูมจนอ๊อกต่ำ และเกิดจุดตกตะกอนหมักหมม
ที่เอื้อต่อวิบริโอ (ด้วยเทคนิคให้อาหารกุ้งไม่เกินหรือให้น้อยสุดที่กุ้งโตปกติ และดูแล
ไม่ให้แพลงกต์ อนดรอปพรอ้ มกันใหเ้ กิดภาระย่อยซำ้ จำนวนมากเกนิ )

2. ช่วงต้นของการเลยี้ งกุง้ ขาวแวนนาไม (ปี 2546-2549) มีงานสำคญั 2 เรื่อง
คอื

2.1 การรณรงค์ป้องกันปัญหาวิกฤตโรคกุ้งซ้ำรอยกุ้งกุลาดำ : จากการท่ี
การผลติ กงุ้ กุลาดำถดถอย เพราะขาดแคลนพอ่ แมพ่ นั ธคุ์ ณุ ภาพ และฟาร์มกงุ้ เนอื้ ประสบ
ปญั หาโรคกงุ้ เรอ้ื รงั ทง้ั ไวรสั ดวงขาวและหวั เหลอื งทเ่ี อาไมอ่ ยู่ (งานควบคมุ โรคไมบ่ รรลผุ ล)
และปัญหากุ้งโตช้าแตกไซส์ ตับอักเสบ กุ้งข้ีขาว ทยอยตาย จึงได้เข้าขอเล้ียงกุ้งขาว
แวนนาไมอย่างเป็นทางการ พร้อมรับปากกรมประมงว่า จะทำกิจกรรมป้องกันไม่ให้
กงุ้ ขาวแวนนาไมเกิดปัญหาโรคก้งุ เร้อื รังซ้ำรอยกุ้งกุลาดำอีกครง้ั
การดงั กลา่ ว ไดใ้ ชว้ ธิ ตี ระเวนสมั มนา เพอื่ ยำ้ แกเ่ พอื่ นชาวฟารม์ กงุ้ ใน 2 ประเดน็
คอื ใหร้ ะวงั กงุ้ ขาวจะเกดิ ปญั หาโรคเรอ้ื รงั (โตชา้ แตกไซส ์ ตบั อกั เสบ กงุ้ ขข้ี าว ทยอยตาย)
เมื่อเชื้อแกร่งและกินกุ้งขาวเป็น และเสนอให้เล้ียงกุ้งไม่แน่นเกินความสมดุลสิ่งแวดล้อม
ของแต่ละฟาร์มและแหล่งเลย้ี งนัน้ ๆ
* สมดุลสิ่งแวดล้อม หมายถึง การเล้ียงกุ้งท่ีสารอินทรีย์ส่วนเหลือสามารถ
ย่อยสลายได้สมบูรณ์ในธรรมชาติ โดยไม่เกิดภาวะหมัก+หมม จนเอื้อต่อเช้ือจุลชีพท่ี
กระทบตอ่ สขุ ภาพกุ้ง (วิบรโิ อ และโปรโตซวั เปน็ หลกั )

72

ผลคือ ไมส่ ำเรจ็ เพราะกงุ้ ขาวเป็นกุ้งลอ่ งจึงรองรับผลผลติ ตอ่ พ้ืนท่ไี ด้มากกวา่
กุลาดำ และสมัยแรกๆ โน้น ฟาร์มกุ้งเน้ือต่างได้ประจักษ์ด้วยตัวเองว่า บ่อท่ีกุ้งกุลาดำ
เคยป่วยเพราะโปรโตซัว รา และวิบริโอ แม้ไม่ทำอะไร เมื่อปล่อยกุ้งขาวลงไปก็เลี้ยงได้
เป็นปกต ิ แถมชว่ งปลายรอบการผลติ อาจมกี งุ้ บางตวั ตายก็เห็นลอยเปน็ ตัวชดั เจนโดยไม่
กินกันเอง ประกอบกับฟาร์มกุ้งถกู กระต้นุ จากธรุ กจิ ทีเ่ ก่ียวข้อง จึงปล่อยกุ้งขาวลงเล้ยี ง
ในอตั ราหนาแน่นขึ้นตามลำดับ จนเกิดภาวะหมกั หมมในฟารม์ และแหล่งเลี้ยงใหเ้ ลยี้ งกงุ้
ยากและเกดิ โรคงา่ ยขึ้น ตามคาด

2.2 เร่มิ งานเฝา้ ระวงั โรคกุง้ ในกุ้งขาวแวนนาไม : ไดด้ ำเนนิ การรว่ ม 2 ดา้ น
คอื
- ประสานขอใหท้ า่ นอาจารยด์ ร.ทิม (แลปเซน็ เทค+ไบโอเทค ม.มหดิ ล)
ทำการตดิ ตามเชอ้ื และการเกดิ โรคกงุ้ ในตา่ งประเทศ ควบคเู่ ฝา้ ระวงั โรคกงุ้ ในประเทศไทย
ทเ่ี ร่ิมนำกงุ้ ขาวแวนนาไมมาเลี้ยงอย่างเป็นทางการแล้ว
- ประสานกรมประมง เรื่องการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้งขาวปลอดเชื้อ
แตภ่ ายหลงั ถกู ลอ๊ คสเปควธิ กี าร โดยคำสง่ั รมต.เกษตรฯ สมยั นน้ั จงึ ปรบั มาใชว้ ธิ ปี ระสาน
ใหส้ ถาบนั สขุ ภาพสตั วแ์ หง่ ชาต ิ กรมปศสุ ตั ว ์ ทำการเฝา้ ระวงั โรคกงุ้ ภาคสนามแทน โดยใช้
พื้นท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นตัวแทนการเก็บตัวอย่างวิจัย เพราะมีท้ังเขตเค็มจัด,
เคม็ ปานกลาง และเค็มต่ำ

73

ผลการดำเนนิ งานเหน็ ชดั วา่ กงุ้ ขาวแวนนาไมเรมิ่ แพเ้ ชอื้ จลุ ชพี รา้ ยเพม่ิ ขนึ้ ตาม
ลำดับ โดยเริ่มจากโปรโตซวั และตามด้วยวบิ ริโอ ท้งั นี้ เน่อื งจากเร่มิ เกิดภาวะหมกั หมม
ในบอ่ เลี้ยง ระบบฟาร์ม และแหล่งนำ้ เปน็ สำคัญ ในขณะท่ี ขอ้ มลู ระดับโลกชีว้ า่ เร่ิมเป็น
โรคต่างๆ ในกุ้งขาวแวนนาไมเพ่ิมขึน้ ตามลำดบั

74

3. ชว่ งทไี่ ทยผลิตกุ้งขาวไดม้ ากสดุ (ปี 2551-2555) ไดม้ งี านสำคัญ 2 เรื่อง คือ
- การเปดิ ตลาดกุ้งขาวไซส์ใหญ่ปี 2551 : จากการท่ไี ทยผลติ กุ้งขาวเพิม่ ข้นึ

ตามลำดบั ไดส้ ง่ ผลใหร้ าคากงุ้ โลกทยอยลดลง จนเกดิ วกิ ฤตราคาภายในในป ี 2551 และเปน็
วิกฤติรุนแรงเพราะมีค้างกุ้งไซส์ใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงประสานหาห้องเย็นอาสาฯ
(ได้ห้องเย็น MG อาสาทำจริง) ทำการเปิดตลาดกุ้งขาวไซส์ใหญ่ด้วยกลยุทธ์พิเศษเพื่อ
ดึงลูกค้ากุ้งใหญ่กลับจากเวียดนาม โดยใช้ฟาร์มกุ้งในสุราษฎร์ธานีเป็นฐาน ทำให้เรามี
ตลาดกุ้งไซส์ใหญ่แทนกุ้งกุลาดำต้ังแต่ปีน้ันเป็นต้นมา และไม่เกิดวิกฤตราคารุนแรงและ
นานเกนิ ไป

