The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by copy_1686, 2020-11-16 09:20:35

รายงานผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด

สรุปผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น ประจำปี 2563

1



คำนำ

รายงานผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด เล่มนี้จัดทำขึ้นเพ่ือรายงานผล
การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแก่ประชาชน ในพื้นท่ีอำเภอตะโหมดและพ้ืนที่
ใกล้เคียงตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ตรงตามความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและบริบท
ของชุมชน เนน้ นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย กลยทุ ธ์การดำเนินงาน ของสำนักงาน กศน.

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ได้รวบรวมข้อมูล
ผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน โดยใช้หลักการดำเนินงานคุณภาพ PDCA
แบบครบวงจร เพ่ือใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศในการบริหารงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย เป็นประโยชนส์ ูงสุดต่อผเู้ รียนและผู้รับบริการตอ่ ไป

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ขอขอบคุณ ผู้บริหาร บุคลากร
และผู้เรียน/ผู้รับบริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงคณะกรรมการสถานศึกษาที่ให้ความร่วมมือและให้ข้อเสนอแนะที่เป็น
ประโยชน์ เพ่ือร่วมกันพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา สู่การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา หวังเป็น
อย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับน้ีจะเป็นแนวทางในการวางแผนและการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั ได้อย่างมีคณุ ภาพตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ทุกประการ

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด
13 พฤศจิกายน ๒๕๖3

สารบัญ ข

คำนำ หนา้
สารบญั ก

บทที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา 1
สภาพทัว่ ไปของสถานศกึ ษา 1
ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถานศึกษา 1
สภาพของชุมชน 2
คณะกรรมการ กศน.อำเภอตะโหมด 5
บคุ ลากร กศฯ.อำเภอตะโหมด 5
โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา 6
7
บทที่ 2 นโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน ของสำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 7
วสิ ยั ทัศน์ 7
พนั ธกจิ 7
เป้าประสงค์ 8
ตวั ช้วี ัด 9
นโยบายเร่งด่วนเพอ่ื รว่ มขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 13
ภารกิจตอ่ เน่ือง 19
22
บทท่ี 3 รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 25
โครงการสง่ เสริมการรู้หนงั สือ 29
โครงการการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 38
โครงการกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น 46
โครงการประเมนิ เทยี บระดับการศกึ ษา (ไต่ระดับ) 61
โครงการจดั การการศึกษาสำหรบั คนพิการ 70
โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต 75
โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน 80
โครงการจดั การเรยี นรูห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ 81
โครงการสง่ เสริมการอ่าน “เมืองลงุ เมืองนักอ่าน เมืองสรา้ งสุข” 85
โครงการกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นหอ้ งสมดุ ประชาชน
โครงการกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น “หอ้ งสมุดประชาชนสาขา” โดยใช้ กศน.ตำบลเปน็ ฐาน 86
โครงการกจิ กรรมจัดมุมส่งเสริมการอ่าน “ห้องสมุดบา้ นเรา” (สำหรับหน่วยงานภาคี
เครอื ข่าย)/”ห้องสมุด GUIDE (สำหรบั สถานทีท่ ่องเท่ียว) 88
โครงการกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านใน “วันรักการอ่าน”
โครงการ “ห้องสมุดเคล่ือนท่ีสำหรบั ชาวตลาดตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ 97
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
โครงการหนงั สือดีสนู่ ักอา่ นมือใหม่ (การบรจิ าคหนังสือ) 98



สารบญั (ต่อ) หนา้
100
โครงการพฒั นาบ้านหนงั สือชุมชน 111
โครงการโครงการ กศน.สรา้ งสขุ เพอื่ ประชาชน 110
อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน 111
โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน การจัดการศึกษาพฒั นาอาชพี รปู แบบกล่มุ สนใจ 124
โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน การจัดการศึกษาพฒั นาอาชพี รูปแบบชั้นเรยี นวิชาชีพ 133
โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน การจดั การศกึ ษาพัฒนาอาชีพรปู แบบ ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ 139
โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัลสำหรบั ประชาชน 111
โครงการนิเทศเพ่ือพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน ประจำปงี บประมาณ 2563 144
โครงการพฒั นาบุคลากรเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการปฏิบตั งิ าน 147
โครงการประกันคุณภาพการศกึ ษา 152
โครงการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ภาคผนวก
บคุ ลาการ กศน.อำเภอตะโหมด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
คณะผ้จู ดั ทำ



บทท่ี ๑

ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา

สภาพท่ัวไปของสถานศกึ ษา

ช่ือสถานศึกษา : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอตะโหมด

(Tamot District Non-Fomal and InFomal Educatoin centre)

ชือ่ ยอ่ กศน.อำเภอตะโหมด

ทอ่ี ยู่ : เลขที่ ๒๖๔/๕ หมู่ที่ ๑ ถนนประชาราม ตำบลแมข่ รี อำเภอ/เขต : ตะโหมด

จังหวัด : พัทลงุ รหสั ไปรษณีย์ : ๙๓๑๖๐

เบอร์โทรศัพท์ : ๐-๗๔๖๙-๕๐๙๖ เบอรโ์ ทรสาร : ๐-๗๔๖๙-๕๑๓๑

E–mail ติดตอ่ : [email protected]

สังกัด : สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั พทั ลุง

สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

ประวัตคิ วามเป็นมาของสถานศึกษา
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศจัดตั้ง

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอตะโหมด เม่ือวันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ซ่ึงเป็นสถานศึกษาสังกัด
กรมการศึกษานอกโรงเรียนและกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แต่งต้ัง นายวิรัตน์ สุขอ่อน ข้าราชการครูตำแหน่ง
อาจารย์ ๒ สงั กดั ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพัทลงุ ให้ปฏิบตั หิ นา้ ท่ใี นตำแหนง่ หัวหนา้ ศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษา
นอกโรงเรียนอำเภอตะโหมด ตั้งแตว่ ันท่ี ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๗ ถึงวันท่ี ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๒

วันท่ี ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ นายวิรัตน์ สุขอ่อน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
ศนู ยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอตะโหมด

พ.ศ. ๒๕๔๔ จังหวัดพัทลุงได้ประกาศจัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชน (ศรช.) จำนวน ๓ แห่ง คือ ศูนย์การเรียน
ชมุ ชนตำบลแม่ขรี ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนตำบลตะโหมด และศูนยก์ ารเรยี นชุมชนตำบลคลองใหญ่

พ.ศ. ๒๕๔๗ กรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
วันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ได้แต่งต้ังให้นายจรูญ อินขาว ดำรงตำแหน่ง
ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอตะโหมด แทน นายวิรัตน์ สุขอ่อน ซ่ึงย้ายไปดำรงตำแหน่ง
ผู้อำนวยการศูนยบ์ ริการการศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอป่าบอน

พ.ศ. ๒๕๔๙ จังหวัดพัทลุง ได้ประกาศจัดต้ังศูนย์การเรียนชุมชนเพ่ิมอีก ๒ แห่ง คือ ศูนย์การเรียนชุมชน
องค์การบริหารส่วนตำบลตะโหมด ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นศูนย์การเรียนชุมชนเทศบาลตำบล เขาหัวช้าง และศูนย์การ
เรียนชุมชนเทศบาลตำบลแม่ขรี แต่ไม่มคี รูศูนย์การเรียนชุมชนเนอื่ งจากนโยบายไม่ใหเ้ พมิ่ ครู ศูนย์การเรยี นชมุ ชน
จงึ ใหค้ รูอาสาฯ ปฏบิ ัติหน้าทแี่ ทน

พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้มีพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช
๒๕๕๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวนั ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๑ และมีผลบังคับใชต้ ้ังแต่วนั ที่ ๔ มนี าคม 2551

พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอตะโหมด จึงเปล่ียนชื่อเป็นศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ชื่อย่อว่า กศน.อำเภอตะโหมด ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ



ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันท่ี ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๑ และมีผลบังคับใช้
ตั้งแต่วนั ที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๑

วันท่ี ๓๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นายจรูญ อินขาว ผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อัธยาศัยอำเภอตะโหมด ย้ายไปดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอกงหรา

วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นางดัชณี ปิยะพงษ์ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอตะโหมด

วันท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ นางดัชณี ปิยะพงษ์ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด ย้ายไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์การศึก ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอศรบี รรพต

วันท่ี ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
พัทลุง ได้แต่งตั้งให้ นางอธิชา รจนะ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดพัทลุง รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอตะโหมด

วนั ที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ นางพิมพ์ถวิล พงศ์จันทรเสถียร ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอป่าบอน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมดแล้วเกษยี ณอายรุ าชการ

วันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕63 นายจงรักษ์ โปฎกรัตน์ ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
ได้รับการแต่งต้ังให้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
ตะโหมดแลว้ เกษยี ณอายุราชการ

วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕63 นายวุฒินันท์ นามนาค ตำแหน่งครูผู้ช่วย ได้รับการแต่งต้ังให้รักษาการ
ในตำแหน่งผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอตะโหมดจนถงึ ปจั จุบัน

สภาพของชุมชน ติดตอ่ กบั อำเภอบางแก้ว
อาณาเขตตดิ ต่อ ติดตอ่ กับอำเภอปา่ บอน
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับอำเภอบางแก้วและอำเภอป่าบอน
ทศิ ใต้ ติดต่อกับอำเภอกงหราและเทือกเขานครศรธี รรมราช
ทศิ ตะวันออก แบง่ เขตระหวา่ งจังหวดั พัทลงุ และจงั หวดั ตรัง
ทศิ ตะวนั ตก



คำว่า “ตะโหมด” ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้เพ้ียนมาจากคำว่า “โต๊ะหมูด” โดยในสมัยก่อนช่วงประมาณ
ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ตะโหมดมีฐานะเป็นเพียงตำบล ๆ หน่ึง ซึ่งข้ึนกับอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง โดยมี
ขุนประณามตะโหมดภัย (นายล้อม ชนะสิทธ์ิ) เป็นกำนัน ต่อมากรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ได้ประกาศกำหนดให้ตำบลตะโหมด ข้ึนกับอำเภอเขาชัยสน และได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะตำบล
ตะโหมด เป็นก่ิงอำเภอตะโหมด เม่ือวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๒๐ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้มีพระราชกฤษฎีกายก
ฐานะจากกิ่งอำเภอตะโหมด เป็นอำเภอตะโหมดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม ๑๐๓
ตอนที่ ๔๕ ลงวันท่ี ๒๐ มีนาคม ๒๕๒๙ และมีผลให้ก่ิงอำเภอตะโหมดมีฐานะ เป็นอำเภอ ตั้งแต่วันที่
๒๑ มนี าคม ๒๕๒๙ เป็นตน้ มา

