The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanika.khamtap, 2022-07-05 05:54:10

รวมเล่มสัมมนาวิชาการประจำปี ครั้งที่ 18 สำนักการแพทย์

รวมเล่มสัมมนาวิชาการ

20. ชอื่ ผลงำน (Innovation)Move on “พ่ีไมล่ ุก หนจู ดั ให้”

หนว่ ยงำน ห้องอบุ ตั เิ หตุ-ฉุกเฉนิ โรงพยำบำล คลองสามวา

นวตั กร (Innovator) นายมนชวสั จรทะวาทิน ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพ

1. มลู เหตุจูงใจ

โรงพยาบาลคลองสามวา มีห้องท้าหัตถการเพื่อใช้ในการท้าหัตถการ เช่นท้าแผล ฉีดยา ตรวจ

คล่ืนไฟฟ้าหัวใจ ตลอดจนนอนสังเกตอาการ กรณีท่ีผู้ป่วยนั่งรถเข็มมาท้าแผล (แผลที่เท้า) ต้องเปล่ียนถ่าย

ผู้ป่วยจากรถนั่งขึนเตียงท้าแผลในห้องท้าแผล ซ่ึงเตียงท้าแผลจะสูงกว่ารถน่ัง ท้าให้ไม่สะดวก และเสียเวลาใน

การเคลื่อนย้ายผปู้ ่วย ตลอดจนอาจท้าให้เกดิ การพลัดตกหกลม้ ได้

ดังนัน ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ร่วมกับห้องท้าหัตถการ โรงพยาบาลคลองสามวา จึงมีความคิดประดิษฐ์

ที่ว่างพักเท้า (Move on “พี่ไม่ลุก หนูจัดให้”) เพื่อใช้วางเท้าในการท้าแผลกับผู้ป่วยรถน่ัง ในราคาถูก (100

บาทต่อชิน) โดยจะพัฒนาอุปกรณ์ท่ีวางเท้าตามแบบอย่างห้องเฝือกโรงพยาบาลกลางท่ีใช้วัสดุจากเหล็ก(ราคา

1,500 บาทต่อชิน) แต่จะดัดแปลงอุปกรณ์ที่เหลือใช้ หาได้ง่าย มีเหลือใช้ในโรงพยาบาล เช่น ไม้เท้าช่วยพยุง

น้ามาประดิษฐ์ เพ่ือลดต้นทุน ตลอดจนใช้วัสดุที่เหลือใช้ให้เกิดประโยชน์มา กท่ีสุด ส่งผลให้เกิดความ

สะดวกสบายในการท้างาน เกิดความพึ่งพอใจในการรับบริการของผู้ป่วย และสามารถน้าไปพัฒนาประยุกต์ใช้

ให้เกดิ ประโยชน์ต่อหนว่ ยงานอื่น ๆ ต่อไป

2. สมมตุ ฐิ ำนหรือหลักฐำนเชิงประจกั ษ์หรอื ทฤษฎีท่นี ำมำใช้

-

3. วัตถุประสงค์

3.1 เพ่อื ใชว้ างขาในการท้าแผลที่ขาหรอื เท้า ของผู้ป่วย สะดวกในการท้างานของผ้ใู ห้บริการ เกิด

ความพ่งึ พอใจของผรู้ ับบรกิ าร

3.2 เพอ่ื ใชว้ างขาในการท้าแผลที่ขาหรือเทา้ สะดวกในการท้าแผล เพ่อื ลดอาการปวดหลงั จาก

การกม้ ทา้ แผลของพยาบาล

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนินกำร

4.1 ศกึ ษา รูปแบบ รูปทรง ลกั ษณะของที่วางขาแบบตา่ งๆ ในinternet เพ่อื ใชน้ ้ามาเป็นแบบ

สร้างให้เหมาะสมและใช้งานไดป้ ระโยชนสูงสดุ โดยใหส้ อดคลอ้ งกับวัสดุทโ่ี รงพยาบาลมีเหลอื ใช้ หรอื หาได้ง่าย

เชน่ ไม้เทา้ คา้ ยัน

4.2 จดั ซืออุปกรณ์เพิม่ ดังนี นอ็ ตยิงไม้ราคา 20 บาท ลอ้ 4 ตวั ราคา 80 บาท
4.3 ร่างแบบ ทา้ การตัด เจาะ วัดความสูงให้เหมาะสมขึนรูปตามแบบรา่ ง ตดิ ล้อ ตดิ ผา้ ยางรองเท้า

4.4 ทดสอบก่อนใช้งานจรงิ และใช้จรงิ ประเมินผล

5. ผลกำรทดลอง ตามแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อการใชน้ วตั กรรม

ล้าดับ คณุ สมบตั ิ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ดุ

1 ใชง้ านง่าย 84-

2 สะดวกต่อการเคลื่อนยา้ ย 10 2 -

3 รปู แบบเหมาะสม 912

4 วสั ดคุ งทนแข็งแรง 732

5 มปี ระโยชน์ต่อผู้ปฏบิ ตั ิ 10 2 -

รวม 44 12 4

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
6.1 ใช้วางเท้าเพื่อท้าแผลในห้องทา้ แผล
6.2 เคลอื่ นยา้ ยไปใช้ท่ีห้องตรวจต่าง ๆ ในการทา้ หัตถการท่ีต้องยกเท้าคา้ งไว้

7. สรุป
นวัตกรรม Move on “พ่ีไม่ลุก หนูจัดให้” คือนวัตกรรมท่ีใช้รองขาในการท้าแผล เพื่อลดการยก

เคล่ือนย้ายผู้ป่วยขึนเตียงท้าแผล ลดการเสียเวลาในการเคลื่อนย้ายโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีน้าหนักมาก ลด
อุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม เพิ่มความสะดวกในการท้าแผลของพยาบาล โดยประดิษฐ์ขึนมาจากไม้เท้าค้ายันที่
เหลือใช้ วัสดุเป็นไม้มีความแข็งแรง หาง่าย ราคาถูก ผลการทดลองตามแบบประเมินความพึงพอใจใช้โดย
พยาบาล 12 คน พบว่า คะแนนเฉลี่ยได้4.6 ซึ่งอยู่ความพึงพอใจระดับมากที่สุด และผู้ใช้บริการ 30 คน พบว่า
คะแนนเฉลี่ยได้4.26 ซ่ึงอยู่ความพึงพอใจระดับมากที่สุด โดยผู้ใช้นวัตกรรมมีข้อเสนอเพ่ิมเติมคือควรปรับปรุง
ใหส้ ามารถปรบั ระดับความสงู ได้

Oral Presentation
(ภำษำองั กฤษ)

ลำดับ หวั ข้อ
1. The Effectiveness of Police General Hospital’s Fracture Liaison Service (PGH’s FLS)

Implementation after 5 Years: A Prospective Cohort Study
2. Quality of life among professional nurses at Somdet Chaopraya Institute of

Psychiatry
3. A Comparison of the Efficacy of Diclofenac Phonophoresis and Ultrasound Therapy

in Upper Trapezius Myofascial Pain Syndrome: A Double-Blinded Randomized
Controlled Trial
4. Validation of the Thai version of SARC-F, MSRA-7 and MSRA-5 questionnaires
compared to AWGS 2019 and sarcopenia risks in older patients at medical
outpatient clinic
5. Acupuncture to Boost Breast Milk in Postpartum Hypogalactia: Randomized
Controlled Trial
6. Erythrocyte Alloimmunity and Genetic Variance: Results from the Collaborative
Study of Alloimmunity to Antigen Diversity in Asian Populations (All ADP)
7. Evaluation of Hepatitis B and Hepatitis C Viral Load Detection by
Point of Care Test GeneXpert: A Pilot Study
8. Factors Associated with Invasive SALMONELLA Infection among Young Children
9. A Case Report of an Acquired Disseminated Cytomegalovirus Infection in Infancy

1. The Effectiveness of Police General Hospital’s Fracture Liaison Service
(PGH’s FLS) Implementation after 5 Years: A Prospective Cohort Study

Name-Last name: Pol.Col.Dr. Tanawat Amphansap
Affiliation: Police General Hospital, Bangkok
Objective: The purpose of the study is to assess the effectiveness of fracture liaison service
(FLS) after 5-year implementation to close the secondary fracture care gap, ensuring that
patients receive osteoporosis assessment, intervention, and treatment, therefore, reducing the
fracture risk at Police General Hospital (PGH).
Study design: A prospective cohort study was conducted. We studied male and female, > 50
years old who presented with a fragility hip fracture and participated in PGH’s FLS from April
1, 2014 – March 31, 2019 (5 years implementation). The sample size was 353 patients, with 1-
year follow-up. The data were compared with a previous study, before the commencement
of the FLS.
Results: After 1-year follow up, the mortality rates were 5.95% and there were only 8 patients
who had secondary fractures (2.93%), which showed a decrease of 30% from before FLS
implementation. Post-injury bone mineral density (BMD) rates were increased from 28.33% to
85.84%, osteoporosis treatment rates were increased from 40.8% to 89.38%, and the time to
surgery, hospitalization and the rate of loss to follow-up at 1 year decreased from 7.9 to 5.0 days,
23.2 to 19.6 days, and 98% to 17.56%, respectively, all with statistical significance (P < 0.001).
However, the 1-year mortality rates were not significant when compared to the previous study.
Conclusions: Patients with fragility hip fractures participating in the FLS after a 5-year
implementation at Police General Hospital had significantly higher post-injury BMD and
osteoporosis medical treatment rates and significantly shorter time to surgery and
hospitalization. This showed secondary fracture rates that were lower than before the project
at 1-year of follow up. Multifaceted and intensive FLS has improved and closed the
osteoporosis hip fracture care gaps in Police General Hospital.

2. Quality of life among professional nurses at Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry

Name-Last name: Dussadee Udomittipong
Affiliation: Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry
Objective: To identify the level of quality of life among nurses at Somdet Chaopraya Institute
of Psychiatry
Material and Method: A conducted a cross-sectional descriptive study between December
2018 and January 2019 among all nurses who had work experience at least a year at Somdet
Chaopraya Institute of Psychiatry. The instruments comprised of de-mographic data, and the
World Health Organization’s Quality of Life Thai version. The data was analyzed using
descriptive statistics.
Results: A total of 164 nurses agreed to take part in the study . Of the 164 nurses, 53.1% were
39 years of age or older. The majority of them (52.4%) had a bachelor of nursing de-gree and
48.2% of them were single. The majority (64%) had no children. And 75% of the nurses worked
in nursing practice roles with 53.7% having more than 10 years experience. The nurses reported
that 70.7% of them worked shift duties on the ward. They also reported that 68.3% of them
had no underlying diseases and 70.7% reported regular physical activity. Their monthly salaries
ranged from 20,000 to 40,000 baht.
The study showed that the overall quality of life reported by these nurses was moderate at
68.3%. This overall score came from three quality of life elements. The environmental domain
was the highest level with 96.9%, with the physical dimension at 87.7% and the psy-chological
dimensions at 70.7%.
The top three suggestions for improving their quality of work life that came from these pro-
fessional nurses at Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry are as follows. Number one at
7.3% was housing, compensation, and shuttle fee welfare. Number two was the promotion of
mental and physical health at 6.1%. And number three was supporting the environment at
4.5%.
Conclusions: The study findings could be utilized as the baseline data and to support appro-
priate welfare, in order to improve and maintain the standard of the quality of the work life in
the organization.

3 . A Comparison of the Efficacy of Diclofenac Phonophoresis and Ultrasound
Therapy in Upper Trapezius Myofascial Pain Syndrome: A Double-Blinded
Randomized Controlled Trial

Name-Last name: Threenuch Amornpinyokiat,MD
Affiliation: Department of Physical Medicine and Rehabilitation, Taksin hospital, Bangkok,
Thailand
Objective: To compare the pain numeric rating scale (NRS) and active cervical lateral flexion
between diclofenac phonophoresis (DPP) and a conventional ultrasound therapy (UST) in
treating myofascial pain syndrome (MPS).
Study design: A double-blinded randomized controlled trial.
Population and Sampling: Fifty-two participants (41 females, 11 males, mean age 42 years,
mean MPS duration 2 months) with myofascial pain syndrome at the upper trapezius muscle.
Department of Physical Medicine and Rehabilitation, Taksin Hospital, Thailand
Research methodology: A double-blinded randomized controlled trial.
Results: Participants were allocated by block randomization into 2 groups, the UST Group
(n = 26) treated with a conventional UST using a 1-MHz applicator, a standard coupling agent,
stroke technique, continuous mode, intensity of 1 watt/cm2 for 10 minutes, and the DPP Group
(n = 26) treated with the same UST technique but using a mixture of 4 grams of diclofenac
gel and a standard coupling agent in a ratio of 1:4 instead of the standard coupling agent. Each
participant was treated 3 times per week for 3 weeks for a total of 9 treatments. All participants
rated their pain on a numeric rating scale (NRS). Active cervical lateral flexion was measured
by an assessor prior to the initial treatment and following the final treatment. All participants
and the assess or were blinded to the treatments received. Before the treatments, there was
no statistically significance in NRS (p = 1.00) or active cervical lateral flexion (p = 0.75) between
the two groups. After the treatments, NRS of the DPP group was significantly lower than the
UST group (p = 0.03). However, active cervical lateral flexion was not significantly different
between the groups (p = 0.29). Group analysis found that NRS was significantly reduced, by
2.58 in the UST group (p = 0.00) and by 3.46 in the DPP group (p = 0.00). Active cervical lateral
flexion motion was significantly increased in the DPP group (p = 0.02) but not in UST group
(p = 0.08) after the 3-week therapy.
Conclusions: Diclofenac phonophoresis can reduce pain in myo-fascial pain syndrome at
upper trapezius muscle better than conventional ultrasound therapy

4. Validation of the Thai version of SARC-F, MSRA-7 and MSRA-5 questionnaires

compared to AWGS 2019 and sarcopenia risks in older patients at medical

outpatient clinic

Name-Last name: Phuriwat Akarapornkrailert M.D.

Affiliation: Bangkhunthian Geriatric Hospital

Background: Sarcopenia can lead to falling, functional decline, disability and mortality. Routine
diagnosis of sarcopenia is difficult because of the expense and availability of the diagnostic
tools. SARC-F questionnaire was recommended to be used in screening for sarcopenia by
revised European and Asian consensus despite of low sensitivity. MSRA-7 and MSRA-5
questionnaires were developed for screening for sarcopenia which showed reasonable
sensitivity and specificity. The SARC-F, MSRA-7 and MSRA-5 have never been translated and
validated into Thai. With limited resources and time in routine primary care service, they might
be practically used for the screening of sarcopenia in community-dwelling older adults.
Objective: To validate the Thai Strength, Assistance with walking, Rise from a chair, Climb stairs
and Falls (SARC-F), and 2 Mini Sarcopenia Risk Assessment (MSRA-5, and MSRA-7) questionnaires
for sarcopenia screening in older patients in the medical outpatient setting, and to assess the
improvements of the diagnostic accuracy by adapting the parameters in the SARC-F, MSRA-7,
and MSRA-5 questionnaires. Risk factors for sarcopenia are also investigated.
Materials & Methods: Thai SARC-F, MSRA-7, and MSRA-5 questionnaires were translated
backwards and forwards. Content validity and test-retest reliability were analyzed. Reliability
analysis was used for SARC-F, MSRA-7, and MSRA-5 scores to increase the sensitivity and
specificity. The sensitivity, specificity, likelihood ratio, and area under the receiver operating
characteristic curves (AUCs) were analyzed.
Results: The prevalence of sarcopenia was 22.7% (65 of 286 patients). The sensitivity of the

SARC-F, MSRA-7, and MSRA-5 questionnaires was 21.5%, 72.3%, and 61.5%, respectively. The

specificity was 93.7%, 43%, and 67.4%, respectively. The AUCs were 0.58, 0.58, and 0.65,

respectively. After weighting and adjusting the scores for the least responded-to items of the

MSRA-5, the sensitivity increased to 82.6%, specificity to 43.4%, and AUC to 0.65. Multivariate

analysis showed that the associated factors of sarcopenia were age [odds ratio (OR) = 5.92],

body mass index < 18.5 [OR = 9.59], and currently working [OR = 0.11].

Conclusions: The modified MSRA-5 improved the sensitivity and diagnostic accuracy for
screening for sarcopenia. It is potentially useful for screening for sarcopenia in settings with
limited resources for bioelectrical impedance analysis, time, or health personnel.

5. Acupuncture to Boost Breast Milk in Postpartum Hypogalactia: Randomized
Controlled Trial

Name-Last name: Sawittri Suwikrom MD
Affiliation: Department of Obstetrics and Gynecology, Charoenkrung Pracharak Hospital,
Bangkok, Thailand
Objective: To compare the efficacy of acupuncture and conventional treatment for
stimulating breast milk in early postpartum hypogalactia (48 hours).
Study design: Randomized, prospective, clinical trial
Population and Sampling: Sixty postpartum hypogalactic women of term gestation in
postpartum ward in Charoenkrung Pracharak Hospital from 1 March 2020 to 28 February 2021
were enrolled.
Research methodology: Subjects were randomized into acupuncture and control groups. In
study group, the mothers received once a day acupuncture at 13 acupoints without electrode
for 3 consecutive days by qualified Traditional Chinese Medicine practitioner other than
conventional treatment. Breast milk quantity were measured at day 1, day 7 and day 14 after
intervention.
Results: Mean age of all participants was 29.72 + 5.96 year, mostly primigravida, delivered by vaginal
route. Mean milk volume in treatment group were significantly higher than control group (p < 0.05)
(day 1, 19.00 + 22.25 vs 5.97 + 6.08 ml) (day7, 78.10 + 60.38 vs 40.17 + 28.82 ml) (day 14, 128.33 +
64.86 vs 75.00 + 57.96 ml). Amount of breast milk in treatment group were 3-fold, 2-fold and 1.7-fold
times more than control group in day 1, day 7 and day 14, in order (p<0.05).
Conclusions: Accurate acupuncture intervention could boost breast milk production in early
postpartum hypogalactia (48 hours).

6 . Erythrocyte Alloimmunity and Genetic Variance: Results from the
Collaborative Study of Alloimmunity to Antigen Diversity in Asian Populations
(All ADP)

Name-Last name: Dr.Attapong Sinkitjasub
Affiliation: Blood Bank Department, Taksin Hospital.
Objective: To investigate the frequency of erythrocyte alloimmunity among Asian population.
Study design: Cross-sectional study
Population and Sampling: Fifty-five institutions across Asian countries comprised of Japan,
South Korea, China, Hong Kong, Malaysia, and Thailand were collaborated in this study. In total,
data from more than 1,826,000 cases of transfused patients and pregnant women in between
2008 to 2015 were analyzed and identified for erythrocyte alloimmunity among Asian
population.
Research methodology: A survey study during 2008 to 2015 of transfused patients and
pregnant women among six Asian countries were collected and analyzed to investigate the
frequency of erythrocyte alloimmunity among Asian population. Statistical analysis was
performed by the F-test, Student’s t-test, and Chi-squared test. The protocol was evaluated
and approved by the institutional review board of Hamamatsu University School of Medicine
(E14-210).
Results: In total of more than 1,826,000 cases of transfused patients and pregnant women
were analyzed, the irregular erythrocyte antibodies were detected in 22,653 cases. Antibody
frequencies in these case were as follows: anti-E(26.8%), anti-Lea(20.0%), anti-P1(7.1%), anti-
M(6.4%), anti-Mia(5.6%), anti-c+E(5.6%), anti-Leb(4.6%), anti-D(2.8%), anti-Fyb(2.6%), anti-
Lea+Leb(2.5%), anti-Dia(2.0%), and others. For transfused patients, anti-E(37.3%), anti-c+E(9.5%),
anti-C+e(3.3%), and anti-Jka(3.1%) were significantly more frequent. For pregnant women, anti-
D(12.7%) was statistically more frequent.
Conclusions: Production of the antibodies is caused by diversity of erythrocyte antigens,
immunity between maternal and child, blood transfusion and transplantation among immune
and hematological diseases. The generation of antibodies is affected by regional and ethnic
differences, as well as alloimmunity. The impact of ethnicity, histological background,
differences in the initiation of transfusion, and prophylactic treatment of immunoglobulin has
yet to be investigated. A collaborative relationship among Asian countries needs to be
established in order to increase the level of enrollment for the initiative of blood safety and
prophylactic treatment. The researchers believed that collaboration among Asian-Pacific
countries in the field of transfusion and cell therapy will be key to the success of these
initiatives.

