The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by copy_1686, 2020-11-16 09:20:35

รายงานผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด

สรุปผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น ประจำปี 2563

๔๗

ไดอ้ ายุ ๑๕ – ๓๕ ปี
๕.๒ ประชาสมั พนั ธก์ ารรบั สมัครกลมุ่ เป้าหมาย
๕.๓ ปฐมนเิ ทศชแี้ จงความเข้าใจ
๕.๔ จดั ทำแผน IEP
๕.๕ จดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ตามแผน IIP
๕.๖ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
๑) จดั กิจกรรมปรับพื้นฐาน

๒) กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต

๓) กจิ กรรม พัฒนาผเู้ รยี นดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

๔) กจิ กรรมวันสำคัญ ความจงรักภกั ดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

๕) กจิ กรรมการเรยี นร้ดู ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง

๖) กิจกรรมอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

๕.๗ นเิ ทศ ตดิ ตามผล

๕.๘ วัดผลและ ประเมนิ ผล

๕.๙ รายงานผล

๖. ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมายโครงการทั้งในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ
๖.๑ เชิงปรมิ าณ
ขอ้ มูลจำนวนนกั ศึกษาท่ลี งทะเบียนภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 (นักศึกษาพกิ าร)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด -11 53 8 1-1
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ 51 6 13 4 - 22
4 ศรช.ทต.เขาหวั ชา้ ง 22 4 12 3 112
53 8 1- 1 1-1
รวม 12 7 19 8 8 16 336

ขอ้ มูลจำนวนนักศกึ ษาท่ลี งทะเบียนภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 (นักศึกษาพกิ าร)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด - 11 448 112
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ 325 145 - 11
--- --- ---

๔๘

4 ศรช.ทต.เขาหวั ช้าง 819 - - - 112
รวม 11 4 15 5 8 13 2 3 5

ข้อมลู จำนวนนักศึกษาจบหลักสูตรภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 (นกั ศึกษาพิการ)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด --- -1 1 -- -
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ --- -- - -- -
4 ศรช.ทต.เขาหัวช้าง --- -- - -- -
--- -- - -- -
รวม -1 1 -- -
--

ขอ้ มูลจำนวนนกั ศกึ ษาจบหลักสูตรภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 (นักศกึ ษาพิการ)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด --- 235 -- -
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ --- - 11 -- -
4 ศรช.ทต.เขาหัวช้าง --- --- -- -
1-1 --- -- -
รวม 1-1 246 -- -

ข้อมูลจำนวนนักศกึ ษาพกิ ารจำแนกตามประเภทของความพิการภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562

ประเภทของความพิการ

ท่ี ระดับการศึกษา 1 ิพการการมองเห็น รวม
2 ิพการทางการไ ้ด ิยน ทง้ั สน้ิ
3 ิพการทางสติ ัปญญา
4 ิพการทาง ่รางกาย
5 ิพการทางการเ ีรยนรู้
6 ิพการทางภาษา
7 ิพการทางพฤ ิตกรรม
8 ิพการทางออทิสติก
9 ิพการ ้ซำ ้ซอน
ื่อนๆ

๔๙

1 ประถมศกึ ษา 1 3 - 3 12 - - - - - 19
2 มัธยมศกึ ษาตอนต้น - - - 48 - 1 - - - 13
3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 - - - 411 - - - 18
3 3 - 7 24 1 2 - - - 40
รวม

ขอ้ มูลจำนวนนกั ศกึ ษาพกิ ารจำแนกตามประเภทของความพกิ ารภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

ประเภทของความพิการ

ที่ ระดบั การศึกษา 1 ิพการการมองเห็น รวม
2 ิพการทางการไ ้ดยิน ทง้ั สนิ้
3 ิพการทางสติ ัปญญา
4 ิพการทางร่างกาย
5 ิพการทางการเรียนรู้
6 ิพการทางภาษา
7 ิพการทางพฤติกรรม
8 ิพการทางออทิส ิตก
9 ิพการ ้ซำซ้อน
ื่อนๆ

1 ประถมศกึ ษา - 2 - 1 12 - - - - - 15

2 มธั ยมศึกษาตอนต้น 1 - - 4 7 1 - - - - 13

3 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - - - 1 4 - - - - - 15

รวม 3 3 - 7 24 1 2 - - - 40

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ

ร้อยละ ๘๐ ผู้เรียน/ผู้รับบริการคนพิการได้รับการพัฒนา สามารถจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ตามศกั ยภาพ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิต สามารถอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

๗. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ
ปญั หาอุปสรรค
๑) บางครอบครัวมีปัญหาด้านเศรษฐกิจ ไม่มีเวลาในการช่วยดูแลคนพิการในครอบครัวโดยเฉพาะด้านการ

พฒั นาการตามวัย และดา้ นการเรยี นรู้ท่ผี ูป้ กครองต้องให้ความรว่ มมือช่วยเหลือผู้เรียนรว่ มกับครผู ู้สอน
๒) ด้านเวลา นักศึกษาคนพิการบางคนต้องทำงานรับจ้างท่ัวไปเพื่อเล้ียงชีพ ทำให้เวลาในการเรียนรู้ไม่

แน่นอน ทำให้ครผู ้สู อนไม่สามารถจดั กระบวนการเรียนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรไู้ ด้กำหนดไว้

ข้อเสนอแนะ
ควรมีงบประมาณสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอาชีพให้กับผู้เรียนพิการ เพื่อช่วยให้นักศึกษาที่เป็นคน
พกิ ารได้มีอาชพี เพอ่ื เลย้ี งตนเองและมรี ายได้ ตามศักยภาพ

๘. ภาพกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ
8.1. การจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

กจิ กรรมการจัดการเรียนการสอนนักศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและนกั ศึกษาคนพิการจัดการเรียนการสอนขัน้ พืน้ ฐาน

๕๐

8.2. การจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี
โครงการส่งเสรมิ อาชีพให้กบั ผู้พิการและผ้ดู อ้ ยโอกาส (การทำวุน้ ปโี ปแ้ ละโดนทั จ๋วิ )
วันท่ี 19 สิงหาคม 2563
ณ สำนกั งานเทศบาลตำบลตะโหมด อ.ตะโหมด จังหวดั พัทลงุ

๕๑

8.3. การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต

กจิ กรรมมโนราหช์ มุ ชน OTOP
วนั ท่ี 25 มกราคม 2562
ณ วดั วถิ ี ณ บา้ นปา่ พงค์ หมู่ท่ี 9 อำเภอตะโหมด จังหวดั พทั ลุง

๕๒

8.4 . การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กจิ กรรมการจดั การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๕๓

8.5. การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน

กิจกรรมแบง่ บัน แบง่ รกั มอบความสขุ ชาวพัทลุง
วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2563

ณ โรงภาพยนตร์ โคลิเซียม อำเภอมอื ง จังหวัดพทั ลงุ

๕๔

โครงการ จดั การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวิต
๑. ช่อื โครงการ จัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต
2. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ 2563

เป้าประสงค์
ข้อที่ ๒ ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง

ทส่ี อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สร้างความเข้มแข็ง
ให้ชุมชน เพ่ือพฒั นาไปสคู่ วามมน่ั คงและยงั่ ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่งิ แวดล้อม

ตวั ชี้วัดเชงิ ปรมิ าณ
ข้อท่ี ๒ จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ทีส่ อดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ
ตวั ชี้วัดคณุ ภาพ
ข้อที่ ๓ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทียบกบั เป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560-2580
ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ตัวชี้วัด (1) การพัฒนาคุณภาพชีวิต

สุขภาวะ และความเป็นอยู่ท่ีดีของคนไทย ประเด็นข้อท่ี 5 การเสริมสรา้ งให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมท้ังด้าน

๕๕

กายใจ สติปัญญา และสังคม (1) การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (2) ปการป้องกันและควบคุมปัจจัยเส่ียงที่
คกุ คามสขุ ภาวะ (5) ส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนเปน็ ฐานในการสรา้ งสขุ ภาวะทดี่ ีในทกุ พื้นท่ี

นโยบายเร่งดว่ นเพ่อร่วมขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
๕. ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รต่อส่งิ แวดล้อม
๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสียหายจากภัย

ธรรมชาติและผลกระทบทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
ภารกิจตอ่ เน่ือง
๑. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
๑.๓ การศึกษาตอ่ เนื่อง
๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ

ท่สี อดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมที ักษะการดำรงชีวิตตลอดจน
สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคม
ได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เตรียมพร้อม สำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต
โดยจัดกิจกรรม ท่ีมีเนื้อหาสำคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรม
และค่านิยม ทพี่ ึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ ิน ผ่านการศึกษารปู แบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทกั ษะ
ชวี ติ การจดั ตงั้ ชมรม/ชมุ นุม การส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ

๓. วตั ถปุ ระสงค์
๔.๑ เพือ่ ใหผ้ ้เู ข้ารว่ มโครงการ มีความรู้ ความเขา้ ใจทักษะการดำเนนิ ชีวติ ดา้ นสุขภาพอนามยั ความปลอดภยั

ในชวี ิตและทรัพยส์ นิ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม คุณธรรมและจริยธรรม
๔.๒ เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการ สามารถนำความรมู้ าปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

๔. เปา้ หมาย
ประชาชนท่วั ไป จำนวน 178 คน

๕. กิจกรรมท่ดี ำเนินงาน
๕.๑ วางแผนการดำเนินงานการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต
๕.๒ จดั เวทีประชาคมสำรวจความต้องการ/ประชาสัมพันธ์/และการรบั สมัครกล่มุ เป้าหมาย
๕.๓ ประสานผูเ้ กยี่ วข้อง/สรรหาวิทยากร
๕.๔ จดั ทำ/ขออนมุ ตั ิหลักสูตรสถานศกึ ษา
๕.๕ ขออนมุ ตั จิ ัดโครงการ
๕.๖ จัดทำแผนการเรียนร้แู ละดำเนนิ จัดการเรียนรู้
๕.๗ นเิ ทศ ตดิ ตามผล
๕.๘ การวดั ผลประเมนิ ผล
๕.๙ รายงานผล
๕.๑๐ ติดตามการนำไปใช้ประโยชน์
๕.๑๑ สรปุ ผลการดำเนินการ

๕๖

๖. ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมายโครงการท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
๖.๑ เชงิ ปริมาณ

แผน ผล

ที่ กศน.ตำบล กจิ กรรม/ หลักสูตร จำนวน ชาย หญิง รวม
(คน)

1 กศน.ตำบลแม่ขรี การส่งเสริมสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 8 38 46

2 กศน.ตำบลตะโหมด การสง่ เสริมสขุ ภาพผสู้ งู อายุ 3 20 23
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ การดูแลสขุ ภาพและโภชนาการของคนในชุมชน
การส่งเสรมิ สุขภาพผ้สู ูงอายุ 178 5 18 23
การดแู ลสุขภาพและโภชนาการของคนในชมุ ชน 2 21 23

