The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by copy_1686, 2020-11-16 09:20:35

รายงานผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด

สรุปผลการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น ประจำปี 2563

๙๗

๘. ภาพกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ
โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน การจัดการศกึ ษาพัฒนาอาชีพรปู แบบกลุม่ สนใจ

หลกั สตู รวชิ าการทำปลาสม้ จำนวน 9 ชว่ั โมง จัดระหวา่ งวันที่ 13 – 15 กุมภาพันธ์ 2563
ณ ศาลาประจำหมบู่ า้ น ม. 2 บ้านทุ่งเหร่ยี ง ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลงุ

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การจดั การศกึ ษาพัฒนาอาชพี รปู แบบกลุ่มสนใจ

๙๘

หลกั สูตรวิชาการทำขนั หมากอสิ ลาม จำนวน 20 ชว่ั โมง จัดระหว่างวันที่ 6 - 12 มีนาคม 2563
ณ บา้ นเลขที่ 134 หมทู่ ี่ 11 บ้านควนล่อน ตำบลแมข่ รี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน การจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชีพรปู แบบกลุ่มสนใจ
หลกั สูตรวชิ าการแปรรปู เหด็ จำนวน 15 ชว่ั โมง จัดระหวา่ งวันที่ 11 - 20 มถิ ุนายน ๒๕๖3

ณ ศาลาประจำหมูบ่ า้ น ม.๒ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพทั ลุง

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน การจัดการศกึ ษาพัฒนาอาชีพรูปแบบกลุ่มสนใจ

๙๙

หลักสตู รวิชาการทำแกงไตปลาแห้ง จำนวน 12 ชัว่ โมง จดั ในวันท่ี 15,16,23,24 กุมภาพันธ์ 2563
ณ บา้ นเลขที่ 44 หม่ทู ี่ 10 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลงุ

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน การจัดการศึกษาพฒั นาอาชีพรูปแบบกลมุ่ สนใจ
หลกั สูตรวชิ าการทำโลชนั และสเปรย์กนั ยังจากตะไครห้ อม จำนวน15 ชั่วโมง จัดระหว่างวันที่ 6–10 มีนาคม ๒๕๖๒

ณ รพ.สต.บ้านโหละ๊ บ้า หมู่ 4 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

๑๐๐

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน การจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชพี รูปแบบกล่มุ สนใจ
หลกั สูตรวชิ าการแปรรูปตะลิงปลงิ จำนวน 20 ชว่ั โมง จดั ระหวา่ งวันท่ี 25 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2563

ณ กศน.ตำบลคลองใหญ่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลงุ

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน การจดั การศึกษาพฒั นาอาชพี รูปแบบกล่มุ สนใจ
หลักสูตรวชิ าการทำน้ำพริกสมนุ ไพร จำนวน 15 ช่ัวโมง จัดระหว่างวันที่ 26 - 30 เมษายน 2563

ณ บา้ นเลขท่ี 253 ม.4 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

๑๐๑

โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน การจดั การศกึ ษาพัฒนาอาชีพรปู แบบกลมุ่ สนใจ
หลักสตู รวิชาการทำผา้ มัดยอ้ ม จำนวน 20 ชวั่ โมง จดั ระหวา่ งวันที่ 8 - 14 กุมภาพันธ์ ๒๕๖3

ณ หมู่บา้ นชุมชนต้นแบบ หมู่ท่ี 1 บา้ นทุ่งโพธ์ิ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลุง

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน การจดั การศกึ ษาพฒั นาอาชีพรปู แบบกลุ่มสนใจ
หลักสตู รวชิ าการทำพวงกุญแจจากไมม้ ะขาม จำนวน 20 ชวั่ โมง จัดระหว่างวันท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ – 4 มีนาคม 2563

ณ กศน.ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จงั หวดั พทั ลุง

๑๐๒

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน การจดั การศึกษาพัฒนาอาชพี รูปแบบกลุ่มสนใจ
หลกั สูตรวิชาการทำเจลแอลกฮอลล์ ้างมือ จำนวน 15 ชว่ั โมง จัดระหว่างวนั ท่ี 7 – 11 พฤษภาคม 2563

ณ บา้ นเลขที่ 45/2 หมู่ 12 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน การจดั การศกึ ษาพัฒนาอาชีพรปู แบบกลุ่มสนใจ
หลักสตู รวชิ าการทำลิปสติกจากนำ้ ผง้ึ โพรงไทย จำนวน 15 ชว่ั โมง จดั ระหวา่ งวันท่ี 3 – 9 มีนาคม 2563

ณ บา้ นเลขที่ 173 หมู่ที่ 6 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

๑๐๓

โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน การจดั การศกึ ษาพฒั นาอาชพี รปู แบบกลุ่มสนใจ
หลักสูตรวชิ าการทำท๊อฟฟฟ่ีน้ำผึ้งรสผลไม้ จนวน 15 ชว่ั โมง จัดระหว่างวันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ – 2 มีนาคม ๒๕๖3

ณ บ้านเลขท่ี 48/1 หม่ทู ่ี 5 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน การจัดการศึกษาพัฒนาอาชพี รปู แบบกลุ่มสนใจ
หลกั สูตรวชิ าการการทำผ้ามัดย้อม จำนวน 20 ช่วั โมง จดั ระหว่างวันที่ 7 – 15 พฤษภาคม 2563

ณ ศรช.ทต.เขาหัวชา้ ง ม.๖ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

๑๐๔

โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน การจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชีพรูปแบบกล่มุ สนใจ
วิชาการทำนำ้ หมักชีวภาพปราบศัตรพู ืช ระหว่างวนั ที่ 28 - 31 พฤษภาคม 2๕๖2
ณ ศาลาประจำหมู่บ้าน หม่ทู ี่ 1 บ้านทุ่งโพธ์ิ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน การจดั การศกึ ษาพฒั นาอาชีพรูปแบบชัน้ เรยี นวิชาชพี

๑. ชอื่ โครงการ ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน การจดั การศึกษาพฒั นาอาชีพรปู แบบช้ันเรียนวิชาชพี

๒. สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3

เป้าประสงค์
ข้อท่ี ๒ ประชาชนไดร้ ับการยกระดับการศึกษา สร้างเสรมิ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง

ท่สี อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสคู่ วามม่ันคงและยงั่ ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
ข้อท่ี ๒ จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ
ตวั ช้ีวัดเชิงคณุ ภาพ
ข้อท่ี ๓ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทียบกบั เป้าหมาย
ข้อท่ี 6 ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย

ของหลกั สูตร/กิจกรรม การศึกษาตอ่ เนอื่ ง

ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

๑๐๕

ตวั ชี้วัด
(๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย ประเด็นข้อท่ี ๒

การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดย (๓) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงาน
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาด

นโยบายเร่งด่วนเพอื่ รว่ มขับเคล่อื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั

๒.๑ ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ อุตสาหกรรม
เป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพ้ืนที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขต
พัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สําหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้น การต่อยอดศักยภาพและตาม
บรบิ ทของพื้นที่

ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง
ข้อที่ ๑ ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนอ่ื ง
๑) จดั การศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทำอย่างยงั่ ยืน โดยใหค้ วามสำคัญกบั การจดั การศึกษาอาชพี

เพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแต่ละ
พ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกำกับติดตาม
และรายงาน ผลการจัดการศึกษาอาชพี เพือ่ การมงี านทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง

๓. วตั ถุประสงค์
๓.๑ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนที่มีอาชีพอยูแ่ ล้วและต้องการพฒั นาต่อยอดอาชีพเดิม หรือทีย่ งั ไม่มีอาชพี ได้มีฝกึ

ทักษะอาชีพในหลกั สูตรระยะสน้ั เพื่อเปน็ ผปู้ ระกอบการ
๓.๒ เพือ่ สร้างเครอื ข่ายในลักษณะวิสาหกิจชุมชน โดยใช้เทคโนโลยใี นการสร้างมลู ค่าเพมิ่ ใหก้ บั สนิ คา้

ทำช่องทางเผยแพร่และจำหน่ายผลติ ภัณฑ์ของวิสาหกิจชมุ ชนให้เป็นระบบครบวงจร
๓.๓ เพอ่ื ให้ประชาชนได้มอี าชพี มงี านทำ พงึ่ พาตนเองได้ชุมชนมีรายได้ มีความมั่นคง มั่งค่งั ย่งั ยนื