อำเภอตะโหมด มีพ้ืนที่ท้ังหมด ประมาณ ๒๖๔ ตารางกิโลเมตร ต้ังอยู่หมู่ท่ี ๖ ตำบลแม่ขรี ห่างจาก ศาลากลาง
จังหวัดพัทลุงไปทางทิศใต้ตามเส้นทางถนนเพชรเกษม ไปทางหาดใหญ่ ระยะทาง ๓๘ กิโลเมตร แล้วแยกจากถนนเพชร
เกษมจากส่ีแยกแม่ขรี ไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๓ กิโลเมตร โดยมีคำขวัญท่ีสอดคล้องกับสภาพชุมชน คือ
“แหล่งท่องเที่ยวเชงิ อนรุ ักษ์ หลกั รวมใจสองศาสนา ศนู ยก์ ลางการค้าแมข่ รี ยังมีเงาะป่าซาไก”

ลกั ษณะภูมิประเทศ

ลักษณะพ้ืนที่เป็นภเู ขาสูง มีความสลับซบั ซ้อนและลาดตำ่ ลงมา เป็นพ้ืนท่ีราบหรือ ลูกเนิน สภาพของ
พ้ืนที่ส่วนมากเป็นดินร่วนปนทราย ปฏิกิริยาของดินเป็นกรดอ่อน ๆ จึงเหมาะสมกับการทำนาปลูกข้าว ทำสวน
ยางพารา และสวนผลไม้

สภาพภมู ิอากาศ
มลี ักษณะอากาศแบบรอ้ นชืน้ อุณหภมู เิ ฉลีย่ ประมาณ ๒๗ - ๓๒ องศาเซลเซียส มี ๒ ฤดู คือ

ฤดูร้อน (ตงั้ แตเ่ ดือนมกราคม – เมษายน) และ ฤดูฝน (ตงั้ แตเ่ ดอื นพฤษภาคม – ธันวาคม)

การปกครอง

๑) แบ่งออกเป็น ๓ ตำบล คือ

- ตำบลแม่ขรี มีจำนวน ๑๑ หมบู่ ้าน

- ตำบลตะโหมด มจี ำนวน ๑๒ หมู่บ้าน

- ตำบลคลองใหญ่ มีจำนวน ๑๐ หมบู่ ้าน

๒) เทศบาลตำบล จำนวน ๕ แหง่ คือ

- เทศบาลตำบลแมข่ รี

- เทศบาลตำบลตะโหมด

- เทศบาลตำบลเขาหัวชา้ ง

- เทศบาลตำบลควนเสาธง

- เทศบาลตำบลคลองใหญ่

ประชากร

ตำบล เพศชาย เพศหญิง รวม

ตำบลแมข่ รี ๖,๔๘๓ ๖,๗๗๑ ๑๓,๒๕๔
ตำบลตะโหมด ๕,๐๙๖ ๕,๑๖๕ ๑๐,๒๖๑
ตำบลคลองใหญ่ ๓,๙๓๒ ๓,๙๓๕ ๗,๘๖๗

รวม ๑๕,๕๑๑ ๑๕,๘๗๑ ๓๑,๓๘๒



การศกึ ษา

๑) โรงเรยี นสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน ๑๒ โรงเรียน

๒) โรงเรยี นสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา จำนวน ๒ โรงเรยี น

๓) โรงเรยี นสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จำนวน ๒ โรงเรียน

๔) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอ จำนวน ๑ แหง่

๕) ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ จำนวน ๑ แห่ง

๖) กศน.ตำบล จำนวน ๓ แหง่

๗) ศนู ย์การเรยี นชมุ ชน (ศรช.) จำนวน ๒ แห่ง

๘) ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก จำนวน ๑๒ แหง่

เศรษฐกิจ ร้อยละ ๙๘
๑) อาชพี หลักคืออาชพี เกษตรกรรม ๖๐,๑๖๘.๑๒ บาท/ คน / ปี
๒) รายไดเ้ ฉลย่ี จำนวน ๖ แห่ง
๓) ธนาคาร จำนวน ๙ แห่ง
๔) สหกรณ์ / กลมุ่ ออมทรัพย์

ศาสนา

๑) วัด จำนวน ๖ แหง่

๒) มสั ยิด จำนวน ๑๗ แห่ง

๓) ประชากรนับถือศาสนาพุทธ จำนวน ๑๑,๘๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๖๗

๔) ประชากรนบั ถือศาสนาอิสลาม จำนวน ๘,๙๔๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๒.๘๖

๕) ประชากรนบั ถือศาสนาอ่ืน ๆ จำนวน ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๔๘

สาธารณสุข จำนวน ๑ แหง่
๑) โรงพยาบาล จำนวน ๑๑ แห่ง
๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพประจำตำบล จำนวน ๗ แห่ง
๓) คลินกิ เอกชน จำนวน ๙ แห่ง
๔) สถานจำหนา่ ยยา

ทรัพยากรธรรมชาติ จำนวน ๙ แหง่
๑) ปา่ ไม้/ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ จำนวน ๗ สาย
๒) ลำคลอง

แหลง่ ท่องเที่ยว จำนวน ๗ แห่ง
๑) นำ้ ตก จำนวน ๑ แหง่
๒) บ่อนำ้ รอ้ น จำนวน ๓ แห่ง
๓) ถำ้



คณะกรรมการ กศน.อำเภอตะโหมด

ท่ี ชอ่ื -สกุล ตำแหนง่ หมายเหตุ

1 นายประเสรฐิ ดำสุด ประธานกรรมการ

2 นายยะโกบ ตวนมหี นา กรรมการ

3 นายนวม อนญุ าโต กรรมการ

4 นายมนูญ สวุ รรณรตั น์ กรรมการ

5 นายสม อกั ษรพันธ์ กรรมการ

6 นางสายใจ ขุนเอียด กรรมการ

7 นายวิฑุร หนเู สน กรรมการ

8 นายฤทธิศกั ด์ิ หวานแก้ว กรรมการ

9 นางพมิ พ์ถวลิ พงศจ์ นั ทรเสถียร กรรมการและเลขานุการ

10 นายจงรักษ์ โปฏกรตั น์ ผูช้ ่วยเลขานกุ าร

บุคลากร

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภ อตะโหมด มีบุคลากร 13 คน

เพศชาย 4 คน เพศหญงิ 9 คน วุฒิปรญิ ญาโท 2 คน วุฒปิ ริญญาตรี 13 คน ดังนี้

1. ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน

2. ขา้ ราชการครู จำนวน 2 คน

3. บรรณารกั ษ์ จำนวน 1 คน

4. พนักงานราชการ จำนวน 5 คน

5. ครูผ้สู อนคนพกิ าร จำนวน 4 คน

ที่ ชื่อ - สกลุ ตำแหนง่ วุฒิการศกึ ษา สาขาวิชาเอก

1. นางพิมพ์ถวิล พงศ์จนั ทรเสถียร ผู้บริหารสถานศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตรบัณฑติ ) บรรณารักษ์ศาสตร์

ปรญิ ญาโท (ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ) การบริหารการศึกษา

2. นายจงรกั ษ์ โปฏกรตั น์ ครู ปริญญาตรี (ครศุ าสตรบณั ฑิต) การบริหารการศึกษา

3. นายวฒุ นิ ันท์ นามนาค ครูผูช้ ่วย ปรญิ ญาตรี (ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต) ภาษาไทย

ปรญิ ญาโท (ครุศาสตรมหาบณั ฑติ ) การบริหารการศกึ ษา

4. นางปยิ ะพร สงแสง ครูผชู้ ว่ ย ปรญิ ญาตรี (วิทยาศาตรบณั ฑิต) สัตวศาสตร์

ปริญญาโท (ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ ) การบรหิ ารการศึกษา

5. นายพสธร อินแพง บรรณารกั ษ์ ปรญิ ญาตรี (ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ) บรรณารักษศ์ าสตรแ์ ละ

ประกาศนยี บัตรบัณฑิตวชิ าชพี ครู สารนิเทศศาสตร์

6. นางอรญั ญา อามนี ครู กศน.ตำบล ปรญิ ญาตรี (นิเทศศาสตรบณั ฑติ ) การประชาสมั พนั ธ์

ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชีพครู

7. นายวทิ ยา ไชยโยธา ครู กศน.ตำบล ปริญญาตรี (วิทยาศาสตรบณั ฑิต) วทิ ยาศาสตร์การกีฬา

8. นายประจำ เกตุนิ่ม ครู กศน.ตำบล ปริญญาตรี (วิทยาศาสตรบณั ฑติ ) พืชศาสตร์

9. นางภัทรวรรณ ดวงจันทร์ ครู กศน.ตำบล ปรญิ ญาตรี (วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ) ชีวศึกษา

10. นางสาวปานฤทยั โปฏกรัตน์ ครูผู้สอนคนพกิ าร ปริญญาตรี (ศิลปศาสตรบณั ฑิต) สอื่ สารมวลชน

ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ วิชาชพี ครู

11. นางสาวรัศมวิ รรณ พูลเพิม่ ครผู ้สู อนคนพกิ าร ปรญิ ญาตรี (ศิลปศาสตรบณั ฑิต) อุตสาหกรรมการ

ประกาศนยี บัตรบัณฑติ วชิ าชพี ครู ท่องเทยี่ ว

12. นางสาวเจนจิรา แกว้ มรกต ครูผู้สอนคนพิการ ปริญญาตรี (ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ) พลศึกษา



โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา
ผอู้ ำนวยการ

คณะกรรมการสถานศึกษา

กลมุ่ งานอำนวยการ กลุ่มการจัดการศกึ ษานอกระบบ กล่มุ งานภาคีเครอื ขา่ ย
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และกจิ การพเิ ศษ
- งานสารบรรณและงานธรุ การ
- งานการเงนิ และบญั ชี - งานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานนอกระบบ - งาน/โครงการกิจการพิเศษ
- งานงบประมาณและระดมทรัพยากร - งานส่งเสริมการรูห้ นงั สือ - งานอาเซียนศกึ ษา
- งานพัสดุ - งานจัดการศึกษาทางไกล - งานส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ย
- งานบคุ ลากร - งานธรรมศกึ ษา - งานกองทนุ กยู้ ืมเงนิ เพือ่ การศึกษา
- งานอาคารสถานที่ - งานทะเบียนและวัดผล - งานสง่ เสริมกจิ กรรมประชาธิปไตย
- งานแผนงานและโครงการ - งานศูนยบ์ รกิ ารใหค้ ำปรึกษาแนะนำ - งานปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ /โรคเอดส์
- งานประชาสมั พนั ธ์ - งานกจิ การนกั ศกึ ษา - งานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ
- งานข้อมูลสารสนเทศและการรายงาน - งานประเมนิ เทียบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
- งานควบคุมภายใน - งานการพัฒนา กศน.ตำบล/ศนู ยก์ ารเรียน - งาน/กจิ กรรม To Be Number
- งานนเิ ทศภายใน ตดิ ตามและประเมนิ ผล ชมุ ชน One
- งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา - งานกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ(ผสู้ งู อาย)ุ
- งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาและ - งาน/โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง - งานกิจการลูกเสือและยวุ กาชาด
อาสาสมคั ร กศน. - งานการศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ
- งานศูนยร์ าชการใสสะอาด - งานการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน
- งานดูแลระบบคอมพิวเตอร์ - งานการศึกษาตอ่ เนือ่ ง
- งานบนั ทึกภาพการจดั กิจกรรม - งานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี
- งานพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ และภมู ปิ ญั ญา
ท้องถน่ิ
- งานห้องสมดุ ประชาชน
- งานส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
- งานการศกึ ษาทางส่ือสารมวลชน