- งานป้องกนั และแก้ไขวกิ ฤต EMS ชว่ งแรก : เมอื่ ก้งุ ขาวเริ่มแพ้แบคทเี รีย
วบิ รโิ อชดั เจนตงั้ แตป่ ี 2550 และเรมิ่ เกดิ ขข้ี าวปี 2551 ประกอบกบั ขา่ วกงุ้ ตายอายตุ ำ่ กวา่
20 วันในจีนเม่ือปี 2552 จึงได้ร่วมเฝ้าระวังการแพร่เชื้อนี้ในไทยต้ังแต่ปี 2553 และ
ประสานกับหลายสถาบันวิจัยในการแก้ไขปัญหาEMS ในไทยท่ีเร่ิมพบในภาคตะวันออก
เมื่อต้นปี 2554 แต่งานส่วนน้ีเราแก้ไขไม่ทันเหตุการณ์ เพราะไม่ได้งบสนับสนุนจาก
ภาครัฐตามท่ีขอ (เน่ืองจากโรคน้ียังไม่ระบาดวงกว้างในไทย) และผลการต้ังสมมุติฐาน
และการวิจัยยังแตกต่าง ทั้งที่ผลการทดลองภาคสนามของ ดร.เดวิด ในเวียดนาม
คอ่ นขา้ งชัดเจนวา่ ปญั หา EMS เกดิ จากเช้ือกล่มุ วบิ ริโอก็ตาม

75

4. ช่วงท่ีไทยประสบวิกฤติ EMSเพื่อเรม่ิ ฟน้ื การผลิตกงุ้ ไทยรอบใหม่ (ป ี 2554-
2558) มีงานสำคัญ คอื

- การแจ้งประเด็น “ภาวะหมักหมมของสารอินทรีย์และเชื้อจุลชีพร้าย”
เปน็ เหตนุ ำให้เกดิ ปญั หาโรคติดเช้อื แบคทเี รียและอนื่ ๆ ไดง้ า่ ย

- การพยายามร่วมแก้ปัญหา EMS ซ่ึงในส่วนชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี
และสมาคมผู้เล้ียงกุ้งทะเลไทยได้จัดสัมมนาพิเศษกลางปี 2 ครั้ง คือ ปี 2556 เน้นท่ี
การตรวจสกัดลกู ก้งุ พ ี ตอ่ เชอ้ื และการเล้ียงกงุ้ เน้อื โดยคุมสารอนิ ทรีย ์ N ดว้ ยเทคโนโลยี
ชีวภาพ (การคุมสารอินทรีย์ ทั้งอนุบาลและเลี้ยงกุ้งเนื้อตามอารมณ์ของกุ้ง และที่
สามารถกินอาหารได้จริงโดยเกิดส่วนเหลือจากกุ้งน้อยสุด) และปี 2557 เน้นที่คุมสาร
อินทรีย์ในบ่อเล้ียงกุ้งเน้ือโดยใช้ทางเลือก ปล่อยกุ้งบางลงเล้ียงด้วยระบบปิดรายย่อย
และปรบั สรู่ ะบบฟารม์ นำ้ โปรง่ (โปรง่ สารอนิ ทรยี ์ ตะกอน แพลงกต์ อนและซากแพลงกต์ อน
เช้ือและตัวต่อเช้ือ) โดยถ่ายกลางออกบำบัดนอกบ่อเล้ียง ซึ่งมีการปรับลงตัวและก่ึง
ลงตัวกว่าคร่งึ แต่ยังมีอุปสรรคจากกรณแี หล่งเล้ียงหมกั หมมและเออื้ กลมุ่ วบิ รโิ อใหแ้ กรง่
ขึ้น เลย้ี งกุ้งยากและเส่ียงสารตกค้างมากขน้ึ

5. ช่วงฟืน้ กจิ การกุ้งไทยถึงปัจจุบนั (ปี 2558-2561) มงี านสำคัญ คอื
- เสนอแนวทางนำสารอนิ ทรยี ส์ ว่ นเหลอื จากฟารม์ นำ้ โปรง่ ไปสรา้ งประโยชน์

เพ่ิมคุณค่า โดยผ่านตัวเก็บ ตัวกลาง ตัวสร้างมูลค่า เพื่อรักษาสมดุลส่ิงแวดล้อมและ
มรี ายไดเ้ สรมิ ฟารม์ กงุ้ แต่ไม่เกิดโครงการวิจัย

- ประสานขยายการเล้ียงกงุ้ 2 ขนั้ ตอนดว้ ยบอ่ ขนาดเลก็ พอเหมาะ งานนมี้ ี
การพัฒนาพรอ้ มๆ กันในหลายประเทศ ผลกา้ วหนา้ มากสดุ ขณะน้ี คือ เวียดนาม ท่ ี FAO
ให้เงนิ กุ้งสนับสนุนขยายกจิ การอย่ใู นปัจจุบัน (ชดุ บ่ออนบุ าล 1 บ่อเลี้ยง 2 ในโครงคลมุ
ดดู สว่ นตะกอนกลางไปผลติ ก๊าซชีวภาพ และนำขีก้ งุ้ ท่ผี า่ นบอ่ ผลิตกา๊ ซชีวภาพไปปลกู พชื
ผัก) ซ่ึงระบบน้ียังต้องมีการวิจัยพัฒนาต่อเนื่องจนกว่าจะลงตัวมากสุด ส่วนฟาร์มที่ใช้
แนวทางกุ้งหนาแน่นต่ำเลี้ยงระบบปิดรายบ่อก็อยู่ระหว่างวิจัยเพิ่มคุณภาพการผลิต
และปรับเป็น 2 ขั้นตอนด้วยเชน่ กนั

- ประสานงานเฝ้าระวังเบ้ืองต้นเพื่อป้องกันควบคุมโรคเก่าใหม่แบบเชิงรุก
ซง่ึ อยรู่ ะหวา่ งเรม่ิ ดำเนินการให้เปน็ รปู ธรรมถาวร
- ประสานงานปรับกิจการกุ้งไทยให้เป็นประเทศคนกลางเท่าท่ีจำเป็น ซึ่งอยู่
ระหว่างประสานแนวคิดและแนวทางเพม่ิ เตมิ

76

หมายเหตุ
เน่ืองจากไทยมีพื้นที่เล้ียงกุ้งจำกัด และพ้ืนท่ีฟาร์มชายฝั่งเดิมท่ีมีศักยภาพ
การผลิตสูงบางส่วนก็ถูกนำไปปลูกป่าชายเลนอีกต่างหาก ในขณะที่ประเทศเล้ียงกุ้ง
กลุ่มนำและกลุ่มรองหลายประเทศต่างมีพื้นที่มากและมุ่งพัฒนาขยายพ้ืนที่เลี้ยงกุ้งกัน
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ใหเ้ ปน็ กจิ การสรา้ งงาน เกลยี่ รายไดป้ ระชากร และสรา้ งรายไดก้ อ้ นใหญ่
เขา้ ประเทศ ทง้ั น ้ี ตามขอ้ มลู การประเมนิ ของ FAO ทสี่ รปุ ชดั เจนวา่ ตอ้ งเรง่ ขยายการผลติ
สตั ว์น้ำเพาะเลีย้ งทดแทนการจับสัตวน์ ้ำจากธรรมชาติซง่ึ ไมส่ ามารถเพิม่ ไดอ้ ีกตอ่ ไป
ดังนั้น ในธุรกิจกุ้งโลกยุคอนาคตที่คาดว่าจะมีการผลิตกุ้งเพิ่มต่อเนื่องถึงระดับ
5 ล้านตันใน 5- 7 ปีข้างหน้าน้ัน จำเป็นท่ีกิจการกุ้งไทยต้องปรับตัวท้ังสองด้าน คือ
ดา้ นการตลาดทย่ี งั พอมโี อกาสโดยสามารถสรา้ งและถอื ครองตลาดบน ดว้ ยผลติ ภณั ฑท์ เี่ ดน่
และจำเพาะให้มากสดุ ได้ พรอ้ มปรบั เพ่ิมงานบริการใหล้ ้ำหน้าและเสถียร โดยใช้วัตถดุ บิ
นอกและในประเทศท่ีมีคุณภาพสูงพอ พร้อมกันนี้ ด้านการผลิตก็ต้องสามารถผลิตกุ้ง
ขนาดใหญ่ได้เสถียร คุณภาพสูง ต้นทุนการผลิตพร้อมแข่งขัน โดยคุณภาพการผลิต
ไม่เป็นรองใคร
เม่ือประมวลข้อมูลวงกว้าง มั่นใจได้ว่า ชาวกุ้งไทยสามารถร่วมพัฒนาศักยภาพ
การผลติ ให้เป็นฐานของกจิ การก้งุ ไทยยุคอนาคตได้ โดยปรบั สู่การเลย้ี งก้งุ 2 ข้ันตอนท่ี
สามารถปอ้ งกันควบคมุ โรคกงุ้ ไดส้ งู สุด และดว้ ยแนวทางการผลิตที่สอดคล้องกับเง่อื นไข
และสมดุลส่ิงแวดล้อม ท้ังในระบบฟาร์มและแหล่งน้ำภายนอก เพื่อให้สามารถผลิตกุ้ง
ไดต้ ่อเน่ือง อยา่ งมนั่ คงยงั่ ยืนสืบไป

