The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanika.khamtap, 2022-07-05 05:54:10

รวมเล่มสัมมนาวิชาการประจำปี ครั้งที่ 18 สำนักการแพทย์

รวมเล่มสัมมนาวิชาการ

23. ช่ือผลงำน/โครงกำรพฒั นำ : Triage Check List

คำสำคัญ : การคดั กรอง, ความคลาดเคลอื่ น
ภำพรวม :

ปัญหำ : พ.ศ. 2559 หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลกลางมีการใช้ระบบการคัดกรอง
ตามล้าดับความเร่งด่วน 5 ระดับ เพ่ือจ้าแนกผู้ป่วยแต่ละประเภทให้ได้รับการจัดล้าดับการรักษาอย่าง
เหมาะสม จากการเก็บขอ้ มูลความคลาดเคลื่อนในทุกวันที่ 5, 15 และ 25 ของทกุ เดอื น ซึง่ พบวา่ ใน พ.ศ. 2564
ตังแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม มีผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองคลาดเคล่ือนถูกจ้าแนกความเร่งด่วนสูงกว่าเกณฑ์

ร้อยละ 1.00 , 2.90 และ 3.17 และมีผู้ป่วยท่ีได้รับการคัดกรองคลาดเคลื่อนถูกจ้าแนกความเร่งด่วน
ต้่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 0.60, 1.80 และ 2.38 จากการสุ่มส้ารวจพยาบาลท่ีมีประสบการณ์ในการคัดกรองด้วย
การยกตัวอย่างกรณีศึกษาให้ทดลองจัดระดับความรุนแรงและให้ยกเหตุผลประกอบ ท้าให้ได้ค้าตอบแตกต่าง
กัน โดยส่วนใหญ่สามารถตอบได้ถูกต้อง แต่ให้เหตุผลแตกต่างกัน ซึ่งพบว่าบางคนอ้างอิงจากคู่มือการคัดกรอง
ของหน่วยงานบ้าง ของสถาบันอ่ืนๆบา้ ง บางคนมกี ารจดจ้าว่าถ้าผู้ปว่ ยมีอาการมาด้วยลักษณะใดต้องจัดระดับ
ความรุนแรงในระดับใด และบางคนใช้ความรู้สึกและประสบการณ์ในการตัดสินใจ จากข้อมูลดังกล่าวท้าให้
ทราบว่าผู้คัดกรองเข้าใจวิธีการคัดกรองเบืองต้น แต่ยังขาดการให้เหตุผลสนับสนุนประกอบการตัดสินใจท่ี
เหมาะสม สง่ ผลให้การจดั ระดับความรุนแรงเกดิ การคลาดเคล่อื นได้

เปำ้ หมำย : เพอ่ื ลดความคลาดเคลอ่ื นในการคดั กรอง
แนวทำงกำรพัฒนำ : จัดท้าให้กระบวนการคัดกรองมีความเป็นรูปธรรมในรูปแบบนวัตกรรมที่มีการ
น้าเอาหลักการของการคัดกรองตามระบบ Emergency severity index (ESI)มาใช้ โดยมีการก้าหนดเหตุผล
ประกอบ
สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :
การคัดกรองตามหลัก Emergency severity index (ESI) เป็นการประเมินเพื่อจ้าแนกผู้ป่วยออกเป็น
5 ระดับ แบง่ เปน็ 3 สว่ น คอื
ส่วนที่ 1 เป็นการประเมินเก่ียวลักษณะ (acuity) เพ่ือค้นหาภาวะที่คุกคามชีวิต โดยใช้รูปแบบของ
ABCD (A : Airway, B : Breathing, C : Circulation, D : Disability) ประเมินได้ 2 ระดับ คือ ระดับ 1
(Immediate) เม่อื มีปัญหาใน ABCD และระดบั 2 (Emergency) เมื่อมีภาวะเสย่ี งจะเกิดปัญหาเกีย่ วกบั ABCD
รวมถึงอาการปวดและระบบ Fast track
สว่ นท่ี 2 เป็นการประเมินเก่ียวกับทรัพยากร (resources) ซง่ึ ต้องอาศยั ประสบการณ์ของผู้ประเมินใน
การคาดคะเนถึงความจ้าเป็นในการจัดสรรทรัพยากรท่ีเหมาะสม สามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ระดับ 3
(Urgent) เปน็ กลุม่ ทใี่ ช้ทรัพยากรห้องฉกุ เฉินมากกวา่ 1 อยา่ ง ระดบั 4 (Semi- urgent) เป็นกลุม่ ที่ใชท้ รัพยากร
หอ้ งฉุกเฉนิ 1 อยา่ ง และระดับ 5 (Non- urgent) เป็นกลมุ่ ทไ่ี มใ่ ช้ทรพั ยากรหอ้ งฉกุ เฉินเลย
ส่วนท่ี 3 คือ ส่วนของการประเมินเก่ียวกับสัญญาณชีพ ช่วยตัดสินใจ เพราะสัญญาณชีพสามารถ
เปล่ียนการคัดกรองเปน็ ผปู้ ่วยระดับ 1 หรือ 2 ได้
จากหลักการข้างต้นท้าให้ได้ขันตอนของการประเมินผู้ป่วย แบ่งการพิจารณาเป็นส่วนๆ โดยเริ่มจาก
สว่ นท่ี 1 – 3 หากพบปัญหาในส่วนใด สามารถหยุดพิจารณาส่วนถดั ไป แล้วใส่เคร่อื งหมายถูกหนา้ หวั ข้อปัญหา
นันแล้วตัดสินใจจัดระดับความรุนแรง หากไม่พบปัญหาให้พิจารณาส่วนถัดไปตามล้าดับ ทังนีเพื่อหาเหตุผล
สนับสนุนประกอบการตัดสินใจในการจดั ระดบั ความรุนแรงใหแ้ กผ่ ูป้ ว่ ยแต่ละรายอย่างเหมาะสม

ผลลพั ธ์ : เปรียบเทียบอตั ราความถกู ตอ้ งก่อนและหลงั ใชเ้ ครื่องมือ Triage checklist

80 80.00 กอ่ นใช้ checklist
60 66.67
40
20 หลงั ใช้ checklist
0
28.33 0.56 3.34 4.44 4.44
12.22

กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลกลาง จ้านวน 18 คน พบว่า
ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ใชน้ วัตกรรม สว่ นใหญ่เปน็ เพศหญงิ ส่วนใหญ่มีอายุระหวา่ ง 31 – 35 ปี ทกุ คนจบปริญญาตรี
ส่วนใหญ่ไมไ่ ด้มกี ารอบรมเฉพาะทาง และสว่ นใหญ่ประสบการณก์ ารท้างาน 5 – 10 ปี โดยการทดสอบแบง่ เป็น
ก่อน-หลังการใช้งาน พบว่าก่อนการใช้งานผู้ใช้ตอบได้ถูกต้องร้อยละ 66.67 ตอบคลาดเคล่ือนต้่ากว่าเกณฑ์
ร้อยละ 28.33 ตอบคลาดเคล่ือนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 0.56 และตอบไม่ใกล้เคียง ร้อยละ 4.44 และภายหลัง
การใช้งานพบว่าผู้ใช้ตอบได้ถูกต้องร้อยละ 80.00 ตอบคลาดเคล่ือนต้่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 12.22 ตอบ
คลาดเคล่ือนสงู กว่าเกณฑ์ ร้อยละ 3.33 และตอบไม่ใกล้เคียง ร้อยละ 4.44 ดังนัน จึงสรุปได้ว่านวตั กรรมกรรม
มีส่วนช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถจัดระดับความรุนแรงของผู้ป่วยได้ถูกต้องมากขึนเมื่อเปรียบเทียบกับตอนก่อนได้
ใช้นวตั กรรม
บทเรียนทไ่ี ดร้ ับ :

1. การคัดกรองผู้ป่วยให้อยู่ในระดับความรุนแรงท่ีเหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับล้าดับการ
รกั ษาพยาบาลอย่างเหมาะสม รวดเรว็ ปลอดภัย และประหยัดทรัพยากร

2. แนวทางการคัดกรองท่ีมีกรอบขันตอนการท้างานชดั เจนเป็นรูปธรรม จะท้าให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถ
ปฏบิ ตั งิ านได้ง่าย สะดวก รวดเรว็ และเป็นแนวทางเดียวกัน

3. ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านมีความร้เู ฉพาะเชงิ ลกึ เกี่ยวกบั การคดั กรอง
กำรติดต่อกับทมี งำน :
ชื่อ-สกุล นายโสภณ แขน้าแก้ว ต้าแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ หน่วยงาน อุบัติเหตุและฉุกเฉิน
โรงพยาบาลกลาง
โทรศพั ท์มอื ถือ 063-9898883 Email [email protected]

24. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : กำรใชร้ ะบบ IT เพือ่ ป้องกนั กำรไดร้ ับยำต้ำนไวรสั เอชไอวที ่ี
ไมเ่ หมำะสม ในผู้ที่มกี ำรทำงำนของไตบกพรอ่ ง

คำสำคัญ : ยาตา้ นไวรัสเอชไอวี ผ้ทู ีม่ กี ารท้างานของไตบกพรอ่ ง ระบบ IT
ภำพรวม :