๔. เปา้ หมาย
ประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน

๕. กจิ กรรมทีด่ ำเนนิ งาน
๕.๑ วางแผนการดำเนนิ งานหลักสูตรชา่ งพน้ื ฐาน หลกั สูตรไมน่ อ้ ยกว่า ๔๐
๕.๒ จัดเวทปี ระชาคม/ประชาสมั พนั ธ/์ สำรวจความต้องการและการรับสมัครกลมุ่ เป้าหมาย
๕.๓ ประสานผเู้ กี่ยวขอ้ ง/สรรหาวทิ ยากร
๕.๔ ขออนุมัติจัดโครงการ
๕.๕ จดั หาสื่อ /จัดทำแผนการเรยี นรู้และดำเนนิ จัดการเรียนรตู้ ามแผน(เนน้ การฝกึ ทักษะปฏบิ ัติจรงิ )
๕.๖ นิเทศ ตดิ ตามผล

๑๐๖

๕.๗ วดั ผลและประเมินผล/รายงานผล /ขออนมุ ัติจบ/ออกประกาศนียบัตร
๕.๘ ติดตามการนำไปใชป้ ระโยชน์
๕.๙ สรปุ ผลการดำเนนิ การ

๖. ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมายโครงการทงั้ ในเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

๖.๑ เชงิ ปริมาณ

แผน ผล จำนวนผผู้ า่ นการอบรมอาชพี
จำแนก(คน)

ท่ี กศน.ตำบล กิจกรรม/หลักสตู ร จำนวน รวม พัฒนา สรา้ ง ตอ่ ทำ
(คน) ตนเอง อาชีพ ยอด เป็น
ชาย หญงิ และ ใหม่ อาชีพ อาชีพ
ครอบครวั เดมิ เสรมิ

การตดั เย็บและการออกแบบ 1 12 13 6 133
1 12 13 7 132
๑. แม่ขรี เสอ้ื ผา้ มสุ ลมิ
การตัดเยบ็ และการออกแบบ

เสื้อผา้ มุสลิม

การผกู ผา้ ในงานพธิ ี - 11 11 1 - 8 2

การแปรรปู นำ้ มันมะพร้าว 60 - 11 11 3 - - 8
สกัดเย็นและการออกแบบ

บรรจุภัณฑ์

2. คลองใหญ่ การแปรรูปผลไม้พื้นบา้ นและ - 12 12 6 - - 6
การออกแบบบรรจุภณั ฑ์

การแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ าก - 15 15 4 - - 11
น้ำผ้ึงและการออกแบบบรรจุ
ภณั ฑ์

๑๐๗

การประดิษฐก์ ระเป๋าถุงผ้าลด - 15 15 3 - 48
- 15 15 4 236
3. ตะโหมด โลกรอ้ น - 13 13 - 445
การแปรรปู เหด็ นางฟ้าและ 2 116 118 34 8 25 51

การบรรจภุ ณั ฑ์

4. ศรช.ทต. การร้อยเครอ่ื งประดบั
เขาหัวช้าง ลกู ปัดมุก

รวม 60

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ

๑) ร้อยละ ๘๐ ผู้เรียน/ ผู้รับบริการ ได้ฝึกหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันในวิชาท่ีหลากหลาย ที่สอดคล้องกับ
ความต้องการ ตามบรบิ ทของพน้ื ที่ โดยใช้เทคโนโลยใี นการพัฒนาอาชีพ

๒) ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพได้จริง ทำให้มีรายได้ มีงาน

ทำทย่ี ่ังยืน พ่งึ พาตนเองได้ เกิดการสรา้ งงานในชมุ ชน พัฒนาสู่การประกอบอาชีพ ดำรงตนอยูใ่ นสังคมได้อย่างมวี ามสุข

๗. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ (ระบุแยกเป็นขอ้ ๆ ให้ชดั เจนพอสงั เขป)
ปัญหาอุปสรรค
๑) ผูร้ บั บริการทสี่ มัครเรยี นไม่สามารถเรียนและฝึกทักษะได้ต่อเนอ่ื งไดเ้ นื่องจากมีปญั หาทางเศรษฐกิจ

มคี วามจำเป็นต้องประกอบอาชพี หาเลีย้ งครอบครวั ทำใหไ้ ม่สามารถมาเรียนร้ไู ด้ทุกวนั
๓) ผ้เู รยี นได้มีการเปรยี บเทียบกับหนว่ ยงานอืน่ ทีม่ ีของแจกให้และจา่ ยคา่ เบีย้ เลีย้ ง ค่าน้ำมันรถเปน็ ตน้
๔) การเกิดโรคระบาดการติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID19) ทำให้การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วยความ
ลำบาก เช่น ต้องจัดกิจกรรมเป็นกลุ่มคนจำนวนน้อย 3 – 5 คน ทำให้จำนวนช่วั โมงสอนของวิทยากร
มากข้นึ เป็นต้น

ข้อเสนอแนะ
๑) อธิบายทำความเข้าใจใหผ้ รู้ ับบรกิ าร ถงึ ภารกิจของสถานศกึ ษา กศน. มีหนา้ ทจ่ี ดั การเรยี น

การสอนไม่สามารถจดั ซอื้ จัดจา้ งวสั ดมุ าแจกไดน้ อกจากเปน็ วัสดเุ พือ่ การเรียนรู้

๘. ภาพกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ
โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน การจดั การศึกษาพัฒนาอาชพี รูปแบบช้นั เรยี นวิชาชีพ

หลกั สูตรวชิ าการตดั เย็บและการออกแบบเสื้อผา้ มสุ ลมิ จำนวน 40 ชัว่ โมง จดั ระหวา่ งวนั ท่ี 7 - 20 กุมภาพันธ์ 2563
ณ บ้านเลขที่ 134 หมู่ที่ 11 ตำบลแมข่ รี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

๑๐๘

โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน การจัดการศกึ ษาพัฒนาอาชีพรปู แบบช้ันเรยี นวชิ าชพี
หลกั สตู รวชิ าการตัดเย็บและการออกแบบเส้ือผ้ามสุ ลิม จำนวน 40 ชว่ั โมง จัดระหว่างวนั ท่ี ๒ – ๒๙ กรกฎาคม 2563

ณ บ้านเลขที่ ๑๓๔ ม.๑๑ บ้านควนลอ่ น ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลุง

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน การจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชพี รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ

๑๐๙

หลกั สตู รการผูกผา้ ในงานพธิ ี จำนวน 40 ชวั่ โมง จัดระหวา่ งวนั ที่ 7 – 22 กุมภาพนั ธ์ 2563
ณ กศน.ตำบลคลองใหญ่ หมู่ท่ี 8 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน การจัดการศึกษาพัฒนาอาชพี รูปแบบช้นั เรียนวิชาชพี
หลักสูตรวชิ าการแปรรูปนำ้ มันมะพร้าวสกัดเย็นและการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ จำนวน 40 ช่วั โมง

จัดระหว่างวนั ที่ 2 – 29 พฤษภาคม 2563
ณ ศพก.อำเภอตะโหมด ม.2 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

๑๑๐

โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน การจดั การศกึ ษาพฒั นาอาชีพรปู แบบช้นั เรยี นวชิ าชพี
หลักสตู รวชิ าการแปรรูปผลไม้พนื้ บ้านและการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ จำนวน 40 ช่วั โมง

จัดระหว่างวนั ที่ 17 มถิ ุนายน - 2 กรกฎาคม 2563
ณ กศน.ตำบลคลองใหญ่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลงุ

โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน การจัดการศึกษาพฒั นาอาชีพรปู แบบชั้นเรยี นวชิ าชีพ
หลกั สตู รวชิ าการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากน้ำผง้ึ และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ จำนวน 50 ชว่ั โมง
จดั ระหว่างวันท่ี 2 - 18 มถิ ุนายน 2563 ณ ศพก.อำเภอตะโหมด ม.2 ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

๑๑๑

โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน การจดั การศกึ ษาพัฒนาอาชีพรูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชีพ
หลักสตู รวชิ าการประดิษฐ์กระเปา๋ ถุงผ้าลดโลกร้อน จำนวน 40 ชว่ั โมง จดั ระหวา่ งวันที่ 7–22 กมุ ภาพันธ์ 2563

ณ ศาลาประจำหม่บู ้านหม่ทู ี่ 11 บ้านนาสอ้ ง ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลุง

โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน การจดั การศึกษาพัฒนาอาชีพรปู แบบช้นั เรยี นวชิ าชีพ
หลักสตู รวิชาการแปรรปู เหด็ นางฟา้ และการบรรจภุ ณั ฑ์ จำนวน 40 ชวั่ โมง ระหว่างวนั ท่ี ๒๔ เม.ย. – ๒๑ พ.ค. 63