77

วารสารขา่ วก้งุ เครือเจรญิ โภคภณั ฑ์

โรคติดเช้อื อเี อชพี
กบั การเลย้ี งกุ้งขาว

78

ปจั จุบนั โรคติดเช้อื อีเอชพีในก้งุ ขาวยังคงสร้างความเสียหายใหก้ ับเกษตรกรผ้เู ลย้ี ง
กุ้งเป็นอย่างมาก โดยในช่วงที่ผ่านมายังคงพบการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ืออีเอชพีเป็น
จำนวนมากแทบทุกพ้ืนที่ของการเล้ียงกุ้งขาว โดยมีการติดเช้ือในทุกช่วงของการเล้ียง
ซ่ึงผลกระทบต่อกุ้งท่ีเห็นได้อย่างชัดเจนคือ ทำให้อัตราการเจริญเติบโตของกุ้งต่ำลง
สว่ นในแงข่ องอตั ราการตายนนั้ มกั จะพบในกรณที เ่ี กษตรกรผเู้ ลย้ี งกงุ้ พยายามเลยี้ งตอ่ เพอื่
ให้ได้กุ้งขนาดใหญ่ข้ึน ทำให้กุ้งบางส่วนที่มีการติดเช้ือค่อนข้างหนักและส่วนของตับถูก
ทำลายมากจึงเกิดการตาย แม้ว่าโรคติดเชื้ออีเอชพีจะไม่ก่อให้เกิดการตายของกุ้งอย่าง
รุนแรงซ่ึงแตกต่างจากโรคอีเอ็มเอสหรือโรคตัวแดงดวงขาว แต่ผลกระทบของโรคนี้ต่อ
ผลผลิตกุ้งก็ไม่ได้ย่ิงหย่อนไปกว่ากันเลย เพียงแต่ผลกระทบที่มีต่อกุ้งเป็นคนละรูปแบบ
เท่านั้น ดังน้ันจึงขอนำเสนอข้อมูลพื้นฐานของเช้ือน้ีและผลกระทบท่ีมีต่อกุ้ง รวมท้ัง
แนวทางการป้องกันและควบคุมเช้ือน้ี เพ่ือเน้นย้ำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งได้รู้จักและ
เข้าใจลักษณะของโรคน้ีดียิ่งขึ้น ทำให้สามารถนำไปปรับใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา
นี้ตอ่ ไป

ลักษณะของเช้อื วงจรชวี ิต และการตดิ ตอ่

เชอื้ อเี อชพ ี (Enterocytozoon hepatopenaei, EHP) จัดอยู่ในกลุ่มของเชอ้ื รา
(Fungi) เป็นปรสิตที่อาศัยอยู่ภายในเซลล์ตับกุ้ง สปอร์ของเชื้อน้ีจะมีรูปร่างกลมรี
เป็นรูปไข่ มีขนาดเล็กประมาณ 0.7 – 1.1 ไมครอน มีผนังหุ้มหนาและแข็งแรงโดยมี
สารไคติน (Chitin) เป็นองค์ประกอบ ทำให้มีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อมและสารเคมีต่างๆ ได้ดี จึงทำให้การกำจัดสปอร์ของเช้ือนี้ด้วยสารเคมี
ต่าง ๆ มักไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ ต้องใช้ความเข้มข้นท่ีสูงกว่าปกติมาก จึงเป็นเร่ือง
ไมง่ ่ายนักทีจ่ ะกำจดั เชอ้ื นี้ให้หมดในสภาพการเลีย้ งที่เปน็ บ่อขนาดใหญ่
วงจรชีวิตของเช้ืออีเอชพีจะเริ่มจากเม่ือกุ้งได้รับสปอร์โดยการกิน สปอร์จะผ่าน
เขา้ สทู่ างเดนิ อาหาร เมอ่ื อยู่ในสภาวะท่ีเหมาะสมก็จะเขา้ ไปสู่อวัยวะเป้าหมายซ่ึงกค็ อื ตบั
ของกงุ้ จากนนั้ กจ็ ะยนื่ สว่ นของโพลารท์ บู (Polar tube) ซงึ่ เปน็ ทอ่ เขา้ ไปเชอ่ื มกบั เซลลต์ บั
แล้วถ่ายสารสืบพันธ์ุ (Sporoplasm) เข้าไปในเซลล์ตับ หลังจากน้ันจะเกิดการแบ่งตัว
เพื่อเพ่ิมจำนวนและพัฒนาเป็นระยะต่างๆ จนกระท่ังได้เป็นสปอร์ท่ีโตเต็มท่ี เมื่อสปอร์
มีการเพิ่มจำนวนมากจนเต็มเซลล์ก็จะทำให้เซลล์แตกและสปอร์ท่ีโตเต็มท่ีก็จะถูกปล่อย
ออกจากเซลล์ จากนน้ั สปอร์เหล่าน้กี ็จะเขา้ สเู่ ซลลท์ ่อี ยู่ขา้ งเคยี งทำใหเ้ กดิ การติดเชอ้ื เปน็
วงจรเร่ือยไป เม่อื เซลลข์ องตับถกู ทำลายไปในระดับหน่ึงสปอร์ท่ีมอี ยใู่ นปรมิ าณมากกจ็ ะ
ถูกขับออกจากกุ้งโดยปนมากับขี้กุ้งเข้าสู่สภาพแวดล้อมในบ่อ เมื่อกุ้งตัวอ่ืนได้กินสปอร์

79

เขา้ ไปกจ็ ะทำให้เกิดการตดิ เชอื้ และแพรร่ ะบาดในบ่อต่อเน่ืองเป็นวงจรไปเรอื่ ยๆ โดยการ
ตดิ ต่อของเชื้อนส้ี ามารถติดตอ่ จากกุง้ ตวั หน่ึงไปสกู่ ้งุ อีกตัวหนง่ึ ไดโ้ ดยตรง เม่ือกุ้งตดิ เชือ้ นี้
แล้วแม้ว่ากุ้งยังคงสามารถกินอาหารได้แต่อัตราการเจริญเติบโตจะลดลง ซ่ึงผลกระทบ
ของโรคนี้จะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับระยะเวลาการเล้ียงกุ้งหลังจากพบการติดเชื้อแล้ว
ถา้ ระยะเวลาการเลยี้ งยงิ่ ยาวนานขนึ้ เทา่ ไหรผ่ ลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ กจ็ ะรนุ แรงมากขน้ึ เทา่ นนั้
ทั้งในแง่ของอัตราการเจริญเติบโต อัตราแลกเนื้อ และอัตรารอด โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ตน้ ทุนการเล้ียงทเี่ พม่ิ สูงข้ึนเป็นอยา่ งมาก

80

สำหรบั ชอ่ งทางการปนเปอ้ื นของเชอื้ อเี อชพเี ขา้ สรู่ ะบบการเลย้ี งนน้ั เปน็ ไปไดห้ ลาย
ช่องทาง เช่น การตกค้างของเชือ้ จากรอบการเลย้ี งท่ีผ่านมาท่ีพน้ื ผวิ บ่อ การปนเป้ือนของ
เชอื้ จากนำ้ ทนี่ ำมาใชเ้ ลยี้ งกงุ้ รวมทงั้ การปนเปอื้ นของเชอื้ ทม่ี ากบั ลกู กงุ้ ทลี่ งเลย้ี ง ซงึ่ ในกรณี
การติดเชือ้ ในลกู กุ้งนอี้ าจเกิดจากการใช้พ่อแม่พนั ธุ์ที่มีการตดิ เช้ือ โดยพอ่ แมพ่ ันธ์ุอาจรับ
เชื้อมาจากอาหารธรรมชาติท่ีมีการปนเป้ือนของเชื้อ เช่น เพรียง หรือระบบสุขอนามัย
ท่ไี ม่ด ี ทำให้มกี ารปนเปอ้ื นของเช้ือเข้าสู่ระบบการเล้ยี ง เป็นเหตใุ ห้เชื้อสามารถปนเป้ือน
มากับนอเพลียส (Nauplius) จึงทำให้เกิดการติดเช้ือในลูกกุ้ง นอกจากนี้อาจเกิดการ
ปนเปอื้ นของเชอื้ จากในสว่ นของโรงเพาะฟกั เองกไ็ ดถ้ า้ ไมม่ รี ะบบสขุ อนามยั ทไ่ี ดม้ าตรฐาน
ในการป้องกันไม่ให้เชื้อปนเป้ือนเข้าสู่ระบบการเลี้ยง ก็จะทำให้ลูกกุ้งท่ีได้มีการติดเช้ือน้ี
เช่นเดียวกนั