ปัญหำ ในการเลือกใช้สูตรยาต้านไวรัสเอชไอวีนอกจากจะต้องค้านึงถึงประสิทธิภาพแล้ว ความ
ปลอดภัยในการใช้ยาก็เปน็ ส่ิงสา้ คัญ โดยเฉพาะในผู้ติดเชือเอชไอวีทีม่ ีการทา้ งานของไตบกพร่อง
ควรได้รับการปรับขนาดยาหรือเปล่ียนเป็นสูตรยาที่ไม่มีผลกระทบต่อการท้างานของไต หากมี
การใช้ขนาดยาหรือเลือกสูตรยาท่ีไม่เหมาะสมก็จะส่งผลให้การท้างานของไตแย่ลง จนน้าไปสู่
ภาวะไตวายได้ในที่สุด ซ่ึงจากการรวบรวมข้อมูลของผู้ติดเชือเอชไอวีท่ีมารับบริการท่ี
โรงพยาบาลกลางในปีงบประมาณ 2561 พบวา่ มผี ้ตู ิดเชอื เอชไอวที ่มี กี ารท้างานของไตบกพร่อง
ทังสิน 42 ราย และได้รับการปรับเปลี่ยนขนาดยาหรอื สูตรยาท่ีเหมาะสมในการรักษาทังสิน 30
ราย (ร้อยละ 71.43) ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีผู้ท่ีมีการท้างานของไตบกพร่องแต่ยังไม่ได้รับการ
ปรับเปลี่ยนยาทใี่ ชใ้ นการรักษาอกี หลายราย

เปำ้ หมำย เพ่ือให้ผู้ติดเชือเอชไอวีท่ีมีการท้างานของไตบกพร่องได้รับสูตรยาและขนาดยาต้านไวรัสเอช
ไอวที ่ีเหมาะสมตามคา่ การทา้ งานของไต

แนวทำงกำรพฒั นำ น้าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มาใช้ในการแจ้งเตือนแพทย์ผู้ให้การ
รกั ษาเมือ่ มีการส่ังใช้ยาต้านไวรสั เอชไอวีท่ีมผี ลต่อการท้างานของไต โดยเชอื่ มโยงข้อมูลระหว่าง
ค่า eGFR ครังล่าสุดของผู้ติดเชือเอชไอวีกับการส่ังใช้ยาที่มีผลต่อการท้างานของไต ซ่ึงระบบ
คอมพิวเตอร์จะแจ้งเตือนแพทย์ เมื่อผู้ติดเชือเอชไอวีมีค่า eGFR น้อยกว่า 50 ml/min/1.73
m2 เพื่อใหแ้ พทยพ์ จิ ารณาปรับเปลีย่ นขนาดยาหรอื สตู รยาต้านไวรสั เอชไอวี

สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :
เดิมในการพิจารณาการส่ังยาต้านไวรัสเอชไอวีในผู้ที่มีการท้างานของไตบกพร่อง แพทย์และ

เภสชั กรจะติดตามค่าการท้างานของไตคอื ค่า eGFR จากระบบคอมพิวเตอรเ์ อง โดยยังไม่มีระบบการแจ้งเตือน
ผ่านทางคอมพิวเตอร์ ท้าให้อาจมีผู้ติดเชือเอชไอวีบางรายที่มีการท้างานของไตบกพร่อง แต่ไม่ได้รับการ
ปรบั เปลี่ยนขนาดยาหรือสูตรยาต้านไวรสั เอชไอวี

ทางกลุ่มงานเภสัชกรรมจึงได้น้าระบบ IT มาช่วยในการแจ้งเตือนค่าการท้างานของไต เพ่ือให้
แพทยพ์ จิ ารณาปรบั เปล่ียนขนาดยาหรือสูตรยา โดยการพัฒนางานแบ่งเปน็ 2 ระยะ ดังนี
ระยะที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลแจ้งเตือนแพทย์ เมื่อผู้ติดเชือเอชไอวีมีค่า serum
creatinine มากกวา่ 2 mg/dL โดยยังไมไ่ ด้มกี ารเชื่อมโยงคา่ serum creatinine กับการสง่ั ใช้ยาตา้ นไวรัสเอช
ไอวที มี่ ีผลต่อการท้างานของไต
ระยะท่ี 2 ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลแจ้งเตือนแพทย์ เม่ือผู้ติดเชือเอชไอวีมีค่า eGFR น้อยกว่า
50 ml/min/1.73 m2 และเช่ือมโยงข้อมูลค่า eGFR นีกับการสั่งใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวีที่ต้องปรับขนาดตาม
การทา้ งานของไต ได้แก่ tenofovir, lamivudine และ zidovudine

ผลลพั ธ์ :

จากการพัฒนาระบบ IT ในระยะที่ 1 ท้าให้ผู้ติดเชือเอชไอวีได้รับการปรับเปลี่ยนขนาดยาหรือ

สูตรยาต้านไวรัสเอชไอวีเพ่ิมขึน แต่ยังมีบางส่วนท่ียังไม่ได้รับการปรับเปล่ียน อาจเนื่องมาจากการลืม

ปรับเปล่ียนขนาดยาหรือสูตรยาให้ผู้ติดเชือเอชไอวี หรือแพทย์ผู้รักษาอาจไม่ทราบรายการยาท่ีควรปรับขนาด

ตามการทา้ งานของไต

เมอื่ มกี ารพัฒนาระบบ IT ในระยะที่ 2 ซง่ึ เช่ือมโยงข้อมลู คา่ eGFR เขา้ กับตวั ยาทค่ี วรปรับขนาด

ตามการท้างานของไต ท้าใหแ้ พทย์รบั ทราบว่าผตู้ ิดเชือเอชไอวีมีการทา้ งานของไตบกพร่องและก้าลงั มีการส่ังใช้

ยาต้านไวรัสเอชไอวีท่ีควรปรับเปลี่ยนขนาด ผู้ติดเชือเอชไอวีจึงได้รับการปรับเปล่ียนขนาดยาหรือสูตรยาต้าน

ไวรัสเอชไอวีท่ีมีเหมาะสมตามการท้างานของไต

ตารางแสดงจา้ นวนผตู้ ิดเชอื เอชไอวที ไ่ี ดร้ บั การปรบั เปลีย่ นขนาดยาหรือสตู รยาตา้ นไวรัสตามการทา้ งานของไต

ปีงบประมำณ จำนวนผู้ติดเชือเอชไอวีท่ี มีกำร จำนวนผู้ติดเชือเอชไ อวีท่ีไ ด้รั บกำร
ทำงำนของไตบกพร่อง ปรบั เปลี่ยนขนำดยำหรือสูตรยำ (รอ้ ยละ)

2562 29 23 (79.31)

2563 26 22 (84.62)

2564 39 39 (100.00)

อตั ราผูต้ ิดเช้อื เอชไอวีท่ีไดร้ บั การปรบั เปลยี่ นขนาดยาหรอื สตู รยาที่เหมาะสม ตาม
ค่าการทางานของไต

100.00

100 79.31 84.62

80

60

40

20

0 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

บทเรยี นทไี่ ด้รับ :
- ผู้ติดเชือเอชไอวีได้รับการปรับเปล่ียนขนาดยาหรือสูตรยาต้านไวรัสเอชไอวีตามค่าการท้างานของไต

ท้าให้เกดิ ความปลอดภยั ในการใชย้ า
- ช่วยลดความเคล่ือนทางยาท่ีอาจเกดิ ขึนในกระบวนการรกั ษาผตู้ ดิ เชือเอชไอวี
- สามารถน้าระบบ IT ทไ่ี ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อเป็นแนวทางในการป้องกนั การสง่ั ใช้ยาชนดิ อ่นื ๆ ที่มผี ลต่อ

การทา้ งานของไต

กำรติดตอ่ กบั ทีมงำน :

ช่ือ – สกลุ ภญ.ชนานุช เออื สมหวงั ตา้ แหนง่ เภสชั กรปฏิบตั ิการ

หนว่ ยงาน กลมุ่ งานเภสชั กรรม โรงพยาบาลกลาง สา้ นักการแพทย์

โทรศัพทเ์ คล่อื นท่ี 086-320-3069 E-mail [email protected]

25. ชื่อผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : ผลของกำรบริบำลทำงเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกท่ีติดเชือ
เอชไอวี ณ โรงพยำบำลกลำง

คำสำคัญ : การบริบาลทางเภสัชกรรม ผูต้ ดิ เชือเอชไอวี
ภำพรวม :

