The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanika.khamtap, 2022-07-05 05:54:10

รวมเล่มสัมมนาวิชาการประจำปี ครั้งที่ 18 สำนักการแพทย์

รวมเล่มสัมมนาวิชาการ

ลำดับ หวั ข้อ
32. LOGISTICS COVID EMS ราชพิพฒั น์
33. คดั กรองฉับไว ร้ผู ลทันใจ @Covid-RPP
34. ดกั จบั ได้ก่อน ลดขันตอนแก้ไข
35. Expire LINE Alert
36. หิ่งหอ้ ยคอยรกั
37. บนั ไดสวรรค์

1. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : Protected you and Me

คำสำคัญ : ใบยินยอมรับการตรวจรักษา/ผา่ ตัด/การท้าหตั ถการ ใบแสดงไมย่ ินยอมรบั การตรวจรักษา/
ผ่าตัด/การทา้ หตั ถการ

ภำพรวม :
ปญั หา จากการทบทวนเวชระเบียนในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 แผนกผปู้ ว่ ยนอก พบมีผรู้ ับบรกิ ารท่ี

ปฏิเสธแผนการรักษาทังสิน จ้านวน 7 ราย โดยเรียงตามล้าดับ 1) กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงเฉียบพลัน (BP ≥
180/110 mmHg) ท่ีไม่มีอาการแสดง จ้านวน 5 ราย 2) ปฏเิ สธการพ่นยา จา้ นวน 1 ราย 3) ปฏเิ สธการรอ Refer
จ้านวน 1 ราย (โดยขอเดินทางไปด้วยตัวเอง) ทีมบุคลากรทางการแพทย์ด้าเนินการโดยการให้ข้อมูลผลดี
ผลเสีย และแจ้งอาการแทรกซ้อนอันตรายผู้ป่วยหากไม่ยินยอมรับการรักษา ลงบันทึกข้อมูล (paper less) ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ แล้วพมิ พเ์ อกสารใบตรวจรักษาใหผ้ ู้รบั บริการเซ็นช่อื และข้อความกา้ กบั แสดงการยนื ยันไม่ยินยอมรับ
การตรวจรกั ษาจากโรงพยาบาล และจดั เกบ็ เข้าแฟม้ เกบ็ เอกสาร

เปา้ หมาย
เพื่อให้โรงพยาบาลคลองสามวามีแบบฟอร์มบันทึกใบยินยอมรับการตรวจรักษา / หัตถการ ใบแสดงไม่
ยินยอมรับการตรวจรักษา / หตั ถการ สา้ หรับผรู้ บั บรกิ าร
แนวทางการพฒั นา
1. รวบรวมปัญหาทพ่ี บเหน็ ขณะปฏบิ ตั งิ าน และจากรายงานอุบัติการณ์
2. น้าปัญหาที่พบมาประชมุ ปรึกษาในฝ่ายการพยาบาล
3. จัดตงั คณะทา้ งานเพื่อด้าเนินงานและประสานหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง
4. คณะท้างานน้าปัญหามาวิเคราะห์ท้า Root Cause Analysis เพื่อหาสาเหตุปัญหา ความต้องการ
ของผรู้ ับและผใู้ หบ้ รกิ าร
5. ออกแบบฟอรม์ บนั ทึกใบยินยอมรบั การตรวจรักษา / หัตถการ และใบแสดงไม่ยินยอมรบั การตรวจรักษา
/ หตั ถการ
6. น้าแบบฟอร์มฯ มาทดลองใช้ในหนว่ ยงาน 3 เดอื น รวบรวมปญั หาขณะทดลองใช้จริง
7. น้าปัญหาท่ีพบมาปรับปรุง (PDCA) ลงเลขที่เอกสารคุณภาพและประชาสัมพันธ์น้าไปใช้ทุก
หน่วยงาน
8. จดั เก็บเอกสารใบยินยอมรบั การตรวจรกั ษา / หัตถการ ใบแสดงไม่ยนิ ยอมรบั การตรวจรักษา / หัตถการ
โดยสแกนเอกสารเกบ็ ในคอมพิวเตอร์
สำระสำคัญของกำรพฒั นำ :
โรงพยาบาลคลองสามวา ให้บริการผู้ป่วยนอกและบันทึกประวัติการตรวจรักษาในระบบ E-phis
(Paperless) กรณีผู้ป่วยปฏิเสธหรือไม่ยินยอมรับการรักษาตามมาตรฐานเดิมไม่มีเอกสารบันทึกท่ีเป็นลาย
ลักษณ์อักษรภายหลังให้ข้อมูลผู้รับบริการ เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการของโรงพยาบาล และมีหลักฐานเชิง
ประจักษ์ คณะท้างานจึงออกแบบบันทึกกรณีผูร้ ับบรกิ ารต้องเซ็นยินยอมรับการตรวจรักษา / การท้าหัตถการ
ท่ีส้าคัญ หรือเซ็นไม่ยินยอมรับการตรวจรักษา / หัตถการจากโรงพยาบาล เพื่อใช้เป็นหลักฐาน ลดความกดดัน
ความขัดแย้งจากการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีกับผรู้ บั บรกิ าร

ผลลัพธ์ :

1.โรงพยาบาลคลองสามวา มีแบบฟอร์มบันทึกการยินยอมการตรวจรักษา/หัตถการ และแบบฟอร์มไม่

ยนิ ยอมรับการตรวจรักษา/หตั ถการ ส้าหรับผูร้ บั บรกิ าร

2. ในปี พ.ศ. 2564- ปจั จบุ ัน ไม่พบข้อรอ้ งเรียนหรือปัญหาการฟ้องร้องของผู้รับบริการทป่ี ฏเิ สธหรือไม่

ยนิ ยอมรบั การตรวจรกั ษา / การทา้ หตั ถการ ในภายหลังเสรจ็ สินบรกิ าร

บทเรยี นท่ไี ดร้ บั :

สร้างความพึงพอใจและความปลอดภัยทังผู้รับบริการและผู้ให้บริการเนื่องจากมีเอกสารแสดงความ

ต้องการของผู้รับบริการอย่างชัดเจน แสดงถึงความเคารพสิทธิผู้รับริการ บุคลากรเกิดความปลอดภัยในการ

ปฏิบัติหน้าที่ โรงพยาบาลมีโอกาสลดความเส่ียงต่อการถูกฟ้องร้องจากผู้รับบริการ มีการจัดเก็บเอกสารโดย

สแกนข้อมลู เกบ็ ไวใ้ นคอมพิวเตอร์แยกเปน็ รายเดือนสะดวกต่อการเรยี กดูข้อมลู

กำรติดต่อกบั ทมี งำน :

ชื่อ-สกลุ 1. นางสาวอรยิ า ระลึก ตา้ แหน่ง พยาบาลวิชาชพี ชา้ นาญการ

2. นางสาวทติ ิภา ภารสมบรู ณ์ ตา้ แหนง่ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัตกิ าร

หน่วยงาน ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลคลองสามวา โทรศัพทม์ ือถือ : 090-9617914, 090-9861518 E-

mail: [email protected],[email protected]

2. ชื่อผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : กำรพัฒนำระบบกำรบริหำรยำ

คำสำคัญ : การบรหิ ารยา
ภำพรวม :

ปัญหา จากการปฏิบัติงานแผนกผปู้ ่วยนอก โรงพยาบาลคลลองสามวา (แบบระบบ Paperless) พบ
อุบัติการณ์ฉีดยาผิดชนิด 1 ราย ในปีงบประมาณ 2563 โดยทบทวนเวชระเบียนพบว่า ผู้รับบริการมาย่ืนบัตร
โรงพยาบาลเพ่อื ขอฉดี วัคซีนไขห้ วัดใหญ่ ผา่ นทจี่ ุดซักประวัติตามลา้ ดบั เพื่อซักประวัตบิ นั ทึกอาการ สัญญาณชพี และ
คียเ์ บกิ รายการยาวัคซีนไข้หวัดใหญใ่ หผ้ ู้มารับบริการ ณ จดุ ซกั ประวตั ิ จากนันผู้รบั บรกิ ารช้าระค่าบริการ และไปติดต่อ
ห้องยาเพื่อรับยามาฉีด เภสัชกรได้จัดยาผิดชนิดเป็นยาวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าให้กับผู้รับบริการ ผู้รับบริการ
น้าวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าท่ีได้รับจากห้องยา มาติดต่อท่ีจุดบริการห้องฉีดยา-ท้าแผล (Treatment) พยาบาล
ประจ้าห้องฉีดยา-ท้าแผล เข้าใจวา่ มาฉีดยาวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบา้ จงึ ทา้ การฉีดยาให้ผรู้ ับบริการตามรายการ
ยาทนี่ ้ามาให้ เมอื่ สอบถามภายหลงั พบวา่ ผ้รู ับบริการขอมาฉีดยาวคั ซนี ไขห้ วดั ใหญ่

เปา้ หมาย 1. เพอื่ มแี นวปฏิบตั กิ ารบริหารยาในการใหบ้ ริการผู้ปว่ ยนอก

2. เพอื่ ปอ้ งกันการบริหารยาผดิ พลาดส้าหรับผรู้ บั บริการ

แนวทางการพัฒนา
1. แพทย์ พยาบาล เภสัชกร ร่วมประชุมปรึกษา เพื่อค้นหาขันตอนที่ทา้ ให้เกิดความผิดพลาด

ในระบบการบริหารยาตามหลัก 10R

2. ก้าหนดแนวปฏิบัติการบริหารยาส้าหรับผู้รับบริการที่มาฉีดยาวัคซีนทุกชนิด ให้เข้าพบ
แพทย์เพอื่ ตรวจรกั ษาและสง่ั ยาวัคซนี

3. พมิ พ์ใบน้าทาง (Exit Queue) กรณมี ียาฉีดให้ผ้ปู ่วยเพอ่ื นา้ ไปเบิกยาทีห่ อ้ งยา
4. ออกแบบเคร่อื งมือช่วยปอ้ งกนั ความผิดพลาดการบรหิ ารยาต่อเน่ือง ดังนี

1) ใบนา้ ทาง สมุด/ใบนัดฉีดยา ระบรุ ายการยาและการบริหารยา จากจดุ บริการหลัง
พบแพทย์

2) ใบ Order record จากหอ้ งตรวจแพทย์ เพ่ือการสอื่ สารระหว่างหน่วยงาน
5. ผู้รับบริการผ่านจุดบริการหลังพบแพทย์ เพ่ือรับเอกสาร ใบน้าทาง (Exit Queue) ช้าระ
คา่ บรกิ ารแลว้ รับยาหอ้ งยา
6. ผรู้ บั บริการน้ายาทีไ่ ด้จากห้องยาไปห้องฉดี ยา-ท้าแผล เพอ่ื บริหารยาตามแผนการรกั ษา
7. รวบรวมข้อมูลอุบัติการณ์ความผดิ พลาดจากการบริหารยา เช่น การให้ยาผิดคน การให้ยา
ผิดทาง การใหย้ าผดิ ขนาด เป็นต้น ทกุ 1 เดอื น
8. สรุปผลและวเิ คราะห์ปญั หาท่ไี ดน้ ้ามาปรบั ปรุงพฒั นาแนวทางปฏบิ ตั ิในการบรหิ ารยา
สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :
หลังพบปัญหาการส่ังจ่ายยาวัคซีนและการฉีดยาวัคซีนผิดชนิด คณะท้างาน PTC ได้น้ากระบวนการ
บริหารยามาทบทวน รวมทังหัตถการและการรักษาอื่น ๆ ที่อาจเกิดข้อผิดพลาดระหว่างส่งต่อจุดบริการอื่น ๆ
จึงไดอ้ อกแบบใบบนั ทึกการตรวจรักษาภายหลังพบแพทย์ (Record Order) ใบน้าทาง (Exit Queue) ใบนัดฉีด
ยาหรือวคั ซนี เพ่อื ใช้ส่อื สารสง่ ต่อจุดให้บรกิ ารอนื่ ๆ ครอบคลุมทงั ห้องฉดี ยา – ท้าแผล หอ้ ง X-ray , หอ้ ง Lab
หอ้ งทันตกรรม หรอื การเงนิ

ผลลพั ธ์ :

- ผลการใช้แนวทางการพฒั นาระบบบรหิ ารยาในระบบงานผ้ปู ่วยนอกในการสื่อสารระหวา่ งการบริหาร

ยา ไม่พบข้อผิดพลาดจากการบริหารยาและสร้างความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน เกิดความพึงพอใจในการ

สอ่ื สาร

-อัตราคลาดเคล่อื นจากการใหย้ าผู้ปว่ ยนอก ปี พ.ศ.2564 เท่ากบั 0%

บทเรยี นท่ีไดร้ ับ :

ปัญหาจากการส่ังยาแล้วไม่มีใบน้าทาง (Exit Queue) ส่งผลให้เกิดความผิดพลาดจากการให้บริการ

รักษา เริ่มตังแต่การจัดยาจากห้องยา และการตรวจสอบยากับผปู้ ่วยก่อนฉดี ยา เนื่องจากไม่สามารถตรวจสอบ

ผ่านหลักฐานเอกสาร ภายหลังจากใช้ใบน้าทาง (Exit Queue) ใบค้าสั่งฉีดยาหรือใบ Order Record หลังพบ

แพทย์ช่วยให้เกิดการทวนสอบค้าส่ังการรักษาได้ง่าย เช่ือมโยงกับการตรวจสอบอาการส้าคัญท่ีมาโรงพยาบาล

ก่อนทา้ หัตถการฉดี ยา หรอื หัตถการอน่ื ๆ กบั ผรู้ บั บริการ

แนวทางปฏบิ ตั ิส้าหรับผู้รบั บริการทเ่ี คยได้รบั ยารักษาจากรพ.อ่ืน ๆ แล้วตอ้ งการฉีดยาทางหลอดเลือด

ด้าต่อเน่ืองหรือฉีดวัคซีนต่อเน่ืองท่ีรพ.คลองสามวา จะถูกส่งพบแพทย์เพื่อให้การตรวจประเมินและมีค้าสั่งการ

รักษา รับค้าแนะน้าหลังพบแพทย์และพิมพ์ใบน้าทาง (Exit Queue) แนบกับ ใบ Order Record จากแพทย์

เพ่ือตรวจสอบก่อนบรหิ ารยาทุกครงั

กำรตดิ ต่อกับทมี งำน :

ชือ่ -สกลุ 1. นางสาวอรยิ า ระลกึ ตา้ แหน่ง พยาบาลวิชาชีพชา้ นาญการ

2. นางฐติ าภา สขุ แสง ต้าแหน่ง พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ

หนว่ ยงาน ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลคลองสามวา

โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ : 0 9 0 - 9 6 1 7 9 1 4 , 090- 9861518 e- mail: [email protected],

[email protected]

3. ช่อื ผลงำน/โครงกำรพฒั นำ : กำรพฒั นำกำรดแู ลระบบบำบดั นำเสีย

คำสำคัญ : การพัฒนาการดูแลระบบบ้าบัดน้าเสีย คือกระบวนการดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียตังแต่ต้นน้าไปจนถึง
ปลายนา้ รวมถงึ กระบวนการเกบ็ ตวั อย่างน้าส่งตรวจวเิ คราะห์คุณภาพนา้ ทางจุลชวี วิทยา
ภำพรวม :

ปัญหำ : จากการประชุมคณะกรรมการสงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั พบว่าในบางเดือนมคี ุณภาพน้าท่ี
ส่งตรวจไม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน จากการวิเคราะห์สาเหตุพบว่า

1.ไม่มีผู้รับผิดชอบการดูแลระบบท่ีชัดเจนและบุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจตามหลักวิชาการที่
ถูกตอ้ ง

2.ไมม่ ีแนวทางการดูแลระบบที่เป็นมาตรฐานท่ถี ูกต้องและชัดเจน
3.ไมม่ ีเครือ่ งมือ/อปุ กรณน์ า้ ในการเก็บตัวอยา่ งนา้ เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพนา้ ท่ีผ่านการบา้ บดั ประจา้ วนั
4.การจัดเก็บตัวอย่างนา้ เพื่อสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ยังไม่ถูกต้องและไม่เปน็ ไปตามมาตรฐาน
5.กลอ่ งเก็บตวั อย่างนา้ สง่ ตรวจควบคมุ อุณหภมู ไิ มไ่ ด้ตามมาตรฐาน

เป้ำหมำย : 1.มีแนวทาง/คู่มือ/แผนการดูแลและบ้ารุงรักษาการระบบบ้าบัดน้าเสียท่ีถูกต้องเป็นไป
ตามมาตรฐาน

2.บคุ ลากรทด่ี แู ลระบบบบา้ บัดมีความร้คู วามเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ งในการบ้ารงุ รักษา/จัดเก็บ
ตัวอย่างนา้

3.ตัวอยา่ งนา้ ท่นี า้ ส่งอย่ใู นความเย็นตามมาตรฐานในอณุ หภมู ทิ ่คี วบคมุ คอื 2-8 องศา
4.ผลการวิเคราะหค์ ุณภาพตัวอยา่ งนา้ เสียทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารผ่านเกณฑม์ าตรฐาน
แนวทำงกำรพัฒนำ : โดยใช้แนวคิดของ LEAN มาพัฒนาร่วมกันระหว่าง คณะกรรมการส่ิงแวดล้อม
และความปลอดภยั (ENV) ,คณะกรรมการHR ,คณะกรรมการป้องกนั และควบคุมการติดเชอื ( ICC )
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :
รอบท่ี 1: พฤศจิกายน 64 ใช้แนวคิด Not using staff talent : ใช้ศักยภาพตามความเช่ียวชาญ ฝ่าย
บริหารงานทั่วไปร่วมกับคกก HRเชิญผู้เช่ียวชาญท่ีติดตังระบบมาให้ความรู้และจัดท้าคู่มือแผนการดูแลและ
บ้ารุงรักษาระบบบ้าบัดน้าเสียท่ีถูกต้อง แต่ยังพบปัญหาเรื่องการดูแลระบบควบคุมกรด-ด่าง ไม่ท้างานแบบ
อตั โนมตั ิ
รอบที่ 2 : ธันวาคม 64 ใช้แนวคิด Not using staff talent : เชิญวิทยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเร่ือง
การควบคุมการควบคุมกรด-ด่างเข้ามาให้ความรู้ พร้อมสอน/สาธิตและทดลองให้ผู้ปฏิบัติงานที่เก่ยี วข้องที่หน้า
งานทดลองทา้ และเปล่ยี นระบบการควบคมุ กรดดา่ งเข้าระบบเปน็ แบบ Manual ในชว่ งท่ีมีการใชน้ ้าเยอะ
รอบท่ี 3 : มกราคม 65ใช้แนวคิด Inventory : การจัดการวัสดุคงคลัง ยังพบปัญหาน้าเสียไม่ผ่าน
เกณฑ์ เนือ่ งจากเดมิ ไม่มีการจดั ระบบการสา้ รองกรด-ด่างไว้ในโรงพยาบาลท้าให้บางชว่ งพบปัญหาสารเคมีหมด
ขาด STOCK ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไปร่วมกบั คกก ENV ก้าหนดปรมิ าณสารเคมคี งคลงั และปรับปรุงสถานทจ่ี ัดเก็บ
รอบที่ 4 : กุมภาพันธ์ 65 ใช้แนวคิด Excessive Processing : เน่ืองจากบ่อพักน้าก่อนออกสู่ท่อ
ระบายน้าสาธารณะเป็นตะแกรงเปิดโล่งท้าให้เวลาฝนตกจะมีเศษไม้ใบไม้ปลิวลงไปในบ่อจ้านวนมากและมี
ตะไคร่นา้ เกาะจากการท่ีมีแสงแดดส่องตลอดทังวัน บคุ ลากรต้องเปิดฝาตะแกรงและตักขยะออกทุกเดือน จึงได้
ร่วมกนั ออกแบบ “นวัตกรรมสวงิ ตักขยะ” เพ่อื ใชใ้ นการตกั เศษขยะออกจากบ่อและใชต้ าขา่ ยคลุมตะแกรงที่ปิด
ปากบอ่ อกี ครงั สามารถลดจา้ นวนครังการตกั ขยะเป็นทุก 3 เดอื น
รอบที่ 5 : มีนาคม 65ใชแ้ นวคิด Defect Rework : เพ่ือแกไ้ ขข้อบกพร่อง 1)จดั ซอื เคร่ืองมือตรวจสอบ
คุณภาพน้า 2) ขาดผู้ดูแลและผู้ควบคุมประจ้าวัน คกก ENV ร่วมกับคกก HR จัดหานักวิชาการและลูกมือช่าง

พร้อมเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้แก่ทีมและบุคลากรผู้ปฏิบัติงานอีกครังเก่ียวกับการดูแลระบบบ้าบัดน้าเสีย

พรอ้ มสาธิตและทดลองปฏบิ ัติ

รอบที่ 6 : มีนาคม 65ใช้แนวคิด Motion เน่ืองจากเจ้าหน้าท่ีต้องเปิดฝาตะแกรงเพื่อเก็บตัวอย่างน้า

ตรวจประจ้าวัน จึงได้คดิ ทา้ “นวตั กรรม กระบอกตกั น้ากา้ นยาว” เพือ่ ใช้รองตัวอย่างน้ามาตรวจทุกวัน แตพ่ บ

ปัญหาความเสย่ี งต่อการพลัดตกบอ่ จากการเปดิ ตะแกรงเพ่ือเปิดฝาบ่อและน้ากระบอกไปรองน้าทกุ วัน

รอบท่ี 7 : เมษายน 65ใช้แนวคิด Excessive Processing และ Motion : ลดขนั ตอน การเคลือ่ นท่ี

และปัญหาความเสยี่ งตอ่ การพลดั ตกบ่อ การป้องกนั การปนเปือ้ น ทมี ENV, ICC และRMC จึงได้ 1)ทีม ICC

แนะนา้ การแตง่ กาย,การลา้ งมือและใช้ PPE 2) ทีม ENV,RMC และผู้ปฏิบัตงิ านได้รว่ มกันคิดท้า “ นวัตกรรม ”

(ขวดรองนา้ แบบไมต่ ้องเปิดฝา)ตะแกรงบ่อและสามารถน้านา้ มาตรวจสอบได้แบบงา่ ยและสะดวก

รอบที่ 8 : เมษายน 65 ใช้แนวคิด Transportations : การน้าตัวอย่างน้าส่งโดยรถยนต์ ระยะทางไกล

แต่ต้องคงความเย็นเพ่ือให้อุณหภูมิอยู่ในชว่ ง 2-8 องศาและขวดตัวอย่างน้าไม่ล้มหรือหก จึงได้จัดหากระติกส่ง

นา้ ท่ีมีขนาดเหมาะสม และวางน้าแข็งรอบๆได้ มเี คร่อื งวัดอุณหภมู ิและท้าแบบบันทกึ ก่อน-ระหวา่ ง-และเมื่อถึง

ส้านักระบายน้า

รอบท่ี 9 : พฤษภาคม 65 ใช้แนวคิด Defect Rework เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง 1) เน่ืองจากตัวจ่าย

สารเคมีกรดไม่ Feed เข้าระบบจ่ายสารเคมีคลอรีน แก้ไขโดยการเช็คอุปกรณ์ในระบบ ท่อวาล์ว ตัวเชื่อม การ

ร่ัวซึม พบว่า ไม่ได้ช้ารุดเสียหาย แก้ไขโดยเพิ่มความถ่ีในการ Feed จากเดิม 25.5 ให้เป็น 100 พบว่าตัวจ่าย

สารเคมีกรดได้ไหลเข้าระบบ Feed ปล่อยทิงไว้ประมาณ 15-20 นาที แล้วจึงปรับค่าความถ่ีเท่าค่าเดิม 2)

จัดท้าท่ีบังแสงให้กับถังจ่ายสายเคมีกรด-ด่าง เพื่อให้ค่าคลอรีนเสถียรและคงประสิทธิภาพก่อนที่จะไหลเข้า

ระบบ เม่ือเก็บตัวอย่างน้ามาตรวจ พบว่ามีค่าคลอรีนในตัวอย่างน้าซึ่งอยู่ในระหว่าง 0.5-1 ppm ตามเกณฑ์