บทที่ 2

นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

วสิ ัยทศั น์
คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตที่เหมาะสม

กบั ชว่ งวยั สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะทจ่ี ําเป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑

พนั ธกจิ
๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือยกระดับการศกึ ษา พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ให้เหมาะสม
ทกุ ช่วงวยั พรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลงบรบิ ททางสงั คม และกา้ วส่กู ารเป็นสงั คมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ อย่างยั่งยนื

๒. ส่งเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ
ใหก้ บั ประชาชน

๓. สง่ เสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใช้พัฒนาประสิทธิภาพในการจัด
และให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอย่างทว่ั ถึง

๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล
ในทกุ รูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทในปัจจุบัน

๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษา
และการเรยี นรู้ทม่ี คี ณุ ภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล

เปา้ ประสงค์
๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส

ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา
ตามอัธยาศัย ที่มีคุณ ภ าพอย่างเท่ าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภ าพ ปั ญ ห า และความต้องการ
ของแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมาย

๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง
ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้ ชุมชน เพือ่ พฒั นาไปสคู่ วามมน่ั คงและยัง่ ยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถ
คิด วิเคราะห์ และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน รวมทั้งแกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิตได้อย่างสร้างสรรค์

๔. ประชาชนได้รบั การสร้างและส่งเสริมให้มนี ิสยั รักการอ่านเพ่อื พฒั นาการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การขบั เคลือ่ นกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชน
๖. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้
ในการยกระดับคุณภาพในการจดั การเรียนรแู้ ละเพมิ่ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน
๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา
และพัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม
ประวัตศิ าสตร์ และสงิ่ แวดล้อม รวมทง้ั ตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทห่ี ลากหลาย



๘. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป
ตามหลักธรรมาภิบาล

๙. บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการปฏบิ ัติงานตามสายงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตวั ชว้ี ดั

ตวั ชว้ี ดั เชิงปริมาณ
๑. จํานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตามสิทธิ

ท่กี ําหนดไว้
๒. จํานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ตอ่ เนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ
๓. ร้อยละของกาํ ลังแรงงานทส่ี าํ เรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นข้นึ ไป
๔. จํานวนภาคีเครือข่ายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย : สถาน

ประกอบการ องคก์ ร หนว่ ยงานทม่ี าร่วมจดั /พฒั นา สง่ เสรมิ การศกึ ษา)
๕. จํานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้ืนท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพ้ืนที่ ๕ จังหวัด ๑๑ อําเภอ

ไดร้ ับบริการการศึกษาตลอดชีวติ จากศูนย์การเรยี นชมุ ชนสงั กัดสํานกั งาน กศน.
๖. จาํ นวนผรู้ ับบรกิ ารในพืน้ ทเี่ ปา้ หมายไดร้ บั การสง่ เสริมดา้ นการรู้หนงั สือและการพัฒนาทักษะชวี ิต
๗. จาํ นวนนกั เรยี น/นกั ศกึ ษาทไี่ ดร้ บั บริการติวเข้มเต็มความรู้
๘. จาํ นวนประชาชนทีไ่ ด้รับการฝกึ อาชีพระยะสน้ั สามารถสรา้ งหรอื พัฒนาอาชีพเพอ่ื สรา้ งรายได้
9. จํานวน ครู กศน. ตําบล จากพื้นที่ กศน.ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียน การสอน

ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร
๑๐. จาํ นวนประชาชนทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพอื่ การสอ่ื สารดา้ นอาชพี
๑๑. จํานวนผผู้ ่านการอบรมหลักสตู รการดแู ลผู้สงู อายุ
๑๒. จาํ นวนประชาชนทผ่ี ่านการอบรมจากศูนยด์ ิจทิ ลั ชุมชน
๑๓. จํานวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพื้นท่ีสูง ในพ้ืนที่ ๕ จังหวัด ท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะ การฟัง

พูดภาษาไทยเพ่อื การส่ือสาร รว่ มกนั ในสถานศกึ ษาสงั กัด สพฐ. ตชด. และกศน
๑๔. จํานวนหลักสูตรหรือสื่อออนไลน์ท่ีให้บริการกับประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขน้ั พ้ืนฐาน การศกึ ษาตอ่ เนื่อง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

ตวั ชว้ี ดั เชิงคุณภาพ
๑. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)

ทกุ รายวิชาทุกระดับ
๒. ร้อยละของผู้เรยี นท่ไี ดร้ ับการสนับสนุนการจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานเทียบกับค่าเป้าหมาย
๓. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทยี บกบั เป้าหมาย
๔. รอ้ ยละของผู้ผา่ นการฝกึ อบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนําความรไู้ ปใช้ในการประกอบอาชีพ

หรือพฒั นางานได้
๕. ร้อยละของผู้เรียในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะ ด้านอาชีพ

สามารถมงี านทาํ หรอื นําไปประกอบอาชีพได้



6. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมท่ีสามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสตู ร/กิจกรรม การศกึ ษาตอ่ เน่ือง

๗. ร้อยละของประชาชนทไ่ี ดร้ บั บริการมีความพงึ พอใจต่อการบรกิ าร/เขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ การศึกษา
ตามอธั ยาศยั

8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความรู้ความเข้าใจ/เจตคติ/
ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายของกจิ กรรมท่กี ําหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศยั

9. ร้อยละของผู้สงู อายุท่ีเปน็ กลุม่ เป้าหมาย มีโอกาสมาเข้ารว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชีวิต

นโยบายเรง่ ด่วนเพ่ือร่วมขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ

๑.ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมั่นคง
๑.๑ พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนําและเผยแพร่ศาสตร์

พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดาํ ริตา่ ง ๆ
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย

อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความหลากหลาย
ทางความคิดและอดุ มการณ์

๑.๓ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั การศึกษาเพอื่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรปู แบบใหม่
ทัง้ ยาเสพติด การคา้ มนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภยั พบิ ัติจากธรรมชาติ โรคอบุ ัติใหม่ ฯลฯ

๑.๔ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพืน้ ที่ชายแดนอนื่ ๆ

๑.๕ สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศเพ่ือนบ้าน กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ
และชาวตา่ งชาติทมี่ คี วามหลากหลาย

๒. ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั
๒.๑ ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ อุตสาหกรรม

เป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขต
พัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สําหรับพ้ืนที่ปกติให้พัฒนาอาชีพท่ีเน้น การต่อยอดศักยภาพและตาม
บรบิ ทของพืน้ ที่

๒.๒ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพ้ืนที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบการศึกษา
อย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนําคุณวุฒิที่ได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการพัฒนา
เขตพน้ื ทร่ี ะเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC)

๒.๓ พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพ่ือต่อยอดการผลิตและจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ออนไลน์
พร้อมทง้ั ประสานความรว่ มมอื กับภาคเอกชนในการเพิ่มชอ่ งทางการจาํ หนา่ ยสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์
ให้กวา้ งขวางยิง่ ขน้ึ

๓. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
๓.๑ สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เช่ื อมโยง

ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครมู ืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบร้แู ละทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสงั คม และเปน็ “ผอู้ าํ นวยการการเรยี นรู้” ท่สี ามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรยี นร้ทู ่ีดี

๑๐

๑) เพ่มิ อัตราขา้ ราชการครูใหก้ บั สถานศึกษาทุกประเภท
๒) พัฒนาข้าราชการครใู นรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่เี ชือ่ มโยงกับวิทยฐานะ
๓) พัฒนาครูให้สามารถปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรอื่ งการพฒั นาทกั ษะการจดั
การเรยี นการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรียนรู้
๔) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ ให้สามารถปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
๕) พฒั นาบุคลากรทกุ ระดบั ทุกประเภทให้มคี วามรูแ้ ละทักษะเรื่องการใชป้ ระโยชนจ์ ากดิจิทลั และ
ภาษาตา่ งประเทศท่ีจาํ เปน็ รวมท้งั ความรู้เกี่ยวกบั อาชพี ท่รี องรับอุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S-Curve
และ New S-Curve)
๓.๒ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กับบริบท
ของพืน้ ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผูร้ ับบรกิ าร
๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สําหรับทุกคน สามารถเรียน
ไดท้ กุ ท่ที ุกเวลา มกี จิ กรรมทห่ี ลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน
๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ
เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุม ชน
เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
๓.๕ พฒั นานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลมุ่ เปา้ หมาย เช่น จัดการศึกษา
ออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาข้ันพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และใช้การวิจัย
อยา่ งงา่ ยเพอื่ สรา้ งนวตั กรรมใหม่
๓.๖ พัฒนาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนท่ัวไป ดา้ นความร้คู วามเข้าใจ และทักษะ
ในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Literacy)
๓.๗ ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจําการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่น ๆ อาทิ
ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบการศึกษานอกระบบ ระดับ
การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
๓.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้นทักษะ
ภาษาเพอ่ื อาชีพ ทงั้ ในภาคธุรกิจ การบริการ และการทอ่ งเทีย่ ว
๓.9 เตรียมความพรอ้ มของประชาชนในการเข้าสู่สงั คมผู้สงู อายุท่เี หมาะสมและมีคุณภาพ
๓.๑๐ จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย
ทั้งวิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจําวัน รวมท้ังความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม
๓.๑๑ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนท่ีสูง
ให้สามารถฟัง พูด อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการใช้ชวี ิตประจําวันได้

๔. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม

ในการใหบ้ ริการกจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู้
๑) เร่งยกระดับ กศน.ตําบลนํารอ่ ง ๔๒๘ แหง่ (อําเภอละ ๑ แหง่ ) ให้เป็น กศน.ตําบล ๕ ดี พรีเมียม

๑๑

ท่ีประกอบด้วย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพื้นท่ี) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีดีมี
ประโยชน์

๒) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ เป็นพื้นท่ีการเรียนรู้ (Co - Learning
Space) ทีท่ ันสมยั สําหรบั ทุกคน มีความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารตา่ ง ๆ