7. Evaluation of Hepatitis B and Hepatitis C Viral Load Detection by Point of
Care Test GeneXpert: A Pilot Study

Name-Last name: Mrs. Huttaya Thuncharoon
Affiliation: Medical Technology Department, Taksin Hospital, Medical Service Department,
Bangkok Metropolitant Administration, Thailand.
Objective: For evaluation the new HBV and HCV Viral load (GeneXpert) before survice in Taksin
hospital.
Study design: 40 EDTA plasma (H Bs Ag /HBc Ag/HBe Ag+ve) for HBV VL and 40 EDTA plasma
(Anti-HCV+ve) for HCV VL were tested by COBAS and GeneXpert. They evaluated by suitable
statistic analysis.
Population and Sampling: An experimental research : 40 EDTA plasma (H B s Ag / HBc Ag/HBe
Ag+ve) for HBV VL and 40 EDTA plasma (Anti-HCV+ve) for HCV VL collected during November 2019
to Augtober 2020 were studied. (No sampling because of COVID-19).
Research methodology: The 40 EDTA plasma for HBV VL and 40 EDTA plasma for HCV VL that
requested from the doctors were sent to the external laboratory using COBAS hepatitis B virus
DNA and Hepatitis C virus RNA viral load test. These 80 EDTA plasma were also tested at
microbiology unit of Taksin hospital by the new Xpert HBV and HCV Viral load test. This Point
of care GeneXpert was the new fully automated processing realtime PCR. The results of
GeneXpert comparing to COBAS were evaluated by Pearson’s correlation coefficient : r, Simple
regression analysis: R2 as well as agreement measurement by Bland-Altman plot and Analysis
and intraclass correlation coefficient (ICC).
Results: The results showed that Pearson’s correlation coefficient : r and regression : R2 of HBV
VL was 0.9916 and 0.9833 respectively while HCV VL was 0.9375 and 0.8774 respectively. So
only r and R2 of HBV VL was accepted by the National Institute Guidline ( r > 0.975 and R2 >
0.950) . For agreement measurement by Bland-Altman plot, 27 from 30 samples (90.0 %) were
in bias + 1.96 SD of HBV VL (0.5304 to -0.6209) and 30 from 31 samples (96.8 %) were in + 1.96
SD of HCV VL (0.7072 to -0.5669). As well as 14 from 30 cases of the HBV VL and 18 from 31
cases of the HCV VL by GeneXpert was lower than COBAS. Moreover, ICC of both HBV (0.996)
and HCV VL (0.967) were excellent.
Conclusions: The HBV and HCV VL detected by GeneXpert were able to use instead of COBAS in
management of patients for diagnosis, confirmation and follow up.

8. Factors Associated with Invasive SALMONELLA Infection among Young Children

Name-Last name: Nattapong Jitrungruengnij
Affiliation: Department of Pediatrics, Charoenkrung Pracharak hospital, Medical Service
Department, Bangkok Metropolitan Administration.
Background: Salmonella infection remains a public health problem in Thailand and the
spectrum of clinical presentation varies, ranging from gastroenteritis to invasive diseases.
Objective: To evaluate associated factors of Invasive Salmonellosis and describe clinical
presentations of Salmonella infection among Thai children.
Methods: Cross-sectional case-control study was conducted in children aged below 4 years
old who were admitted to Charoenkrung Pracharak hospital with a proven culture of
Salmonella infection from 2011 to 2020. Associated factors were analyzed by using multiple
logistic regression.
Results: Incidence of Salmonella infection was 20.8 per 1000 admitted patients. Of the culture-
proven 260 patients, 37 patients were infected with invasive diseases which 92% were
bacteremia and 8% were meningitis. The median age of patients was 9 months (range 0-35
months), 72% were younger than 1 year and 12% had underlying diseases. The symptoms of
Salmonella infection were fever (86%) and following by watery diarrhea (58%). Most patients
(64%) had normal white blood cells count. The most common Serogroup of Salmonella was
serogroup B. Overall, susceptibility to ampicillin, ceftriaxone, trimethoprim/sulfamethoxazole,
and ciprofloxacin were 40%, 72%, 77%, and 94%, respectively. Associated factors that play
important roles in invasive salmonellosis were aged below 3 months (aORs; 4.28, 95%CI: 1.02-
17.89), body temperature > 39 degree Celsius (aORs; 6.25, 95%CI: 2.38-16.39), serotype of
Salmonella group C (aORs; 11.11 95%CI :2.02-61.16) and D (aORs; 21.69 95%CI :3.81-146.26).
Conclusion: Salmonella infection is not an uncommon disease among young children in
Thailand. From our study, major associated factors that predicted invasive disease are quite
similar to the global pediatric population.

9. A Case Report of an Acquired Disseminated Cytomegalovirus Infection in Infancy

Name-Last name: Punthita Ngamboriruk
Affiliation: Department of Pediatrics, Charoenkrung Pracharak hospital, Bangkok, Thailand.
Background: Infantile Cytomegalovirus (CMV) infection is rarely found as reported in several
cases around the world. In fact, these infections can present as congenital, perinatal or
acquired forms but hardly seen in the infantile period. Clinical manifestations of CMV infection
exhibit wide range of symptoms depending on an immune status and specific organs
involvement.
Objectives: To provide the awareness of identifying immune status in patients with severe or
atypical infection.
Study design: Case report
Case report: We herein report a case of a 2-month-old male infant with acquired CMV infection
complicated with co-existence of autoimmune hemolytic anemia and pure red cell aplasia.
Treatments provided include antiviral therapy and corticosteroid. The case shows that
Ganciclovir failed to treat CMV infection as it comes with side effects on liver transaminitis. To
avoid such side effects, Foscarnet was finally be chosen to treat the patient. This case has
highlighted the awareness of immune deficiency in the patient that presented with severe
infection or got infected by an unusual pathogen such as fulminant CMV infection. Fortunately,
this patient got further immunological and genetic tests at KCMH confirming that he has ORAI1
gene mutations consistent with primary immune deficiency of T cell defect. This is supported
by the evidence of this mutation in his parents. Therefore, hematopoietic stem cell
transplantation is need to be performed accordingly.
Conclusion: Even though CMV infection in infantile period is a rare case, it should not be ruled
out. If any clinical symptoms are suspicious, additional lab tests should be carried out to ensure
the infection. Identifying the patient's immune status is very necessary. Even though initial
work-up is not supported, further test i.e. gene testing should be performed in case of highly
suspected to confirm the immunodeficiency status that needs early specific treatment in
golden period.

Oral Presentation
(ภำษำไทย)

ลำดบั หวั ข้อ
1. ผลของการจัดท่าคลอดก่ึงนั่งยองร่วมกับวธิ กี ารเบ่งคลอดแบบธรรมชาติตอ่ เวลาในระยะทส่ี องของ

การคลอดและระดับการฉกี ขาดของฝีเย็บในผู้คลอดครรภแ์ รก
2. การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของข้าราชการตา้ รวจในโรงพยาบาลตา้ รวจ
3. ผลของโปรแกรมสรา้ งเสริมความรอบรู้ดา้ นการป้องกันโรคไข้เลือดออก

โดยประยกุ ต์แบบจ้าลองขอ้ มูลข่าวสาร แรงจูงใจ และทักษะทางพฤตกิ รรม
ของนกั เรยี นชนั ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสงั กดั กรงุ เทพมหานคร
4. ผลของการใช้ผ้าคลุมตซู้ บั แสงเสยี งต่อระยะเวลาการนอนหลับของ
ทารกเกิดกอ่ นกา้ หนด: การวิจัยแบบสุม่ ทดลอง
5. การก้ากับตนเอง และส่ิงแวดล้อมทางสังคม ท่ีมีผลต่อการจ้าแนกกลุ่มสมรรถภาพทางกายของ
ผสู้ ูงอายทุ ี่ติดสังคมในกรงุ เทพมหานคร
6. ผลลพั ธข์ องการดแู ลแบบประคับประคองตามการรบั รูข้ องผูป้ ่วยโรคมะเร็งและญาตผิ ู้ดูแล
ในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารกั ษ์
7. เปรียบเทียบระหว่างผลของการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการตนเองศูนย์เบาหวานกับระบบ
บริการตามปกติของคลินิกอายุรกรรมท่ัวไป ส้าหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ในโรงพยาบาลเจริญ
กรงุ ประชารักษ์
8. ความรู้ การสนับสนนุ จากครอบครัว และการสนบั สนนุ จากพยาบาลต่อพฤติกรรม
การดูแลเดก็ ที่มไี ขข้ องผดู้ ูแลเดก็ หอผปู้ ว่ ยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสริ ินธร
9. ประสบการณก์ ารดแู ลตนเองของผูท้ ่ีเปน็ โรคปอดอดุ กนั เรือรงั
10. ผลการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนต่อความวิตกกังวลและค่าตัวแปรสรีรวิทยาในหญิงผ่าตัดคลอด
ที่ระงบั ความร้สู กึ โดยฉีดยาทางช่องน้าไขสันหลงั เพ่อื ผ่าตดั คลอดแบบนดั หมายลว่ งหนา้
11. ผลของการใช้โปรแกรมเสริมสร้างพลังอ้านาจมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดต่อความรู้ และ
ความสามารถในการดแู ลตนเอง และทารกแรกเกิด
12. ผลของกิจกรรมส่งเสริมทักษะการอ่านในเด็กปฐมวัยที่เสี่ยงต่อภาวะความบกพร่องด้านการอ่าน
ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่มีครูเปน็ ผู้ก้ากบั ดูแลในโรงเรยี น

1. ผลของกำรจัดท่ำคลอดกึ่งนั่งยองร่วมกับวิธีกำรเบ่งคลอดแบบธรรมชำติต่อเวลำในระยะที่สอง
ของกำรคลอดและระดับกำรฉีกขำดของฝีเยบ็ ในผู้คลอดครรภแ์ รก

ชอื่ -สกลุ : นางสาวปญั ชลิกา วรี ะเดช
ภำควชิ ำ/กลุ่มงำน/สว่ นรำชกำร/หน่วยงำน : หอ้ งคลอด โรงพยาบาลเจรญิ กรุงประชารักษ์
วัตถุประสงค์ : เพ่ือเปรียบเทียบเวลาในระยะที่สองของการคลอดและระดับการฉีกขาดของฝีเย็บในผู้คลอด
ครรภแ์ รก ระหวา่ งผูค้ ลอดกลุ่มท่ีได้รับการจัดท่าคลอดก่ึงน่ังยองร่วมกับการเบ่งคลอดแบบธรรมชาติกับผู้คลอด
กลุ่มทเ่ี บง่ คลอดในทา่ นอน หงายร่วมกับการเบง่ คลอดแบบควบคมุ
รปู แบบกำรวิจยั : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่ม
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดบุตรคนแรกท่ีโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ สังกัด
ส้านักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จ้านวนทังหมด 81 ราย สุ่มเข้ากลุ่มด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นกลุ่ม
ทดลอง 41 ราย กลุ่มควบคมุ 40 ราย
วิธดี ำเนินกำรวจิ ยั : ในระยะที่สองของการคลอด กล่มุ ทดลองจะได้รับการจัดทา่ คลอดกงึ่ นงั่ ยองร่วมกับวธิ กี าร
เบง่ คลอดแบบธรรมชาติ กลมุ่ ควบคมุ จะได้รบั การจัดทา่ นอนหงายชนั ขาร่วมกับการเบง่ คลอดแบบควบคุม เก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบนั ทึกข้อมูลทั่วไป และแบบบนั ทึกขอ้ มูลการคลอด วิเคราะหข์ ้อมูลโดยสถิติค่าที สถิติ
วเิ คราะห์ความแปรปรวนร่วม สถิตไิ คสแคว์ และความเสยี่ งสัมพัทธ์
ผลกำรวิจัย : เวลาในระยะทีส่ องของการคลอดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่มคี วามแตกต่างกันที่
นยั ส้าคญั .05 เมื่อควบคุมอทิ ธิพลน้าหนกั ทารกทีม่ ีต่อเวลาในระยะท่สี องของการคลอด (F=.58 p= .448) และ
ระดบั การฉกี ขาดของช่องทางคลอดระหวา่ งกลมุ่ ทดลองและกล่มุ ควบคมุ ไมม่ ีความแตกต่างกนั (p =.65)
ในขณะท่กี ารฉีกขาดของช่องทางคลอด ตา้ แหน่งอ่นื ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคุมมคี วามแตกตา่ งกัน
อยา่ งมนี ยั สา้ คญั ทางสถิติ (p = .009) โดยกลุ่มควบคมุ มีความเสีย่ งต่อการฉีกขาดต้าแหน่งอนื่ มากกว่ากลุ่ม
ทดลอง 4.1 เท่า (RR = 4.10; 95% CI = 1.25, 13.49)
สรุป : การจัดท่าก่ึงนั่งยองร่วมกับการเบ่งคลอดแบบธรรมชาติ ไม่ไดล้ ดระยะเวลาในระยะที่สองของ การคลอด
แตท่ ้าให้การฉกี ขาดของช่องทางคลอดต้าแหน่งอืน่ เกิดขึนน้อยกวา่ พยาบาลผดุงครรภ์ควรนา้ การจัดทา่ ก่งึ น่งั
ยองและสง่ เสรมิ การเบ่งคลอดแบบธรรมชาติไปใช้เป็นทางเลือกในการดแู ลผู้คลอดในระยะทสี่ องของการคลอด

2. กำรศึกษำพฤตกิ รรมกำรบริโภคอำหำรของขำ้ รำชกำรตำรวจในโรงพยำบำลตำรวจ

ชือ่ -สกลุ : พ.ต.ต.หญิงยุวา ทงุ่ อว่ น
ภำควชิ ำ/กลมุ่ งำน/สว่ นรำชกำร/หน่วยงำน : กลมุ่ งานโภชนาการ โรงพยาบาลต้ารวจ
วัตถุประสงค์ : เพอื่ ศกึ ษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารในข้าราชการต้ารวจท่ปี ฏบิ ตั ิงานในโรงพยาบาลตา้ รวจ

รปู แบบกำรวิจยั : เป็นการศกึ ษาวจิ ยั เชงิ ส้ารวจ

ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง : บคุ ลากรในโรงพยาบาลตา้ รวจท่ีเปน็ ข้าราชการต้ารวจทังหมด 2034 ราย โดยใช้

สูตรการค้านวณหาจ้านวนกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane ก้าหนดค่าความเช่ือมันที่ 95% ระดับนัยส้าคัญ

ทางสถติ ิ ที่ 0.05 ดังนนั ไดจ้ า้ นวนกลุ่มตัวอยา่ งทีต่ อ้ งการเพ่ือให้ได้ผลสรปุ ทีม่ ีความน่าเช่ือถือท่ี 335 ราย โดยใช้

การเลอื กกลุ่มตวั อย่างแบบจ้าเพาะเจาะจง (Purposive sampling)

วิธีดำเนินกำรวิจัย : ประชุมระดมสมองเพ่ือก้าหนดหัวข้องานวิจัยหลังจากนันจัดท้าเอกสารขออนุญาตใช้แบบ
ประเมินฯ ซ่ึงผู้พัฒนาหลักคือกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จากนันเขียนโครงร่างงานวิจัยเพื่อเสนอต่อ
คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมและการวิจัยของโรงพยาบาลต้ารวจ จากนันด้าเนินการเก็บข้อมูลโดยแจก
แบบประเมนิ ในรูปแบบ QR code สุดท้ายจึงวิเคราะห์และสรุปผล
ผลกำรวิจัย : การศกึ ษาครังนมี ีผตู้ อบแบบสอบถามรวมทงั สิน 528 นาย ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ
หญิง (ร้อยละ 80.3) อายุระหว่าง 30-39 ปี (ร้อยละ 30.1) นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 97.3) สังกัดกลุ่มงาน
พยาบาล (ร้อยละ 46.6) ส้าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 64.4) รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000
บาท (ร้อยละ 28) มีค่า Body Mass Index (BMI) อยู่ในเกณฑ์ปกติ (18.5-22.9 kg/m2) (ร้อยละ 41.9) เส้น
รอบเอวอยู่ในเกณฑ์ (เพศหญิง ไม่ควรเกิน 32 นิว, เพศชาย ไม่ควรเกิน 36 นิว) (ร้อยละ 76.9) ไม่มีโรค
ประจ้าตัว (ร้อยละ 61.0) ในด้านพฤติกรรมการเข้าถึงอาหารมือหลักโดยสว่ นใหญ่ คือ ซือจากร้านอาหาร (เช่น
ข้าวราดแกง ร้านตามส่ัง) ร้อยละ 68.8 ไม่ได้อยู่ในระหว่างคุมน้าหนักตัว ร้อยละ 59.1 โดยผู้ที่อยู่ในระหว่าง
ควบคมุ น้าหนกั มรี ูปแบบการบรโิ ภคอาหาร คือ Intermittent fasting รอ้ ยละ 54.0 ในดา้ นพฤตกิ รรมการทาน
อาหารพบว่าพฤติกรรมท่ีปฏิบัติโดยส่วนใหญ่ คือ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ ร้อยละ 70.7 และมีการ
รบั ประทานอาหารไมเ่ หมาะสมบางสว่ น รอ้ ยละ 71.2 พฤติกรรมท่ีปฏิบตั ิน้อย คือ ดื่มนมขาดมันเนยวันละ 1-2
แกว้ ร้อยละ 33.1
สรุป : ข้าราชการต้ารวจท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต้ารวจมีพฤติกรรมท่ีปฏิบัติโดยส่วนใหญ่ คือ รับประทาน
อาหารครบ 5 หมู่และพฤติกรรมท่ีปฏิบัติน้อย คือ ด่ืมนมขาดมันเนยวันละ 1-2 แก้ว โดยรวมข้าราชการต้ารวจ
ท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต้ารวจส่วนใหญม่ ีสุขภาพดีเนอื่ งจากผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีค่า Body Mass
Index อยู่ในเกณฑ์ปกติ (18.5-22.9) ร้อยละ 41.9 เส้นรอบเอวอยู่ในเกณฑ์ (หญิงไม่ควรเกิน 32 นิว ชายไม่
ควรเกิน 36 นวิ ) ร้อยละ 76.9 และไมม่ โี รคประจ้าตัว ร้อยละ 61.1

3. ผลของโปรแกรมสร้ำงเสริมควำมรอบรูด้ ำ้ นกำรปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลือดออกโดยประยกุ ต์
แบบจำลองขอ้ มูลข่ำวสำร แรงจงู ใจ และทกั ษะทำงพฤตกิ รรมของนกั เรยี นชันประถมศกึ ษำปที ี่ 5
โรงเรยี นสังกัดกรงุ เทพมหำนคร

ชื่อ-สกลุ : นางชวนพศิ จกั ขุจนั ทร์

ภำควิชำ/กลุม่ งำน/ส่วนรำชกำร/หน่วยงำน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลตากสนิ

วัตถปุ ระสงคก์ ำรวจิ ยั :
เพ่ือศึกษาการเปล่ียนแปลงของนักเรียนชันประถมศึกษาปีท่ี 5 กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ

ภายหลงั จดั โปรแกรมฯ ในประเดน็ ต่อไปนี
1.1 ความรอบรู้ดา้ นการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออก
1.2 แรงจูงในการปอ้ งกนั โรคไข้เลือดออก
1.3 การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองในการปอ้ งกันโรคไข้เลือดออก
1.4 พฤตกิ รรมปอ้ งกันโรคไขเ้ ลอื ดออก

รปู แบบกำรวจิ ยั :
การวิจัยกึ่งทดลองศึกษา 2 กลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง โดยกลุ่มทดลองได้เข้าร่วมกิจกรรม

ตามโปรแกรมท่ีผู้วิจัยพัฒนาขนึ ส่วนกลุ่มเปรยี บเทยี บไดร้ ับการเรียนการสอนในหลกั สูตรปกติของสถานศึกษา
ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง :

ประชากร ได้แก่ นักเรียนชายและหญิงระดับประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ก้าลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา
2562 ภาคการศึกษาท่ี 2 โรงเรียนสังกัดส้านักงานเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร จ้านวน 555 คน ท้าการสุ่มกลุ่ม
ตัวอย่างโดยวิธีจับฉลากเลือกโรงเรียนที่เข้าเกณฑ์ และจับฉลากเลือกห้องเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม
เปรียบเทียบ โดยใช้นักเรยี นทงั ห้องเปน็ กลุม่ ตัวอย่าง จ้านวน 25 คน ทงั สองกล่มุ
วธิ ดี ำเนินกำรวิจัย :

จัดกิจกรรมตามโปรแกรมท่ีวางไว้ทังหมดเป็นเวลา 10 สัปดาห์ โดยสัปดาห์ท่ี 1 และ 10 เป็นการ
ประเมินผลก่อนและหลังการทดลองในนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และจัดกิจกรรมตามโปรแกรม
เฉพาะในกลุ่มทดลองเปน็ เวลา 8 สัปดาห์ ในสปั ดาห์ท่ี 2-9 สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั ครังละ 50 นาที
ผลกำรวจิ ยั :

1. กลุ่มทดลองมคี วามรอบรดู้ ้านการป้องกันโรคไข้เลือดออกสูงขึนกว่าก่อนทดลอง (p<0.001) และ
สงู กวา่ กลุ่มเปรียบเทยี บ (p=0.007) อยา่ งมนี ยั ส้าคญั ทางสถติ ิ

2. กลุ่มทดลองมีแรงจูงใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่แตกต่างจากก่อนทดลอง (p=0.383)
และไมแ่ ตกตา่ งจากกลุ่มเปรียบเทียบ (p=0.084)

3. กลุ่มทดลองมีการรบั รู้ความสามารถของตนเองการป้องกนั โรคไข้เลือดออกสูงขึนกว่าก่อนทดลอง
(p<0.004) และสงู กว่ากลมุ่ เปรยี บเทยี บ (p=0.019) อยา่ งมนี ยั ส้าคญั ทางสถติ ิ

4. กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกสูงขึนกว่าก่อนทดลอง (p<0.001) และสูง
กว่ากลมุ่ เปรียบเทยี บ (p=0.001) อย่างมีนัยสา้ คัญทางสถิติ

4. ผลของกำรใช้ผ้ำคลุมตู้ซับแสงเสียงต่อระยะเวลำกำรนอนหลับของทำรกเกิดก่อนกำหนด :
กำรวจิ ัยแบบสุ่มทดลอง