ณ บ้านเลขท่ี ๔ หมู่ ๙ บา้ นป่าพงศ์ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จงั หวดั พทั ลุง

๑๑๒

โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน การจดั การศึกษาพฒั นาอาชีพรูปแบบชั้นเรยี นวิชาชีพ
หลักสตู รวิชาการร้อยเคร่ืองประดับลูกปัดมุก จำนวน 40 ช่ัวโมง จัดระหว่างวนั ท่ี 10-25 มีนาคม 2563

ณ บ้านเลขท่ี 425 หมูท่ ่ี 5 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลุง

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน การจดั การศกึ ษา ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ
๑. ช่ือโครงการ ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน การจดั การศึกษา ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ
๒. สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3

เป้าประสงค์
ขอ้ ที่ ๒ ประชาชนไดร้ ับการยกระดับการศึกษา สร้างเสรมิ และปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง

ท่สี อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชมุ ชน เพ่ือพฒั นาไปสู่ความมั่นคงและยง่ั ยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม

ตัวชีว้ ัดเชิงปรมิ าณ
ขอ้ ที่ ๒ จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ตอ่ เนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ
ตวั ช้วี ัดเชิงคุณภาพ
ข้อท่ี ๓ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

เทียบกับเป้าหมาย
ข้อท่ี 6 ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมท่ีสามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย

ของหลกั สตู ร/กจิ กรรม การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
ยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

๑๑๓

ตัวชวี้ ัด
(๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ท่ีดีของคนไทย ประเด็นข้อท่ี ๒

การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดย (๓) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงาน
สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาด

นโยบายเรง่ ดว่ นเพื่อร่วมขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
๒.๑ ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ อุตสาหกรรม

เป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขต
พัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สําหรับพ้ืนท่ีปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้น การต่อยอดศักยภาพและตาม
บรบิ ทของพื้นที่

ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง
ข้อท่ี ๑ ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้
๑.๓ การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
๑) จดั การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทำอย่างย่ังยืน โดยใหค้ วามสำคญั กับการจดั การศกึ ษาอาชีพ

เพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการ รวมถึงการเน้นอาชพี ช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแต่ละ
พื้นท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจน สรา้ งความเข้มแขง็ ใหก้ ับศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน โดยจัดให้มหี นง่ึ อาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกำกับติดตาม และ
รายงาน ผลการจัดการศึกษาอาชีพเพือ่ การมีงานทำอย่างเป็นระบบและตอ่ เน่ือง

๔. เปา้ หมาย
ประชาชนท่วั ไป จำนวน 48 คน

๓. วตั ถปุ ระสงค์
๓.๑ เพ่ือให้ประชาชนที่มีอาชีพอยูแ่ ลว้ และต้องการพฒั นาตอ่ ยอดอาชพี เดิม หรือทย่ี ังไม่มีอาชีพได้ฝกึ ทกั ษะ

อาชีพในหลักสตู รระยะส้ันเพื่อเป็นผปู้ ระกอบการ
๓.๒ เพื่อสร้างเครือข่ายในลักษณะวิสาหกิจชุมชน โดยใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า

ทำชอ่ งทางเผยแพรแ่ ละจำหน่ายผลติ ภณั ฑข์ องวิสาหกจิ ชุมชนใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจร
๓.๓ เพอื่ ใหป้ ระชาชนได้มอี าชีพ มงี านทำ พ่งึ พาตนเองได้ชุมชนมีรายได้ มีความมั่นคง ม่งั คงั่ ยั่งยืน

เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เก่ียวกับการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพหรอื ต่อยอดอาชีพเดิมท่ีสามารถนำความรู้
ที่ได้ไปประกอบอาชีพได้จริง ทำให้มีรายได้ มีงานทำท่ีย่ังยืน พ่ึงพาตนเองได้ เกิดการสร้างงานในชุมชน พัฒนาสู่
ผู้ประกอบการ และดำรงชีวติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

๕. วิธกี ารดำเนนิ การ
๑. ประชาสัมพนั ธ์ /รบั สมคั รผู้เรียน
๒. จัดทำหลักสูตร/แผนการเรียนรู้
๓. จัดกิจกรรมตามหลกั สูตร

๑๑๔

๔. วดั ผล/ประเมินผล
๕. ออกหลักฐานการจบหลกั สตู ร
๖. จดั ทำทะเบียนผ้จู บหลกั สูตร
๗. ตดิ ตามผลผู้จบหลกั สูตร

๖. ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการทง้ั ในเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ จำนวนผผู้ า่ นการอบรมอาชีพ
๖.๑ เชงิ ปริมาณ
จำแนก(คน)
แผน ผล

ท่ี กศน.ตำบล กิจกรรม/หลักสตู ร จำนวน รวม พัฒนา สรา้ ง ตอ่ ทำ
(คน) ตนเอง อาชีพ ยอด เปน็
ชาย หญิง และ ใหม่ อาชีพ อาชพี
ครอบครัว เดิม เสรมิ

๑. ตะโหมด การแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากนำ้ ผ้ึง - 12 12 7 2-3

๒. คลองใหญ่ การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากนำ้ ผ้ึง - 12 12 7 - -5
การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์จากนำ้ ผึ้ง - 12 12
48 7 - -5

3. ศรช.ทต. การแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากน้ำผ้ึง 5 7 12 - - 66
เขาหัวช้าง

รวม 48 5 43 12 21 2 6 19

๖.๒ เชงิ คุณภาพ

ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ สามารถนำความรู้ท่ีได้ไปประกอบอาชีพได้จริง ทำให้มีรายได้
มีงานทำท่ียง่ั ยนื พึ่งพาตนเองได้ เกิดการสร้างงานในชุมชน พัฒนาสู่ผปู้ ระกอบการ และดำรงชีวิตอยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่าง
มีความสขุ

๑๑๕

๗. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ
ปัญหาอปุ สรรค
๑) บริบทของพ้ืนท่ีของอำเภอตะโหมด มีความแตกต่างกัน ในแต่ละหมู่บ้าน ตำบล ในการดำเนินการ

ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดอาชีพเดียวกันเป็นสิ่งที่ดำเนินการได้ยากมาก เพราะแต่ละหมู่บ้าน ตำบล ประกอบอาชีพ
แตกตา่ งกนั

๒) ไม่ได้รับการส่งเสริมด้านการตลาดในการจำหนา่ ยผลิตภณั ฑห์ รือสนิ คา้ จากหนว่ ยงานภาครฐั ท่เี กย่ี วข้อง
๓) ๔) การเกิดโรคระบาดการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ทำให้การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วย
ความลำบาก เช่น ต้องจัดกิจกรรมเป็นกลุ่มคนจำนวนน้อย 3 – 5 คน ทำให้จำนวนชั่วโมงสอนของวิทยากรมากขึ้น
เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ
๑) ควรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ อาชพี ที่หลากหลายโดยแยกเปน็ ตำบล เพอื่ ใหต้ รงกบั บรบิ ทและความ
ตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จรงิ
๒) ทกุ ภาคส่วนควรรว่ มมอื กันในการจัดหาตลาดเพอ่ื จดั จำหน่ายสินและผลติ ภณั ฑ์
๓) ต้องมีการปรับรปู แบบของบรรจุภัณฑ์ให้มคี วามสวยงาม โดดเด่น ดึงดดู ใจผซู้ ้ือหรือผบู้ ริโภค
ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการซ้ือผลิตภณั ฑ์หรือสินค้า
๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนินงานของโครงการ

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน การจดั การศกึ ษา ๑ อำเภอ ๑ อาชพี
หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้ำผง้ึ จำนวน 40 ช่วั โมง จัดระหว่างวันที่ 7 – 20 กุมภาพนั ธ์ 2563

ณ ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร ม.2 ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

๑๑๖

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน การจดั การศกึ ษา ๑ อำเภอ ๑ อาชพี
หลกั สูตรการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากนำ้ ผึ้ง จำนวน 40 ช่วั โมง จดั ระหว่างวนั ท่ี 7 – 20 กุมภาพันธ์ 2563

ณ ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตสินคา้ เกษตร ม.2 ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การจดั การศึกษา ๑ อำเภอ ๑ อาชพี
หลักสูตรการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากนำ้ ผึ้ง จำนวน 40 ชั่วโมง จัดระหวา่ งวนั ที่ 1 – 28 พฤษภาคม 2563

ณ หมู่บ้านชมุ ชนตน้ แบบ หมู่ที่ 1 บา้ นทุง่ โพธ์ิ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลงุ

๑๑๗

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน การจดั การศกึ ษา ๑ อำเภอ ๑ อาชพี
หลักสตู รวชิ าการแปรรปู ผลิตภณั ฑจ์ ากน้ำผงึ้ จำนวน 40 ชวั่ โมง จดั ระหว่างวนั ที่ ๒ มถิ นุ ายน – ๓ กรกฎาคม 2563

ณ บา้ นเลขท่ี ๔๘/๑ ม.5 ต.คลองนยุ้ อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

โครงการ จัดและสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ เพื่อพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ
๑. ชื่อโครงการ จดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผ้สู ูงอายุ
๒. สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3

ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ตัวช้ีวัด

(1) การพฒั นาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยทู่ ่ีดีของคนไทย ประเด็นข้อที่ 5 การเสริมสร้างให้คน
ไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกายใจ สติปัญญา และสังคม (1) การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (2) ปการ
ปอ้ งกนั และควบคุมปัจจยั เสี่ยงที่คกุ คามสุขภาวะ (5) สง่ เสริมใหช้ มุ ชนเป็นฐานในการสร้างสขุ ภาวะท่ดี ีในทุกพ้นื ท่ี

นโยบายเร่งด่วนเพอื่ ร่วมขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศตามนโยบายและจุดเนน้ การ
ดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

๑. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความม่นั คง
๑.๓ ส่งเสริมและสนบั สนุนการจัดการศกึ ษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่ ท้ังยา

เสพติด การคา้ มนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัติใหม่ ฯลฯ
๓. ยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
๓.9 เตรียมความพรอ้ มของประชาชนในการเข้าส่สู ังคมผสู้ งู อายุทีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ

๑๑๘

ภารกจิ ตอ่ เน่อื ง
๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง
๒) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ

ทส่ี อดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจน
สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสขุ สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจำวันได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรยี มพรอ้ ม
สำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม
ที่มีเน้ือหาสำคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยม ท่ีพึง
ประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ัง
ชมรม/ชมุ นมุ การสง่ เสรมิ ความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ

๓. วตั ถุประสงค์
เพ่ือจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จิตและสมองให้แกผ่ ู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม

๔. เปา้ หมาย
ผู้สงู อายุ จำนวน จำนวน 75 คน

๕. วธิ ีการดำเนินการ
๕.๑ สำรวจความต้องการ
๕.๒ วางแผนจัดการความรู้
๕.๓ จัดกจิ กรรมอบรมให้ความรแู้ ละฝกึ ทกั ษะจำนวน ๙ ช่ัวโมง เรอื่ งการดูแลสขุ ภาพกาย จติ ผสู้ ูงอายุ
๕.๔ นิเทศ ติดตามผลการดำเนินโครงการ
๕.๕ ประเมนิ ผล/รายงานผล

๖. ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมายโครงการท้ังในเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ
๖.๑ เชิงปริมาณ

แผน ผล

ที่ กศน.ตำบล กจิ กรรม/หลกั สตู ร จำนวน ชาย หญิง รวม
(คน)
๑. กศน.ตำบลตะโหมด 15
๒. กศน.ตำบลคลองใหญ่ สุขภาพจติ กบั ผ้สู ูงอายุ การดูแลตนเองเพื่อ 3 17 20
๓. กศน.ตำบลแม่ขรี 20
ผอ่ น คลายเครียด การส่งเสริมสขุ ภาพ

ผู้สงู อายุ 75 4 16

การสง่ เสริมดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยกิจกรรม
นนั ทนาการ

การดูแลสุขภาพกาย จติ ผู้สูงอายุ 2 13

๑๑๙

๔. ศรช.ทต.เขาหัวช้าง การดแู ลสขุ ภาพกาย จิต ผสู้ งู อายุ 1 19 20
รวม 75 10 65 75

๖.๒ เชิงคุณภาพ
รอ้ ยละ่ ๘๐ ของผ้สู ูงอายุทเ่ี ข้ารว่ มโครงการมีสขุ ภาวะทางกาย จิต และสมองทีเ่ หมาะสมกับช่วงวัย

๗. ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะของโครงการ
ปัญหาอุปสรรค
๑) เนือ่ งจากเป็นเงนิ งบประมาณสนบั สนุนจากหน่วยงานภายนอก ทำใหม้ ขี ้อจำกัดในการใช้งบประมาณ
เช่น ไม่สามารถจัดซื้อวสั ดจุ ดั การอบรมได้ เปน็ ต้น

ข้อเสนอแนะ
-

8. ภาพกิจกรรมตามโครงการ
กจิ กรรม สุขภาพจิตกบั ผู้สงู อายุ การดูแลตนเองเพ่ือผ่อน คลายเครียด การส่งเสรมิ สุขภาพผ้สู ูงอายุ

ระหว่างวันท่ี 3-7 สิงหาคม 2563 ณ ศาลาประจำหมูบ่ า้ นทุ่งโพธิ์ หมู่ที่ 1 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวดั พทั ลงุ

๑๒๐

กจิ กรรม การส่งเสริมดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ้วยกจิ กรรมนันทนาการ
ระหว่างวันท่ี 3-5 สิงหาคม 2563 ณ รพ.สต.บา้ นโหล๊ะบ้า หมู่ท่ี 4 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลงุ

การดแู ลสขุ ภาพกาย จติ ผู้สูงอายุ
ระหว่างวนั ที่ 3-4 สิงหาคม 2563 ณ ศูนยส์ ขุ ภาพชุมชนควนเสาธง หมู่ที่ 8 ต.แมข่ รี ต.ตะโหมด ต.พัทลุง

๑๒๑

การดแู ลสุขภาพกาย จิต ผสู้ งู อายุ
ระหว่างวันท่ี 5 - 7 สงิ หาคม 2563 ณ ศาลาประจำหมู่บ้าน ม.๖ ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

โครงการ พฒั นาเศรษฐกิจดิจิทัลสำหรบั ประชาชน
๑. ช่ือโครงการ พฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทัลสำหรับประชาชน
๒. สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖3

เปา้ ประสงค์
ข้อท่ี ๒ ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา เสริมสร้างและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น

พลเมือง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข็มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความเข็มแข็งให้
ชมุ ชน เพอ่ื พัฒนาไปสู่ความมนั่ คงและยั่งยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์และส่งิ แวดล้อม

ข้อที่ ๖ หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ
คณุ ภาพในการจัดการเรยี นรแู้ ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรู้ให้กับประชาชน

ตวั ช้วี ดั เชงิ ปริมาณ
ข้อท่ี ๑๒ จำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นวิทยากรแกนนำ กศน. ในเร่ืองเศรษฐกิจดิจิทัล

และสามารถขยายผลเชงิ พืน้ ท่ี “ศูนยด์ จิ ทิ ลั ชุมชน” ได้จนเกิดเป็นรูปธรรม
ตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพ
ข้อท่ี ๖. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ

หลักสูตร/กิจกรรม การศึกษาตอ่ เน่ือง
ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560-2580

๑๒๒

ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
ตัวช้ีวัด (4) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ประเด็นข้อท่ี 4 โครงสร้างพ้ืนฐาน

เช่ือมไทย เชื่อมโลก (4) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยสี มัยใหม่ (5) รกั ษาและสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
มหภาค

นโยบายเร่งดว่ นเพื่อรว่ มขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
๒. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๒ พฒั นาทกั ษะให้ประชาชนเพือ่ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินคา้ และบริการ
๑) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)มี

การใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่สูงข้ึนให้กับประชาชน เพื่อร่วม
ขับเคลอื่ นเศรษฐกิจดจิ ิทลั

๒) ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยี ในการท าช่องทางเผยแพร่และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ
ชุมชนให้เป็นระบบครบวงจรและสนับสนุนการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ผ่านศูนย์จำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์
ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพ่ือจำหน่ายสินค้าออนไลน์ระดับตำบล รวมท้ัง
ดำเนินการเปิดศูนย์ให้คำปรึกษา OOCC กศน. เพื่อเปิดช่องทางในการให้คำปรึกษากับประชาชนเก่ียวกับการค้า
ออนไลน์เบ้ืองตน้

ภารกิจต่อเนอ่ื ง
1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
1.3 การศกึ ษาต่อเนื่อง
๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ

บูรณาการ ในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา
การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพื้นท่ี เคารพ
ความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวัฒนธรรม
โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้าง
จิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์
พลงั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ในการพฒั นาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน

๓. วัตถปุ ระสงค์
๔.๑ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการตลาดและการสร้างมูลค่าให้กับสินค้าและการโปรโมทสินค้า