ปัญหำ เป้าหมายในการรักษาโรคติดเชือเอไอวีคือ ลดปริมาณเชือไวรัสในเลือด (viral load; VL)
ให้น้อยกว่า 50 copies/ml โดยสิ่งส้าคัญที่จะช่วยให้ประสบความส้าเร็จในการรักษาคือ ผู้ติดเชือเอชไอวี
ต้องรับประทานยาอย่างถูกต้อง ตรงเวลา และสม่้าเสมอ ซึ่งจากการติดตามผู้ติดเชือเอชไอวีท่ีมารับบริการ
ที่โรงพยาบาลกลางในปีงบประมาณ 2561 พบว่า มีผู้ติดเชือเอชไอวีที่ได้รับประทานยา 1,580 ราย แต่มีผู้ที่
สามารถกดไวรัสได้น้อยกว่า 50 copies/ml เพียง 1,233 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.04 แสดงให้เห็นว่ายังมี
ผูต้ ดิ เชอื เอชไอวีอีกจ้านวนมากท่ีไม่สามารถกดไวรัสในเลือดได้ โดยมสี าเหตุมาจากปัญหาในการใช้ยาต้านไวรัสต่างๆ
เช่น การไม่ตระหนักถึงความส้าคัญของการรับประทานยา การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การเกิดอันตรกิริยา
ระหว่างยา เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านีได้ส่งผลให้ผู้ติดเชือเอชไอวีไม่อยากรับประทานยา หรือรับประทานยาแล้ว
ไม่ได้ประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่วางไว้ ดังนันเภสัชกรจึงเข้าร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพเพ่ือดูแลผู้ติดเชือเอชไอวี
โดยให้การบริบาลทางเภสัชกรรม มีการให้ค้าปรึกษาและแก้ไขปญั หาจากการใช้ยาต่างๆ เพ่อื ให้ได้ผลการรักษา
เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีวางไว้

เปำ้ หมำย เพ่ือช่วยค้นหาและแก้ไขปัญหาจากการใช้ยาให้แก่ผู้ติดเชือเอชไอวี ส่งเสริมให้ผู้ติดเชือเอชไอวีใช้
ยาตา้ นไวรสั เอชไอวีได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและสามารถกดไวรสั ในเลือดไดน้ ้อยกวา่ 50 copies/ml

แนวทำงกำรพัฒนำ เภสัชกรให้การบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ติดเชือเอชไอวี โดยติดตามและประเมิน
ความร่วมมือในการใชย้ า ช่วยคน้ หาและแก้ไขปัญหาในการใชย้ าแก่ผู้ติดเชือเอชไอวีเป็นรายบุคคล
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :

1. เภสัชกรทบทวนเร่ืองการบริบาลทางเภสัชกรรม แนวทางการรักษาผู้ติดเชือเอชไอวี และปัญหาจาก
การใช้ยา

2. สร้างแบบสอบถามเพ่ือใช้ในการติดตามประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ติดเชือเอชไอวี และ
สร้างแบบบันทึกในการเก็บข้อมูลของผู้ติดเชือเอชไอวีเพ่ือใช้ในการให้การบริบาลทางเภสัชกรรมเป็น
รายบคุ คล

3. รวบรวมปัญหาจากการใช้ยาที่ผ่านมาและน้ามาแบ่งประเภท เพื่อใช้ในการก้าหนดเกณฑ์การคัดผู้ติด
เชือเอชไอวีเข้ารับการบริบาลทางเภสชั กรรม โดยแบ่งประเภทของผู้ท่ีควรได้รับการบริบาล ดังนี 1) ผู้
ท่ีได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีเป็นครังแรก 2) ผู้ที่มีการเปลี่ยนแปลงสูตรยาต้านไวรัสเอชไอวีท่ีใช้ในการ
รกั ษา 3) ผูท้ ีเ่ กดิ อาการไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยาตา้ นไวรัสเอชไอวี 4) ผ้ทู ม่ี ไี วรสั ในเลือดมากกวา่ 50
copies/ml 5) ผูท้ ีม่ ีความร่วมมือในการใช้ยาที่ไมด่ ี หรือไม่มาตามนดั 6) ผ้ทู ี่ตอ้ งการรับค้าปรึกษาจาก
เภสชั กร

4. ขันตอนในการให้บริบาลทางเภสัชกรรม มีดังนี 1) สัมภาษณ์ข้อมูลท่ัวไป พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
ทบทวนรายการยา สมุนไพร อาหารเสริมที่รับประทานอยู่ ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ 2)
ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผูต้ ิดเชอื เอชไอวีโดยใช้แบบสอบถามควบคู่ไปกับการพิจารณาคา่
viral load 3) ค้นหาปัญหาจากการใช้ยาท่ีเกิดขึน 4) แก้ไขปัญหาจากการใช้ยาให้แก่ผู้ติดเชือเอชไอวี
5) ส่งต่อข้อมูลท่ีจ้าเป็นให้แก่บุคลากรท่ีมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาได้ทราบ 6) ติดตามผลของการ
แก้ไขปัญหาในนดั ครังถัดไป

ผลลพั ธ์ :

จากการบริบาลทางเภสชั กรรมให้แกผ่ ตู้ ิดเชอื เอชไอวีในปงี บประมาณ 2562 ถึง 2564 พบปญั หาจากการใชย้ าท่ี

ได้รบั การแกไ้ ขแบ่งออกเป็น 7 ประเภท ดงั นี

จำนวนปญั หำ (รอ้ ยละ)

ปัญหำจำกกำรใชย้ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม ำ ณ ปี ง บ ป ร ะ ม ำ ณ ปี ง บ ป ร ะ ม ำ ณ
2562 2563 2564

(N = 120) (N = 124) (N = 228)

การไดร้ บั ยาโดยไม่มขี อ้ บ่งใช้ 29 (17.90) 34 (19.43) 96 (26.67)

ความจ้าเป็นต้องได้รับยาในการรักษา 12 (7.41) 15 (8.57) 10 (2.78)
เพ่มิ เตมิ

การได้รับยาท่ีไม่มีประสทิ ธผิ ล 14 (8.64) 12 (6.86) 26 (7.22)

การได้รบั ยาขนาดต่า้ กวา่ ขนาดการรักษา 6 (3.70) 8 (4.57) 17 (4.72)

การเกดิ อาการไม่พึงประสงคจ์ ากยา 41 (25.31) 43 (24.57) 89 (24.72)

การได้รับยาขนาดสงู กวา่ ขนาดการรกั ษา 8 (4.94) 9 (5.14) 4 (1.11)

การไม่ใหค้ วามร่วมมอื ในการใชย้ า 52 (32.10) 54 (30.86) 118 (32.78)

รวม 162 (100.00) 175 (100.00) 360 (100.00)

และเมื่อพิจารณาร้อยละของผู้ติดเชือเอชไอวีที่สามารถกดไวรัสในเลือดได้น้อยกว่า 50 copies/ml โดย

เปรยี บเทยี บก่อนและหลังการใหบ้ ริบาลทางเภสัชกรรม พบวา่ หลงั ให้การบรบิ าลทางเภสัชกรรมมีรอ้ ยละของผู้

ตดิ เชอื เอชไอวีท่ีสามารถกดไวรัสในเลอื ดได้เพิ่มขึน

100 92.19 90.81 91.62
68.75 62.63 70.67

50

0 ปี งบประมาณ 2563 ปี งบประมาณ 2564
ปี งบประมาณ 2562

ก่อนให้การบริบาลทางเภสัชกรรม หลงั ให้การบริบาลทางเภสัชกรรม

บทเรียนทีไ่ ด้รับ :

- ผู้ติดเชือเอชไอวีได้รับการแก้ไขปัญหาจากการใช้ยา ส่งผลให้ความร่วมมือในการใช้ยาต้านเอชไอวี

เพมิ่ ขึน สามารถกดไวรัสในเลือดได้

- ส่งเสริมบทบาทของเภสัชกรในการดูแลผู้ติดเชือเอชไอวีร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์อื่น ๆ ใน

รปู แบบสหสาขาวิชาชพี เพอื่ ใหก้ ารรกั ษาด้วยยาต้านเอชไอวเี ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

กำรติดตอ่ กับทมี งำน :

ชือ่ – สกลุ ภญ.ทศพร แสงทองอโณทยั ตา้ แหนง่ เภสัชกรช้านาญการ

หนว่ ยงาน กลุม่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลกลาง สา้ นักการแพทย์

โทรศัพทเ์ คล่อื นที่ 085-149-1299 E-mail [email protected]

26. ชื่อผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : Double S belling safety

คำสำคัญ : การใส่คาสายสวนปัสสาวะ การติดเชือในระบบทางเดินปัสสาวะจากการใส่คาสายสวนปัสสาวะ การ
ปฏบิ ัตเิ พือ่ ป้องกนั การตดิ เชอื ระบบทางเดนิ ปัสสาวะจากการใส่คาสายสวน
ภำพรวม :

ปัญหำ การติดเชอื ในระบบทางเดินปสั สาวะท่สี ัมพนั ธ์กับการใส่คาสายสวนปัสสาวะ เป็นการติดเชือท่ี
พบบ่อย โดยเฉพาะผู้ป่วยท่ีนอนโรงพยาบาลเป็นเวลานาน หรือคาสายสาวทางเดินปัสสาวะ
ท้าให้เชือแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือดได้ง่าย ท้าให้เสียเงินและเวลาในการรักษาและเป็น
สาเหตุเสียชีวิตท่ีพบบ่อยในผู้สูงอายุ พยาบาลผู้ดูแลต้องมีความรู้ความช้านาญ และให้การ
พยาบาลอย่างถูกต้องตามหลักการป้องกันและควบคุมการติดเชือในโรงพยาบาล โดยเฉพาะ
การดูแลสายสวนปัสสาวะและถุงรองรับปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวน ผู้จัดท้าจึงจัดท้า
นวัตกรรม Double S และ Distance bell ขึน เพ่ือช่วยให้สายสวนปัสสาวะ และถุงรองรับ
ปัสสาวะอยู่ในต้าแหน่งที่เหมาะสมตามมาตรฐาน IC เพ่ือช่วยลดโอกาสการติดเชือในระบบ
ทางเดนิ ปัสสาวะจากการใสส่ วยสวน