81

ลกั ษณะของกงุ้ ป่วยและการตรวจวนิ จิ ฉยั โรค

กุ้งป่วยท่ีติดเชื้ออีเอชพีจะมีลักษณะตับฝ่อ ลำไส้ว่าง ตัวหลวมกรอบแกรบ และ
แตกไซส ์ บางครงั้ อาจพบวา่ ในลำไสก้ งุ้ มสี ขี าว ซงึ่ นา่ จะเกดิ จากเซลลต์ บั ทถี่ กู ทำลายปะปน
กับสปอร์ของเชื้อน้ีลอกหลุดเข้าไปในทางเดินอาหาร จึงทำให้เห็นเป็นข้ีขาวร่วมด้วย
ซ่ึงสามารถสังเกตได้ง่ายจากขี้ขาวท่ีลอยอยู่บนผิวน้ำโดยเฉพาะด้านที่อยู่บริเวณใต้ลม
โดยการตดิ เชอ้ื ส่วนใหญม่ ักเริม่ พบหลังจากลงลกู ก้งุ ไปแล้วมากกวา่ 30 วัน แตก่ ็อาจพบ
การติดเช้อื ในระยะแรกของการเลี้ยงก็ได ้ ซง่ึ มักเกิดจากการปนเป้ือนของเช้ือมากับลกู กุ้ง
ที่ลงเลี้ยง การเตรียมบ่อหรือน้ำท่ีไม่ได้มาตรฐาน ทำให้มีการสะสมของเช้ือในระดับท่ีสูง
ต้ังแต่เร่ิมลงลูกกุ้ง โดยทั่วไปในช่วงที่เร่ิมพบการติดเชื้อนั้นมักจะยังไม่เห็นผลกระทบ
ที่ชัดเจน แต่จะเริ่มเห็นผลกระทบหลังจากกุ้งมีการติดเช้ือแล้วประมาณ 2 สัปดาห์
โดยการเจรญิ เตบิ โตของกงุ้ จะเรม่ิ ชา้ ลง การกนิ อาหารจะเรมิ่ ไมเ่ พมิ่ ขน้ึ ถา้ ปลอ่ ยทง้ิ ไวจ้ ะพบ
วา่ การเจรญิ เตบิ โตจะชา้ กวา่ ปกตมิ ากหรอื ไมเ่ พมิ่ ขนึ้ เลย การกนิ อาหารจะลดลงอยา่ งชดั เจน
และในที่สุดจะเริ่มพบการตายของก้งุ รว่ มด้วย
สำหรับการตรวจวินิจฉัยนั้น ในเบ้ืองต้นอาจจะสันนิษฐานได้จากลักษณะของ
กุ้งป่วยและอาการดังกล่าวในข้างต้น สำหรับการตรวจในห้องปฏิบัติการนั้น สามารถ
ทำการวินิจฉัยเบื้องต้นโดยการดูตัวอย่างตับสดภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ซ่ึงวิธีน้ีมักจะใช้
ตรวจในกุ้งป่วยท่ีได้ติดเช้ือมาระยะหน่ึงแล้ว โดยดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ท่ีกำลังขยาย
1,000 เทา่ จะสามารถเห็นสปอรข์ องเชื้อนเ้ี ปน็ รปู ไข ่ มีลักษณะวาว อย่เู ป็นสปอร์เดยี่ วๆ
ไม่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยด้านท้ายของสปอร์จะมองเหน็ เป็นช่องวา่ งขนาดใหญ ่ (Posterior
Vacuole) อย่างไรก็ตามในการตรวจน้ันจะต้องเป็นผู้ที่มีความชำนาญซ่ึงได้ผ่านการ
ฝกึ ฝนมาในระดบั หนง่ึ แลว้ จงึ จะได้ผลทีถ่ ูกตอ้ งและเชอ่ื ถือได ้ สว่ นวธิ ีการตรวจวินจิ ฉยั ที่
ให้ผลถกู ต้องแมน่ ยำยิง่ ขึน้ นั้นไดแ้ ก ่ การตรวจสอบทางเนื้อเย่ือวิทยา (Histopathology)
และเทคนคิ พีซีอาร์ โดยเฉพาะเทคนคิ พซี อี าร์นนั้ จะมคี วามไวสงู สามารถตรวจสอบไดใ้ น
ขณะที่เริ่มติดเชื้อซึ่งยังมีปริมาณเช้ือในระดับต่ำ จึงเหมาะสมสำหรับใช้ในการคัดกรอง
ลกู กงุ้ ตรวจอาหารธรรมชาตทิ จี่ ะนำมาเลย้ี งพอ่ แมพ่ นั ธก์ุ งุ้ หรอื ตรวจตดิ ตามการปนเปอื้ น
ของเชือ้ ในระบบการเล้ียง

แนวทางการปอ้ งกันและควบคุมเชอื้ อเี อชพี

1. การลดการปนเป้อื นของเชอื้ ในบอ่ เล้ียง
การป้องกันการเกิดโรคในการเล้ียงกุ้งรอบใหม่นั้น ควรทำตั้งแต่ในข้ันตอนการ
เตรียมบ่อ โดยบ่อเลี้ยงควรทำความสะอาดพื้นบ่อทันทีหลังจากจับกุ้งออกหมดแล้วเพื่อ

82

ให้สิ่งสกปรกต่างๆ ท่ีอาจมีการปนเปื้อนสปอร์ของเช้ือหลุดออกได้ง่าย โดยต้องทำทั้ง
ส่วนพ้ืน แนวสโลป รวมท้ังนำเลนที่สะสมอยู่ใต้แผ่นพีอีออก พร้อมทั้งทำการซ่อมแซม
จุดร่ัวซึมต่าง ๆ ทั่วท้ังบ่อ ในกรณีท่ีพบเชื้อน้ีในการเล้ียงรอบท่ีผ่านมาอาจต้องพิจารณา
การใช้สารเคมีที่มีความเข้มข้นสูง และมีประสิทธิภาพในการกำจัดสปอร์ของเชื้อท่ีอาจ
หลงเหลอื อยู่เพ่ิมเติมโดยมีวิธกี ารดงั น้ี

1.1 ฉีดล้างเลนใต้พีอีด้วยน้ำสะอาด โดยบ่อที่ปูด้วยพีอีหนา 0.30 มิลลิเมตร
ให้เปิดล้างท้ังบ่อ ส่วนบ่อท่ีปูด้วยพีอีหนา 0.75 มิลลิเมตร ให้เปิดล้างบริเวณจุดเส่ียง
เช่น หลุมกลางบ่อ หลมุ จับกุง้ และบริเวณทม่ี ีเลนสะสม เปน็ ต้น จากน้นั ฆา่ เชอื้ ทีพ่ ้นื ดิน
โดยใช้ปูนเผาปริมาณ 1.50 กโิ ลกรัมต่อตารางเมตร กอ่ นที่จะปิดแผ่นพีอี

1.2 หลงั จากปดิ แผน่ พอี แี ลว้ ใหล้ า้ งบอ่ ดว้ ยนำ้ สะอาด สเปรยด์ ว้ ยโซดาไฟความเขม้ ขน้
2,000 พีพีเอ็ม (พีเอช > 12) ท้ิงไว้อย่างน้อย 8 ช่ัวโมง เพื่อกำจัดเชื้ออีเอชพีท่ีอาจมี
หลงเหลอื อยู่อีกครงั้