มาตรฐานทีก่ ้าหนด

ผลลัพธ์ :

1. มีแผนการดูแลระบบบบ้าบัดน้าเสียของโรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร และคู่มือขันตอนการ

เกบ็ และรักษาสภาพตวั อยา่ งนา้ ท่ผี ่านการบา้ บัดในการน้าสง่ ทางห้องปฏิบัตกิ าร

2. ตวั ชวี ดั คณุ ภาพ เป็น ตามตาราง

ผลดา้ เนินการปีงบ 2565

ล้าดบั ตวั ชวี ัดคณุ ภาพ เป้าหมาย ม.ค.- ก.พ. มี.ค. 65 เม.ย.
65 65

1 นวตั กรรมเก่ยี วกบั การดูแลระบบบ้าบัดน้าเสีย 1 ชินงาน 1 11

2 ตัวอย่างน้าท่ีน้าส่งอยู่ในอุณหภูมิท่ีควบคุม > 80 % 50 75 100

(2-8 องศา)

3 ผลการตรวจวเิ คราะห์คุณภาพน้าประจ้าวัน 100 % NA 80 100

4 ผ ล ก า ร ต ร ว จ วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ภ า พ น้ า ท า ง 100 % 72.73 81.82 100

หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร

บทเรียนท่ีไดร้ ับ :
1. การประสานความร่วมมือและการท้างานเป็นทีม มีความส้าคัญอย่างย่ิงที่ท้าให้การท้างานประสบ
ความสา้ เรจ็
2. การน้าแนวคิด LEAN ร่วมกับนวัตกรรม ช่วยลดขันตอน/ข้อบกพร่อง/การท้างานซ้า เกิดกระบวนการ
ค้นหาวธิ ีการแก้ไข พัฒนา และป้องกนั
3. การพัฒนาการดแู ลระบบนา้ เสยี ให้ผ่านการบ้าบดั ก่อนปลอ่ ยออกส่ลู า้ ธารสาธารณะ

กำรติดต่อกบั ทีมงำน : โรงพยาบาลบางนากรงุ เทพมหานคร
นางสาวศกุนชิ ญ์ แวอมู า ตา้ แหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ชา้ นาญการพิเศษ 02-180-0201-3 ต่อ 112
นางสาวหทยั ชนก สงิ หท์ อง ตา้ แหนง่ นกั วชิ าการสาธารณสขุ (ห้วงเวลา) 0-0201-3 ต่อ 112
นายปรเมศว์ วงษ์กะวนั ต้าแหนง่ บคุ คลภายนอกทชี่ ่วยปฏิบตั ิราชการ (ชา่ ง)

4. ชือ่ โครงกำร : กำรลดขันตอนบรกิ ำรฉดี วัคซนี โควดิ -19 ในโรงพยำบำลบำงนำกรงุ เทพมหำนคร

คำสำคัญ : วคั ซนี โควดิ -19, ขนั ตอนบรกิ าร
ภำพรวม :

ปัญหา โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานครเป็นโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิ ในสังกัดส้านักการแพทย์
ซึ่งมีบทบาทให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้รับบริการ ครอบคลุมการตรวจรักษาพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ และบริการตรวจสุขภาพบุคคลท่ัวไป จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชือโควิด-19 โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานครเปิดให้บริการฉีดวัคซีนโควิด-19 ตังแต่เดือนมีนาคม
2564 เป็นต้นมา จากการให้บริการ พบว่า เกิดปัญหาการได้รับการฉีดวัคซีนล่าช้า เน่ืองจากขันตอนบริก าร
หลายขันตอน ไม่คล่องตัว ผู้รับบริการต้องรอนาน มีขันตอนการรับบริการทังสิน 10 ขันตอน ใช้เวลาในการรับ
บริการมากกว่า 170 นาทตี ่อคน ทา้ ให้ใช้เวลานานในการมารับวัคซีน ความพึงพอใจของผู้รบั บริการคิดเป็นร้อย
ละ 70 ดังนันทีมให้บริการผู้ป่วยนอกจึงได้น้าปัญหาดังกล่าวมาประชุม เพื่อระดมความคิดเห็นในการแก้ปัญหา
ดงั กล่าว

เป้าหมาย : 1. ปรบั ลดขันตอนบริการฉีดวคั ซนี จาก 10 ขันตอน เหลอื น้อยกวา่ 5 ขนั ตอน
2. ลดระยะเวลาในการรบั บรกิ ารฉีดวัคซนี โควดิ -19 ให้นอ้ ยกว่า 60 นาที
3. ผ้รู บั บริการฉดี วคั ซนี เกดิ ความพึงพอใจเพมิ่ ขึนเป็นรอ้ ยละ 90

แนวทางการพัฒนา : รวบรวมข้อมูลในการพัฒนาแนวทางการให้บริการฉีดวัคซีน ร่วมกับทีมน้าระบบ
คุณภาพ ภายใต้แนวคิด Lean เพ่ือลดขันตอนการให้บริการ เกิดความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว และเพ่ือให้
ผรู้ ับบริการเกิดความพึงพอใจในการรับบริการ ไม่ตอ้ งรอนาน
Flow Process Pre-Lean

จุดท่ี 1 รอ 30 นาที จุดที่ 2 รอ 30 นาที จุดที่ 3 รอ 30 นาที จุดท่ี 4 รอ 10 นาที จุดท่ี 5
ยนื่ ทาบตั ร ส่งตรวจ
รับบตั รคิว กรอกเอกสารรับวคั ซีน วดั สญั ญาณชีพ

จุดที่ 10 จุดท่ี 9 จุดที่ 8 จุดท่ี 7 รอ 10 นาที
ฉีดวคั ซีน
รับเอกสารรับรอง รอ 30 นาที สงั เกตอาการ รอ 10 นาที รอ 10 นาที เช็นเอกสารยนิ ยอม รอ 10 นาที จุดที่ 6
ซกั ประวตั ิ

Flow Process Post-Lean รอบที่ 1

จุดที่ 1 รอ 30 นาที จุดท่ี 2 รอ 30 นาที จุดท่ี 3 รอ 10 นาที จุดท่ี 4
รับบตั รคิว ส่งตรวจ ซกั ประวตั ิ
วดั สญั ญาณชีพ

จุดท่ี 7 รอ 30 นาที จุดท่ี 6 รอ 10 นาที รอ 10 นาที
รับเอกสารรับรอง ฉีดวคั ซีน
จุดท่ี 5
เช็นเอกสารยนิ ยอม

Flow Process Post-Lean รอบท่ี 2

จุดท่ี 1 รอ 10 นาที จุดท่ี 2 รอ 10 นาที จุดท่ี 3 รอ 30 นาที จุดท่ี 4
(ยนื่ ทาบตั ร (ฉีดวคั ซีน) (รับเอกสารรับรอง)
(รับคิว เซ็นใบยนิ ยอม และซกั ประวตั ิ)
วดั สญั ญาณชีพ)

สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ : การลดขนั ตอนบรกิ ารฉดี วัคซนี โควดิ -19
ปรับปรุงครังที่ 1 : เร่ิมแรกให้บริการตังแต่การรอรับคิว ตรวจสอบรายช่ือ วัดสัญญาณชีพ ยื่นท้าบัตรเวช
ระเบียน ส่งตรวจ ซักประวัติ เช็นเอกสารยินยอม ฉีดวัคซีน สังเกตอาการ รับเอกสารรับรองการฉีดวัคซีน
รวม 10 ขันตอน ใช้เวลา 170 นาที ประชุมทีมผู้ให้บริการผู้ป่วยนอก ปรับลดขันตอนเหลือ 7 ขันตอน ใช้เวลา
120 นาที โดยสรา้ งนวตั กรรมวัคซีนแยกสี เพ่ือลดขันตอนการตรวจสอบรายช่อื
ปรบั ปรงุ ครงั ท่ี 2

1. วางแผนปรับปรุงการให้บริการ โดยประชุมทีมผู้ให้บริการผู้ป่วยนอก ได้แก่ ทีมพัฒนาระบบบริการ
ทีม IC ทีม ENV และทีมประชาสัมพันธ์ ร่วมแสดงความคิดเห็น และเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริการฉีด
วัคซีนโควดิ -19

2. มอบหมายทีม ENV ในการปรับปรุงโครงสร้าง ปรับเปล่ียนสถานที่ในการให้บริการ ร่วมกับทีม IC
เกยี่ วกับระบบระบายอากาศป้องกนั การแพร่กระจายเชอื จากทใ่ี ห้บริการรวมกบั ผปู้ ว่ ยนอกชนั 2 เปน็ ให้บรกิ าร
ที่หน่วยบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 ใต้อาคาร ภายใต้หลัก “T – Transportation” เป็นการให้บริการแบบ One
stop service

3. ทีมผู้ให้บริการผู้ป่วยนอกทบทวนกระบวนการให้บริการ ภายใต้หลัก “E – Excessive Processing”
โดยด้าเนินการพัฒนาปรับลดขันตอนการให้บริการ 7 ขันตอน ให้เหลือ 4 ขันตอน และหลัก “W -Waiting”
ปรับระยะเวลาในการให้บรกิ ารฉีดวคั ซีน จากที่ใช้เวลาในการให้บริการ 120 นาทีต่อคน เหลือไม่เกิน 50 นาที
ต่อคน

4. ชีแจงบุคลากรผปู้ ฏบิ ัติงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ให้ทราบแนวทางการปฏิบัติการให้บริการในการฉีดวคั ซีน
5. ทีมประชาสัมพันธ์ ด้าเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ทังภายในและภายนอกโรงพยาบาล ใน
การปรบั ขนั การการบรกิ าร และการปรบั เปลย่ี นสถานทใี่ ห้บรกิ ารฉีดวัคซนี โควิด-19
6. สา้ รวจความพึงพอใจทังผ้รู ับบริการฉีดวคั ซีนโควิด-19
ผลลพั ธ์
1. ขนั ตอนการให้บริการลดลงจาก 10 ขันตอน เหลอื 4 ขนั ตอน
2. ลดระยะเวลาในการรบั บรกิ ารฉดี วคั ซีนโควิด-19 น้อยกวา่ 50 นาทีตอ่ คน
3. ความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารจากร้อยละ70 เพม่ิ เปน็ รอ้ ยละ 92
บทเรียนทไี่ ดร้ ับ
1. มขี ันตอนการบริการฉดี วคั ซนี โควดิ -19 ของโรงพยาบาลบางนากรงุ เทพมหานคร ภายใต้แนวคดิ Lean
2. วางแผนขยายผลแนวทางการให้บริการฉดี วคั ซีนอืน่ ๆ
3. สร้างความร่วมมอื ระหว่างทีมสหสาขา
กำรติดต่อกับทมี งำน : โรงพยาบาลบางนากรงุ เทพมหานคร
นางวิไลพร ฉายระถี ต้าแหนง่ พยาบาลวิชาชีพชา้ นาญการพเิ ศษ
โทรศพั ท์มือถือ 094-6155941 E-mail [email protected]
นางชญาณิศวร์ เทยี มไชย ต้าแหนง่ พยาบาลวชิ าชีพช้านาญการ
โทรศพั ทม์ อื ถือ 083-0874775 E-mail [email protected]

5. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : Haven for transgender

คำสำคญั : ประชากรขา้ มเพศ, ฮอร์โมนเพศ
ภำพรวม :

ปัญหำ
ปจั จุบันจา้ นวนประชากรขา้ มเพศ ในสงั คมไทยมีจ้านวนเพ่ิมมากขึน แต่เมือ่ กลา่ วถึงการยอมรับในกลุ่ม

คนข้ามเพศนัน ยังไม่ถูกยอมรับเท่าที่ควร ท้าให้กลุ่มคนข้ามเพศต้องรู้สึกว่าตนเองนันเป็นส่วนด้อยของสังคม
และไม่สามารถทีจ่ ะรับสิทธทิ ี่เทา่ เทียมได้

โดยปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ รูปร่าง แม้กระท่ังการเสริมความงาม ก็ถือว่าเป็นปัจจัยส้าคัญ
ในการต่อรอง เพ่ือให้ได้รับการยอมรับจากสังคม ย่ิงเหมือนผู้หญิงหรือผู้ชายมากขึนเท่าไหร่ พวกเขาก็จะได้รับ
พืนท่ีในสังคมมากขึนเท่านัน ซึ่งไม่ใช่แค่เพียงการแต่งกายและการปรากฏตัวเสมือนว่าเป็นเพศตรงข้าม แต่
บุคคลเหล่านียังมี เป้าหมายของการกลายเป็นเพศตรงข้ามด้วยวิธีการทางการแพทย์ คือ การใช้ฮอร์โมนเพศ
เพอื่ ชว่ ยในการรักษา สา้ หรับยาฮอร์โมนท่กี ลมุ่ คนขา้ มเพศเลือกใช้ ในประเทศไทยยากลุ่มนีสามารถหาซือได้ง่าย
ตาม ร้านขายยา ร้านค้าทั่วไป รวมถึงร้านค้าออนไลน์ แต่นโยบายทางด้านสาธารณสุขในประเทศไทย ยังมี
ข้อจ้ากัดในเรื่องของความละเอียดอ่อนทางเพศสภาพ ท้าให้การบริการทางการแพทย์และค้าแนะน้าเก่ียวกับ
การใช้ยากลุ่มนใี นกลุ่มข้ามเพศ ยงั ไมเ่ พียงพอ จากผลงานวจิ ัยของเครือข่ายเพื่อนกะเทยไทย เพื่อสทิ ธิมนษุ ยชน
และองค์กรคนข้ามเพศแห่งสหภาพยุโรปท่ีศึกษาเก่ียวกับประสบการณ์ด้านสุขภาพ ของคนข้ามเพศในประเทศ
ไทยพบว่าร้อยละ 48 ของคนข้ามเพศ ที่ให้ข้อมูลไม่เคยได้รับค้าปรึกษาจากบุคลากรทางการแพทย์ที่เก่ียวกับ
การขา้ มเพศ และรอ้ ยละ 47 รายงานวา่ มีประสบการณ์เชงิ ลบกบั ผใู้ ห้บริการสขุ ภาพ ท้าใหก้ ลมุ่ คนขา้ มเพศนิยม
หาข้อมูลการใช้จากอินเตอร์เน็ต หรือ เช่ือในค้าบอกกล่าวของเพื่อนข้ามเพศด้วยกันเองที่มีประสบการณ์จาก
การลองผดิ ลองถูกมาก่อน ทา้ ใหไ้ มส่ ามารถรบั ร้ถู งึ รายละเอียดในการใชก้ ารใชย้ าอย่างเหมาะสม ทังปรมิ าณการ
ใช้ ประเภทของยา และผลข้างเคียงต่อร่างกายในระยะยาว เช่น เกิดไขมันในเลือดสูง เกิดเบาหวาน เกิดความ
ดันโลหิตสูง ซึ่งอาจน้าไปสู่การเกิดโรคหลอด เลือดหัวใจ อัมพฤกษ์อัมพาต หลอดเลือดหัวใจตีบ โดยกลุ่มคน
ข้ามเพศกลุ่มนีไม่ได้รับการตรวจเลือด หรือการตรวจสุขภาพเพื่อวัดฮอร์โมนในร่างกายและไม่ได้รับค้าแนะน้า
ทางการแพทย์ หรือการเฝ้าระวังผลข้างเคียงเพื่อปรบั ขนาดการใช้ยา และหากเป็นการรับฮอร์โมนแบบฉีด การ
ฉีดโดยไม่มีทักษะและไม่ถูกสุขลักษณะ อาจก่อให้เกิดแผลเป็น การอักเสบ หรือแม้แต่การติดเชอื ของโรคตดิ ต่อ
ตา่ ง ๆ

คลินิก Lovecare Center โรงพยาบาลตากสิน เป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ในกรุงเทพมหานคร มี
ความพร้อมในการให้บริการทางเพศในทุกด้าน ทังบุคคลากร สถานที่ และอุปกรณ์การแพทย์ โดยปัจจุบันได้
ใหบ้ รกิ ารให้คา้ ปรึกษาเกย่ี วกับการเจาะเลอื ดหาเชือ HIV ซิฟิลสิ หนองใน และไวรัสตับอีกเสบบี ซี ใหก้ ารรักษา
และติดตามโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การให้บริการรับยา PrEP ,PEP ในกลุ่มเสี่ยง รวมถึงการรับวัคซีนไวรัส
ตับบี ซึ่งมีกลุ่มผู้รับบริการเป็นกลุ่มคนข้ามเพศจ้านวนมาก และส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเด็กวัยรุ่น จึงได้เล็งเห็น
ความสา้ คญั ในการขยายบริการ ด้านฮอร์โมนในกลุ่มคนข้ามเพศใหค้ รอบคลุมของสถานคลนิ ิก ทงั นีเพอ่ื ให้ กลุ่ม
ของประชากรข้ามเพศ ได้เข้าถึงข้อมูล มีการใช้ฮอร์โมนอย่างถูกต้อง และมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อทาง
เพศสมั พันธ์ ภายใตก้ ารก้ากับติดตามของแพทย์

เป้ำหมำย

ประชากรกลุ่มคนข้ามเพศได้รับฮอร์โมนเพศอย่างเหมาะสม มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อทาง

เพศสัมพนั ธ์ จา้ นวน 200 คน

แนวทำงกำรพัฒนำ

1. คน้ หาขอ้ มูลจ้านวนผู้รบั บรกิ ารท่ีใช้ฮอร์โมนเพศ
2. สอบถามความรู้ และผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขนึ จากการใชฮ้ อร์โมนเพศ กบั ผเู้ ขา้ มารบั บรกิ ารท่ีคลนิ กิ
3. จัดท้าสถิตความเสี่ยงทอ่ี าจเกิดขึนกบั ผรู้ ับบริการท่ีใช้ฮอร์โมนเพศ
4. ประชมุ วางแผนรว่ มกบั ทีม เพ่อื แกไ้ ขปัญหาทเี่ กิดขนึ
5. จดั ทา้ โครงการดแู ลผ้รู บั บริการที่ใช้ฮอรโ์ มนเพศ
6. ขออนมุ ัตโิ ครงการ การดูแลผูร้ บั บริการทใี่ ชฮ้ อรโ์ มนเพศ
7. ด้าเนินโครงการ โดยเริ่มโครงการเดือน พฤศจิกายน 2564 โดยประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทาง

โปสเตอร์ แผ่นพบั และสอ่ื ออนไลน์
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :

เพ่ือต้องการเชิญชวนประชากรกลุ่มคนข้ามเพศ เข้าสู่ระบบบริการทางการทางสาธารณสุขให้มากขึน
โดย ผู้รับบริการที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับค้าแนะน้าในการใช้ยาฮอร์โมน, การให้ค้าปรึกษาเก่ียวกับโรคเอดส์
และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, เจาะเลือดตรวจระดับฮอร์โมนเพศ หาเชือเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์,
การใหบ้ รกิ าร PEP PrEP ในกลมุ่ เสยี่ ง รวมถงึ การรบั วคั ซีนไวรสั ตบั บี เพ่อื ยังคงผรู้ ับบรกิ ารในระบบ
ผลลพั ธ์ :

1. กล่มุ ประชากรขา้ มเพศมีความรู้ความเข้าใจในเร่อื งฮอร์โมนเพศ และไดร้ ับฮอร์โมนเพศ อย่างเหมาะสม
ไมเ่ กดิ ผลข้างเคียงจ้านวน 62 คน

2. พบเชอื ซิฟิลิสในกล่มุ ประชากรขา้ มเพศ จ้านวน 12 คน
3. พบเชอื หนองในเทยี ม และหนองในแท้ ในกลมุ่ ประชากรขา้ มเพศ จ้านวน 5 คน
4. พบไวรัสตับชนิด บี ในกลุ่มประชากรข้ามเพศ จา้ นวน 4 คน
5. พบเชอื เอชไอวี ในกลมุ่ ประชากรข้ามเพศ จ้านวน 1 คน
บทเรียนท่ีไดร้ ับ :
1. กลุ่มคนขา้ มเพศเข้าถงึ บรกิ ารการรกั ษาพยาบาลไดส้ ะดวกขึน
2. กลมุ่ คนข้ามเพศได้รับการส่งเสริม ปรับเปลย่ี นพฤติกรรม และมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ฮอร์โมนอย่าง
ปลอดภัย
3. ไม่เกดิ ผลขา้ งเคยี งของฮอร์โมน ในกลุ่มคนข้ามเพศ
4. กล่มุ คนขา้ มเพศได้รบั การตรวจคัดกรองหาเชือเอชไอวี และโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์
5. บคุ ลากรในคลนิ กิ ได้พฒั นาความรู้ความสามารถของตนเองให้เพิ่มมากขนึ
6. มีการท้างานร่วมกันในองคก์ รแบบสหวิชาชีพ
7. เกิดช่ือเสียงแก่องค์กร เนื่องจากเป็นโรงพยาบาลแรกของฝั่งธนบุรีที่พัฒนาด้านฮอร์โมนเพศ ท้าให้
ได้รับความสนใจจากผรู้ บั บรกิ ารเปน็ จ้านวนมาก
กำรตดิ ตอ่ กับทีมงำน :
นางสาวก่ิงกาญจน์ จรญู รัตนพิเชียร ตา้ แหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ัติการ
หน่วยงาน คลินิก Lovecare center โรงพยาบาลตากสนิ
โทรศพั ท:์ 080-7486263 Email: [email protected]

6. ชอ่ื ผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : Intelligent Antibiogram (i-Antibiogram)

คำสำคญั : Antibiogram ข้อมูลความไวของเชือแบคทเี รียต่อยาต้านจุลชีพ
ภำพรวม :

ปญั หำ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และ สถาบันห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์และ

การแพทย์ ก้าหนดให้ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์มีหน้าท่ีในการจัดท้าข้อมูลความไวของเชือแบคทีเรียต่อยา

ต้านจุลชีพ (antibiogram) แต่ละชนิด เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการเลือกยาส้าหรับรักษาผู้ป่วยเบืองต้นก่อนการ
รายงานผลการเพาะเชือและการทดสอบความไวต่อยา ทังนีข้อมูลท่ีได้จะน้ามาใชใ้ นการเฝ้าระวังดูแนวโนม้ การ

ดือต่อยาแต่ละชนิดของโรงพยาบาลแต่ละแห่ง โดยการจัดท้ารายงานนีมีทังระดับโรงพยาบาล ระดับประเทศ
และระดบั นานาชาติ

ด้วยเหตุนีกลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลตากสิน จึงได้จัดท้า antibiogram เป็นประจ้าทุกปี

โดยจัดพิมพ์ลงบนกระดาษแล้วแจกจ่ายไปยังหน่วยงานต่างๆ ในโรงพยาบาล รวมทังจัดท้าเป็นไฟล์หรอื รูปถ่าย
ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ แต่เนอื่ งจาก antibiogram ประกอบด้วยข้อมูลจ้านวนมาก ท้าใหก้ ารค้นหาข้อมูลยุ่งยาก

นอกจากนียังไม่สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง สินเปลืองแรงงานในการจัดท้า จึงไม่เป็นท่ีนิยม การจัดท้า
antibiogram บนเว็บไซตห์ รอื แอปพลเิ คชนั สามารถท้าได้แต่มคี ่าใชจ้ ่ายสงู มากในการจัดท้า

เป้ำหมำย

เพื่อพัฒนา i-Antibiogram ที่สามารถค้นหาข้อมูลและเปรียบเทียบข้อมูลความไวต่อยาต้านจุลชีพ 10
ชนิด ได้อยา่ งรวดเร็ว สะดวกต่อการใชง้ านและพกพา สามารถเก็บข้อมูลของผูใ้ ชง้ านได้ โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่ายใน

การพัฒนาและจัดทา้
แนวทำงกำรพฒั นำ
- ออกแบบ antibiogram และหน้าจอการคน้ หาขอ้ มูลเพ่ือใหใ้ ช้งานงา่ ย คน้ หาข้อมูลได้อยา่ งรวดเรว็
- จัดท้าไฟล์ข้อมูลลงบน Google sheet ป้อนค้าส่ัง VLOOKUP และ MATCH แล้วใช้ Query เพื่อให้