ชื่อ-สกลุ : นางสาวปิยนุช หริ ญั เพ่ิม
หน่วยงำน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารกั ษ์
วัตถุประสงค์ : เพ่ือเปรียบเทียบระยะเวลาการนอนหลับของทารกเกิดก่อนก้าหนดระหว่างกลุ่มที่ใช้ผ้าคลุมตู้
ซับแสงเสยี งและผ้าคลมุ ตแู้ บบเดมิ เพ่อื เปรยี บเทยี บระดับแสงในตูอ้ บระหวา่ งกลุ่มทีใ่ ชผ้ ้าคลมุ ตู้ซบั แสงเสยี งและ
ผ้าคลุมตู้แบบเดิม และเพื่อเปรียบเทียบระดับเสียงในตู้อบระหว่างกลุ่มที่ใช้ผ้าคลุมตู้ซับแสงเสียงและผ้าคลุมตู้
แบบเดมิ
รูปแบบกำรวิจัย : การวิจัยแบบสุ่มทดลอง (A randomized controlled trial study) ชนิดสองกลุ่ม วัดผล
หลงั การทดลอง (Two-group posttest only design)
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง : ประชากรคือ ทารกเกิดก่อนก้าหนดที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยทารกแรกเกดิ
ป่วย โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ทารกเกิดก่อนก้าหนดท่ีได้รับการดูแลในตู้อบจ้านวน 36 คน ผู้วิจัยใช้
การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience sampling) โดยเป็นทารกที่มีอายุตามปฏิทินบวกกับอายุ
ครรภ์ของมารดาอยูร่ ะหว่าง 32 ถงึ 37 สัปดาห์ น้าหนักตวั ระหวา่ ง 1,400-2,500 กรมั
วิธีดำเนินกำรวิจัย : ผู้วิจัยท้าการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ด้วย Block
randomization (block of 4) เพ่ือหาความเป็นไปได้ในการเรียงล้าดับการจัดเข้ากลุ่ม ในกลุ่มทดลอง ทารก
ได้รับการคลุมตู้อบด้วยผ้าคลุมตู้ซบั แสงเสยี ง สว่ นกล่มุ ควบคุมทารกได้รบั การคลุมต้อู บดว้ ยผา้ คลมุ ต้แู บบเดมิ มี
การวัดความสว่างของแสงและความดังของเสียงทังในช่วงกลางวันและกลางคืน มีการบันทึก วีดิทัศน์
ระยะเวลาการหลับตื่นของทารกอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 2 ช่ัวโมง จ้านวน 2 ครัง ในช่วงกลางวันและกลางคืน
การบันทึกจะเห็นเฉพาะร่างกายของทารกเท่านัน โดยไม่ทราบว่าเป็นผ้าคลุมชนิดใด และประเมินการหลับต่ืน
โดยปกปิดข้อมูล (blinding) ไม่ใหผ้ ู้ชว่ ยวจิ ัยท่ีเป็นผู้ประเมนิ ทราบว่าทารกอยูก่ ล่มุ ใด
มีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ของทารกโดยใชแ้ บบบนั ทึกข้อมลู ท่ัวไปของทารก ขอ้ มลู วเิ คราะห์ดว้ ยสถิติเชิงพรรณา
และสถติ ทิ ดสอบที (Independent t-test)
ผลกำรวจิ ัย : ผลการวิจยั พบว่าระยะเวลาการนอนหลับรวมและหลับลกึ ของทารกเกิดก่อนก้าหนดในกลุ่มทใ่ี ช้
ผ้าคลมุ ต้ซู บั แสงเสียงมากกวา่ กลุม่ ท่ีใช้ผา้ คลมุ ตูแ้ บบเดมิ อย่างมนี ยั สา้ คัญทางสถิติ (p<.05) ระดับแสงในตู้อบใน
กลุ่มทใ่ี ช้ผ้าคลมุ ตซู้ ับแสงเสียงนอ้ ยกว่ากลมุ่ ท่ใี ช้ผ้าคลุมตู้แบบเดิมอย่างมนี ยั สา้ คัญทางสถิติ (p<.05) และระดบั
เสยี งในตู้อบในกลุ่มที่ใช้ผา้ คลุมตู้ซบั แสงเสยี งน้อยกวา่ กลุ่มที่ใชผ้ า้ คลมุ ตแู้ บบเดิมอย่างมีนยั สา้ คัญทางสถิติ
(p<.05)
สรุป : ผ้าคลุมตู้ซับแสงเสียงช่วยเพิ่มระยะเวลาการนอนหลบั รวมและหลบั ลึกทารกเกิดก่อนก้าหนดได้นานกวา่
การใชผ้ า้ คลุมตู้แบบเดิม และยังช่วยลดระดับแสงและเสียงได้ จงึ ควรนา้ ไปใช้ส่งเสริมการนอนหลับในทารกเกิด
กอ่ นกา้ หนด

5. กำรกำกับตนเอง และส่ิงแวดล้อมทำงสังคม ที่มีผลต่อกำรจำแนกกลุ่มสมรรถภำพทำงกำย

ของผูส้ ูงอำยุท่ีตดิ สังคมในกรงุ เทพมหำนคร

ชอ่ื -สกลุ : นางสาวศศบิ ังอร ธรรมคณุ

หน่วยงำน : ฝ่ายการพยาบาล กลุ่มภารกจิ ด้านการพยาบาล โรงพยาบาลสริ นิ ธร

วัตถปุ ระสงค์ :

1. เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ค ว า ม สั ม พั นธ์ ข อ ง ก า ร ก้ า กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ท า ง สั ง ค ม กั บ ส ม ร ร ถ ภ า พ

ทางกายของผู้สูงอายุท่ีติดสงั คมในกรงุ เทพมหานคร

2. สร้างสมการท้านายการจ้าแนกกลุ่มสมรรถภาพทางกายผู้สูงอายุที่ติดสังคมด้วยการก้ากับตนเองและ

สง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม

รปู แบบกำรวิจยั : การวิจัยแบบไม่ทดลอง แบบแผนการวจิ ยั Predictive Design

ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง :

กลุ่มที่จะใช้ในการศึกษานีเป็นผู้สูงอายุทังเพศชายและเพศหญิง ท่ีอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็น

สมาชิกชมรมผสู้ งู อายใุ นโรงพยาบาลสังกดั ส้านกั การแพทย์ 406 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์จ้าแนกพหุใช้อัตราส่วนระหว่างตัวแปรอิสระกับจ้านวนตัวอย่าง 1

ต่อ 20 งานวิจัยนีมีตวั แปรอิสระ 6 ตัวแปร ใช้กลุ่มตัวอย่าง 120 และในการจ้าแนกกลุ่มอัตราส่วนระหวา่ งกลุม่

กับจ้านวนตัวอย่าง 20 ต่อ 1 กลุ่ม เพ่ือป้องกันการคาดเคล่ือนของการวิเคราะห์จ้าแนกพหุจึงท้าการเก็บกลุ่ม

ตวั อย่างจ้านวน 406 คน แบ่งเป็นเพศชาย 104 คนและหญิง 302 คน

วิธีกำรดำเนินกำรวิจัย : เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการก้ากับตนเอง แบบสอบถาม

ส่ิงแวดล้อมทางสังคม การทดสอบสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุท่ีติดสังคม วิเคราะห์โดยใช้สถิติ

ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยค่าสัมประสิทธิ์คาโนนิคอล และสร้าง

สมการท้านายจ้าแนกลมุ่ สมรรถภาพทางกายของผสู้ งู อายทุ ีต่ ิดสังคมด้วยการวเิ คราะห์จา้ แนกพหุ

ผลกำรศึกษำ : ชุดตัวแปรท้านายการก้ากับตนเองและส่ิงแวดล้อมทางสังคมกับชุดตัวแปรเกณฑ์สมรรถภาพ

ทางกายผู้สูงอายุที่ติดสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส้าคัญที่ระดับ .05 การก้ากับตนเอง และสิ่งแวดล้อม

ทางสังคม สามารถท้านายการจ้าแนกกลุ่มสมรรถภาพทางกายผู้สูงอายุท่ีติดสังคมได้ สามารถสร้างสมการ

จ้าแนกตามเพศ โดยเพศชายได้ความแมน่ ย้ารอ้ ยละ 66.30 เพศหญิงไดค้ วามแมน่ ยา้ รอ้ ยละ 73.20

สรุป : จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าตัวแปรการก้ากับตนเอง และส่ิงแวดล้อมทางสังคมมีควา มสัมพันธ์

กับสมรรถภาพทางกายของผสู้ ูงอายุ และสามารถท้านายการจา้ แนกกลุม่ สมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุทต่ี ิด

สังคมในกรุงเทพมหานครได้

6. ผลลัพธ์ของกำรดแู ลแบบประคบั ประคองตำมกำรรบั รูข้ องผู้ป่วยโรคมะเร็งและญำติผู้ดแู ล
ในโรงพยำบำลเจริญกรงุ ประชำรกั ษ์

ช่อื -สกลุ : นางสาวสพุ ตั รา คงปลอด
ตำแหนง่ : พยาบาลวชิ าชพี ช้านาญการ
สังกัด : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพบาบาลเจรญิ กรุงประชารกั ษ์
วตั ถุประสงค์ : เพ่ือศึกษาผลลัพธ์ของการดูแลแบบประคับประคองตามการรับรู้ของผ้ปู ่วยโรคมะเร็งและญาติผ้ดู แู ล

รูปแบบกำรวิจยั : การศกึ ษาวจิ ยั ครงั นีเป็นการศึกษาแบบสงั เกตเชิงพรรณนา
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง : กลุ่มตัวอย่างคือผู้ปว่ ยโรคมะเรง็ ระหวา่ งเดอื น กุมภาพันธ์ – ตุลาคม พ.ศ. 2563
จา้ นวน 104 คนและญาติผู้ดแู ล จา้ นวน 104 คน คดั เลือกกลมุ่ ตวั อย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคณุ สมบตั ิท่กี ้าหนด

วิธดี ำเนนิ กำรวจิ ัย : เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั แบบบันทึกข้อมูลสว่ นบคุ คล และแบบประเมินผลลัพธข์ องการ
ดแู ลแบบประคับประคองฉบับของผู้ป่วยและฉบบั ของญาติผ้ดู ูแล เก็บรวบรวมขอ้ มลู 2 ครงั โดยเก็บขอ้ มลู ครงั
ที่ 1 ในช่วงวนั ที่ 1-3 หลงั จากเข้าสู่ระบบการดูแลแบบประคับประคองของศนู ยอ์ นนั ตชีวรกั ษ์ ซง่ึ พัฒนาระบบ
โดยใช้แนวคิดการดูแลแบบประคบั ประคองขององค์การอนามยั และเก็บข้อมูลครงั ท่ี 2 หลังจากการประเมนิ
ครังท่ี 1 ภายใน 3-7 วนั วเิ คราะหข์ ้อมูลเปรียบเทียบโดยใชส้ ถิติ Wilcoxon t-test และ Mann-Whitney U test

ผลกำรวิจัย : พบวา่ ค่าคะแนนผลลพั ธ์ของการดูแลแบบประคบั ประคองของผู้ปว่ ยโรคมะเร็งและญาติผู้ดูแล
ครงั ที่1 แตกตา่ งจากครังท่ี 2 อย่างมีนยั ส้าคัญทางสถติ ิ (p < 0.001) และค่าคะแนนผลลพั ธ์การดแู ลแบบ
ประคบั ประคอง ตามช่วงเวลาการศึกษาครังที่ 1 และครังที่ 2 ระหว่างผู้ปว่ ยโรคมะเรง็ และญาติผดู้ แู ล พบวา่ ไม่
แตกต่างกันทงั สองช่วงเวลา

สรปุ : จากการศึกษาครงั นสี นบั สนนุ ว่าการดแู ลแบบประคับประคองสามารถชว่ ยลดอาการทางกายและทางใจ
ของผ้ปู ว่ ยได้ และกระบวนการดแู ลแบบประคบั ประคองยังสง่ เสริมใหผ้ ปู้ ่วยโรคมะเรง็ และญาติผดู้ แู ลรับรู้
สภาวะความเจ็บป่วยในทศิ ทางเดียวกัน ทา้ ให้ญาตผิ ู้ดูแลสามารถประเมนิ อาการผปู้ ่วยได้ตรงตามความรูส้ ึกของ
ผปู้ ่วยอยา่ งแทจ้ รงิ และช่วยเหลอื ผปู้ ว่ ยไดซ้ ึ่งเปน็ การเพ่ิมคุณภาพชวี ิตให้กบั ผูป้ ว่ ย

7. เปรียบเทยี บระหวำ่ งผลของกำรใหค้ วำมรแู้ ละสนับสนุนกำรจัดกำรตนเองศูนย์เบำหวำนกับระบบบริกำร
ตำมปกตขิ องคลนิ กิ อำยรุ กรรมทว่ั ไป สำหรับผูป้ ว่ ยเบำหวำนชนดิ ท่ี 2 ในโรงพยำบำลเจรญิ กรงุ ประชำรกั ษ์
ชอ่ื -สกลุ : จารภุ ณั ฑ์ กลุ เสถยี ร
ภำควิชำ/กลุ่มงำน/ส่วนรำชกำร/หนว่ ยงำน : โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์
วัตถปุ ระสงค์ : เพ่อื เปรียบเทียบผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ปว่ ยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ระหว่างกลุ่มท่ีได้รับความรู้และ
สนับสนนุ การดแู ลตนเองของศูนย์เบาหวาน กบั กลุ่มท่ีไดร้ บั การบริการตามระบบปกติของคลนิ ิกอายุรกรรมทวั่ ไป
วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัย : การศึกษาครังนีเป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง retrospective cohort study กลมุ่ ตัวอย่าง
คือผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับน้าตาลเฉล่ียสะสม HbA1C ≥8mg% จ้านวน 540 รายแบ่งเป็นกลุ่มท่ี
ได้รับการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการตนเองศูนย์เบาหวาน (DM center) จ้านวน 270 ราย และกลุ่มที่
ได้รับบริการตามปกติของคลินิกอายุรกรรมทั่วไป (Med clinic) จ้านวน 270 ราย ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม
2560–31 กันยายน 2562 ติดตามผลของระดบั นา้ ตาลเฉล่ียสะสม HbA1Cไขมันแอลดีแอล (LDL cholesterol)
ความดันโลหิต Systolic Diastolic และน้าหนักตัว (BMI) ทุก 3 เดือนหลังรับบริการครังแรกจนครบ 12 เดือน
และติดตามการเกิดภาวะแทรกซ้อนเดือนที่ 12 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส้าเร็จรูป เปรียบเทียบระดับ
น้าตาลเฉลี่ยสะสม HbA1C ระดับไขมันแอลดีแอล (LDL cholesterol) ความดันโลหิต Systolic Diastolic
และน้าหนักตัว (BMI) การเกิดภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มท่ีได้รับการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการตนเอง
ศนู ยเ์ บาหวาน (DM center) และกลุ่มท่ไี ด้รับบริการตามปกติของคลินิกอายุรกรรมทวั่ ไป (Med clinic)โดย ใช้
independent T test กา้ หนดระดบั นยั ส้าคัญที่ 0.05
ผลวิจัย : ผลการศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระดับน้าตาลเฉลี่ยสะสม HbA1C ของกลุ่มท่ีได้รับการให้
ความรู้และสนับสนนุ การจดั การตนเองศูนย์เบาหวาน (DM center) ภายหลังรับบริการในเดือนท่ี 3, 6, 9 และ
12 พบว่า ระดับน้าตาลเฉลีย่ สะสม HbA1C เดือนท่ี 3 เดือนที่ 6 เดือนท่ี 9 และเดือนที่ 12 ต้่ากว่ากลุ่มท่ีได้รับ
บริการตามปกติของคลินิกอายุรกรรมท่ัวไป (Med clinic) อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p<0.001) และกลุ่มท่ี
ได้รับการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการตนเองศูนย์เบาหวาน (DM center) ระดับน้าตาลเฉล่ียสะสม
HbA1C ลดลงมากกว่ากลุ่มท่ีได้รับบริการตามปกติของคลินิกอายุรกรรมทั่วไป (Med clinic) 1.67 mg% ใน 1 ปี
เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการรับริการ ส่วนระดับไขมันแอลดีแอล (LDL cholesterol) ค่าความดันโลหิต
Systolic Diastolic และนา้ หนกั (BMI) หลงั การรบั ริการในเดือนท่ี 3, 6, 9 และ 12 ของผู้ปว่ ยทงั สองกล่มุ ลดลง
เมื่อเปรยี บเทยี บกบั ครังแรกแต่ไม่มีความแตกต่างกันระหวา่ ง 2 กลุ่ม การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นจากเบาหวานเม่ือ
ติดตามครบ 12 เดือน เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มท่ีได้รับการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการตนเองศูนย์
เบาหวาน (DM center) และกลุ่มที่ได้รับบริการตามปกติของคลินิกอายุรกรรมทั่วไป (Med clinic) พบว่ากลมุ่
ทไี่ ดร้ ับการให้ความรแู้ ละสนับสนนุ การจดั การตนเองศูนย์เบาหวาน (DM center) การเกิดภาวะแทรกซ้อนทาง
ตา ทางไต หลอดเลือดหัวใจ และทางหลอดเลือดสมอง น้อยกว่ากลุ่มท่ีได้รับการบริการตามระบบปกติอย่างมี
นัยส้าคัญทางสถิติ (p<0.05)
สรุป : จากการศึกษาครังนีการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน (DSME&S) มี
ประสิทธิภาพในการลดระดับน้าตาลเฉลี่ยสะสม HbA1C และชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน ควรสนับสนุนให้
ผู้ป่วยไดร้ ับ ความรู้และสนบั สนุนการจัดการตนเองทกุ ราย เพ่อื ให้ผู้ป่วยมคี ณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี

8. ควำมรู้ กำรสนับสนุนจำกครอบครัว และกำรสนับสนุนจำกพยำบำลต่อพฤติกรรม

กำรดแู ลเดก็ ท่ีมไี ข้ของผู้ดูแลเดก็ หอผปู้ ่วยกุมำรเวชกรรม โรงพยำบำลสิรินธร

ชอ่ื -สกลุ : นางสาวรัชนีกร กตุ ระแสง

หน่วยงำน : ฝา่ ยการพยาบาล กลมุ่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล โรงพยาบาลสริ นิ ธร

วตั ถุประสงค์ : เพอ่ื ศกึ ษาความสมั พันธ์ระหว่างความรู้ การสนับสนุนจากครอบครวั การสนับสนุนจาก

พยาบาลกับพฤติกรรมการดูแลเดก็ ท่ีมีไขข้ องผู้ดูแลเด็ก

รปู แบบกำรวจิ ัย : การวิจัยเชงิ บรรยาย (Descriptive research)

ประชำกรและกลมุ่ ตวั อย่ำง :
ประชากร คือ ผู้ดูแลเด็กที่มีอายุ 6 เดือน - 5 ปี ท่ีมีภาวะไข้เป็นอาการน้า และเข้ารับการรักษา

ท่ีหอผ้ปู ่วยกมุ ารเวชกรรม โรงพยาบาลสิรินธร ในช่วงเดอื นมิถุนายน 2564 - กมุ ภาพนั ธ์ 2565
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กท่ีมีอายุ 6 เดือน - 5 ปี ท่ีมีความสัมพันธ์เป็นบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย

หรือสมาชิกในครอบครัวที่อายุ 18 - 60 ปี ไม่มีโรคประจ้าตัว มีการรับรู้และสติสัมปชัญญะปกติ ความสามารถ
อา่ น เขยี น และส่อื สารภาษาไทยได้เขา้ ใจ
วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจยั :

ผู้ช่วยวิจัยเข้าพบกลุ่มตัวอย่างในวันท่ีแพทย์จ้าหน่ายเด็กที่มีไข้กลับบ้าน เก็บรวบรวมข้อมูล
เดือนมิถุนายน 2564 - กุมภาพันธ์ 2565 กลุ่มตัวอย่าง 97 คน เป็นผู้ดูแลเด็กอายุ 6 เดือน - 5 ปี ที่มีภาวะไข้
เปน็ อาการนา้ เข้ารักษาทีห่ อผ้ปู ่วยกมุ ารเวชกรรม โรงพยาบาลสริ ินธร เลอื กกลมุ่ ตวั อย่างแบบเจาะจง เครือ่ งมือ
ท่ีใช้ในการเก็บรวบรว มข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคว ามรู้
ในการดูแลเด็กที่มีไข้ แบบสอบถามการสนับสนุนจากครอบครัว แบบสอบถามการสนบั สนุนจากพยาบาล และ
แบบสอบถามพฤติกรรมการดแู ลเด็กท่ีมีไข้ ค่าดชั นีความตรงเชิงเนือหาของแบบสอบถามเท่ากับ .71, .98, .95
และ .85 ตามล้าดับ สถติ ทิ ีใ่ ชค้ า่ ความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสมั ประสิทธสิ์ หสัมพันธ์ของ
เพียรส์ ัน
ผลกำรวิจัย :

ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลเด็กท่ีมีไข้อยู่ระดับสูง (x̅ =11.04 S.D.=2.13) ได้รับการสนับสนุน