๓) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ให้เปน็ Digital Library
๔.๒ จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้สําหรับทุกช่วงวัยที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการ
ในการเรยี นรู้ในแต่ละวยั เพ่อื ให้มพี ฒั นาการเรยี นรู้ที่เหมาะสม และมีความสขุ กับการเรยี นรูต้ ามความสนใจ
๔.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สําหรับกลุ่มเป้าหมายผู้พิการ โดยเน้น รูปแบบ
การศกึ ษาออนไลน์

๕. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รต่อสงิ่ แวดลอ้ ม
๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ

และผลกระทบทเ่ี ก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
๕.๒ สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความร้ใู ห้กับประชาชน เก่ียวกับ

การคัดแยกต้งั แต่ตน้ ทาง การกำจดั ขยะ และการนำกลับมาใช้ซ้ำ
๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมท้ังลดการใช้ ทรัพยากร

ท่ีสง่ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ รณรงค์เรอ่ื งการลดการใชถ้ งุ พลาสตกิ การประหยัดไฟฟา้ เป็นต้น

6. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
๖.๑ พัฒนาและปรบั ระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหท้ ันสมัย มคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมิ

ชอบ บรหิ ารจดั การบนขอ้ มลู และหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มุง่ ผลสัมฤทธม์ิ คี วามโปร่งใส
๖.๒ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทำงานทีเ่ ป็นดิจทิ ลั มาใช้ในการบริหารและพฒั นางาน
๖.๓ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง

ใหต้ รงกับสายงาน ความชำนาญ และความต้องการของบคุ ลากร

ภารกจิ ต่อเนื่อง
๑. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้
๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
๑) สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการให้ผู้เรียน

ได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอน
อยา่ งทัว่ ถงึ และเพยี งพอ เพ่ือเพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส
ทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษา
ทางไกล

๓) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ท้ังด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน
และระบบการให้บรกิ ารนกั ศึกษาในรูปแบบอ่ืนๆ

๑๒

๔) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ
ของกลุ่มเปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๕) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม
เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา
และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์อ่ืน ๆ นอกหลักสูตร
มาใช้ เพ่ิมชั่วโมงกจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นจบตามหลกั สูตรได้

๑.๒ การสง่ เสริมการรู้หนงั สือ
๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน
ทง้ั สว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค
๒) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเคร่ืองมือการดำเนินงานการส่งเสริม การรู้หนังสือ
ที่สอดคล้องกบั สภาพแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย
๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ
การจัด กระบวนการเรียนรู้ให้กบั ผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือ
ในพ้นื ที่ ทม่ี ีความต้องการจำเป็นเป็นพเิ ศษ
๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือการพัฒนา
ทกั ษะการรูห้ นงั สอื ให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ ของประชาชน

๑.๓ การศึกษาต่อเนอ่ื ง
๑) จัดการศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทำอย่างยง่ั ยนื โดยใหค้ วามสำคญั กบั การจดั การศกึ ษาอาชีพ
เพ่ือการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการ รวมถงึ การเน้นอาชพี ชา่ งพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละ
พ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒ นาประเทศ
ตลอดจน สร้างความเขม้ แขง็ ให้กับศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน โดยจัดให้มหี นง่ึ อาชีพเด่น รวมทงั้ ให้มีการกำกับติดตาม และ
รายงาน ผลการจดั การศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทำอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง
๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับ
ความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจน สามารถ
ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณต์ ่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรยี มพรอ้ ม
สำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม
ที่ มีเน้ือหาสำคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยม
ท่พี ึงประสงค์ ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ ผา่ นการศึกษารปู แบบ
ต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทกั ษะชวี ติ การจัดตัง้ ชมรม/ชุมนมุ การส่งเสริมความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ
๓) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสตู รและการจดั กระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการ
ในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้าง
ชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิด

๑๓

ของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม
โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้าง
จิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์
พลงั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกนั ในการพฒั นาสังคมและชมุ ชน อย่างย่งั ยืน

๔) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ในรูปแบบตา่ งๆ ใหก้ ับประชาชน เพื่อเสรมิ สรา้ งภูมิคุม้ กนั สามารถยืนหยดั อย่ไู ด้อย่างมนั่ คง และมีการบรหิ ารจัดการ
ความเสย่ี งอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสูค่ วามสมดลุ และยง่ั ยนื

๑.๔ การศึกษาตามอธั ยาศยั
๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ
การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มี
การบรกิ ารทท่ี ันสมยั ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน การสรา้ งเครอื ข่ายสง่ เสริมการอา่ น จดั หนว่ ย
บริการเคล่ือนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชน
ในพืน้ ท่ีต่างๆ อย่างทั่วถึง สมำ่ เสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบคุ ลากร สอ่ื อปุ กรณเ์ พอื่ สนับสนุนการอา่ น
และการจดั กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการอา่ นอย่างหลากหลาย
๒) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต
ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจําท้องถิ่น
โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ
ด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์
ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์
และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้ง
ระดับภูมภิ าคและ ระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะไปประยกุ ต์ใช้ในการดําเนิน
ชวี ิต การพัฒนา อาชีพ การรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม การบรรเทาและป้องกันภยั พิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถ
ในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive
Change) ไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ
๑.๕ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพื่อส่งเสริม การ
จัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์
ศูนยเ์ รยี นรู้ แหล่งโบราณคดี ห้องสมุด เปน็ ต้น

๒. ดา้ นหลักสตู ร ส่ือ รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล งานบรกิ าร
ทางวิชาการ และการประกันคณุ ภาพการศึกษา

๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับสภาพบริบท
ของพืน้ ที่ และความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน

๒.๒ ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่ืนๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กลุ่มเปา้ หมายทวั่ ไปและกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ

๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม
การสอบออนไลน์

๑๔

๒.๔ พัฒนาระบบการประเมนิ เพอื่ เทยี บระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้
มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง
มีการประชาสมั พนั ธ์ให้สาธารณชนได้รบั รแู้ ละสามารถเข้าถงึ ระบบการประเมนิ ได้

๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam)
มาใช้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มกี ารนําไปส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งกวา้ งขวางและมีการพฒั นาให้เหมาะสมกับบรบิ ทอย่างต่อเนือ่ ง

๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ
และสามารถดําเนินการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใชก้ ารประเมินภายในด้วยตนเอง
และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมิน
คุณภาพภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาใหไ้ ด้คณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด

๒.8 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนท่ัวไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการด้าน การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของหน่วยงาน
และสถานศกึ ษาในสงั กัด อาทิ ข่าวประชาสมั พันธ์ ผา่ นส่ือรูปแบบต่างๆ การจัดนทิ รรศการ/มหกรรมวชิ าการ กศน.

๓. ดา้ นเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา
๓.๑ ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา เพ่ือให้เช่ือมโยงและตอบสนองต่อ
การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา
สาํ หรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ใหม้ ีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคณุ ภาพ สามารถพฒั นาตนเองให้รเู้ ทา่ ทัน
สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา รายการติวเข้มเติมเต็ม
ความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทาง
อินเทอร์เนต็
๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพื่อส่งเสริมให้ ครู กศน.
นาํ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)
๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต
และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนที่ท่ัวประเทศ และเพ่ิมช่องทาง
ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ
รองรบั การพัฒนาเปน็ สถานวี ทิ ยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV)
๓.๔ พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือให้ได้หลายช่องทางทั้งทางอินเทอร์เน็ต
และรูปแบบอ่ืนๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งส่ือ Offline ในรูปแบบต่างๆ
เพือ่ ให้ กลุ่มเปา้ หมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้ได้ตามความต้องการ
๓.๕ สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนําผลมาใช้
ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน
ได้อย่างแทจ้ ริง

๑๕

๔. ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอันเก่ียวเนอื่ งจากราชวงศ์
๔.๑ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อันเก่ียวเนื่อง
จากราชวงศ์
๔.๒ จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ
หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพ่ือนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพัฒนางาน
ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพ่ือให้
เกดิ ความเขม้ แข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๔.๔ พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหนา้ ทีท่ ่กี ําหนดไว้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
๔.๕ จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูง ถิ่นทุรกันดาร
และพน้ื ที่ชายขอบ

๕. ด้านการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนทีเ่ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพน้ื ทบี่ ริเวณชายแดน
๕.๑ พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้
๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา
และความต้องการของกลุม่ เปา้ หมาย รวมทงั้ อตั ลักษณแ์ ละความเป็นพหุวัฒนธรรมของพืน้ ที่
๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพ่ือให้ ผู้เรียน
สามารถนาํ ความรู้ท่ีได้รบั ไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ
๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรกั ษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและนักศึกษา กศน.
ตลอดจนผู้มาใช้บริการอยา่ งทัว่ ถงึ
๕.๒ พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ
๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบท
ของแตล่ ะจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
๒) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ให้เกิดการ
พฒั นาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพ้นื ที่
๕.๓ จดั การศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คง ของศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.)
๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบ
อาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดํารปิ รัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
สาํ หรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวธิ กี ารเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย
๒) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพ่ือการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้านอาชีพ
ท่ีเนน้ เรื่องเกษตรธรรมชาติทส่ี อดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชนชายแดน ใหแ้ ก่ประชาชนตามแนวชายแดน

6. ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
๖.๑ การพฒั นาบุคลากร
๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและระหว่าง การดํารง
ตําแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงาน ของหน่วยงาน

๑๖

และสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเอง เพ่ือเล่ือนตําแหน่ง
หรือเลือ่ นวทิ ยฐานะ โดยเนน้ การประเมินวิทยฐานะเชิงประจกั ษ์

๒) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ
นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย
ในสถานศกึ ษา

๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตําบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นเพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/แขวง
และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย
ความสะดวกในการเรยี นรู้เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งแท้จรงิ

๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้
อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้
การวัด และประเมนิ ผล และการวิจัยเบื้องตน้

๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ความสามารถ
และมีความเป็นมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิตของประชาชน

๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการบริหาร การ
ดาํ เนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทําหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศยั ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ
ตา่ งประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกจิ กรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ร่วมกัน
ในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ
ทาํ งาน

๖.๒ การพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและอัตรากําลัง
๑) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี
ความพร้อมในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้
๒) บริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ ทั้งในส่วนท่เี ปน็ ขา้ ราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสทิ ธภิ าพ
สงู สดุ ในการปฏบิ ตั งิ าน
๓) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนํามาใช้ในการ ปรบั ปรุง
โครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
และการสง่ เสริมการเรยี นร้สู าํ หรบั ประชาชน

๖.๓ การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ
๑) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลให้มีความครบถว้ น ถกู ต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็นระบบ
เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน
การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๒) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด
การเบิกจา่ ยงบประมาณใหเ้ ปน็ ตามเปา้ หมายทีก่ าํ หนดไว้