เปำ้ หมำย 1. เพื่อให้สายสวนปัสสาวะไม่ตกทอ้ งช้าง หัก พบั งอ
2. เพื่อใหถ้ ุงปสั สาวะอยใู่ นตา้ แหน่งท่เี หมาะสม

แนวทำงกำรพฒั นำ ผู้จัดท้าจึงจัดท้านวัตกรรม Double S และ Distance bell ขึน เพ่ือช่วยให้
สายสวนปัสสาวะ และถุงรองรับปัสสาวะอยู่ในต้าแหนง่ ท่ีเหมาะสมตามมาตรฐาน IC เพ่ือชว่ ย
ลดโอกาสการติดเชือในระบบทางเดนิ ปัสสาวะจากการใสส่ วยสวน

สำระสำคัญของกำรพัฒนำ :
Double S ครังที่ 1

1. จัดท้าแผนงานเสนอตอ่ ผบู้ รหิ าร
2. ทบทวนหลกั การ การดแู ลผ้ปู ่วยท่คี าสายสวนในระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
3. น้าตะขอตัว S ติดไว้กับถุงรองรับปัสสาวะ ยืดสายสวนปัสสาวะออกให้ตึงเพื่อป้องกันสายสวนปัสสาวะหัก

พับ งอ ตกทอ้ งช้าง และน้าไปตดิ ไวท้ ่ีปลายเตยี ง
ปัญหาท่ีพบ พบว่า การน้าตะขอตัว S ติดไว้กับถุงรองรับปัสสาวะ และยืดสายสวนปัสสาวะออกให้ตึง สามารถ
ป้องกันสานปัสสาวะหัก พบั งอ ได้ แต่ไมส่ ามารถลดการตกท้องช้างได้ จงึ ปรบั ปรุงนวัตกรรมครังที่ 2
Double S ครังที่ 2

1. น้าตะขอตัว S ตัวที่ 1 ติดไว้กับถุงรองรับปัสสาวะ ยืดสายสวนปัสสาวะออกให้ตึงเพ่ือป้องกันสายสวน
ปัสสาวะหกั พบั งอ และน้าไปติดไวท้ ปี่ ลายเตยี ง

2. น้าตะขอตัว S ตัวท่ี 2 ติดไว้กับสายสวนปัสสาวะก่ึงกลางสาย และติดไว้กับขอบเตียง เพื่อป้องกันสายสวน
ปสั สาวะตกทอ้ งชา้ ง (เพิ่มตะขอตัว S จาก 1 ตวั เป็น 2 ตวั )

Distance bell ครงั ที่ 1
1. จดั ท้าแผนงานเสนอตอ่ ผู้บริหาร
2. ทบทวนหลักการ การดูแลผปู้ ่วยท่คี าสายสวนในระบบทางเดินปสั สาวะ
3. น้าโฟมสขี าวเมด็ กลมขนาดใหญต่ ดิ กบั เชอื กสขี าว
4. วัดระยะจากโฟมสีขาวเม็ดกลมขนาดใหญ่ขึนไปตามเชือกสีขาว 10 เซนติเมตร และวัดระยะความยาวของ
ถุงรองรับปัสสาวะทงั หมด จะไดเ้ ทา่ กับความยาวของเชือก และน้าไปตดิ ไว้ท่ปี ลายเตียง
5. ยกระดับเตียงให้สงู ขนึ ไมใ่ หโ้ ฟมสขี าวเมด็ กลมขนาดใหญ่ทต่ี ิดไว้ปลายเตยี งติดพนื

ปญั หาท่พี บ พบวา่ การน้า Distance bell ตดิ ไวป้ ลายเตยี งสามารถลดถุงรองรับปสั สาวะติดพนื ได้ แตเ่ มด็ โฟม

ขนาดใหญ่มีนา้ หนักเบาปลิวง่าย ท้าให้ระยะทีว่ ัดได้ไม่แม่นย้า จึงปรบั ปรงุ นวัตกรรมครังที่ 2

Distance bell ครังท่ี 2

1. นา้ กระดง่ิ สชี มพแู ทนโฟมสีขาวเม็ดกลมขนาดใหญ่ ติดกับเชือกสขี าว

2. วดั ระยะจากกระด่งิ สชี มพขู ึนไปตามเชือกสขี าว 10 เซนติเมตร และวัดระยะความยาวของถุงรองรบั ปสั สาวะ

ทังหมดจะไดเ้ ทา่ กับความยาวของเชอื ก และน้าไปตดิ ไวท้ ีป่ ลายเตียง

3. ยกระดับเตียงให้สูงขึนไม่ให้กระดง่ิ สีชมพูตดิ พนื

4. ประเมนิ ผลพบวา่ เปล่ียนจากโฟมเปน็ กระดง่ิ ทา้ ให้ Distance bell มนี ้าหนักท้าใหเ้ ชือกด่ิงตลอดเวลา

ผลลพั ธ์ :

1. สายสวนปัสสาวะไม่ตกทอ้ งชา้ ง หัก พบั งอ 100 %

2. ถงุ รองรับปัสสาวะไม่ติดพืน 100 %

บทเรยี นทไ่ี ดร้ บั :

ลดการเกิดการติดเชือในผู้ป่วยที่ใส่คาสายสวนปัสสาวะ ลดโอกาสการติดเชือซ้าซ้อน และพัฒนามาตรฐาน

ทางการพยาบาลในการป้องกันการตดิ เชือในผปู้ ว่ ยทใี่ สค่ าสายสวนปสั สาวะในโรงพยาบาล

กำรตดิ ตอ่ กบั ทีมงำน :

ชื่อ – สกลุ นางสาวสดุ ารัตน์ ขนั โท ต้าแหนง่ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั ิการ

หนว่ ยงาน หอผปู้ ว่ ยหนักโรคหวั ใจ CCU

โทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี 096-6923562 E-mail [email protected]

27. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ Re-used Anatomy Model

คำสำคัญ : Anatomy model, model, หุ่นจา้ ลอง, การฝกึ ทกั ษะ, สอื่ การเรยี นการสอน

ภำพรวม :

ปญั หำ หอผู้ป่วยหนักโรคระบบทางเดินหายใจ (RCU) ให้การดูแลผู้ป่วยท่ีมีการหายใจล้มเหลวแล้ว

ได้รับการใส่ท่อหลอดลมคอ และใช้เครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วยบางรายท่ีใส่ท่อหลอดลมคอเป็นเวลานาน

สามารถหย่าเคร่ืองช่วยหายใจส้าเร็จ แต่ไม่สามารถถอดท่อหลอดลมคอได้ ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน

เช่น ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลนานขึน เกิดปอดอักเสบซ้า ๆ เป็นต้น ซ่ึงการรักษาด้วยการเจาะคอ

(Tracheostomy) จึงเป็นทางเลือกและวิธีการหนึ่งในการน้ามาใช้ในการวางแผนรักษาในระยะยาว

ภายหลงั จากผูป้ ่วยสามารถหยา่ เครื่องช่วยหายใจ และกลบั บา้ น บางครังผู้ป่วยและญาติผูป้ ว่ ยปฏเิ สธการ

รกั ษา หรอื ใชเ้ วลาในการตัดสินใจ ไมม่ ีความมัน่ ใจในการดูแลผปู้ ่วยเนือ่ งจากขาดความรู้ หรือไดร้ ับข้อมูล

มาไม่ถูกต้อง ท้าให้วิตกกังวล เครียดกับการดูแลผู้ป่วย การใช้สื่อหุ่นจ้าลองเป็นส่ือการเรียนการสอน

นับเปน็ สือ่ ทกี่ ้าลงั มบี ทบาทส้าคัญด้านการแพทย์ที่สร้างประสบการณก์ ารเรียนรู้ของญาตผิ ู้ปว่ ยในการฝึก

ทักษะ และเพื่อมุ่งเน้นให้ญาติผปู้ ่วยดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดี ตระหนัก

ถึงความส้าคัญต่อการมสี ่วนร่วมในการดูแลผูป้ ่วยทไ่ี ด้รับการรกั ษาดว้ ยเครอ่ื งชว่ ยหายใจ

เป้ำหมำย 1. เพอื่ ใหญ้ าติผปู้ ่วยเข้าใจแนวทางการรกั ษาหรือไดร้ ับความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกแนว

ทางการรักษา

2. เพอ่ื ให้ญาติผปู้ ว่ ยมีความรู้ในการดูแลผปู้ ว่ ยที่ไดร้ ับการเจาะคอ

3. เพ่อื ให้ผ้ปู ่วยและญาติผดู้ ูแลผปู้ ว่ ยพงึ พอใจ

แนวทำงกำรพัฒนำสร้างส่ือการเรียนการสอนให้เห็นได้ชัดเจน สามารถปฏิบัติได้จริง โดยประยุกต์ใช้