จากครอบครัวอยู่ระดับมาก (x̅ =34.05 S.D.= 5.29) ได้รับการสนับสนุนจากพยาบาลอยู่ระดับมาก (x̅ = 47.95

S.D. = 6.70) และมีพฤติกรรมการดูแลเด็กที่มีไข้เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (x̅ =35.27 S.D.=4.68) โดยการ
สนับสนุนจากครอบครัวมีความสมั พันธท์ างบวกกับพฤติกรรมการดูแลเด็กท่ีมีไข้ของผดู้ ูแลอย่างมีนัยส้าคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05* (p = .01, r = .304) ส่วนความรู้ในการดูแลเด็กท่ีมีไข้และการสนับสนุนจากพยาบาลไม่มี
ความสมั พันธก์ ับพฤตกิ รรมการดูแลเดก็ ทีม่ ีไข้ของผู้ดูแลอย่างมีนัยส้าคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05* (p = .10, r = .15)
สรุป : พยาบาลควรส่งเสริมให้ผู้ดูแลให้ได้รับการสนับสนุนท่ีเหมาะสมจากครอบครัว ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้ดูแล มี
พฤตกิ รรมการดแู ลเดก็ ทม่ี ไี ข้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพ่ือลดอนั ตรายจากภาวะชักจากไข้สงู

9. ประสบกำรณก์ ำรดแู ลตนเองของผ้ทู ่เี ปน็ โรคปอดอุดกันเรือรัง

ช่อื -สกลุ : นางสาวดารุณี เงนิ แท้

ตำแหน่ง : พยาบาลวชิ าชพี ช้านาญการ
สังกดั : โรงพยาบาลเจรญิ กรงุ ประชารกั ษ์ ส้านกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์ : เพอ่ื ศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผ้ปู ่วยโรคปอดอดุ กันเรอื รังทมี่ ีอาการกา้ เรบิ

รปู แบบกำรพัฒนำ : การวจิ ยั เชิงคุณภาพ

กลุ่มเป้ำหมำย : คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ตามคุณสมบัติท่ีก้าหนด
เป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกันเรือรังที่มีอาการก้าเริบและกลับเข้ารับการรักษาในห้องอุบัติเหตุ -ฉุกเฉิน
จ้านวน 10 ราย
วิธีดำเนินกำร : หลังจากโครงการวจิ ัยได้รับการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนแลว้ ร่วมกับ
ผู้วิจัยได้รับอนุญาตจากผู้อ้านวยการของโรงพยาบาลที่เก็บข้อมูลแล้ว จึงได้ติดต่อกับหัวหน้าพยาบาลห้อง
อบุ ัติเหตุ-ฉุกเฉนิ และห้องตรวจอายุรกรรม เพ่อื ขอเก็บข้อมูลผปู้ ่วยโรคปอดอุดกันเรือรังท่มี ีคุณสมบัติตามเกณฑ์
คัดเข้า ก่อนที่ผู้วิจัยจะเข้าติดต่อกับกลุ่มตัวอย่างได้ผ่านการแนะน้าจากพยาบาลผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่
ต้องการเก็บข้อมูลและสัมภาษณ์ทุกราย จากนันผู้วิจัยได้ให้ข้อมูลโครงการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่างและขอความ
สมัครใจของกลุม่ ตวั อยา่ งในการตอบแบบสอบถามและการสัมภาษณ์พรอ้ มทงั บันทกึ เทป โดยสถานทีใ่ นการเก็บ
ข้อมูลครังแรก คือ ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ผู้วิจัยท้าการสัมภาษณ์ภายหลังการรักษาเสร็จสินแล้ว โดยจัดห้องใน
การสัมภาษณ์ภายในห้องอุบัติเหตุ- ฉุกเฉิน ซ่ึงเป็นสถานท่ีท่ีมีความปลอดภัย และมีความเป็นส่วนตัว ส่วนการ
สัมภาษณ์ครังที่ 2 คือ ห้องตรวจอายุรกรรม ผู้วิจัยจะติดตามและขอสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่มาตรวจตามนัด
หมายด้วยตนเองซ่ึงเป็นกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน โดยท้าการสัมภาษณ์ภายในห้องแยกที่มีความเป็นส่วนตัวและ
ปลอดภัยภายในหอ้ งตรวจอายรุ กรรม ผวู้ จิ ัยทา้ การสมั ภาษณ์แบบเจาะลึก โดยใชแ้ นวสัมภาษณ์ท่ีผู้วิจัยสร้างขึน
เป็นแนวค้าถามน้า ซึ่งเป็นค้าถามปลายเปิดที่ให้กลุ่มตัวอย่างได้เล่าประสบการณ์การดูแลตนเองอย่างละเอียด
และครอบคลุมถึงวตั ถุประสงค์ตามท่ีผู้วิจัยตังเปา้ หมายไว้ ในขณะท่ีสัมภาษณ์มีการบันทึกเทปเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่
ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น แต่ละครังใชเ้ วลาสัมภาษณ์ประมาณ 30-120 นาที ในการสมั ภาษณค์ รังท่ี 2 ผ้วู จิ ยั ถามค้าถาม
เดิมเพ่ือให้กลุ่มตัวอย่างตอบ และน้าข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ครังแรกเพ่ือน้าไปตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างแต่ละรายอีกครังร่วมกับการสัมภาษณ์เพ่ือให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือขยายความของข้อ มูล
ครังแรกท่ไี ด้ข้อมลู ไม่ครบ ไม่ชดั เจนและไม่มีรายละเอียดจนได้ข้อมลู ทีช่ ดั เจนและสมบรู ณ์ครบถว้ น
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ และแนวการ
สมั ภาษณก์ ารดแู ลตนเองโดยผวู้ ิจัยสร้างขนึ เองจากการทบทวนวรรณกรรม โดยเคร่อื งมือทใ่ี ชไ้ ดร้ บั ข้อเสนอแนะ
และตรวจสอบความถูกต้องจากผู้ทรงคุณวุฒิ คือ อาจารย์พยาบาลผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยเชงิ คุณภาพ 2 ท่าน
และอาจารย์พยาบาลผ้เู ช่ียวชาญดา้ นโรคปอดอุดกันเรือรงั 1 ท่าน ผู้วิจัยได้ท้าการปรบั ภาษาและเนือหาท่ีใชใ้ น
การสัมภาษณ์ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ จากนันผู้วิจัยได้น้าแนวการสัมภาษณ์นีไปทดลองใช้กับผู้ท่ีมี
คุณสมบัติคล้ายคลึงกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 3 ราย เพื่อตรวจสอบภาษาและความเข้าใจในข้อค้าถาม ตัวอย่างข้อ
คา้ ถามหลักทใี่ ช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ “การดแู ลตนเองในมมุ มองของทา่ นที่เปน็ โรคปอดอดุ กันเรือรังท่มี ีอาการ
ก้าเริบเปน็ อยา่ งไร” หรือ “ท่านดแู ลตนเองอยา่ งไรขณะท่ีท่านเปน็ โรคปอดอดุ กนั เรือรัง ท่ีมีอาการกา้ เรบิ ”

ตัววัดท่ีสำคัญ : การตรวจสอบความน่าเช่ือถือของข้อมูล ได้เลือกใช้เกณฑ์การประเมินของคูบาและ
ลินคอลน์ ประกอบด้วย 1) ความน่าเช่ือถือ (credibility) โดยผู้วิจัยได้สร้างสัมพันธภาพที่ดีท้าให้เกิดความ
ไว้วางใจในช่วงเวลาท่ีสัมภาษณ์พร้อมสังเกตอย่างต่อเนื่อง ในการสัมภาษณ์แต่ละครัง ผู้วิจัยใช้เวลาอยู่กับกลุ่ม
ตัวอย่างในช่วงเวลายาวนานพอควร มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยการน้าข้อมูลไปตรวจสอบกับ
กลุ่มตัวอย่างแต่ละรายในการสัมภาษณ์ครังท่ี 2 (member checking) 2) การถ่ายโอนผลวิจัย
(transferability) ผลการศึกษาของการวิจัยครังนีไม่สามารถถ่ายโอนไปสู่ประชากรกลุ่มใหญ่ได้ แต่ได้น้าเสนอ
ข้อมูลอยา่ งละเอียด (thick description) และเปน็ ข้อมลู ที่ลึกซงึ (rich knowledge) ทา้ ให้เกดิ ความเข้าใจเรื่อง
การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกันเรือรังที่มีอาการก้าเริบ และสามารถน้าผลการศึกษาไปปรับใช้ในกลุ่ม
ตัวอย่างท่ีคล้ายคลึงกันได้ 3) การพึ่งพาเกณฑ์อื่นได้ (dependability) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีขันตอนใน
การดา้ เนนิ การเหมือนกัน ขณะทส่ี ัมภาษณ์มีการจดบนั ทึกข้อมูลและบันทึกเทปทุกครัง และการวเิ คราะห์ข้อมูล
ด้าเนินการอย่างเป็นระบบและสามารถตรวจสอบได้ 4) การยืนยันผล (confirm ability) ผู้วิจัยน้าข้อมูลที่ได้
วิเคราะหแ์ ลว้ มาปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา ซง่ึ ท้าการวิเคราะห์ข้อมูลอีกครัง เปน็ การยนื ยันผลการวิจัยว่าเป็น
ความจริงตามขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสัมภาษณ์ โดยข้อมลู ไมไ่ ดว้ เิ คราะห์และตคี วามจากผวู้ ิจยั เพยี งฝ่ายเดียว
ผลกำรดำเนนิ กำร และสรุปผล : ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกนั เรือรังที่มีอาการก้าเริบ
ในระยะอาการก้าเริบ ผปู้ ่วยส่วนใหญ่สามารถประเมินความรนุ แรงของโรค เม่ือเกิดอาการหอบเหนื่อยก้าเริบได้
ในขันต้นผู้ป่วยจะเคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด โดยการน่ังพักหรือหยุดท้ากิจกรรมนันๆ ทันที ผู้ป่วยจะลด
หรือหลีกเลี่ยงการออกแรงในการท้ากิจวัตรประจ้าวัน การท้างานบ้าน หรืองดการออกก้าลังกายทันที เพ่ือ
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการหอบเหนื่อยมากขึน การจัดการทางเดินหายใจให้โล่งและให้ได้รับออกซิเจนอย่าง
เพียงพอเป็นการดูแลตนเองอีกวิธีหนึ่งในการจัดการอาการหอบก้าเริบ ได้แก่ การลดอาการไอและลดเสมหะท่ี
เป็นสาเหตทุ า้ ใหอ้ าการหอบกา้ เรบิ โดยการจบิ ยาแกไ้ อและการดื่มนา้ ซง่ึ เปน็ การจัดการกบั อาการหอบเบืองต้น
และเป็นวิธีท่ีสามารถท้าได้ง่าย เมื่ออาการหอบเหน่ือยยังไม่ทุเลา ผู้ป่วยจะใช้วิธีการบริหารการหายใจ ซ่ึงมี
ประโยชน์ คือ ช่วยชะลอความก้าวหน้าของโรคและช่วยให้ผู้ป่วยสามารถทนต่อการท้ากิจกรรมต่างๆได้ การ
บรหิ ารการหายใจของผู้ปว่ ยกลุ่มนี ทา้ โดยการหายใจเข้า – ออก ลึกๆ ยาวๆ และจากนนั ก็จัดการพ่นยาต่อทันที
การพ่นยาเม่ือมีอาการหอบเหนื่อยก้าเริบนี จะช่วยให้อาการหอบเหน่ือยทุเลาลง และช่วยลดความรุนแรงของ
โรค ในการศึกษานี กลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลเรื่องการพ่นยาติดกันหลายๆ ครังเม่ือมีอาการหอบเหน่ือยก้าเริบ แต่
ไม่ได้ประเมินอาการซ้าหลังการพ่นยา ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี ส่วนใหญ่พ่นยาไม่ถูก
เทคนิค ซ่ึงการพ่นยาไม่ถูกเทคนิคจะไม่ช่วยให้หลอดลมคลายตัว หลอดลมยังคงบวม และเกิดการอุดตันของ
หลอดลมท้าให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจน จึงเป็นผลให้กลุ่มตัวอย่างมีอาการหอบก้าเริบรุนแรงมากขึน บางราย
ตอ้ งขอความชว่ ยเหลอื จากคนในบ้านหรอื เพอื่ นบ้านให้ชว่ ยหยบิ ยาพ่นหรือพน่ ยาให้ หรอื บางรายมอี าการหอบท่ี
รุนแรงมากจนต้องเรียกรถพยาบาลเพื่อน้าส่งโรงพยาบาล จะเห็นได้ว่าข้อมูลของประสบการณ์ในระยะอาการ
ก้าเริบจะมีประโยชน์ต่อพยาบาลในการเข้าใจพฤติกรรมการดูแลตนเองของกลุ่มตัวอย่างได้ดีขึน ส่วนระยะ
อาการสงบ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญด่ ูแลตนเองเรื่องการรบั ประทานยาและพ่นยาขยายหลอดลมด้วยตนเอง ส่วน
ใหญย่ ังลมื รบั ประทานยาหรือพ่นยาชนิดควบคมุ อยู่ การที่กลมุ่ ตัวอย่างไม่ไดร้ ับยาขยายหลอดลมอยา่ งสม้า่ เสมอ
ส่งผลให้เกิดอาการหอบเหน่ือยก้าเริบท่ีบ้านบ่อยครัง ซ่ึงท้าให้อุบัติการณ์การกลับเข้ามารับการรักษาใน
โรงพยาบาลสูงขึน นอกจากนีผู้ป่วยทุกรายกังวลเกี่ยวกับอาการหอบก้าเริบจึงพกยาพ่นชนิดฉุกเฉินติดตัว
ตลอดเวลา ผู้ป่วยบางรายพ่นยาก่อนทา้ กิจกรรมทกุ ครัง แต่บางรายพ่นยาทันทีเม่ือเกิดอาการหอบ บางรายพน่
ยาติดๆกัน 4 ครัง โดยไม่เว้นระยะพัก นอกจากนีบางรายไม่มีการประเมินอาการหลังการพ่นยาแต่ละครัง
ในขณะท่ีบางรายจัดการกับอาการด้วยการใช้ยาพ่นเพียงวิธีเดียว พฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มนีสะท้อนให้

เหน็ ว่ากล่มุ ตัวอยา่ งนใี ชย้ าพ่นไม่ถกู ต้อง ซึ่งอาจเกิดจากกลุม่ ตัวอย่างเปน็ ผูส้ ูงอายุทา้ ให้ไม่สามารถจา้ เทคนิคและ
ข้อปฎิบตั ิในการพ่นยาที่ถูกต้องได้ ส่วนการบรหิ ารการหายใจกลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่มักบริหารการหายใจเฉพาะ
เวลาท่ีมีอาการหอบก้าเริบเท่านัน เพราะคิดว่าการบริหารการหายใจในขณะอาการไม่ก้าเริบไม่ช่วยลดอาการ
หอบเหน่ือย ซ่ึงโดยปกติการบริหารการหายใจต้องท้าอย่างต่อเนื่อง สม้่าเสมอจึงจะช่วยบรรเทาอาการหอบ
เหน่ือยได้ ส้าหรับการดูแลตนเองในการหลีกเล่ียงปัจจัยกระตุ้น กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติการดูแลตนเองได้ดี โดย
กล่มุ ตัวอย่างทุกกรายพยายามหลีกเลีย่ งควนั บหุ รี่ ควันไฟ อากาศเย็น หรือความเครยี ด ซง่ึ เป็นอกี วิธหี นง่ึ ในการ
ป้องกันอาการหอบเหน่ือยก้าเริบ การหลีกเล่ียงส่ิงกระตุ้นให้อาการหอบเหนื่อยก้าเริบ มีความส้าคัญ คือ
ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกดิ อาการก้าเริบของโรคมากขึนและช่วยใหส้ ามารถด้าเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ส้าหรับกจิ กรรม
และการเคลือ่ นไหว กลุม่ ตวั อย่างส่วนใหญ่เลือกวิธีการออกกา้ ลงั กายท่เี คลื่อนไหวรา่ งกายน้อยทส่ี ดุ หรอื ปรับให้
เหมาะสมกับความรนุ แรงของโรคที่ตนเป็นอยู่ในขณะนนั เพราะกล่มุ ตัวอย่างบอกวา่ มีอาการหอบก้าเริบทุกครัง
ที่ออกก้าลังกาย ดังนันการออกก้าลังกายของผู้ป่วยโรคปอดอุดกันเรือรังที่มีอาการก้าเริบจะเป็นการออกก้าลัง
กายแบบคอ่ ยเป็นค่อยไปตามสภาพ และความรนุ แรงของการกา้ เริบ กลมุ่ ตวั อย่างจงึ งด หรือจ้ากัดกิจกรรมเพ่ือ
ไม่ให้เกิดอาการก้าเริบมากขึน ส่วนการรับประทานอาหาร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ปรับเปลี่ยนวิธีการ
รับประทานอาหารหรือประเภทอาหาร อาหารที่รบั ประทานมักเป็นเมนูซา้ ๆเดิมๆ เน้นรสชาตจิ ดื ระมัดระวังใน
การรับประทานอาหารรสเค็ม หวาน งดชา และกาแฟ เป็นต้น โดยปกติอาหารส้าหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดกัน
เรือรงั ควรเป็นอาหารทใี่ ชอ้ อกซเิ จนน้อยในการเผาผลาญและเกดิ คารบ์ อนไดออกไซดน์ ้อยทส่ี ดุ และรับประทาน
อาหารแต่ละมือไม่ควรกินอ่ิมมากจนเกินไป ซึ่งการรับประทานอาหารดังกล่าวนัน ช่วยป้องกันและลดอาการ
หอบเหน่ือยได้ ส้าหรับการพักผ่อนนอนหลับกลุ่มตัวอย่างมักใช้เวลาช่วงกลางวันงีบหลับมากกว่าการท้า
กิจกรรมอื่นๆ เพ่ือหลีกเลี่ยงอาการหอบเหน่ือย การพักผ่อนนอนหลับจะช่วยเสริมสมรรถนะของผู้ป่วยให้ดีขึน
คือ สามารถท้างานได้เต็มศักยภาพ ลดอาการหอบเหน่ือย และท้าให้คุณภาพชีวิตดีขึน ดังนันจะเห็นได้ว่า การ
ดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกันเรือรังท่ีมีอาการก้าเริบในระยะอาการสงบมีความสา้ คัญมาก ถ้าผู้ป่วยกลมุ่
นีดูแลตนเองได้ดี ในเรื่องรับประทานอาหาร การออกก้าลังกาย การเคล่ือนไหวร่างกาย การพักผ่อนนอนหลับ
การบรหิ ารการหายใจ และการพน่ ยาท่ีถูกต้องเหมาะสมจะท้าให้อาการของโรคดา้ เนนิ ไปอย่างปกติ ไม่มอี าการ
กา้ เริบส่งเสริมใหค้ ุณภาพชวี ิตผู้ป่วยดขี นึ และดา้ รงชีวติ ไดต้ ามปกตสิ ุข

10. ผลกำรใหข้ ้อมลู อยำ่ งมแี บบแผนต่อควำมวติ กกงั วลและค่ำตัวแปรสรรี วิทยำในหญิงผ่ำตดั คลอด
ท่ีระงบั ควำมรู้สึกโดยฉดี ยำทำงชอ่ งนำไขสันหลงั เพอื่ ผ่ำตดั คลอดแบบนดั หมำยล่วงหน้ำ

ช่อื -สกลุ : ณิชาภา ปฐมสทิ ธาภริ ักษ์
หน่วยงำน : ฝ่ายการพยาบาล กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลกลาง ส้านักการแพทย์
กรงุ เทพมหานคร

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนต่อความวิตกกังวลและค่าตัวแปรสรีรวิทยาในหญิง
ผ่าตดั คลอดทีร่ ะงับความรสู้ ึกโดยฉีดยาทางช่องน้าไขสนั หลังเพือ่ ผ่าตัดคลอดแบบนัดหมายลว่ งหน้า
รปู แบบกำรวิจัย : การวิจยั ครงั นีเปน็ การวิจยั กง่ึ ทดลอง
ประชำกรและกลุ่มตวั อย่ำง : จ้านวน 60 ราย แบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุมให้ข้อมูลตามปกติและกลุ่มทดลองให้
ข้อมลู อยา่ งมีแบบแผน กลุม่ ละ 30 ราย
วิธีดำเนนิ กำรวิจัย : วัดความวติ กกังวลโดยใช้ the State-Trait Anxiety Inventory (STAI) แปลเปน็ ภาษาไทย
บันทึกความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ 4 ครัง ครังที่หน่ึงวัดก่อนให้ข้อมูลและครังท่ีสองวัดหลังให้
ข้อมูลทห่ี อผู้ป่วย ครังท่สี ามวัดเชา้ วนั ผ่าตัดที่ห้องรอผ่าตัดและครงั สุดท้ายวดั ขณะอยู่ห้องพักฟ้นื หลงั ผา่ ตัด
ผลกำรวิจัย : พบว่า ค่าเฉล่ียความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดในที่ห้องรอผ่าตัดของกลุ่มทดลองมีค่า เท่ากับ ( ̅ =
33.93, S.D. = 4.35) มคี า่ ต้า่ กว่าการวัดครังแรกก่อนได้รับข้อมูล ( ̅ = 44.33, S.D.= 5.65) และต้่ากวา่ ค่าเฉล่ีย
ความวติ กกงั วลของกลมุ่ ควบคมุ ก่อนผา่ ตดั ( ̅ = 37.53, S.D.= 4.50) อยา่ งมนี ัยส้าคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ p < .05