ส่วนน้ำดิบที่สูบเข้ามาในฟาร์มควรฆ่าพาหะด้วยไตรคลอร์ฟอนความเข้มข้น
2 พีพีเอ็มก่อน แล้วจึงสูบมาเก็บไว้ในบ่อพักน้ำ ลดความขุ่นของน้ำโดยตกตะกอนด้วย
ดา่ งทบั ทมิ ความเขม้ ขน้ 5 พพี เี อม็ และควรพกั นำ้ ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 7 วนั สบู นำ้ สว่ นใสดา้ นบนเขา้
บ่อทรีตเพ่ือเข้าสู่ขั้นตอนการฆ่าเช้ือ โดยใช้คลอรีนความเข้มข้น 15 พีพีเอ็ม จากน้ันสูบ
นำ้ สว่ นใสผา่ นใยกรองเกบ็ ในบอ่ นำ้ พร้อมใช้ ปรับคณุ ภาพตามมาตรฐานการเลี้ยงกุง้ และ
นำไปใช้ตอ่ ไป

ลูกพันธ์ุท่ีปลอดเชื้อก็เป็นอีกปัจจัยหลักท่ีส่งผลต่อความสำเร็จของการเลี้ยง
หากใช้ลูกกุ้งจากแหล่งที่มีมาตรฐานสูงก็จะลดความเส่ียงท่ีจะนำปัญหานี้เข้าสู่ฟาร์ม
ซีพีเอฟได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับปัญหาน้ี ได้มีการเฝ้าระวังโรคในทุกข้ันตอน
การผลิต มีการตรวจสอบเชื้อก่อโรคในกุ้งโดยเทคนิคพีซีอาร์อย่างเคร่งครัดและต่อเน่ือง
จงึ ทำให้ลกู กุ้งซพี เี อฟปลอดเชือ้ อย่างแน่นอน

2. การลดการแพรก่ ระจายของเช้ือในบอ่

ในกรณีที่พบการติดเชื้อของกุ้งในบ่อแล้ว การควบคุมให้การแพร่กระจายของเช้ือ
จากกุ้งที่ป่วยไปสู่กุ้งท่ียังปกติในบ่อเดียวกันให้เกิดข้ึนน้อยท่ีสุดก็จะช่วยให้ผลกระทบ
ท่ีเกิดกับผลผลิตกุ้งมีความรุนแรงลดลง ซึ่งสามารถทำได้โดยการกำจัดตะกอนก้นบ่อท่ี
เกิดขึ้นในระหวา่ งการเล้ียงตัง้ แต่วันแรก ซงึ่ ตะกอนเหลา่ นี้ส่วนหนึง่ จะเกดิ จากขกี้ ้งุ ซึง่ กงุ้
ทต่ี ดิ เชอ้ื จะปลอ่ ยสปอรข์ องเชอื้ ออกมากบั ขก้ี งุ้ หากไมม่ กี ารกำจดั ออกไปอตั ราการตดิ เชอื้

83

กจ็ ะลกุ ลามเพม่ิ มากเปน็ ทวคี ณู ดงั นนั้ การสบู ตะกอนสะสมทพี่ นื้ บอ่ ออกเปน็ ประจำอยา่ ง
ต่อเน่ืองจึงเป็นแนวทางหน่ึงที่ช่วยลดปริมาณเช้ือ รวมท้ังยังเป็นการปรับสภาพแวดล้อม
ในบ่อให้เหมาะสมกับการเล้ียงอีกด้วย นอกจากน้ีการเปล่ียนถ่ายน้ำก็จะช่วยเจือจาง
เช้ือท่ีปนเป้ือนในน้ำให้เหลืออยู่ในระดับต่ำๆ จึงช่วยลดการติดเช้ือของกุ้งในบ่อได้
อยา่ งไรกต็ ามเมอื่ พบวา่ กงุ้ ในบอ่ เรม่ิ มอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตชา้ กวา่ ปกตอิ าจจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ ง
ตดั สินใจจับกุง้ เพือ่ ลดความเสยี หายท่จี ะเกดิ มากข้นึ จากการยดื เวลาเลยี้ งออกไป

84

เกษตรกรผู้เล้ียงกุ้งจะต้องให้ความสำคัญกับการป้องกันและควบคุมโรคน้ีอย่าง
จริงจังเพ่ือลดผลกระทบท่ีจะมีต่อผลผลิตกุ้ง โดยหัวใจสำคัญของการป้องกันโรคติด
เชื้ออเี อชพคี ือ ความสะอาด โดยตอ้ งเรมิ่ จากการเตรียมบ่อทด่ี ี การเตรียมน้ำท่ดี ี ใช้ลูกก้งุ
ทแ่ี ขง็ แรงและปลอดเชอื้ มกี ารสบู ตะกอนเลนและการจดั การของเสยี ภายในบอ่ เลย้ี งอยา่ ง
สม่ำเสมอ และเพื่อให้การปฏิบัติแล้วได้ประสิทธิภาพมากที่สุดจะต้องหม่ันตรวจสอบผล
ของการปฏบิ ตั งิ านอยเู่ สมอ ซง่ึ หากเกษตรกรผเู้ ลย้ี งกงุ้ สามารถปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามแนวทางนแ้ี ลว้
จะสามารถป้องกันและลดความเส่ียงจากการตดิ เชอ้ื อีเอชพีในก้งุ ขาวได้อย่างแนน่ อน

85

สปอร์ของเชื้ออีเอชพีในตับกุ้ง (ลูกศรชี้) ภายใต้กล้องจุลทรรศน์กำลังขยาย 1,000 เท่า

การฉีดล้างเพื่อทำความสะอาดในขั้นตอนการเตรียมบ่อ
86

วารสารข่าวกงุ้ เครือเจรญิ โภคภัณฑ์

โรคขกข้ี ้งุ ขาาววใน

87

ปจั จบุ นั โรคขข้ี าวยงั คงเปน็ โรคทสี่ รา้ งความเสยี หายใหเ้ กษตรกรผเู้ ลย้ี งกงุ้ ขาวแทบ
ทกุ พน้ื ทก่ี ารเลย้ี ง โดยโรคนไ้ี ดเ้ คยสรา้ งผลกระทบตอ่ อตุ สาหกรรมการเลย้ี งกงุ้ อยา่ งชดั เจน
ในชว่ งป ี 2553 – 2555 แตห่ ลงั จากนน้ั เมอื่ เรม่ิ เกดิ การระบาดของโรคอเี อม็ เอสทส่ี ง่ ผลให้
เกิดการตายของกุ้งในระยะแรกของการเลี้ยง จึงทำให้ปัญหานี้ลดน้อยลงเรื่อยๆ แม้ว่า
โรคขขี้ าวจะไม่ทำให้การตายของกุ้งเกดิ ขึ้นอยา่ งฉบั พลนั และรุนแรงเหมอื นโรคอีเอม็ เอส
โรคตัวแดงดวงขาว หรือโรคหัวเหลืองก็ตาม แต่โรคน้ีจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของกุ้ง
เป็นอยา่ งมาก และสง่ ผลกระทบตอ่ ผลผลิตกุ้งไดโ้ ดยตรงเช่นเดยี วกัน บ่อทเ่ี กดิ โรคจะพบ
ข้กี ุง้ สีขาวลอยอยบู่ นผิวน้ำ โดยเฉพาะบริเวณมุมบ่อด้านใต้ลม จำนวนขีข้ าวที่พบจะมาก
หรือน้อยข้ึนอยู่กับจำนวนกุ้งในบ่อที่เกิดโรค โดยทั่วไปเม่ือเร่ิมเห็นขี้ขาวในบ่อ มักพบว่า
การกนิ อาหารของกงุ้ เร่ิมลดลง กุ้งบางสว่ นเริม่ มลี ำไสว้ า่ ง ตัวหลวม โตชา้ และขนาดของ
กุ้งในบ่อแตกต่างกันมากกว่าปกติ หลังจากนั้นเมื่อเลี้ยงต่ออีกระยะหนึ่งก็จะพบว่า

88

ปัจจัย โรคติดเช้อื หรอื สารพิษ
เหน่ียวนำ ที่สง่ ผลทำลายตบั
พบการตายและหลุดลอก
กงุ้ ได้รับเช้ือ ของเซลล์บทุ อ่ ตับอย่างรุนแรง
หรือสารพษิ พบขขี้ าวลอยบนผิวน้ำ
ในบอ่ โดยเฉพาะด้านใตล้ ม
กุง้ ขบั ถา่ ย
ออกมาเปน็ ขีข้ าว