- 23 23

4 ศรช.เทศบาลตำบลเขาหวั ชา้ ง การส่งเสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ 13 33 46

รวมท้ังสิ้น 178 31 153 184

๖.๑ เชงิ คุณภาพ

๕๗

ร้อยละ ๘๐ ผู้รับบริการ มีความรู้ความเข้าใจทักษะชีวิตด้านสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรพั ย์สนิ การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

รอ้ ยละ ๘๐ ผรู้ ับบริการนำความรไู้ ปจัดการแกป้ ัญหาและปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

๘. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะโครงการ
ปญั หาอุปสรรค
๑) มีการเกิดโรคระบาดการตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID19) ทำใหก้ ารจัดกจิ กรรมเปน็ ไปดว้ ยความ

ลำบาก เชน่ ต้องจัดกิจกรรมเปน็ กลุม่ คนจำนวนน้อย 3 – 5 คน ทำให้จำนวนชวั่ โมงสอนของวทิ ยากรมากขึน้ เป็นต้น
๒) กลุ่มเปา้ หมายท่ีเป็นประชาชนทว่ั ไป ไมม่ เี วลาท่ีจะมาเขา้ ร่วมกจิ กรรมตลอดตามท่ีกำหนดใน

หลกั สตู ร เพราะมีขอ้ จำกดั ของประกอบอาชีพทำกนิ เพอ่ื เลีย้ งตนเองและครอบครัว
ข้อเสนอแนะ
๑) กิจกรรม/หลกั สตู ร ท่จี ัดใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายควรเป็นกจิ กรรม/หลักสูตรทสี่ อดคล้องกบั ความ

ต้องการของชมุ ชน สามารถนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตไดจ้ ริง

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ

หลกั สตู รการสง่ เสรมิ สุขภาพผู้สูงอายุ
ระหว่างวนั ท่ี ๑๔ – ๒๕ กรกฎาคม 2563
ณ หมู่บ้านชุมชนต้นแบบ หมูท่ ี่ 1 บา้ นทุ่งโพธ์ิ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

๕๘

กจิ กรรมการดูแลสุขภาพและโภชนาการของคนในชมุ ชน
จดั ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ กรกฎาคม – ๘ สงิ หาคม 25๖๓
ณ หมู่บ้านชุมชนต้นแบบ หมู่ท่ี 1 บา้ นทงุ่ โพธิ์ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หลักสตู รการส่งเสริมสุขภาพผู้สงู อายุ
จดั ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๐ – 2๕ มิถนุ ายน 2563
ณ ศรช.ทต.เขาหวั ช้าง ม.๖ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

หลักสูตรการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
จดั ระหว่างวันที่ ๒ - 17 กรกฎาคม 25๖๓
ณ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม ม.๗ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพทั ลุง

๕๙

หลกั สตู รการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
จัดระหว่างวันท่ี 2 – 12 กรกฎาคม 2563
ณ รพ.สต.บา้ นปลักปอม ม.๕ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จงั หวัดพทั ลุง

หลกั สูตรการสง่ เสริมสขุ ภาพผู้สงู อายุ
จัดระหวา่ งวนั ที่ 17 -28 กรกฎาคม 25๖๓

๖๐

ณ รพ.สต.บ้านดา่ นโลด ม.3 ตำบลแมข่ รี อำเภอตะโหมด จงั หวดั พทั ลงุ

หลักสูตรการสง่ เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
จัดระหวา่ งวันท่ี 9 - 20 พฤษภาคม 2563
ณ รพ.สต.บา้ นโหล๊ะบ้า ม.4 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลงุ

หลักสูตรการดูแลสุขภาพและโภชนาการของคนในชุมชน
จดั ระหวา่ งวันท่ี 17 -28 กรกฎาคม 25๖๓

๖๑

ณ ศพก.อำเภอตะโหมด ม.2 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลุง

โครงการ จดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน

๑. ช่อื โครงการ จัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน

2. สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บ 2563

เป้าประสงค์
ขอ้ ที่ ๒ ประชาชนไดร้ ับการยกระดับการศึกษา สร้างเสรมิ และปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง

ทีส่ อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชุมชน เพอ่ื พัฒนาไปสู่ความม่นั คงและยั่งยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิง่ แวดลอ้ ม

ตวั ชี้วดั เชิงปรมิ าณ
ขอ้ ท่ี ๒ จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ

ตัวชว้ี ดั คุณภาพ
ข้อท่ี ๓ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทียบกบั เปา้ หมาย

ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2560-2580
ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ตัวชี้วัด (1) การพัฒนาคุณภาพชีวิต

สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย ประเด็นขอ้ ที่ 5 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสขุ ภาวะที่ดี ครอบคลุมท้ังด้าน

๖๒

กายใจ สติปัญญา และสังคม (1) การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (2) ปการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่
คกุ คามสุขภาวะ (5) ส่งเสริมให้ชมุ ชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะทดี่ ีในทุกพื้นท่ี

นโยบายเร่งดว่ นเพ่อร่วมขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
๕. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม
๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสียหายจากภัย

ธรรมชาตแิ ละผลกระทบที่เก่ียวข้องกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
ภารกิจต่อเน่ือง
๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้
๑.๓ การศึกษาต่อเน่ือง
๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ

บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา
การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนท่ี เคารพ
ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม
โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้าง
จิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน็ฎ การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์
พลงั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกนั ในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน อย่างย่ังยนื
๓. วัตถุประสงค์

๓.๑ เพือ่ สง่ เสรมิ ให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะชีวิตด้านสขุ ภาพอนามยั ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ ิน
การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม คณุ ธรรมและจริยธรรม

๓.๒ เพอื่ ให้กลมุ่ เปา้ หมายนำความรมู้ าปรับใช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างมคี วามสุข

๔. เป้าหมาย
ผ้สู ูงอายุจำนวน 144 คน

๕. กิจกรรมทดี่ ำเนนิ งาน
๕.๑ วางแผนการดำเนนิ งานการจัดกิจกรรม
๕.๒ จดั เวทปี ระชาคมสำรวจความตอ้ งการ/ประชาสมั พันธ์/และการรบั สมคั รกลุ่มเป้าหมาย
๕.๓ ประสานภาคีเครอื ข่ายและท่ผี เู้ กย่ี วข้อง
๕.๔ จดั ทำ/ขออนมุ ัตหิ ลักสตู รสถานศึกษา
๕.๕ ขออนุมตั จิ ดั โครงการ
๕.๖ ดำเนนิ จดั การเรยี นรู้/รวบรวมองค์ความรู้/วางแผนการเรยี นรู้
๕.๗ นิเทศ ตดิ ตามผล
๕.๘ การวัดผลประเมนิ ผล
๕.๙ รายงานผลการจดั กจิ กรรม
๕.๑๐ ติดตามการนำไปใชป้ ระโยชน์
๕.๑๑ สรปุ ผลการดำเนินการ

๖๓

๖. ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการทง้ั ในเชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ
๖.๑ เชิงปริมาณ

แผน ผล

ที่ กศน.ตำบล กจิ กรรม/ หลักสูตร จำนวน ชาย หญิง รวม
(คน)

1 กศน.ตำบลตะโหมด การทำเจลแอลกอฮอร์ลา้ งมือ 2 38 40
2 กศน.ตำบลแม่ขรี การทำเจลแอลกอฮอร์ล้างมือ
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ การทำเจลแอลกอฮอร์ลา้ งมือ 144 - 36 36
4 ศรช.ทต.เขาหวั ชา้ ง การทำเจลแอลกอฮอรล์ ้างมือ - 36 36

รวมทงั้ ส้ิน - 36 36

144 2 146 148

๖.๒ เชงิ คุณภาพ
รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายนำความรู้ท่ีได้มาปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน สามารถแกป้ ัญหาในครัวเรือน

สรา้ งความเขม้ แข็งให้กับชุมชน และมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ีขึน้

7. ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ (ระบแุ ยกเป็นข้อ ๆ ใหช้ ัดเจนพอสังเขป)
ปัญหาอุปสรรค
๑) การเกิดโรคระบาดการติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID19) ทำใหก้ ารจดั กิจกรรมเป็นไปดว้ ยความ

ลำบาก เช่น ตอ้ งจดั กิจกรรมเป็นกลุ่มคนจำนวนนอ้ ย 3 – 5 คน ทำใหจ้ ำนวนชัว่ โมงสอนของวทิ ยากรมากข้ึนเปน็ ตน้
๒) กลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมด้วยความเกรงใจครูหรือวิทยากร ทำให้ขาดความตั้งใจในการเรียนรู้

และรว่ มกิจกรรม
๓) มีขอ้ จำกดั ในการใชจ้ า่ ยเงนิ ประมาณสำหรบั จัดกจิ กรรม

ข้อเสนอแนะ
๑) ควรมคี ลอ่ งตวั ในการใช้จา่ ยงบประมาณในการจัดกจิ กรรมที่สนองตอบแกก่ ลุ่มเปา้ หมาย ท้ังด้านวสั ดุ

การจดั การเรียนรู้ คา่ ตอบแทนวิทยากร รวมถงึ คา่ ใช้จ่ายในการศึกษาดูงานทเ่ี ปน็ การเสริมสรา้ งองค์ความรแู้ ก่
กลุ่มเป้าหมาย

๖๔

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนินงานของโครงการ
หลักสตู รการทำเจลแอลกอฮอลล์ ้างมอื

จัดระหว่างวันท่ี 2๓ – 2๕ เมษายน 2563
ณ บ้านเลขที่ 31 ม.๑ บ้านทุ่งโพธิ์ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พทั ลุง

หลกั สูตรการทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมอื

๖๕

จัดระหวา่ งวันท่ี 28 – 30 เมษายน 2563
ณ ศาลาประจำหมบู่ ้าน ม.๑๑ บา้ นนาส้อง ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

หลักสูตรการทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ
จัดระหว่างวันที่ 28 - 30 เมษายน 2563
ณ บ้านเลขท่ี ๑๑๗ ม.๘ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพทั ลงุ

หลักสตู รการทำเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมอื
จดั ระหว่างวนั ท่ี ๑, ๕ - ๖ พฤษภาคม 25๖๓
ณ ศาลาประจำหมบู่ า้ น ม.๑0 บา้ นทงุ่ สบาย ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลุง

๖๖

หลักสตู รการทำเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมอื
จัดระหว่างวนั ท่ี 2๑ – 2๓ พฤษภาคม 2563
ณ รพ.สต.บา้ นปลักปอม ม.๕ ตำบลแมข่ รี อำเภอตะโหมด จังหวดั พทั ลุง