โปรแกรมแสดงข้อมูลความไวต่อยาของเชือต่างๆ 10 อันดับสูงสุดและสามารถค้นหาความไวต่อยาของเชือ
ตามทตี่ อ้ งการได้

- จัดทา้ แบบฟอรม์ ส้าหรบั ใหผ้ ู้ใชง้ านกรอกข้อมูล และสร้าง QR code ส้าหรับการเข้าถงึ ขอ้ มลู
- ทดสอบการใช้งาน และปรบั ปรงุ โปรแกรม
- เผยแพรว่ ธิ กี ารใช้งาน i-Antibiogram แบบเขา้ ใจงา่ ย โดยจดั ท้าคลิปแบบ animation
สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :

i-Antibiogram ได้รับการพัฒนาโดยจัดท้าเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์บน Cloud จากเว็บไซต์ท่ีให้บริการ
แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย เนื่องจากการค้นหาข้อมูลจากไฟล์อิเล็กทรอนิกส์สามารถท้าได้ง่าย รวดเร็ว รวมทังไม่

เปลืองพืนที่ในการจัดเก็บ ผู้ใช้งานยังสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา สามารถเปิดผ่าน smartphoneได้

นอกจากนยี งั สามารถ updateข้อมูลได้งา่ ย โดยไมส่ ินเปลอื งแรงงานในการจัดท้าและเผยแพร่

ผลลัพธ์ :
ผลจากการพัฒนา i-Antibiogram สามารถแก้ปัญหาด้านการใช้งานของ antibiogram แบบเดิมได้

เน่ืองจากข้อมูลมีปริมาณมากท้าให้เกิดความยุ่งยากและใช้เวลานานในการค้นหา ส่วน i-Antibiogram ใช้การ
ค้นหาข้อมูลจากไฟล์อิเล็กทรอนิกส์จึงท้าได้ง่าย รวดเร็ว โดยใช้เวลาประมวลผลน้อยกว่า 1 นาที และยังทราบ
ข้อมูลความไวต่อยาของเชือต่างๆ 10 อันดับสูงสุดในคราวเดียว ขันตอนการจัดท้า antibiogram แบบเดิม จะ
เปลอื งทรพั ยากรและแรงงานในการจัดทา้ มาก เพราะต้องท้าการจัดพิมพล์ งบนกระดาษหลายหนา้ แล้วแจกจ่าย
ไปยังหน่วยงานต่างๆ ในขณะที่ i-Antibiogram สามารถแชร์ข้อมูลไปยังหน่วยงานอื่นได้อย่างรวดเร็วและ
สะดวกตอ่ การอัพเดทขอ้ มูลอย่างยงิ่

การประเมินผลการเปล่ียนแปลง ท้าได้โดยใช้แบบส้ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อการใช้งาน i-
Antibiogram พบว่า มีความพึงพอใจต่อ i-Antibiogram มากกว่าแบบเดิมร้อยละ 100 นอกจากนียังสามารถ
เก็บข้อมูลและจ้านวนของผู้ใช้งาน antibiogram เม่ือเทียบกับ antibiogram แบบเดิมท่ีไม่ทราบข้อมูล ใน
ระยะยาวสามารถติดตามอัตราการลดลงของเชือดือยาโดยเปรยี บเทยี บข้อมูลเชือดือยาก่อนและหลังการใช้งาน
i-Antibiogram

ภาพแสดง i-Antibiogram
บทเรียนทีไ่ ดร้ บั :

ปัญหาที่พบระหว่างการพัฒนา i-Antibiogram ได้แก่ การแสดงผลของโปรแกรมบนอุปกรณ์ท่ีใช้เปิดท่ี
แตกต่างกัน อาจส่งผลต่อการแสดงผลท่ีแตกต่างกันได้ ซึ่งได้ด้าเนินการแก้ไขโดยปรับเปลี่ยนการแสดงผลบน
อปุ กรณห์ ลายประเภทเพอื่ ให้สามารถแสดงผลไดอ้ ย่างเหมาะสม

เน่ืองจาก i-Antibiogram ประกอบด้วยข้อมูลชนดิ ของเชือและความไวต่อยาหลากหลายชนิดจึงมีข้อมลู
จ้านวนมาก อีกทังการเขียนค้าส่ังการค้นหามีความซับซ้อนพอสมควรเพ่ือให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานได้ง่าย
ดงั นันผจู้ ัดท้าโปรแกรมจึงควรได้รับการอบรมวธิ ีการเขียนคา้ ส่ังทใ่ี ชใ้ นโปรแกรมก่อนจัดท้า ทงั นีกล่มุ งานเทคนิค
การแพทย์ โรงพยาบาลตากสนิ มีโครงการเผยแพร่วธิ กี ารจดั ท้า i-Antibiogram ไปยังหอ้ งปฏิบัตกิ ารอ่นื โดยทา้
การเผยแพร่ลักษณะการสอนรายบุคคลเพื่อให้หน่วยงานอื่นสามารถจัดท้าได้เองหรือเพื่อแลกเปล่ียนความ
คิดเห็น ท้าให้เกิดการพัฒนาต่อยอดผลงานชนิดนี เบืองต้นได้จัดท้าโครงการเผยแพร่ไปยังโรงพยาบาลในสังกัด
กรงุ เทพมหานคร รวมทังมคี วามตังใจใหช้ ดุ คา้ ส่ังแก่ผู้ทสี่ นใจทกุ โรงพยาบาล โดยการจดั ทา้ คลปิ เผยแพร่

ส้าหรับแนวทางในการพัฒนา เน่ืองจาก i-Antibiogram ถูกพัฒนาบน Google sheet ซ่ึงท้าให้สามารถ
พัฒนา ปรับเปลี่ยนได้ง่าย โดยอาจท้าการเพิ่มกราฟแนวโน้มการดือต่อยาของเชือที่ส้าคัญต่างๆ เพ่ือให้ใช้งาน
สะดวกยงิ่ ขนึ ในอนาคต

กำรตดิ ต่อกบั ทีมงำน :
ชอ่ื -สกุล น.ส. มณฑิรา ฐานไพศาลกิจ ตา้ แหนง่ นักเทคนคิ การแพทยช์ ้านาญการ
หนว่ ยงาน งานภมู คิ ุ้มกนั วิทยา
โทรศพั ทม์ ือถือ 089-172-6669
e-mail [email protected]

7. ช่อื ผลงำน/โครงกำรพัฒนำ : The Excellent One Stop Center for Integrated Diabetes Care

คำสำคญั : เบาหวานชนิดท่ี 2, One stop center, คลินกิ เบาหวานแบบบูรณาการ
ภำพรวม :

ปญั หำ
โรคเบาหวานเป็นปัญหาท่ีส้าคัญทางด้านสาธารณสุขท่ัวโลกและมีอุบัติการณ์เพ่ิมขึน จากการ

ดา้ เนินงานด้านการดูแลผู้ปว่ ยเบาหวานของรพ.ตากสิน พบจดุ อ่อนของการบริการ คอื ระบบทไ่ี ม่ชัดเจนในการ
ส่งตอ่ การรักษาผู้ป่วยเบาหวานท่ียากต่อการรกั ษา ทา้ ใหผ้ ู้ปว่ ยไม่สามารถเขา้ ถึงการดแู ลรักษาโรคเบาหวานโดย
แพทย์เฉพาะทางและทีมสหสาชาวิชาชีพได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม, ระบบที่ไม่ชัดเจนในการเข้าถึงการให้
ค้าปรึกษารายบุคคลในผู้ป่วยเบาหวานโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ เพ่ือเข้าถึงความรู้ในการดูแลตนเองอย่าง
เหมาะสม, ทีมสหสาขาวิชาชีพให้บริการอยู่คนละหน่วยงานซึ่งอยู่คนละตึกกัน ท้าให้เกิดความยุ่งยากต่อผู้ป่วย
จากความมุ่งม่ันของรพ.ตากสินที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน จึงมองเห็น
โอกาสในการพัฒนาระบบการบริการผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้พัฒนา The Excellent One Stop Center for
Integrated Diabetes Care เพ่ือการดูแลแบบองค์รวม โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อให้ผู้ป่วยมีระดับน้าตาลท่ี
เหมาะสมและมีคุณภาพชีวิตทด่ี ี

เป้ำหมำย
ยกระดับการรักษาผู้ป่วยเบาหวานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยดูแลแบบบูรณาการร่วมกัน

ระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ เพ่ือให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าถึงการดูแลรักษา ท้าให้ผู้ป่วยและครอบครัวมี
คณุ ภาพชีวติ ที่ดีขนึ

แนวทำงกำรพัฒนำ
จัดตงั The Excellent One Stop Center for Integrated Diabetes Care โดยดูแลผ้ปู ่วยเบาหวาน

แบบบูรณาการ เพื่อผู้ป่วยท่มี คี วามซบั ซ้อน โดยรวบรวมทมี สหสาขาวชิ าชีพทดี่ แู ลในจดุ เดยี ว โดยมที ังการตรวจ
รกั ษา การให้คา้ ปรึกษาปรับเปลย่ี นพฤติกรรม และการตรวจเท้าเบาหวาน ซึง่ เป็นจดุ เร่ิมต้นในการพัฒนาระบบ
การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการดูแลรักษาที่ได้มาตรฐาน เพื่อ
เปา้ หมายในการควบคมุ ระดับน้าตาลไดด้ ี
สำระสำคัญของกำรพฒั นำ :

- ก้าหนดให้ผู้ปว่ ยเบาหวานทุกรายเขา้ รับการประเมิน และ
ให้ค้าปรึกษาโดยทีมสหวิชาชีพท่ศี นู ยเ์ บาหวาน
- จัดท้าระบบส่งตอ่ ผู้ป่วยเบาหวานท่ีต้องได้รับการดแู ล
รักษาจากแพทย์เฉพาะทางและทีมสหสาขาวิชาชีพที่
ชัดเจน ในกรณีท่ีมีระดับน้าตาลที่ควบคุมได้ยาก คือ
HbA1c 8-8.9% จะได้รับการส่งต่อมารักษากับอายุร
แพทย์, HbA1c ≥ 9% ขึนไป หรือเป็นเบาหวานชนิด
อ่ืนๆ เช่น เบาหวานชนิดที่ 1, เบาหวานในหญิงตังครรภ์ จะส่งต่อมาตรวจคลินกิ เฉพาะทางที่ศูนยเ์ บาหวาน ซึ่ง
ให้การดแู ลรักษาโดย กมุ ารแพทยต์ อ่ มไรท้ ่อ และอายรุ แพทย์ต่อมไรท้ อ่ ร่วมกบั ทมี สหสาขาวิชาชีพ

- ออกแบบระบบงานภายในศูนย์เบาหวาน ก้าหนด
บทบาทหน้าท่ีในทีมให้ชัดเจน มีทีมสหสาขาวิชาชีพ
ให้การดูแลให้ค้าปรึกษา, สอนทักษะการดูแลตนเอง
แก่ผู้ป่วย, ประเมินปัญหาในด้านต่างๆเพื่อส่งต่อ
ผู้เชี่ยวชาญในทีม รวมถึงการตรวจรักษาโดยอายุรแพทย์
ต่อมไร้ท่อ ซึ่งทีมสหสาขาวิชาชีพจะให้บริการในจุด
เดียวกัน ท้าให้ลดระยะเวลารอคอย ไม่ต้องมาหลาย
นดั
- ส่งตรวจภาวะแทรกซ้อนประจ้าปี ทังการตรวจ Urine microalbumin, ตรวจเท้าเบาหวาน รวมถึงการตรวจตา
โดยจกั ษแุ พทยซ์ ่ึงสามารถตรวจเปน็ วนั เดียวกัน ทา้ ให้ผู้ป่วยสะดวกยงิ่ ขนึ
- มี Line official ส้าหรับให้ค้าปรึกษากับผู้ป่วย เพ่ือให้การดูแลเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ซึ่งประกอบด้วยทีมสห
สาขาวชิ าชีพ ตัวอย่างการให้คา้ ปรกึ ษา ไดแ้ ก่ การปรับยาอนิ ซลู นิ จากผลตรวจระดับนา้ ตาลปลายนิว เป็นตน้
ผลลัพธ์ :
จา้ นวนผปู้ ว่ ยทีเ่ ข้ารับบรกิ ารทศี่ ูนย์เบาหวานในปงี บประมาณ 2561 มีจา้ นวน 774 คน, ปงี บประมาณ 2562
มีจา้ นวน 1,204 คน, ปงี บประมาณ 2563 มจี ้านวน 1,062 คน, ปีงบประมาณ 2564 มจี ้านวน 3,421 คน

ร้อยละผู้ป่ วยเบาหวานทค่ี วบคุมระดบั นา้ ตาล HbA1c ไม่มโี รค ร้อยละผ้ปู ่ วยเบาหวานทไ่ี ด้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน
ร่วม < 7%,มโี รคร่วม < 8%

บทเรยี นท่ไี ดร้ บั :
- The Excellent One Stop Center for Integrated Diabetes Care เป็นการพัฒนาระบบการดูแล

ผู้ป่วยเบาหวานแบบไร้รอยต่อ เป็นการท้างานร่วมกันของทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อให้การดูแลรักษาผู้ป่วย
เบาหวานได้ประสทิ ธิภาพดที ่สี ุด เหมาะสมกับผูป้ ่วยแต่ละราย และลดการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น

- สถานที่ให้บริการและการลดระยะเวลารอคอยเป็นสง่ิ สา้ คัญในการท้าใหผ้ ู้เข้ารับบริการเข้าถึงได้งา่ ยไมม่ ี
ขนั ตอนท่ยี งุ่ ยากซับซอ้ นซ่ึงจะทา้ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารพงึ พอใจและคงอยู่ในระบบการรกั ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง
กำรตดิ ต่อกบั ทมี งำน :

พญ.จนิ ตนนั ท์ จงั ศิรพิ รปกรณ์ ต้าแหนง่ นายแพทยช์ ้านาญการ
หนว่ ยงาน ศนู ยเ์ บาหวานและเมตาบอลกิ โรงพยาบาลตากสนิ สา้ นักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร
เบอรโ์ ทรติดตอ่ 02-437-0123 ต่อ 3615-6 Email: [email protected]

8. ช่ือผลงำน/โครงกำรพฒั นำ : Transition Clinic พร้อมจับมอื ไปดว้ ยกนั ก้ำวสวู่ ัยและวนั ทสี่ ดใส

คำสำคญั : เบาหวานชนดิ ท่ี 1, ไร้รอยต่อ, Transition clinic, คลนิ ิก Carb Counting

ภำพรวม :

ปญั หำ

โรคเบาหวานชนิดท่ี 1 เป็นโรคท่ีมักพบในวัยเด็ก เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ ผู้ป่วยและ

ครอบครัวต้องเรียนรู้ diabetes self-management education (DSME) เรียนรู้การบริหารอินซูลิน อาหาร

และกิจวัตรประจ้าวัน เพื่อให้เกิดความสมดุลของระดับน้าตาลในเลือด ป้องกันภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันและ

เรอื รัง เน่อื งด้วยความซับซ้อนของการรักษา จึงตอ้ งมที ีมสหสาขาวชิ าชีพร่วมกันดูแล จากขอ้ มลู ของรพ.ตากสิน

พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 กระจายอยู่ตามคลินิกต่างๆทังในกุมารเวชกรรมและอายุรกรรม โดยไม่มีทีมท่ี

ดูแลเป็นระบบชัดเจน และเม่ือมีการเปล่ียนช่วงวัยจากเด็กมาเป็นผู้ใหญ่ ท้าให้ต้องเปล่ียนคลินิกที่ตรวจรักษา

จะพบปญั หา ไดแ้ ก่ การรกั ษาไม่ต่อเนอื่ ง การควบคมุ ระดับน้าตาลได้แย่ลง เปน็ ตน้

เป้ำหมำย

ยกระดับการรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 โดยดูแลแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ

เพือ่ ใหผ้ ปู้ ่วยและครอบครัวเขา้ ถึงการดูแลรักษาแบบครบวงจร และไร้รอยต่อ เพื่อให้มคี ุณภาพชวี ติ ที่ดีขึน

แนวทำงกำรพฒั นำ

จัดตัง Transition Clinic เพื่อดูแลผู้ป่วยทุกช่วงวัย โดยการรวมทีมสหสาขาวิชาชีพไว้ในจุดเดียวกัน

ตรวจในสถานท่ีเดียวกัน วันและช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อลดขันตอนและความซับซ้อนในการตรวจรักษา เพ่ิม

ประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย เพ่ือให้ผู้ป่วยมีระดับน้าตาลท่ีดี และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนทังแบบเฉียบพลัน

และเรือรัง

สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :

- จัดตัง Transition Clinic ซ่ึงประกอบด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพ ได้แก่
อายุรแพทย์ต่อมไร้ท่อ, กุมารแพทย์ต่อมไร้ท่อ, พยาบาลวิชาชีพ และนัก
ก้าหนดอาหาร โดยได้รวบรวมผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 1 ท่ีอยู่ตามคลินิก
ต่างๆ เข้ามาลงทะเบียนและตรวจรักษา โดยที่ผู้ป่วยจะได้รับทักษะการ
จัดการตนเองในดา้ นต่างๆ เพอื่ ใหผ้ ปู้ ่วยมีศักยภาพในการดูแลตนเองเพ่ือ
ผลการรกั ษาที่ดตี ามเป้าหมาย
- มีการติดตามผู้ป่วยทาง Line official ของศูนย์เบาหวาน เป้าหมายเพ่ือให้การดูแลเป็นไปอย่างต่อเน่ือง,
ผู้ป่วยมีความใกล้ชิดกับทีมที่ดูแล ตัวอย่างการให้ค้าปรึกษาผ่านช่องทาง Line official ได้แก่ การปรับยา
อนิ ซลู นิ จากผลตรวจระดับน้าตาลปลายนวิ , การส่งรปู ภาพอาหารในชีวิตประจ้าวันเพ่ือเรียนรู้การนับคารบ์ เป็น
ตน้
- มีระบบการตรวจภาวะแทรกซ้อนประจ้าปตี ามเกณฑ์มาตรฐาน คอื ตรวจตา, ไต, เท้าทุก 1 ปี
- เม่ือถึงวัยที่เหมาะสม คือ ผู้ป่วยอายุ≥ 18 ปีขึนไป จะได้รับการส่งต่อจากกุมารแพทย์ไปท่ีอายุรแพทย์ โดยมี

การเตรยี มความพร้อม เพ่ือใหผ้ ้ปู ่วยมกี ารปรบั ตัวเปล่ยี นผา่ นช่วงวัย โดยกุมารแพทยจ์ ะตรวจผู้ปว่ ยร่วมกับอายุร

แพทย์ 2 ครัง หลังจากนันจะส่งต่อข้อมูลการรักษาให้อายุรแพทย์เพื่อให้การรักษาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง

เน่ืองจากทีมแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพ ตรวจในคลินิกเดียวกัน จึงท้าให้ผู้ป่วยเกิดความคุ้นเคยกับทีมอยู่

ก่อนแล้ว การปรบั ตวั จึงง่ายขนึ และท้าใหก้ ารดูแลผู้ปว่ ยเป็นไปอยา่ งตอ่ เนื่อง ไร้รอยตอ่

ผลลัพธ์ :

ปีงบประมาณ 2561 2562 2563 2564

ผลลัพธ์ 54 คน 68 คน 64 คน 67 คน

1.ผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 1 ที่ได้รับการให้ 100% 100% 100% 100%

ความรู้ในการดแู ลตวั เอง DSME

(เป้าหมาย 100%)

2.การเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันของ 0 1 คน 0 0

โรคเบาหวานท่ีต้องเข้ารับการรักษาในรพ. (1.5%)

(Diabetes ketoacidosis) (เป้าหมาย <

2%)

3. ผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 1 ที่ได้รับ intensive

insulin therapy 4. ระดบั นา้ ตาล HbA1C เฉล่ียของผู้ป่วยไดต้ ามเป้าหมาย
5. จ้านวนผู้ปว่ ยทีไ่ ด้รบั การสง่ ต่อและระดับ HbA1c ของผู้ปว่ ยทไี่ ดร้ ับการเปล่ียนผ่านจากกุมารแพทยส์ ู่อายุรแพทย์

ผู้ ป่ ว ย เ บ า ห ว า น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง ต่ อ ใ น
ปีงบประมาณ 2561 2 คน, ปี 2562
1 คน, ปี2563 1 คน, ปี 2564 3 คน ซึ่ง
มาติดตามการรักษาต่อเนื่องทุกคนแม้มี
ก า ร เ ป ล่ี ย น ผ่ า น จ า ก วั ย เ ด็ ก สู่ วั ย ผู้ ใ ห ญ่
รวมถงึ ระดับ HbA1c มคี า่ ใกลเ้ คียงเดิม
และอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
บทเรยี นทไ่ี ดร้ ับ :
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบไร้รอยต่อที่ได้มาตรฐานและยั่งยืน ต้องมีการท้างานร่วมกัน
ของทีมสหสาขาวิชาชีพ เพ่ือให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานไดป้ ระสิทธภิ าพดีที่สุด และเหมาะสมกับผ้ปู ่วยแต่
ละราย
กำรตดิ ต่อกับทีมงำน :
พญ.จินตนันท์ จงั ศริ ิพรปกรณ์ ต้าแหน่ง นายแพทยช์ า้ นาญการ
หน่วยงาน ศนู ย์เบาหวานและเมตาบอลกิ โรงพยาบาลตากสิน สา้ นกั การแพทย์ กรงุ เทพมหานคร
เบอร์โทรติดต่อ 02-437-0123 ต่อ 3615-6 Email: [email protected]

9. ชื่อผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : แนวทำงกำรจำหน่ำยผู้ป่วยหำยใจล้มเหลวเรือรังที่ต้องใช้

เคร่อื งชว่ ยหำยใจที่บ้ำน

คำสำคัญ : เครื่องชว่ ยหายใจท่ีบ้าน
ภำพรวม :