Re-used Anatomy Model เป็นหุ่นจ้าลองส้าหรับประกอบการอธิบายให้ญาติได้เห็นทางเลือกในการ

รักษา และสอนญาตผิ ้ปู ว่ ยในการดูแลแผลเจาะคอ ให้อาหารทางสายยาง และการดูดเสมหะ

สำระสำคัญของกำรพฒั นำ :

ปรับแนวทางการปฏิบัติงานจากเดิมท่ีใช้การ อธิบายให้ญาติผู้ป่วย เข้าใจแนว ทางการ รักษาเ พ่ื อ

ประกอบการตัดสินใจเลือดวิธีการรักษา เปลี่ยนเป็นจัดท้านวัตกรรม Re-used Anatomy Model โดยการน้า

วสั ดทุ ี่เหลือใช้มาจัดท้าเป็นหนุ่ จ้าลอง เพอื่ ใชใ้ นการอธิบายแนวทางการรักษาและใช้ในการแนะน้าญาติผู้ป่วยที่

ต้องตัดสินใจในการเลือกท้าหัตถการกับผู้ป่วย และใช้ในการสอนญาติผู้ป่วยดูแลผู้ป่วยเจาะคอ เพื่อช่วยลด

ความวิตกกังวล ความเครียดของครอบครัว ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างครอบครัวผู้ป่วยและทีมสุขภาพ ให้

เกิดการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและร่วมกันดูแลผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและฟื้นฟูสภาพให้หายได้เร็ว

ขนึ

ผลลัพธ์ :

ตัวชวี ดั (KPI) เป้าหมาย (Target) ผลลัพธ์

1. ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยมีความรู้และเข้าใจและ ผู้ป่วยและญาติที่ได้รับการรักษาโดย 100 %

เห็นความส้าคญั ในการทา้ หตั ถการเจาะคอผู้ป่วย การเจาะคอทุกรายมีความรู้และ

ยอมรับการรักษาดว้ ยการเจาะคอ

ตวั ชวี ดั (KPI) เปา้ หมาย (Target) ผลลพั ธ์

2. ผู้ป่วยและญาติได้รับการสอนโดยใช้หุ่นจ้าลอง ผู้ป่วยและผู้ดูแลทุกรายท่ีได้รับการ 100 %

ส้าหรับแผนการสอนญาติผู้ป่วยในการดูแลแผล รักษาด้วยการเจาะคอมีทักษะในการ

เจาะคอ ให้อาหารทางสายยางและการดดู เสมหะ ดูแลแผลเจาะคอและให้อาหารทาง

สายยางถูกตอ้ ง

3. ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลผู้ป่วยพึงพอใจในการใช้ ผู้ป่วยและผู้ดูแลที่ได้รับการสอนด้วย 98 %

ห่นุ จ้าลอง หุน่ จา้ ลองมีความพึงพอใจระดบั มาก

บทเรยี นท่ีได้รับ :

การใช้ส่ือการเรียนการสอนมาประยุกต์ใช้กับการสอนอย่างมีแบบแผนนัน คือ ตัวกลางหรือช่องทาง

ถ่ายทอด องค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งความรู้ไปสู้ผู้เรียน และท้าให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี

ประสิทธิภาพ โดยการใช้สื่อการเรียนก็นับได้ว่าก็เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนผู้สอนได้แสดงบทบาท และ

เกิดความเข้าใจในเร่ืองท่ีเรียนท่ีสอนกันได้มากขึน ดังนันการประยุกต์ใช้ Re-used Anatomy Model

ซ่ึงเปน็ หุ่นจ้าลองซง่ึ ผูจ้ ัดทา้ สร้างขึนจากวสั ดทุ ่ใี ช้แลว้ กลบั มาใชซ้ า้ ให้ญาติไดเ้ หน็ ห่นุ จา้ ลองแล้วสามารถตัดสินใจ

เลือกในการรกั ษา และยงั เป็นหุ่นจ้าลองสอนญาติผปู้ ว่ ยในการดูแลแผลเจาะคอ ให้อาหารทางสายยาง และการ

ดูดเสมหะ นอกจากจะเปน็ ประโยชนใ์ นการรไี ซเคิลของใช้แลว้ ใหเ้ กิดประโยชน์ และยังสามารถนา้ มาใช้ประกอบ

ในการสอนในด้านการดูแลผูป้ ว่ ยทา้ ใหเ้ กดิ ผลลัพธ์ในหนว่ ยงาน

กำรติดตอ่ กบั ทมี งำน :

ช่ือ – สกุล นางสาวลัดดาภรณ์ เพ็งแจ่ม ต้าแหน่ง พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ

หน่วยงาน หอผ้ปู ่วยหนักโรคระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลกลาง

โทรศพั ท์เคลือ่ นที่ 0863685022 E-mail. [email protected]

28. ชอ่ื ผลงำน / โครงกำรพัฒนำ : “กำรพัฒนำกำรพยำบำลแบบองคร์ วม”

คำสำคญั : การพยาบาล, Holistic care

ภำพรวม :

ปญั หำ การพยาบาลทเ่ี หมาะสมควรเปน็ การพยาบาลแบบองค์รวมซึ่งหมายถงึ การดูแลให้ผปู้ ว่ ยมีสุขภาวะท่ีดี
ทังร่างกาย จิตใจ สังคม/ส่ิงแวดล้อม และจิตวิญญาณ แต่จากการทบทวนเวชระเบียน 30 ฉบับของหน่วยงานใน
เดือน ตุลาคม 2562 ในหัวข้อการวินิจฉัยทางการพยาบาล พบว่า พยาบาลประเมินพบปัญหาด้านร่างกายมากที่สุด
รองลงมาคือ จิตใจ และสังคม/สิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ85.26, 9.93 และ4.81 ตามล้าดับโดยไม่พบปัญหา
ด้านจิตวิญญาณเลย สอดคล้องกับผลการประเมินสมรรถนะประจ้าปี 2562 พบว่า หัวข้อการวินิจฉัยการพยาบาลซ่ึง
กล่าวถึงพยาบาลสามารถประเมินปัญหาทางการพยาบาลได้อย่างครอบคลุม พยาบาลทุกคนในหน่วยงานศัลยกรรม
พเิ ศษ 20/16 ประเมินคะแนนต้า่ กว่าระดบั สมรรถนะทคี่ วรเปน็ จากการทบทวนร่วมกับหวั หน้าหนว่ ยงาน พยาบาลให้
ความเห็นวา่ การวินจิ ฉัยการพยาบาลสว่ นใหญ่ระบุปญั หาไม่ครบทกุ มิติ เน่ืองจาก ดา้ นอ่นื ๆมคี วามเปน็ นามธรรมต้อง
ใช้เวลาคิด ส่วนใหญ่จึงมแี ต่ด้านรา่ งกายเพราะประเมนิ งา่ ยจากประสบการณ์ ความเคยชนิ จากปัญหาดงั กล่าวจะเห็น
ได้ว่า เม่ือพยาบาลไม่สามารถประเมินปัญหาทางการพยาบาลได้อย่างครอบคลุม จะส่งผลท้าให้วางแผน และให้การ
พยาบาลท่ีไมค่ รบองค์รวม
เป้ำหมำย พยาบาลในหนว่ ยงานจา้ นวน 7 คน มกี ารประเมินปัญหาทางการพยาบาลผู้ป่วยแบบองคร์ วม และ
มีบันทึก Nurses note ใหค้ รบถว้ นตามปญั หา
แนวทำงกำรพฒั นำ สร้างแบบบันทึกรายการปญั หาทป่ี ระเมินพบ (Problem list) โดยระบุช่องปัญหาแต่ละ
ดา้ นประกอบดว้ ย รา่ งกาย จิตใจ สงั คม/ส่งิ แวดลอ้ ม และจิตวญิ ญาณ
สำระสำคัญของกำรพัฒนำ :
1. น้าแบบบันทึกรายการปัญหาที่ประเมินพบ (Problem list) ท่ีพัฒนา ชีแจงรายละเอียดการใช้งาน และ
ทดลอง
ใชใ้ นเดอื น พ.ย.- ธ.ค. 2562 โดยอธบิ ายขอ้ ตดิ ขดั หรือความเข้าใจผดิ ในการใชง้ าน
2. ติดตามเก็บขอ้ มลู เดือน ม.ค. 63 และ วนั ที่ 1-19 ก.พ. 63 โดยแบง่ การประเมนิ เป็น 2 แบบ คอื 1)
ประเมินจากปัญหาทังหมด และแบ่งสัดส่วนเป็นด้านต่างๆใน Problem list ท่ีพัฒนาขึน ม.ค. 63 จ้านวน 40
ราย และ วันท่ี 1-19 ก.พ. 63 จ้านวน 20 ราย และ2) ทบทวนปัญหาใน Problem list ร่วมกับข้อมูลใน เวช
ระเบียนในผู้ป่วยที่ยังรักษาตัวในโรงพยาบาล ม.ค. 63 และ วันที่ 1-19 ก.พ. 63 จ้านวนเดือนละ 10 ราย โดย
ทบทวนรว่ มกันเวลาส่งเวรในเวรดึกตอ่ เช้า ถงึ ความครบถ้วนของการพบปัญหาในผูป้ ว่ ยรายนนั ๆ
ผลลัพธ์ :
1. ปญั หาท่ปี ระเมินพบจากการทบทวนข้อมลู