๑๗

๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน
ท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียน
และการบริหารจดั การอย่างมีประสทิ ธิภาพ

๔) สง่ เสริมให้มีการจดั การความรใู้ นหนว่ ยงานและสถานศึกษาทกุ ระดบั รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือสามารถ
นํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชุมชนพร้อมท้ัง
พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขันของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา

๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม
การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ

๖) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E - office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา
ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใชห้ ้องประชมุ เปน็ ต้น

๖.๔ การกาํ กบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล
๑) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ข่ายท้งั ระบบ
๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตาม และรายงานผล
การนํานโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ ใหส้ ามารถตอบสนองการดําเนนิ งานตามนโยบายในแตล่ ะเร่ืองได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการกํากับ นิเทศ
ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา่ งมีประสิทธิภาพ
๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของ
หน่ วยงาน สถาน ศึกษ า เพื่ อการรายงาน ผลตามตัวช้ีวัดในคํารับ รองการป ฏิ บัติราชการประจําปี
ของสาํ นักงาน กศน. ให้ดาํ เนินไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาทีก่ าํ หนด
๕) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ ส่วนกลาง
ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนา
งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

๑๘

บทที่ 3

รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2563

โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานประจำปงี บประมาณ 2563

ที่ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน งบประมาณ
(คน/ ท่ีได้รบั
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน แหง่ ) ชาย หญิง รวม จัดสรร
1. โครงการส่งเสริมการรหู้ นังสือ 224
2. โครงการส่งเสรมิ การจัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 3 1,584.-

ภาคเรยี นท่ี 2/2562 38 26 12 38 10,720.-
ระดับประถมศึกษา 279 209 70 279 230,550.-
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 239 154 85 239 203,580.-
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรียนที่ 1/2563 36 24 12 36 10,800.-
ระดบั ประถมศึกษา 260 201 59 260 198,440.-
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 248 161 87 248 200,080.-
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2,200 1,547 696 2,243 643,607.-
3. โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

4. โครงการ ประเมินเทยี บระดบั การศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ภาคเรยี นท่ี 2/2562 5 1-1

ภาคเรียนท่ี 1/2563 5 123

5. โครงการ สง่ เสริมการจัดการศึกษา
กลุ่มเป้าหมายคนพิการ

ภาคเรยี นที่ 2/2562 43 282,500

ระดับประถมศึกษา 16 9 25

ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 6 7 13

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 325

ภาคเรียนที่ 1/25613 42 282,500

ระดับประถมศึกษา 12 9 21

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 10 7 17

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 134

กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง

โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ

6. กิจกรรมการดูแลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของ 178 31 153 184 31,740.-
ประชาชนในชมุ ชน

๑๙

เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน งบประมาณ

ท่ี โครงการ/กจิ กรรม (คน/แห่ง) ทไ่ี ด้รับ

ชาย หญงิ รวม จัดสรร

การศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน

7. โครงการเตรยี มความพร้อมเข้าสูส่ งั คม 144 2 146 148 76,500.-
ผสู้ ูงอายอุ ยา่ งมีคุณภาพ

การศึกษาเพอ่ื เรยี นร้ตู ามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โครงการส่งเสริมการจดั กระบวนการ

8. เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 60 19 44 63 31,500.-

และเกษตรทฤษฎใี หม่

การศึกษาตามอัธยาศยั

9. โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน “เมืองลงุ เมือง
นักอ่าน เมืองสร้างสุข”

9.1 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นหอ้ งสมุด 2,003 1,171 3,215 2,003
1,851 945 906 1,851
ประชาชน
1,066 546 520 1,066
9.2 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน “ห้องสมุด

ประชาชนสาขา” โดยใช้ กศน.ตำบลเป็น

ฐาน

9.3 กิจกรรมจดั มุมส่งเสริมการอ่าน

“หอ้ งสมดุ บ้านเรา” (สำหรบั หน่วยงาน

ภาคเี ครอื ขา่ ย)/”ห้องสมุด GUIDE

(สำหรบั สถานทท่ี ่องเทย่ี ว)

โครงการ “หอ้ งสมดุ เคลื่อนที่สำหรบั ชาว

10. ตลาดตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ 1,648 655 993 1,648
รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี

11. โครงการหนังสือดสี ูน่ ักอา่ นมอื ใหม่ 1,200 - - 1,071 1,071
(การบรจิ าคหนงั สือ) เลม่

12. โครงการพัฒนาบ้านหนงั สอื ชุมชน 4,346 1,800 2,576 4,346

13. โครงการ กศน.สรา้ งสขุ เพอ่ื ประชาชน 2,148 905 1,243 2,148

14. อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน 60 28 32 60

๒๐

เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน งบประมาณ

ท่ี โครงการ/กิจกรรม (คน/ ที่ไดร้ ับ

แหง่ ) ชาย หญงิ รวม จดั สรร

แผนงานยุทธศาสตรพ์ ฒั นาการศกึ ษาเพอ่ื ความ

ยง่ั ยืน

15. ศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน

15.1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ 72 11 127 138 45,600.-
(กลมุ่ สนใจไมเ่ กิน 30 ช่ัวโมง)

15.2. ส่งเสริมการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ 60 2 116 118 46,200.-
(ช้ันเรยี นวชิ าชพี 31 ชวั่ โมงขึน้ ไป)

15.3. โครงการ 1 อำเภอ 1 อาชพี 48 5 43 48 38,400.-

แผนงานบรู ณาการการพัฒนาศักยภาพคนตลอด

ช่วงชีวติ

16. โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต 75 10 65 75 14,115.-
เพ่ือพัฒนากายจติ และสมองของผ้สู งู อายุ

แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม

ดจิ ทิ ัล

โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทัลสำหรับประชาชน

17. (หลักสูตรการค้าออนไลน์) เรื่องการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ 90 6 117 123 24,510.-

และออกแบบผลติ ภัณฑ์

โครงการ/กจิ กรรมอื่นๆ ท่สี ถานศกึ ษาได้ดำเนนิ การ

เพ่มิ เตมิ

24. โครงการ นิเทศติดตามผลเพ่ือพฒั นาคุณภาพ
การศึกษา

25. โครงการ พฒั นาบุคลากร

26. โครงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

27. โครงการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา

๒๑

โครงการ สง่ เสรมิ การรูห้ นังสือ

๑. ชื่อโครงการ สง่ เสริมการรู้หนงั สือ

๒. สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖3
เป้าประสงค์
ขอ้ ที่ ๔. ประชาชนได้รับการสรา้ งและสง่ เสรมิ ให้มนี สิ ยั รักการอ่านเพื่อการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง

ตวั ช้ีวัดเชงิ ปรมิ าณ
ข้อท่ี ๖. จำนวนผู้รับบรกิ ารในพ้นื ท่เี ป้าหมายไดร้ ับการสง่ เสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะชวี ติ

ตัวชวี้ ัดเชิงคณุ ภาพ
ข้อท่ี ๙. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีสามารถอ่านออกเขียนได้และคิดเลขเป็นตามจุดมุ่งหมายของ

กจิ กรรม

ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
ตวั ชว้ี ัด
(๒) ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
ประเด็นข้อที่ ๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ตี อบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

มุ่งเน้นผเู้ รยี นใหม้ ที ักษะการเรียนร้แู ละมีใจใฝเ่ รยี นร้ตู ลอดเวลา โดย (๔) การพฒั นาระบบการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ

นโยบายเรง่ ด่วนเพ่อื ร่วมขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
๔.๑ สง่ เสรมิ การรูภ้ าษาไทย เพ่มิ อัตราการรหู้ นงั สือ และยกระดบั การรู้หนงั สอื ของประชาชน
๒) เร่งจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มอัตราการรหู้ นงั สอื และคงสภาพการร้หู นงั สือ ใหป้ ระชาชนสามารถ

อา่ นออก เขียนได้ และคดิ เลขเป็น โดยมีการวัดระดบั การู้หนังสือ การใชส้ อ่ื กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทกั ษะ
ในรปู แบบต่างๆ ทีเ่ หมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพนื้ ที่และกล่มุ เป้าหมาย

ภารกจิ ตอ่ เนื่อง
๑. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้

๑.๒ การสง่ เสรมิ การรู้หนงั สือ
๔) สง่ เสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการร้หู นงั สอื การคงสภาพ

การร้หู นังสือการพัฒนาทักษะการรู้หนงั สือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้
อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวติ

๓. วัตถปุ ระสงค์
๔.๑เพอื่ สง่ เสรมิ การร้หู นังสือ และปอ้ งกันการลืมหนังสือใหก้ ับประชาชนอำเภอตะโหมด
๔.๒ เพอ่ื พฒั นาทักษะด้านการอา่ น การเขยี น และการคดิ คำนวณได้อย่างมีมาตรฐานและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี

ข้ึนของประชาชนอำเภอตะโหมด

๒๒

๔. เปา้ หมาย
ผไู้ ม่รหู้ นงั สอื /ผู้ลมื หนังสือ จำนวน ๔ คน

๕. กจิ กรรมที่ดำเนนิ งาน
๕.๑ สำรวจ/รบั สมคั รผเู้ รียน
๕.๒ จัดทำ แผนการเรียนรู้
๕.๓.จดั กิจกรรมตามแผนการเรียนรู้
๕.๔. วัดผล/ประเมนิ ผล
๕.๕ ออกหลักฐานการจบหลกั สตู ร

๖. ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมายโครงการทัง้ ในเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

๖.๑ เชงิ ปริมาณ แผน / คน ผลการดำเนินการ
3
ที่ กศน.ตำบล 3 ชาย หญงิ รวม

1. กศน.ตำบลแมข่ รี 1- 1
2. กศน.ตำบลตะโหมด
3. กศน.ตำบลคลองใหญ่ -1 1
4. ศรช.เทศบาลตำบลเขาหัวชา้ ง
รวม -1 1

1- 1

22 4

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ผู้ไม่รู้หนังสือ ผู้ลืมหนังสือ มีความรู้ความสามารถและทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย และการคิด

คำนวณเบ้ืองตน้ ในเร่อื งทเ่ี กีย่ วข้องกับชีวติ ประจำวัน และใช้เปน็ เครื่องมอื ในการส่ือสาร ตลอดจนแสวงหาความรเู้ พ่ือ
การพฒั นาคุณภาพชวี ติ

๗. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ

ปัญหาอุปสรรค
๑) กล่มุ เป้าหมายส่วนใหญ่ทีอ่ า่ นไม่ออกหรือเขียนหนงั สอื ไม่ได้ จะอย่ใู นช่วงอายุ ๖๐ ปีข้นึ ไป ไม่ใช่
ประชากรวยั แรงงานตามทกี่ ำหนด
๒) กลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ป็นประชากรวัยแรงงานท่ีอา่ นหนงั สอื ไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ไม่เห็นความจำเป็นในการ
เรียนรู้ และไม่ใหค้ วามรว่ มมือในการเรยี นรู้