สมมติฐานของกระบวนการเกิดขี้ขาวในกุ้ง

กุ้งจะทยอยตายแบบเรื้อรังไปเรื่อยๆ จนในที่สุดเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจำเป็นต้องตัดสินใจ
จับกุ้งก่อนกำหนดเพ่ือไม่ให้กุ้งเสียหายเพิ่มขึ้น หากโรคน้ีเกิดข้ึนในบ่อท่ีมีกุ้งขนาดใหญ่
หรอื มขี นาดใกลจ้ บั ผลกระทบตอ่ ปรมิ าณผลผลติ กจ็ ะนอ้ ยกวา่ เมอ่ื พบโรคกบั กงุ้ ในบอ่ ทยี่ งั
มขี นาดเล็ก

ปจั จยั เหนยี่ วนำทำให้กุ้งเกดิ ขข้ี าว

สาเหตุท่ีทำให้กุ้งเกิดขี้ขาวน้ันยังไม่ได้มีการระบุได้อย่างชัดเจน แต่มีรายงานว่ามี
หลายสาเหตุท่ีอาจเป็นไปได้ จากสมมติฐานท่ีว่าเมื่อกุ้งได้รับเชื้อโรคหรือสารพิษ

89

ท่ีมีผลทำลายตับอย่างรุนแรง เซลล์บุท่อตับจะเสื่อมและหลุดลอกออกมาเข้าสู่ลำไส้
จำนวนมาก ประกอบกับกุ้งมีอาการป่วย ไม่กินอาหาร เมื่อเวลากุ้งขับถ่ายออกมา
จึงพบเหน็ ขี้กุ้งเป็นสีขาว ปจั จัยเหนี่ยวนำดงั กล่าวมีดังต่อไปน้ี

90

เปรียบเทียบลักษณะกุ้งลำไส้ปกติ (ซ้าย) และลำไส้กุ้งที่เกิดขี้ขาว (ขวา)

1. โรคตดิ เชอ้ื อเี อชพี (Enterocytozoon hepatopenaei, EHP) จากงานวจิ ยั ของ
Kathy F.J.Tang และคณะ ซ่ึงตีพมิ พใ์ นวารสาร Journal of Invertebrate Pathology
ฉบบั ท่ี 140 ในป ี 2559 ได้ทำการศึกษาตวั อยา่ งกงุ้ ขข้ี าวจากฟารม์ ในประเทศอนิ โดนเี ซยี
ด้วยวิธีการทางพยาธิวิทยาและพีซีอาร์ ผลการตรวจสอบพบการติดเช้ืออีเอชพีใน
ปริมาณมากทั้งในตับกุ้งและข้ีขาวท่ีเก็บมาจากบ่อท่ีพบขี้ขาว โดยพบว่าข้ีกุ้งท่ีเห็นเป็น
สีขาวประกอบไปด้วยสปอร์ของเช้ืออีเอชพีในปริมาณมากที่อัดกันแน่น มีเย่ือเมือกของ
ทางเดินอาหารร่วมกับเศษซากของเซลล์ตับท่ีติดเช้ือ รวมท้ังมีแบคทีเรียท่ีมีรูปร่างเป็น
แท่งปะปนอยู่ ด้วยเหตุนี้จึงมีความเป็นไปได้ว่าโรคข้ีขาวเป็นผลมาจากการท่ีกุ้งติดเช้ือ
อเี อชพอี ย่างรุนแรง

2. โรคติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่มวิบริโอ โดยส่วนใหญ่เชื้อแบคทีเรียในกลุ่มน้ีเป็น
เช้ือฉวยโอกาส มักก่อปัญหาเม่ือกุ้งอยู่ภายใต้สภาวะการเล้ียงท่ีไม่เหมาะสม เช่น
พ้ืนบ่อหมักหมมจนเกิดการเน่าเสีย หรือมีการกำจัดของเสียท่ีสะสมบริเวณพื้นบ่อได้
ไมด่ พี อ สง่ ผลทำใหก้ งุ้ ออ่ นแอและงา่ ยตอ่ การตดิ เชอ้ื เชอ้ื แบคทเี รยี กลมุ่ นจ้ี ะเขา้ ทำลายตบั

91

สง่ ผลใหเ้ ซลลต์ บั เสอ่ื มสภาพและหลดุ ลอก จากงานวจิ ยั ของ Loc Tran ในปี 2560 พบวา่
เมื่อนำลำไส้กุ้งที่แสดงอาการข้ีขาวมาแยกชนิดเช้ือแบคทีเรียจะพบเชื้อแบคทีเรียในกลุ่ม
วิบริโอจำนวนมาก เมื่อนำเชื้อดังกล่าวไปให้กุ้งปกติกินสามารถเหน่ียวนำทำให้กุ้งปกติ
แสดงอาการขีข้ าวได ้

3. สารพิษจากแพลงก์ตอน พบว่าแพลงก์ตอนพืชบางชนิดมีการผลิตสารที่
เป็นพิษต่อตับของกุ้งด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่าง เช่น แพลงก์ตอนในกลุ่มสาหร่ายสีเขียว
แกมน้ำเงิน (Blue-green Algae) จะผลิตสารพิษช่ือ Microcystin-LR โดยสารพิษนี้
จะถูกดูดซึมและเข้าทำลายกระเพาะและตับกุ้ง ทำให้เกิดการหลุดลอกของเซลล์ และ
ทำให้กุ้งเกดิ โรคข้ขี าวได้ในทสี่ ุด (Zimba และคณะ, 2549)

4. สาเหตุอ่ืนๆ เช่น การได้รับสารพิษจากเช้ือราบางชนิด หากเกษตรกรมีการ
จัดเก็บอาหารไม่ดีหรือใช้อาหารจากโรงงานที่ไม่ได้ผ่านมาตรฐาน อาจมีสารพิษจาก
เช้ือรานี้ปนเปื้อนอยู่ ดังนั้นการเลือกใช้อาหารสัตว์จากแหล่งผลิตที่ได้มาตรฐานและ
นา่ เชือ่ ถือรวมถงึ มกี ารจดั เก็บอาหารท่ดี ี จะช่วยลดความเส่ยี งการเกิดโรคขี้ขาวได้

92

ขี้ขาวลอยในบ่อเลี้ยง

แนวทางป้องกันและควบคุมโรคข้ขี าว

1. การป้องกันการติดเชื้ออีเอชพีในบ่อเลี้ยง ควรทำตั้งแต่ในขั้นตอนการ
เตรยี มบอ่ โดยบอ่ เลยี้ งควรทำความสะอาดพนื้ บอ่ ทนั ทหี ลงั จากจบั กงุ้ ออกทง้ั หมด เพอื่ ให้
สิ่งสกปรกต่างๆ ท่ีอาจมีการปนเป้ือนสปอร์ของเชื้ออีเอชพีหลุดออกได้ง่าย โดยต้องทำ
ความสะอาดทัง้ ส่วนพ้นื แนวสโลป ตลอดจนนำเลนทสี่ ะสมอยใู่ ตแ้ ผน่ พอี ีออก พรอ้ มท้งั
ทำการซ่อมแซมจุดร่ัวซึมต่างๆ ท่ัวทั้งบ่อ ในส่วนของน้ำดิบที่สูบเข้ามาในฟาร์มต้องผ่าน
กระบวนการเตรียมน้ำและฆ่าเช้ือ ก่อนนำไปใช้ สำหรับลูกกุ้งท่ีปล่อยเล้ียงต้องผ่าน
การตรวจคดั กรองว่าปลอดจากเชอ้ื นีด้ ว้ ย

2. ควบคุมปริมาณเชอ้ื แบคทเี รยี โดยเฉพาะเช้อื แบคทีเรยี กล่มุ วิบริโอ เช้ือกลุ่มนี้
เป็นเชื้อประจำถ่ินท่ีพบได้ในน้ำบ่อเลี้ยงกุ้งท่ัวไป วิธีที่เหมาะสมและได้ผลมากท่ีสุดคือ
การลดหรือควบคุมสารอินทรีย์ซ่ึงเป็นอาหารของแบคทีเรียที่ใช้เพ่ือการเจริญเติบโต
และการเพ่ิมจำนวนในบ่อเลี้ยง ให้เหลือน้อยท่ีสุด ซึ่งน่ันเท่ากับว่าจะสามารถควบคุม
เชื้อแบคทเี รยี กอ่ โรคให้มีอย่ใู นระดับตำ่ โดยไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ การตดิ เช้ือในก้งุ ตลอดระยะเวลา
การเล้ียง การควบคุมปริมาณเชื้อแบคทีเรียน้ีต้องทำตั้งแต่การเตรียมบ่อ การเตรียมน้ำ
ตลอดจนในระหว่างการเลีย้ ง โดยมีวธิ ปี ฏิบัติดังนี้