หลักสตู รการทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมอื
จัดระหวา่ งวนั ท่ี 28 – 30 พฤษภาคม 2563
ณ รพ.สต.บา้ นดา่ นโลด ม.3 ตำบลแมข่ รี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

๖๗

หลักสูตรการทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมอื
จดั ระหวา่ งวนั ที่ 2๑ – 24 พฤษภาคม 2563
ณ กศน.ตำบลคลองใหญ่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

หลักสูตรการทำเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือ
จัดระหวา่ งวนั ที่ 28 – 31 พฤษภาคม 2563
ณ กศน.ตำบลคลองใหญ่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลุง

๖๘

โครงการ จัดการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่
๑. ชือ่ โครงการ จัดการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่
2. สอดคล้องกับยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3

เป้าประสงค์
ขอ้ ท่ี ๒ ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสรมิ และปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง

ทีส่ อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สร้างความเข้มแข็ง
ให้ ชมุ ชน เพ่อื พฒั นาไปสู่ความม่ันคงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิง่ แวดลอ้ ม

ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ
ขอ้ ที่ ๒ จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ต่อเนื่อง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ
ตวั ช้ีวัดเชิงคุณภาพ
ข้อที่ ๓ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทยี บกับเป้าหมาย
ข้อที่ ๖ ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ

หลักสตู ร/กจิ กรรม การศกึ ษาต่อเนื่อง

๖๙

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580
ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ตัวชีว้ ัดท่ี (2) ความกา้ วหนา้ ของการพฒั นาคน ประเด็นข้อท่ี 4 การเพ่มิ ขีดความสามารถของชุมชนท้องถ่ิน

ในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเอง (1) ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีด
ความสามารถในการจดั การวางแผนชีวิต สขุ ภาพ ครอบครวั การเงนิ และอาชพี

นโยบายเร่งด่วนเพ่อื ร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความมัน่ คง
๑.๑ พัฒนาและเสริมสรา้ งความจงรกั ภกั ดตี ่อสถาบนั หลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนำและเผยแพร่ศาสตร์

พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดำริต่าง ๆ

ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง
๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้

๑.๓ การศกึ ษาต่อเนื่อง
๔) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผ่านกระบวนการเรียนรตู้ ลอดชีวิต

ในรูปแบบตา่ งๆ ให้กบั ประชาชน เพ่ือเสรมิ สรา้ งภูมคิ ุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยูไ่ ด้อยา่ งมนั่ คง และมีการบรหิ ารจัดการ
ความเสีย่ งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยง่ั ยืน

๓. วตั ถปุ ระสงค์
3.๑ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เรียนรู้แนวทางเกษตรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

เกษตรทฤษฎใี หม่ เกี่ยวกบั การจดั การดินสำหรับปลกู พืช
3.๒ เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาอาชีพด้านเกษตรที่นำการจัดการดินสำรับปลูกพืชไปใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั

๔. เปา้ หมาย
ประชาชนท่วั ไป จำนวน 60 คน

๕. กิจกรรมทดี่ ำเนินงาน
๕.๑ วางแผนการดำเนนิ งานจดั กระบวนการรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๕.๒ จัดเวทปี ระชาคมสำรวจความต้องการ/ประชาสัมพนั ธ/์ และการรบั สมคั รกลุ่มเป้าหมาย
๕.๓ ประสานภาคเี ครือข่ายและทผี่ ้เู ก่ียวขอ้ ง
๕.๔ จัดทำ/ขออนมุ ัติหลักสตู รสถานศึกษา
๕.๕ ขออนมุ ัตโิ ครงการ
๕.๖ ดำเนินจัดการเรียนรู้/รวบรวมองค์ความรู้/วางแผนการเรยี นรู้
๕.๗ นเิ ทศ ติดตามผล
๕.๘ การวัดผลประเมินผล

๗๐

๕.๙ รายงานผลการจัดกิจกรรม
๕.๑๐ ตดิ ตามการนำไปใช้ประโยชน์
๕.๑๑ สรุปผลการดำเนนิ การ
๖. ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ

๖.๑ เชิงปริมาณ

แผน ผล

ท่ี กศน.ตำบล/ศรช. กิจกรรม/หลักสตู ร จำนวน ชาย หญงิ รวม

(คน) 4 14 18
87 15
๑. กศน.ตำบลแมข่ รี การจดั การดินสำหรบั ปลกู พชื 69 15
1 14 15
๒. กศน.ตำบลตะโหมด การจัดการดินสำหรับปลูกพชื 60 19 44 63
๓. กศน.ตำบลคลองใหญ่ การจัดการดินสำหรบั ปลูกพชื

4. ศรช.ทต.เขาหวั ชา้ ง การจัดการดินสำหรับปลูกพชื

รวม 60

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้แนวทางเกษตรธรรมชาติหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

เกษตรทฤษฎีใหม่ และนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาอาชีพด้านเกษตรท่ีนำการจัดการดินสำรับปลูกพืชไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวัน

๗. ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ (ระบุแยกเปน็ ขอ้ ๆ ให้ชัดเจนพอสังเขป)
ปญั หาอปุ สรรค
๑) กล่มุ เป้าหมาย ไม่ตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญของการบริหารจดั การดนิ ทำให้ประสบปัญหา ปลกู พืช

ไม่ไดผ้ ลผลติ ตามทตี่ ้องการ
๒) กลุ่มเปา้ หมายเคยชินกบั การใช้สารเคมีใน ทำให้ยากในการปรบั เปล่ียนคำคิด

ข้อเสนอแนะ
๑) ตอ้ งชแ้ี จง้ ให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก ชใ้ี หเ้ ห็นถึงความสำคญั ความจำเปน็ และประโยชน์

ทข่ี องการบรหิ ารจัดการดนิ

๗๑

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ งานของโครงการ
หลกั สูตรการจดั การดนิ สำหรับปลูกพืช

จัดระหว่างวันที่ 11 - 20 มถิ นุ ายน 2563
ณ ศาลาประจำหมบู่ ้าน ม.๑ บา้ นท่งุ โพธิ์ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

๗๒

หลกั สตู รการจัดการดนิ สำหรับปลกู พืช
จัดระหว่างวันท่ี 2 - 22 กรกฎาคม 2563
ณ ศรช.ทต.เขาหวั ชา้ ง ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

หลักสูตรการจัดการดนิ สำหรับปลูกพืช
จดั ระหวา่ งวนั ท่ี 4 – 13 มถิ ุนายน 2563
ณ ศาลาหมู่ท่ี 11 บา้ นควนล่อน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลุง

หลักสูตรการจดั การดินสำหรับปลูกพชื
จดั ระหว่างวนั ที่ 11 - 20 พฤษภาคม 2563
ณ ศนู ย์เรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่สวนแกว้ สุนนั ทา ม.1 ตำบลคลองใหญ่

๗๓

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

การรายงานผลการส่งเสริมการอ่านตามรูปแบบการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจำปี 2563

1) โครงการสง่ เสริมการอ่าน “เมอื งลงุ เมืองนกั อ่าน เมืองสร้างสขุ ”

1.1) กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นในหอ้ งสมดุ ประชาชน

1. หลกั การและความสำคัญ

ห้องสมุดประชาชน, กศน.ตำบล, ศูนยก์ ารเรียนชุมชน และศนู ยอ์ าเซียนศึกษา เปน็ แหล่งเรยี นรู้ตลอดชีวิตท่ี
สำคัญในการดำเนินงานส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้ประชาชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนจะได้รับความรู้ความ
เข้าใจ เพ่ิมพูนความเฉลียวฉลาดและสติปัญญา ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยการใช้ประสาทสัมผัสของตนเองเป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ เช่น การใช้ ตา หู สมองและความคิด ท่ีได้รับการกระตุ้นจากกิจกรรมต่างๆ เร้าให้เกิด
ความคิด และโดยเริ่มต้นการกระบวนการส่งเสริมการอ่านท่ีเป็นจุดแรกเร่ิมในการกระตุ้น ช่วยให้ผู้รับบริการเกิด
ความสนใจและเห็นความสำคัญของการอ่าน เพราะการอ่านเป็นส่ิงที่มนุษย์เราสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อตอบสนองความ
อยากรู้เร่ืองราวส่ิงต่างๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตและอย่รู อบๆ ตลอดการจดบันทึกนำไปสู่การส่อื สาร เกิดนวัตกรรมต่างๆที่
พงึ ประโยชน์ตอ่ มนุษยส์ ่กู ารดำรงชีวติ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินการพัฒนาห้องสมุด
ประชาชนอำเภอตะโหมด และ กศน.ตำบลในสังกัด ทั้งเร่ืองของระบบการให้บริการ และส่ิงแวดล้อมภายในและ
ภายนอก ให้เป็นห้องสมุดท่ีมีชีวิต เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้มีการจัดมุมเด็กเป็น

๗๔

การเฉพาะด้วยการให้ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะโหมดจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีอายุ
๐ – ๖ ปี ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือเปน็ การปูพน้ื ฐาน หรือ สร้างนิสยั รกั การอา่ น โดยกศน.อำเภอตะโหมด จังหวดั พทั ลุง
ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน และผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา
ได้รับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพ อย่างท่ัวถึง และเท่าเทียมกันจึงได้จัดทำ
โครงการส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัยในห้องสมุดประชาชนและชุมชน เพ่ือดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
อ่านโดยการดำเนินการนำกิจกรรมบริการและเข้าถึงแก่ประชาชนในพ้ืนท่ีชุมชน โดยส่งเสริมและสนับสนุนร่วมกับ
หน่วยงานและภาคีเครือข่าย ทั้งระดับจังหวัดและอำเภอ ในการการกระตุ้นให้เด็กปฐมวัย เยาวชน นักเรียน
นกั ศึกษา ตลอดประชาชนท่ัวไป และตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน ตามการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ
การเรยี นรู้ในรูปแบบต่างๆ ทห่ี ลากหลาย ทเ่ี ปน็ จดุ เริม่ ต้นในการบม่ เพาะความสำคญั ของการอา่ น

๒. วตั ถุประสงค์
๒.๑ เพอ่ื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน กศน.ตำบล ศูนยก์ ารเรียน

ชุมชน ให้กบั เยาวชน นกั ศึกษา กศน. และประชาชนทุกช่วงวยั
๒.๒ เพ่ือสนับสนุนใหห้ อ้ งสมุดประชาชน กศน.ตำบล ศูนย์การเรยี นชุมชน ใช้ส่ือเทคโนโลยที างการศึกษา

จดั กจิ กรรมในรปู แบบการศึกษาตามอัธยาศัย

3. ประเภทกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทุกช่วงวยั

๔. งบประมาณ เงนิ งบประมาณประจำปี ๒๕๖๓ แผนงาน : พ้ืนฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้าง

ศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ที่ ๕ ผูร้ ับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน เป็นจำนวนเงนิ ๗๙,๓๖๐

บาท (เจด็ หมื่นเก้าพันสามรอ้ ยหกสิบบาทถ้วน)

๕. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน
๕.๑ สำรวจความต้องการของนกั ศึกษากศน. และประชาชนในพนื้ ท่ีอำเภอตะโหมดเพื่อกำหนดรูปแบบ

กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน
๕.๒ จดั ทำแผนการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น ตามความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายและงบประมาณ

ทไี่ ด้รับจดั สรร
๕.๓ จดั มุมสง่ เสริมการอา่ น เช่น มมุ เดก็ , มมุ E-BOOKS, มมุ QR CODE สำหรบั บรกิ ารในหอ้ งสมดุ
๕.๔ จัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน ทั้งภายในและภายนอกห้องสมดุ
๕.๕ จัดเก็บสถิตผิ ูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมห้องสมุด
๕.๖ ติดตามผล ประเมนิ ผล และรายงานผล

๖. ผลการดำเนนิ งาน
๖.๑ เชงิ ปรมิ าณ

ท่ี หอ้ งสมดุ ประชาชน จำนวนสมาชิกห้องสมุด เฉล่ยี ผู้เข้า

๗๕

แบ่งเป็นเพศ ช่วงอายุของสมาชกิ ใชบ้ รกิ าร

(คน/ (จำนวน/คน) (ระบุ จำนวน/คน) วันละ

แหง่ ) ชาย หญิง 0-14 ปี 15-59 ปี 60ปี ข้นึ ไป

1 อำเภอตะโหมด 2,003 1,171 832 547 1,433 23 6

รวม

- ตารางขอ้ มูลจำนวนผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมท้ังภายในและภายนอกห้องสมดุ ประชาชน ปีงบประมาณ 2563 (ไตร
มาส 1- 4)

ลำดับ รายชอ่ื ห้องสมุดประชาชน จำนวนผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม
ที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

1 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอตะโหมด 1,085 1,137 ๔๒๘ ๙๖๘
รวม 1,085 1,137 ๔๒๘ ๙๖๘

- ตารางข้อมูลจำนวนผู้เขา้ ใชบ้ ริการห้องสมดุ ประชาชน ปีงบประมาณ 2563 (ไตรมาส 1- 4)

ลำดับ รายชอ่ื ห้องสมดุ ประชาชน จำนวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม
ที่ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

1 ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะโหมด 1,248 1,165 ๕๑๐ ๑,๑๔๘
รวม 1,248 1,165 ๕๑๐ ๑,๑๔๘

๖.๒ เชิงคณุ ภาพ
- ห้องสมุดประชาชนสามารถจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายตรงตามความต้องการของประชาชนทุกชว่ งวยั
- สมาชิกหอ้ งสมดุ มเี วลาอา่ นหนังสือมากขึน้
- ผ้รู ับบรกิ ารได้รับความร้/ู หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น

๘.ประโยชนท์ ี่ผู้รบั บรกิ ารได้รบั
๑ ผ้รู บั บรกิ ารไดส้ ร้างนสิ ยั รักการอา่ น จากกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นในรปู แบบตา่ ง ๆ ที่หลากหลาย

เหมาะสมกบั ช่วงอายุ และความสนใจ สรา้ งแรงจงู ใจใหส้ ามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง
๒ สนับสนุนให้ชุมชนเหน็ ความสำคญั ของการอา่ น เพม่ิ จำนวนคนอ่านหนังสือใหม้ ากย่ิงขึ้น
๓ สนับสนุน ส่งเสริมภาคีเครือขา่ ย ร่วมจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นในรปู แบบการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๔ ผู้รบั บรกิ ารสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองจากส่ือท่มี ีอยู่อย่างหลากหลายภายในหอ้ งสมุด และเกดิ ความพงึ

พอใจ ช่ืนชอบผลงาน/ช้นิ งานทที่ ำดว้ ยตนเองได้

๗๖

1.2) กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น “ห้องสมดุ ประชาชนสาขา” โดยใช้ กศน.ตำบล เป็นฐาน
1. หลกั การและความสำคญั

ห้องสมดุ ประชาชน, กศน.ตำบล, ศนู ย์การเรยี นชุมชน และศูนย์อาเซียนศึกษา เปน็ แหล่งเรยี นรตู้ ลอดชีวิตท่ี
สำคัญในการดำเนินงานส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้ประชาชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนจะได้รับความรู้ความ
เข้าใจ เพ่ิมพูนความเฉลียวฉลาดและสติปัญญา ซ่ึงจะต้องประกอบไปด้วยการใช้ประสาทสัมผัสของตนเองเป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ เช่น การใช้ ตา หู สมองและความคิด ที่ได้รับการกระตุ้นจากกิจกรรมต่างๆ เร้าให้เกิด
ความคิด และโดยเร่ิมต้นการกระบวนการส่งเสริมการอ่านที่เป็นจุดแรกเริ่มในการกระตุ้น ช่วยให้ผู้รับบริการเกิด
ความสนใจและเห็นความสำคัญของการอ่าน เพราะการอ่านเป็นสิ่งท่ีมนุษย์เราสร้างสรรค์ขึ้นเพ่ือตอบสนองความ
อยากรู้เรื่องราวสิ่งต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชวี ิตและอย่รู อบๆ ตลอดการจดบันทึกนำไปสู่การส่ือสาร เกิดนวัตกรรมต่างๆท่ี
พึงประโยชน์ตอ่ มนุษยส์ ูก่ ารดำรงชีวติ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินการพัฒนาห้องสมุด
ประชาชนอำเภอตะโหมด และ กศน.ตำบลในสังกัด ท้ังเรื่องของระบบการให้บริการ และส่ิงแวดล้อมภายในและ
ภายนอก ให้เป็นห้องสมุดท่ีมีชีวิต เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้มีการจัดมุมเด็กเป็น
การเฉพาะด้วยการให้ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะโหมดจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีอายุ
๐ – ๖ ปี ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่ือเปน็ การปูพ้ืนฐาน หรือ สร้างนิสยั รกั การอา่ น โดยกศน.อำเภอตะโหมด จังหวดั พทั ลุง
ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน และผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา
ได้รับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพ อย่างท่ัวถึง และเท่าเทียมกันจึงได้จัดทำ
โครงการส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัยในห้องสมุดประชาชนและชุมชน เพ่ือดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
อ่านโดยการดำเนินการนำกิจกรรมบริการและเข้าถึงแก่ประชาชนในพื้นที่ชุมชน โดยส่งเสริมและสนับสนุนร่วมกับ
หน่วยงานและภาคีเครือข่าย ท้ังระดับจังหวัดและอำเภอ ในการการกระตุ้นให้เด็กปฐมวัย เยาวชน นักเรียน
นักศึกษา ตลอดประชาชนทั่วไป และตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน ตามการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านและ
การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ทหี่ ลากหลาย ทีเ่ ปน็ จดุ เรมิ่ ต้นในการบม่ เพาะความสำคัญของการอา่ น

๗๗

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพ่อื ส่งเสริมสนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน กศน.ตำบล ศูนยก์ ารเรียน

ชุมชน ให้กบั เยาวชน นักศกึ ษา กศน. และประชาชนทุกช่วงวยั
๒.๒ เพ่อื สนบั สนนุ ใหห้ ้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล ศนู ย์การเรยี นชมุ ชน ใชส้ ่อื เทคโนโลยที างการศึกษา

จดั กจิ กรรมในรูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศัย

๓. ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย นกั ศกึ ษากศน.และประชาชนทุกช่วงวยั

๔. งบประมาณ -

๕. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน
๕.๑ จัดเตรยี มสถานทใี่ น กศน.ตำบล เพ่อื จดั มุมส่งเสรมิ การอ่าน
๕.๒ จดั มมุ สง่ เสรมิ การอ่านในกศน.ตำบล
๕.๓ จดั Display นกั สือน่าอ่าน ประจำสัปดาห์
๕.๔ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ในกับนักศึกษากศน.และประชาชนทุกช่วยวัย
๕.๕ จดั ทำหนังสืออ่านฟรี E-BOOKS เคลอื่ นที่ , QR CODE ให้บริการในกศน.ตำบล
๕.๖ รับสมคั รอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น ตำบลละ ๒๐ คน
๕.๗ ติดตามผล, ประเมินผล, รายงานผล

๖. ผลการดำเนินงาน
๖.๑ เชิงปริมาณ
จำนวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ใน กศน.ตำบล ประจำปี 2563 ไตรมาส 1-4

ท่ี กศน.อำเภอ จำนวน กศน.ตำบล จำนวนผูเ้ ข้าใช้บริการ เฉลี่ยวนั ละ

(แห่ง) (คน) ไตรมาส (คน)

1 2 34

1 ตะโหมด 3 621 643 ๕๕ ๕๓๒ 5

รวม 3 621 643 ๕๕ ๕๓๒ 5

๖.๒ เชงิ คุณภาพ

- กศน.ตำบลไดร้ ับการพฒั นาใหเ้ ป็น กศน.ตำบล ๕ ดีพรีเม่ยี ม ท่เี อ้ือตอ่ การอา่ นและการเรียนรู้

และสามารถจดั กจิ กรรมท่ีหลากหลายตรงตามความต้องการของประชาชนทกุ ชว่ งวัย

- ประโยชน์ท่ีผ้รู ับบรกิ ารได้รับ

เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป และนักศึกษากศน. ที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านได้รับความรู้ สามารถ
นำความรู้ไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๗๘

1.3) กิจกรรม จัดมุม ส่งเสริมการอ่าน “ห้ องสมุดบ้ าน เรา” (สำห รับ ห น่วยงาน ภ าคีเค รือข่าย)
/ “ห้องสมุด GUIDE” (สำหรบั สถานท่ที อ่ งเท่ยี ว)