ค่าเฉล่ียความดันโลหิต systolic, ความดันโลหิต diastolic และอัตราการเต้นของหัวใจของ กลุ่ม
ทดลองบันทึกครังที่สามก่อนผ่าตัดเท่ากับ ( ̅ = 124.00, S.D.= 3.75), ( ̅ = 75.36, S.D.= 5.04) และ ( ̅ =
81.26, S.D.= 1.61) มีค่าต้่ากว่าช่วงก่อนให้ข้อมูล ( ̅ = 125.93, S.D.= 3.91), ( ̅ = 81.40, S.D.= 2.97) และ
( ̅ = 83.66, S.D.= 2.53) อยา่ งมีนัยส้าคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั p < .05
สรุป : การใหข้ ้อมูลอย่างมีแบบแผนมีผลให้ค่าเฉลี่ยความวิตกกังวลและค่าตัวแปรสรีรวิทยาในหญิงผ่าตัดคลอด
ที่ระงับความรู้สึกโดยฉีดยาทางช่องน้าไขสันหลังเพื่อผ่าตัดคลอดแบบนัดหมายล่วงหน้าลดลงกว่าการให้ข้อมูล
ตามปกติ อยา่ งมีนยั สา้ คัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ p < .05

11. ผลของกำรใช้โปรแกรมเสริมสร้ำงพลังอำนำจมำรดำวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดต่อควำมรู้

และควำมสำมำรถในกำรดูแลตนเอง และทำรกแรกเกดิ

ชื่อ-สกลุ : นางสาววไิ ลลกั ษณ์ ตันตธิ นวฒั น์

ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ

สังกดั : ฝา่ ยการพยาบาลกองโรงพยาบาลกลาง สา้ นักการแพทย์

วตั ถปุ ระสงค์ :

1. ศกึ ษาผลของการใชโ้ ปรแกรมเสริมสร้างพลังอ้านาจมารดาวัยรนุ่ ครรภ์แรกหลังคลอดต่อความรู้ และ

ความสามารถในการดูแลตนเอง และทารกแรกเกิดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอด

2. เปรียบเทียบความรู้ และความสามารถของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดในการดูแลตนเอง และ

ทารกแรกเกดิ ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ

3. เปรียบเทียบความรู้ และความสามารถของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดในการดูแลตนเอง

และทารกแรกเกิด หลังได้รับโปรแกรมฯ และระยะติดตาม 4 สปั ดาห์

รปู แบบกำรวจิ ัย :

เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนิดศึกษาหนึ่งกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังทดลอง (One groups pretest-

posttest design)

ประชำกรและกลมุ่ ตวั อย่ำง :

ประชากรคือ มารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดปกติ ที่เข้าพักรักษาตัวในหอผู้ป่วยสูติกรรมหลังคลอด
โรงพยาบาลกลาง ตังแต่วันที่ 1 มกราคม-12 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลัง
คลอด ที่เข้าพักรักษาตัวในหอผู้ป่วยสูติกรรมหลังคลอด โรงพยาบาลกลาง ตังแต่วันที่ 1 มกราคม -12 กรกฎาคม
พ.ศ. 2564 ท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ก้าหนด คือ 1) สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ดีทัง 4 ทักษะคือ ฟัง พูด อ่านและ
เขยี น 2) มีการรับรู้ และสตสิ มั ปชัญญะปกติ และ 3) ยนิ ยอม หรอื ได้รับความยนิ ยอมจากบิดา มารดาหรือผปู้ กครอง
ให้เข้ารว่ มเปน็ อาสาสมัครการวิจัย
วิธีดำเนินกำรวิจยั :

1. เมอ่ื ไดร้ บั ความยินยอมให้เขา้ รว่ มวิจัย อธิบายขันตอน และให้มารดาวยั รุ่นครรภ์แรก
หลงั คลอดท้าแบบสอบถามท่ีเตรียมไวก้ ่อนท่ีจะเร่ิมโปรแกรมฯ

2. ผ้วู จิ ัยน้าโปรแกรมฯ ลงสกู่ ารปฏิบตั ิกับมารดาวัยรนุ่ ครรภแ์ รกหลังคลอด
3. ให้มารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดท้าแบบสอบถามชุดเดิมเมื่อสินสุดโปรแกรมฯ และเมื่อ
มารดาวัยรนุ่ ครรภแ์ รกหลงั คลอดพาทารกแรกเกิดมาตรวจตามนัด 4 สัปดาหห์ ลังคลอด
4. โทรศัพท์/ ไลน์ ตดิ ตามเม่ือมารดาวันรุ่นครรภแ์ รกกลับบา้ นครบ 1 สปั ดาห์
5. มารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดมาตรวจหลังคลอด และทารกแรกเกิดมาตรวจสุขภาพผู้วิจัย
บันทึกประวัติสุขภาพของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอด และประวัติสุขภาพของทารกแรกเกิดตามแบบ
บนั ทกึ
6. ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามทังหมด น้าแบบสอบถามท่ีมีความสมบูรณ์มา
วเิ คราะหข์ อ้ มูล

ผลกำรวจิ ัย :
1. ผลการนา้ โปรแกรมเสรมิ สรา้ งพลังอ้านาจมารดาวัยรนุ่ ครรภแ์ รกหลังคลอดไปใช้ ท้าให้

มารดาวยั รุ่นครรภ์แรกหลังคลอดมีความรู้และความสามารถในการดูแลตนเอง และทารกแรกเกิดเพิ่มขึน
2. คะแนนความรู้และความสามารถของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอด หลังได้รับโปรแกรม

เสรมิ สรา้ งพลงั อ้านาจมารดาวยั ร่นุ ครรภ์แรกหลงั คลอด สูงกวา่ กอ่ นได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนยั ส้าคัญ (p< .01)
3. คะแนนความรู้และความสามารถของมารดาวัยรนุ่ ครรภ์แรกหลงั คลอด ระยะติดตาม 4 สัปดาห์

สงู กวา่ หลงั ได้รบั โปรแกรม ฯ อย่างมีนัยส้าคัญ (p< .05)
สรุป :

โปรแกรมเสริมสร้างพลังอ้านาจมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดสามารถช่วยเพิ่มความรู้

ความสามารถในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดให้กับมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอดหลังได้รับ โปรแกรมฯ

ท้าให้มารดาวัยรุน่ ครรภ์แรกหลงั คลอดสามารถน้าความรู้ และความสามารถไปประยุกต์ใช้ในการดูแลตนเองและ

ทารกแรกเกดิ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพมากขนึ

12. ผลของกจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะกำรอ่ำนในเดก็ ปฐมวยั ท่ีเสีย่ งตอ่ ภำวะควำมบกพรอ่ งด้ำนกำร
อำ่ นดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่มี คี รูเป็นผู้กำกบั ดแู ลในโรงเรยี น

ช่อื -สกลุ : นายแพทยป์ ระกาศติ วรรณภาสชยั ยง
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของการฝึกฝนการรู้จักพยัญชนะ และแยกเสียงพยัญชนะด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอรใ์ นเดก็ ทเี่ ส่ียงต่อภาวะบกพร่องด้านการอา่ น
รูปแบบกำรวจิ ยั : Randomized-controlled trail
ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง : เดก็ นักเรยี นชนั อนุบาล 3 ท่ีมพี ัฒนาการปกติ อายรุ ะหวา่ ง 60 ถงึ 66 เดอื น
วิธีดำเนินกำรวิจัย : นักเรียนชันอนุบาล 3 ที่มีระดับพัฒนาการปกติ อายุระหว่าง 60 ถึง 66 เดือน จ้านวน
140 คนทผี่ ปู้ กครองยินยอมเขา้ ร่วมโครงการวจิ ัย ได้รบั การประเมินทักษะพืนฐานการอ่านด้วยเคร่ืองมือ Rama
Pre-Read และให้ผู้ปกครองตอบแบบสอบถามปัจจัยที่มีผลต่อทักษะพืนฐานการอ่าน หลังการประเมินหาก
พบว่าเด็กมีความเสี่ยงต่อภาวะบกพร่องด้านการอ่าน จะถูกสุ่มด้วยวิธี stratified randomization แบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกจะได้รับการฝึกด้วยกิจกรรมส่งเสริมทักษะการอ่านด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยมี
ครูเป็นผู้ก้ากับดูแล โดยเน้นกระบวนการฝึกการรู้จักพยัญชนะ (Letter knowledge) และการแยกแยะเสียง
(Phonological awareness) เปน็ ระยะเวลา 11 สปั ดาห์ ขณะทีอ่ ีกกลุ่มจะไดร้ ับหนังสือสง่ เสริมทักษะการอ่าน
โดยมีผู้ปกครองเป็นคนก้ากับดูแล ซึ่งมีเนือหาการฝึกและระยะเวลาในการฝึกเท่ากัน เด็กทังสองกลุ่มจะได้รับ
การประเมินทกั ษะพืนฐานการอ่านซา้ อกี ครังหลังจบกระบวนการฝึก
ผลกำรวิจัย : พบเด็กอนบุ าลท่ีมีความเสีย่ งต่อภาวะบกพร่องด้านการอ่าน 31 คน (22.14%) และพบว่าทักษะ
พืนฐานการอา่ นมคี วามสัมพันธ์กับระยะเวลาในการใชส้ ่ือหน้าจอต่อวัน จ้านวนชวั่ โมงในการอ่านหนงั สือร่วมกับ
พอ่ แม่ จ้านวนหนงั สือนิทานภายในบา้ น ระดับการศกึ ษาของพ่อแม่ รายได้ของครอบครัว และระดับพัฒนาการ
ด้านภาษาของเด็ก หลังสินสุดกระบวนการฝึกพบว่าเด็กทังสองกลุ่มมีทักษะพืนฐานการอ่านที่ดีขึน โดยเฉพาะ
กลุ่มที่ได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีคะแนนที่ดีขึนมากกว่าเมื่อเทียบกับก่อนเร่ิมการฝึกในทุกทักษะ
พืนฐาน (p<0.001 ในด้านการรู้จักพยัญชนะและการแยกแยะเสียง และ p=0.041 ในด้านความคล่องในการ
ออกเสียงพยญั ชนะ)
สรุป : กิจกรรมส่งเสริมทักษะการอ่านด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในเด็กอนุบาลกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะบกพร่อง
ด้านการอ่านเป็นรูปแบบการบ้าบัดท่ีมีประสิทธิภาพดี ใช้และเข้าถึงได้ง่าย รวมถึงยังเหมาะกั บบริบทของ
ประเทศไทยด้วย

Oral Presentation
(พฒั นำคุณภำพ / R2R)

ลำดับ หวั ข้อ
1. การพัฒนาแอปพลิเคชันการวางแผนจ้าหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล เพื่อส่งเสริมพฤติกรรม

การดแู ลตนเองส้าหรบั ผู้ปว่ ยทเี่ ปน็ โรคหลอดเลอื ดหัวใจ
2. การพัฒนานวัตกรรมส่ือให้ความรู้เพ่ือเตรียมความพร้อมแก่ผู้ป่วยก่อนการระงับความรู้สึก

ผ่านรหัส QR Code
3. ผลของโปรแกรมการออกก้าลังกายช่วยเพิ่มช่วงของการเคลื่อนไหวทั่วไปรว่ มกับ

การออกกา้ ลงั กายเพิม่ ความแขง็ แรงกล้ามเนือรอบสะบักโดยใช้ยางยดื ในผูป้ ่วยข้อไหลต่ ดิ
4. SCARs แพย้ ารุนแรงป้องกันได้
5. ผลการพัฒนาแนวทางการเฝา้ ระวังคณุ ภาพน้าและสภาพสขุ าภบิ าลเครอ่ื งผลิตนา้ บริโภค

โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์
6. การพฒั นาฉลากยารูปภาพส้าหรบั ผู้ปว่ ยท่มี ีปญั หาในการอ่านฉลากยา
7. Third-95
8. ผลของโปรแกรมการฟนื้ ฟสู มรรถภาพต่อการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจ้าวนั ของผปู้ ว่ ยระยะฟืน้ ฟู
9. ประสิทธิผลของการใช้ยาเหลียนฮัวชิงเวินแคปซูลร่วมกับยาแผนปัจจุบันในการรักษาผู้ป่วย

ติดเชอื ไวรสั ในระบบทางเดนิ หายใจ โรงพยาบาลสนามราชพิพฒั น์ จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
10. ผลการประเมินความเหมาะสมของการเร่ิมใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน

ทอี่ อกฤทธโ์ิ ดยตรง (Direct oral anticoagulants, DOACs) ในโรงพยาบาลกลาง
11. เร่อื ง หา่ งกนั อีกนดิ พชิ ิตภารกจิ เคล่ือนย้าย
12. ศูนย์รกั ษก์ ระดกู ในยคุ วิถีใหม่ (Osteoporosis excellent center in New Normal)

1. กำรพัฒนำแอปพลิเคชันกำรวำงแผนจำหน่ำยผู้ป่วยออกจำกโรงพยำบำล เพื่อส่งเสริม

พฤตกิ รรมกำรดูแลตนเองสำหรบั ผปู้ ว่ ยทีเ่ ปน็ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ

ช่ือ-สกลุ : นาวาโทหญงิ พว.สพุ ัตรา นุชกลู

หนว่ ยงำน : หอผู้ปว่ ยวกิ ฤตโรคหวั ใจ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกลา้ กรมแพทย์ทหารเรอื

วัตถุประสงค์ : 1) พฒั นาแอปพลเิ คชนั ส่งเสริมการดูแลตนเองส้าหรับผปู้ ่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
2) ประเมินประสิทธิผลของแอปพลิเคชันการส่งเสริมการดูแลตนเองส้าหรับผู้ป่วยท่ีเป็นโรค

หลอดเลอื ดหวั ใจและ
3) เพ่ือสร้างช่องทางการสื่อสารทางสุขภาพในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื ไวรสั โค

โรนาสายพันธ์ใุ หม่ 2019 ส้าหรบั ผปู้ ่วยทเ่ี ปน็ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง : ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหวั ใจท่ีมารับบรกิ าร ณ โรงพยาบาลระดับตติยภมู ิแห่งหนึง่
ในกรุงเทพมหานคร ปี 2562-2563 จา้ นวน 35 ราย
วธิ ีดำเนินกำรวจิ ยั : เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย

1) แอปพลเิ คชันส่งเสรมิ การดูแลตนเองส้าหรบั ผ้ปู ว่ ยที่เป็นโรคหลอดเลอื ดหัวใจ
2) แบบประเมินความรู้เกีย่ วกบั พฤติกรรมการดูแลตนเองตามหลกั 3อ.2ส.
3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อ การใช้แอปพลิชันส่งเสริมการดูแลตนเองส้าหรับผู้ป่วยท่ี
เปน็ โรคหลอดเลือดหวั ใจ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ Paired-
sample t-test
ผลกำรวิจยั :
1) กลุ่มตัวอย่างภายหลงั ใช้แอปพลิเคชันส่งเสริมพฤติกรรมการดแู ลตนเองส้าหรับผูป้ ่วยทเ่ี ปน็
โรคหลอดเลือดหัวใจมีความรู้ตามหลัก 3อ.2ส. สงู กวา่ ก่อนการทดลองอย่างมนี ัยส้าคัญทางสถิติ (t=5.49, p<.01)
2) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้แอปพลิเคชันส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเอง
สา้ หรับผปู้ ว่ ยที่เปน็ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก (M= 4.46, SD=0.41)
3) แอปพลเิ คชันการสง่ เสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองส้าหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลอื ดหัวใจ
เป็นนวัตกรรมทางสุขภาพท่ีสามารถน้าไปใช้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุ
ใหม่ 2019 ได้อยา่ งเหมาะสมทังเพือ่ การวางแผนจ้าหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลและการให้ความรแู้ ก่ผู้ป่วย
ทม่ี ารบั บริการในแผนกผู้ป่วยนอก

2. กำรพัฒนำนวัตกรรมส่ือให้ควำมรู้เพื่อเตรียมควำมพร้อมแก่ผู้ป่วยก่อนกำรระงับควำมรู้สึก

ผำ่ นรหัส QR Code

ช่ือ – สกลุ : ร.อ.หญิงอรทัย คงชนะ

หนว่ ยงำน : แผนกงานวิสญั ญีพยาบาล โรงพยาบาลสมเดจ็ พระป่ินเกลา้

วัตถุประสงค์ : 1. เพ่ือเป็นสือ่ ในการให้ข้อมูล ความรู้ แก่ผู้ป่วยทเ่ี ขา้ รับการระงับความรู้สกึ

2. เพื่อคลายความวิตกกังวลแก่ผ้ปู ว่ ยท่เี ขา้ รับการระงับความรู้สึก

3. เพื่อเพ่มิ ชอ่ งทางการติดต่อสอื่ สารระหว่างผู้ป่วยกับทีมวิสัญญี

4. เพื่อเพ่มิ ประสิทธิภาพในการเย่ียมผปู้ ่วยกอ่ นให้การระงับความรู้สกึ

กลุ่มเป้ำหมำย : กลุ่มที่ 1 : วิสัญญีพยาบาลรพ.สมเดจ็ พระป่นิ เกล้าจา้ นวน 25 คน

กลมุ่ ท่ี 2 : ผู้ป่วยใน (IPD) โรงพยาบาลสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าท่ีเข้ารับการระงบั ความรู้สกึ เพอื่

การผา่ ตัดและหัตถการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จ้านวน 50 คน

วิธีดำเนินกำร :

ทีมวิสัญญีพยาบาลสรา้ งแอปพลิเคชันในการเตรียมพร้อมผ้ปู ่วยก่อนเข้ารบั การระงับความรู้สกึ เพ่ือการ

ผ่าตัด ภายในแอปพลิเคชันประกอบด้วยการให้ข้อมูลเก่ียวกับวิสัญญี และวีดิทัศน์ให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตน

เม่ือเข้ารับการระงับความรู้สึก น้าแอปพลิเคชันท่ีผ่านการตรวจสอบเนือหา ความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญด้าน

การระงับความรู้สึกจ้านวน 4 ท่านมาใช้กับผู้ป่วยจ้านวน 50 คน วิธีการเก็บข้อมูลเร่ิมจากให้ผู้ป่วยท้าแบบวัด

ความวิตกกังวลและแบบประเมินความรู้ความเข้าใจก่อนการใช้งานแอปพลิเคชัน จากนันให้ผู้ป่วย scan QR

Code โดยมีวิสัญญีพยาบาลติดตังแอปพลิเคชันในโทรศัพท์สมาร์ทโฟนให้ผู้ป่วย เม่ือผู้ป่วยรับชมวีดีทัศน์

เรียบร้อยแล้ว ให้ผู้ป่วยท้าแบบวัดความวิตกกังวล แบบประเมินความรู้ความเข้าใจและแบบประเมินความพึง

พอใจหลังการใช้งานแอปพลเิ คชนั

ผลกำรดำเนินกำร :

- ผู้ปว่ ยที่ใช้แอปพลเิ คชนั มคี วามรูเ้ พม่ิ มากขึนคิดเป็นร้อยละ 96

- ผู้ปว่ ยท่ใี ช้แอปพลเิ คชนั มคี วามวิตกกงั วลลดลงคดิ เปน็ ร้อยละ 88

- ผู้ป่วยที่เข้าชมวดี ีทัศน์การปฏิบัตติ นคิดเปน็ ร้อยละ 100

- ความพึงพอใจของผ้ปู ่วยที่ใช้งานแอปพลเิ คชันระดับมากขึนไปคิดเปน็ รอ้ ยละ 100

- ความพึงพอใจของวสิ ญั ญีพยาบาลทีใ่ ช้แอปพลเิ คชันระดับมากขึนไปคิดเป็นร้อยละ 95

สรุป : การรับชมวีดีทัศน์ให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตนเม่ือเข้ารับการระงับความรู้สึกช่วยลดความวิตกกังวล

และทา้ ใหผ้ ้ปู ว่ ยมีความรูค้ วามเข้าใจมากขนึ

3. ผลของโปรแกรมกำรออกกำลังกำยช่วยเพมิ่ ช่วงของกำรเคลื่อนไหวท่วั ไปรว่ มกบั
กำรออกกำลังกำยเพม่ิ ควำมแขง็ แรงกลำ้ มเนอื รอบสะบักโดยใช้ยำงยดื ในผปู้ ่วยข้อไหลต่ ิด