93

- การเตรียมบ่อ ต้องนำเลนจากการเล้ียงกุ้งในรอบการเลี้ยงครั้งก่อนออกให้
มากท่ีสุด ในกรณีบ่อที่ปูด้วยพลาสติกพีอีหนา 0.15 หรือ 0.30 มิลลิเมตร ต้องทำการ
เปิดพลาสติกพีอีเพ่ือเอาเลนที่สะสมออกให้หมด จากนั้นใช้น้ำสะอาดฉีดล้างและตากบ่อ
ให้แห้ง โรยด้วยปูนเผาปริมาณ 1.50 กิโลกรัมต่อตารางเมตร แล้วจึงปิดพีอี หากเป็น
บ่อปูด้วยพีอีหนา 0.75 มิลลิเมตร ให้ตรวจดูรอยร่ัวทั่วบ่อและซ่อมแซมให้เรียบร้อย
เพอื่ ป้องกันผลกระทบจากเลนท่จี ะมีการสะสมในระหวา่ งการเลี้ยง

- การเตรยี มนำ้ นำ้ ท่ีใช้เลี้ยงต้องผา่ นการบำบดั เพื่อกำจัดตะกอนและสารอินทรีย์
ก่อนนำไปใช้ โดยปริมาณน้ำทใ่ี ช้ตอ้ งมปี รมิ าณเพียงพอสำหรับการเลยี้ ง

- ระหว่างการเลี้ยง ให้เสริมด้วยจุลินทรีย์ท่ีใช้ในการย่อยสลายของเสียและทำ
ความสะอาดน้ำ(Bio-Cleaning) เติมลงไปในน้ำบ่อเล้ียง เพื่อลดปริมาณสารอินทรีย์
ร่วมกับการสูบตะกอนเลน ท้ังนี้การสูบตะกอนเลนจะต้องทำต้ังแต่วันแรกของการเลี้ยง
และทำต่อเนื่องทุกวันจนกระทั่งจับกุ้ง โดยความถ่ีและระยะเวลาการเปิดปิดเครื่องสูบ
ตะกอนเลนขึ้นอยู่กับปริมาณอาหารท่ีให้และอายุของกุ้ง ในกรณีของฟาร์มที่มีข้อจำกัด
ทำให้การกำจัดเลนที่พ้ืนบ่อทำได้ไม่สมบูรณ์ ควรใช้จุลินทรีย์ท่ีใช้ในการย่อยสลาย
ของเสียและทำความสะอาดน้ำ (Bio-Cleaning) ท่ีมีคุณสมบัติย่อยสลายสารอินทรีย์
และควบคมุ กา๊ ซไฮโดรเจนซัลไฟด์หรอื ก๊าซไขเ่ น่าที่เกิดข้ึน

3. ควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงให้เหมาะสม สภาพแวดล้อมในบ่อมี
ผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของกุ้ง ถ้าสภาพแวดล้อมไม่ดี กุ้งจะเครียดและอ่อนแอ
มโี อกาสติดโรคตา่ งๆ ไดง้ ่าย สำหรับปจั จยั ทต่ี อ้ งควบคุมและจดั การ มดี งั น้ี

- ความหนาแน่นของกุ้งที่เล้ียง ควรปล่อยกุ้งให้เหมาะสมกับศักยภาพและ
สภาพความพร้อมของฟาร์ม เช่น ปริมาณน้ำท่ีใช้เปล่ียนถ่าย เครื่องมือหรืออุปกรณ์
การเล้ียงท่ีมีอยู่ รวมท้ังความชำนาญของผู้เล้ียง การลงกุ้งในระดับท่ีสอดคล้องกับ
ศักยภาพของฟาร์มน้ันจะทำให้สามารถควบคุมของเสียที่เกิดขึ้นในบ่อได้อย่างเหมาะสม
ทำให้ก้งุ อยใู่ นสภาพแวดล้อมท่ดี ี ไมเ่ ครยี ด ลดโอกาสในการตดิ เช้ือชนิดตา่ งๆ ได้

- การควบคุมการให้อาหาร การให้อาหารกุ้งน้ันต้องไม่ให้มากเกินไปจนเหลือ
ในขณะเดียวกันก็ต้องมากเพียงพอตามความต้องการของกุ้ง ซึ่งการคำนวณปริมาณ
อาหารที่ให้นั้นต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ท่ีมีผลกระทบต่อการกินอาหารของกุ้ง เช่น
การเปลย่ี นแปลงของสภาวะอากาศ ชว่ งเวลาลอกคราบ การเปลยี่ นแปลงของคณุ ภาพนำ้
ฉบั พลัน และในกรณีทพี่ บกงุ้ ป่วย สถานการณเ์ หลา่ นจ้ี ะทำใหก้ ารกินอาหารของกงุ้ ลดลง
จากสภาวะปกติ ถ้าไม่มีการปรับลดปริมาณอาหารท่ีให้ ก็จะทำให้มีอาหารเหลือตกค้าง

94

อยู่ในบ่อ นอกจากนี้ผู้เล้ียงต้องหม่ันตรวจสอบแนวพื้นที่การให้อาหารในบ่อ โดยต้อง
ไมม่ จี ดุ อบั ที่ทำใหเ้ กดิ การตกคา้ งของอาหารและเกิดการเนา่ เสยี ได้

- การควบคุมปริมาณออกซิเจนในน้ำให้เพียงพอ ระดับออกซิเจนในน้ำต้อง
ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 พพี เี อม็ ตลอดการเลยี้ ง ออกซเิ จนมคี วามจำเปน็ ตอ่ ทงั้ ตวั กงุ้ และระบบนเิ วศ
ในบ่อเลี้ยง เพราะกุ้งต้องใช้ออกซิเจนในการเผาผลาญอาหาร เพ่ือให้ได้พลังงานมาใช้
ในการดำรงชีวิต ส่วนเชื้อจุลินทรีย์ซึ่งเป็นผู้ย่อยสลายในระบบนิเวศก็จำเป็นต้องใช้
ออกซเิ จนเพ่ือย่อยสลายสารอินทรยี ์ต่างๆ ในบอ่ ถา้ ปริมาณออกซเิ จนในบ่อมไี ม่เพียงพอ
กจ็ ะทำใหก้ งุ้ เครียด อ่อนแอ ความตา้ นทานโรคตำ่ ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อได้

- การควบคุมไม่ให้มีแพลงก์ตอนพิษ โดยในเขตพ้ืนที่การเลี้ยงความเค็มต่ำ
ควรระวังกลุ่มสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน เช่น สาหร่ายขนแมว สาหร่ายเม็ด เพราะ
แพลงก์ตอนพิษเหล่าน้ีสามารถสร้างสารที่ทำให้ตับกุ้งระคายเคืองหรืออักเสบได้ และ
ทำให้พีเอชของน้ำสูงกว่าปกติ ในเขตพื้นท่ีการเลี้ยงความเค็มสูงให้ระวังแพลงก์ตอน
เรอื งแสง (Dinoflagellate) ซง่ึ สรา้ งสารพิษทำให้ตับกงุ้ อักเสบเปน็ ขขี้ าวไดเ้ ช่นกัน ดังน้ัน
เพ่ือป้องกันการติดเชื้อในตับควรใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติกที่ช่วยในการย่อยอาหารและ