ขอ้ เสนอแนะ
๑) ต้องสร้างความตระหนกั ให้กกลมุ่ เปา้ หมายเหล่าน้ีเหน็ ความสำคญั ของการอา่ นออก เขียนได้
๒) ควรส่งเสริมการเรียนรใู้ นทุกกลุม่ อายไุ ม่ใชเ่ ฉพาะกลมุ่ เป้าหมายทเ่ี ป็นประชากรวัยแรงงานท่มี ีช่วงอายุ
๑๕ – ๕๙ ปีเทา่ น้นั เพราะประชากรกกล่มุ นโี้ ดยสว่ นใหญ่จะเปน็ ผู้ที่อ่านออก และเขียนได้

๒๓

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนินงานตามโครงการ

๒๔

โครงการ จดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

๑. ชือ่ โครงการ จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

๒. โครงการท่ีดำเนนิ การ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปี ๒๕๖3

เป้าประสงค์
๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทางการศึกษา
ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศัย
ทมี่ ีคณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มและท่วั ถงึ เปน็ ไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย
๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง
ทสี่ อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สร้างความเข้มแข็ง
ให้ ชุมชน เพ่ือพฒั นาไปสู่ความมัน่ คงและย่งั ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสิ่งแวดล้อม
๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถ
คดิ วิเคราะห์ และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน รวมท้ังแก้ปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

ตัวชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ
ขอ้ ที่ 1 จำนวนผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ไี ดร้ ับการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายตามสิทธิ

ท่กี ำหนดไว้

ตวั ชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ
ข้อที่ 1 ร้อยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก

รายวชิ าทุกระดบั
ข้อท่ี ๒ รอ้ ยละของผู้เรียนทไ่ี ด้รบั การสนับสนุนการจดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเทยี บกับคา่ เปา้ หมาย

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ตวั ช้ีวดั
2) ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาและการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ
ประเด็นข้อท่ี ๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ในศตวรรษที่ ๒๑

มุ่งเนน้ ผเู้ รยี นให้มีทกั ษะการเรียนรู้และใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี นตลอดเวลา (๔) การพัฒนาการเรยี นรู้ตลอดชีวติ

นโยบายเรง่ ด่วนเพอ่ื ร่วมขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
๑ ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนรว่ มอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความหลากหลาย
ทางความคดิ และอุดมการณ์

๒๕

ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง
๑. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้
๑.๑ การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดำเนินการให้

ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอน
อย่างทว่ั ถึงและเพยี งพอ เพื่อเพมิ่ โอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพโดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย

๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส
ทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษา
ทางไกล

๓. วัตถปุ ระสงค์
๔.๑ เพอื่ ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ใหก้ บั ผ้ดู ้อยโอกาส ผ้พู ลาดโอกาส และผูข้ าดโอกาสทาง

การศึกษา
๔.๒ เพ่อื ให้ประชาชนไดร้ บั การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูเ้ พ่อื แกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิตและ

เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตำบล ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อ่ืนในชุมชนเป็น
กลไกในการจัดการเรียนรู้

๔.๓ เพ่ือขยายโอกาสและพฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การศึกษาตลอดชีวติ
๔. เป้าหมาย

จำนวน ๑,๑๐๐ คน

๕. กิจกรรมท่ดี ำเนนิ งาน
๕.๑ วางแผนการดำเนนิ งาน
๕.๒ ประชาสัมพนั ธก์ ารรับสมัครกลุ่มเปา้ หมาย
๕.๓ ดำเนินกิจกรรมการจดั การเรยี นรู้การสอน
๕.๔ จัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนและกิจกรรมเสริมหลักสูตร
๕.๕ นเิ ทศ กำกับ ติดตา ผล
๕.๖ การวัดผลและประเมนิ ผล

๒๖

๖. ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมายโครงการท้งั ในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ (ระบุขอ้ มลู แยกเป็นข้อ ๆ
ให้ชดั เจน)
6.1 เชงิ ปรมิ าณ

ข้อมูลจำนวนนกั ศึกษาที่ลงทะเบียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 (รวมนกั ศกึ ษาปกตแิ ละพกิ าร)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด 2 13 31 12 43 52 32 84
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ 10 4 14 44 17 61 29 22 51
4 ศรช.ทต.แม่ขรี 3 47 45 18 63 38 16 54
5 ศรช.ทต.เขาหัวช้าง - -- 40 13 53 ---
6 นักศึกษาทางไกล 11 3 14 48 10 58 35 15 50
- -- 1- 1 ---
รวม 26 12 38 209 70 279 154 85 239

ข้อมูลจำนวนนกั ศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 (รวมนกั ศกึ ษาปกตแิ ละพิการ)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด - 11 34 11 45 50 26 76
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ 11 4 15 39 11 50 37 20 57
4 ศรช.ทต.แมข่ รี 3 47 45 10 55 39 17 56
5 ศรช.ทต.เขาหวั ชา้ ง - -- 40 19 59 ---
6 นักศกึ ษาทางไกล 10 13 13 42 8 50 35 24 59
- -- 1- 1 ---
รวม 24 22 36 201 59 260 161 87 248

๒๗

ข้อมูลจำนวนนกั ศึกษาจบหลักสตู รภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 (รวมนกั ศกึ ษาปกตแิ ละพกิ าร)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด - -- 14 5 5-5
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ - 11 23 5 7 8 15
4 ศรช.ทต.แม่ขรี - -- 41 5 448
5 ศรช.ทต.เขาหัวชา้ ง - -- 5 7 12 5 6 11
- -- 1- 1 437
รวม - 11
12 15 28 25 21 46

ข้อมูลจำนวนนกั ศกึ ษาจบหลักสตู รภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 (รวมนักศึกษาปกตแิ ละพิการ)

ท่ี กศน.ตำบล ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี - -- 31 4 2-2
2 กศน.ตำบลตะโหมด - -- 23 5 527
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ - -- 4- 4 11 4 15
4 ศรช.ทต.แมข่ รี - -- 10 6 16 11 3 14
5 ศรช.ทต.เขาหัวช้าง 1 -1 41 5 11 2 13
6 นักศึกษาทางไกล - -- -- - ---
1 -1
รวม 23 11 34 40 11 51

ข้อมูลจำนวนนกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบยี นภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 (นกั ศึกษาพกิ าร)

ที่ กศน.ตำบล ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด 21 3 33 6 1-1
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ 52 7 -- - 123
4 ศรช.ทต.เขาหัวช้าง 23 5 14 5 1-1
7 3 10 2- 2 ---
รวม 16 9 25 6 7 13 325

๒๘

ข้อมูลจำนวนนกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบียนภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 (นกั ศึกษาพกิ าร)

ท่ี กศน.ตำบล ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
1 กศน.ตำบลแม่ขรี
2 กศน.ตำบลตะโหมด - 11 639 ---
3 กศน.ตำบลคลองใหญ่ 426 1-1 123
4 ศรช.ทต.เขาหวั ชา้ ง 235 145 - 11
639 2-2 ---
รวม 12 9 21 10 7 17 134

ข้อมูลนักศึกษากลุ่มเปา้ หมายผเู้ รียนทอี่ อกจากระบบโรงเรยี นกลางคนั
ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖2

ท่ี กศน.ตำบล/ศรช. ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
๑. กศน.ตำบลแม่ขรี -- - 2 -2 12 3
๒. กศน.ตำบลตะโหมด -- - 5 38 -1 1
๓. กศน.ตำบลคลองใหญ่ -- - - 22 -- -
-- - 7 5 12 13 4
รวม

ข้อมลู นักศึกษากลุ่มเปา้ หมายผูเ้ รยี นท่อี อกจากระบบโรงเรียนกลางคัน
ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3

ท่ี กศน.ตำบล/ศรช. ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
๑. กศน.ตำบลแม่ขรี -- - 6 7 13 -2 2
๒. กศน.ตำบลตะโหมด -- - 6 6 12 1- 1
๓. กศน.ตำบลคลองใหญ่ -- - - -- -- -
-- - 12 13 25 12 3
รวม

๒๙

ขอ้ มูลนักศึกษาจบหลกั สตู รกลมุ่ เป้าหมายผูเ้ รยี นท่ีออกจากระบบโรงเรยี นกลางคนั
ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖2

ท่ี กศน.ตำบล/ศรช. ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
๑. กศน.ตำบลแม่ขรี -- - - 11 21 3
๒. กศน.ตำบลตะโหมด -- - 2 -2 -- -
๓. กศน.ตำบลคลองใหญ่ -- - 1 -1 -- -
-- - 3 14 21 3
รวม

ขอ้ มูลนักศึกษาจบหลกั สูตรกลุ่มเปา้ หมายผูเ้ รยี นท่ีออกจากระบบโรงเรียนกลางคนั
ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖3

ท่ี กศน.ตำบล/ศรช. ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม
๑. กศน.ตำบลแม่ขรี -- - 2 24 -1 1
๒. กศน.ตำบลตะโหมด -- - 1 -1 -- -
๓. กศน.ตำบลคลองใหญ่ -- - - -- -- -
-- - 3 25 -1 1
รวม

๖.๒ เชิงคุณภาพ
ผู้ด้อยโอกาส ผู้พลาดโอกาส และผู้ขาดโอกาสทางการศึกษา และประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ท่ีเข้าผู้รับบริการ ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพกาย
สุขภาพจิตท่ีดี เป็นคนเก่ง ดี มีความสุข ใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
และสามารถนำความรู้ที่ต่อเนื่อง อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง
และศึกษาตอ่ ในระดบั ทีส่ ูงขึ้น
๗. ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

ปญั หาอปุ สรรค
๑) นกั ศึกษาขั้นพน้ื ฐานปัจจบุ นั ส่วนใหญเ่ ปน็ ผพู้ ลาดโอกาส ขาดระเบียบวินัยในการปฏบิ ัตติ น ไมส่ นใจ

เรยี นรู้ คดิ ไม่เปน็ ไม่มีความรับผดิ ชอบ สง่ ผลให้ผลการเรยี นตำ่
๒) นักศึกษาบางคนต้องทำงาน ไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตได้เต็มเวลาที่กำหนดส่งผล

ให้ กจิ กรรม กพช.ไมค่ รบ ทำใหจ้ บหลกั สูตรไดช้ ้ากวา่ เกณฑ์ทก่ี ำหนด
3) เน่อื งจากมีการเกิดโรคระบาดการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ทำให้ต้องมีการ จัดการเรียน

การสอนแบบออนไลน์ นกั ศึกษาบางคนไมม่ สี มารท์ โฟนในการติดต่อส่ือสาร
ข้อเสนอแนะ
๑) สถานศึกษาควรจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในรูปแบบท่ีหลากหลาย