ซึ่งพฒั นาตอ่ ยอดจากหลักสูตรการค้าออนไลน์
4.2 เพ่ือให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับช่องทางการโปรโมทสินค้าผ่าน Website , Line , Facebook ,

E-Mail และช่องทางอน่ื ๆ
4.3 เพื่ อให้ ประชาชนผู้เข้าร่วมอบรมได้สร้างความต่อเน่ื องและคงสภาพการเป็ นสมาชิก OOCC

ในการค้าออนไลน์
4.4 เพ่อื ให้ประชาชนได้เข้ารว่ มการเป็นสมาชกิ OOCC ของการคา้ ออนไลน์

๑๒๓

๔. เป้าหมาย
ประชาชนท่ัวไป จำนวน ๙๐ คน

๕. วิธกี ารดำเนินการ

๕.๑ สำรวจความตอ้ งการ

๕.๒ วางแผนจัดการความรู้

๕.๓ จดั กิจกรรมอบรมให้ความร้แู ละฝกึ ทักษะการใชเ้ ครอ่ื งมือดจิ ทิ ลั ตา่ งๆ จำนวน ๒ หลกั สตู ร

๕.๔ นิเทศ ติดตามผลการดำเนนิ โครงการ

๕.๕ ประเมนิ ผล/รายงานผล

๖. ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการทงั้ ในเชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ
๖.๑ เชิงปริมาณ

แผน ผล

ที่ กศน.ตำบล กจิ กรรม/หลกั สตู ร จำนวน ชาย หญงิ รวม
(คน)

๑. กศน.ตำบลแม่ขรี หลกั สตู รท่ี ๑ Digital Literacy 1 14 15
หลกั สูตรท่ี ๒ การคา้ ออนไลน์
1 14 15

๒. กศน.ตำบลตะโหมด หลักสตู รที่ ๑ Digital Literacy 2 14 16
หลักสูตรที่ ๒ การคา้ ออนไลน์
90 2 14 16
หลักสตู รที่ ๑ Digital Literacy - 16 16
๓. กศน.ตำบลคลองใหญ่ หลักสูตรท่ี ๒ การคา้ ออนไลน์
- 15 15

๔. ศรช.ทต.เขาหัวชา้ ง หลักสูตรท่ี ๑ Digital Literacy - 15 15
หลักสูตรที่ ๒ การค้าออนไลน์
- 15 15

รวม 90 6 117 123

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ

ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความรู้เกี่ยวกับการตลาดและการสร้างมูลค่าให้กับ
สินค้าและการโปรโมทสินค้า ซ่ึงพัฒนาต่อยอดจากหลักสูตรการค้าออนไลน์ ความรู้เกี่ยวกับช่องทางการโปรโมท

๑๒๔

สินค้าผ่าน Website , Line , Facebook , E-Mail และช่องทางอ่ืนๆ และมที ักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการทำธุรกิจและ
การค้าออนไลน์(พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) สร้างโอกาสในการพัฒนาตนเอง พัฒนาอาชีพ และเพ่ิมช่องทางการสร้าง
รายได้และผเู้ ขา้ รว่ มอบรมไดส้ รา้ งความตอ่ เน่ืองและคงสภาพการเป็นสมาชิก OOCC ในการคา้ ออนไลน์

๗. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะของโครงการ
ปัญหาอุปสรรค
๒) ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมเรียนรู้อยา่ งไมจ่ รงิ จงั ประกอบกับขาดทกั ษะในการใช้อปุ กรณ์ท่ีคนเองมีอยู่

2) ผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมจะเกดิ การลืมขน้ั ตอนการปฏบิ ัตเิ ม่ือเวลาผ่านไป ไม่สามารถดำเนินการเผยแพร่
ประชาสมั พันธผ์ ลติ ภัณฑห์ รือสนิ คา้ ได้

ข้อเสนอแนะ
๑) ชใ้ี ห้เหน็ ความสำคญั และการใชป้ ระโยชนอ์ ย่างแท้จรงิ ของเครื่องมือส่ือสารท่ีมีอยู่ (สมารท์ โฟน)

วา่ สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพอื่ สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้ให้กับตนเองได้อย่างไร
๓) ต้องสรา้ งความตระหนัก ความเข้าใจแก้ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ให้เห็นความสำคัญและความจำเป็นของการ
ใชเ้ ทคโนโลยีสำหรับสรา้ งรายได้ใหก้ ับตนเอง

8. ภาพกิจกรรมตามโครงการ
หลกั สตู รท่ี ๑ Digital Literacy หลักสตู รที่ 2 การคา้ ออนไลน์
ระหว่างวันท่ี 18 - 19 มนี าคม 2563

ณ ศาลาประจำหมูบ่ า้ นท่งุ โพธิ์ หมทู่ ี่ 1 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ

๑๒๕

หลกั สตู รท่ี ๑ Digital Literacy หลกั สูตรที่ 2 การคา้ ออนไลน์
ระหว่างวันที่ 19 -20 มนี าคม 2563

ณ กศน.ตำบลคลองใหญ่ หมู่ที่ 3 ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง

หลักสูตรท่ี ๑ Digital Literacy หลักสตู รท่ี 2 การค้าออนไลน์

ระหวา่ งวันท่ี 18 - 19 มีนาคม 2563
ณ บา้ นควนลอ่ น หมู่ท่ี 11 ตำบลปลักปอม อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

๑๒๖

หลกั สตู รที่ ๑ Digital Literacy หลักสูตรท่ี 2 การคา้ ออนไลน์
ระหวา่ งวันท่ี 19 – 20 มีนาคม ๒๕๖3 และ วนั ท่ี ๘ – ๙ เมษายน ๒๕๖๒
ณ ศรช.เทศบาลตำบลเขาหวั ชา้ ง หมู่ที่ 6 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จงั หวัดพัทลุง

โครงการ นิเทศเพ่ือพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกโรงเรยี น ประจำปีงบประมาณ 2563

๑. ชื่อโครงการ นิเทศเพ่ือพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน ประจำปงี บประมาณ 2563

๒. โครงการทีด่ ำเนนิ การ สอดคล้องกับยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปี ๒๕๖3

เป้าประสงค์
ข้อที่ ๘ หน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการทีเ่ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล

ตวั ช้ีวัดเชงิ ปรมิ าณ
ข้อที่ 4 จำนวนภาคีเครือขา่ ยท่เี ข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัด/พฒั นา/สง่ เสรมิ การศกึ ษา (ภาคเี ครือข่าย :

สถานประกอบการ องคก์ ร หน่วยงานที่มาร่วมจดั /พฒั นา/ส่งเสริมการศึกษา)

ตัวชีว้ ดั เชิงคณุ ภาพ
ข้อที่ ๒ รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่ีไดร้ บั การสนบั สนนุ การจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเทียบกับคา่ เป้าหมาย

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560-2580
ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นความมัน่ คง
ตวั ช้วี ดั
(5) ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการความมัน่ คงแบบองค์รวม
ประเด็นขอ้ ท่ี 5 การพัฒนากลไกการบรหิ ารจดั การความม่ันคงแบบองค์รวม เพอ่ื ให้กลไกสำคัญ

ต่างๆทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้หลักธรรมาภิบาล และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด โดย (1)

๑๒๗

การพัฒนากลไกให้พร้อมสำหรับการติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความม่ันคงแบบองค์รวม
อยา่ งเปน็ รูปธรรม

นโยบายเร่งด่วนเพ่อื รว่ มขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ๖. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๖.๑ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ

ประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปร่งใส นำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยรี ะบบการท างานทเี่ ป็นดจิ ทิ ลั มาใช้ในการบรหิ ารและการตดั สินใจ

ภารกจิ ต่อเน่ือง
ข้อท่ี ๖ ดา้ นบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
๖.๔ การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตามผล ประเมินและรายงานผล
๑) สร้างกลไกการกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอก

ระบบแบละการศึกษาตามอัธยาศัยให้เชือ่ มโยงกบั หน่วยงาน สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายทง้ั ระบบ
. ๒) ใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาทเ่ี กยี่ วข้องทุกระดบั พัฒนากลไกการกำกบั ติดตามและรายงาน

ผลการนำนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ใหส้ ามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรอื่ งไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ

๓) สง่ เสรมิ เทคโนโลยส่ี ารสนเทศและการสือ่ สาร และส่ืออน่ื ๆ ท่เี หมาะสม เพ่ือการกำกับ นิเทศ
ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานอย่างมีประสิทธภิ าพ

๓. วตั ถปุ ระสงค์
๓.๑ เพือ่ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ของสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามนโยบายของสำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอก

ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๓.๒ เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้สามารถพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาตามระบบประกัน

คณุ ภาพการศกึ ษา
๓.๓ เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาระบบการนิเทศภายใน และผู้นิเทศภายในของ กศน. อำเภอ ให้ สามารถ

ปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
๓.๔ เพ่ือเสนอแนะแนวทางการพัฒนา และปรับปรุงแก้ไขการดำเนินกิจกรรม กศน. ให้มีประสิทธิผลและ

ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิงาน

๔. เป้าหมาย
นเิ ทศ ติตามผลการจัดกิจกรรมแตล่ ะกจิ กรรมของ กศน. ตำบลและศูนย์การเรียนชุมชน กิจกรรม ละ ๒ ครั้ง

๕. กจิ กรรมทดี่ ำเนินงาน
๕.๑ ประชมุ วางแผนการนเิ ทศกิจกรรม
๕.๒ ดำเนนิ การทำแผนการนิเทศ
๕.๓ จัดหาส่ือและเคร่ืองมือสำหรับนิเทศในแตล่ ะกิจกรรม
๕.๔ ดำเนินการนเิ ทศตามแผล
๕.๕ วิเคราะห์ผลการนิเทศตดิ ตามผล
๕.๖ รายงานประเมนิ ผลการนเิ ทศ

๑๒๘

๖. ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการท้งั ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

๖.๑ เชิงปริมาณ

นิเทศ ติตามผลการจดั กจิ กรรมแต่ละกิจกรรมของ กศน. ตำบลและศูนย์การเรียนชุมชน กจิ กรรม
ละ ๒ ครัง้

๖.๒ เชงิ คุณภาพ

๑) รอ้ ยละ ๘๐ ของสถานศึกษาจัดกจิ กรรม กศน.ตามแผนและนโยบายอยา่ งมีคณุ ภาพ

๒) รอ้ ยละ ๘๐ ของผ้รู ับการนเิ ทศพึงพอใจตอ่ กระบวนการนเิ ทศ

๗. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ

ปญั หาอุปสรรค

๑) ผู้ทท่ี ำหนา้ ทน่ี เิ ทศ ขาดความรู้ความเข้าใจ ทักษะในการนิเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นรปู แบบวิธกี ารติดตามผลการ

ดำเนนิ งาน

๒) สถานศึกษามีบุคลากรน้อยแต่ภารกิจงานมาก ทำให้เป็นปัญหา ไม่สามารถออกนิเทศติดตามผลได้ตาม

แผนการนิเทศที่กำหนดไว้

ขอ้ เสนอแนะ

๑) สำนักงาน กศน.ควรจัดอบรมให้ความรู้ด้านการนิเทศ กระบวนการ ขั้นตอนการนิเทศ แก่

ผบู้ รหิ าร ผู้รบั ผดิ ชอบงานนเิ ทศของสถานศกึ ษาบา้ ง

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ งานของโครงการ

นางพมิ พถ์ วลิ พงศจั นั ทรเสถียร ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอตะโหมด นเิ ทศติดตามงานการจัดศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

๑๒๙

นายวุฒนิ นั ท์ นามนาค ครผู ู้ช่วย นิเทศติดตามงานการจดั ศึกษาตอ่ เนื่อง
วชิ าการตดั และออกแบบเสอ้ื ผา้ มุสลิม ณ บา้ นควนล่อน หมู่ท่ี 11 ต. แมข่ รี อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

นายวฒุ ินนั ท์ นามนาค ครูผู้ชว่ ย นิเทศตดิ ตามงานการจดั ศกึ ษาตอ่ เนื่อง
วชิ าการทำผา้ มดั ยอ้ ม ณ ศาประจำหมบู่ า้ นทงุ่ โพธ์ิ หมู่ที่ 1 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

๑๓๐

นายวฒุ นิ ันท์ นามนาค ครผู ู้ช่วย นิเทศตดิ ตามงานการจดั ศึกษาต่อเน่ือง
วชิ าการทำกระเป๋าลดโลกรอ้ น ณ บ้านนาส้อง หมู่ท่ี 11 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

นายวุฒนิ นั ท์ นามนาค ครูผู้ชว่ ย นเิ ทศตดิ ตามงานการจดั ศกึ ษาต่อเน่ือง
วิชาการแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากน้ำผ้ึง ณ ศพก.บ้านเกาะเรียน หมทู่ ่ี 2 ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

นายวุฒนิ นั ท์ นามนาค ครผู ้ชู ่วย นเิ ทศติดตามงานการจดั ศึกษาตอ่ เน่ือง
การอบรม โรคติดต่อ – ไม่ติดต่อ ณ ศาประจำหมู่บ้านทุ่งโพธ์ิ หมทู่ ่ี 1 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

๑๓๑

นายวฒุ นิ ันท์ นามนาค ครูผชู้ ว่ ย นเิ ทศติดตามงานการจัดศึกษาตอ่ เนื่อง
วิชาการทำหน้ากากอนามัย ณ หมู่ท่ี 10 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

นายวฒุ นิ ันท์ นามนาค ครผู ้ชู ่วย นิเทศตดิ ตามงานการจัดศึกษาตอ่ เนื่อง
วิชาการทำพวงกุญแจจากไม้มะขาม ณ กศน.ตำบลตะโหมด หมทู่ ี่ อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

นายวุฒนิ ันท์ นามนาค ครผู ชู้ ว่ ย นเิ ทศติดตามงานการจัดศกึ ษาต่อเน่ือง
อบรม โรคติดต่อ – ไมต่ ดิ ตอ่ ณ รพ.สต.บ้านโหละ๊ บ้า หมทู่ ่ี 4 ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

๑๓๒

นายวฒุ นิ ันท์ นามนาค ครผู ู้ชว่ ย นเิ ทศติดตามงานการจัดศกึ ษาตอ่ เนื่อง
วิชาการหนา้ กากอนามัย ณ ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

นายวุฒินันท์ นามนาค ครผู ู้ชว่ ย นเิ ทศติดตามงานการจดั ศึกษาตอ่ เน่ือง
วชิ าการการทำลิปสตกิ จากน้ำผึง้ ณ บา้ นโละ๊ จงั กระ หม่ทู ่ี 6 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

นายวุฒนิ นั ท์ นามนาค ครผู ชู้ ่วย นเิ ทศติดตามงานการจดั ศึกษาตอ่ เนื่อง
วิชาการการทำขนั หมากอิสลาม ณ บ้านควนลอ่ น หมู่ที่ 11 ต.แม่ขรี อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง

๑๓๓

นายวฒุ ินันท์ นามนาค ครผู ้ชู ว่ ย นเิ ทศตดิ ตามงานการจัดศึกษาตอ่ เน่ือง
อบรมการป้องกนั โรคติดตอ่ -ไมต่ ดิ ต่อ ณ รพ.สต.บ้านควนอนิ นอโม ม.7 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

นายวฒุ นิ ันท์ นามนาค ครูผชู้ ว่ ย นเิ ทศตดิ ตามงานการจดั ศกึ ษาตอ่ เนื่อง
การทำตะไคร้หอมไล่ยงุ ณ รพ.สต.บา้ นโหล๊ะบ้า หม่ทู ่ี 4 ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

นายวุฒินันท์ นามนาค ครูผู้ชว่ ย นเิ ทศตดิ ตามงานการจดั ศกึ ษาตอ่ เนื่อง
วชิ าการทำท๊อฟฟีจ่ ากนำ้ ผ้งึ ณ บ้านคลองน้ยุ หมทู่ ี่ 5 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลงุ

๑๓๔

นายวุฒินันท์ นามนาค ครผู ชู้ ่วย นเิ ทศตดิ ตามงานการจัดศกึ ษาตอ่ เน่ือง
วิชาการทำพลงั งานทดแทนในชุมชน ณ บา้ นปา่ พงษ์ หมทู่ ี่ 9 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พทั ลงุ

โครงการ พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรเพ่อื เพมิ่ ประสิทธผิ ลในการปฏบิ ัตงิ าน
๑. ช่ือโครงการ พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรเพื่อเพ่มิ ประสิทธผิ ลในการปฏิบตั ิงาน
๒. โครงการท่ดี ำเนนิ การ สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปี 2๕๖3

เปา้ ประสงค์
ขอ้ ที่ ๙ บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ ับการพัฒนาเพ่ือเพ่มิ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ
ข้อท่ี ๙ จำนวนครู กศน. ตน้ แบบการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารสามารถเปน็ วทิ ยากรแกนนำได้
ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560-2580
ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ตัวช้ีวัด
(๒) ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประเด็นข้อที่ 3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ี

ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 มุง่ เนน้ ผเู้ รยี นใหม้ ที ักษะการเรยี นรแู้ ละมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา โดย
(2) การเปลย่ี นโฉมบทบาท “คร”ู ใหเ้ ป็นครยู ุคใหม่ (4) การพฒั นาระบบการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต

๑๓๕

นโยบายเรง่ ด่วนเพื่อร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ
๖.๓ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มคี วามรู้และทกั ษะตามมาตรฐาน

ตำแหนง่ ใหต้ รงกับสายงาน ความชำนาญ และความต้องการของบุคลากร

ภารกจิ ตอ่ เน่ือง
๖. ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน
๖.๑ การพฒั นาบุคลากร
๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและระหว่าง

การดำรงตำแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดำเนินงาน
ของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเอง
เพือ่ เล่ือนตำแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจักษ์

๒) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจำเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยในสถานศกึ ษา

๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตำบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตำบล/
แขวงและการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อำนวย
ความสะดวกในการเรียนรู้เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพอย่างแท้จรงิ

๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้
อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้การวัด
และประเมินผล และการวจิ ยั เบอ้ื งตน้

๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีความรู้
ความสามารถและมคี วามเป็นมอื อาชีพในการจัดบรกิ ารส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชน

๓. วัตถุประสงค์
๓.๑ เพอื่ พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภท ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติที่ดใี นการปฏบิ ตั งิ าน กศน.
๓.๒ เพ่อื พฒั นาครู กศน. ใหส้ ามารถจัดรปู แบบการเรียนรู้ เปน็ มอื อาชีพในการจัดการเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ
๓.๓ เพอ่ื พฒั นา ครู กศน. ให้มีความรู้ และสามารถในการจัดทำแผนการสอน จดั กระบวนการเรียนรู้

การวดั ผลและประเมินผลได้อยา่ งมีคณุ ภาพ

๔. เป้าหมาย
บคุ ลากรทกุ ระดับ/ประเภท จำนวน ๑3 คน

๕. วธิ กี ารดำเนนิ งาน
1) ประชุมชีแ้ จง/วางแผนร่วมกนั

๑๓๖

2) ประชาสัมพนั ธ์/สำรวจความตอ้ งการ

3) เสนอโครงการ

4) ดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามโครงการ

5) ประเมนิ ผล

๖. แผน/ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการทัง้ ในเชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ
๖.๑ เชิงปรมิ าณ
บคุ ลากรทกุ ระดับ/ประเภท จำนวน ๑3 คน นำความรแู้ ละประสบการณ์ทีไ่ ด้ไปใช้ในการพฒั นากจิ กรรม

กศน. ได้ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80
๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
รอ้ ยละ 100 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการนำความรแู้ ละประสบการณท์ ี่ได้ไปใช้ในการพฒั นากิจกรรม กศน.

ได้อย่างมีคณุ ภาพ

๗. ปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะของโครงการ
ปญั หาอุปสรรค
๑) การพัฒนาบุคลากรบางโครงการไม่ตรงกับความต้องการของสถานศึกษา บุคลากรที่เข้ารบั การพัฒนาไม่

สามารถนำความร้มู าใชป้ ระโยชน์ได้ตรงกบั งานท่ีตนเองรบั ผิดชอบในสถานศึกษา
๒) ในการพัฒนาบุคลกรเกือบทุกโครงการท่ีสำนักงาน กศน.จังหวัดสั่งการให้บุคลากรของสถานศึกษาไป

เข้ารับการพัฒ นาร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ส่วนใหญ่จะแจ้งให้ใช้งบประมาณ ของสถานศึกษาทุกคร้ัง
ซ่ึงก่อให้เกิดปัญหาเนื่องจากสถานศึกษา ได้รับงบประมาณงบอุดหนุนน้อยทำให้ไม่เพียงพอในการบริหารจัดการ
ภายในสถานศึกษา

ข้อเสนอแนะ
๑) ในการพฒั นาบุคลากรต้องให้ตรงกับความต้อง บทบาทหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของแต่ละคน

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนินงานของโครงการ

โครงการพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ัตงิ านดา้ นการปอ้ งกันและเฝา้ ระวังการคา้ มนุษ์
วนั ท่ี 11 พฤศจกิ ายน 2562 ณ รอ้ ยทองรีสอรท์ อำเภอควนขนุน จงั หวัดพทั ลงุ

๑๓๗

โครงการเพ่ิมทกั ษะด้านอาชีพแกค่ รแู นะแนว
ระหวา่ งวนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2562 ณ โรงเรยี นสตรีพทั ลุง อำเภอเมืองพัทลงุ จงั หวดั พัทลงุ

โครงการเสรมิ สร้างความรู้ความเขา้ ใจด้านการเงนิ บญั ชี พัสดุ ปงี บประมาณ 2563
วันท่ี 8 มิถนุ ายน 2563 ณ หอ้ งประชุม 2 สำนักงาน กศน.จงั หวัดพัทลุง อำเภอเมอื งพัทลุง จังหวัดพทั ลงุ

๑๓๘

โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการเพ่อื พัฒนาครู กศน.ตำบลในการจัดการเรยี นการสอนด้านออนไลน์
ระหว่างวันที่ 25-26 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุม สำนกั งาน กศน.จังหวัดพัทลุง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพทั ลุง

โครงการพัฒนาบุคลากร กศน.ภาคใต้ หลักสตู รการจดั การเรยี นรแู้ บบนำตนเอง
ระหว่างวันที่ 1 – 2 กรกฎาคม 2563 ณ โรงแรมลี การเ์ ด้น อำเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา

๑๓๙

โครงการอบรมสมั มนาเครือข่ายครูแนะแนวอาชพี ปีงบประมาณ 2563
วันท่ี 19 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมชัยคณาธานี อำเภอเมืองพทั ลุง จงั หวัดพัทลุง

โครงการคลงั ความรู้ กศน.เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
ระหวา่ งวันที่ 4-7 กันยายน 2563 ณ โรงแรมเมืองลกิ อร์ จังหวัดนครศรธี รรมราช

๑๔๐

โครงการ ประกนั คุณภาพการศึกษา

๑. ช่อื โครงการ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

๒. โครงการทด่ี ำเนินการ สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปี 2๕๖3
เป้าประสงค์
ข้อ ๘ หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการท่เี ปน็ ไปตามหลักธรรมาภบิ าล
ข้อ 9 บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา

นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ตวั ช้ีวัดเชิงปรมิ าณ
ขอ้ ท่ี ๑๑ จำนวนของบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รบั การพฒั นาเพอื่ เพ่มิ สมรรถนะในการ

ปฏบิ ตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560-2580
ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
ตวั ชวี้ ัด (๒) ประสทิ ธิภาพของการบริการภาครฐั
ประเด็นข้อท่ี 2 ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการ โดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและ

เช่ือมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นท่ี (3) ระบบติดตามประเมินผลที่สะท้อนการ
บรรลุเป้าหมายยทุ ธศาสตรช์ าติในทุกระดับ

นโยบายเรง่ ด่วนเพื่อรว่ มขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
๖.๑ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ

ประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปร่งใส น ำนวัตกรรม
และเทคโนโลยีระบบการท างานทเ่ี ปน็ ดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบริหารและการตัดสินใจ

๖.๓ ส่งเสริมการพั ฒ นาบุ คลากรทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทั กษะตามมาตรฐาน
ตำแหนง่ ให้ตรงกบั สายงาน ความชำนาญ และความต้องการของบคุ ลากร

ภารกจิ ตอ่ เน่ือง
๒. ด้านหลักสตู ร สื่อ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล งานบริการทาง

วชิ าการ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาใหไ้ ด้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการประเมินคุณภาพ

ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบประกันคุณภาพและสามารถ
ดำเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่อื งโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเองและจัดให้มี

๑๔๑

ระบบสถานศึกษาพ่ีเลยี้ งเขา้ ไปสนับสนุนอย่างใกล้ชดิ สำหรับสถานศกึ ษาทีย่ ังไม่ได้รบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก
ให้พฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน

๓. วตั ถปุ ระสงค์
๓.๑ เพ่ือใหส้ ถานศึกษาพฒั นาระบบประกนั คุณภาพให้ได้มาตรฐาน เพือ่ พรอ้ มรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก
๓.๒ เพอ่ื เสรมิ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจกับบคุ ลากรใหต้ ระหนักถึงความสำคญั ของระบบการประกนั คุณภาพ เพื่อ