ปญั หำ
ผู้ปว่ ยภาวะหายใจล้มเหลวเรือรังทหี่ ย่าเครื่องช่วยหายใจไม่ได้ จากรายงานของโรงพยาบาลตากสิน ใน
ปี พ.ศ.2561-2563 พบผู้ป่วยปีละ 5, 4 และ 2 ราย ส่งผลต่ออัตราการครองเตียง อัตราการครองเตียงอยู่ท่ี 3
เดือนถึง 1 ปี อัตราการติดเชือในโรงพยาบาล ตลอดจนค่าใช้จ่ายในโรงพยาบาลที่เพ่ิมขึน ผู้ป่วยกลุ่มนีจึงมี
ความส้าคัญและจ้าเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องทังขณะอยู่โรงพยาบาล และสนับสนุนให้กลับไปรักษา
ตอ่ ทีบ่ า้ น จากการศกึ ษาพบว่าขอ้ ดีของการใช้เคร่ืองช่วยหายใจท่บี ้านคอื ชว่ ยใหผ้ ู้ป่วยมชี ีวติ ยืนยาวขนึ ชว่ ยเพม่ิ
คุณภาพชีวิต ช่วยใหผ้ ู้ปว่ ยไดม้ คี วามสัมพันธ์ทางสังคมทงั กบั ครอบครัวและชุมชน (สวุ รรณา ชัยกูล, 2558) จาก
การศึกษาประสบการณ์ของผู้ป่วยที่รู้สึกตัวดีและใช้เคร่ืองช่วยหายใจท่ีบ้าน พบว่าบ้านเป็นสถานที่ที่ผู้ป่วยรสู้ กึ
ปลอดภัย และสุขสบายมากกว่าโรงพยาบาล อย่างไรก็ตามการช่วยผู้ป่วยที่ไมส่ ามารถหย่าเคร่ืองช่วยหายใจ ให้
กลับไปใช้เครื่องช่วยหายใจท่ีบ้านได้อย่างปลอดภัยนัน ผู้ดูแลถือว่ามีความส้าคัญในการช่วยเหลือผู้ป่วยได้รับ
การดูแลอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ การวางแผนการจ้าหน่ายที่ดีถือเป็นอีกปัจจัยหน่ึงที่ช่วยให้การดูแลผู้ป่วย
ใช้เครื่องช่วยหายใจที่บ้านประสบความส้าเรจ็ (สุวรรณา ชัยกูล, 2558) แนวทางการจ้าหน่ายท่ีมีประสิทธิภาพ
จะท้าให้ทีมสขุ ภาพสามารถดแู ลผ้ปู ่วยได้อย่างตอ่ เน่ือง
เป้ำหมำย
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวเรือรังกลับไปใช้เครื่องช่วยหายใจท่ีบ้านได้ ปลอดภัย ไม่เกิด
ภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตลอดจนเป็นการพัฒนาระบบคุณภาพการบริการด้านสุขภาพของ
โรงพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยภายหลังออกจากโรงพยาบาล ลดความแออัดและอัตราการครองเตียงรวมทัง
สนับสนุนให้มกี ารดแู ลทบี่ ้านและมรี ะบบการดูแลต่อเนือ่ ง
แนวทำงกำรพัฒนำ
1. จดั ตังทมี งานสหสาขาวิชาชีพ กา้ หนดบทบาทหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
2. ประชุมทีมงานจัดท้าแผนปฏิบัติการ และก้าหนดระบบการจัดเก็บข้อมูล ประกอบด้วยตัวชีวัด
คุณภาพ แบบบันทึกขอ้ มูล
3. จัดท้าคู่มือ/แนวทางการการดูแลสา้ หรบั ผู้ดูแล แบบประเมินความรแู้ ละทักษะการดูแลผู้ปว่ ยของ
ญาติ แบบบันทึกการเย่ียมผูป้ ่วย แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผูป้ ว่ ยและญาติ แบบฟอร์มกา้ กับการพจิ ารณา
จา้ หน่ายผปู้ ว่ ยกลับไปใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจท่บี า้ น และแบบบนั ทึกการหย่าเครื่องชว่ ยหายใจท่บี ้าน
4. ก้าหนดแนวทางการซือหรือให้ยืมเครื่องช่วยหายใจอุปกรณ์ทางการแพทย์และแนวทางการขอ
คา้ ปรกึ ษาเม่อื ญาตผิ ู้ดูแลพบปญั หาขณะอยทู่ ี่บ้าน
5. ปฏิบัติงานตามแนวทางการที่ก้าหนดโดยประสานงานกับแพทย์เจ้าของไข้ร่วมกับอายุรแพทย์โรค
ทางเดินหายใจประเมนิ และวินิจฉัยการไม่สามารถหย่าเคร่ืองช่วยหายใจได้ความพร้อมของร่างกายและจิตใจใน
การทจ่ี ะกลับไปใชเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจทีบ่ า้ น
6. พยาบาลศูนย์เครื่องมือแพทย์ พยาบาลเจ้าของไข้ประจ้าหอผู้ป่วย และทีมสหสาขาวิชาชีพร่วม
พัฒนาทักษะการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแลจากนันพยาบาลเจ้าของไข้ประจ้าหอผู้ป่วยจะประเมินทักษะผู้ดูแลด้วย
แบบประเมินความพร้อมของญาตใิ นแตล่ ะกจิ กรรมการดแู ลจนกว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมนิ
7. ส่งผปู้ ว่ ยกลบั บ้านโดยพยาบาลเจ้าของไข้ และพยาบาลศูนย์เคร่อื งมือแพทย์

8. ติดตามเย่ียมบ้านโดยพยาบาลหนว่ ยเย่ียมบ้าน และพยาบาลศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ตลอดจนทีมสห
สาขาวิชาชีพ และประสานงานเครือข่ายชุมชนร่วมดูแลเย่ียมบ้านผู้ป่วยตามเวลาท่ีก้าหนดโดยสัปดาห์แรก 1
ครัง และเย่ียมเดือนและครังตลอดไป ประเมินผลการดูแล ความพึงพอใจตลอดจนปัญหาของผู้ป่วยและญาติ
ผู้ดแู ลสรปุ แนวทางการส่งผู้ป่วยกลับบ้านไปใชเ้ คร่อื งชว่ ยหายใจท่ีบ้านโรงพยาบาลตากสิน
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :

การพัฒนา แนวทางการดูแลผู้ป่วยใช้เคร่ืองช่วยหายใจท่ีบ้าน เร่ิมจากทีมสหสาขาวิชาชีพประกอบด้วย
แพทย์เจ้าของไข้ อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินหายใจ พยาบาลประจ้าหอผู้ป่วย ศูนย์เครื่องมือแพทย์ แพทย์
และพยาบาลอนามยั ชุมชน มีความตอ้ งการให้ผู้ป่วยหายใจล้มเหลวเรือรงั ที่ต้องใชเ้ ครื่องช่วยหายใจกลบั บ้านได้
อยา่ งปลอดภยั

เร่ิมด้าเนินการครังแรกในปี 2562 ผู้ป่วยรายแรกของโครงการดูแลโดยศูนย์ดูแลผู้ป่วยพระราม 2
พยาบาลศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ได้เข้าไปให้ความรู้ผู้จัดการศูนย์และผู้ดูแล รายต่อมาให้ความรู้ญาติผู้ดูแล ให้มี
ความม่ันใจในการดูแลผู้ป่วยมากย่ิงขึน ปรับปรุงแนวทางการดูแลครังที่ 1 คือเพ่ิมช่องทางการติดต่อพยาบาล
ศูนย์เครื่องมือจากโทรศัพท์ เป็นการส่ือสารด้วย VDO conference และมีปัญหาในการรับผู้ป่วยไว้ใน
โรงพยาบาลแล้วหน่วยงานไม่แจ้งให้ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ทราบ จึงเพิ่มการรายงานเมื่อผู้ป่วยมาโรงพยาบาลให้
แจ้งพยาบาลศูนย์เครื่องมือแพทย์ทุกครัง ปรับปรุงแนวทางการดูแลครังที่ 2 เครื่องมือแพทย์ท่ีใช้กับผู้ป่วยต้อง
ได้รับการบ้ารุงรักษา ในรายท่ียืมเคร่ืองมือแพทย์จากโรงพยาบาลไป พยาบาลศูนย์เครื่องมือแพทย์ด้าเนินการ
เปลีย่ นเคร่ืองเพือ่ นา้ เครอ่ื งกลับมาบ้ารุงรักษา ในรายที่ซือเครือ่ งมอื แพทย์จากบริษทั กา้ ชบั และตดิ ตามให้บริษัท
เข้าไปบ้ารงุ รักษาตามก้าหนด ปรับปรุงแนวทางการดูแลครังที่ 3 ในปีพ.ศ.2563 มกี ารระบาดของเชือไวรัสโคโร
นา 2019 ท้าให้ไม่สามารถไปเยี่ยมบ้านผู้ป่วยได้ ใช้วิธีให้ผู้ดูแลรายงานอาการผู้ป่วยส่งมาให้พยาบาลศูนย์
เคร่ืองมอื แพทยเ์ ดอื นละ 1 ครงั
ผลลพั ธ์ :

- ตังแต่เร่ิมโครงการสามารถจ้าหน่ายผู้ป่วยที่ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวเรือรังกลับไปใช้เคร่ืองช่วย
หายใจท่ีบ้านได้ ปลอดภัย ไมเ่ กิดภาวะแทรกซ้อนทงั หมด 12 ราย

- ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวเรอื รังกลับไปใช้เคร่ืองช่วยหายใจท่ีบ้านสามารถหย่าเคร่ืองช่วยหายใจได้ 3
ราย

- ปัจจุบนั มีผู้ปว่ ยในโครงการทงั หมด 3 ราย
บทเรยี นทีไ่ ดร้ บั :

การกลบั ไปใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจท่บี ้านได้อยา่ งถูกต้อง ปลอดภัย เป็นการสนบั สนนุ ให้ผูป้ ว่ ยและครอบครัว
มีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง ตลอดจนเป็นการพัฒนาระบบคุณภาพการบริการด้านสุขภาพของโรงพยาบาลใน
การดูแลผู้ป่วยภายหลังออกจากโรงพยาบาล และการกลับไปอยู่ท่ีบ้านสอดคล้องกับกลยุทธ์ของโรงพยาบาลใน
การเข้าสู่ศูนย์ความเป็นเลิศ (Excellence center) ซ่ึงไม่ได้เป็นเพียงการรับผู้ป่วย เพ่ือเข้ารับการรักษาท่ี
ซับซ้อนเท่านันแต่ยังมีการลดความแออัดและอัตราการครองเตียงโดยผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษาและอาการทุเลา
แล้วส่งต่อรักษาใกล้บ้านหรือโรงพยาบาลเครือข่าย รวมทังสนับสนุนให้มีการดูแลที่บ้านและมีระบบการดูแล
ต่อเนอื่ ง
กำรติดตอ่ กบั ทมี งำน :
ชื่อ-สกลุ นางสาวอุดมลกั ษณ์ สุมขุนทด ต้าแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพช้านาญการ
หนว่ ยงาน ศูนยเ์ ครื่องมอื แพทย์
โทรศัพทม์ อื ถอื 0632291551 Email [email protected]

10. ช่ือผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : กำรพัฒนำระบบจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหำยใจ
ในหอผปู้ ว่ ยสำมัญ

คำสำคญั : ระบบจดั เกบ็ ข้อมลู , ผู้ปว่ ยทีใ่ ช้เคร่ืองช่วยหายใจ
ภำพรวม :

ปัญหำ
ศูนย์เครื่องมือแพทย์โรงพยาบาลตากสินเป็นหน่วยให้บริการดแู ลผปู้ ่วยขณะใส่เคร่ืองช่วยหายใจใน

หอผู้ป่วยสามัญ หย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับทีมสหวชิ าชพี และพยาบาลประจ้าหอผู้ปว่ ย การจัดท้าเอกสาร
ประกอบการเบิกจ่ายคา่ ตอบแทนให้กับหอผูป้ ่วยสามญั รวบรวมสถติ ิการใช้เครอ่ื งชว่ ยหายใจในหอผู้ปว่ ยสามัญ
ทังหมด โดยพยาบาลศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ท้าการลงบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึกข้อมูลผู้ป่วยของศูนย์เคร่ืองมือ
แพทย์ และบนั ทึกลงในแฟ้มประวัติผู้ปว่ ยทีห่ อผปู้ ่วย แล้วน้าขอ้ มูลแต่ละรายมาลงในคอมพวิ เตอร์ เพือ่ นับและ
ท้าสถิติผู้ป่วยรวมถึงจัดท้าเอกสารเพ่ือเป็นหลักฐานประกอบการเบิกจา่ ยเงินค่าตอบแทนใหแ้ ก่พยาบาลประจ้า
หอผูป้ ่วยท่ดี ูแลผู้ปว่ ยท่ีใชเ้ คร่ืองชว่ ยหายใจ เพื่อประกอบการเบิกจ่ายค่าตอบแทน เมอื่ ตอ้ งการสถิตแิ ต่ละครัง
จะต้องนับใหม่ทีละราย ท้าให้เสียเวลา เพิ่มภาระงานของบุคลากรส่งผลให้ข้อมูลจริงของผู้ป่วยคลาดเคล่ือน
หรือเกิดความผิดพลาด เช่น สถิติการใช้เครื่องช่วยหายใจ, สถิติจ้านวนวันครองเคร่ืองช่วยหายใจ สถิติการเกิด
ปอดอักเสบจากการใช้เคร่ืองช่วยหายใจ ผู้วิจัยมีความต้องการที่จะพัฒนางานให้เรียบง่าย ลดขันตอนการ
ท้างาน และเพ่ิมความถูกต้องของข้อมูลตลอดจนสามารถเรียกดูข้อมูลท่ีจ้าเป็นได้อย่างรวดเรว็ และแม่นย้า โดย
การน้าเทคโนโลยีใกล้ตัวมาใช้ ซ่ึงพัฒนาในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชันที่จัดเก็บข้อมูลด้วยระบบฐานข้อมูล และ
แสดงผลผ่านทางเว็บบราวเซอร์ เพื่อช่วยจัดการระบบจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยให้เป็นระบบ ครบถ้วน สะดวก
เรียบร้อย และสามารถเรยี กใชง้ าน สรุปผล วเิ คราะห์ และจดั ท้าสถิติได้อยา่ งรวดเรว็

เปำ้ หมำย
โรงพยาบาลตากสนิ มีระบบการจัดเกบ็ ข้อมลู ผู้ป่วยท่ีใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ปว่ ยสามญั ออนไลน์

ใช้เพ่ือเป็นฐานข้อมูลสามารถดึงข้อมูลมาใช้ได้ทันที เช่น สถิติการใช้เคร่ืองช่วยหายใจ สถิติจ้านวนวันครอง
เครื่องช่วยหายใจ จัดท้าเอกสารเพ่ือเป็นหลักฐานประกอบการเบิกเงินค่าตอบแทนให้แก่พยาบาลประจ้าหอ
ผู้ป่วย

แนวทำงกำรพัฒนำ
1. วิเคราะห์ขันตอนการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยท่ีใช้เคร่ืองช่วยหายใจในหอผู้ป่วยสามัญโรงพยาบาล

ตากสินแบบเดมิ จนถึงการน้าขอ้ มูลท่ไี ด้จดั เก็บนนั ไปใช้ประโยชนอ์ ะไรบ้าง
2. นา้ ขนั ตอนการเก็บข้อมูลของผู้ปว่ ยทใ่ี ช้เครื่องชว่ ยหายใจในหอผู้ปว่ ยสามัญโรงพยาบาล ตากสิน

แบบเดิมท่ีวิเคราะห์ได้มาวางแผน จัดหมวดหมู่ และเขียนชุดค้าสั่งโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ MySQL คือ
โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล มีหน้าท่ีเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยใช้ภาษา PHP เพื่อให้ได้ระบบงานท่ี
รองรับความต้องการเก็บไว้ในบริการเว็บ (Web Server) เพ่ือท้าการใส่ข้อมูลและแสดงผลผ่านทางเว็บ
บราวเซอร์

1) วางแผนเขียนโปรแกรมการจดั เก็บข้อมูล รว่ มกับสหสาขาวชิ าชพี
2) ขันปฏบิ ัตนิ า้ แผนทไ่ี ด้มาใช้งาน
3) สังเกตผลการเปล่ียนแปลง
4) สะท้อนผลการปฏิบัตงิ านถอดบทเรียน หาข้อมูลสรปุ รว่ มกัน และนา้ มาปรบั ปรงุ
3. เปรยี บเทียบระหว่างการจัดเก็บข้อมูลแบบเดมิ และการจัดเก็บข้อมลู แบบใหม่
4. น้าข้อมลู ที่ได้จากการพัฒนารูปแบบการจัดเกบ็ ข้อมลู ผู้ปว่ ยทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจมาใช้

สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :
การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ใช้เคร่ืองช่วยหายใจในหอผู้ป่วยสามัญออนไลน์เกิดจาก ผู้วิจัย

มีความต้องการท่ีจะพัฒนางานให้เรียบง่าย ลดขันตอนการท้างาน และเพ่ิมความถูกต้องของข้อมูลตลอดจน
สามารถเรยี กดูข้อมลู ท่ีจ้าเป็นได้อย่างรวดเร็วและแมน่ ย้า โดยการน้าเทคโนโลยีใกล้ตัวมาใช้ เรม่ิ ด้าเนินการครัง
แรกในปี พ.ศ.2563 พัฒนารูปแบบเว็บแอปพลิเคชันที่จัดเก็บข้อมูลด้วยระบบฐานข้อมูล และแสดงผลผา่ นทาง
เวบ็ บราวเซอร์ หลังใช้งานมีปัญหาการลงข้อมูลไม่ถูกต้อง ทา้ ใหผ้ ลการวเิ คราะห์ข้อมูลผิดพลาด ในระยะแรกจึง
ยังลงข้อมลู ควบคู่กนั ในสมุดบันทึกและเวบ็ แอพพลเิ คชนั่ และให้ความรู้ผใู้ ชเ้ ว็บแอพพลเิ คชน่ั มีการทวนสอบกับ
ระบบ HIS ว่าขอ้ มูลตรงกนั การปรับปรุงครังท่ี 2 มปี ญั หาการเช่อื มโยงขอ้ มูลของผูป้ ่วยรายเดิมแตย่ า้ ยหอผู้ป่วย
จงึ พัฒนารปู แบบเวบ็ แอปพลเิ คชนั ใหส้ ามารถเช่อื มโยงฐานข้อมลู การยา้ ยหอของผปู้ ว่ ยได้

ปัจจุบันศูนย์เครื่องมือแพทย์ใช้ระบบการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยท่ีใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยสามัญ
ออนไลนท์ ี่พฒั นาขนึ สามารถจดั ท้าเอกสารประกอบการเบิกจ่ายคา่ ตอบแทนให้กบั หอผปู้ ว่ ยสามญั รวบรวมสถติ ิ
การใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยสามัญทังหมดสามารถเรียกข้อมูลได้ทันที ข้อมูลท่ีได้มีความถูกต้อง
ไม่มอี ุบัติการณ์เบิกค่าเคร่อื งชว่ ยหายใจลา่ ช้า
ผลลพั ธ์ :

โรงพยาบาลตากสินมีระบบการจัดเก็บขอ้ มลู ผู้ปว่ ยทีใ่ ชเ้ คร่ืองช่วยหายใจในหอผปู้ ว่ ยสามัญออนไลน์
บทเรยี นที่ได้รับ :

การพัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยสามัญโรงพยาบาลตากสิน
สามารถ ลดภาระงานในการลงข้อมูลท่ีซ้าซ้อน ใช้เวลานาน ใช้บุคลากรหลายฝ่ายในการจัดเก็บ การวิเคราะห์
ท้าให้พยาบาล ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ได้มีเวลาในการดูแลผู้ป่วยอย่างเต็มท่ี ข้อมูลที่ได้มีความแม่นย้าสามารถ
น้ามาตอ่ ยอดในการดูแลผู้ปว่ ยได้ รวมทังพยาบาลประจ้าหอผู้ป่วยไดร้ ับคา่ ตอบแทนเร็วขึน
กำรตดิ ต่อกับทมี งำน :
ช่อื -สกุล นางสาวอดุ มลักษณ์ สุมขุนทด ต้าแหนง่ พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ
หนว่ ยงาน ศนู ยเ์ ครือ่ งมอื แพทย์
โทรศัพท์มือถอื 0632291551 Email [email protected]

11. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : ลดระยะเวลำ สรำ้ งคุณค่ำระหวำ่ งรอคอย

คำสำคัญ : ลดระยะเวลา คณุ ค่า
ภำพรวม : ปัญหำ การรอตรวจของผู้ป่วยนอกใช้เวลาในแต่ละขันตอนค่อนข้างนาน เน่อื งจากผู้รับบริการมาก ทัง
เกิดความแออัดและเส่ียงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ ซึ่งท้าให้ผู้มารับบริการเกิดความไม่พึงพอใจ อีกทัง
ผู้ป่วยไม่ได้รับการตรวจตามเวลาท่ีเหมาะสม คลินิกเบาหวาน ความดัน ไขมัน เปิดให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วย
เบาหวานทุกชนิด ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ทุกราย ชนิดที่ 2 ท่ีไม่สามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ตาม
เป้าหมาย ผ้ปู ว่ ยเบาหวานขณะตังครรภ์ และเบาหวานจากสาเหตุอื่น ๆ เปิดบริการในวนั พุธ เวลา 8.00 -12.00 น.
จ้านวนผู้ป่วยประมาณ 30-40 ราย/วัน โดยอายุรแพทย์สาขาต่อมไร้ท่อ 2 คน การให้บริการ ได้แก่ การตรวจ
รักษา การให้ค้าแนะน้าการดูแลตนเอง เพ่ือให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเอง ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยจาก
ภาวะแทรกซ้อน ซง่ึ ใชเ้ วลาในการตรวจรกั ษาในผู้ปว่ ยแต่ละรายไม่เทา่ กันขนึ อยู่กับปัญหาและความต้องการของ
แตล่ ะคน โดยยึดผ้ปู ว่ ยเปน็ ศูนยก์ ลาง ขนั ตอนการรบั บรกิ ารเดมิ ตาม flow ดังนี

ยนื่ บตั ร /ตรวจสอบสทิ ธ์ิ วางใบนดั ในตะกร้า รอรับบัตรคิว จะแจกตามชว่ งเวลา พยาบาลซกั ประวตั ิ และสง่ ชื่อเข้า
หน้าห้องตรวจอายรุ กรรม และแยกแต่ละคลินิก หอ้ งตรวจ
ตามชว่ งเวลา ใชเ้ วลา
20-30
ใชเ้ วลา 30- 1 ชวั่ โมง ใชเ้ วลา 10-15 นาที นาที/คน

รอรับยา และกลบั บ้าน รอใบนัด/ใบสัง่ ยา รอเข้าพบแพทย์

ใช้เวลา 30-40 นาที ใช้เวลา 10-15 นาที

จะเห็นได้ว่า ช่วงเวลาการใช้บริการเฉลี่ย ประมาณ 140 นาที หรือ 2.30 ช่ัวโมง/คน ผู้รับบริการเกิดความไม่พึง

พอใจ ไม่เขา้ ใจกระบวนการตรวจ และมคี วามกังวลกับคิวท่รี อตรวจ จากปัญหาดังกล่าว ศูนย์เบาหวานจึงได้ท้า

โครงการ “ลดระยะเวลา สร้างคุณค่าระหว่างรอคอย” ขึน เพื่อให้การให้บริการท่ีรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และ

ผรู้ ับบรกิ ารเกดิ ความพงึ พอใจ

เปำ้ หมำย 1. เพอื่ ลดระยะเวลาการรอรับคิว 2. สรา้ งคณุ คา่ ระหวา่ งรอตรวจ 3. ผูร้ บั บรกิ ารพงึ พอใจ

แนวทำงกำรพัฒนำ
ครังท่ี 1 1. วางแผนการดา้ เนินงาน ได้แก่ ประชุมทีมเพ่ือศึกษาขันตอนการเข้ารบั บริการของผู้ป่วย โดยพบว่า
ผ้ปู ่วยรอรบั คิวนาน จากการรอรับควิ จากจดุ แจกคิวของอายุกรรมก่อนมาซักประวัติกบั พยาบาลท่ีศนู ยเ์ บาหวาน

2. ด้าเนินการจัดท้านวตั กรรม ได้แก่ ประสานแผนกอายุรกรรมและจัดระบบการเข้าบริการของคลินิก
เบาหวานฯใหม่ และเพิ่มเคร่ืองวัดความดันโลหิต ส้าหรับผู้ป่วยที่ต้องวัดซ้า ไม่ต้องเดินไปมาท้าให้เสียเวลา
เพมิ่ ขนึ

3. ติดตามประเมินผล พบว่า ผู้ป่วยพึงพอใจกับระยะเวลาที่สะดวกขึน แต่พบว่า ผู้ป่วยมีตรวจเลือดใน
วันท่ีมาพบแพทย์ต้องรอคิวนานโดยไม่ทราบสาเหตุ ถูกข้ามคิวไม่ทราบสาเหตุที่รอนาน และช่วงเวลาท่ีรอพบ
แพทย์ ใช้เวลานานในผู้ป่วยแตล่ ะรายไม่เทา่ กนั

4. ด้าเนินการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม ได้แก่ จัดท้าแนวทางการส่งผู้ป่วยตรวจเลือดก่อนนัด
1-2 วัน ช่วงรอพบแพทย์จดั กิจกรรมส่งเสริมความรู้การตรวจเทา้ +ABI ตรวจทนั ตกรรม ทบทวนการฉดี อินซูลิน
การควบคุมอาหาร