๓๐

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ งานของโครงการ
ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ งานของโครงการ

ปฐมนิเทศนกั ศึกษาประจำภาคเรยี นที่ 2/2562

วนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2562 ณ ศาลาประชาคมอำเภอตะโหมด ต.แม่ขรี อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

การประเมนิ การรูห้ นงั สือ

๓๑

ภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนนกั ศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

๓๒

โครงการ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น

๑. ช่อื โครงการ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน

๒. โครงการท่ีดำเนนิ การ สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปี ๒๕๖3

เปา้ ประสงค์
๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทางการศึกษา
ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตามอัธยาศัย
ทีม่ ีคณุ ภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถงึ เปน็ ไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของแต่ละกลุ่มเปา้ หมาย
๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง
ท่สี อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สร้างความเข้มแข็ง
ให้ ชมุ ชน เพื่อพัฒนาไปสคู่ วามม่ันคงและยง่ั ยืนทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิง่ แวดลอ้ ม
๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถ
คิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน รวมท้งั แก้ปัญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

ตวั ช้วี ดั เชิงปรมิ าณ
ข้อที่ 1 จำนวนผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานท่ไี ดร้ ับการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายตามสิทธิ

ทก่ี ำหนดไว้

ตวั ชว้ี ดั เชงิ คณุ ภาพ
ข้อที่ 1 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก

รายวชิ าทกุ ระดบั
ขอ้ ที่ ๒ รอ้ ยละของผู้เรยี นที่ไดร้ ับการสนับสนุนการจดั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานเทียบกับคา่ เปา้ หมาย

ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
ยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ตวั ช้วี ดั
2) ผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ
ประเด็นข้อท่ี ๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ในศตวรรษท่ี ๒๑

มุ่งเนน้ ผ้เู รียนใหม้ ีทักษะการเรียนรแู้ ละใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี นตลอดเวลา (๔) การพฒั นาการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต

นโยบายเร่งด่วนเพอ่ื รว่ มขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
๑ ยุทธศาสตรด์ ้านความม่ันคง
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนรว่ มอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความหลากหลาย
ทางความคดิ และอุดมการณ์

๓๓

ภารกจิ ต่อเนือ่ ง
ข้อที่ 1 ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
๑.๑ การจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
๔) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม

เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกบั การป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพตดิ การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อยา่ งต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/
ชุมนมุ พร้อมทั้งเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชนอ์ ื่น ๆ นอกหลักสูตร มาใช้เพ่มิ ชว่ั โมงกจิ กรรม
ใหผ้ เู้ รยี นจบตามหลกั สูตรได้

๓. เป้าหมาย
นกั ศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานนอกระบบทุกกระดบั จำนวน ๑,๑๐๐ คน

๔. วตั ถปุ ระสงค์
๑) เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามรู้ทกั ษะ เจตคติ ตามทห่ี ลกั สูตรกำหนด
2) นักศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานนอกระบบ ไดเ้ พ่ิมพูนความรู้ความสามารถในรายวชิ าต่างๆ
๓) เพ่ือให้ผ้เู รียนมีผลสำฤทธ์ิทางการเรยี นทสี่ งู ขนึ้

๕. กจิ กรรมทดี่ ำเนินงาน
๑) ประชุมวางแผนและกำหนดจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนนักศกึ ษาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๒) ประชาสัมพันธ์การรับสมคั รกลุ่มเปา้ หมาย
๓) ปฐมนิเทศช้แี จงความเขา้ ใจ
๔) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๔.๑) จดั กิจกรรมปรบั พื้นฐาน/สอนเสริมวชิ าการตวิ เข้มเต็มความรู้
๔.๒) กจิ กรรมพฒั นาทักษะชวี ิต การปอ้ งกันโรคไข้เลือดออก
๔.๓) กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
๔.๔) กจิ กรรม การป้องกนั การตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)
๔.๕) กจิ กรรมลูกเสอื วสิ ามัญ
๔.๖) กจิ กรรมเพื่อพัฒนาความรูค้ วามสามรถด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) (หลกั สตู ร ๔๐ ชว่ั โมง)
๔.๗) กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพกาย จติ (แขง่ ขนั กีฬา)
๔.๘) กจิ กรรมวันสำคญั ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
๔.๙) กิจกรรมการเรยี นรู้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง
๔.๑๐) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวติ คา่ ยเพศวิถีศึกษา
๕) ประเมินผล
๖) รายงานผล

๓๔

๖. ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมายโครงการทัง้ ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพ
๖.๑ เชงิ ปริมาณ

ข้อมูลนกั ศึกษาภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2

ที่ กจิ กรรม/หลักสูตร แผน ผลการดำเนินงาน
จำนวน(คน) ชาย หญิง รวม

๑. โครงการปฐมนิเทศ 553 364 189 553

2. จัดกิจกรรมปรับพื้นฐาน/สอนเสรมิ 553 364 189 553

3. ตวิ เขม้ เตม็ เติมความรู้ 107 63 44 107

4. กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิต คา่ ยเพศวถิ ีศึกษา 50 38 12 50

5. กิจกรรม พฒั นาผูเ้ รียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 80 43 37 80

6. กิจกรรมลกู เสือวสิ ามญั 64 26 38 64

7. กิจกรรมเพอื่ พัฒนาความรู้ความสามารถด้าน 20 5 15 20
เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) (หลักสตู ร ๔๐ ช่วั โมง

8. โครงการแขง่ ขันกีฬานักศกึ ษา กศน.ระดับจงั หวดั 26 12 14 26

รวม 1,453 915 538 1,453

ข้อมูลนกั ศึกษาภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖3

ที่ กิจกรรม/หลักสตู ร แผน ผลการดำเนนิ งาน
จำนวน(คน) ชาย หญิง รวม

๑. โครงการปฐมนเิ ทศออนไลน์ 459 328 231 459

2. จัดกจิ กรรมปรับพ้ืนฐาน/สอนเสริม 459 328 231 459

3. ตวิ เขม้ เต็มเตมิ ความรู้ 75 25 50 75

4. กิจกรรม พัฒนาผู้เรียนดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 50 12 38 50

5. กจิ กรรมลกู เสือวสิ ามัญ 64 23 41 64

6. กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เร่ืองการป้องกันการติดเช้ือ 200 95 105 200
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)

7. กจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวิต เรือ่ งการป้องกนั ไข้เลือดออก 100 48 70 118

8. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค 150 98 52 150

โรนา 2019 (COVID19)

รวม 1,557 957 818 1,575

๓๕

๖.๒ เชิงคุณภาพ
นักศกึ ษา กศน.ทีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรม รอ้ ยละ ๗๖.๓๐ มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นที่สงู ข้ึน และร้อยละ ๘๐

มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูใ่ นระดบั ดีขึ้นไป
๗. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ

๑) กลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลายในด้านวัยวุฒิ ทำให้เกิดปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมบางกิจกรรม
เช่น กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ใหญ่โดยส่วนใหญ่จะไม่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายต่างๆ เนื่องจากเกิดความอึดอัด ไม่คล่องตัว
เมอ่ื ตอ้ งทำกจิ กรรมร่วมกบั นักศกึ ษาที่เปน็ วยั รุ่น

๒) มกี ารเกิดโรคระบาดการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ทำให้การจัดกจิ กรรมเปน็ ไปดว้ ยความ
ลำบาก เชน่ ตอ้ งจดั กิจกรรมเป็นกลุ่มคนจำนวนนอ้ ย เป็นตน้

ขอ้ เสนอแนะ
๑) กจิ กรรมทต่ี ้องดำเนนิ การจดั ให้กับกลมุ่ เป้าหมาย ต้องเป็นกิจกรรมที่สนองตอบความต้องการของ
กลุ่มเปา้ หมายอย่างแท้จรงิ และเกิดประโยชนก์ ับตนเองและสังคม
๒) ใช้มาตรการป้องการติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) เช่น การรักษาระยะหา่ งทางสงั คม การให้
นกั ศกึ ษาสวมหน้ากากอนามัย การใช้เจลแอลกอฮอลา้ งมอื เปน็ ต้น
๘. ภาพกิจกรรมการดำเนนิ งานของโครงการ
โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

วันท่ี 14 พฤศจิกายน 2562 ณ ศาลาประชาคมอำเภอตะโหมด ต.แม่ขรี อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น”ค่ายสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมเพอ่ื มุ่งสู่ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ”

๓๖

วนั ท่ี 19 - 20 ธันวาคม 2562 ณ วดั ตะโหมด ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

โครงการค่ายพกั แรมลกู เสือวสิ ามญั กศน.อำเภอตะโหมด
วันที่ 22 - 24 มกราคม 2563 ณ หน่วยพทิ ักษป์ ่าบา้ นตะโหมด ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

โครงการคา่ ยทกั ษะชีวติ เพศวิถศี ึกษา
วนั ที่ 13 - 14 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ หน่วยพิทกั ษ์ป่าบา้ นตะโหมด ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

๓๗

โครงการจัดกจิ กรรมปรบั พ้ืนฐาน/สอนเสริม
วนั ท่ี 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ วัดตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

โครงการค่ายพกั แรมลกู เสือวิสามญั กศน.อำเภอตะโหมด
วนั ที่ 24 – 26 สิงหาคม 2563 ณ ศาลาหมทู่ ่ี 10 บา้ นคลองปลกั ปอม ต.แม่ขรี อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

๓๘

โครงการปอ้ งกนั ไข้เลอื ดออก
วันท่ี 28 สงิ หาคม 2563 ณ ศาลาประชาคมอำเภอตะโหมด ต.แมข่ รี อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น”ค่ายสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม
วันที่ 31 สิงหาคม 2563 ณ วัดตะโหมด ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

๓๙

โครงการติวเขม้ เติมเตม็ ความรู้ เตรียมเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (N-NET)
วันท่ี 20 – 22 สงิ หาคม 2562 ณ วดั ตะโหมด ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

โครงการพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน การสอนเสริม วิชา คณิตศาสตร์
วันท่ี 5 - 6 กันยายนม 2563 ณ กศน.ตำบลและศรช.ทกุ แหง่ ใน อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

๔๐

โครงการส่งเสริมการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID19)

วันท่ี 10 ส.ค. – 5 ก.ย. 2563 ณ กศน.ตำบลและศรช.ทุกแห่ง ใน อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

โครงการพัฒนาทักษะชีวิต เรื่องการป้องกันการติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
วนั ท่ี 10-31 สิงหาคม 2563 ณ กศน.ตำบลและศรช.ทุกแหง่ ใน อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