เดือน จา้ นวนเวช จา้ นวน ปัญหา ดา้ นจิต
ระเบียน ปัญหา วิญญาณ
ทังหมด ด้านรา่ งกาย ดา้ น ดา้ นสังคม/
อารมณ์ สิง่ แวดล้อม

(ราย) n (%) n (%) n (%) n (%) n (%)

ต.ค.-62 40 312 (100) 266 (85.26) 31 (9.93) 15 (4.81) 0

ม.ค.-63 40 364 (100) 263 (72.25) 46 53 (14.56) 2 (0.55)

(12.64)

1-19 ก . พ . 20 215 (100) 162 (75.35) 20 (9.3) 29 (13.49) 4 (1.86)

2563

2. สดั สว่ นของปัญหาในแตล่ ะเดอื นแบง่ ด้านตา่ งๆ
ก่อนทำนวตั กรรม

4.81% ต.ค.-62, ดา้ นจติ ดา้ นรา่ งกาย
9.94 % วญิ ญาณ, 0, 0% ดา้ นอารมณ์

ดา้ นสงั คม/สงิ่ แวดลอ้ ม

85.26% ดา้ นจติ วญิ ญาณ

หลงั ทำนวตั กรรม

ม.ค.-63, ดา้ น ม.ค.-63, ดา้ น 1-19 ก.พ. 1-19 ก.พ. ดา้ นรา่ งกาย
สงั คม/ จติ วญิ ญาณ, 2563, ดา้ น 2563, ดา้ นจติ
0.55%, 0%
สงิ่ แวดลอ้ ม, สงั คม/ วญิ ญาณ,
14.56%, ม.ค.-63, ดา้ น สงิ่ แวดลอ้ ม, 1.86%, 2%
15% รา่ งกาย,
72.25%, ดา้ นรา่ งกาย 13.49%, ดา้ นอารมณ์
ม.ค.-63, 72% ดา้ นอารมณ์ 14%
ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสงั คม/สงิ่ แวดลอ้ ม 1-19 ก.พ. ดา้ นสงั คม/สง่ิ แวดลอ้ ม
, 12.64%, ดา้ นจติ วญิ ญาณ 1-19 2563, ดา้ น ดา้ นจติ วญิ ญาณ
ก.พ.
13% 2563, รา่ งกาย,
ดา้ น 75.35%, 75%
อารมณ์,
9.30%,
9%

3. ความครบถว้ นของการประเมนิ ปญั หาและการบนั ทกึ ใน Nurses note

ปัญหาท่พี บ ปัญหาท่ขี าด 1.19 ปัญหาทพ่ี บ ปัญหาทขี่ าด
98.81 9.09 10
100% 2.11 7.14 16.00 100% 40
90% 90%
80% 97.89 92.86 84 80% 90.91 90 60
70% 70%
60% 0 60%
50% 50%
40% 40%
30% 30%
20% 20%
10% 10%
0% 0%

บทเรียนทไ่ี ด้รับ : ม.ค. 63 1-19 ก.พ. 63

การพัฒนางานและมีเป้าหมายร่วมกัน การท้างานเป็นทีม การมีส่วนรับผิดชอบร่วมกันในการ

ปฏิบตั ิงาน ความร่วมมอื ร่วมใจ การเอาใจใส่ ของบุคลากร ส่งผลใหง้ านประสบผลสา้ เร็จ ไดผ้ ลงานท่มี ีคณุ ภาพ

กำรตดิ ตอ่ กับทีมงำน :

ชอื่ – สกุล นางสาวสุคนธ์จิต อุปนนั ชัย และนางสาวศุจนิ ันท์ กาศลงั กา ตา้ แหนง่ พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ

หน่วยงาน ศัลยกรรมพิเศษ 20/16 โรงพยาบาลกลาง

โทรศัพท์เคล่ือนที่ 092 249 3104, 095 852 3547 E-mail [email protected]

29. ช่อื ผลงำน/โครงกำรพฒั นำ : กำรใหบ้ ริกำรอำหำรป่ันผสมสำหรับดูแลผ้ปู ่วยท่ีบำ้ น

คำสำคญั :

1. การให้บริการ หมายถึง การจัดท้าอาหารป่ันผสมท่ีถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและโภชนบ้าบัดให้กับ

ผปู้ ่วย

2. อาหารปั่นผสม หมายถึง อาหารท่ีมีส่วนประกอบของอาหารหลัก 5 หมู่ มีคุณค่าครบถ้วนตามหลัก

โภชนาการ น้ามาท้าให้สุกแล้วปั่นผสมเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้อาหารท่ีมีลักษณะเป็นของเหลวสามารถไหลผ่าน

สายให้อาหารได้

ภำพรวม :
เพื่อลดปัญหาความยุ่งยากในการจดั ท้าอาหารสตู รปัน่ ผสมให้กับผู้ป่วยท่ีบ้าน ท้าให้ผู้ป่วยที่รักษาตวั ท่ี

บ้านไดร้ บั อาหารที่มีสารอาหารที่เพียงพอ อย่างสมา้่ เสมอ โดยญาติไม่ต้องรบั ภาระจดั ท้าอาหารสตู รปนั่ ผสมเอง
สอดคล้องกับโครงการศาสตร์พระราชา หลักการทรงงาน 23 ประการ ประการท่ี 16 ขาดทุนเป็นการได้ก้าไรของ
เราของโรงพยาบาลหลวงพ่อทวศี ักด์ิ ชุตินธฺ โร อุทศิ

ปญั หำ

1. ผู้ปว่ ยอาจไดร้ ับอาหารสูตรปั่นผสมที่มีคุณค่าทางอาหารสารอาหารไม่ครบถว้ น ไมเ่ พียงพอไม่ครบทุกมือ

2. ญาติผู้ป่วยไม่สามารถท้าอาหารสูตรป่ันผสมได้เนื่องจาก ไม่มีเวลา ไม่มีความรู้ด้านโภชนาการ

ไม่มีความร้ดู ้านหลักสุขาภบิ าลอาหาร

เป้ำหมำย เพ่อื ให้ผู้ป่วยไดร้ ับอาหารทางสายให้อาหารสูตรปน่ั ผสมทเี่ พียงพอและสารอาหารครบถ้วน

แนวทำงกำรพัฒนำ
1. กอ่ นดำเนินกำร
1.1 ก้าหนดกลุม่ เป้าหมายโดยกลุ่มเป้าหมายไม่มีโรคประจ้าตัวแต่ไมส่ ามารถรบั ประทานทานอาหาร

เองได้ ประมาณ 5 – 10 ราย
1.2 ประชุมชีแจ้งภายในหนว่ ยงานและมอบหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ
1.3 จดั ท้าเอกสารและส่อื การสอนทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
1.4 ขออนมุ ตั ิโครงการ

2. ระหวำ่ งดำเนนิ กำร
2.1 กา้ หนดวนั เวลา และจ้านวนอาหารทต่ี ้องการกับญาติหรอื ผูด้ ูแลผ้ปู ว่ ยมารบั ที่โรงพยาบาล
2.2 สอนวธิ ีการให้อาหารทางสายใหอ้ าหาร, การเกบ็ รกั ษา และการเตรียมอาหาร

3. หลังดำเนินกำร
3.1 ติดตาม ประเมนิ ผล และสรุปผลการด้าเนินการโครงการน้าเสนอผบู้ ริหาร

สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :
ผู้ป่วยท่ีนอนพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลนาน มักรับประทานอาหารได้น้อยลง ไม่เพียงพอกับความ
ต้องการพลังงานและสารอาหารต่อวัน เนื่องจากภาวะความเจ็บป่วย การผ่าตัด การได้รับบาดเจ็บผู้ป่วยท่ีไม่
สามารถเคียวหรือกลืนอาหารได้ อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการได้ และผู้ป่วยกลุ่มนีมีความจ้าเป็น
ต้องใส่สายให้อาหารเป็นเวลานาน จนกว่าอาการจะคงท่ีหรือดีขึน ดังนันเม่ือแพทย์พิจารณาให้ผู้ป่วยกลับบ้าน
ได้ โดยต้องมีสายให้อาหารไปต่อท่ีบ้าน ญาติท่ีเป็นผู้ดูแลต้องเรียนรู้วิธีการให้อาหารทางสายให้อาหาร และ
วิธีการทา้ อาหารป่ันผสม เพ่ือให้สามารถน้าไปปฏิบตั ิไดเ้ องเมื่ออยู่บา้ น ซ่งึ ญาตทิ เี่ ป็นผู้ดแู ลส่วนใหญ่มีภาระงาน
ต้องประกอบอาชีพของตนเอง ไม่สะดวกในการจัดท้าอาหารปั่นผสม ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายให้
อาหารสตู รป่ันผสมไมต่ อ่ เนือ่ ง มผี ลต่อภาวะทุพโภชนาการ
ฝ่ายโภชนาการ จึงหาช่องทางท่ีจะท้าให้ผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายให้อาหารและน้าอย่างเพียงพอ
ตลอดระยะเวลาท่ีต้องรกั ษาตัวที่บ้านใหอ้ าการคงที่หรือดีขึน โดยจัดท้าอาหารปั่นผสมส้าหรบั ผปู้ ่วยทบี่ ้าน โดย
ผปู้ ่วยหรือญาตไิ ม่ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ยตามศาสตร์พระราชา “ขาดทนุ คอื กา้ ไร”
ผลลพั ธ์ :