ครังท่ี 2 1. วางแผนการด้าเนินงาน ได้แก่ วางแผนพัฒนาเพ่ิมเติมช่วงรอพบแพทย์ แจ้งเตือนผู้ป่วยที่รอผล
เลอื ดก่อนพบแพทย์ และทบทวนช่วงเวลา พบมชี ่วงเวลาท่ีเสยี เปล่าอีก 1 จดุ คือ ช่วงรอพิมพ์ใบนัด

2. ด้าเนินการจัดท้านวัตกรรม ได้แก่ จัดท้าป้ายบอกคิวที่รอผลตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ จัดท้าบัตรคิว
ที่สอดแทรกความรู้เก่ียวกับเบาหวาน + QR CODE ให้ผู้ป่วยได้ศึกษาช่วงรอตรวจ เพ่ิมช่องทางแจ้งเตือนผปู้ ่วย
เมื่อใกล้ถึงคิวตรวจ แนะน้าผู้ป่วยชว่ งรอตรวจสามารถท้ากิจกรรมอ่ืนได้ตามอัธยาศัย โดยแจ้งเบอร์โทรศัพท์ติด
ต่อเมอ่ื ใกลถ้ ึงควิ จะโทรตาม และพมิ พใ์ บส่ังยาให้ผู้ปว่ ยไปรับยาทันทีที่ออกจากห้องตรวจ แล้วคอ่ ยกลับมารับใบ
นดั ก่อนกลับบา้ น สรุป flow การรบั บริการของผู้ปว่ ยเบาหวาน คลินิกเบาหวานแบบใหม่ ดงั นี

ยื่นบัตร /ตรวจสอบสทิ ธิ์ วางใบนัดในตะกร้า พยาบาลซักประวัติ แจกบัตรคิว รอเข้าพบแพทย์

ของคลินิกเบาหวาน(แยก) และสง่ ช่ือเข้าห้องตรวจ (แยกรอ ใช้เวลา 20-30 นาที/
ผลเลือด/มีผลเลือดแล้ว) คน
ใช้เวลา 10-15 นาที
-รับใบนดั /กลบั บ้าน รับใบสง่ั ยา /ไปรับยา
ลดระยะเวลำรบั ควิ /ซักประวตั ิ

ใชเ้ วลา 30-40 นาที ใชเ้ วลา3-5 นาที
พิมพใ์นบาสทั่งยี ำ หลังพบแพทยท์ ันที
สร้ำงคณุ คำ่ รอตรวจ– กิจกรรมส่งเสรมิ ควำมรู้

สำระสำคัญของกำรพัฒนำ : (ลดเวลำรอใบนัด) - บัตรคิวแนวใหม่ / บริกำรแจง้ ใกลถ้ ึงคิว

เป็นกระบวนการพัฒนาที่มุ่งเน้นการตอบสนองผลลัพธ์ที่ให้แก่ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการโดยตรง การลด

ระยะเวลาการรอคอยจะเป็นการช่วยให้ผู้ปว่ ยหรือผู้มารับบริการต้องใช้เวลาในการอยู่โรงพยาบาลให้น้อยที่สุด

เท่าที่จ้าเป็น เน่ืองจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรกั ษาท่ีคลินิกนี ส่วนใหญ่เป็นผสู้ ูงอายุ หญิงตังครรภ์ ซ่ึงการมารับการ

ตรวจที่โรงพยาบาลจะต้องมีผู้ดูแล ดังนัน เพ่ือเป็นการลดภาระของญาติที่ต้องพาผู้ป่วยมาตรวจในแต่ละครัง

ตลอดจนลดความเสี่ยงในการอยู่ในท่ีแออัดเป็นระยะเวลานาน ทีมจึงได้จัดท้าโครงการดังกล่าวนีขึน อีกทังใน

กระบวนการที่มีความจ้าเป็นในขันตอนการรักษาต่าง ๆ ที่ต้องใช้เวลารอคอย ทีมจะจัดกิจกรรมเพิ่มเติม เช่น

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การให้ความรู้การดูแลตนเอง ทบทวนการฉีดอินซูลิน การควบคุมอาหาร

เ พ่ื อเ พ่ิ มคุณค่าให้ ผู้ ป่ ว ย ได้ รั บ ป ร ะโ ย ช น์ มากยิ่ งขึนให้ คุ้มค่าต่ อการ เ สี ยเ ว ลาใน การ รอคอย ของผู้ ป่ ว ย หรือ

ผู้รับบริการทตี่ ้องมาโรงพยาบาล

ผลลพั ธ์ : 1. ลดระยะเวลารอตรวจ ตงั แต่การรอรับคิวจนถึงรบั ยากลบั บ้าน ลงได้ประมาณ 60 นาที หรือ 1 ช่วั โมง

2. ร้อยละของผปู้ ว่ ยทม่ี ีระยะเวลารอคอยการตรวจไมเ่ กนิ 2 ช่วั โมง

100 97.43

80 61.5 2.5 ไมเ่ กิน 2 ชม
60 มากกวา่ 2 ชม.
40 35.89 หลงั การพฒั นา

20

0

กอ่ นการพฒั นา

3. ผู้รับบริการมีความพงึ พอใจ 100 %

บทเรียนทไี่ ดร้ ับ :
การพัฒนากิจกรรม “ลดระยะเวลา สร้างคุณค่าระหว่างรอคอย” ท้าให้เกิดการเรียนรู้ในการน้าปัญหา

ท่ีเกิดขึนวิเคราะห์ ค้นหาและปรับปรุงแนวทางท่ีเหมาะสมกับผู้ป่วย บุคลากรมีการท้างานร่วมกันเป็นทีมและ
เกดิ การเรียนร้ใู น การพัฒนางานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
กำรติดต่อกับทีมงำน : พว.จารุภัณฑ์ กุลเสถียร พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ, พว.ดาลิณี ส่งแสง พยาบาล
วิชาชีพช้านาญการ และ พว.ชิดสุภางค์ ไชโย พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ หน่วยงาน ปรึกษาสุขภาพ/
ศนู ยเ์ บาหวาน โทรศัพทม์ ือถอื 081 5656012 Email [email protected]

12. ชอ่ื ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : กำรพัฒนำสือ่ กำรเรยี นรู้กำรดูแลตนเองของหญงิ ตงั ครรภ์ ท่ี
เปน็ เบำหวำน

คำสำคญั : สอื่ การเรียนรู้ หญิงตงั ครรภ์เบาหวาน
ภำพรวม : ปัญหำ เบาหวานขณะตังครรภ์เกิดจากการท่ีมีภาวะดือต่ออินซูลินมากขึนในระหว่างตังครรภ์ ซึ่งจะท้า
ใหร้ ะดับน้าตาลในเลอื ดสูงกวา่ ปกติ มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอ้ นกบั มารดาและทารก ได้แก่ ภาวะครรภ์เป็นพิษ
ครรภแ์ ฝดนา้ การตดิ เชอื การแท้งบตุ ร ทารกมีความพิการแต่กา้ เนิดและมีภาวะเด็กตัวโตได้ ดังนัน การควบคุม
ระดับน้าตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด จะช่วยลดภาวะเส่ียงดังกล่าวได้ จากสถิติการมารับบริการของ
มารดาตังครรภ์ของ ศูนย์เบาหวาน ในปี 2562 - 2564 มีจ้านวน 257, 470 และ 590 ราย ตามล้าดับ ดังนัน
การลดภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานขณะตังครรภ์มารดาจ้าเป็นต้องมีความรู้และทักษ ะในการดูแลตนเอง
ได้แก่ การควบคุมอาหาร การฉีดอนิ ซลู ิน การตรวจน้าตาลปลายนวิ จากขอ้ มลู ให้บริการส่งเสรมิ ความรู้แก่หญิง
ตังครรภ์ที่เป็นเบาหวาน ในปี 2562 – 2563 พบปัญหาว่า ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการตรวจน้าตาลปลาย
นิว(Self-monitoring of blood glucose: SMBG ) และการลงบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่มั่นใจในการฉีด
อนิ ซูลิน จ้าขนั ตอนการฉดี อนิ ซูลินไม่ได้ ซึง่ พบว่าสว่ นหน่ึง หญงิ ตังครรภเ์ ป็นชาวต่างชาตไิ ม่สามารถสื่อสารเป็น
ภาษาไทยได้ จดจ้าขันตอนต่างๆไม่ได้ ท้าให้ใช้เวลาในการสอนไม่เท่ากัน โดยเฉล่ียหญิงตังครรภ์ชาวไทยใช้เวลา
ในการเรียนรู้ 20 - 30 นาที/ราย ชาวต่างชาติใชเ้ วลา 45 - 50 นาที/ราย ดังนัน ทีมจึงได้พัฒนาสอื่ การเรียนรู้การ
ดแู ลตนเองของหญิงตังครรภ์ท่เี ป็นเบาหวานขึน เพ่ือใชเ้ ปน็ สอื่ การสอนและมารดาสามารถนา้ กลับไปทบทวนได้
ดว้ ยตนเอง เพอื่ ใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการดแู ลตนเองทถี่ ูกตอ้ ง ปลอดภัยจากภาวะแทรกซอ้ น
เป้ำหมำย 1 เพอ่ื พัฒนารูปแบบส่ือการเรยี นรู้สา้ หรบั การดแู ลตัวเองในหญงิ ตังครรภท์ ่เี ป็นเบาหวาน

2. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการฉีดอินซูลิน และการตรวจนา้ ตาลปลายนวิ ของหญิงตังครรภเ์ บาหวานได้ถูกต้อง
แนวทำงกำรพฒั นำ
ครังที่ 1 1. วางแผนการด้าเนนิ งาน ได้แก่ ประชุมทีมศูนย์เบาหวาน ค้นหาปัญหาเก่ียวกับการดูแลตนเองของ
หญงิ ตงั ครรภ์ ศึกษาค้นควา้ เอกสาร ตา้ ราต่าง ๆ วางแผนจัดทา้ สอ่ื การเรยี นรู้ และก้าหนดกลุ่มเปา้ หมาย

2. ด้าเนินการจัดท้านวัตกรรม ได้แก่ ภาพพลิกความรู้โรคเบาหวานขณะตังครรภ์ การควบคุมอาหาร
การรักษา ภาวะแทรกซ้อน จัดหาอปุ กรณ์ส้าหรับฝึกทกั ษะการฉดี อินซูลนิ การตรวจน้าตาลปลายนิว และสมุด
บันทกึ SMBG

3. ติดตามประเมินผล พบว่า จดบนั ทกึ การท้า SMBG ไมถ่ กู ตอ้ ง เนอื่ งจากวธิ ีการตรวจมหี ลายขันตอน
ไม่ม่ันใจการฉีดยา ลืมขันตอน แปลผลค่าน้าตาลไม่เป็น แผ่นตรวจเสียหยดเลือดไม่ถูกวิธี ไม่เข้าใจการใช้เข็ม
เจาะเลือด

4. ด้าเนินการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม ได้แก่ จัดท้าวีดีโอสอนสาธิตการฉีดอินซูลิน/ การตรวจ
น้าตาลปลายนวิ และปรบั ปรุงสมุด log book
ครังท่ี 2 พบว่า ยงั มีหญงิ ตงั ครรภ์ฉีดอินซูลิน/จดบันทึกสมุด SMBG ไม่ถูกตอ้ ง ส่วนใหญพ่ บวา่ เปน็ ชาวตา่ งชาติ
เนอื่ งจากเกิดความสบั สนการลงข้อมลู ในตาราง ผ้ปู ่วยไม่ม่นั ใจการฉีดยาเจาะเลือด อยากไดส้ ่ือวีดโี อกลับไปทบทวนท่ีงาน

1. วางแผนการด้าเนินงาน ได้แก่ ค้นหาวิธีท้า QR code ปรับปรุงสมุด log book /วีดีโอตรวจน้าตาล
ปลายนวิ

2. จัดท้านวัตกรรม ได้แก่ ปรับปรุง log book / ท้า QR code วิดีโอติดแผ่นพับ/การตรวจน้าตาล
ปลายนิวใหม่

3. ติดตามประเมนิ ผล พบว่า ฉีดอินซลู ินไม่ถกู ตอ้ ง ส่วนใหญ่เปน็ ตา่ งชาตจิ ากลมื ขันตอน/เจาะผดิ เวลา

4. ด้าเนินการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม ได้แก่ แปลภาษาเพื่อเพิ่มสื่อวีดีโอเป็นภาษาไทย อังกฤษ
และพม่า (เนือ่ งจากเป็นกลมุ่ ผูป้ ่วยท่ีมารับบรกิ ารมากกว่ากล่มุ ชาติอื่น ๆ) และเพิ่มคา้ แนะนา้ ใน log book
ครังท่ี 3 1. วางแผนการด้าเนินงาน ได้แก่ ปรับปรุงวิดีโอ เพิ่มช่องทางการส่ือสาร และติดตามผล โดยใช้
application

2. ด้าเนินการจัดท้านวัตกรรม ได้แก่ ปรับปรุงวีดีโอการสอนฉีดอินซูลิน การตรวจน้าตาลปลายนิว
3 ภาษาไทย อังกฤษและพม่า พร้อม QR code ปรับปรุงสมุด SMBG เพ่ิมตารางบันทึกอาหารเพ่ือมาวิเคราะห์
ระดบั นา้ ตาลที่ เกินเกณฑ์เป้าหมายให้เรยี นรวู้ ่า ประเภทและปรมิ าณอาหารที่รบั ประทานในแตล่ ะมือเหมาะสม
หรือไม่ และท้าวิดีโอสอนวิธีการจดบันทึกที่ถูกต้องตามเวลาท่ีก้าหนดเป็นภาษาพม่าและภาษาอังกฤษและ
QR code เพมิ่ เตมิ
ตวั อยา่ ง

SMBG Instant Ver. Burmese Log book ปรบั 3 ภำษำ

สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :
เบาหวานในหญิงตังครรภ์จะมภี าวะดือต่ออนิ ซูลินมากขนึ สง่ ผลใหร้ ะดบั นา้ ตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ซ่ึง

ท้าให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนกับหญิงตังครรภ์และทารกในครรภ์ตามมาได้ ดงั นนั เพือ่ ให้หญิงตังครรภ์ลดความ
เส่ียงดังกล่าว จึงได้ติดตาม รวบรวมข้อมูลของหญิงตังครรภ์ของศูนย์เบาหวาน เพื่อหาประเด็นท่ีเป็นสาเหตุส้าคัญ
ทีท่ ้าให้หญงิ ตงั ครรภ์มโี อกาสเกิดปจั จัยเสี่ยง ซึ่งพบวา่ หญิงตงั ครรภย์ ังขาดความรูค้ วามเขา้ ใจ ตลอดจนการดูแล
ตนเองทเี่ หมาะสม ทมี จึงไดม้ กี ารพัฒนาจัดทา้ ส่ือความรู้ นวตั กรรมต่าง ๆ ที่ตอบสนองตามประเด็นปัญหาที่พบ
ผา่ นกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั เพื่อให้ผ้ใู ช้เกิดความสะดวก ง่าย เหมาะกับ
แตล่ ะคน และเกิดความพงึ พอใจ
ผลลพั ธ์ :

120 94.595.898.4 75 78 84 82 89 98.12 78 86 97.65
100
ครง้ั ที่ 1
80 ครง้ั ที่2
60
40
20

0

ครง้ั ท่ี 3

บทเรยี นท่ีได้รับ :
การดูแลผู้ป่วยควรเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้ป่วยแต่ละรายมีปัญหาและความต้องการแตกต่างกัน

รู้จักการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและสถานการณ์ เกิดการเรียนรู้ในการท้างานร่วมกันเป็น
ทมี และทา้ ให้มีการพฒั นากระบวนการดแู ลผู้ปว่ ยอย่างต่อเนื่อง
ตดิ ต่อกับทมี งำน : พว. จารุภัณฑ์ กุลเสถียร พยาบาลวิชาชพี ชา้ นาญการ, พว. ดาลณิ ี ส่งแสง พยาบาลวชิ าชีพ
ช้านาญการ และ พว. ชิดสุภางค์ ไชโย พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ หน่วยงาน ปรึกษาสุขภาพ/ศูนย์เบาหวาน
โทรศัพทม์ อื ถือ 0815656012 Email [email protected]

13. ช่ือผลงำน / โครงกำรพัฒนำ: ระยะเวลำในกำรเตรียมควำมพร้อมของผู้ป่วยก่อนเข้ำรับกำรผ่ำตัด
ผ่ำนกล้องใน 1 วนั

คำสำคญั : ระยะเวลาในการเตรยี มความพร้อมของผู้ป่วยก่อนได้รับการผา่ ตัดผา่ นกล้อง
ภำพรวม : ปัญหำระยะเวลาในการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัดผ่านกล้อง เป็นปัจจัย
ส้าคัญท่ีแสดงถึงความพึงพอใจของผู้ป่วยและเป็นเหตุผลของการมารับบริการ ผลกระทบท่ีเกิดจากการเตรียม
ความพร้อมก่อนผ่าตัดผ่านกล้องท้าให้ผู้ป่วยต้องใช้เวลาในการมารับบริการมากขึน ส่งผลเสียต่อผู้ป่วยทัง
ร่างกายและจิตใจ อาจสง่ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจต่อผู้ป่วย เช่น ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทาง สญู เสยี รายได้
จากการทา้ งานเนอื่ งจากต้องลางานหลายวันท้าให้ผู้ปว่ ยไม่พึงพอใจในการรบั บรกิ าร การเตรยี มความพรอ้ มของ
ผปู้ ่วยกอ่ นเขา้ รับการผา่ ตัด เปน็ ปจั จยั สา้ คญั ที่ต้องมกี ารตรวจประเมินเพอื่ ให้เกิดความปลอดภัยสูงสดุ โดยทีมสห
สาขาวิชาชีพ โดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางซึ่งต้องมีเอกสารและผลตรวจต่างๆ ท่ีถูกต้องครบถ้วน ปัจจุบันมี
ผู้ป่วยมาใช้บริการที่โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์เป็นจ้านวนมาก การใช้บริการตามห้องตรวจต่างๆต้องใช้
เวลาในการรับบริการมากขึน การเจาะเลือดก่อนผา่ ตัดต้องมีการเตรยี ม ความพร้อม โดยการงดน้าและ
อาหารหลังเท่ียงคืนก่อนวันตรวจ เจ้าหน้าที่ศูนยต์ รวจรักษาและผ่าตัดผ่านกล้อง หรือ BMEC จะให้ขอ้ มูลผปู้ ว่ ย
ท่ีสอบถามล่วงหน้าก่อนมาตรวจให้เตรียมงดน้า งดอาหารหลังเท่ียงคืนมาล่วงหน้า การเจาะเลือดก่อนผ่าตัดมีการ
ตรวจ HIV ซึ่งต้องผ่านการ counseling ทหี่ ้องปรกึ ษากอ่ นเจาะเลือด ทา้ ใหผ้ ปู้ ่วยต้องเสียเวลารอตรวจเพิ่มมาก
ขึน
เป้ำหมำย ระยะเวลาในการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยก่อนได้รับการผ่าตัดแล้วเสร็จภายใน 1 วัน และ
คะแนนความพงึ พอใจของผปู้ ว่ ย >รอ้ ยละ 95
แนวทำงกำรพัฒนำ มีการปรับขนั ตอนการเตรียมความพร้อมผปู้ ว่ ยก่อนผ่าตัดจากเดมิ นดั ผู้ปว่ ยมาฟังผลตรวจ
ร่างกาย care map และ counselling ในครังถัดไป เปลยี่ นเปน็ ตรวจร่างกายเพ่ือเตรียมความพร้อมกอ่ นผ่าตัด
ฟงั ผล care map และ counseling ภายในวนั เดียว ดังนี

ผา่ นจุดคดั กรอง ทาบตั รเวช พยาบาล BMEC แพทยซ์ กั ประวตั ิ ผู้ป่ วยทต่ี ้องผ่าตัด
ช้นั 1 ระเบียน ซกั ประวตั ิ V/S ตรวจร่างกาย Counseling
ก่อนเจาะ HIV
จองหอ้ งพิเศษ Care map Counseling Pre – op + ฟังผล
Lab, X-ray, EKG
ก่อน/หลงั ผา่ , ใหใ้ บนดั

สำระสำคัญของกำรพัฒนำ: การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัดของศูนย์ตรวจรักษาและ
ผ่าตัดผ่านกล้องมีขันตอนหลายขันตอน ท้าให้ผู้ป่วยต้องเสียเวลารอตรวจ รวมทังการที่มีผู้ป่วยท่ีมารับบริการ
จ้านวนมากย่ิงส่งผลให้ผู้ป่วยต้องใช้เวลานานยิ่งขึน ทีมจึงมีความต้องการท่ีจะลดขันตอนเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถ
เสร็จสินขันตอนการตรวจก่อนผ่าตัดภายใน 1 วันโดยการลดขันตอนท่ีต้องผ่านการ counselingที่ห้องปรึกษา

ก่อนเจาะเลือดHIV ก่อนที่จะไปเจาะเลือดท่ีห้องตรวจเลือด มาเป็นcounselingโดยพยาบาลของศูนย์ BMEC
เพอื่ ลดขันตอนให้ผ้ปู ว่ ยสามารถไปเจาะเลือดไดเ้ ลยโดยไมต่ ้องไปที่ห้องปรึกษาก่อนเจาะเลือด

ผลลัพธ์ :

- ผปู้ ่วยทสี่ ามารถเตรียมความพร้อมกอ่ นเขา้ รับการผ่าตัดผ่านกล้อง ภายใน 1 วัน รอ้ ยละ 97
- ผ้ปู ่วยพึงพอใจรอ้ ยละ 98

บทเรียนทไ่ี ด้รับ :
1. การปฏิบัติงานที่เป็นระบบมีแนวปฏิบัติท่ีชัดเจน มีการสนับสนุน ส่งผลให้งานบรรลุผลส้าเร็จตาม
เปา้ หมาย
2. การพัฒนางานร่วมกันกับสหสาขาวิชาชีพ การท้างานเป็นทีม การให้ความร่วมมือร่วมใจ ในการ
ปฏบิ ตั ิงานสง่ ผลให้งานประสบความสา้ เร็จ
3. จากการปฏิบัติตามแนวทางทา้ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรียนรู้ การปรับปรงุ ขนั ตอน ดงั นี ผู้ปว่ ยท่ีเตรยี ม
ผ่าตัดจา้ แนกได้เปน็ 3 ประเภท คือ
1. ผปู้ ว่ ยท่ีไม่มีโรคประจา้ ตัวและผลตรวจรา่ งกายปกติ

2. ผู้ปว่ ยทีม่ โี รคประจา้ ตวั

3. ผู้ป่วยท่ีมีผลตรวจร่างกายผดิ ปกติ
ในผู้ป่วยประเภทที่ 1 สามารถเตรียมผ่าตัดได้ภายใน 1 วัน แต่ในผู้ป่วยประเภทที่ 2 และ 3 ไม่

สามารถเตรียมผา่ ตดั ไดภ้ ายใน 1 วัน นา้ ไปสู่การพัฒนาตอ่ ยอด ในเรอ่ื งการเตรยี มความพร้อมของ
ผู้ป่วยที่มีโรคประจ้าตัว หรือผลตรวจร่างกายผิดปกติก่อนเข้ารับการผ่าตัดผ่านกล้องภายใน

ระยะเวลาที่กา้ หนด
กำรตดิ ตอ่ กับทีมงำน :

ชอื่ -สกลุ นายวรี พล เขมะรงั สวรรค์ ต้าแหนง่ นายแพทย์ชา้ นาญการ

หน่วยงาน ศูนยต์ รวจรกั ษาและผา่ ตดั ผา่ นกล้องกรงุ เทพมหานคร
โทรศัพทม์ อื ถือ 081 – 6398968

Email : [email protected]

14. ชื่อผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : บริกำรประทับใจ สบำยกระเปำ๋

คำสำคญั : ปดิ จุดอ่อน เสริมจดุ แข็ง ตอบสนองนโยบาย
ภำพรวม :