1. หลกั การและความสำคญั

ห้องสมุดประชาชน, กศน.ตำบล, ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน และศูนยอ์ าเซยี นศึกษา เปน็ แหล่งเรียนรตู้ ลอดชีวติ ท่ี
สำคัญในการดำเนินงานส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้ประชาชน เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนจะได้รับความรู้ความ
เข้าใจ เพ่ิมพูนความเฉลียวฉลาดและสติปัญญา ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยการใช้ประสาทสัมผัสของตนเองเป็น
เคร่ืองมือในการเรียนรู้ เช่น การใช้ ตา หู สมองและความคิด ท่ีได้รับการกระตุ้นจากกิจกรรมต่างๆ เร้าให้เกิด
ความคิด และโดยเริ่มต้นการกระบวนการส่งเสริมการอ่านที่เป็นจุดแรกเริ่มในการกระตุ้น ช่วยให้ผู้รับบริการเกิด
ความสนใจและเห็นความสำคัญของการอ่าน เพราะการอ่านเป็นส่ิงท่ีมนุษย์เราสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อตอบสนองความ
อยากรู้เร่ืองราวส่ิงต่างๆ ที่เกิดข้ึนในชวี ิตและอยูร่ อบๆ ตลอดการจดบันทึกนำไปสู่การสือ่ สาร เกดิ นวัตกรรมต่างๆท่ี
พึงประโยชนต์ ่อมนษุ ย์สู่การดำรงชวี ติ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินการพัฒนาห้องสมุด
ประชาชนอำเภอตะโหมด และ กศน.ตำบลในสังกัด ท้ังเรื่องของระบบการให้บริการ และส่ิงแวดล้อมภายในและ
ภายนอก ให้เป็นห้องสมุดที่มีชีวิต เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้มีการจัดมุมเด็กเป็น
การเฉพาะด้วยการให้ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะโหมดจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีอายุ
๐ – ๖ ปี ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่ือเปน็ การปูพ้นื ฐาน หรือ สร้างนสิ ัยรักการอ่าน โดยกศน.อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง
ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน และผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา
ได้รับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกันจึงได้จัดทำ
โครงการส่งเสริมการอ่านของเด็กปฐมวัยในห้องสมุดประชาชนและชุมชน เพ่ือดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
อ่านโดยการดำเนินการนำกิจกรรมบริการและเข้าถึงแก่ประชาชนในพื้นท่ีชุมชน โดยส่งเสริมและสนับสนุนร่วมกับ
หน่วยงานและภาคีเครือข่าย ท้ังระดับจังหวัดและอำเภอ ในการการกระตุ้นให้เด็กปฐมวัย เยาวชน นักเรียน
นกั ศึกษา ตลอดประชาชนทั่วไป และตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน ตามการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ
การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ท่หี ลากหลาย ทเ่ี ปน็ จุดเริ่มต้นในการบ่มเพาะความสำคัญของการอา่ น
๒. วัตถุประสงค์

๒.๑ เพอ่ื ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน กศน.ตำบล ศนู ย์การเรยี น
ชมุ ชน ใหก้ ับเยาวชน นักศกึ ษา กศน. และประชาชนทุกช่วงวยั

๗๙

๒.๒ เพอ่ื สนับสนุนให้ห้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล ศนู ย์การเรยี นชมุ ชน ใช้สอื่ เทคโนโลยีทางการศึกษา
จัดกจิ กรรมในรปู แบบการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

๓. ประเภทกลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนทุกชว่ งวัย

๔. งบประมาณ -

๕. ข้นั ตอนการดำเนินงาน
๕.๑ สำรวจ และประสานขอความร่วมมอื ในการจัดตั้งมมุ ส่งเสริมการอ่าน
๕.๒ หมุนเวยี นส่ือให้บรกิ าร ในมมุ สง่ เสรมิ การอ่าน
๕.๓ จดั ทำหนงั สอื อา่ นฟรี E-BOOKS เคล่ือนที่ , QR CODE ใหบ้ ริการในมมุ ส่งเสริมการอา่ น
๕.๔ ติดตามผล ประเมินผล รายงานผล

๖. ผลการดำเนนิ งาน
๖.๑ เชิงปริมาณ

ท่ี กศน.อำเภอ สถานท่จี ัดมมุ จำนวนผู้เข้าใช้บริการ (คน) เฉล่ยี วันละ

(แหง่ ) ไตรมาส (คน)

1 ตะโหมด 1234
รวม
3 267 284 134 381 3
3 267 284 134 381 3

๖.๒ เชิงคุณภาพ
- หนว่ ยงานภาคีเครอื ข่าย มีมุมส่งเสรมิ การอ่านท่เี ออื้ ต่อการเรียนรูแ้ ก่ประชาชนทุกชว่ งวัย

๗.สถานทีท่ ่ีสำคัญในการจดั มุมส่งเสริมการอ่าน ได้แก่
๑. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล บา้ นโหละ๊ บ้า ต.คลองใหญ่
๒. เทศบาลตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด
๓. ศูนยเ์ รียนร้ภู ูฟา่ ตำบลตะโหมด

๘๐

๘.ประโยชนท์ ผี่ ู้รับบริการได้รับ
- ผ้รู บั บรกิ ารไดอ้ า่ นหนังสือ, ส่ือทม่ี ีความสนใจ ได้รบั ความรู้ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน

๘๑

2) โครงการ”หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นทีส่ ำหรับชาวตลาด”ตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

1. หลกั การและความสำคญั

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้สำนักงาน กศน. ดำเนินการ ห้องสมุดเคล่ือนที่สำหรับชาวตลาด
ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือส่งเสริมการอ่านของประชาชน ชุมชนชาว
ตลาด อันจะนำไปสกู่ ารเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลายในการพฒั นาคุณภาพชีวิต

โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ สำนกั งาน กศน.จังหวดั พทั ลุง ได้ดำเนินการจัดต้ังห้องสมดุ เคลื่อนที่สำหรบั ชาว
ตลาด ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต้นแบบ จำนวน ๑ แห่ง และใน
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้มอบหมายให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอตะโหมดดำเนินการขับเคลื่อนห้องสมุดเคล่ือนที่สำหรับชาวตลาด จำนวน ๑ แห่ง ท่ีจะเริ่มต้น
กระบวนการส่งเสริมการอ่านที่เป็นจดุ แรกเรมิ่ ในการกระตุ้น ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดความสนใจและเห็นความสำคัญ
ของการอ่าน เพราะการอ่านเป็นสิ่งที่มนุษย์เราสร้างสรรค์ข้ึนเพ่ือตอบสนองความอยากรู้เรื่องราวสิ่งต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน
ในชีวิตและอยู่รอบ ๆ ตลอดการจดบันทึกนำไปสู่การสื่อสาร เกิดนวัตกรรมต่างๆที่พึงประโยชน์ต่อมนุษย์สู่การ
ดำรงชีวิต ในพื้นที่ที่เป็นตลาด ที่มีผู้คนชาวชุมชนในพ้ืนที่จับจ่ายซื้อสินค้า เพ่ือการอุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน
จึงอาศัยตลาดของชุมชน โดยสามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ประเภทต่างๆ บรรจุทรัพยากรสารสนเทศ เคล่ือนย้ายไปยัง
สถานท่ีต่างๆ เช่น กล่องหนังสือ ถุงหนงั สอื ย่ามหนังสือ เป็นการสร้างนสิ ัยรักการอา่ นตามความสนใจของประชาชน
ทกุ ชว่ งวยั

๒. วตั ถปุ ระสงค์
๒.๑ เพ่อื สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับชุมชนชาวตลาด จำนวน ๑ แห่ง ตามการจดั

กิจกรรมรูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศัย
๒.๒ เพื่อให้ประชาชนในพ้นื ท่ีชุมชนชาวตลาดได้เข้าถึงส่ือของหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอตะโหมด

๓. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย ประชาชนทกุ ช่วงวยั

๔. งบประมาณ -

๕. ขัน้ ตอนการดำเนินงาน
๕.๑ ประสานภาคเี ครอื ขา่ ย เพอ่ื ขอใช้สถานท่ีในการจัดหอ้ งสมุดเคลื่อนที่สำหรบั ชาวตลาด
๕.๒ หมนุ เวยี นหนงั สอื ออกให้บริการในห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรบั ชาวตลาด
๕.๓ จดั ทำหนงั สืออา่ นฟรี E-BOOKS เคล่อื นที่ , QR CODE ให้บรกิ าร
๕.๔ ติดตามผล ประเมินผล รายงานผล

๘๒

๖. ผลการดำเนินงาน
๖.๑ เชิงปรมิ าณ

ตารางผู้รับบรกิ ารหอ้ งสมดุ เคล่อื นท่สี ำหรบั ชาวตลาดประจำปงี บประมาณ 2563 (ไตรมาส 1 – 4 )

ลำดับ กศน.อำเภอ จำนวนตลาด ชอ่ื ตลาด จำนวนผู้เขา้ ใชบ้ ริการ หมายเหตุ
ท่ี ที่ไดจ้ ัดตั้ง (คน)
(แห่ง) ไตรมาส

1234

1 ตะโหมด 2 ตลาดสมพร 207 213 140 265

ตลาดนัดบ้านควนปาบ 195 214 152 262

รวม 402 427 292 527

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ

- ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะโหมด สามารถจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชนทกุ ชว่ งวยั ให้เกดิ

นสิ ยั รกั การอา่ น และสามารถเพม่ิ เติมความรู้ได้

๗.ประโยชนท์ ่ีผูร้ ับบรกิ ารไดร้ ับ
เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป ได้รับความรจู้ ากการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน สามารถใชเ้ วลาวา่ งให้เกิด

ประโยชน์และได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ซง่ึ กันและกัน

๘๓

3) โครงการหนงั สือดีสูน่ ักอ่านมือใหม่ (การรบั บริจาคหนงั สอื )

๑. หลกั การและความสำคญั
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดให้ปี พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๒ เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน โดยมีมติ

คณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ กำหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ และให้วันที่ ๒ เมษายน ของทุกปีเป็นวันรักการ
อ่าน โดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินการจั ดกิจกรรมตาม
โครงการบรรณสญั จร (Book Voyage) ประจำปี ๒๕๕๙ และปี ๒๕๖๐ มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือระดมสรรพกำลังทกุ ภาค
ส่วนสนับสนุนทรัพยากรด้านการอ่านให้แก่ห้องสมุดประชาชนและบ้านหนังสือชุมชนที่มีอยู่ในพื้นท่ีตำบลต่าง ๆ
โดยวิธีการท่ีหลากหลายตามความเหมาะสม โดยให้หน่วยงานและสถานศึกษาทุกแห่งร่วมกำหนดจัดกิจกรรมในวัน
อาทิตย์ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา จนประสบผลสำเร็จทำให้บ้านหนังสือชุมชนมีหนังสือหมุนเวียน มีส่ือ
หลากหลายเพ่มิ ขึ้น ทำใหป้ ระชาชนในพน้ื ท่ีรกั การอ่านมากขึน้

สำหรับในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมดยังคง
เห็นความสำคัญของโครงการบรรณสัญจร (Book Voyage) และได้เปล่ียนชื่อเป็น โครงการหนังสือดี สู่นักอ่าน
มือใหม่ (การรับบริจาคหนังสือ) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพ่ือตั้งจุดรับบริจาคหนังสือเพ่ือสนับสนุนสื่อไปยังภาคีเครือข่ายที่
เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่าน “เมืองลุง เมืองนักอ่าน เมืองสร้างสุข” และโครงการพัฒนาบ้านหนังสือชุมชน
โดยต้ังเป้ารับบริจาคหนังสือ จุดละไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ เล่ม ซึ่งจะสามารถขับเคล่ือนการอ่านท่ีเป็นเครื่องมือท่ีมี
ความสำคัญในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนและประชาชนทุกช่วงวัย และสามารถนำ
ความรทู้ ีไ่ ด้จากการอา่ นไปพฒั นางานของตนได้