๔๑

โครงการ ประเมนิ เทียบระดับการศกึ ษา (ไต่ระดบั )
๑. ช่อื โครงการ ประเมินเทียบระดบั การศึกษา (ไตร่ ะดบั )
๒. โครงการท่ีดำเนนิ การ สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปี ๒๕๖3

เป้าประสงค์
ข้อท่ี 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส

ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษา
ตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของ
แตล่ ะกลุม่ เป้าหมาย

ข้อที่ 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น
พลเมือง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความมั่นคง
และยงั่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่ิงแวดล้อม

ตวั ช้ีวัดเชงิ ปริมาณ

๔๒

ข้อท่ี 1 จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตาม
สทิ ธทิ ่ีกำหนดไว้

ขอ้ ที่ ๓ ร้อยละของกำลังแรงงานท่ีสำเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ข้ึนไป
ตัวชว้ี ดั เชงิ คณุ ภาพ

ข้อท่ี ๒ ร้อยละของผู้เรยี นท่ไี ดร้ บั การสนับสนุนการจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเทยี บกับคา่ เปา้ หมาย

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ตัวช้วี ดั
(๒) ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประเด็นข้อที่ ๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

ม่งุ เน้นผูเ้ รยี นใหม้ ที กั ษะการเรยี นรู้และใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียนตลอดเวลา (๔) การพัฒนาการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต

นโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน
สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สำหรับ

ทุกคน สามารถเรียนได้ทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมท่ีหลากลาย น่าสนใจ สน องตอบความต้องการของชุมชน
เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการ
เรียนร้เู พอื่ เชอ่ื มโยงความสมั พันธ์ของคนในชุมชนไปสู้การจัดการความรขู้ องชุมชนอย่างยัง่ ยนื

1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ
ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรม
จติ อาสา ตลอดจนสนบั สนนุ ให้มกี ารจัดกจิ กรรมเพือ่ ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรมให้กบั บุคลากรในองคก์ ร

ภารกจิ ต่อเนอื่ ง
๑. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้

๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
๔) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์

ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ
ของกล่มุ เป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

๓. เป้าหมาย
ประชาชนผ้พู ลาดโอกาสทางการศึกษา จำนวน 10 คน

๔. วตั ถุประสงค์
๓.๑ เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณธรรม จริยธรรม ได้รับการรับรอง

คณุ วุฒิทางการศึกษา
๓.๒ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคคลท่ัวไป มีความกระตือรือร้นในการท่ีจะแสวงหาความรู้เพ่ิมทักษะ

และสั่งสมประสบการณอ์ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต
๓.๓ เพื่อตอบสนองความต้องการ การยอมรบั ความรู้ และประสบการณ์ของผูเ้ ข้ารบั การประเมินเทยี บ

๔๓

ระดบั การศกึ ษา ซง่ึ จะทำใหค้ วามมั่นใจในตนเอง ม่ันใจในสถานภาพทางสงั คม

๕. กิจกรรมท่ดี ำเนนิ งาน
๕.๑ ประชุมวางแผนการจัดการศกึ ษาใหก้ ลมุ่ เป้าหมาย
๕.๒ ประชาสัมพนั ธ์การรบั สมัครกลุม่ เปา้ หมาย
๕.๓ ปฐมนเิ ทศชแี้ จงความเข้าใจ
๕.๔ ประเมนิ ภาคประสบการณ์
๕.๕ วัดผลประเมินผลมติ ิความรู้ ความคิด (ภาคทฤษฎ)ี
๕.๖ สมั มนาวชิ าการ
๕.๗ ออกหลักฐานการจบหลกั สูตร

๖. ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมายโครงการทัง้ ในเชงิ ปริมาณ และเชงิ คุณภาพ
๖.๑ เชงิ ปรมิ าณ
ตาราง แสดงจำนวนผสู้ มคั รเขา้ รบั การประเมินเทยี บระดับการศกึ ษา มติ ิความรคู้ วามคิด ครัง้ ที่ 2
ปีการศึกษา 2562

จำนวนผสู้ มัครเขา้ รบั การประเมินเทียบระดับการศกึ ษา รวมท้ังสิ้น

สถานศึกษา ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

กศน.อำเภอตะโหมด สมคั ร เขา้ ผ่าน สมัคร เขา้ ผ่าน สมัคร เข้า ผ่าน สมัคร เขา้ ผ่าน
รวม สอบ สมั มนา สอบ สัมมนา สอบ สัมมนา สอบ สมั มนา

- - - - - - 21 1 21 1

- - - - - - 21 1 21 1

ตาราง แสดงจำนวนผสู้ มคั รเข้ารบั การประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา มติ ิความรคู้ วามคิด ครั้งที่ 1

ปกี ารศกึ ษา 2563

จำนวนผูส้ มคั รเขา้ รบั การประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษา รวมทั้งส้ิน

สถานศึกษา ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย

สมัคร เข้า ผ่าน สมัคร เขา้ ผ่าน สมคั ร เขา้ ผา่ น สมคั ร เขา้ ผา่ น
สอบ สัมมนา สอบ สัมมนา สอบ สมั มนา สอบ สัมมนา

กศน.อำเภอตะโหมด - - - 3 2 2 2 1 1 5 3 1

๔๔

รวม - - - 3 2 2 2 1 1 5 3 1
๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ร้อยละ ๘๐ ของผเู้ ข้ารบั การประเมนิ เทียบระดับการศึกษา ผ่านการประเมนิ และนำความรทู้ ่ีไดร้ ับไป

พฒั นาคณุ ภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ และเข้ารับการศึกษาต่อนะดบั ทสี่ ูงขนึ้
๗. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของโครงการ

ปญั หาอุปสรรค
๑) ค่าธรรมเนยี มในการลงเบียนเพอื่ เขา้ รับการประเมินเทียบระดบั สูงเกนิ ไป บางคร้ังกลมุ่ เปา้ หมาย
ทต่ี ้องการรว่ มโครงการไม่สามรถเข้ารว่ มโครงการได้
๒) ผู้เข้ารับการประเมินขาดความรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะในการจดั ทำแฟ้มประสบการณ์
ขอ้ เสนอแนะ
๑) เพ่อื เปน็ การส่งเสริมสนบั สนุน ยกระดับการศกึ ษาให้กบั กล่มุ เป้าหมายที่ที่พลาด และขาดโอกาสทาง
การศึกษาอยา่ งทั่วถึงและเทา่ เทียม ควรมกี ารสนบั สนนุ งบประมาณช่วยเหลือในดา้ นค่าธรรมเนียมการลง ทะเบยี น
๒) เพือ่ เปน็ การสง่ เสริมสนับสนุน ยกระดบั การศึกษาใหก้ บั กลุม่ เป้าหมายทท่ี พี่ ลาด และขาดโอกาสทาง
การศกึ ษาอยา่ งทั่วถึงและเท่าเทยี ม ควรมงี บประมาณสนบั สนนุ ในการจดั สอ่ื แบบเรยี น คมู่ ือการประเมิน
ท้งั ภาคประสบการณ์ และภาคมิตคิ วามรู้ ความคิด

๘. ภาพกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ
กจิ กรรมการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาใหม่

การประเมินภาคประสบการณ์

๔๕

สมั มนาวิชาการเทยี บระดบั การศกึ ษา ณ กศน.อำเภอบางแกว้

โครงการ จัดการศึกษาสำหรบั คนพิการ
๑. ชอ่ื โครงการ สง่ เสริมการจัดการศึกษากลุ่มเปา้ หมายคนพกิ าร
2. ความสอดคล้องกับนโยบายยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปี ๒๕๖3

เป้าประสงค์
ข้อที่ ๑ ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาสทาง

การศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน การศกึ ษาตอ่ เนื่องและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ี
มคี ณุ ภาพ อยา่ งเท่าเทียมและท่วั ถงึ เปน็ ไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย

ตวั ชี้วดั เชงิ ปรมิ าณ
ข้อท่ี ๑. จำนวนผ้เู รียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานทไ่ี ด้รับการสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยตาม

สทิ ธทิ ก่ี ำหนดไว้
ตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ
ขอ้ ที่ ๑ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)

ทุกรายวชิ าทกุ ระดบั
ขอ้ ที่ ๒ รอ้ ยละของผู้เรียนทีไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานเทียบกบั คา่ เปา้ หมาย

ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2561-2580
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

๔๖

ตวั ชวี้ ดั
(2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประเด็นข้อที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคน

ตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคณุ ภาพในทุกช่วงวัย (2) ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัย
พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ท่ีสอดรับกบั ศตวรรษที่ 21

นโยบายเร่งด่วนเพอื่ รว่ มขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
4.1 สง่ เสริมการรภู้ าษาไทย เพ่มิ อัตราการรู้หนังสือ และยกระดบั การรู้หนงั สือของประชาชน
2) เร่งรัดจัดการศกึ ษาเพื่อเพมิ่ อตั ราการรหู้ นงั สือ และคงสภาพการรู้หนงั สอื ให้ประชาชนอ่านออก

เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้ส่ือ การะบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะใน
รปู แบบตา่ ง ๆ ทีเ่ หมาะสม และสอดคลอ้ งกับสภาพพืน้ ที่และกล่มุ เป้าหมาย

4.8 ยกระดบั การศึกษาใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมายทหารกองประจำการ รวมทั้งกลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษอนื่ ๆ เช่น
ผ้ตู ้องขัง คนพิการ เดก็ ออกกลางคัน ใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สามารถนำความรู้ทไ่ี ดร้ ับ
ไปพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง

ภารกจิ ต่อเนอื่ ง
ขอ้ ที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการให้

ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณ ภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน
การสอนอยา่ งท่วั ถงึ และเพียงพอ เพ่อื เพิ่มโอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาทม่ี คี ุณภาพโดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ ่าย

๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด
และขาดโอกาส

๓. เป้าหมาย
ผ้ทู ่มี ีความพกพรอ่ งทางรา่ งกายทีส่ ามารถเรียนรไู้ ด้อายุ 15 – 35 ปี จำนวน 40 คน

๔. วตั ถุประสงค์
๔.๑ เพื่อสง่ เสรมิ สนับสนุนให้คนพิการไดร้ ับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามสภาพความพร้อมสรา้ งโอกาสให้คนพกิ าร

ได้รับการศึกษาอยา่ งท่ัวถึง เสมอภาค
๔.๒ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้คนพิการให้ได้รับการศึกษาในรูปแบบท่ีเหมาะสมกับสภาพความต้องการของ

ตนเอง
๔.๓ เพื่อสามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ใหด้ ีข้นึ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

๕. กจิ กรรมท่ีดำเนินงาน
๕.๑ ประชุมวางแผนการจดั การศกึ ษาใหก้ ลุ่มเป้าหมายผูท้ มี่ ีความพกพร่องทางรา่ งกายทสี่ ามารถเรียนรู้


Click to View FlipBook Version