ช่ือ-สกลุ : นาย อภิชติ วงศ์ชัย
ภำควิชำ/กลุ่มงำน/สว่ นรำชกำร/หนว่ ยงำน : กายภาพบ้าบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลลาดกระบัง
กรงุ เทพมหานคร
วัตถุประสงค์ : เพ่ือประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการออกก้าลังกายช่วยเพ่ิมช่วงของการเคล่ือนไหวทั่วไป
ร่วมกบั การออกก้าลงั กายเพมิ่ ความแข็งแรงกล้ามเนือรอบสะบักโดยใช้ยางยืดในผู้ป่วยไหลต่ ิด
รปู แบบกำรวิจัย : เปน็ วจิ ัยเชงิ ทดลอง
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง : ผู้เข้าร่วมการศึกษามีจ้านวน 30 ราย ถูกวินิจฉัยเป็นข้อไหล่ติด มีอาการข้อไหล่
ยึดติดเพียงหนึ่งข้าง มีการจ้ากัดการเคลื่อนไหวทุกทิศทางทังท่ีท้าเองและโดยผูอ้ ื่น อายุเท่ากับหรือมากกว่า 40
ปีขึนไป ระยะเวลาเริ่มมีอาการจนถึงเข้าร่วมการศึกษาอย่างน้อย 16 สัปดาห์ขึนไป โดยมีเกณฑ์การคัดออก
ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมน้าตาลได้ ข้อไหล่เสื่อม กระดูกพรุน มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลังส่วนคอ
หรือระบบประสาท และได้รับการฉดี ยาเข้าข้อไหล่ภายใน 3 เดอื น
วิธีดำเนินกำรวจิ ัย : ผเู้ ข้ารว่ มการศกึ ษาจะถูกสุ่มและได้รบั การปกปิดจากผู้ประเมนิ แบ่งเป็นกลุ่มที่ 1 การออก
ก้าลังกายช่วยเพ่ิมช่วงของการเคล่ือนไหวท่ัวไป กลุ่มที่ 2 ให้การออกก้าลังกายช่วยเพ่ิมช่วงของการเคล่ือนไหว
ทั่วไปร่วมการออกก้าลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนือรอบสะบักโดยใช้ยางยืด ผู้ป่วยทังสองกลุ่มจะ
ไดร้ บั การรักษาสัปดาห์ละ 2 ครัง 6 สัปดาห์ เกบ็ ขอ้ มูลตงั แต่ ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564 บันทกึ ขอ้ มูลของ
เพศ อายุ ด้านของไหล่ท่ีมีพยาธิสภาพ ระดับความปวด และช่วงของการเคล่ือนไหวในทิศทางยกไหล่ด้านหน้า
ยกไหล่ด้านข้าง หมุนไหล่เข้าด้านใน และหมุนไหล่ออกด้านนอก น้ามาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยค่าระดับความปวด
ช่วงของการเคล่ือนไหวใน 4 ทิศทาง รวมถึงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลต่างของค่าระดับความปวด และช่วงของ
การเคล่ือนไหวก่อนและหลังการรักษาระหวา่ งสองกลมุ่
ผลกำรวจิ ยั : ผู้เข้าร่วมการศึกษามีอายุเฉลีย่ 65 ปี เปน็ ชาย 11 ราย หญิง 19 ราย ข้อไหลต่ ดิ ขา้ งซ้าย 16 ราย
ขา้ งขวา 14 ราย พบว่าคา่ เฉลยี่ ระดับความปวด ค่าเฉลย่ี ชว่ งการเคลื่อนไหวใน 4 ทิศทาง ค่าเฉล่ยี ผลตา่ งของค่า
ระดับความปวด รวมทังค่าเฉลี่ยผลต่างของช่วงของการเคล่ือนไหว ในกลุ่มท่ีให้การออกก้าลังกายช่วยเพ่ิมช่วง
ของการเคลื่อนไหวท่ัวไปร่วมกับการออกก้าลังกายเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนือรอบสะบักโดยใช้ยางยืดมี ความ
แตกตา่ งกับการออกก้าลงั กายชว่ ยเพ่ิมชว่ งของการเคลื่อนไหวท่วั ไป อยา่ งมนี ัยสา้ คญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.01 เม่ือ
เปรียบเทียบหลงั การรกั ษาพบว่าทงั สองกลุ่มมีคา่ ระดับความปวดลดลงและช่วงการเคล่ือนไหวในทิศทางเพ่ิมขึน
เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนให้การรักษา โดยหลังการรักษาในกลุ่มที่ให้การออกก้าลังกายช่วยเพ่ิมช่วงของการ
เคลอ่ื นไหวทว่ั ไปร่วมกับการออกก้าลังกายเพิ่มความแข็งแรงกลา้ มเนือรอบสะบกั โดยใช้ยางยืดสามารถลดระดับ
ความปวดได้สูงกว่า และสามารถเพ่ิมช่วงการเคลื่อนไหวทังสี่ทิศทางได้มากกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ให้การออก
ก้าลังกายชว่ ยเพม่ิ ชว่ งของการเคลอ่ื นไหวทวั่ ไป
สรุป : การให้โปรแกรมการออกก้าลังกายเพ่ือช่วยเพ่ิมช่วงการเคลื่อนไหวทั่วไปร่วมกับการออกก้าลังกายเพิ่ม
ความแข็งแรงกล้ามเนือรอบสะบักโดยใช้ยางยืดมีประสิทธิผลดีกว่าเมื่อเทียบกับการออกก้าลังกายช่วยเพิ่มชว่ ง
ของการเคลื่อนไหวทั่วไป ท้าให้ค่าความปวดลดลงและช่วงการเคล่ือนไหวข้อไหล่เพ่ิมขึน ทังนีอาจน้าไปศึกษา
ผลเพ่ิมเติมในการรักษาโรคอื่นๆ เช่น ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการปวดคอ โรคปวดไหล่จากการวินิจฉัยอ่นื ๆ
หรือขอ้ ไหล่ไม่มน่ั คงหลงั การเปน็ โรคหลอดเลือดสมอง

4. SCARs แพย้ ำรุนแรงปอ้ งกันได้

ชอ่ื -สกลุ : นายพัชรพล เฟื่องประยรู ตา้ แหน่งเภสัชกรระดับปฏิบัตกิ าร
กลุ่มงำน: กลุ่มงานเภสชั กรรม โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์
วัตถุประสงค:์ 1. เพอ่ื พฒั นาระบบเฝ้าระวงั และตดิ ตามการแพ้ยาเชิงรุกให้ตรงกับอุบตั ิการณ์ท่ีพบในโรงพยาบาล
เจรญิ กรุงประชารักษส์ ามารถป้องกันหรือลดระดับความรุนแรงจากการแพ้ยาทางผิวหนังทร่ี ุนแรงได้ 2. สามารถลด
ค่าใช้จ่ายเฉล่ียในการรักษาตัวระหว่างนอนโรงพยาบาลและระยะเวลาเฉล่ียในการนอนโรงพยาบาลได้มากกว่า
ร้อยละ 50 3. ผู้ป่วยมีผลตรวจยีนแพ้ยาเป็นบวกได้รับค้าแนะน้าบันทึกข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ของ
โรงพยาบาลรอ้ ยละ 100
รูปแบบกำรวิจัย: 1. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่เกิด SCARs ศึกษารูปแบบและชนิดของยาท่ีเป็นสาเหตุการเกิด
SCARs ในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตามการแพ้ยาเชิงรุก 4 รายการ
คือยา allopurinol, carbamazepine, phenytoin และ co-trimoxazole เสนอโครงการตรวจคัดกรองยีน
แพย้ า HLAB*5801 – allopurinol และ HLAB*1502 – carbamazepine กอ่ นเรม่ิ ใชย้ าครงั แรก แนวทางการ
จัดการกรณีตรวจพบยีนแพ้ยาเป็นบวกต่อคณะอนุกรรมการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยา 3. เผยแพร่
ข้อมูลและแนวทางปฏบิ ัติไปยงั หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง เพ่ิมข้อมูล QR Code เฝา้ ระวังอาการน้าแพย้ าลงบนฉลาก
ช่วยยา จดั ทา้ ส่อื โปสเตอร์การเฝ้าระวังอาการน้าแพ้ยา และจัดทา้ คู่มือแนวทางการพิจารณาตรวจยนี แพย้ าของ
โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารกั ษ์
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง: ประชากรผู้ป่วยท่ีพบอาการน้าแพ้ยาหรือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ว่า
เกิดอาการแพย้ าทางผิวหนังที่รนุ แรง (SCARs) และผูป้ ว่ ยที่ได้รบั การตรวจคดั กรองยนี แพย้ าทกุ ราย
วิธีดำเนินกำรวิจัย: ท้าการศึกษากึ่งทดลอง (quasi-experimental study) โดยวัดผลก่อนและหลังพัฒนา
ระบบโดยเกบ็ รวบรวมข้อมลู ไปขา้ งหน้าตงั แต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลกำรวิจัย: 1. จ้านวนผู้ป่วยที่สามารถป้องกันหรือลดระดับความร้ายแรงของการแพ้ยาทางผิวหนังที่รุนแรง
จากยาเพ่ิมขึนปีงบ 2562 - 64 จ้านวน 9, 5, 9 รายตามล้าดับ 2. การประเมินผลลัพธ์ทางด้านเศรษฐศาสตร์
พบว่าสามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาปีงบ 2563 และ 2564 เฉลี่ยได้ร้อยละ 96.30 และ 93.89 ตามล้าดับ
ลดระยะเวลาในการรักษาตวั ในโรงพยาบาลปงี บ 2563 และ 2564 เฉลีย่ ร้อยละ 89.35 และ 86.69 ตามล้าดับ
3. ผ้ปู ว่ ยท่ไี ด้รบั การตรวจคดั กรองตรวจยีนแพ้ยาเป็นบวกปงี บ 2564 ไดร้ บั การจดั การทเ่ี หมาะสมรอ้ ยละ 100
สรุป: การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตามการแพ้ยาเชิงรุก การตรวจยีนแพ้ยาก่อนเร่ิมใช้ยาครังแรกรวมถึง
แนวทางการจัดการผู้ป่วยที่มียีนแพ้ยาเป็นบวกสามารถป้องกันหรือลดระดับความรุนแรงจากการแพ้ยาทาง
ผวิ หนังที่รุนแรง สามารถลดคา่ ใช้จา่ ย และระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลได้

5. ผลกำรพัฒนำแนวทำงกำรเฝ้ำระวังคุณภำพนำและสภำพสุขำภิบำลเคร่ืองผลิตนำบริโภค
โรงพยำบำลเจริญกรงุ ประชำรักษ์

ช่ือผ้วู จิ ัย : นายพรี ะยทุ ธ สขุ แก้ว กล่มุ งานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์
วตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื : 1) พฒั นาแนวทางการเฝา้ ระวงั คุณภาพนา้ บรโิ ภคตามแนวทางมาตรฐาน 2) ศึกษาผลการ
ตรวจวิเคราะหค์ ณุ ภาพน้าบริโภคทางจุลชีววิทยาหลงั การพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวงั คณุ ภาพนา้
3) ศึกษาผลการสา้ รวจสภาพสุขาภบิ าลเครอ่ื งผลิตนา้ บริโภคหลงั การพฒั นาแนวทางการเฝา้ ระวงั คณุ ภาพนา้
รูปแบบกำรวิจยั : วจิ ยั เชิงส้ารวจ
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง : 1) น้าประปาต้นท่อและปลายท่อระบบจ่ายน้า จ้านวน 12 จุด (12 ตัวอย่าง)
2) น้าทีผ่ ่านเครอื่ งผลิตน้าบรโิ ภค จ้านวน 50 เครื่อง (84 ตัวอย่าง) 3) เครอื่ งผลติ นา้ บริโภค จ้านวน50เครือ่ ง
วิธีดำเนินกำรวิจัย : พัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้าบริโภคตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพน้าบริโภค
ในโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข สุ่มตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้าประปาตน้ ท่อและปลายท่อระบบจ่ายน้า
และน้าที่ผ่านเครื่องผลิตน้าบริโภคหลังการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้า เปรียบเทียบผลตามเกณฑ์
มาตรฐานทางจุลชีววิทยา และประเมินสภาพสุขาภิบาลเครื่องผลิตน้าบริโภคโดยใช้แบบประเมิน วิเคราะห์
ข้อมลู ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลย่ี ร้อยละ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
ผลกำรวิจัย : ด้าเนินงานตามแนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้าบริโภค ตังแต่การล้างถังพักน้า ส้ารวจและ
บ้ารุงรักษาแนวเส้นท่อระบบจ่ายน้า เคร่ืองกรองน้าและตู้กดน้าด่ืม ตรวจวัดความเป็นกรดด่างและคลอรีน
ประจ้าวัน ตรวจสอบการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรยี ในจุดเสีย่ งโดยใชช้ ุดทดสอบ อ 11 และสง่ ตรวจวิเคราะห์
คณุ ภาพนา้ ดา้ นจลุ ชวี วทิ ยาทางห้องปฏบิ ตั ิการประจ้าเดือน พบวา่ คุณภาพนา้ ประปาต้นท่อและปลายท่อระบบ
จ่ายน้าผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางจุลชีววิทยา “น้าประปาของการประปานครหลวง” ร้อยละ 100 ในขณะท่ีน้า
ผ่านเคร่ืองผลิตน้าบริโภคหลังการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้า ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางจุลชีววิทยา
“น้าบริโภคในภาชนะบรรจุท่ีปิดสนิท” ร้อยละ 96.42 และเม่ือประเมินสภาพสุขาภิบาลเคร่ืองผลิตน้าบริโภค
พบวา่ มสี ภาพสุขาภิบาลในภาพรวมอยูใ่ นระดับดี ร้อยละ 88
สรุป : คุณภาพน้ามีแนวโน้มผ่านมาตรฐาน แต่ด้วยสภาพสุขาภิบาลเคร่ืองผลิตน้าบริโภคมีผลโดยตรงต่อความ
เชื่อมั่นของผู้บริโภค จึงเกิดการพัฒนา “ตู้กดน้าปลอดเชือ(โรค) ผู้บริโภคปลอดภัย” เพ่ือปรับปรุงสภาพ
สุขาภิบาลตู้กดน้าด่ืมให้ถูกสุขลักษณะ ตลอดจนพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังคุณภาพน้าโดยการ
มีส่วนร่วมของบุคลากรทุกหน่วยงานเพื่อบ้ารุงรักษาเครื่องผลิตน้าบริโภคให้สะอาดและถูกสุขลักษณะ
ซึ่งสามารถลดค่าใช้จ่ายในการจ้างบริการบ้ารุงรักษาเครื่องกรองน้าและตู้กดน้าดื่มได้ปีละ 87,500 บาท ส่งผล
ใหร้ ะบบการเฝา้ ระวังคณุ ภาพน้าของโรงพยาบาลมปี ระสิทธิภาพและยง่ั ยนื ยง่ิ ขึน

6. กำรพัฒนำฉลำกยำรปู ภำพสำหรบั ผูป้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หำในกำรอ่ำนฉลำกยำ

ช่ือ-สกลุ : นางสาววิกานดา เวชอุบล
กลมุ่ งำน/หน่วยงำน : กลมุ่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลลาดกระบังกรงุ เทพมหานคร
วัตถุประสงค์ : 1. เพ่ือพัฒนาฉลากยารูปภาพส้าหรับน้าไปใช้สื่อสารวิธีการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีปัญหาในการ

อ่านฉลากยา
2. เพ่ือทดสอบความเขา้ ใจในการใชฉ้ ลากยาของผ้ปู ่วยที่มปี ญั หาการอา่ นฉลากยา
รูปแบบกำรพัฒนำ : การพฒั นางานประจ้าสูง่ านวจิ ยั หรอื Routine to Research (R2R)
กลมุ่ เป้ำหมำย : ผ้ปู ว่ ยที่ไมส่ ามารถอา่ นฉลากยาได้ ทังผปู้ ่วยท่ีมีปัญหาการมองเหน็ และผปู้ ่วยไมร่ ูห้ นังสือ
วิธีกำรดำเนินกำร : ท้าการออกแบบฉลากยารูปภาพ ในหัวข้อลักษณะรูปร่างเม็ดยาและจ้านวนเม็ดยา
มืออาหาร(เช้า/กลางวัน/เย็น/ก่อนนอน) และเวลาที่กินยา(ก่อนอาหาร/หลังอาหาร) โดยอ้างอิงและดัดแปลง
สัญลักษณ์รูปภาพจาก USP-DI นอกจากนียังน้าข้อมูลรูปแบบของฉลากยารูปภาพจากการศึกษาทังในประเทศและ
ต่างประเทศมาพัฒนาปรับใช้ร่วมด้วย จากนันน้าไปทดสอบความเข้าใจในการสื่อความหมายของรูปภาพครังที่ 1
กับผู้ปว่ ยกลุ่มตวั อย่าง 20 ราย โดยใชเ้ กณฑ์มาตรฐานของ ANSI ที่กา้ หนดไว้ ที่ร้อยละ 85 โดยระหวา่ งการทดสอบ
จะสอบถามความเห็นของกลุ่มตัวอย่างร่วมด้วยเพื่อน้าไปใช้ปรับปรุงรูปภาพให้เข้ากับความเข้าใจและบริบทของ
ผู้ป่วยมากท่ีสุด จากนันน้ารูปภาพท่ีผ่านเกณฑ์ของ ANSI ในการทดสอบครังท่ี 1 มาปรับปรุงพัฒนาและน้ามา
จัดเรียงเปน็ ฉลากยารูปภาพในขนาดที่จะใช้จริง โดยฉลากยาตัวอย่างท่ีใช้ทดสอบนา้ มาจากการรวบรวมข้อมูลค้าสั่ง
การใช้ยาที่พบบ่อย แล้วน้าไปทดสอบความเข้าใจของฉลากยารูปภาพครงั ที่ 2 กับผู้ป่วยที่มีปัญหาการมองเหน็ และ
ผู้ป่วยไม่รู้หนังสือท่ีสามารถส่ือสารภาษาไทยได้จ้านวน 70 ราย และใช้เกณฑ์อ้างอิงของ ANSI ที่ร้อยละ 85
เชน่ เดียวกนั กบั ครังแรก
ผลกำรดำเนินกำร : ผลการทดสอบความเข้าใจสัญลักษณ์รูปภาพ ครังท่ี 1 พบว่ามีสัญลักษณ์รูปภาพท่ีผ่านเกณฑ์
ของ ANSI ท่ีรอ้ ยละ 85 ในหวั ขอ้ ลกั ษณะเมด็ ยาและจา้ นวนเม็ดยา 3 แบบ หวั ข้อมอื อาหาร (เช้า/กลางวัน/เย็น/กอ่ น
นอน) 1 แบบ และหัวข้อเวลาที่กิน(ก่อนอาหาร/หลังอาหาร) 2 แบบ จากนันน้าสัญลักษณ์ท่ีผ่านเกณฑ์ไปพัฒนา
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะท่ีได้สอบถามผู้ป่วย และน้ามาจัดเรียงเป็นฉลากยารูปภาพในขนาดท่ีจะใช้จริงทังสิน 2
แบบ เมื่อทดสอบความเข้าใจครังท่ี 2 ในผู้ป่วยท่ีมีปัญหาการมองเห็นและผู้ป่วยไม่รู้หนังสือ พบว่ามีฉลากยาที่ผ่าน
เกณฑ์ ANSI ทุกหัวข้อ 1 แบบท่ีร้อยละ 90 และมีค้าแนะน้าจากผู้ป่วยว่าฉลากยาที่ใช้รูปเหมือนจริงและเป็นสีจะ
มองแล้วเข้าใจงา่ ยและมีความชัดเจนกว่าฉลากยาท่เี ปน็ รปู วาด
สรุป : ฉลากยารูปภาพท่ีจะน้ามาใช้ควรท้าการพัฒนาและประยุกต์ให้เข้ากับบริบทและลักษณะของผู้ป่วยในแต่ละ
โรงพยาบาล เพื่อให้สามารถน้าไปใช้กับผู้ป่วยท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายให้เกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุด และควรพัฒนาต่อ
ยอดฉลากยาประเภทอ่นื ๆ เพ่อื ให้ครอบคลมุ ค้าสง่ั การใชย้ าของแพทย์ใหม้ ากทีส่ ดุ

7. Third-95

ช่อื -สกลุ : นางผ่องศรี พวั วรานุเคราะห์

กลมุ่ งำน/สว่ นรำชกำร/หน่วยงำน : กลุม่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลราชพิพฒั น์ สา้ นกั การแพทย์

วตั ถุประสงค์ : เพอ่ื บรรลุเปา้ หมายท่ี 3 ของการยุตเิ อดส์*

(* หมายถึง ร้อยละ 95 ของผู้ติดเชือเอชไอวีท่ีรับประทานยาต้านไวรัส มีผลตรวจระดับไวรัสในกระแสเลือด

(Viral load) ≤ 50 copies/mL)

รปู แบบกำรพฒั นำ : R2R (Routine to Research)

กลุ่มเป้ำหมำย : ผู้ป่วยนอกท่ีติดเชือเอชไอวี ที่รับประทานยาต้านไวรัส และมารับการรักษาที่คลินิกให้

ค้าปรึกษา โรงพยาบาลราชพพิ ัฒน์ ระหวา่ งวนั ที่ 1 ตุลาคม 2562 ถงึ 31 ธนั วาคม 2564

วิธีดำเนนิ กำร :

1. ทมี สหสาขาวิชาชพี รว่ มกนั วเิ คราะห์สาเหตุของปัญหาท่ไี มบ่ รรลเุ ปา้ หมายที่ 3 ของการยุตเิ อดส์

2. ทมี ฯออกแบบกระบวนการ เพ่อื แกไ้ ขปัญหาครงั ที่ 1 ดังนี

1.2.1.ก้าหนดให้เภสัชกรเป็นผู้ให้ค้าปรึกษาด้านยา (Pharmaceutical care) และประเมินความ

ร่วมมือในการรับประทานยา

1.2.2.ก้าหนดหลักเกณฑ์การแบ่งกลุ่มผู้ป่วย เพ่ือบ่งบอกระยะเวลาการจ่ายยาต้านไวรัส โดย