๒. วตั ถุประสงค์
๒.๑ เพ่อื สนับสนุนการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านให้กับชุมชนและภาคเี ครือขา่ ยตามการจดั กจิ กรรม

การศกึ ษาตามอัธยาศยั
๒.๒ เพ่อื รณรงคส์ ง่ เสรมิ การอ่านใหก้ ับนกั ศึกษา กศน. ประชาชนทุกช่วงวัย และให้ทุกภาคสว่ นมีสว่ นรว่ ม

ในการบริจาคหนังสือ

๓. ประเภทกล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนทุกช่วงวัย

๔. งบประมาณ -

๕. ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน
๕.๑ ตงั้ จดุ รบั บริจาคหนังสอื ณ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอตะโหมด และกศน.ตำบลในอำเภอตะโหมด
๕.๒ คดั เลือกหนังสอื และมอบใหอ้ าสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่านกระจายหนังสือสู่บ้านหนังสอื ชุมชน
๕.๓ ตดิ ตามผล ประเมินผล รายงานผล

๖. ผลการดำเนินงาน
๖.๑ เชงิ ปริมาณ

๘๔

ตารางขอ้ มูลการรับบริจาคหนงั สอื ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ (ไตรมาส ๑-๔)

ที่ ชือ่ หน่วยงาน/ เป้าหมาย รับบรจิ าคได้ หนงั สือใหม่ มลู ค่า เฉล่ยี หนังสือที่

สถานศึกษา (ทั้งปี/เลม่ ) จำนวน/เล่ม (เลม่ ) (บาท) ได้มอบให้กับ

จุดตั้งรับบรจิ าค บ้านหนงั สอื

หนังสือ ชมุ ชน (แหง่ /

เล่ม)

1 ตะโหมด 1,200 1,071 - - แหง่ ละ 65 เล่ม

รวม 1,200 1,071 - -

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
- บา้ นหนงั สอื ชมุ ชนมีหนงั สือท่ีหลากหลาย สามารถให้บริการแกป่ ระชาชนได้ทกุ ช่วงวัย

๗.ประโยชน์ทีผ่ ู้รับบริการได้รับ
ได้รบั หนังสือท่ีมีคุณภาพ สามารถนำไปให้บริการในบ้านหนังสือชมุ ชน หรอื จุดบริการอื่นในพ้ืนท่ีอำเภอตะ

โหมดได้

๔) โครงการพัฒนาบ้านหนงั สอื ชุมชน

๑. หลักการและความสำคญั
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายดำเนินงานด้านการส่งเสริมการอ่านของประชาชนทุก

กลุ่มเป้าหมายโดยมุ่งหวังให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน และกำหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ –

๘๕

๒๕๖๑ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายด้านการส่งเสริมการอ่าน โดย สำนักงาน กศน.ได้กำหนดเป้าหมายและ
จุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี ๒๕๖๓ ในยุทธศาสตร์ที่ ๓
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๒ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการบริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่ง
สารสนเทศสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นท่ีการเรียนรู้สำหรับคนทุก
ช่วงวัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสำหรับ
ผู้ใช้บริการ ขอ้ ๓.๓ ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ที่ทนั สมัยและมีประสทิ ธภิ าพ เอือ้ ต่อการเรียนรสู้ ำหรับทุกคน สามารถ
เรียนได้ทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพการ
เรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเช่ื อมโยง
ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู่การจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน ข้อ๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคี
เครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการ
สง่ เสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรใู้ ห้กบั ประชาชนอย่างมคี ุณภาพ ข้อย่อยท่ี ๒) ส่งเสริมภูมิปัญญา
ท้องถ่ินสู่การจัดการเรียนรู้ชุมชน ข้อย่อยท่ี๓) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อการขยายและพัฒนา
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ
กลุ่มผสู้ ูงอายุ กลุ่มอสม.

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมบ้าน
หนังสือชุมชนมาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี โดยในปี ๒๕๖๒ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพัทลุง ได้มอบหมายให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอทุก
แห่งดำเนินการจัดตั้งและส่งเสริมสนับสนุนบ้านหนังสือชุมชนในชุมชนจังหวัดพัทลุง เพิ่มตำบลละ ๑ แห่ง
จากเดิม ๑๓ แห่ง เป็น ๑๖ แหง่ เพื่อเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวติ เสรมิ สร้างและ
พัฒนาความรู้ความคิดข้อมูลข่าวสาร ให้เพ่ิมพูน ทันต่อเหตุการณ์ สร้างความเพลิดเพลิน ระดับสติปัญญาให้สูงข้ึน
จากส่ือส่ิงพิมพ์ต่างๆ และเทคโนโลยีท่ีหลากหลาย ของประชาชน ในหมู่บ้าน ชุมชน ตามความต้องการของทุก
กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่การเรียนรู้ และการหันหน้ารวมกลุ่มพัฒนาศักยภาพบ้านหนังสือชุมชนถ่ายทอดและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากวิทยากร ภมู ปิ ญั ญาของชุมชน เพื่อสร้างเป็นชุมชนรกั การอา่ นต่อไป

๒. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพ่ือส่งเสริมสนับสนนุ การจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในบ้านหนังสือชุมชนใหก้ ับ นักศึกษา กศน. และ

ประชาชนทุกชว่ งวัย ในรปู แบบการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๒ เพ่อื ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดชมุ ชนรักการอา่ น โดยใช้กระบวนการมีสว่ นร่วมของภาคเี ครือขา่ ยในการจดั กิจกรรม

สง่ เสริมการอา่ น

๓. ประเภทกลุ่มเปา้ หมาย ประชาชนทกุ ชว่ งวยั

๔. งบประมาณ -

๕. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน
๕.๑ ประชมุ วางแผนการจัดทำแผนการจดั กิจกรรม
๕.๒ คัดเลอื กหนงั สอื มอบให้อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่านนำไปหมุนเวียนในบา้ นหนงั สือชุมชน
๕.๓ ดำเนินการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นในบา้ นหนงั สอื ชุมชน

๘๖

๕.๔ ติดตามผล ประเมนิ ผล รายงานผล

๖. ผลการดำเนนิ งาน

๖.๑ เชงิ ปรมิ าณ

ตารางขอ้ มูลผู้รบั บริการการส่งเสรมิ การอา่ นในบา้ นหนังสอื ชุมชน ประจำปี 2563

ไตรมาส 1 – 4

ท่ี สถานศึกษา จำนวนบ้าน จำนวนผู้เขา้ ใชบ้ ริการ(คน) เฉลย่ี วนั ละ

หนงั สอื (แห่ง) ไตรมาส (คน)

๑ ตะโหมด 1 234
รวม 16 1,182 1,047 733 1,384 12
16 1,182 1,047 733 1,384 12

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
- ประชาชนทุกช่วงวยั สามารถเขา้ ถึงส่อื หนงั สือได้สะดวกย่ิงขน้ึ สามารถอา่ นหนังสือที่ต้องการไดแ้ มจ้ ะไม่
ได้มาท่หี ้องสมุดประชาชน

๗.รปู แบบกิจกรรมทีโ่ ดดเด่นถือว่าเปน็ Best practice ในการจัดกิจกรรมนี้ คอื (พร้อมคำอธิบาย)

- กิจกรรมระบายสีภาพ 3 มิติ ทป่ี ระยุกต์ใช้ แอพพลเิ คชั่นในโทรศัพท์มือถอื และ แทปเล็ต มาช่วยดึงดูด
ความสนใจของกล่มุ เปา้ หมาย ใหเ้ กดิ ความนา่ สนใจและให้ความรว่ มมือกับการจดั กจิ กรรมในทุก ๆ คร้งั

๘.ประโยชนท์ ่ผี ู้รบั บริการได้รบั
ประชาชนเขา้ มาใช้บริการบา้ นหนังสือชุมชนเพ่มิ ขนึ้ เกดิ นิสัยรกั การอ่าน

๘๗

๕) โครงการ กศน. สร้างสขุ เพือ่ ประชาชน
๑. หลกั การและความสำคญั

การส่งเสริมการอ่านที่จะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีสำคัญ ท่ีดำเนินงานส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้
ประชาชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนจะได้รับความรู้ความเข้าใจ เพิ่มพูนความเฉลียวฉลาดและสติปัญญา
ซ่ึงจะต้องประกอบไปด้วยการใช้ประสาทสัมผัสของตนเองเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ เช่นการใช้ตา หู สมองและ
ความคิด ท่ีได้รับการกระตุ้นจากกิจกรรมต่างๆ เร้าให้เกิดความคิด และโดยเร่ิมต้นการกระบวนการสง่ เสริมการอ่าน
ที่เป็นจุดแรกเร่ิมในการกระตุ้น ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดความสนใจและเห็นความสำคัญของการอ่าน เพราะการอ่าน
เป็นส่ิงท่ีมนุษย์เราสร้างสรรค์ขึ้นเพ่ือตอบสนองความอยากรู้เรื่องราวส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและอยู่รอบ ๆ ตลอด
การจดบันทกึ นำไปส่กู ารส่ือสาร เกดิ นวัตกรรมตา่ งๆท่ีพงึ ประโยชน์ตอ่ มนษุ ยส์ ู่การดำรงชีวติ

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้ดำเนินโครงการ กศน.สร้างสขุ เพ่ือ
ประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นให้กับชมุ ชนและภาคีเครือข่ายตามการ

๘๘

จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ซง่ึ ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านโดยมีส่ือบริการท่ีหลากหลาย พร้อมทั้ง
ให้คำแนะนำข้อมูลสารสนเทศแก่ประชาชนในพืน้ ที่ โดยบูรณาการร่วมกับหนว่ ยงานและภาคเี ครือข่ายในอำเภอตะ
โหมด ในการกระตุ้นให้เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ตลอดประชาชนทั่วไป และตระหนกั ถึงความสำคัญของการ
อ่าน ตามการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย ท่ีเป็นจุดเร่ิมต้นในการบ่ม
เพาะความสำคัญของการอ่านทั้งนี้ เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด โดยส่งเสริมให้กลุ่มเด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้รวมกลุ่มทำกิจกรรม
สร้างสรรค์ ยกระดับคณุ ภาพชีวิตด้วยการอา่ น สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ เปดิ พื้นที่ใหไ้ ดจ้ ดั กจิ กรรมร่วมกนั

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพอ่ื จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นเคลื่อนที่เชงิ รกุ โดยมหี ้องสมดุ ประชาชน กศน.ตำบล และภาคี