ตวั ชวี ดั เป้าหมาย ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ

2563 2564

1. จ้านวนผู้ป่วยท่ีเข้าร่วมโครงการและได้รับ > 5 - 10 ราย 8 10

อาหาร

ปน่ั ผสม ไมน่ อ้ ยกว่า 3 เดอื น

2. อุบัติการณ์การกลับมานอนโรงพยาบาลซ้า 0 ราย 0 0

ดว้ ยภาวะทพุ โภชนาการหรือขาดความสมดุลของ

สารนา้ ในรา่ งกาย

3. รอ้ ยละของความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการ 95 % 99.2 98.7

อาหารป่ันผสมฯ

บทเรียนท่ไี ด้รับ :
โครงการให้บริการอาหารปั่นผสมสา้ หรับผูป้ ่วยที่ตอ้ งการดูแลผปู้ ่วยทีบ่ ้าน ท้าให้ผู้ป่วยได้รบั อาหารปน่ั
ผสมที่มีคุณค่าทางอาหารท่ีเพียงพอ ครบถ้วนทุกมืออย่างต่อเนื่องและถูกหลักสุขาภิบาล โดยลดภาระของญาติ
ทต่ี ้องท้าอาหารใหผ้ ปู้ ่วยเองและมีเวลาท่ีจะประกอบอาชพี ไปพร้อมกับการดแู ลผปู้ ่วย
กำรตดิ ตอ่ กับทมี งำน :
ชือ่ -สกุล นางสาว ศภุ าวรรณ รวิ บ้ารุง ตา้ แหน่ง นักโภชนาการชา้ นาญการพเิ ศษ
หนว่ ยงาน ฝา่ ยโภชนาการ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวศี กั ดิ์ ชุตินธฺ โร อุทศิ
โทรศัพทม์ อื ถือ 0870362343 Email [email protected]

30. ช่ือผลงำน/ โครงกำรพัฒนำ : รบั ยำฉบั ไว ไมต่ ้องพบแพทย์ ดว้ ยบรกิ ำร Drive Thru

คำสำคัญ : การรับบรกิ ารถึงรถ (Drive Thru)
ภำพรวม : โครงการส่งยาถึงรถ (Drive Thru) เป็นการให้บริการรูปแบบใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อลดความแออัดใน
โรงพยาบาล ป้องกันการแพร่กระจายเชือโควิด 19 และลดระยะเวลารอรับบริการในโรงพยาบาลให้บริการใน
ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรือรังมีประวัติ รับการรักษาที่โรงพยาบาลมีอาการคงที่ไม่มีภาวะฉุกเฉินทางคลินิกให้บริการ
ภายใต้แนวคิด “การให้บริการรักษาพยาบาลรูปแบบใหม่โดยบุคลากรทางการแพทย์ตามมาตรฐานวิชาชีพที่
เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายผู้รับบริการเป็นผู้เลือกรูปแบบการบริการโดยท่ีคุณภาพการรักษาพยาบาลไม่
เปลี่ยนแปลง” สามารถใช้บริการได้ ได้ทุกสิทธ์ิการรักษา รับยาได้ทุกชนิด พร้อมได้รับค้าแนะน้าและติดตาม
จากเภสชั กรใชย้ าจากเภสชั กร

ปญั หำ เนอื่ งจากแผนกผปู้ ่วยนอกของโรงพยาบาลมีความคบั แคบท้าให้เกิดความแออัดขณะรับบริการและ
ขันตอนการให้บริการของโรงพยาบาลมีความซับซ้อนผู้ป่วยจงึ เสียเวลารอรับบริการทโ่ี รงพยาบาลเป็นเวลานาน
ทา้ ให้เกดิ ความไม่ พงึ พอใจในบริการแมว้ า่ จะมีใหบ้ ริการส่งยาทางไปรษณยี ์แลว้ แต่ยังมีข้อจ้ากัดในเร่ืองสทิ ธิการ
รักษา ชนิดของยาที่จัดส่งโรงพยาบาลจึงจัดรูปแบบการให้บริการแบบใหม่ให้สอดคล้องกับมาตรการเว้น
ระยะหา่ งทางสงั คมและลดความเส่ียงในการติดและแพร่กระจายเชอื ในโรงพยาบาล

เปำ้ หมำย
1. เพื่อลดความแออดั ในการให้บรกิ ารในแผนกผ้ปู ว่ ยนอกของโรงพยาบาล
2. เพอ่ื ลดระยะเวลาการรอคอยของผู้ปว่ ยนอก
3. เพื่อใหผ้ ้ปู ว่ ยท่มี ารบั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจในบริการ
4. เพอื่ เพม่ิ ประสิทธิภาพการทา้ งานของบุคลากร

แนวทำงกำรพัฒนำ
1. วิเคราะห์ปัญหาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล จัดตังทีมพัฒนาโครงการส่งยาถึงรถ

(Drive Thru)
2. วิเคราะห์กลุ่มผู้ป่วยเพื่อออกแบบขันตอนการให้บริการโดยทีมพัฒนาโครงการส่งยาถึงรถร่วมกับ

องคก์ รแพทย์ หอ้ งตรวจผู้ปว่ ยนอก ห้องชนั สูตรโรคกลาง
3. ออกแบบขันตอนการใหบ้ ริการโดยการนา้ เทคโนโลยีการส่อื สารมาใช้ในการตดิ ต่อผู้ปว่ ย เชน่ โปรแกรมไลน์
4. จัดเตรียมสถานที่ ป้ายบอกจุดบริการโดยประสานtงานกับคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม คณะกรรมการ

พัฒนาระบบบริการและที มงานประชาสัมพั นธ์ ท้า VDO ประสัมพันธ์โครงการทาง YouTube
(https://youtu.be/ne7Jn72w2Nk)

5. น้าโครงการสง่ ยาถงึ รถ (Drive Thru) ทดลองใหบ้ รกิ ารและเกบ็ ข้อมูลเพ่ือน้ามาปรับปรุง
5.1 ปรับปรุงครังท่ี 1 เร่ืองสถานที่ให้บริการไม่สะดวกต่อการรับบริการเนื่องจากเป็นจุดท่ีมีผู้รับบริการ

จา้ นวนมาก จึงเปล่ยี นสถานที่จากอาคารเมตตาธรรมเป็นห้องยาอาคารอเนกประสงค์ เนอ่ื งจากมีจุดให้วนรถและเป็น
การกระจายงานสู่ จดุ ทมี่ ีภาระงานนอ้ ยกว่า

5.2 ปรับปรุงครังที่ 2 เนอ่ื งจากจ้านวนผู้รับบริการน้อย วเิ คราะห์แลว้ เกดิ จากผู้ให้และผู้รับบริการไม่
ทราบรายละเอียดโครงการจึงประสานงานกบั คณะกรรมการประชาสัมพันธเ์ พ่ือปรับปรุงการประชาสมั พันธ์และ
ป้ายบอกทาง

5.3 ปรบั ปรุงครังที่ 3 ลดขอ้ จา้ กัดเร่ืองสิทธิโดยประสานงานกับห้องตรวจผู้ป่วยนอกและฝา่ ยการเงินและ
บัญชเี ปดิ บรกิ ารรับจา่ ยเงนิ ใกล้จดุ บริการ Drive Thru

6. ทีมพัฒนาโครงการส่งยาถึงรถ (Drive Thru) จัดใหม้ ีการประชุมอย่างต่อเนื่อง เพอื่ ประเมินประสิทธิภาพ
ของโครงการแลว้ นา้ ผลการปฏบิ ัติงานรายงานในคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการทุก 3 เดอื น

7. กลมุ่ งานเภสัชกรรมรับผดิ ชอบประเมนิ และติดตามโครงการ
สำระสำคัญของกำรพัฒนำ : โครงการส่งยาถึงรถ (Drive Thru) เป็นการให้บริการผู้ป่วยในรูปแบบใหม่โดยการ
รับบริการ ตรวจรักษาทางโทรศัพท์โดยไม่ต้องมาโรงพยาบาล และมารับยาจากเภสัชกรที่จุดรบั ยา Drive Thru
ในวันท่ีได้นัดหมายใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที ผู้ป่วยสามารถเลือกรับบริการได้ตามวันและเวลาท่ีสะดวก
ท้าให้หน่วยงานสามารถวางแผนการท้างานโดยการจดั การเวลาและก้าลังคนได้ ลดภาระงานในชว่ งเร่งดว่ น และ
ยังเพ่มิ ประสิทธิภาพการท้างานของบุคลากร
ผลลพั ธ์ :

1. ลดความแออัดในโรงพยาบาล จ้านวนผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการส่งยาถึงรถ (Drive Thru) ตังแต่เดือน
เมษายน ป2ี 563 ถงึ มนี าคม 2565 ทังหมด 1,433 ราย