ปัญหำ ผู้ป่วยท่ีมีนัดท้าผ่าตัดผ่านกล้องมีความต้องการนอนพักห้องพิเศษเพ่ือความสะดวกสบาย รวมทัง
สามารถให้ญาติเฝ้าได้ แตเ่ นื่องจากโรงพยาบาลมีจ้านวนห้องพิเศษไม่เพยี งพอ รวมทังกรณผี ู้ป่วยทม่ี ีประกันต้อง
ส้ารองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน ซ่ึงอาจท้าให้ผู้ป่วยไม่สามารถส้ารองจ่ายได้ ถ้าไปท้าผ่าตัดที่โรงพยาบาล
เอกชนซ่ึงมีห้องพิเศษเพียงพอ และผู้ป่วยที่มีประกันชีวิตไม่ต้องส้ารองเงินจ่ายก่อน แต่ค่าใช้จ่ายจะมีราคาสูง
กว่า 3-4 เท่า ดังนัน เพ่ือให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐานโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สามารถพักห้องพิเศษได้
โดยไม่ตอ้ งสา้ รองจ่าย จงึ เกิดความร่วมมอื ภาครฐั และเอกชนที่ใช้จะใช้ทรัพยากรร่วมกัน

เป้ำหมำย 1. ตอบสนองความต้องการและท้าให้ประชาชนกลุ่ม B สามารถเขา้ ถึงการผา่ ตัดผ่านกล้องที่
ไดม้ าตรฐานโดยแพทย์ผ้เู ชีย่ วชาญ

2. ผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลท่ีพึงพอใจ นอนพัก รพ. เอกชน ที่มีการดูแลบริการใกล้ชิด
โดยเสียคา่ ใชจ้ ่ายไม่สูงมาก (ถกู กว่าโรงพยาบาลเอกชน 3-4 เท่า)

3. เพมิ่ รายได้ให้โรงพยาบาลเจรญิ กรุงประชารกั ษ์ เพราะเป็นผปู้ ่วยจ่ายเงินสดเทา่ นัน
4. สร้างชื่อเสยี งและเป็นท่รี ูจ้ กั ของประชาชนกลมุ่ B
5. สง่ เสริมการเปน็ Medical Hub ของประเทศ
แนวทำงกำรพัฒนำ
เปิดมิติใหม่ของความร่วมมือภาครัฐและเอกชนท่ีใช้ทรัพยากรร่วมกันและเป็นสถานการณ์ที่
ไดร้ บั ผลประโยชนด์ ้วยกนั ทัง 2 ฝ่าย โดยเพม่ิ จ้านวนผปู้ ่วยทไี่ ดร้ บั การผ่าตัดเพอ่ื สนับสนุนศนู ย์ฝึกอบรมด้านการ
ผา่ ตดั ผา่ นกลอ้ งระดับภูมิภาคของศูนย์ผ่าตัดผ่านกล้องโรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์และ รพ.สมติ ิเวชธนบุรี
มีผู้ป่วยไปใช้บริการผู้ป่วยในเพิ่มมากขึน หลังจากผู้ป่วยมีนัดท้าผ่าตัดผ่านกล้องและสนใจเข้าร่วมโครงการ
Public Private Partnership (PPP) สง่ ผปู้ ่วยไป Care map ที่วสิ ัญญแี ละใหค้ ้าแนะนา้ ผู้ปว่ ยดังนี
1. ถ่ายสา้ เนาบตั รประชาชนและบตั รกรมธรรม์ประกันชีวิต พร้อมให้ผูป้ ว่ ยเซ็นชอื่ ในเอกสารประกนั ชวี ติ
2. ให้เอกสารนัดนอน รพ. เพื่อเข้าไปติดต่อแผนกสุขภาพสตรี รพ.สมิติเวชธนบุรี เรื่องการผ่าตัดและให้
เจา้ หน้าที่มารบั เอกสารการนอน รพ.
3. เวลา 8.00 น. วันผ่าตัด ทีม รพ.สมิติเวชธนบุรี พาผู้ป่วยมาส่งท่ีศูนย์ BMEC เพื่อท้าการคัดกรองและ
เซน็ เอกสารผ่าตดั
4. ประสานงานกับห้องผ่าตัดเพ่ือส่งผู้ป่วยไปท้าการผ่าตัด หลังจากท้าผ่าตัดเสร็จผู้ป่วยไปอยู่ห้องพักฟ้ืน
(RR) เพื่อสังเกตอาการ 2 ชม.
5. หากอาการหลังผ่าตัดปกติ RR แจ้งกับทางศูนย์ BMEC เพ่ือประสานกับทีมรพ.สมิติเวชธนบุรี มารับ
ผปู้ ว่ ยกลับ
6. ทีมแพทย์และพยาบาล รพ.สมิติเวชธนบุรี ไปรับผู้ป่วยท่ีห้องพักฟื้น เจ้าหน้าท่ีการเงินรพ.สมิติเวชธนบุรี
ตดิ ตอ่ ศนู ย์ BMEC เพื่อรบั เอกสารการน้าไปชา้ ระเงินทห่ี ้องการเงนิ ชัน 4
7. ผู้ป่วยนอนพกั รพ.สมติ ิเวชธนบุรี 4 วนั 3 คืน
8. นัดตรวจตดิ ตามที่ศนู ย์ BMEC 1 สัปดาหห์ ลังผ่าตดั เพอ่ื ดูแผลและฟังผลชินเนอื

สำระสำคัญของกำรพัฒนำ:
ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการทังเร่ือง ความม่ันใจในมาตรฐานกระบวนการดูแลรักษาจาก

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ความสะดวกสบาย การได้รับก้าลังใจจากผู้ใกล้ชิด (ญาติสามารถเฝ้าได้) ไม่มี
ภาระคา่ ใช้จ่ายทมี่ ากเกนิ ไป โดยอาศยั ความรว่ มมือระหว่างภาครฐั และเอกชน
ผลลัพธ์ :

จานวนผ้ปู ่ วยท่ีเข้าโครงการ PPP

20

0 จานวน
2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

1. รอ้ ยละของความพงึ พอใจของผปู้ ว่ ยท่ไี ดร้ ับการผา่ ตัดผ่านกลอ้ ง ร้อยละ 100
2. จ้านวนผ้ปู ว่ ยทใ่ี ช้บรกิ าร PPP
บทเรยี นที่ได้รับ:

4. การท้างานร่วมกันกับสหสาขาวิชาชีพ เป็นการท้างานเป็นทีม การให้ความร่วมมือในการ
ปฏิบัตงิ านส่งผลใหง้ านประสบความส้าเรจ็

5. การประสานงานร่วมกันระหว่าง รพ.เป็นเร่ืองยาก แต่ได้รับการสนับสนุนและมีแนวทางท่ีชัดเจน
ทา้ ให้มีการท้างานเปน็ ระบบ ส่งผลใหง้ านบรรลุวัตถุประสงคต์ ามเปา้ หมาย

หมายเหตุ : ความหมายนิยามตามหลักเกณฑ์ทางการตลาด ได้แบ่งระดับชนชันตามสถานะทางเศรษฐกิจ

(Socio-Economic Class-SEC) โดยใช้รายได้ต่อครัวเรือนเป็นตัวก้าหนด ซึ่งชนชันในประเทศไทยถูกจัดล้าดับ

แบ่งออกเป็น Class A – Class D กลุ่ม B เป็นกลุ่มชนชันกลางระดับบน รายได้ต่อครัวเรือนอยู่ท่ีระหว่าง

50,000 - 85,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 8 ของประชากรในประเทศไทย

กำรตดิ ตอ่ กบั ทีมงำน :

ช่ือ-สกลุ นายวรี พล เขมะรังสวรรค์ ตา้ แหน่ง นายแพทยช์ า้ นาญการ

หน่วยงาน ศูนยต์ รวจรกั ษาและผ่าตัดผ่านกลอ้ งกรงุ เทพมหานคร

โทรศพั ท์มือถือ 081 – 6398968

Email : [email protected]

15. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : smart nurse for ABG

คำสำคญั : การแปลผล ABG พยาบาล
ภำพรวม :

ปัญหำ หออภิบาลผู้ป่วยหนักกุมารมีผู้ป่วยเด็กที่หลากหลายทังโรคและอายุ ท้าให้เกิดปัญหาในการ
ดูแลผู้ป่วย โดยพบว่า มีการรายงานอาการผู้ป่วยเด็กลา่ ช้า เน่ืองจากประเมินอาการผู้ป่วยไม่พบอาการผิดปกติ
แตผ่ ลการตรวจทางห้องปฏิบัติการผิดปกติ ซ่ึงกวา่ จะทราบผลทางห้องปฏบิ ัติการและผู้ป่วยแสดงอาการ พบว่า
เป็นช่วงท่ีผู้ป่วยมีอาการหนักแล้ว การรักษาส่วนใหญ่สามารถน้าผล Arterial Blood Gas analysis หรือ ABG
มาพิจารณาในการตัดสินใจได้ ผู้ป่วยเด็กจะได้รับการดูแลตามแนวทางการดูแลผู้ป่วย โดยแนวทางการดูแล
ทางการแพทย์เป็นไปตามขันตอนของโรงพยาบาล หากแต่ในส่วนของการอ่านและแปลผล ABG ของพยาบาล
ยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจนและเป็นแนวทางเดียวกัน โดยบทบาทของพยาบาลส่วนใหญ่เป็นการให้การพยาบาล
ตามแผนการรักษาของแพทย์ ซ่ึงยังพบข้อจ้ากัดเรื่องทักษะและขาดความรู้ความเข้าใจในการอ่านและแปลผล
ABG เพอ่ื ประเมนิ อาการในภาวะฉกุ เฉินและให้การชว่ ยเหลือผูป้ ่วยได้ทนั ทว่ งที

เปำ้ หมำย

1. เพื่อพฒั นาความรใู้ นการแปลผล ABG ของพยาบาลวชิ าชีพในหออภบิ าลผปู้ ว่ ยหนกั กุมาร
2. พยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักกุมารสามารถแปลผล ABG เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
3. ผู้ป่วยท่มี ี ABG ผดิ ปกติ ไดร้ ับการแก้ไขกอ่ นเกิดอาการรุนแรงอย่างทันท่วงที
แนวทำงกำรพฒั นำ
ครังท่ี 1 ระยะแรกจากการประเมินพบปัญหาคือ พยาบาลยังขาดทักษะและความรู้ความเข้าใจ ขาด
แนวทางและรูปแบบในการแปลผล ABG ของพยาบาลในหน่วยงาน การรายงานผล ABG เกิดความล่าช้า
ช่วงแรกทีมงานไดร้ วบรวมข้อมูล วเิ คราะหส์ าเหตเุ พอื่ หาแนวทางแก้ไขร่วมกับกุมารแพทยป์ ระจ้าหอผู้ปว่ ย โดย
มีแนวทาง คือ จัดท้าคู่มือการอ่านและแปลผล ABG ของพยาบาลในหน่วยงาน ซึ่งเนือหาประกอบด้วย ค่าต่าง
ๆ ใน ABG ไดแ้ ก่ ค่า pH, pCO2, pO2, O2 saturation และ Base excess มีการบอกค่าปกติ สภาวะที่ส้าคัญ
ประเมินโดยฝึกอ่านและแปลผล ABG ของผู้ป่วย หลังจากนันประเมินความรู้และทักษะของพยาบาลใน
หน่วยงาน พบว่าสมรรถนะของพยาบาลมีผลต่อการอ่านและแปลผล ABG พยาบาลท่ีจบใหม่หรืออายุงานน้อย
ขาดทกั ษะและพร่องความรู้ความเขา้ ใจมากกว่าพยาบาลที่อายุงานและมีประสบการณ์มากกวา่
ครังท่ี 2 เพ่ือพัฒนาจากปัญหาที่เกิดขึน ซ่ึงพบว่า พยาบาลที่จบใหม่หรืออายุงานน้อยขาดทักษะและ
พร่องความรู้ความเข้าใจ อ่านและแปลผล ABG ได้ถูกต้องบางส่วน ส่วนใหญ่อ่านและแปลผลได้แค่ค่า pH ซึ่ง
เป็นค่าเบืองต้นท้าให้สามารถประเมินอาการผู้ป่วยได้ล่าช้า จึงได้ปรับให้มีเกณฑ์ในการประเมินใหม่โดยใช้
สมรรถนะพยาบาลเป็นตัวจ้าแนก หลังพัฒนาพบว่า ระดับความรู้และทักษะของพยาบาลในหน่วยงานอยู่ใน
ระดับปานกลาง มีบางส่วนท่ีน้อยแต่เป็นไปตามสมรรถนะของพยาบาล มีการติดตามและประเมินผลทุก 3
เดือน เพ่อื รวบรวมสถิติและปรบั ปรุงแกไ้ ขเพ่อื การพัฒนาต่อไป
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :
การประเมินอาการในภาวะฉุกเฉินและให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงทีเป็นประเด็นส้าคัญในการให้
การดูแลรักษาผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยเด็กท่ีไม่สามารถตอบหรือให้ข้อมูลที่จะบ่งบอกถึงภาวะผิดปกติได้ ดังนัน
ศักยภาพหรือองค์ความรู้ของทีมผู้ดูแลจึงเป็นส่ิงส้าคัญต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วย ทีมงานจึงได้จัดท้าคู่มือการ
อ่านและแปลผล ABG ของพยาบาลในหน่วยงานขึน เพ่ือเป็นแนวทางให้พยาบาลท่ีจบใหม่หรืออายุงานน้อย
ขาดทกั ษะและพร่องความรคู้ วามเข้าใจไวใ้ ชใ้ นการประเมินอาการผ้ปู ่วย

ผลลัพธ์ :
1. พยาบาลในหออภิบาลผูป้ ว่ ยหนกั กมุ ารสามารถแปลผล ABG ถกู ต้อง เพม่ิ ขนึ จาก 50-60 เปอรเ์ ซน็ ต์

เปน็ 80-100 เปอร์เซน็ ต์
2. ไม่พบอุบัตกิ ารณ์ในการรายงานผล ABG ทผ่ี ิดปกตลิ า่ ช้า

บทเรียนท่ีได้รับ :
1. พยาบาลแตล่ ะคนมีสมรรถนะไมเ่ ท่ากนั จึงต้องมกี ารก้าหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสมรรถนะ

ของพยาบาลแตล่ ะคน
2. การทา้ งานเปน็ ทมี ทา้ ให้สามารถค้นหาปัญหา วเิ คราะห์ปญั หาและหาแนวทางพฒั นาไดถ้ ูกตอ้ ง ตรง

จุด ท้าใหส้ ามารถประเมนิ อาการผู้ปว่ ยได้และรายงานแพทย์เพ่ือให้การรกั ษาได้ทนั ท่วงที
กำรตดิ ต่อกับทีมงำน :
ช่ือ-สกลุ นางสาวหฤทัย บุญทรง ต้าแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพชา้ นาญการ
หน่วยงาน หออภิบาลผู้ปว่ ยหนักกมุ าร โทรศพั ท์มอื ถอื 087-2545985 Email [email protected]

16. ช่ือผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : TB ยคุ 4.0

คำสำคัญ : วณั โรคปอด การบรบิ าลทางเภสัชกรรม
ภำพรวม : ปัญหำ การรักษาวัณโรคต้องใช้ยาร่วมกันหลายชนิดและติดต่อกันเป็นเวลานาน อีกทังผู้ป่วยแต่ละราย
จะได้รับยาที่แตกต่างกันโดยค้านวณจากน้าหนักตัวของผู้ป่วย ซ่ึงอาจเกิดการรับประทานยาที่ไม่ถูกต้อง/ไม่ต่อเน่ือง
ทุกวัน อันตรกริยาระหว่างยา และอาการไม่พึงประสงค์ต่อการใช้ยา ส่งผลท้าให้เกิดความล้มเหลวต่อการรักษา
และยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชวี ติ ของผู้ป่วยอีกด้วย จากข้อมูลดังกล่าวการรักษาวัณโรคโดยเฉพาะในช่วงระยะ
เขม้ ขน้ Standard Short Course (SCC) ผู้ป่วยจะตอ้ งรบั ประทานยามากถงึ 4 รายการ ซึ่งยากตอ่ การจดจ้าและ
การรับประทานยา อีกทังยังเป็นช่วงแรก ของผู้ป่วยในการับประทานยาวัณโรค เป็นช่วงท่ีอยู่ในระยะ
แพร่กระจายของเชือวัณโรค ดังนัน การให้ความส้าคัญต่อการให้ค้าแนะน้าการรับประทานยา และการปฏิบัติ
ตัวของผู้ป่วยจึงมสี ว่ นรว่ มให้เกิดความส้าเรจ็ ในการรักษา

เป้ำหมำย (1) เพื่อเพ่ิมการร่วมมือรับประทานยาวัณโรคของผู้ป่วยเป็นร้อยละ 85% (2) เพื่อลดปัญหาจาก
การใช้ยาของผู้ป่วยวัณโรคเป็นร้อยละ 85% (3) เพ่ือเพ่ิมคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยวัณโรคหลังจากการรับการบรบิ าล
โดยสหสาขาวิชาชีพ

แนวทำงกำรพฒั นำ
การปฏิบัติครังที่ 1 เดิมการรักษาผู้ป่วยโดยการจ่ายยาพร้อมกับแจกสมุดบันทึกการรับประทานยาให้ผู้ป่วยบันทึก
ด้วยตนเอง ปรับครังที่ 1 คลินิกวัณโรคประกอบด้วยการท้างานร่วมกันของแพทย์เป็นผู้วินิจฉัยและส่ังจ่ายยา
พยาบาลให้ค้าแนะน้าและปฏิบัติตัวระหว่างการรักษา เภสัชกรให้ค้าแนะน้าวิธีการรับประทานยา/การเฝ้าระวังและ
ตดิ ตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใชย้ า ผลลพั ธค์ รังท่ี 1 พบว่า ความสม่้าเสมอในการรับประทานยาเป็นรอ้ ยละ 60
ปญั หาส่วนใหญเ่ ปน็ เรือ่ งของความรว่ มมอื การใชย้ าของผ้ปู ว่ ย เช่น ลืมรับประทานยา/ลงบันทึก สมดุ บนั ทกึ หาย การ
ปฏิบัติงานครังที่ 2 พัฒนาระบบความสม้่าเสมอในการรับประทานยา ด้วยวิธี Directly-Observed Therapy (DOT)
หรือ การจดั ยาลงในซอง/กลอ่ งเดยี วกนั โดยเภสัชกร ปรบั ครังท่ี 2 คดั เลือกผู้ป่วยท่รี ับประทานยาไม่สม้่าเสมอเปน็ กลุม่
ทดลอง จัดยาไว้ในซอง/กล่องเดียวกัน โดยแต่ละครังที่รับประทานจะตอ้ งมีผคู้ วบคุมในการจดบันทึกทุกครัง ผลลัพธ์
ครังท่ี 2 พบว่า ความสม่้าเสมอฯ เพิ่มขึนเป็นร้อยละ 80 แต่ยังพบปัญหา เช่น หยุดรับประทานยาก่อนวันนัดจาก
ผลข้างเคียงของยา มาไม่ตรงนัด ปัญหาด้านการเงิน การปฏิบัติงานครังที่ 3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ปรับครังที่ 3 เพิ่มระบบติดตามการรับประทานยาแบบ Video-Observed Treatment (VOT) โดยการประยุกต์ใช้
แอปพลิเคชัน LINE มาช่วยจัดการปัญหา ดังนี 1) ให้ถ่ายรูปหรือรายงานการรับประทานยาแบบ Real time
อย่างสม้่าเสมอทุกวัน 2) เพ่ิมช่องทางให้สอบถามและปรึกษาปัญหากับแพทย์ พยาบาล และเภสัชกรได้ ผลลัพธ์ครังท่ี 3
พบวา่ ความสม้า่ เสมอฯ เพิ่มขึนเป็นร้อยละ 85 การประยกุ ตใ์ ช้ LINE สามารถตรวจสอบได้ว่า ผปู้ ่วยรบั ประทานยา ไม่
ลืมรับประทานยา หรือทางคลนิ ิกสามารถ LINE เตือนให้รับประทานยา และยังเป็นช่องทางท่ีสามารถปรึกษาปัญหา
สุขภาพได้ตลอดเวลา และลดค่าใช้จ่าย/เวลาที่มาปรึกษาปัญหาท่ี รพ. การปฏิบัติงานครังที่ 4 การติดตามตัวชีวัด
ด้านอืน่ ๆ ปรับครงั ที่ 4 จากการน้าแอปพลิเคชนั LINE มาเป็นตัวชว่ ยในระบบติดตามการรบั ประทานยา (VOT) ทาง
คลินิกยังได้น้ามาเป็นหน่ึงในช่องทางการสื่อสาร เช่น ปัญหาจากการใช้ยา (Drug Related Problem: DRPs)
สอบถามนัดหมาย ท้าให้ผู้ป่วยรู้สึกวางใจและปลอดภัยในการใช้ยา เนื่องจากมีระบบให้ค้าปรึกษาจากบุคลากรทาง
การแพทย์ ผลลัพธ์ครังท่ี 4 พบวา่ ปัญหา DRPs ได้แก้ไขมากกว่า รอ้ ยละ 85
สำระสำคัญของกำรพัฒนำ : ที่ผ่านมาการรักษาผู้ป่วยวัณโรคของโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ยังไม่ถึง
เป้าหมายที่ก้าหนดไว้ หน่ึงในปัจจัยส่อู ัตราความสา้ เรจ็ คือ ผู้ป่วยจ้าเป็นต้องรบั ประทานยาวัณโรคได้ ครบถ้วน
ตรงเวลา และสม้่าเสมอ ผนวกกับการร่วมมือของทีม แพทย์ พยาบาล และเภสัชกร ดังนัน การมีเคร่ืองมือหรอื

แอปพลเิ คชันท่ีช่วยเพม่ิ ความรว่ มมอื ในการรับประทานยาของผู้ปว่ ยเป็นอกี เคร่อื งมือท่สี ามารถน้ามาประยุกต์ใช้
ในงานบริบาลผ้ปู ว่ ยวณั โรค

ผลลัพธ์ : การเก็บข้อมูลผลการตรวจเสมหะและปัญหาจากการใช้ยา (DRPs) โดยแบ่งการเก็บข้อมูลเป็น 2

กลุม่

ตารางที่ 1. ผลการตรวจเสมหะเมอื่ สนิ สดุ การรักษาเดอื นท่ี 2 ในกลมุ่ ทดลองระยะเขม้ ขน้ และกลุ่มควบคุม

ผลกำรรกั ษำ ก ลุ่ ม ค ว บ คุ ม ร ะ ย ะ เ ข้ ม ข้ น กลมุ่ ทดลองระยะเขม้ ขน้ (N = 49) P*

(N=59) (เกบ็ ขอ้ มูล ธ.ค. 63 - ก.พ. 64)

(เก็บข้อมูลเวชระเบียนย้อนหลัง

ตังแต่ เดือน เม.ษ.63 - ก.ค.63)

ผลเสมหะลบ 53 47 0.01

ผลเสมหะบวก 6 2

*Fisher’s extract test

ตารางท่ี 2 ปญั หาจากการใช้ยา (DRPs) ของผู้ป่วยกลมุ่ ควบคมุ ระยะเข้มข้น (N = 59) กล่มุ ทดลองระยะเข้มข้น

(N=49)

ปญั หำท่ีพบ กลมุ่ ควบคมุ ก ลุ่ ม Consult แ พ ท ย์

(เ ก็ บ จ ำ ก เ ว ช ร ะ เ บี ย น ทดลอง แพทย์ (กลุ่ม accept

ย้อนหลัง) ทดลอง) (ก ลุ่ ม

ทดลอง)

1. อาการไม่พึงประสงค์จาก 8 10 10 10

ยา

2. ขนาดใชย้ าน้อยเกนิ ไป 6 22 2

3. เกิดปฏิกิริยาระหวา่ งยา 2 22 2

รวมปญั หาการใช้ยา 16 14 14 14 (100%)

* t-test

ตารางที่ 3 คะแนนเฉลย่ี คุณภาพชวี ติ ในแตล่ ะด้านในกลุ่มทดลองระยะเข้มขน้ (N = 49)