เครือข่ายร่วมจัดกิจกรรมตามรูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศัย
๒.๒ เพ่ือสนับสนุนการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นให้กบั ชุมชนและภาคเี ครือขา่ ยตามการจดั กิจกรรม

การศกึ ษาตามอัธยาศยั

๓. ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนทุกช่วงวัย

๔. งบประมาณ -

๕. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน
๕.๑ ประชมุ วางแผนการดำเนินงานโครงการ กศน.สร้างสุข เพอื่ ประชาชน
๕.๒ จัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านเคลอ่ื นทสี่ ูช่ ุมชนร่วมกับหน่วยงานภาครฐั /เอกชนและชุมชน
๕.๓ ติดตามผล ประเมินผล รายงานผล

๖. ผลการดำเนินงาน

๖.๑ เชิงปรมิ าณ

ตารางกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านเคลอ่ื นที่สู่ชมุ ชน ประจำปี ๒๕๖3 (ไตรมาส 1 – 4 )

ที่ กศน.อำเภอ จำนวนครั้ง จำนวนผ้รู บั บริการ หมายเหตุ

(คน)

ไตรมาส

1 2 34

๑ กศน.อำเภอตะโหมด 7 624 1,524 - -

รวม 624 1,524

๖.๒ เชิงคณุ ภาพ

- ประชาชนทกุ ช่วงวัย ไดร้ ับความรู้ จากการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ได้

๗. ประโยชนท์ ี่ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ ับ
๗.๑ ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ไดร้ บั ความรจู้ ากการทำกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน เกดิ นิสัยรกั การอ่าน สามารถนำ

ความรทู้ ีไ่ ด้ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้

๘๙

๗.๒ หน่วยงานภาคเี ครอื ข่าย มีสว่ นรว่ มในการสง่ เสริมการอ่านและสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต
เพ่ือโอกาสและคณุ ภาพทางการศกึ ษาของประชาชนทุกชว่ งวัย

๖) โครงการ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน
๑. หลักการและความสำคัญ

“การอ่าน” เป็นทักษะจำเป็นต่อการเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการคิด และภูมิปัญญา นำไปสู่การพัฒนา
คณุ ภาพคน สังคมและประเทศ แต่คนไทยยังไม่ค่อยรักการอ่าน ซ่ึงผลสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือ ของคนไทย
พบว่าคนไทยอ่านหนังสือเฉล่ียเพียงปีละ 5 เล่ม ต่อคน นับว่าต่ำมาก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ สมาชิกอาเซียน
อย่างเช่น ประเทศมาเลเซีย มีสถิติการอ่านหนังสือปีละ 40 เล่มต่อคน หรือประเทศสิงคโปร์ เฉล่ียปีละ 70 เล่มต่อคน
แม้แต่เวียดนาม ที่มีการอ่านหนังสือปีละ 60 เล่มต่อคน กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศที่มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555 -
2559) โดยมุ่งสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้ เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน มีวินัยใฝ่รู้ รักการอ่านต้ังแต่วัยเด็ก
และส่งเสริมเรียนรู้ร่วมกันของคนต่าง วัย ควบคู่กับการส่งเสริมให้องค์กร กลุ่มบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อ
ทุกประเภทเป็นแหล่งเรียนรู้อย่าง สร้างสรรค์ สื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ร่วมถึงส่งเสริมการศึกษาทางเลือก
ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ และสนับสนุนปัจจัยที่ก่อให้เกิด
การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด เห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้ดำเนิน
จัดโครงการ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นและเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านให้กับ
ประชาชน ให้กับชุมชนและภาคีเครือข่ายตามการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงดำเนินการจัดกิจกรรม

๙๐

ส่งเสริมการอ่านโดยมีสื่อบริการท่ีหลากหลาย พร้อมท้ังให้คำแนะนำข้อมูลสารสนเทศแก่ประชาชนในพ้ืนที่ โดย
บูรณาการร่วมกับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายในอำเภอตะโหมด ในการกระตุ้นให้เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา
ตลอดประชาชนท่ัวไป และตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน ตามการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้
ในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย ท่ีเป็นจุดเริ่มต้นในการบ่มเพาะความสำคัญของการอ่านท้ังนี้ เพ่ือเป็นการ
ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด โดยส่งเสริม
ให้กลมุ่ เดก็ เยาวชน และประชาชนทั่วไป ไดร้ วมกลุ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์ ยกระดับคุณภาพชีวติ ด้วยการอา่ น สรา้ ง
อาชพี สรา้ งรายได้ เปิดพ้ืนท่ใี ห้ได้จัดกจิ กรรมร่วมกนั

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพ่ือกระต้นุ และเสริมสรา้ งนิสัยรกั การอ่านให้กับประชาชน
๒.๒ เพื่อสนบั สนุนการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านให้กบั ชุมชนและภาคีเครือข่ายตามการจดั กิจกรรม

การศกึ ษาตามอัธยาศัย

๓. ประเภทกล่มุ เปา้ หมาย นกั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไปจำนวน 60 คน

๔. งบประมาณ -

๕. ขั้นตอนการดำเนินงาน
๕.๑ ประชมุ วางแผนการดำเนินงานโครงการ อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน
๕.๒ จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านโดยใช้ อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น ขับเคลอ่ื นการอา่ นสู่ชุมชน
๕.๓ ติดตามผล ประเมนิ ผล รายงานผล

๖. ผลการดำเนนิ งาน
๖.๑ เชงิ ปริมาณ
ตารางการบริการอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่านประจำปี 2563
กศน.ตำบลแมข่ รี

ชือ่ – สกลุ จำนวนกลมุ่ เป้าหมายที่
อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน
ท่ี อายุ อยหู่ ม่ทู ่ี อาชีพ ได้ขยายการส่งเสริมการ

อ่านให้กบั คนในชุมชน

๑ นางรตั ตยิ า เหมมนั 48 11 ทำสวน 11
2 นางซารีนา จงกลบาล
3 นายสหลาม จงกลบาล 38 11 รบั จา้ ง 9
4 นางสายพิน พลู สวัสด์ิ
5 นายพิชัย ชนะสงคราม 48 11 ทำสวน 12
6 นางศรคี นึง ศรีเจา้
7 นางวนั เพญ็ สงั เขตร 46 5 ทำสวน 13
8 น.ส.เกศินี คมขำ
42 ๕ รบั จา้ ง 10

42 9 รบั จา้ ง 11

52 11 รบั จา้ ง 10

25 5 ทำสวน 13

9 น.ส.ชลธชิ า จนั ทรอ์ ุทยั 17 8 รบั จ้าง ๙๑
10 น.ส.ศรตุ า ถวายเทียน 16 3 ทำสวน
11 นางมูนะ พงฆ์พยบั 48 2 ทำสวน 14
12 นายเชาวลติ จำนงค์ 56 5 ทำสวน 12
13 นางสาวกุสุมา วจิ ารณ์ 46 ๒ รับจา้ ง 15
14 นางอำพล ไชยโยธา 53 ๑๐ ทำสวน 11
15 นางอัชราพร สวนแก้ว 61 ๑๐ ทำสวน 12
14
รวม 9
176

กศน.ตำบลคลองใหญ่

ท่ี ชือ่ – สกุล อายุ อยหู่ มทู่ ี่ อาชพี จำนวนกลมุ่ เปา้ หมายทีไ่ ด้
อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน ขยายการสง่ เสรมิ การอา่ น
48 2 เกษตรกรรม
๑ นางณฏั ฐช์ ญา ศรไี ทย 46 6 เกษตรกรรม 125
65 10 เกษตรกรรม 85
2 นางสทุ ธริ ัตน์ ศรีชทู อง 40 7 95
45 2 รับจ้าง 89
3 นางมณั ฑนา คงประพนั ธ์ 48 8 เกษตรกรรม 238
63 4 เกษตรกรรม 195
4 นางภาวนา วัฒขาว 42 9 เกษตรกรรม 78
46 3 93
5 นางสาวจรยิ า ไชยโยธา 58 1 คา้ ขาย 102
56 5 เกษตรกรรม 75
6 นางสนุ นั ทา อุทยั รงั ษี 16 3 เกษตรกรรม 78
57 2 95
7 นางกลั ยา ศรสี วา่ ง 33 5 รับจ้าง 82
46 4 นกั ศึกษา 68
8 นางสาวพรทิพย์ หน๊องมา เกษตรกรรม 76
รับจ้าง 1,574
9 นางสาวสาริมะ ดำรักษ์ รับราชการ
จำนวนกลมุ่ เป้าหมายท่ีได้
10 นางจรนิ ทร์ เพชรโชติ

11 นางอนุรกั ษ์ จนั ทร์เพชรพูล

12 นางสาวมซู นั นา แหละปานแกว้

13 นางอารดา เภอเกล้ยี ง

14 นางสาวอัญชลพี ร พละปี

15 นางจิราวดี มุสกิ

รวม

กศน.ตำบลตะโหมด

ท่ี ชอ่ื – สกุล อายุ อย่หู มู่ท่ี อาชพี

อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอา่ น 15 4 ๙๒
15 10
๑ นางสาวบุญยาพร เสนาจนั ทร์ 17 9 ขยายการส่งเสรมิ การอา่ น
2 นางสาวสกุลทอง ปน่ิ ทอง 18 9
3 นางสาวใหมน่ ภา หนูปาน 15 1 ทำสวน 5
4 นายพุทธรัตน์ ชว่ ยชุม่ ชาติ 17 1 ทำสวน 10
5 นางสาวบงกช เฝาชู 17 1 ค้าขาย 5
6 นายภูมินทร์ บญุ รตั น์ 15 11 ทำสวน 5
7 นายชยั นลิ ศรีรกั ษา 15 5 ค้าขาย 10
8 นายจตุรพชิ ศรีสจั จา 21 9 ทำสวน 5
9 นายสิรดนยั แสงทอง 19 9 ทำสวน 10
10 นางสาวปทั มา หนูปาน 17 12 ทำสวน 10
11 นายประวิทย์ พลเพชร 17 2 ทำสวน 5
12 นายธธี ชั ชแู กว้ 17 10 ทำสวน 10
13 นางสาวจนั ทรา หมดั ยโู สะ๊ 16 1 ทำสวน 12
14 นายกนั ตพงษ์ ทองงาม รบั จา้ ง 15
15 นายธนรัตน์ ณ สวุ รรณ รบั จ้าง 15
รับจา้ ง 10
รวม รับจา้ ง 10

137

ศรช.เทศบาลเขาหวั ช้าง (ตำบลตะโหมด)