95

ควบคุมเชื้อในลำไส้ผสมให้กุ้งกินอย่างต่อเนื่องเป็นประจำเพื่อป้องกันแบคทีเรีย
เขา้ ทำลายตบั
การลดความเสยี่ งจากการเกดิ โรคขขี้ าวนนั้ จะตอ้ งมกี ารเตรยี มบอ่ ทด่ี ี การเตรยี มนำ้
และการบำบดั นำ้ ที่ดี รวมถงึ การมรี ะบบไบโอซเี คียวทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื ปอ้ งกันสาเหตุ
เหน่ยี วนำทำใหก้ ุ้งเกดิ โรค ไดแ้ ก่ โรคติดเชื้ออเี อชพ ี และโรคตดิ เช้ือแบคทเี รียโดยเฉพาะ
ในกลุ่มวิบริโอ ซึ่งปริมาณเชื้อแบคทีเรียในบ่อเลี้ยงน้ันสามารถควบคุมได้โดยการควบคุม
ปริมาณสารอินทรีย์ท่ีเกิดขึ้นในบ่อเลี้ยง โดยเริ่มต้ังแต่การกำจัดเลนท่ีตกค้างมาจากรอบ
การเลยี้ งทีผ่ า่ นมา การกำจัดตะกอนเลนท่เี กดิ ขึ้นในระหวา่ งการเลยี้ งดว้ ยการสบู ตะกอน
เลนออกอย่างสม่ำเสมอ นอกจากน้ีการควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงให้เหมาะสม
เพอื่ ใหก้ งุ้ อยสู่ บาย แขง็ แรง ไมเ่ ครยี ด ไดแ้ ก ่ การปลอ่ ยกงุ้ ในอตั ราทเี่ หมาะสม การควบคมุ
การใหอ้ าหารระหวา่ งการเลย้ี งอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การรกั ษาระดบั ออกซเิ จนในบอ่ เลยี้ ง
ใหม้ อี ยา่ งเพยี งพอ ตลอดจนการควบคมุ อยา่ ใหม้ แี พลงกต์ อนทเ่ี ปน็ พษิ ตามทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้
เป็นสิ่งที่ต้องทำไปพร้อมๆ กัน หากเกษตรกรผู้เล้ียงกุ้งสามารถนำแนวทางท้ังหมดน้ีไป
ปรับใช ้ กเ็ ช่อื ได้แน่ว่าจะสามารถลดโอกาสการเกดิ โรคขี้ขาวของก้งุ ได้อย่างแน่นอน

96

เทคนคิ 3 ปีปรีชาสุขเกษม ศรีสงขลาฟารม์

ดีต่อเน่ือง (3 ปี 3 สะอาด)

3 ป ี หลงั จากกา้ วขา้ มวกิ ฤต EMS แลว้
ระบบ 3 สะอาด ไดพ้ ฒั นาอะไรเพม่ิ บา้ ง ?
ศรสี งขลา ยังยดึ หลกั 3 สะอาด เป็น
แนวทางการเลี้ยงกุ้งเหมือนเดิม มีวิธีการ
จัดการบ้างบางส่วนตามฤดูกาลผลิต เช่น
ล้างบ่อทำความสะอาดบ่อยขึ้นตามสภาพ
ดัชนีความสะอาดของฟาร์ม ระบบรีไซเคิล
อื่นๆ

97

จากการบรรยายงานวันกุ้งเม่ือปีที่ผ่านมา-ปัจจุบัน ศรีสงขลาเจอปัญหาอะไรบ้าง
และแก้ไขอย่างไร?
1. ราคากุ้งกบั ต้นทุนการผลติ ใกลเ้ คียงกัน

แกไ้ ขโดย
- กระจายความเส่ียง ลงกงุ้ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความพรอ้ มของฟารม์ และ
เหมาะสมกับฤดูการผลติ
2. เจอโรคขีข้ าว และก้งุ โตชา้

แก้ไขโดย
- เนน้ ความสะอาดของนำ้ น้ำทีส่ ูบเขา้ บอ่ เลยี้ งต้องใส และไมม่ ตี ะกอน
- เน้นความสะอาดของพ้นื ต้องขัดบอ่ ถ่ายน้ำทกุ วัน โดยดจู ากคา่ DOC
- เนน้ ความสะอาดของกุ้ง ดดู กุ้งอ่อนแอออกให้หมด หรอื มากทส่ี ุด
3. เรื่องการจดั การฟาร์มใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการจดั การฟาร์มของ 3 สะอาด

แก้ไขโดย
- ปรับปรุงฟาร์ม โดยการฉีดล้างทำความสะอาดท้ังระบบ ต้ังแต่บ่อทรีต
บ่อตกตะกอน บ่อน้ำพร้อมใช ้ ตลอดจนบ่อเล้ยี ง

98

จุดท่ีเน้นเปน็ พเิ ศษ คือ การจัดการใหน้ ำ้ สะอาด พน้ื บอ่ สะอาด และลกู กุ้งสะอาด
เพ่อื ปอ้ งกันพิษทางเคม ี และพษิ ทางชีวะที่ไม่ใหส้ ่งผลกระทบกบั กุ้งทเี่ ราเลี้ยงในบอ่
1. ต้องเช่ือก่อนว่า EHP (Enterocytozoon hepatopenaei) มีจริง เกิดจาก
การติดเชื้อไมโครสปอริเดีย ทำให้กุ้งโตช้า (ตอนน้ีเกษตรกรกำลังสับสนว่ากุ้งโตช้า
เกิดจากสายพันธุ์กุง้ )
2. ต้องระมัดระวังตะกอนและของเสียในบ่อ เพราะเป็นสาเหตุทำให้เกิด
โรคข้ีขาวได้
3. การรวมของเสียและกำจดั ของเสยี ในบ่อ ตอ้ งมปี ระสิทธภิ าพ (หมั่นตรวจสอบ
ในบอ่ )
4. ปล่อยกุ้งให้บางลงเพ่ือลดของเสียที่จะเกิดข้ึน และลดระยะเวลาการเลี้ยง
ลงเพื่อลดความเส่ยี งโดยใชก้ งุ้ ทีใ่ หญ่ข้ึน
5. หลีกเลยี่ งความเสีย่ งเรื่องราคา และฤดูกาลผลติ
ตามระบบ 3 สะอาดทเี่ ลย้ี งอย ู่ อะไรคอื สงิ่ ทที่ ำใหไ้ ม่เปน็ ข้ขี าว
ระบบนี้เร่ิมต้นที่การป้องกันพิษทางเคมี และพิษทางชีวะที่จะทำอันตรายกับกุ้ง
ท่เี ราเลย้ี งเริ่มตง้ั แต่
1. ลูกกุ้งต้องปลอดโรค (ไม่ตดิ เชือ้ ) หาแหล่งลกู กงุ้ ทม่ี ีคุณภาพ
2. น้ำต้องไมม่ ีเชื้อ ตลอดการเล้ียง (มีปรมิ าณเชือ้ ไมม่ ากท่จี ะทำให้กอ่ โรค)
3. การจัดการของเสยี ในบ่อต้องมปี ระสทิ ธิภาพ จดั การดดู เลน ขัดบอ่
4. คน ต้องมปี ระสิทธิภาพในการจัดการฟารม์ บ่อดกั เลน
ขอย้ำอีกปีว่า อาชีพการเล้ียงกุ้งคือ “เส้นทางเศรษฐี” และเป็นอาชีพท่ีก่อความ
เสยี หายได้ เกษตรกรต้องมอี งค์ความร้ ู และการจดั การท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ

99

สภาวะทร่ี าคากงุ้ กบั ตน้ ทนุ ใกลเ้ คยี งกนั แบบนี้ เราตอ้ งกระจายความเสยี่ ง ซง่ึ แตล่ ะ
ฟาร์ม เกษตรกรแต่ละท่านต้องปรับตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์แบบน ้ี ไม่มีใครรู้ดีว่า
จะปรบั ตัวอยา่ งไร มากกว่าตวั ท่านเอง
ศรสี งขลากระจายความเสี่ยงโดย
- ปล่อยกุ้งให้บางลง
- ลดตน้ ทนุ แตไ่ ม่กระทบกบั การเล้ียง
- หาความรู้เพ่มิ เติมโดยการแลกเปล่ียนความคดิ สมั มนา อ่นื ๆ

“เปน็ กำลังใจใหก้ บั ทกุ ทา่ นประสบผลสำเรจ็ ”

ผลติ และจำหน่ายอปุ กรณ์นากงุ้
- เคร่อื งตนี ้ำ
- เคร่อื งอดั อากาศ แอร์ทู
- เครอ่ื งหวา่ นอาหาร
- เครอ่ื งดูดเลน
- ระเบิดอ๊อก
- มอเตอร์เกยี ร์

และอุปกรณ์อะไหล่สำหรับนากงุ้

70/6 ม.5 ถ.กาญจนวิถี ต.บางกุ้ง อ.เมือง จ.สุราษฎรธ์ านี 84000

(ตรงขา้ มสำนักงานขนสง่ จังหวัด)

โทรศพั ท์ : 077-284895, มือถือ : 081-7889685, 087-2812816


Click to View FlipBook Version