คณุ ภำพชวี ติ ดำ้ น คะแนนเฉลย่ี คุณภำพชีวติ กลุ่มทดลอง P*

ก่อนให้บริบำลทำงเภสัช หลังให้บริบำลทำงเภ สัช

กรรม กรรม

ด้านร่างกาย 19.94 23.0 0.023

ด้านจิตใจ 11.66 18.33 0.001

ด้ า น สั ม พั น ธ์ ท า ง 10.5 10.6 0.83

สงั คม

ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม 25.0 27.6 0.66

ดา้ นคุณภาพโดยรวม 67.1 79.53 0.03

*paired t-test

(1) Efficacy: จากการศึกษาผลตรวจเสมหะเมื่อสินสุดการรักษาในเดือนท่ี 2 ของกลุ่มทดลอง พบว่า มีสัดส่วนผล

เสมหะเปน็ ลบมากกว่ากลุ่มควบคุม (2) Safety: DRPs ท่ีได้รับการแก้ไขเป็นร้อยละ 100 (3) Quality of Life: การ

ประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการบริบาลจากทางเภสัชกรรม โดยพบว่าผู้ป่วยมีมีคุณภาพชีวิต
เพ่ิมขึนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ 2 ด้าน คือ ด้านร่างกายและด้านจิตใจ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตโดยรวมเพิ่มขึน
แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส้าคัญทางสถติ ิ (P<0.05)
บทเรียนที่ได้รับ: การมีส่วนร่วม/การสื่อสารของผู้ป่วยกับสหสาขาวิชาชีพ เป็นจุดส้าคัญที่ท้าให้เกิดความส้าเร็จใน
การรักษา การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยจัดการปัญหาด้านสุขภาพ ส่งผลให้ผู้ป่วยรู้สึกใกล้ชิด
บุคลากรทางการแพทย์มากขึน อีกทังลดเวลาการเดินทางและค่าใช้จ่ายของผู้ป่วย ซ่ึงล้วนส่งผลให้คุณภาพชีวิต
ของผปู้ ่วยโดยรวมดขี ึน
กำรติดต่อกบั ทมี งำน :
ชือ่ -สกุล นางสาวสุชญั ญา ดีเย๊าะ ตา้ แหนง่ เภสชั กรระดับปฏิบตั กิ าร หนว่ ยงาน กลมุ่ งานเภสชั กรรม
โทรศัพท์มอื ถอื 087-2980864 Email: [email protected]

17. ชื่อผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : โปรแกรมสำรวจควำมสุขบุคลำกรผ่ำนระบบออนไลน์
(MSD Happinometer)

คำสำคัญ : Happy Workplace, Happinometer
ภำพรวม :

ปัญหา สืบเน่ืองจากแบบส้ารวจความสุขด้วยตนเองมีข้อค้าถามแต่ละหมวดจ้านวนมาก ต้องใช้เวลาในการท้า

แบบสอบถาม ซ่ึงจากภารกิจงานด้านบริการอาจท้าให้ไม่สะดวกในการท้าแบบสอบถามแบบต่อเน่ืองผ่านเอกสาร หรือ

โปรแกรม Google Form จงึ จ้าเป็นต้องพัฒนาโปรแกรมส้ารวจความสุขผ่านระบบออนไลน์

เป้าหมาย พัฒนาโปรแกรมส้ารวจความสุขบุคลากรในสังกัดส้านักการแพทย์ (MSD Happinometer) ผ่าน
ระบบ web -based เพ่ือน้ามาใช้กับบุคลากรทุกส่วนราชการในสังกัดส้านักการแพทย์ในการส้ารวจ ติดตาม และ
ประเมินผลการสร้างความสุขในองค์กร สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาส้านักการแพทย์ ระยะ 4 ปี (พ.ศ.
2564 – 2567) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 จะมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่องค์กรที่มีคุณภาพคู่คุณธรรม (Moral) และการบริหาร
จัดการองค์กรอย่างโปร่งใสและมีประสทิ ธภิ าพ (Management) และบุคลากรมีความสุขในการท้างาน (Happy work
life)

แนวทางการพฒั นา
1. จัดท้าแบบส้ารวจความสุขโดยน้าชุดข้อมูลแบบส้ารวจความสุขจากกระทรวงสาธารณสุข มา
ประยุกต์ใช้ พร้อมเพิ่มเติมข้อค้าถามที่เกี่ยวเน่ืองในสถานการณ์การระบาดของเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยแบ่ง
หัวข้อแบบสา้ รวจออกเปน็ 10 ด้าน ได้แก่ 1) Happy Body 2) Happy Relax 3) Happy Heart 4) Happy Soul 5)
Happy Family 6) Happy Society 7) Happy Brain 8) Happy Money 9) Happy Work life แ ล ะ 10)
Happy Work life in Covid-19 โดยน้าเสนอแบบส้ารวจความสุขบุคลากรในสังกัดส้านักการแพทย์ ให้
คณะกรรมการ Happy Workplace ส้านักการแพทย์ ซึ่งมีสหสาขาวิชาชีพ อาทิ แพทย์ พยาบาล นักวิชาการ
สาธารณสุข นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานท่ัวไป ร่วมเป็นคณะกรรมการ พิจารณาแบบส้ารวจและให้ความ
เห็นชอบ
2. พัฒนาโปรแกรมส้ารวจความสุขด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ โดยประสานความร่วมมือกับกลุ่ม
งานสารสนเทศและสถิติ ส้านักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ และส้านักยุทธศาสตร์และประเมินผล
เพื่อร่วมออกแบบโปรแกรมส้ารวจความสุขบุคลากรในสังกัดส้านักการแพทย์ (MSD Happinometer) และการ
วิเคราะหผ์ ล ผา่ นระบบ Web-based
3. ทดสอบโปรแกรมส้ารวจความสุข MSD Happinometer ในบุคลากรสังกัดส้านักงานพัฒนาระบบ
บริการทางการแพทย์ เพ่ือรวบรวมประเด็นปัญหาในการใช้โปรแกรมเพ่ือแก้ไขปรับปรุงให้สมบูรณ์ยิ่งขึน และ
จดั ทา้ คมู่ ือการใชง้ าน
4. น้าเสนอโปรแกรมส้ารวจความสขุ MSD Happinometer ให้คณะกรรมการ Happy Workplace
ส้านักการแพทย์และคณะกรรมการบริหารส้านักการแพทย์ พิจารณาให้ความเห็นชอบและอนุมัติใช้ในการ
สา้ รวจความสขุ ของบุคลากรในสงั กัดสา้ นกั การแพทย์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
5. ด้าเนินการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนมกราคม 2565 ก้าหนดกลุ่มเป้าหมายข้าราชการ ลูกจ้างประจ้า
และลูกจ้างช่ัวคราวทงั หมดในทกุ สว่ นราชการสังกัดสา้ นกั การแพทย์ รวมจา้ นวนทังสนิ 6,896 คน
6. ประมวลและวิเคราะหผ์ ลจากโปรแกรมแบบสา้ รวจความสขุ MSD Happinometer ภาพรวม และแยกราย
ส่วนราชการ

7. รายงานข้อมูลให้ผู้บริหารส้านักการแพทย์ ผู้บริหารส่วนราชการเพ่ือใช้ในการติดตาม และด้าเนิน
กิจกรรมด้าน Happy Workplace เพื่อพัฒนาความสุขของบุคลากรในสังกัดได้อย่างต่อเนื่องและมี
ประสทิ ธิภาพมากขึน เพื่อพัฒนาไปสูก่ ารเป็นองคก์ รแห่งความสุขต่อไป
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :

ก า ร พั ฒ น า โ ป ร แ ก ร ม ส้ า ร ว จ ค ว า ม สุ ข ผ่ า น ร ะ บ บ Web-based
(http://202.139.202.228/happinometer/frontend/web/) เพิ่มความสะดวกแก่บุคลากรในสังกัด
ในการตอบแบบสา้ รวจ ติดตาม ประเมินผล คุณภาพชีวิตและความสุขของตนเอง หรือบุคลากรในหน่วยงานได้
เป็นปัจจุบัน (Real time) อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ลดปริมาณเอกสาร ลดระยะเวลาการรวบรวม สรุปและ
วิเคราะห์ผล สามารถน้าผลที่ได้มาวางแผน และบริหารจัดการความสุขของตนเอง หรือคนในหน่วยงานในทุก
ระดบั ไดอ้ ยา่ งตรงจุด ส่งผลตอ่ คณุ ภาพในการใหบ้ รกิ ารต่อประชาชนตอ่ ไป
ผลลัพธ์ :

จากกลุ่มเป้าหมายทังหมด 6,896 คน มีผู้ตอบแบบสอบถามครบทุกข้อ 5,707 คน คิดเป็นร้อยละ
82.76 โดยพบว่ามีคะแนนค่าเฉลี่ยความสุขภาพรวมอยู่ที่ร้อยละ 61 “มีความสุข” และเม่ือพิจารณารายด้านพบว่า
บุคลากรในสังกดั “มคี วามสุข” 4 ด้าน ตามลา้ ดบั ดงั นี 1) Happy Heart ร้อยละ 71 2) Happy Soul รอ้ ยละ 70 3)
Happy Body ร้อยละ 63.5 4) Happy Brain ร้อยละ 62.75 ซึ่งผู้บริหารต้องสนับสนนุ ให้มีความสุขยิง่ ขึนไป และ
มี 6 ด้านที่บุคลากรอยู่ในระดับ “ไม่สุข ไม่ทุกข์” ผู้บริหารต้องด้าเนินการแก้ไข ได้แก่ 1) Happy Money ร้อย
ละ 52.25 2) Happy Relax ร้อยละ 53.25 3) Happy Work life in Covid-19 ร้อยละ 58.25 4) Happy

Family รอ้ ยละ 59 5) Happy Society รอ้ ยละ 59.50
และ 6) Happy Work life ร้อยละ 60.75
บทเรียนทีไ่ ด้รับ :

ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยความสุขภาพรวมของส้านักการแพทย์ และแยกรายสว่ นราชการ ส่งผลให้เกิด
การจัดท้าแผนหรือโครงการด้าน Happy Workplace เพ่ือพัฒนาความสุขของบุคลากรแต่ละด้านได้อย่างมี
ทิศทาง น้าไปสู่การแกไ้ ขปัญหา พฒั นาและสง่ เสริมไปสกู่ ารเปน็ องคก์ รแหง่ ความสุขต่อไป
กำรติดต่อกับทีมงำน :
ช่อื -สกลุ นางฆณฬส ต้นสายเพช็ ร์ ต้าแหน่ง นกั จดั การงานทวั่ ไปช้านาญการ หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป
หนว่ ยงาน สา้ นักงานพัฒนาระบบบรกิ ารทางการแพทย์ สา้ นักการแพทย์
โทรศพั ทม์ ือถือ 09 4553 2954 e-mail : [email protected]

18. ชื่อผลงำน : ระบำดวิทยำของผู้ปว่ ยภำวะ Post COVID และ Long COVID ท่มี ำรับบรกิ ำร
ทคี่ ลนิ ิก Long COVID โรงพยำบำลสงั กดั สำนักกำรแพทย์ กรุงเทพมหำนคร

คำสำคญั : Long COVID, COVID-19, Post COVID

ปัญหำ

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีเกิดการระบาดจ้านวนมาก
ในประเทศไทย โดยเฉพาะในพนื ที่กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมโรครายงานผ้ปู ว่ ยสะสมในประเทศ ณ วันที่ 20
พฤษภาคม 2565 มีจ้านวน 4,401,378 ราย เสียชีวิต 29,678 ราย หายป่ วย 4,312,790 ราย ผู้ป่วยสะสมใน
พนื ท่ีกรุงเทพมหานครจ้านวน 782,554 ราย เสียชวี ิต 7,842 ราย ผปู้ ว่ ยสะสมสา้ นักการแพทย์ จ้านวน 87,400
ราย เสยี ชวี ิต 663 ราย หายป่วย 86,000 ราย โดยผปู้ ่วยสว่ นใหญ่ไม่มอี าการหรืออาการเล็กน้อยที่สามารถหาย
เองได้ภายใน 2-3 สัปดาห์ เม่ือผู้ป่วยโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หายป่วยแล้ว มักพบอาการ
ผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนภายหลังการป่วยเป็นโควิด-19 (Post COVID syndrome) ซึ่งอาการผิดปกติ
ดังกล่าว สามารถเกิดขึนได้ทุกระบบของร่างกาย เช่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด ระบบ
ประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน และสุขภาพจิต เป็นต้น โดยอาการดังกล่าวมีตังแต่เล็กน้อยจนถึงอาการรุนแรงที่
กระทบต่อการใช้ชีวิตประจ้าวัน ซ่ึงจ้าเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลและปัจจุบันยังไม่ทราบถึงสาเหตุและ
พยาธสิ ภาพของการเกิดภาวะ Long COVID ที่ชดั เจน
เป้ำหมำย

เพ่ือพรรณนาสถานการณ์การเกิดภาวะ Long COVID ในผู้ป่ วยท่ีมารับบริการในโรงพยาบาลสังกัด
สา้ นักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
แนวทำงกำรพัฒนำ

1. ศึกษาข้อมูลการดูแลรักษาผู้ป่ วยโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีมีภาวะ Long
COVID ท่ีเขา้ รับการ รกั ษาในโรงพยาบาลสังกดั ส้านกั การแพทย์

2. ประเมินการคัดกรองผปู้ ่วยโรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มอี าการผดิ ปกตทิ ี่เข้าได้กับ
ภาวะ Long COVID เพอ่ื ใหก้ ารดแู ลรกั ษาที่เหมาะสม
สำระสำคัญของกำรพฒั นำ

จากสถานการณ์ของผู้ป่วยโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) เม่ือผู้ป่วยบางส่วนหายป่วยแล้ว
อาจพบผู้ป่วยที่มีภาวะ Long COVID จ้านวนมากในพืนท่ีกรุงเทพมหานคร ซ่ึงในผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการ
รุนแรงที่จ้าเป็นต้องได้รับการดูแลรักษา โดยท่ีภาวะ Post COVID คือ อาการหลงัจากติดเชือโควิด 19โดยผู้ป่
วยยังมีอาการผิดปกติยาวนานกว่า 4 สัปดาห์ แม้จะหายจากเชือแล้วส่วนภาวะ Long COVID คือ อาการ
ผิดปกติที่เกิดขนึ ใหมห่ รือต่อเน่ืองภายหลังการติดเชือโควิด 19 ส่วนมาก ตังแต่ 3 เดือน นับจากวันตรวจพบเชือ
และมีอาการต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน โดยอาการดังกล่าวเกิดขึนได้หลายระบบ และ อาการท่ีเกิดขึนไม่
สามารถอธิบายได้ด้วยการวินิจฉัยสาเหตุอื่นๆ ซึ่งปัจจุบันการศึกษาภาวะ Long COVID ยังไม่มีความชัดเจน
ทางระบาดวิทยา และอาการ ทังนีส้านักการแพทย์ได้ด้าเนินการเปิดคลินิก Long COVID ในโรงพยาบาล 9
แห่ง เพ่ือให้บริการผู้ป่วยที่ต้องการรับค้าปรึกษาหรือดูแลรักษาภาวะ Long COVID โดยรายงานชินนีมี
วัตถุประสงค์เพื่อการพรรณนาระบาดวิทยาของผู้ป่วยภาวะ Post COVID และ Long COVID ที่มารับบริการ
คลินิก Long COVID เพื่อน้าไปสู่การพัฒนาแนวทางการดูแลรักษาและการบริหารจัดการผู้ป่วยและการคัด
กรองผูป้ ่วยตอ่ ไป

ผลลพั ธ์
จากการศกึ ษาข้อมูลผู้ป่วยท่ีมารับบริการที่ Long COVID Clinic ในโรงพยาบาลสังกัดส้านักการแพทย์

จ้านวน 227 ราย โดยเมือ่ จา้ แนกผู้ป่วยเป็น 2 กลมุ่ พบว่าผูป้ ่วยที่มารับบริการเปน็ ผู้ปว่ ย Post COVID จา้ นวน
179 ราย (81.36) และผู้ป่วยภาวะ Long COVID จ้านวน 48 ราย (18.64%) จากข้อมูลพบว่า ผู้รับบริการเปน็
เพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยในกลุ่มผู้ป่วยภาวะ Post COVID เพศชาย จ้านวน 52 ราย (29.05%) เพศหญิง
127 ราย (70.95%) และผปู้ ว่ ยภาวะ Long COVID เพศชาย จา้ นวน 20 ราย (41.67%) และเพศหญิง จ้านวน
28 ราย (58.33%) ช่วงอายุพบมากในกลุ่มผู้ป่วย Post COVID พบมากในกลุ่มอายุ 21-59 ปี โดยพบ จ้านวน
90 ราย (50.28%) รองลงมาคืออายุ 60 ปีขึนไปจ้านวน 84 ราย (46.93%) และอายุ 1-20 ปี จ้านวน 5 ราย
(50.28%) เช่นเดียวกับกลุ่มผู้ป่วย Long COVID พบมากในกลุ่มอายุ 21-59 ปี โดยพบจ้านวน 31 ราย
(64.58%) รองลงมาคือ อายุ 60 ขนึ ไป จ้านวน 16 ราย (33.33%) และอายุ 1-20 ปี จ้านวน 51 ราย (2.08%)
สถานการณ์ได้รับวัคซีนพบว่าในกลุ่มผู้ป่วย Post COVID ส่วนใหญ่ได้รับวัคซีน 3 เข็มขึนไป จ้านวน 97 ราย
(54.19%) ได้รับ 2 เข็ม จ้านวน 49 ราย (27.37%) ได้รับ 1 เข็ม จ้านวน 7 ราย (3.91%) และมีผู้ป่วยที่ไม่เคย
ได้รบั วัคซนี จา้ นวน 26 ราย (14.53%) ในสว่ นของผปู้ ่วยภาวะ Long COVID พบผ้ทู ีไ่ ดร้ ับวคั ซนี 2 เขม็ มากทส่ี ุด
จ้านวน 23 ราย (47.92%) รองลงมาคือได้รับมากกว่า 3 เข็มขึนไป จ้านวน 18 ราย (37.50%) ได้รับ 1 เข็ม
จ้านวน 4 ราย (8.33%) และไม่เคยได้รับวัคซีน จ้านวน 3 ราย (6.25%) อาการที่พบบ่อย ผู้ป่วยภาวะ Post
COVID พบอาการ ไอ เจ็บคอ 43.68% รองลงมาคือ เหนื่อย อ่อนเพลีย 37.92% และมีไข้ 9.09% ส่วนผู้ป่วย
ภาวะ Long COVID พบอาการไอ เจ็บคอ และเหนื่อยอ่อนเพลีย เช่นเดียวกัน คือ 42.28% และ 32.52% แต่
จะพบอาการแน่นหน้าอก 13.82% ซึ่งอาการดังกล่าวจะพบใน ผู้ป่วยภาวะ Post COVID เพียง 3.77% โรค
ประจ้าตัว ส่วนใหญ่ทัง 2กลุ่มจะพบผู้ท่ีไม่มีโรคประจ้าตัว ทังกลุ่มผู้ป่วยภาวะ Post COVID และผู้ป่วยภาวะ
Long COVID ที่ จา้ นวน 114 ราย (63.69%) และ จา้ นวน 32 ราย (66.67%) ตามล้าดบั กรณีพบโรคประจ้าตัว
โรคทีพ่ บมาก กลมุ่ ผู้ป่วยภาวะ Post COVID คอื โรคความดนั โลหติ สูง จ้านวน 48 ราย (35.29%) รองลงมาคือ
โรคเบาหวาน จ้านวน 31 ราย (22.79%) และโรคไขมันในหลอดเลอื ด จ้านวน 30 ราย (22.06%) ซ่ึงเป็นไปใน
ทศิ ทางเดียวกับ ผู้ปว่ ยภาวะ Long COVID ท่พี บโรคความดันโลหิตสูง จ้านวน 41 ราย (41.67%) รองลงมาคือ
โรคเบาหวาน จ้านวน 6 ราย (25.00%) และโรคไขมันในหลอดเลือด จ้านวน 5 ราย (20.83%) จากข้อมูลจะ
เห็นได้ว่าการกระจายตัวของผู้ป่วยภาวะ Post COVID และภาวะ Long COVID เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดย
ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ อายุ อาการ โรคประจ้าตัว ระยะเวลาตังแต่การป่วยด้วยโรคโควดิ 19 ไม่มีความแตกต่างกัน
อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ สถานการณ์ได้รับวัคซีนในกลุ่มผู้ป่วย Post COVID พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รบั วัคซนี
3 เข็มขึนไป (54.19%) และเปน็ น่าสงั เกตว่าผู้ปว่ ย Long COVID ส่วนใหญย่ ังไม่ไดว้ ัคซีนครบตามเกณฑ์หรือไม่
ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น 62.50% ที่อาจมีโอกาสเป็น Long COVID ได้มากขึน ซึ่งจากการกระจายของผู้ป่วยที่
เป็นไปในทิศทางเดียวกันหากผู้ป่วยที่มีอาการ Post COVID เข้ามารับบริการและให้การดูแลรักษาก็อาจจะลด
การเกดิ ภาวะ Long COVID ได้
บทเรียนทีไ่ ดร้ บั

ขอ้ มูลจากผลลพั ธข์ ้างต้นท้าให้ทราบระบาดวิทยาและความเช่ือมโยงของภาวะ Long COVID ในผู้ป่วย
ที่มารับบริการ ในโรงพยาบาลสังกัดส้านักการแพทย์กรุงเทพมหานคร สามารถน้าไปเป็นแนวทางในการดูแล
ผู้ป่วยภาวะ Long COVID และคัดกรองผู้ป่วยโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีอาการผิดปกติที่

เข้าได้กับภาวะ Long COVID อย่างไรก็ตาม ส้านักการแพทย์ควรมีการเก็บข้อมูลผู้ป่วย Long COVID ที่มารับ
บริการเพิ่มมากขึน เพ่ือให้เห็นผลลัพธ์ท่ีชัดเจน และมีการติดตามผลการรักษาว่าหลงั จากการรักษาแล้วมีอัตรา
การหายปว่ ยเท่าใด
กำรติดตอ่ ทีมงำน
ชอื่ -สกลุ นายเจษฎา ฮึง่ ฮก ตา้ แหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร
หน่วยงาน ส่วนยทุ ธศาสตรแ์ ละพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สา้ นักงานพฒั นาระบบบรกิ ารทางการแพทย์
โทรศัพท์มือถือ 084-362-0819 E-mail [email protected]

19. ช่ือผลงำน : ระบบรับปรึกษำผู้ป่วยของกลุ่มงำนเวชกรรมฟ้ืนฟูผ่ำน Google form และ

Line notify

คำสำคัญ : Rehabilitation, consult, Google form, Line notify

ภำพรวม :

ปัญหำ : ผปู้ ว่ ยใน(IPD) ของโรงพยาบาลสิรินธรไม่ได้รับบริการจากหน่วยงานต่างๆของกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู

อย่างครบถ้วน

เป้ำหมำย : ลดอุบัติการณ์การเกิดปัญหาผู้ป่วยใน(IPD) ของโรงพยาบาลสิรินธรไม่ได้รับบริการจากหน่วยงาน
ของกลุ่มงานเวชกรรมฟ้ืนฟูอย่างครบถ้วน ลดความสูญเปล่าจากการใช้บุคลากรรับสายโทรศัพท์และการใช้
กระดาษ
แนวทำงกำรพฒั นำ : ใชห้ ลกั การ 3P ไดแ้ ก่
Purpose: เพื่อลดอบุ ัติการณผ์ ู้ป่วยใน (IPD) ไม่ไดร้ บั บรกิ ารฟนื้ ฟคู รบทกุ หนว่ ยตามท่สี ่งปรึกษา
Process: ก้าหนดวาระการประชมุ ภายในกลุ่มงานเวชกรรมฟ้ืนฟู รว่ มกบั ทีมนา้ อายรุ กรรมและทีมนา้ ศัลยกรรม
วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หา ทดลองใช้งานและประเมนิ ผลระบบใหมท่ ุก 2 - 3 เดอื น โดยมกี ารประชาสมั พันธ์ให้
หน่วยงานภายนอกและทีมน้าอื่นๆ รับทราบ และรับฟังความคิดเห็นจากผู้ใช้ระบบ โดยมีการใช้
กระบวนการพฒั นาไปแลว้ 3 ครงั ดงั นี