ก้าหนดให้ผู้ที่อยู่ในกลุ่ม Good adherence ได้รับยานาน 4-6 เดือน ผู้ป่วยที่ Near poor

adherence ได้รบั ยานาน 3-4 เดือน และผู้ปว่ ยที่ Poor adherence ได้รับยานาน 1-3 เดือน

1.2.3.การจัดกลุ่มผู้ป่วย จัดตามผลการประเมินร้อยละความร่วมมือในการรับประทานยา (วัดผลจาก

การนับเม็ดยา และ/หรือการทอดแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ยา MTB-Thai ซึ่งพัฒนาโดย

รศ.ภญ.ดร.พรรณทพิ า ศักด์ทิ อง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ผ้ปู ว่ ย Good adherence Near poor adherence Poor adherence

รอ้ ยละ Adherence (% Adh) ≥ 90 80 ≤ Adh ≤90 < 80

(การนบั เมด็ ยา/การทอดแบบสอบถาม)

ระยะเวลาการจา่ ยยา จา่ ยยา 4-6 เดอื น จ่ายยา 3-4 เดอื น จา่ ยยา 1-3 เดอื น
(112 – 168 วนั ) (84 – 112 วนั ) (28 – 84 วัน)

1.2.4.เกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล

3. ทีมฯออกแบบกระบวนการ เพอื่ แก้ไขปญั หาครังที่ 2 ดงั นี

1.3.1.จัดท้า KM แก่เภสัชกร เรื่อง “การให้ค้าปรึกษาด้านยาแก่ผู้ปว่ ย Co507” เพ่ือให้การปฏิบัติงาน

และการประเมินความรว่ มมอื ในการรบั ประทานยาเปน็ แนวทางเดยี วกนั

1.3.2.จัดท้าใบสรุป “แนวทางการประเมินความร่วมมือในการรับประทานยาต้านไวรัสและระยะเวลา

การจ่ายยาต้านไวรัส” ส่ือสารแก่ทีมสหสาขาวิชาชีพทราบ เพ่ือให้ทีมจัดบริการผู้ป่วยเป็น

แนวทางเดียวกนั

1.3.3.ก้าหนดการแบง่ กลมุ่ ผู้ป่วยใหมแ่ ทนดว้ ยสญั ลักษณส์ ี (สเี ขยี ว สีเหลอื ง และสีแดง) เพอ่ื ง่ายตอ่ การ

ระบรุ ะยะเวลาการจ่ายยาต้านไวรสั (ผปู้ ่วยสีเขียว ได้รบั ยานาน 4-6 เดือน ผปู้ ว่ ยสีเหลือง ได้รับ

ยานาน 3-4 เดือน และผู้ปว่ ยกลมุ่ สีแดง ไดร้ บั ยานาน 1-3 เดอื น)

ผปู้ ว่ ย Good adherence Near poor adherence Poor adherence

กลุ่ม สีเขยี ว สเี หลอื ง สีแดง

การมาตรวจตรงนัด มาตรงนดั มาตรงนดั มาไม่ตรงนดั

ร้อยละ Adherence (% Adh) ≥ 95 85 ≤ Adh ≤95 < 85

ระยะเวลาการจา่ ยยา จา่ ยยา 4-6 เดือน จา่ ยยา 3-4 เดือน จ่ายยา 1-3 เดอื น

(112 – 168 วนั ) (84 – 112 วนั ) (28 – 84 วนั )

1.3.4.เก็บรวบรวมขอ้ มูลและวเิ คราะห์ผล

4. ทมี ฯออกแบบกระบวนการเพ่ือแก้ปัญหาครังท่ี 3 ดังนี

1.4.1.จัดกลมุ่ ผู้ป่วยใหม่ โดยจัดตามผล VL ลา่ สดุ รว่ มกบั ร้อยละความร่วมมือในการรบั ประทานยา

(จากการวเิ คราะห์ความสัมพันธ์การขาดนดั กับผลตรวจ VL พบวา่ ผู้ป่วยที่ขาดนดั ส่วนหน่งึ ไม่ได้

ขาดยา และมผี ล VL ≤ 50 copies/mL ส้าหรบั ผู้ปว่ ยท่ีมาตรงนัด ส่วนหนงึ่ เป็นผ้ทู ี่ขาดยาหรือ

รับประทานยาไมต่ รงเวลา และมผี ล VL > 50 copies/mL ดงั นนั ทมี ฯจึงปรบั เกณฑ์การจัด

กลมุ่ ผปู้ ่วยใหม)่

ผู้ปว่ ย Good adherence Near poor adherence Poor adherence

กลุ่ม สเี ขียว สีเหลอื ง สแี ดง

VL ลา่ สุด (ในรอบ 12 เดือน)  50 50 < VL  1000  1000

ร้อยละ Adherence (% Adh) ≥ 95 ทุกคา่ Adh ทุกค่า Adh

ระยะเวลาการจา่ ยยา จ่ายยา 4-6 เดอื น จา่ ยยา 3-4 เดือน จา่ ยยา 1-3 เดอื น

(112 – 168 วนั ) (84 – 112 วนั ) (28 – 84 วนั )

1.4.2.จัดท้า KM แกเ่ ภสชั กร เรอื่ ง “การให้ค้าปรกึ ษาดา้ นยาและการใช้แผ่นพลิก Enhance

Adherence Counseling”

1.4.3.จัดทา้ KM แกท่ มี สหสาขาวิชาชีพ เร่ือง “แนวทางการประเมินความร่วมมือในการรบั ประทานยา

ต้านไวรัสและระยะเวลาการจ่ายยาต้านไวรสั ”

1.4.4.เก็บรวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะหผ์ ล

ตัวชวี ัดทส่ี ำคญั : ผูต้ ิดเชอื เอชไอวที ร่ี ับประทานยาต้านไวรสั มผี ลตรวจระดบั ไวรสั ในกระแสเลอื ด (Viral

load) ≤ 50 copies/mL มีจา้ นวน ≥ ร้อยละ 95 ของผ้ตู ิดเชือทีร่ บั ประทานยาตา้ นไวรสั ทงั หมด

ผลกำรดำเนินกำร :

การพัฒนา ครังท่ี 1 การวิเคราะห์สาเหตุเบืองต้น เกิดจาก 1. ขาดความเป็นเอกภาพในการประเมินความ

ร่วมมือในการรับประทานยา (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร มีการประเมินฯแตกต่างกัน) 2. ขาดหลักเกณฑ์ในการ

ประเมินความร่วมมือในการรับประทานยา 3. ขาดการสอื่ สารข้อมลู ระหว่างสหสาขาวชิ าชีพในการจ่ายยาระยะ

เวลานาน ตามกล่มุ ผูป้ ่วย ทมี ฯจึงดา้ เนินการพัฒนาดังนี 1. กา้ หนดผรู้ บั ผิดชอบหลักการประเมิน Adherence

เป็นเภสัชกร 2. จัดท้าหลักเกณฑ์ในการประเมิน Adherence 3. สื่อสารหลักเกณฑ์การประเมินให้

ทีมสหสาขาวิชาชีพทราบผลการด้าเนินงาน พบว่า ผู้ติดเชือฯส่วนใหญ่ร้อยละ 93.69 มี Adherence ≥ 95%

แต่พบผ้ตู ิดเชือฯทีม่ ีผล VL ≤ 50 copies/mL เพียงรอ้ ยละ 78.3 ซง่ึ ยงั ไมบ่ รรลุเป้าหมาย สาเหตุเกดิ จาก

1. การปกปิดข้อมูลของผู้ติดเชือ (ไม่น้ายาติดตัวมาพบแพทย์/ไม่มาตรวจตรงนัด/ผู้ติดเชือประเมินตาม

แบบสอบถามสูงกว่าความเป็นจริง เป็นต้น) 2. ปัญหาความแปรปรวนของผู้ประเมิน (เน่ืองจากมีเภสัชกร

หมนุ เวียนมาปฏบิ ัติงาน)

การพัฒนา ครังท่ี 2 ทีมฯ ปรับแนวทางการด้าเนินการ ดังนี 1. ปรับหลักเกณฑ์การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยใหม่
โดยเพ่ิมเง่ือนไข พิจารณา “การขาดนัดร่วมกับการประเมิน Adherence” และใช้สัญลักษณ์สี (เขียว เหลือง
แดง) ในการแจ้งผลการแบ่งกลุ่มผู้ป่วย 2. จัดท้า KM แก่เภสัชกร เร่ืองการให้ค้าปรึกษาด้านยา 3. จัดท้า
มาตรฐานการจ่ายยาต้านไวรัสเอชไอวี ผลการด้าเนินงาน พบว่า ผู้ติดเชือฯท่ีมีผล VL ≤ 50 copies/mL มี
อัตราเพิ่มขึนเป็น 86.9 ซึ่งผลลัพธ์ดีขึนแต่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย สาเหตุเกิดจาก 1. ปัจจัยด้านการขาดนัดไม่
สัมพันธก์ บั ผลตรวจ VL 2. ประสทิ ธภิ าพดา้ นการสื่อสารการให้ค้าปรกึ ษาแก่ผู้ป่วย

การพัฒนา ครังที่ 3 ทีมฯ ปรับกระบวนการใหม่ ดังนี 1. ปรับเกณฑ์การจัดกลุ่มผู้ป่วยใหม่ (เปลี่ยนการ
ขาดนัด เป็นพิจารณาผล VL ล่าสุดแทน) 2. จัดท้า KM แก่เภสัชกร เรื่องการให้ค้าปรึกษาด้านยาและการใช้
แผ่นพลิก Enhance Adherence Counseling 3. จัดท้าแบบบันทึกติดตามและวางแผนการกินยาต้านไวรัส
อย่างสม่้าเสมอ ผลการด้าเนินงาน พบว่า ผู้ติดเชือฯท่ีมีผล Viral load ≤ 50 copies/mL มีอัตราเพ่ิมขึนเป็น
94.6% ซึ่งผลลัพธ์ดีขึนจนใกล้บรรลุเปา้ หมาย

รอ้ ยละ ร้อยละผู้ปว่ ย ทม่ี ผี ล VL ≤ 50 copies/mL 94.6
100 78.3 86.9
80

60

40

20

0 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562
CQI 3
CQI 1 CQI 2 1.แบง่ กลุ่มผปู้ ว่ ยตาม
1.เกณฑก์ ารประเมนิ 1.แบง่ กล่มุ ผปู้ ่วย "ผล VL&Adherence"
Adherence ตาม ตามผล "การขาดนัด 2. KM เภสชั กร เร่อื ง
"นับเมด็ ยา/แบบสอบถาม" &Adherence" การใช้แผ่นพลกิ EAC
2. ก้าหนดผู้รับผดิ ชอบ 2.KM เภสชั กร เร่ือง 3. มแี บบบันทกึ ตดิ ตาม
การบรบิ าลเภสชั กรรม

สรุป : การออกแบบกระบวนการให้มี 1 ก้าหนดผู้รับผิดชอบและนิยามการประเมินความร่วมมือในการ
รบั ประทานยาให้เป็นแนวทางเดียวกัน 2. แบ่งกล่มุ ผปู้ ว่ ยตามผล VL ลา่ สดุ ร่วมกบั %Adherence เพ่อื จ่ายยา
ระยะเวลานานตามกลุ่มผู้ป่วย 3. การใช้เครื่องมือ EAC เพ่ือลดความแปรปรวนการให้ค้าปรึกษาแก่ผู้ติดเชือ
เป็นต้น ส่งผลดตี ่อการบรรลเุ ป้าหมายท่ี 3 ของการยุตเิ อดส์

8. ผลของโปรแกรมกำรฟ้ืนฟสู มรรถภำพตอ่ กำรปฏบิ ตั กิ จิ วัตรประจำวนั ของผปู้ ว่ ยระยะฟ้นื ฟู

ช่อื -สกลุ : นางสาวอาทยิ า ยสี่ ิน
หน่วยงำน : ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลราชพพิ ฒั น์ ส้านักการแพทย์กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์ : เพอ่ื ศึกษาผลของโปรแกรมฟน้ื ฟูสมรรถภาพต่อการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจา้ วนั ของผ้ปู ่วยระยะฟื้นฟู
รปู แบบกำรวจิ ยั : การศกึ ษาแบบเชงิ ทดลองกลมุ่ เดียว (One Group Pretest–Posttest Design)
ประชำกรและกลุ่มตวั อยำ่ ง :

ผู้ป่วยระยะฟ้ืนฟูรายใหม่หรือเป็นซ้าท่ีได้รับการวินิจฉัยด้วยโรค Stroke, TBI, SCI, Multiple trauma
หรือโรคทางระบบประสาทอ่ืนๆท่ีมีความบกพร่องทางกาย โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ระหว่างเดือน มกราคม
2564 ถึงเดือน กรกฎาคม 2564 และผ่านเกณฑ์การคัดเข้า เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive
sampling) จา้ นวน 33 ราย
วิธดี ำเนินกำรวจิ ัย :

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา มี 2 ชุด ดังนี ชุดท่ี 1 เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1)
ข้อมูลส่วนบุคคล ซ่ึงผู้ศึกษาสร้างขึน 2) แบบประเมินความสามารถในการด้าเนินกิจวัตรประจ้าวัน (แบบ
ประเมนิ ADL) 3) แบบประเมินคุณภาพชวี ติ EQ-5D-5L ฉบบั ภาษาไทย ชุดที่ 2 เครื่องมอื ที่ใช้ในการดา้ เนินการ
ศกึ ษา คอื โปรแกรมฟ้ืนฟสู มรรถภาพของผู้ปว่ ยระยะฟนื้ ฟู

วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี 1) ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ โรคประจ้าตัว ดัชนีมวลกาย สถานภาพสมรส
ระดับการศึกษา อาชีพ สิทธ์ิการรักษา วิเคราะห์โดยแจกแจงความถ่ี ร้อยละ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ข้อมูลส่วน
บคุ คล ไดแ้ ก่ อายุ วิเคราะหโ์ ดยหาค่าคะแนนต้่าสุดและคะแนนสูงสุด คา่ เฉลี่ย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 2) สถิติ
ทดสอบสมมติฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลีย่ ความความสามารถในการดา้ เนินกิจวัตรประจ้าวัน
ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมฟ้นื ฟูสภาพสมรรถภาพ ดว้ ยสถติ ิ paired t-test
ผลกำรวจิ ัย :

ระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันของผู้ป่วยระยะฟ้ืนฟูเปรียบเทียบก่อนและหลังได้รับ
โปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพมีแตกต่างกันกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p < 0.05) ระดับคุณภาพชีวิตด้าน
สุขภาพของผู้ป่วยท่ีได้รับโปรแกรมฟ้ืนฟูสมรรถภาพ พบว่าผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพโดยรวมระดับ
สมบูรณ์ดีมาก เม่ือจ้าแนกรายด้าน พบว่าผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพโดยรวมระดับสมบูรณ์ดีมากทุกด้าน
ด้านการดูแลตนเองมีความสมบูรณ์มากที่สุด รองลงมาคือด้านกิจกรรมที่ท้า ด้านที่ต่้าที่สุดคือ ด้านอาการ
เจบ็ ปวด/อาการไมส่ บายตัว
อภิปรำยผล :

ระดับความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันหลังได้รับโปรแกรมฟื้นฟูมีการเปล่ียนแปลงอย่างมี
นัยส้าคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.05 อธบิ ายได้วา่ โปรแกรมฟ้ืนฟสู มรรถภาพท้าให้ผู้ปว่ ยมรี ะดบั ความสามารถในการ
ปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันเพ่ิมขึน และเกิดคุณภาพชีวิตที่ดีมากทุกด้าน โดยด้านการดูแลตนเองมีความสมบูรณ์
มากท่สี ดุ รองลงมาคือดา้ นกิจกรรมท่ีท้าตามล้าดบั อาจเน่อื งมาจากปัจจยั ที่เก่ียวข้องกับการมีคุณภาพชีวิตด้าน
สุขภาพที่ดี เช่นการให้ความส้าคัญกับการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตนตามค้าแนะน้าของแพทย์และทีมสหาขา
วิชาชีพ ความสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันได้ตามปกติ เจตคติและการเข้าร่วม

กิจกรรมทางสังคม การมีภาวะสุขภาพจิตที่ดี สัมพันธภาพภายในครอบครัวและการได้รับการดูแลทังทางด้าน
ร่างกายและจติ ใจจากครอบครวั เปน็ ตน้
สรุป :

การศึกษาครังเป็นการศึกษาระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันของผู้ป่วยระยะฟื้นฟู และ
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังได้รับโปรแกรมฟ้ืนฟูสมรรถภาพและติดตามต่อเน่ืองจนครบ 6 เดือน บุคลากรทีม
แพทย์ พยาบาล และสหสาขาวิชาชีพ ควรน้าโปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพส้าหรับผู้ป่วยระยะฟื้นฟูไปใช้ในการ
ดูแลผู้ป่วยอย่างแพร่หลายทังผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก เพ่ือเพิ่มคุณภาพการดูแลและผู้ป่วยสามารถเข้าสู่ระยะ
การฟ้นื ฟู และมีความสามารถในการปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจา้ วันไดเ้ พ่มิ สงู ขนึ ก่อนการจา้ หน่ายออกจากโรงพยาบาล

9. ประสิทธิผลของกำรใช้ยำเหลียนฮัวชิงเวินแคปซูลร่วมกับยำแผนปัจจุบันในกำรรักษำผู้ป่วย
ตดิ เชือไวรสั ในระบบทำงเดินหำยใจ โรงพยำบำลสนำมรำชพพิ ัฒน์ จังหวดั กรุงเทพมหำนคร

ชอ่ื -สกลุ : นางสาวนรมน วงค์ประดษิ ฐ์
กลุ่มงำน : เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ (ศูนย์การแพทย์ทางเลือก) โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ส้านัก
การแพทย์กรงุ เทพมหานคร
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ยาเหลียนฮัวชิงเวินแคปซูลร่วมกับการใช้ยาแพทย์แผนปัจจุบัน
รูปแบบกำรวิจัย : การศึกษาแบบก่ึงทดลอง (Quasi experimental) ดา้ เนนิ การทดลองตามแบบแผนการวิจัย
One Group Pretest–Posttest Design

ประชำกรและกล่มุ ตวั อย่ำง : ผู้ป่วยตดิ เชือไวรสั ในระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลสนามราชพพิ ฒั น์ ระหว่าง
วันท่ี 25 พฤษภาคม ถึง 30 มิถุนายน 2564 และผ่านเกณฑ์การคัดเข้า เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง
(purposive sampling) จ้านวน 155 ราย
วิธีดำเนินกำรวิจัย : เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา คือ เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบ
บันทึกประวัติข้อมูลผู้ป่วย ซึ่งผู้ศึกษาสร้างขึน 2) แบบบันทึกการติดตามอาการผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษาด้วยยา
เหลียนฮวั ชิงเวนิ แคปซูล 3)แบบบนั ทึกผลอาการขา้ งเคยี งหลังการรบั ประทานยา

วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี 1) ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ โรคประจ้าตัว น้าหนัก ดัชนีมวลกาย วิเคราะห์
โดยแจกแจงความถ่ี ร้อยละ ใช้สถติ เิ ชิงพรรณนา ข้อมูลส่วนบคุ คล ได้แก่ อายุ วิเคราะหโ์ ดยหาค่าคะแนนต่้าสุด
และคะแนนสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) สถิติทดสอบสมมติฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างของ
ค่าเฉล่ียระดับความรุนแรงของอาการคล้ายหวัดของผู้ป่วย ก่อนและหลังการได้รับประทานยาเหลียนฮัวชิงเวิน
แคปซลู ดว้ ยสถติ ิ paired t-test 3) ผลอาการข้างเคยี งหลงั การรบั ประทานยาเหลียนฮัวชงิ เวนิ แคปซูลวิเคราะห์
โดยใชส้ ถติ เิ ชิงพรรณนาในรูปของร้อยละ
ผลกำรวจิ ยั : ผลการวิเคราะหค์ ่าเฉลยี่ ระดับความรุนแรงของอาการคลา้ ยหวัด ก่อนและหลงั ไดร้ ับยาเหลยี นฮัว
ชงิ เวินแคปซลู รว่ มกับยาแผนปัจจุบันในการรักษาผูป้ ว่ ยติดเชือไวรัสในระบบทางเดินหายใจมีความแตกต่างของ
อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p < 0.05) โดยสามารถลดระดับความรุนแรงของอาการหายใจเหนื่อยได้อย่างมี
นัยส้าคัญทางสถิติ (p < 0.05) และพบว่ามีผู้ป่วยร้อยละ 23.2 มีผลอาการข้างเคียงหลังจากรับประทานยา
เหลียนฮวั ชิงเวนิ แคปซูลรว่ มกบั ยาแผนปจั จบุ ัน
สรุป : การศึกษาครังเป็นการศึกษาประสิทธิผลของการใช้ยาเหลียนฮัวชิงเวนิ แคปซูลร่วมกับยาแผนปัจจุบันใน
การรักษาผู้ปว่ ยติดเชือไวรัสในระบบทางเดินหายใจ ควรท้าการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธผิ ลของยาเหลียนฮัว
ชิงเวินแคปซลู ระหว่างกล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุมเพื่อพัฒนาการรักษาดว้ ยแพทย์ทางเลือกอย่างต่อเน่ือง