ประโยชน์ในการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง
๓.๓ เพือ่ ให้สถานศึกษา สามารถประเมินตนเอง และจัดทำรายงานการประเมินภายในของสถานศกึ ษาทสี่ ะทอ้ น

ประสทิ ธผิ ลการดำเนนิ งานได้
๔. เปา้ หมาย

ผู้บริหารและบคุ ลากร กศน.อำเภอตะโดหมด จำนวน ๑3 คน
๕. กจิ กรรมทด่ี ำเนินงาน

๕.๑ ประชุมวางแผน/ทำความเขา้ ใจกับบคุ ลากรเพ่ือดำเนิน งานประกนั คณุ ภาพ
๕.๒ แตง่ ต้งั คณะทำงานผูร้ บั ผดิ ชอบตามมาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้
๕.๓ ศึกษาเอกสารงานประกนั คุณภาพ
๕.๔ ดำเนนิ การงานประกันตามมาตรฐานและตวั บง่ ชี้
๕.๕ จัดอบรมให้ความรู้
๕.๖ ศึกษาดงู านประกนั
๕.๗ จดั เกบ็ รวบรวมข้อมูลเอกสารหลักฐานตามมาตรฐานและตัวบง่ ช้ี
๕.๘ จดั ทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปี
๕.๙ รบั การประเมนิ คุณภาพจากต้นสงั กดั
๖. ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมายโครงการทั้งในเชงิ ปริมาณและเชิงคณุ ภาพ
๖.๑ เชงิ ปริมาณ

บคุ ลากร กศน.อำเภอตะโหมด จำนวน ๑3 คน ดำเนินงานโดยโดยยึดระบบประกันคุณภาพเป็นแนวทาง
ในการดำเนนิ งานการจัดกิจกรรม

๖.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ร้อยละ ๘๐ บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจระบบประกันคุณภาพการศึกษา และดำเนินงานโดยโดยยึดระบบ

ประกนั คณุ ภาพเปน็ แนวทางในการดำเนนิ งานการจดั กจิ กรรม
๗. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะของโครงการ

ปญั หาอุปสรรค
๑) บุคลากรบางคนขาดความความรู้ ความเข้าใจ ขาดความตระหนัก ไมเ่ ห็นความสำคัญของระบบการประกัน
คณุ ภาพการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
๑) สถานศกึ ษาตอ้ งสร้างความเข้าใจบุคลกรที่ขาดความความตระหนัก ไม่ใหค้ วามสำคญั กับระบบประกนั

๑๔๒

คุณภาพการศึกษา วา่ มคี วามสำคัญต่อการพัฒนางาน และองค์กรอย่างไร
๒) สถานศึกษาต้องใหบ้ ุคลากรทุกคนดำเนินงานการจดั กิจกรรมโดยยึดตัวชีว้ ดั เปน็ แนวทางในการดำเนินการ
จดั กิจกรรมทุกกิจกรรม

๘. ภาพกจิ กรรมการดำเนินงานของโครงการ

การประชุมเพือ่ สร้างความเขา้ ใจใหก้ ับบคุ ลกรท่ีขาดความร้แู ละ
ยังไม่เข้าใจเกย่ี วกบั การทำระบบประกันภาพการศกึ ษา

๑๔๓

โครงการ ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา

๑. ช่ือโครงการ โครงการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา

๒. โครงการทีด่ ำเนินการ สอดคล้องกับยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปี ๒๕๖3

เปา้ ประสงค์
ข้อที่ ๕ ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอก

ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทงั้ การขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชน

ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ
ข้อท่ี ๔ จำนวนภาคีเครือข่ายท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย :

สถานประกอบการ องคก์ ร หนว่ ยงานทมี่ ารว่ มจดั /พฒั นา/สง่ เสรมิ การศึกษา)

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ข้อท่ี ๒ ร้อยละของผู้เรียนทไ่ี ดร้ ับการสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานเทยี บกบั ค่าเป้าหมาย

ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐

ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั

ตัวช้วี ัด

(๑) ระดบั ความพงึ พอใจของประชาชนต่อการใหบ้ ริการสาธารณะของภาครฐั (๒) ประสิทธิภาพของ

การบริการภาครฐั (๓) ระดบั ความโปรง่ ใส การทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบ (๔) ความเสมอภาคในกระบวนการ

ยุติธรรม ประเด็นข้อท่ี ๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการอย่างสะดวก

รวดเร็ว โปร่งใส (๑) การให้บริการสาธารณะของภาครัฐได้มาตรฐานสากลและเป็นระดับแนวหน้าของภูมิภาค

ประเด็นข้อที่ ๕ บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มี

ความสามารถสูง มุ่งมั่นและเป็นมืออาชีพ (๑) ภาครัฐมีการบริหารกำลังคนท่ีมีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม

ประเด็นข้อท่ี ๖ ภาครัฐมีความโปร่งใสปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (๑)ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคม

ร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ (๒) บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและ

ความซอ่ื สตั ย์สุจรติ

นโยบายเร่งด่วนเพอื่ ร่วมขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
๖.๑ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต

และประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธ์ิมีความโปร่งใส
นำนวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทำงานทเี่ ปน็ ดจิ ิทลั มาใชใ้ นการบริหารและการตัดสินใจ

๑๔๔

ภารกจิ ต่อเน่ือง
ขอ้ ท่ี ๖ ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
๖.๑ การพัฒนาบคุ ลากร
๖) สง่ เสริมใหค้ ณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนรว่ มในการบรหิ าร

การดำเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อย่างมปี ระสิทธิภาพ
๓. วัตถปุ ระสงค์

๓.๑ เพ่ือประสานการทำงานรว่ มกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษา
๓.๒ เพ่อื ใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษาได้มีสว่ นรว่ มในการดำเนินกิจกรรม กศน.
๓.๓ เพือ่ ใหก้ ารดำเนนิ งาน กศน.เป็นไปด้วยความเรียบร้อยเกดิ ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

๔. เป้าหมาย
คณะกรรมการสถานศึกษาและบุคลากร กศน.อำเภอตะโหมด จำนวน 22 คน

๕. วธิ ีดำเนนิ การ
๕.๑ ประชุมชี้แจงเจา้ หน้าที่ผเู้ ก่ียวขอ้ ง
๕.๒ เสนอโครงการ/ขออนุมตั ิโครงการ
๕.๓ เตรยี มเอกสารประกอบการประชุม
๕.๔ เนินการประชุมสมั มนาคณะกรรมการสถานศกึ ษา
๕.๕ สรปุ /รายงานผลการประชุม

๖. ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายโครงการทัง้ ในเชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ
๖.๑ เชิงปรมิ าณ
๑) จำนวน ๒ ครงั้
๒) คณะกรรมการสถานศึกษาและบคุ ลากร กศน.อำเภอตะโหมด จำนวน 22 คน
๖.๒ เชิงคุณภาพ
ร้อยละ ๘๐ คณะกรรมการสถานศึกษา เข้าร่วมประชุมอย่างน้อย ๒ ครั้งต่อปี และมีส่วนร่วมในการวางแผน

พฒั นาการจดั กิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา

๗. ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะของโครงการ
ปัญหาอุปสรรค
๑) ในการจดั ประชุมแต่ละคร้งั ไม่สามารถมาร่วมประชมุ ได้ครบทกุ คน เน่อื งจากบางคนมาภารกจิ

เพราะทำหนา้ ท่เี ป็นผปู้ ระสานใหก้ ับหนว่ ยงานอืน่ ๆ หรือมีภารกิจสว่ นตัวที่จำเป็นไม่สามารถเลย่ี งได้
๒) คณะกรรมการสถานศึกษาบางคนไม่ไม่แสดงความคิดเหน็ ใด ๆ อย่างไรก็ได้ เพราะๆ ไมเ่ ขา้ ใจ

งาน กศน. ทำให้ไมส่ ามารถ ที่จะระดมความคิดเห็นในการพัฒนางาน กิจกรรม และองคก์ รได้

๑๔๕

ขอ้ เสนอแนะ
1) แจ้งวันเวลาท่ีจะจัดประชุมล่วงหน้า เพ่ือคณะกรรมการสถานศึกษาจะได้มีการวางแผนตนเอง

ล่วงหน้า
2) ในการประชุมทุกครั้ง ผู้บริหาร กศน.อำเภอ ซึ่งทำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา

จะต้องชี้แจงบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบและกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัยให้
คณะกรรมการสถานศึกษาเขา้ ใจถึงบทบาทหน้าทขี่ อง กศน.อำเภอทกุ คร้ัง
๑๑. ภาพกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ

๑๔๖

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version