จัดประชุมครังที่ 1 เร่ืองพจิ ารณาเลือกระบบการรบั ปรึกษา
แบบใหม่ ได้ข้อสรุปเป็นการน้าระบบ Google form และ Line
notify มาประยุกตใ์ ช้

จัดประชุมครังที่ 2 เรื่องการปรับระบบการบันทึกข้อมูลใน
Google form ให้ใช้ง่ายขึน หลังจากมีการปรับระบบแล้วได้รับ
ความคิดเห็นจากผู้ใช้งานว่าสามารถลดขันตอนในการบันทึกข้อมูล
ลงได้

จัดประชุมครังท่ี 3 เรื่องการพิจารณาขอส่งข้อมูลทาง
Google form ส้าหรับนอกเวลาราชการ หลังจากมีการเพิ่ม
ช่วงเวลาการส่งข้อมลู นอกเวลาราชการได้ พบวา่ ชว่ ยใหผ้ ูป้ ่วยได้รับ
การบริการจากกลุ่มงานเวชกรรมฟ้ืนฟูในช่วงเวลาที่เหมาะสมมาก
ขนึ

Performance : รวบรวมสถิติและติดตามอุบัติการณ์ผู้ป่วยใน (IPD) ไม่ได้รับบริการฟื้นฟูครบทุกหน่วยตามที่
ส่งปรกึ ษาอย่างตอ่ เนือ่ ง

สำระสำคัญของกำรพัฒนำ : การน้าเทคโนโลยี Google
form และ Line notify เข้ามาใช้ส้าหรับการรับแจ้งขอปรึกษา
ผู้ป่วย (Case consult) แทนการรับแจ้งในรูปแบบเดิมซึ่งต้องใช้
บคุ ลากรรบั สายโทรศัพท์และมกี ารใช้กระดาษเพ่อื จดบนั ทึก พบวา่
สามารถลดความซ้าซ้อนในการส่งต่อข้อมูล และช่วยให้หน่วยงาน
ปลายทางไดร้ ับข้อมูลอยา่ งครบถ้วน ตรงตามความตอ้ งการของผู้ส่ง
ปรกึ ษา

ผลลัพธ์ :
1. ลดอุบัติการณ์การเกิดปัญหาผู้ป่วยใน(IPD) ของโรงพยาบาลสิรินธรไม่ได้รับบริการจากหน่วยงานของกลุ่มงาน

เวชกรรมฟน้ื ฟูอย่างครบถ้วน

อบุ ตั กิ ารณผ์ ปู้ ่ วยไมไ่ ดร้ บั บรกิ ารจากหนว่ ยงานเวชกรรมฟื้นฟอู ยา่ งครบถว้ น (ราย)

54

43

32 2

21 1 1

1 0000000 000

0

ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 ม.ี ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 ม.ิ ย.-64 ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65

2. ลดความสญู เปล่าของบุคลากรส้าหรับงานรบั สายโทรศพั ท์ 500-600 นาท/ี เดอื น
และลดการใชก้ ระดาษA4จา้ นวน 40-50 แผน่ /เดอื น

ระยะเวลาทบ่ี ุคลากรรับสายโทรศพั ท์ (นาท)ี ปรมิ าณกระดาษA4ทใี่ ช้ (แผ่น)

600 50

500 40
400 30
300
200 20
100 10

00

ต.ค.-63
พ.ย.-63
ธ.ค.-63
ม.ค.-64
ก.พ.-64
มี.ค.-64
เม.ย.-64
พ.ค.-64
มิ.ย.-64

บทเรียนทีไ่ ด้รบั :

1. การน้าเทคโนโลยีการสื่อสารปัจจุบันเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการดูแลผู้ป่วย เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึนและ

สามารถนา้ ไปตอ่ ยอดให้กับระบบงานอื่นๆในอนาคตได้

2. ใช้หลักการหรือกระบวนการพัฒนาระบบงานเข้ามาแก้ไขปัญหาและท้าให้เกิดการพัฒนาระบบงานในปัจจุบัน

เพื่อให้การท้างานรว่ มกันในองค์กรและการบริการผู้ป่วยมีประสทิ ธภิ าพมากขึน

กำรติดตอ่ กับทีมงำน :

ชอ่ื -สกลุ นายสมภพ ตงั ตริ วฒั น์ ตำแหน่ง นายแพทย์ช้านาญการ กลุ่มงานเวชกรรมฟ้ืนฟูโรงพยาบาลสิ

รนิ ธร

โทรศพั ทม์ ือถือ 0818043148 Email : [email protected]

20. ชอื่ ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : ระบบกำรฉดี วัคซีนโควิด 19 โรงพยำบำลสริ ินธร

คำสำคัญ : ระบบ /วคั ซีนโควดิ 19 /Lean
ภำพรวม :

ปญั หา การระบาดของโรคติดเชือไวรสั โคโรนา 2019 ไดส้ ง่ ผลกระทบในวงกว้างอย่างรวดเรว็ แม้ว่าจะ
มีการใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการแล้วก็ตาม สิ่งที่ส้าคัญในการควบคุมป้องกันและลดความ
รุนแรงในการเกิดโรคได้คือวัคซีนโควิด 19 จากการให้บริการ พบปัญหาเรื่อง ความล่าช้าของกระบว นการ
ให้บรกิ าร การใช้บคุ ลากรและทรพั ยากรมากเกนิ ความจา้ เปน็ สภาพความแออดั ในโรงพยาบาลจากระบบ Walk
in และความคลาดเคล่อื นในการลงขอ้ มูลและฉดี วัคซีน

เป้ำหมำย เพ่ือให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง สะดวกรวดเร็ว
ลดความแออัด และลดการใช้บุคลากรและทรัพยากร ตามศักยภาพของโรงพยาบาลที่จะด้าเนินการได้และ
ภายใตม้ าตรฐานวชิ าชพี

แนวทำงกำรพัฒนำ พัฒนาระบบบริการให้บริการฉีดวัควีนโควิด 19โดยใช้ short from และ
เทคโนโลยี เพ่อื นัดหมายการเข้ารบั บรกิ าร
สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :
1. พัฒนาแบบฟอร์มเอกสารการให้ข้อมูลและการยินยอมเข้ารับการฉีดวัคซีน COVID-19 เพ่ือลดการใช้
กระดาษลดระยะเวลาการอ่านข้อความและลดการกรอกข้อมูล ลดระยะเวลาการตัดกระดาษ เย็บชุดเอกสาร
ลดจ้านวนบุคลากรในการช่วยกรอกเอกสาร ลดความผิดพลาดในการลงข้อมูลชนิดวัคซีนและการฉีดวัคซีนผิด
ชนดิ

ก่ อ น เ ริ่ ม พัฒนำครังที่ 1 พฒั นำครงั ท่ี 2 พฒั นำครงั ที่ 3 พัฒนำครงั ที่ 4 พัฒนำครงั ที่ 5
พัฒนำ

2. พัฒนาระบบการนัดหมายการรับบริการจาก Walk in เป็นใช้เทคโนโลยี การนัดหมายผ่าน Application

Que Que เพือ่ ลดความแออัด ปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชือ เพ่มิ ความสะดวก ลดระยะเวลารอคอย

กอ่ นเรม่ิ พัฒนำ พัฒนำระบบจอง

จองท่ีประชาสมั พนั ธ์ แจกบตั รคิว น่งั จองควิ ตามเกา้ อี

ผลลัพธ์ :
1. พฒั นาแบบฟอรม์ เอกสารการให้ขอ้ มูลและการยินยอมเขา้ รบั การฉดี วัคซนี COVID-19

ลดการใช้กระดาษ 4 คน/ 1 แผ่น ลดระยะเวลาการอ่านข้อความและการกรอกข้อมูลของประชาชน
ลง เฉลี่ย 3 นาที ลดระยะเวลาการตัดกระดาษ เย็บชุดเอกสาร 7.5 วินาที ลดจ้านวนบุคลากรในการช่วย
กรอกเอกสารจาก 8 คน เหลือ 2 คน ลดความผิดพลาดในการลงข้อมูลชนิดวัคซีนและสถิติการฉีดวัคซีนผิด
ชนิดเป็น 0 ครงั

2. พัฒนาระบบการนัดหมายการรับบริการจาก Walk in เป็นใช้เทคโนโลยี การนัดหมายผ่าน Application
Que Que

ลดความแออัดและป้องกันการแพร่กระจายเชือ ในการเข้ามาจองคิวภายในโรงพยาบาล เพิ่มความ
สะดวกให้กับประชาชนไม่ต้องเสียเวลาเดินทาง และค่าเดินทางในการมาจองคิวฉีดวัคซีนโควิด 19 ร้อยละ 83
ลดระยะเวลา รอคอยในการให้บริการเน่ืองจากมีการก้าหนดชว่ งเวลานัดในการให้บริการ ลดลงเฉล่ีย คนละ 1
ชว่ั โมง ลดข้อร้องเรยี นกรณีมาแล้วไม่ไดค้ ิวในการฉีดวัคซีน 0 ราย จาก 10 ราย

บทเรียนทไ่ี ด้รบั :
การปรับเปลี่ยนระบบ/ ขนั ตอน/กระบวนการ ตอ้ งอาศัยความรทู้ ม่ี ีมาตรฐาน และจา้ เปน็ ตอ้ งสร้างความเข้าใจท่ี
ถูกต้องไปในแนวทางเดียวกันและรับฟังความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน อาศัยความร่วมมือของทีม เป็น
แรงผลักดันส้าคัญให้งานส้าเร็จ และการใช้เทคโนโลยีสามารถช่วยให้การด้าเนินงานรวดเร็วและถูกต้อง ลด
ขนั ตอนและสะดวกมากขึน แตต่ ้องเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับงาน
กำรตดิ ต่อกับทมี งำน :
ชอื่ -สกลุ นางสาวพลอย ภาสน์ภูรี ต้าแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ช้านาญการ
หน่วยงาน กล่มุ งานเวชศาสตรช์ มุ ชน โรงพยาบาลสิรินธร ส้านกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ทม์ อื ถือ 085-541-9415 Email [email protected]

21. ชื่อผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : Telepharmacy จะใกลห้ รือไกลรับยำอย่ำงปลอดภยั เภสัช

กรใสใ่ จบริกำร

คำสำคัญ : จากสถานการณ์ covid-19 การบริการทางโรงพยาบาล จ้าเป็นต้องมีมาตรการรักษาระยะห่าง
(SOCIAL DISTANCING) เพือ่ ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเชือได้ ท้าให้มขี ันตอนปฏิบตั ิในการรับบรกิ ารรักษามี
ความล่าช้า ทางเราจึงมีแนวคิดพัฒนาระบบการจัดส่งยา ทางไปรษณีย์เพ่ือลดความแออัดในการให้บริการใน
โรงพยาบาล
ภำพรวม : ปญั หา

1. ขาดการระบุแนวทางปฏิบตั ขิ ันตอนการทา้ งานทชี่ ัดเจน
2. ผู้ป่วยไม่ทราบว่ามีโครงการจัดส่งยาผ่านทางไปรษณีย์และไม่ทราบวิธีขอเข้ารับ
บรกิ ารจดั ส่งยาผ่านไปรษณยี ์
3. ใบสรปุ รายการยาและฉลากยารายละเอยี ดยังไม่ชดั เจนเพียงพอ
เป้าหมาย
1. เพื่อพัฒนาระบบการจัดส่งยาทางไปรษณีย์ส้าหรับผู้ป่วยในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของเชือไวรสั COVID-19
2. เพอื่ ใหผ้ ูป้ ่วยไดร้ ับบริการทสี่ ะดวก และช่วยลดความแออดั ในโรงพยาบาล
3. เพื่อศกึ ษาประสทิ ธิภาพของระบบการจดั สง่ ยาผา่ นทางไปรษณยี ์
แนวทางการพฒั นา
ประชาสัมพันธ์ระบบจัดส่งยาทางไปรษณีย์โดยจัดท้าแนวทางปฏิบัติวิธีสมัครและขอเข้าร่วมระบบ
จัดส่งยาทางไปรษณีย์ จัดท้า Google form เพื่อให้ผู้ป่วยแจ้งความจ้านงค์ขอรับยาทางไปรษณีย์ และจัดท้า
สติกเกอร์รายการยาที่มีการเปล่ียนแปลง เนื่องจากยาที่ส่งให้ผู้ป่วยทางไปรษณีย์บางตัวเปล่ียนบริษัทยา อาจมี
แผงยาที่ต่างไปจากเดิม ดังนันอาจท้าให้ผู้ป่วยสับสนได้ จึงมีการพัฒนาท้าสติกเกอร์แจ้งผู้ป่วยด้วยว่าแผงยามี
การเปลี่ยนบริษัท
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :
กระบวนกำรจดั สง่ ยำทำงไปรษณีย์
ขันตอนท่ี 1 เวชเบียนคัดรายช่ือผู้ป่วยในแต่ละวันส่งต่อให้แพทย์คัดเลือก case ผู้ป่วยเพ่ือเข้ารับบริการจัดส่ง
ยาทางไปรษณยี ์โดยเลือกพิจารณาสิทธ์ิ UC โรงพยาบาลเวชการณุ ย์
ขันตอนที่ 2 พยำบำลโทรตดิ ตอ่ ผู้ป่วยเพอื่ อธบิ ำย
สาเหตกุ ารสง่ ยาผา่ นทางไปรษณีย์, การส่งยาผ่านทางไปรษณีย์, การนัดครงั ถดั ไป,
ขอ้ มูลเซน็ ใบยินยอมสง่ ยาผา่ นทางไปรษณีย์, ตอบปัญหาทผี่ ้ปู ่วยมีข้อสงสยั และขอที่อย่ใู นการจดั ส่งยา
ขนั ตอนท่ี 3
พยาบาลส่งรายชื่อทังหมดใหเ้ วชระเบยี น ท้าการเปิดบัตร Telemedicine เพอ่ื ให้แพทยส์ งั่ ยา
ขันตอนท่ี 4
หลังจากแพทยอ์ อกใบส่งั ยาพรอ้ มใบนัดครงั ถดั ไปครบตามจา้ นวนรายช่อื ทางเจา้ หนา้ ท่จี ะทา้ การพิมพ์
ใบประหนา้ พัสดุ
ขนั ตอนที่ 5
ห้องยารบั ใบประหน้า, ใบนัดครงั ถัดไป และพมิ พใ์ บรายการยาเพือ่ ท้าการจัดยา และตรวจสอบยา
โดยจะใช้ตะกร้าสีเขยี วเขม้ ในการจดั ยา เพ่อื ส่อื สารให้เภสชั กรทราบว่าเป็นตะกร้า telemedicine
ขันตอนที่ 6
เภสชั กรคนที่ 2 ตรวจสอบยาก่อนบรรจุภณั ฑ์ โดยยาทีจ่ ัดสง่ ทางไปรษณยี ์ตอ้ งอย่ใู นรูปแบบ
ยาเมด็ , ยาพน่ , ยาน้าปรมิ าตรน้อย นา้ หนกั โดยรวมตอ้ งไม่เกนิ 4 kg

ขันตอนที่ 7
แพ็คลงกล่องพัสดุ ประกอบด้วย ใบรายการยา,ใบนัดครังถัดไป,ใบเซ็นยินยอมรับบริการจัดส่งยาทางไปรษณีย์
,ใบประหน้ากลอ่ งพสั ดุ,ยา
ขนั ตอนท่ี 8
ตรวจสอบช่ือผู้ป่วยและจ้านวนกล่องทังหมด จากรายงาน Telemedicine ประจ้าวัน และท้าการตัดจ่ายยา
ผา่ นระบบคอมพิวเตอร์
ขนั ตอนที่ 9
ส่งต่อพัสดุจากห้องยาไปยังห้องธุรการ เพ่ือประหน้าเลข EMS โดยกระบวนการนีจะใช้การจัดส่งกับไปรษณีย์
ไทย โดยเปน็ การส่งแบบ EMS เหมาจา่ ยขนาด 50 บาท/กลอ่ งพสั ดุ
ขนั ตอนที่ 10
ฝา่ ยธุรการจดั ท้าใบนา้ ส่งของทางไปรษณยี ์ โดยชา้ ระค่าบรกิ ารฝากส่งเป็นรายเดือน พรอ้ มลงรายละเอยี ดข้อมูล
ชื่อผรู้ ับ และเลข EMS tracking numbers
ขนั ตอนท่ี 11
เจ้าหน้าทไี่ ปรษณยี เ์ ข้ารับพัสดุท่ีโรงพยาบาล เวลา 15.00 น. ของทุกวันท้าการ เพ่อื นา้ จา่ ยดว้ ยระบบ EMS
กำรแก้ไขและพฒั นำ

- ติดตงั สอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ ให้มปี า้ ยรปู สัญลกั ษณ์ และแสดงขอ้ ความท่ชี ัดเจนว่าโรงพยาบาลมีบริการ
จัดสง่ ยาทางไปรษณยี ์

- จดั ทา้ สติกเกอรร์ ายการยาทีม่ ีการเปล่ยี นแปลง โดยการจัดทา้ สติกเกอรแ์ ปะที่ฉลากแทนการเขียน
- ส้ารวจความพึงพอใจผู้รับบริการเพื่อน้าข้อมูลมาพัฒนา โดยการจัดท้าแบบสอบถาม QR code

แนบไปพรอ้ มพสั ดุ
ผลลพั ธ์ :
ตวั ชวี ัด

- ความพึงพอใจผู้รับบริการในการก้าหนดขันตอนการจัดส่งยาทางไปรษณีย์ให้มีประสิทธิภาพมาก
ขนึ

- ข้อมลู สถติ ผิ ้ใู ชบ้ รกิ ารจัดส่งยาทางไปรษณยี ส์ ูงมากขึน
ผลกำรสำรวจควำมพงึ พอใจ
สรปุ ผลกำรเก็บข้อมูล

- ส่งแบบสอบถามทงั หมด 115 คน
- มีผู้ตอบแบบสอบถามครบถ้วน 62 คน
- ระยะเวลา 1 มีนาคม 2565 – 30 เมษายน 2565
- จ้านวนผู้ตอบแบบสอบถามครบถว้ นคดิ เป็น 53.91%
- ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระบบส่งยาทางไปรษณีย์อยู่ในเกณฑ์ที่สูงเพราะมีความสะดวก,

ประหยดั ค่าใช้จา่ ย, ได้รับยารวดเรว็ ไม่ขาดยา
บทเรยี นทไ่ี ดร้ บั :

- ขนั ตอนการทา้ งานระบบจัดส่งยาทางไปรษณยี ์มปี ระสิทธิภาพมากขึน
- มีผู้ใช้บรกิ ารระบบจดั สง่ ยาทางไปรษณยี ์มากขึน ช่วยลดความแออัดและลดการแพร่กระจายเชือ
- ผ้ปู ว่ ยได้รับบรกิ ารท่ีสะดวกและรวดเรว็ มากย่ิงขนึ
กำรติดตอ่ กบั ทีมงำน:
นางสาวลภสั รดา ขวญั เมอื ง ต้าแหนง่ เภสัชกรปฏิบัติการ
โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศม์ิ โทร 061-4595353 email [email protected]

22. ชือ่ ผลงำน : งำนประดิษฐช์ ุดตกตะกอนเม็ดเลือด

คำสำคัญ: Smear เสมยี ร์ คือการไถส่งิ ส่งตรวจไปกบั สไลดแ์ กว้ เพื่อใหเ้ ซลลเ์ ม็ดเลือดกระจายตัวไปบนแผน่ สไลด์
สารนา้ คอื ของเหลวในร่างกาย เช่น น้าเจาะจากช่องท้อง น้าเจาะจากข้อเข่า น้าเจาะจากไขสนั หลงั

ภำพรวม:
ปัญหำ

1.เคร่ืองตรวจวเิ คราะหอ์ ัตโนมัตไิ มส่ ามารถตรวจนับแยกเซลล์ทมี่ คี วามผิดปกติได้ อาทิเช่น เซลลม์ ะเรง็
2.ส่งิ สง่ ตรวจมีปรมิ าณน้อย ไมส่ ามารถใช้เครอื่ งตรวจวิเคราะหอ์ ตั โนมตั ใิ นการตรวจได้
3.การทา้ smear ดว้ ยการไถสไลดอ์ าจท้าใหเ้ ซลล์เมด็ เลอื ดเสยี หาย
4.การท้า smear ด้วยการไถสไลด์อาจท้าให้พบเซลล์เม็ดเลือดได้น้อย เน่ืองจากมีพืนท่ีผิวสไลด์ มาก

เป้าหมาย สามารถแก้ปัญหาการดูเซลลต์ ่างๆในการตรวจวิเคราห์สารน้าได้อย่างถูกต้องแม่นยา้ และมี
ประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ุด

แนวทำงกำรพฒั นำ
1. พัฒนาเคร่ืองมือส้าหรับการท้าสไลด์ในการตรวจวิเคราะห์สารน้าด้วยวิธีการ
ตกตะกอน
2. ใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่ในห้องปฏิบัติการ ได้แก่ กระบอกฉีดยา กระดาษกรองเจาะรู
สไลด์แก้ว คลปิ หนบี กระดาษ ประกอบเขา้ ดว้ ยกันดงั ภาพ
3. ใสส่ ง่ิ สง่ ตรวจลงไปทางด้านกระบอกฉีดยา
4. สารน้าส่วนเกินซึมออกทางกระดาษกรอง เซลล์ต่างๆจะตกตะกอนอยู่บนแผน่
สไลด์
5. ทงิ ไว้ให้แห้งแลว้ นา้ กระดาษกรองออกจงึ จะสามารถน้าแผ่นสไลไปย้อมสีต่อได้
สำระสำคัญของกำรพัฒนำ: ในการเก็บส่ิงส่งตรวจประเภทสารน้าจะท้าการเก็บ
โดยแพทย์ผู้เช่ียวชาญ ซึ่งในการท้าหัตถการแต่ละครังจะมีขันตอนการเก็บที่ซับซ้อน ทังนีผู้ป่วยยังได้รับภาระ
ความเจ็บปวดเป็นอย่างมาก นักเทคนิคการแพทย์จึงต้องให้ความส้าคัญในทุกการตรวจวิเคราะห์สารน้าท่ีส่ง
มายังห้องปฏิบตั กิ าร เพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ ความผดิ พลาดจงึ ต้องพยายามหาวธิ ใี นการตรวจใหไ้ ด้ผลที่ถูกต้องแมน่ ย้ามาก
ที่สดุ
ผลลพั ธ์:
1.สามารถเพ่ิมโอกาสในการตรวจพบเซลล์ทผี่ ดิ ปกตไิ ด้มากขนึ
2.ท้าให้รปู ร่างของเซลล์ไม่เสยี หาย งา่ ยตอ่ การระบแุ ยกชนดิ ของเซลล์1
บทเรียนทไ่ี ด้รบั : ได้เรียนรู้การแก้ปัญหาจากการท้างานประจ้าวันและหาวิธีการแก้ไขเพ่ือน้าไปเป็นแนวทางใน
การตรวจวิเคราะหใ์ นครังตอ่ ๆไป
กำรติดตอ่ กบั ทีมงำน:
ช่ือ-สกลุ นางสาวพชรภรณ์ วิศวโภคา ต้าแหนง่ นกั เทคนคิ การแพทย์

นางสาวซัลวา สลามเตะ๊ ต้าแหน่งนักเทคนคิ การแพทย์
หนว่ ยงานกลมุ่ งานชันสตู รโรคกลางและงานธนาคารเลือด โรงพยาบาลเวชการณุ ย์รัศม์
โทรศพั ทม์ ือถือ 098-221-2941, 089-446-9313 e-mail: [email protected]


Click to View FlipBook Version