ที่ ช่อื – สกลุ อายุ อยหู่ มทู่ ี่ อาชพี จำนวนกลมุ่ เป้าหมายที่
อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น ได้ขยายการส่งเสริมการ
50 10 ทำสวน อ่านให้กบั คนในชุมชน
๑ นางสาวรุจี สุขผอม 26 4 ทำสวน
2 นายชาญชยั สุขศขุ 17 8 ทำสวน 12
3 นางสาวจสั มนิ สงั สุด 18 7 ทำสวน 12
4 นางสาวญามีหละฮ์ โตะ๊ หวงั 49 6 ค้าขาย 13
5 นางสาวสุภาพร อกั ษรเป่ยี ม 52 6 ทำสวน 15
6 นางสาวสุทิพย์ บวั ทอง 21 6 ทำสวน 10
7 นางสาวอสั ริยา อินทรกั ษ์ 49 7 ทำสวน 11
8 นายนพรัตน์ เอียดตรง 52 10 ทำสวน 11
9 นายอำนาจ สมเพชร 49 2 ทำสวน 16
10 นางสาววไิ ลพร กำแสงส่อง 54 5 ทำสวน 15
11 นายมาหมดั ซาเฮาะ 46 10 ทำสวน 14
12 นางสาวสุจนิ ต์ นวลทอง 22 2 ทำสวน 13
13 นางสาวสุกัญญา สินธุ์เสน 17 5 ทำสวน 12
14 นางสาวพิชาภา ศรีสงคราม 63 7 ทำสวน 13
15 นายสราวธุ เป้าปรางค์ 14
12

๙๓

รวม 193

๖.๒ เชิงคณุ ภาพ
- ประชาชนทกุ ชว่ งวยั ได้รบั ความรู้ จากการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน สามารถนำความร้ไู ปใชใ้ นชวี ิตได้
๗. ประโยชน์ทผี่ ูร้ บั บรกิ ารได้รบั
๗.๑ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ได้รบั ความรู้จากการทำกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน เกิดนิสัยรกั การอา่ น สามารถนำ
ความรู้ท่ีได้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
๗.๒ หนว่ ยงานภาคีเครือข่าย มสี ่วนรว่ มในการสง่ เสริมการอ่านและสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
เพอ่ื โอกาสและคุณภาพทางการศกึ ษาของประชาชนทุกชว่ งวยั

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน การจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพรูปแบบกลุ่มสนใจ

๑. ช่ือโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชพี รูปแบบกลุ่มสนใจ

๒. สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖3

เปา้ ประสงค์
ขอ้ ท่ี ๒ ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ความเปน็ พลเมือง

ทส่ี อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชุมชน เพอื่ พัฒนาไปส่คู วามม่นั คงและยงั่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และส่งิ แวดล้อม

ตวั ชว้ี ดั เชิงปริมาณ
ข้อท่ี ๒ จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ต่อเนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยท่สี อดคล้องกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ
ตัวช้วี ดั เชงิ คุณภาพ
ข้อท่ี ๓ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทยี บกบั เปา้ หมาย
ข้อท่ี 6 ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมท่ีสามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย

ของหลักสูตร/กิจกรรม การศึกษาตอ่ เนอื่ ง

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
ตัวชว้ี ัด

๙๔

(๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย ประเด็นข้อท่ี ๒
การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดย (๓) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงาน
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด

นโยบายเรง่ ดว่ นเพ่ือร่วมขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
๒.๑ ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ อุตสาหกรรม

เป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีเขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขต
พัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สําหรับพื้นท่ีปกติให้พัฒนาอาชีพท่ีเน้น การต่อยอดศักยภาพและตาม
บริบทของพน้ื ที่

ภารกิจต่อเนื่อง
ขอ้ ที่ ๑ ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง
๑) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่อื การมงี านทำอย่างยง่ั ยนื โดยใหค้ วามสำคัญกบั การจัดการศกึ ษาอาชีพ

เพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการ รวมถึงการเน้นอาชีพชา่ งพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละ
พ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจน สร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนง่ึ อาชีพเด่น รวมท้ังใหม้ ีการกำกับติดตาม และ
รายงาน ผลการจัดการศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทำอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง
๓. วตั ถุประสงค์

๓.๑ เพื่อใหป้ ระชาชนท่ีมีอาชีพอยู่แลว้ และต้องการพัฒนาตอ่ ยอดอาชีพเดิม หรือที่ยังไม่มีอาชพี ไดม้ ีฝึกทักษะ
อาชพี ในหลกั สตู รระยะส้ันเพื่อเป็นผู้ประกอบการ

๓.๒ เพ่อื สรา้ งเครอื ขา่ ยในลักษณะวสิ าหกจิ ชุมชน โดยใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ให้กบั สนิ ค้า ทำ
ชอ่ งทางเผยแพร่และจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร

๓.๓ เพื่อให้ประชาชนได้มอี าชีพ มีงานทำ พ่ึงพาตนเองได้ชุมชนมีรายได้ มีความมน่ั คง ม่ังค่ัง ยั่งยืน
เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เก่ียวกับการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพหรือต่อยอดอาชีพเดิมท่ีสามารถนำความรู้
ท่ีได้ไปประกอบอาชีพได้จริง ทำให้มีรายได้ มีงานทำท่ียั่งยืน พ่ึงพาตนเองได้ เกิดการสร้างงานในชุมช น พัฒนาสู่
ผปู้ ระกอบการ และดำรงชีวติ อย่ใู นสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข
๔. เป้าหมาย

ประชาชนทวั่ ไป จำนวน 72 คน

๙๕

๕. กจิ กรรมท่ีดำเนินงาน
๕.๑ วางแผนการดำเนนิ งานจัดการศกึ ษาในรปู แบบกลุ่มสนใจ ไมเ่ กิน ๓๐ ช่วั โมง
๕.๒ จดั เวทปี ระชาคม/ประชาสัมพนั ธ/์ สำรวจความต้องการและการรับสมัครกลุม่ เป้าหมาย
๕.๓ ประสานผูเ้ ก่ียวขอ้ ง/สรรหาวทิ ยากร
๕.๔ ขออนมุ ัตจิ ดั โครงการ
๕.๕ จัดหาส่อื /จดั ทำแผนการเรียนรูแ้ ละดำเนินจดั การเรยี นรู้ตามแผน(เนน้ การฝกึ ทักษะปฏบิ ตั จิ รงิ )
๕.๖ นเิ ทศ ตดิ ตามผล
๕.๗ วัดผลและประเมนิ ผล/รายงานผล /ขออนมุ ตั จิ บ/ออกประกาศนยี บัตร
๕.๘ ตดิ ตามการนำไปใชป้ ระโยชน์
๕.๙ สรุปผลการดำเนินการ

๖. ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมายโครงการทั้งในเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ

๖.๑ เชงิ ปริมาณ

แผน ผล จำนวนผผู้ ่านการอบรมอาชพี
จำแนก(คน)

ที่ กศน.ตำบล กิจกรรม/หลกั สตู ร จำนวน รวม พัฒนา สร้าง ตอ่ ทำ
(คน) ชาย หญงิ ตนเอง อาชพี ยอด เป็น
และ ใหม่ อาชพี อาชีพ
ครอบครัว เดมิ เสรมิ

การทำปลาส้ม - 12 12 6 1 2 3
๑. แม่ขรี การทำขนั หมากอสิ ลาม 1 11 12 6 1 1 4

การแปรรปู เหด็ - 12 12 7 2 1 2

การทำแกงไตปลาแหง้ กระป๋อง -8 8 3 - -5

การทำโลชัน่ และสเปรยก์ นั ยงุ จาก - 10 10 9 - - 1
2. คลองใหญ่ ตะไคร้หอม
การแปรรูปตะลงิ ปลิง 72 - 8 8 3 - - 5

การทำนำ้ พรกิ สมนุ ไพร -8 8 2 - -6

การทำผ้ามัดย้อม - 13 13 - 2 3 8

3. ตะโหมด การทำพวงกญุ แจจากไม้มะขาม - 10 10 5 - - 5
(ของท่รี ะลึก , ของฝาก)

การทำเจลแอลกออฮล์ล้างมือ - 10 15 12 - - 3

4. ศรช.ทต. การทำลปิ สตกิ จากผึง้ โพรงไทย 5 5 10 - - 5 5

๙๖

เขาหวั ชา้ ง การทำท๊อฟฟฟ่ีนำ้ ผงึ้ รสผลไม้ 5 5 10 - - 55
การทำผา้ มัดย้อม - 10 10 4 3-3
รวม 72 11 127 138 57 9 17 55

๖.๒ เชิงคุณภาพ
รอ้ ยละ ๘๐ ของกล่มุ เป้าหมายสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพได้จรงิ ทำใหม้ ีรายได้ มีงานทำ

ทยี่ ่ังยนื พง่ึ พาตนเองได้ เกิดการสรา้ งงานในชมุ ชน พัฒนาสู่การประกอบอาชพี ดำรงตนอยใู่ นสังคมไดย้ า่ งมคี วามสขุ

๗. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะของโครงการ

ปัญหาอุปสรรค
๑) งบประมาณทไี่ ดร้ ับจัดสรรนอ้ ยไมเ่ พยี งพอในการจดั ซื้อจดั หาวัสดฝุ ึกสำหรบั ใชใ้ นการเรียนรู้
๒) ระเบยี บการจัดซ้อื จัดหาวสั ดสุ ำหรบั ใชใ้ นการเรียนรไู้ ม่เอต้อการจดั ห่าวสั ดุการเรยี นรู้

เช่น ถ้าหลกั สตู รตำ่ กว่า ๔๐ ชวั่ โมง จะจัดซอ้ื ขดั หาวัสดุได้ไม่เกนิ ๑,๐๐๐.-บาท
๓) บางหลักสูตรทเ่ี ป็นทตี่ อ้ งการของชมุ ชนที่สามารถลดรายจ่ายภายในครัวเรือนได้ แตไ่ ม่สามารถ

ดำเนนิ การจัดไดเ้ นอ่ื งจากเป็นข้อกำหนดว่าไม่ควรจดั
4) การเกดิ โรคระบาดการตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID19) ทำใหก้ ารจัดกจิ กรรมเปน็ ไปดว้ ยความ

ลำบาก เชน่ ต้องจดั กิจกรรมเป็นกลุม่ คนจำนวนน้อย 3 – 5 คน ทำใหจ้ ำนวนชัว่ โมงสอนของวิทยากรมากขึ้นเป็นตน้

ขอ้ เสนอแนะ
๑) ควรมกี ารปรบั ระเบยี บในการจดั ซื้อจดั หาวัสดุฝกึ ให้สอดคล้องกับสภาพภาวะปัจจบุ ัน เพื่อให้

กลุม่ เปา้ หมายมวี ัสดุฝกึ เพียงพอในฝึกปฏบิ ัติ
๒) หลักสูตรทจี่ ัดควรสนองตอบความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายที่ตรงกบั บรบิ ทของพืน้ ที่


Click to View FlipBook Version