10. ผลกำรประเมินควำมเหมำะสมของกำรเร่ิมใช้ยำต้ำนกำรแข็งตัวของเลอื ดชนิดรับประทำน

ที่ออกฤทธิ์โดยตรง (Direct oral anticoagulants, DOACs) ในโรงพยำบำลกลำง

ชือ่ -สกลุ : นางจรยิ า สุภาพงษ์

ภำควชิ ำ/กลมุ่ งำน/ส่วนรำชกำร/หน่วยงำน : กล่มุ งานเภสัชกรรม กลุ่มภารกิจดา้ นการบรกิ ารตตภิ มู ิ

โรงพยาบาลกลาง สา้ นกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร

วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพือ่ ประเมนิ ความเหมาะสมของการเร่ิมสัง่ ใชย้ า DOACs

2. เพอ่ื ศึกษาปัจจยั เสย่ี งของการเร่ิมใช้ยา DOACs อย่างไม่เหมาะสม

รูปแบบกำรวิจยั : Retrospective descriptive study

ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง :

ผู้ป่วยทเ่ี ร่มิ ใช้ยา DOACs ตงั แตว่ ันท่ี 1 มีนาคม 2564 ถึงวนั ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565

วธิ ีดำเนินกำรวิจยั :

1. ทบทวนวรรณกรรมท่เี กยี่ วข้องกับปัญหาการสั่งใชย้ า DOACs

2. ออกแบบรูปแบบการศึกษาและก้าหนดเกณฑค์ ดั เลือกผปู้ ว่ ยเขา้ - ออกการศกึ ษา รวมทังกา้ หนดตวั แปรท่ี

เก่ยี วข้อง

3. ศึกษาการส่ังใช้ยาย้อนหลังจากการทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยท่ีได้รับยา DOACs ตังแต่วันที่ 1 มีนาคม

2564 ถึงวันที่ 28 กุมภาพนั ธ์ 2565 จากฐานข้อมูลอเิ ล็กทรอนิกสข์ องโรงพยาบาลกลาง

4. คดั เลือกผ้ปู ่วยเขา้ และออกตามเกณฑท์ ่ีก้าหนด

5. เกบ็ รวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลอเิ ล็กทรอนิกส์และเวชระเบียนผู้ป่วยของโรงพยาบาลกลาง

6. วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใชส้ ถิตทิ ี่เกย่ี วข้อง

7. สรุปผลการดา้ เนนิ การ

ผลกำรดำเนินกำร : พบผ้ปู ่วยทีไ่ ดร้ บั การสัง่ ใช้ยา DOACs ครังแรกในโรงพยาบาลกลาง จา้ นวน 92 ราย เป็น

ผู้ป่วยที่ได้รบั ยาต่อเนือ่ งจากโรงพยาบาลอ่ืน 1 ราย จึงมผี ู้ป่วยทีไ่ ดร้ ับการใชย้ า DOACs ครังแรกจริง 91 ราย

เป็นผู้ป่วยเพศชาย จ้านวน 36 ราย (39.56%) เพศหญิง 55 ราย (60.44%) เป็นผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ ับยา Edoxaban

จา้ นวน 65 ราย (71.43%) Dabigatran จา้ นวน 26 ราย (29.57%) มผี ้ปู ว่ ยทเ่ี รม่ิ ยาท่แี ผนกผ้ปู ่วยนอก จ้านวน

55 ราย (60.44%) ผู้ปว่ ยใน จ้านวน 36 ราย (39.56%) โดยมผี ู้ป่วยท่ีไดร้ บั การประเมินการท้างานของไต 74 ราย

(81.32%) มคี วามเหมาะสมของการสง่ั ใชย้ าตามข้อบ่งใชท้ ่ีกา้ หนดจ้านวน 91 ราย (100%) มีการสง่ั ใช้ยาในผ้ทู ี่

มีขอ้ หา้ มในการสั่งใชย้ า 1 ราย (1.10%) และพบการส่ังใช้ยาในขนาดทีเ่ หมาะสมเพียง 40 ราย (43.96%)

สรุป : จากข้อมูลผลการศึกษาพบว่ามีผู้ป่วยที่เร่ิมใช้ยา DOACs ในขนาดที่ไม่เหมาะสมมากกว่าครึ่งหนึ่งของ

จ้านวนผู้ป่วยท่ีเริ่มยาทังหมด โดยพบว่าปัจจัยเสี่ยงที่ท้าให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการส่ังใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมคือ

ผู้ป่วยได้รับการค้านวณค่าการท้างานของไตไม่ถูกต้อง ตามเอกสารก้ากับยาท่ีได้รับการรับรอง ดังนันผล

การศึกษานีน่าจะเป็นข้อมูลสะท้อนให้เห็นว่าเกิดการสั่งใช้ยาในขนาดท่ีไม่เหมาะสม และคณะกรรมการเภสัช

กรรมและการบ้าบัดของโรงพยาบาลกลางอาจน้าข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในการก้าหนดแนวทางปฏิบัติ

หรอื เกณฑ์การส่งั ใช้ยาเพื่อใหเ้ กิดการส่ังใช้ยาอยา่ งเหมาะสมมากขนึ และผูป้ ่วยเกดิ ความปลอดภยั ในการรักษา

ด้วยยา DOACs

11. เร่อื ง ห่ำงกันอีกนดิ พิชติ ภำรกจิ เคลอ่ื นยำ้ ย

ชื่อ สกุล : นายทฤษฎี อรณุ แจ้ง
สงั กดั : ฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป โรงพยาบาลตากสิน ส้านกั การแพทย์
วัตถุประสงค์ : 1.เพ่ือใหผ้ ูป้ ว่ ยรถนัง่ และรถนอนเข้าถึงบรกิ ารในการเคล่ือนย้ายสหู่ ้องตรวจได้อย่างรวดเร็วสามารถลด
ความเสีย่ งตอ่ ความล่าชา้ ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารของผูป้ ่วยรถนงั่ และรถนอน

2. เพ่ือลดขอ้ ร้องเรียนการใหบ้ ริการของหนว่ ยเปลกลาง
3. เพื่อลดปัญหาการจราจรติดขัดภายในโรงพยาบาลด้วยข้อจ้ากัดด้านพืนท่ีลดลงขณะด้าเนินการ
กอ่ สรา้ งอาคารอเนกประสงคแ์ ห่งใหม่
4. เพอื่ พัฒนากระบวนการทา้ งานดา้ นการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
กลมุ่ เป้ำหมำย : ผปู้ ่วยรถนั่งและรถนอนที่เข้ามารกั ษาในโรงพยาบาลตากสิน
วธิ ีดำเนนิ กำร : 1.ทบทวนอุบตั กิ ารณข์ ้อร้องเรยี นการใชบ้ ริการของหน่วยเปลกลาง โรงพยาบาลตากสิน ในปี 2564 พบว่า
มขี ้อร้องเรียนเร่อื งความลา่ ช้าในการให้บริการของพนักงานเปลดา่ นหนา้ เฉลีย่ เดือนละ 4 ครงั
2. ส้ารวจ ศึกษา วิเคราะห์ปัญหา เพื่อหาสาเหตุของปัญหาข้อร้องเรียนในการรับบริการจากหน่วยเปล
กลางพบว่าความล่าช้าเกิดขึนในช่วงเวลา 8.00น.-8.30น. ในวันราชการ จุดท่ีเกิดความล่าช้าอยู่บริเวณด่านหน้า ซึ่งเป็นจุดที่
รับผใู้ ช้บรกิ ารลงจากรถ เพ่อื ขนึ รถนัง่ หรือรถนอน การรอนาน ส่งผลใหก้ ารจราจรบริเวณหนา้ โรงพยาบาลตดิ ขัด
3. วางแผนรว่ มกบั พนกั งานเปล โดยก้าหนดใหผ้ ู้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ดี า่ นหน้าต้องเปน็ ผู้ซึง่ ไม่ได้อยู่เวรปฏิบัติ
หน้าที่นอกเวลาราชเพื่อลดความเหน่ือยล้าสะสมของผู้ปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนต้าแหน่งการยืนของพนักงานเปลด่าน
หนา้ จากการรวมกลมุ่ 3 คน ณ บรเิ วณท่เี ก็บรถน่ังรถนอน โดยปรับแผนให้กระจายจุดยืนรับผปู้ ว่ ยรถน่ังรถนอนเป็น 3 จุด
ตามต้าแหน่งของรถท่ีจอดส่งผู้ป่วย และแบ่งรถนั่งออกเป็น 3 จุด ตามจุดท่ีพนักงานเปลด่านหน้าประจ้าการเพ่ือการ
เข้าถึงผปู้ ่วยไดร้ วดเร็วย่งิ ขึน ด้าเนนิ งานตามแผน ในวันที่ 26 มกราคม 2565
4. รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การแกไ้ ขปัญหา และอุปสรรคเสนอผูบ้ งั คบั บัญชาทราบ
ผลกำรดำเนนิ กำร : เมอ่ื วางแนวทางการปฏิบัติงานให้พนักงานเปลด่านหนา้ รบั ทราบและน้าลงสู่การปฏิบตั ิงาน ปรากฎว่า
ผู้ป่วยรถน่ังและรถนอนในช่วงเวลา 08.00 - 08.30 น. ซ่ึงเป็นช่วงเวลาท่ีมีผู้ใช้บริการเป็นจ้านวนมากได้เข้าสู่ระบบการ
เคล่อื นยา้ ยไปยงั ห้องตรวจรวดเรว็ ขนึ ปรมิ าณผ้ปู ว่ ยรถนงั่ รถนอนที่ได้รบั การเคล่ือนย้ายไปยังห้องตรวจในช่วงเวลาดังกล่าว
เพ่ิมขึนจาก 300 รายในเดือน มกราคม 2565 เป็น 465 รายในเดือน กุมภาพันธ์ 2565 ลดความเส่ียงต่อความล่าช้าในการ
เข้าถึงบรกิ ารของผู้ปว่ ย สภาพการจราจรท่ีหนาแน่นภายในโรงพยาบาลชว่ งเวลา 08.00 - 08.30 น สามารถเคลื่อนตวั ได้ดีไม่
ติดขัดหลังการพัฒนากระบวนการท้างาน ข้อร้องเรียนเรื่องความล่าชา้ ของพนักงานเปลก่อนพัฒนากระบวนการเฉล่ียเดือน
ละ 4 ครัง หลังจากพฒั นากระบวนการท้างาน ไมพ่ บรายงานข้อรอ้ งเรียน
สรุป :การพัฒนากระบวนการท้างานรับ-ส่งผู้ป่วยรถนั่งและรถนอนของหน่วยเปลกลาง โรงพยาบาลตากสิน ซ่ึงเป็นแผนก
ตอ้ นรบั ด่านหน้า สามารถลดข้อร้องเรียนเป็นศูนย์ในระยะเวลา 3 เดอื น เพม่ิ ความรวดเร็วในการเข้าถึงบริการตรวจรักษาของ
ผ้ปู ่วยรถนั่งรถนอนได้ และสามารถแกป้ ญั หาการจราจรติดขัดภายในโรงพยาบาลช่วงเวลาท่ีจราจรหนาแนน่

12. ศนู ย์รักษก์ ระดูกในยคุ วถิ ใี หม่ (Osteoporosis excellent center in New Normal)

ชือ่ -สกลุ : พ.ต.อ.นพ.ธนวฒั น์ อา้ พนั ทรัพย์
ภำควิชำ/กล่มุ งำน/ส่วนรำชกำร/หน่วยงำน : รพ.ตา้ รวจ สา้ นักงานตา้ รวจแหง่ ชาติ
วตั ถปุ ระสงค์ :
1. เพื่อให้ผสู้ ูงอายุท่ีเกดิ กระดกู สะโพกหักง่ายได้รบั การผา่ ตัดภายใน 72 ชั่วโมง
2. เพ่ือให้ผู้สูงอายุท่ีมีความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุนได้รับการตรวจคัดกรองวินิจฉัยและได้รับการรักษา
ตามขอ้ บ่งชี ตามแนวทางของมลู นธิ โิ รคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทย
3. เพ่อื เผยแพรค่ วามรแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจท่ถี กู ต้องเกยี่ วกบั โรคกระดูกพรุนให้กบั ผสู้ ูงอายุและครอบครวั
4. เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้สูงอายุโรคกระดูกพรุนแบบองค์รวมโดยสหวิชาชีพทางการแพทย์ให้ได้
มาตรฐานและทันสมัยตาม Best practice โดยค้านึงถึงสถานการณ์การติดเชือ COVID-19 ซ่ึงมีผลกระทบ
โดยตรงกบั การตอ้ งมาตรวจตดิ ตามผลของผ้สู ูงอายุกล่มุ นี
รปู แบบกำรพัฒนำ : เปน็ การพัฒนารูปแบบการดแู ลผสู้ ูงอายุโรคกระดกู พรุนและกระดกู หกั ง่ายอย่างครบวงจร
กลุ่มเป้ำหมำย : ผสู้ งู อายโุ รคกระดกู พรนุ และผู้สูงอายทุ ่ีเกิดกระดูกหักงา่ ยจากโรคกระดกู พรนุ
วธิ ีดำเนินกำร : แบง่ เปน็ 3 กลยทุ ธดังนี
กลยุทธ์ที่ 1: รู้เท่าทัน ก่อนวันพรุน (Primary prevention) เพ่ือเป็นการป้องกันและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูแล
สขุ ภาพกระดูกและกลา้ มเนือและรู้เท่าทันก่อนทจี่ ะเป็นโรคกระดูกพรุน
กลยุทธ์ท่ี 2: ม่ันใจ ในวันพรุน (Secondary prevention) เพ่ือเป็นการกระตุ้นและให้ความเข้าใจกับผู้ป่วยที่
เป็นโรคกระดูกพรุนแล้ว ว่าเป็นโรคท่ีต้องรักษากันตลอดชีวิต สามารถชะลอและเสริมให้กระดูกและกล้ามเนือ
กลบั มาแขง็ แรงได้ ทสี่ า้ คัญผู้ปว่ ยต้องป้องกันไม่ใหเ้ กิดกระดูกหักงา่ ยซงึ่ เป็นส่งิ ท่ีพบไดบ้ ่อยถา้ ไม่ป้องกันการหกล้ม
กลยทุ ธ์ที่ 3: รทู้ นั กนั หักซ้า (Tertiary prevention) เพอื่ ส่งเสรมิ และให้แนวทางการรักษาทีร่ วดเร็วและถูกต้อง
เพื่อให้การเกิดกระดกู หกั ครงั นเี ป็นครังสดุ ท้ายของผู้ปว่ ย รวมทงั สง่ เสรมิ ให้ผปู้ ่วยกลับมามีคุณภาพชวี ิตทด่ี ขี นึ
ตัววัดทส่ี ำคญั : ตามหวั ข้อผลการดา้ เนินการ
ผลกำรดำเนนิ กำร :
1. ผู้สูงอายุที่เกิดกระดูกหักง่ายได้รับการผ่าตัดร้อยละ 92 และได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง ร้อยละ 70
สง่ ผลใหภ้ าวะแทรกซอ้ นเกิดนอ้ ยลงและอัตราการครองเตยี งลดลง
2. มีการลดลงของอัตราการเกิดกระดูกหักซ้าและอัตราการเสียชีวิตที่ 1 ปีอย่างมีนัยส้าคัญ (เหลือร้อยละ 2.93
และ 5.95 ตามลา้ ดบั )
3. มีการส่งตรวจความหนาแน่นของกระดูก (BMD) มากขึน เป็นร้อยละ 85.84 และได้รับยารักษาโรคกระดูก
พรนุ ตามข้อบง่ ชถี ึง 89.38
4. มคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ีขนึ โดยประเมินจาก EQ5D3L และลดค่าใชจ้ ่ายจากการเกิดกระดูกหักซ้าได้คนละ180,000
- 200,000 บาท
5. ผสู้ งู อายแุ ละญาตมิ ีส่วนรว่ มในการตดั สินใจรกั ษา ทราบแนวทางการรักษาในทุกขันตอน และมคี วามพงึ พอใจ
ในระดบั ดถี ึงดมี าก
6. ผู้สูงอายุและญาติมีความเข้าใจและพร้อมที่จะร่วมมือป้องกันการเกิดกระดูกหักซ้า ซึ่งถือเป็นการดูแลรักษา
เชิงรุกแบบหนึ่ง

สรุป : ศูนย์รักษ์กระดูก รพ.ต้ารวจ ท้าให้เกิดการพัฒนาแนวทางการดูแลผู้สูงอายุโรคกระดูกพรุนและ
กระดกู หกั งา่ ยอยา่ งครบวงจร ไดม้ าตรฐานและทันสมัยตาม Best practice โดยผ้สู งู อายทุ เ่ี กดิ กระดูกสะโพกหัก
ง่ายจะได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ช่ัวโมง มีการตรวจคัดกรองความเส่ียงในการเกิดโรคกระดูกพรุน
ได้รับความรู้เร่ืองโรคกระดูกพรุน ได้รับการตรวจหาสาเหตุ ได้รับการรักษาด้วยยารักษาโรคกระดูกพรุน
ตามข้อบ่งชี ได้รับการประเมินการใช้ยาท่ีถูกต้องโดยเภสัชกร ได้รับค้าแนะน้าการออกก้าลังกายท่ีเหมาะสม
มีการประเมินและป้องกันการหกล้ม และมีทีมเย่ียมบ้านและโภชนากรไปเยยี่ มและให้ค้าแนะน้าต่อเนื่องท่ีบ้าน
รวมทังมีระบบการติดตามผู้ป่วยให้มารักษาท่ีโรงพยาบาลอย่างต่อเน่ือง โดยทางศูนย์ฯมีการปรับเปลี่ยนและ
พัฒนาแนวทางเพ่ือให้เข้ากับสถานการณ์ New normal ท่ีเกิดจากโรค COVID-19 ด้วย ซ่ึงถือว่าเป็นส่ิงส้าคัญ
ส้าหรับการดูแลผู้สูงอายุท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยงในการติดเชือ COVID-19 และมีแนวโน้มท่ีต้องได้รับการดูแลอย่าง
ต่อเนอ่ื งโดยผู้เช่ียวชาญเปน็ ระยะเวลานาน

Poster Presentation

ลำดับ หวั ข้อ
1. Protected you and Me
2. การพฒั นาระบบการบรหิ ารยา
3. การพัฒนาการดูแลระบบบา้ บดั น้าเสีย
4. การลดขันตอนบริการฉีดวัคซีนโควดิ -19 ในโรงพยาบาลบางนากรงุ เทพมหานคร
5. Haven for transgender
6. Intelligent Antibiogram (i-Antibiogram)
7. The Excellent One Stop Center for Integrated Diabetes Care
8. Transition Clinic พร้อมจบั มือไปดว้ ยกัน กา้ วสู่วยั และวันท่สี ดใส
9. แนวทางการจ้าหนา่ ยผู้ป่วยหายใจลม้ เหลวเรอื รังท่ีต้องใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจท่บี ้าน
10. การพฒั นาระบบจดั เกบ็ ข้อมูลผู้ปว่ ยทใี่ ชเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจในหอผปู้ ว่ ยสามญั
11. ลดระยะเวลา สร้างคณุ ค่าระหวา่ งรอคอย
12. การพฒั นาสื่อการเรยี นร้กู ารดแู ลตนเองของหญิงตังครรภ์ทเ่ี ปน็ เบาหวาน
13. ระยะเวลาในการเตรียมความพรอ้ มของผปู้ ว่ ยก่อนเข้ารบั การผา่ ตัดผา่ นกล้องใน 1 วัน
14. บริการประทับใจ สบายกระเป๋า
15. smart nurse for ABG
16. TB ยคุ 4.0
17. โปรแกรมส้ารวจความสุขบุคลากรผ่านระบบออนไลน์ (MSD Happinometer)
18. ระบาดวิทยาของผู้ป่วยภาวะ Post COVID และ Long COVID ท่ีมารับบริการท่ีคลินิก Long

COVID โรงพยาบาลสังกดั สา้ นักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร
19. ระบบรบั ปรึกษาผ้ปู ว่ ยของกลมุ่ งานเวชกรรมฟืน้ ฟผู า่ น Google form และ Line notify
20. ระบบการฉดี วัคซีนโควดิ 19 โรงพยาบาลสิรินธร
21. Telepharmacy จะใกลห้ รอื ไกลรับยาอย่างปลอดภยั เภสัชกรใสใ่ จบริการ
22. งานประดิษฐช์ ุดตกตะกอนเมด็ เลอื ด
23. Triage Check List
24. การใช้ระบบ IT เพ่ือป้องกันการได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีที่ไม่เหมาะสมในผู้ท่ีมีการท้างานของไต

บกพรอ่ ง
25. ผลของการบรบิ าลทางเภสัชกรรมผปู้ ว่ ยนอกทต่ี ดิ เชือเอชไอวี ณ โรงพยาบาลกลาง
26. Double S belling safety
27. Re-used Anatomy Model
28. “การพฒั นาการพยาบาลแบบองคร์ วม”
29. การให้บริการอาหารป่ันผสมส้าหรบั ดแู ลผู้ป่วยทบ่ี ้าน
30. รับยาฉบั ไว ไม่ต้องพบแพทย์ ด้วยบริการ Drive Thru
31. FAST TRACK Home isolation


Click to View FlipBook Version