2. ลดระยะเวลารอคอย โครงการนับเวลาท่ีผู้ป่วยเข้ามารับยาท่ีจุดรับยา Drive Thru เริ่มตังแต่ผู้ป่วย
กดกร่ิงท่ีจุดรับยา Drive Thru จนถึงรับยาเสร็จได้เวลาเฉลี่ย 10.35 นาที ซึ่งลดลงจากระบบเดิมที่ 45 นาที
คิดเป็นลดลงร้อยละ 77 และถ้านบั เวลาทังกระบวนการจะใช้เวลา 39 นาที ลดลงจากระบบเดิมทเ่ี วลา 150 นาที คดิ
เป็นลดลงรอ้ ยละ 74

3. เพ่ิมความพึงพอใจ ตังแต่เริ่มโครงการจนถึงเดือนเมษายน 2565 ข้อร้องเรียนรวมของ รพ.ลดลง ไม่
มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับโครงการจากช่องทางใดใด และมีความยินดีมารับบริการซ้า 301 ครัง คิดเป็นร้อยละ
23.53

4. เพ่ิมประสิทธิภาพการท้างานมีการกระจายบุคลากรจากจุดที่มีภาระงานน้อยไปช่วยในโครงการ
Drive Thru ท้าให้โครงการด้าเนินการได้โดยไม่ต้องจ้างบุคลากรเพ่ิมท้าให้โครงการมีความย่ังยืนสามารถ
ดา้ เนนิ การไดต้ อ่ เนอื่ งโดยไม่มคี า่ ใชจ้ า่ ยเพ่ิม
ประโยชน์ของโครงการ

1. ตอ่ ผปู้ ่วย ได้รบั บรกิ ารรักษาท่มี คี ณุ ภาพเท่าเดมิ โดยไมเ่ สี่ยงต่อการระบาดของเชือโควดิ 19
2. ต่อชุมชน เป็นการให้บริการที่มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ส่งเสริม
แนวทางการเว้นระยะหา่ งทางสงั คม
3. ต่อบุคคลากร เพ่ิมประสิทธิภาพการท้างานในภาวะการระบาดของเชือโควิด 19 ให้บริการโดยการ
จดั การเวลาและบคุ ลากรอย่างมีประสทิ ธิภาพ
4. ตอ่ โรงพยาบาล ลดความแออดั ปอ้ งกนั การระบาดของเชือโควิด 19 ลดขอ้ ร้องเรยี นดา้ นการบริการ
บทเรียนท่ีได้รับ : ปัจจัยท่ีท้าให้โครงการส้าเร็จคือความร่วมมือในการให้บริการของทีมสหวิชาชีพในการดูแล
ผู้ป่วยและสถานที่ตังของโรงพยาบาลมีพืนที่เหมาะกับการให้บริการรับยาในรูปแบบ Drive Thru โครงการนี
เป็นการออกแบบบริการท่ีมาจากความต้องการของผู้ป่วยและการบริหารคนและเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ จึง
ไดร้ บั การผลักดนั ใหเ้ ป็นส่วนหนงึ่ ของงานประจ้า
กำรตดิ ต่อกับทีมงำน :
ชอื่ -สกุล ภญ พัชราภรณ์ นาคเอย่ี ม ตา้ แหนง่ เภสชั กรช้านาญการ
หน่วยงาน ห้องจา่ ยยาผปู้ ว่ ยนอก กลมุ่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลหลวงพอ่ ทวศี กั ดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ
โทรศัพทม์ ือถอื 089 030 2488 Email [email protected]

31. ช่ือผลงำน : FAST TRACK Home isolation

คำสำคญั : Home isolation, ผู้ปว่ ย COVID-19
ภำพรวม :

ปัญหำ จากสถานการณ์การระบาดของ Covid-19 ส่งผลให้มีผู้ป่วยมาขอรับบริการที่โรงพยาบาล
ราชพิพัฒน์ เป็นจ้านวนมาก ซึ่งทางโรงพยาบาลไม่มีเตียงเพียงพอส้าหรับผู้ป่วยทุกราย จึงได้เริ่มให้การรักษา
ผู้ป่วย Covid-19 แบบ Home isolation ขึน จากการด้าเนินการ พบผู้ป่วยท่ีเข้ารับการรักษาแบบ
Home isolation เปลี่ยนสถานะอาการ จากสีเขียวเป็นสีเหลืองจนต้องเข้ารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลถึง
ร้อยละ 16 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการท่ีผู้ป่วยได้รับยาเพื่อการรักษาล่าช้ากว่า 24 ชั่วโมงมากกว่าร้อยละ 86
ทมี จึงได้พัฒนาระบบ Fast track Home isolation ขนึ

เป้ำหมำย ผู้ป่วยได้รับยาภายใน 24 ชั่วโมงมากกว่าร้อยละ 80, ลดจ้านวนผู้ป่วยท่ีทรุดจากการเปลี่ยน
กลมุ่ สี

แนวทำงกำรพัฒนำ พัฒนาระบบการตรวจรักษา และรับยา ผู้ป่วย Covid -19 ที่เข้ารับการรักษาแบบ
Home isolation
สำระสำคัญของกำรพฒั นำ :

ครังที่ 1 กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชนและผู้สูงอายุ ทีมคลินิกไข้หวัดพิเศษ ร่วมกับองค์กรแพทย์ เปิดบริการ
Home isolation ส้าหรับผู้ป่วย COVID-19 พบปัญหาผู้ป่วยได้รับยาภายใน 24 ชั่วโมง เพียงร้อยละ 13 และ
พบอุบัติการณ์ผู้ป่วยเปลี่ยนสถานะจากสีเขียว เป็นสีเหลือง 14 ราย เวลาเฉลี่ยในการได้รับยา 84 ช่ัวโมง/ราย
เนอ่ื งจากบคุ ลากรไม่เพยี งพอ การสง่ ต่อขอ้ มูลที่ไม่ต่อเนอ่ื ง และระบบการขนส่งจากองคก์ รภายนอกท่ีลา่ ชา้

ครงั ท่ี 2 ทีมไดพ้ ฒั นาระบบรบั ข้อมูลผปู้ ่วยดว้ ย RPP HI fast Sheet ได้รบั การประสานงาน สปสช. เพ่ิม
ระบบ HI portal และ A-med เพื่อขยายบริการและติดตามผู้ป่วย ประสานงานกับองค์กรแพทย์ในการจัดท้า
Standing order HI และอบรมทีมสหวิชาชีพเพื่อคัดกรองผู้ป่วยเบืองต้นก่อนส่งแพทย์ติดตามอาการ
ประสานงานกับทีมระบบยา ในการปรับแนวทางการเบิกจ่ายยา HI และทีม HRD เพ่ือขออัตราก้าลังในการ
สนับสนุนเพ่ิมในทุกวิชาชีพ จากการพัฒนา พบผู้ป่วยได้รับยาภายใน 24 ชั่วโมง ร้อยละ 63.3 พบอุบัติการณ์
ผู้ป่วยเปล่ียนสถานะจากสีเขียว เป็นสีเหลือง 5 ราย เวลาเฉล่ีย 30 ชั่วโมง/ราย แต่ยังคงพบปัญหาความไม่
เสถียรของระบบ RPP HI fast Sheet ข้อมูลผู้ป่ว ยสูญหายแล ะมีจ้ านว นผู้ ป่ว ยท่ี เพ่ิ ม ขึน อ ย่ า ง
ก้าวกระโดด การขนสง่ ยาล่าช้า

รปู ท่ี 1 RPP HI fast Sheet รปู ที่ 2 Standing order HI รปู ท่ี 3 A-med

ครังท่ี 3 ทมี ได้ประสานงานกับทมี IT ในการจัดทา้ www.bmacovid.com เชือ่ มกบั Line Application
เพอื่ รองรับจ้านวนผูป้ ว่ ยทสี่ งู ขึนและเปน็ ชอ่ งทางในการสือ่ สารระหว่างผปู้ ่วยกับทมี โดยตรง เพมิ่ จุด one stop
service ในการรับยา และประสานงานกับแผนกจัดซือจัดจ้าง เพื่อเปลี่ยนบรษิ ทั ขนส่ง ในการจัดสง่ ยา พบ
ผู้ป่วยไดร้ ับยาภายใน 24 ช่ัวโมง รอ้ ยละ 89 พบอบุ ตั ิการณ์ผ้ปู ว่ ยเปลีย่ นสถานะจากสีเขยี ว เป็นสเี หลือง 2 ราย
เวลาเฉล่ยี 12.3 ชั่วโมง/ราย แต่พบปญั หาค่าใช้จา่ ยในการจดั ส่งสงู ถึง 94.56 บาท/ราย

ครังท่ี 4 ประสานงานกับทีมผู้บริหารเพ่ือขอความอนุเคราะห์จากบริษัทไทยร่งุ เพื่อชว่ ยในการจัดสง่ ยา
ร่วมกับบริษทั เอกชน ส่งผลให้ผปู้ ว่ ยไดร้ บั ยาภายใน 24 ชัว่ โมง รอ้ ยละ 88.7 พบอบุ ตั กิ ารณผ์ ู้ป่วยเปลยี่ นสถานะ
จากสเี ขียว เป็นสีเหลือง 1 ราย เวลาเฉลย่ี 14.7 ช่ัวโมง/ราย และสามารถลดค่าใชจ้ ่ายในการจัดสง่ ยาไดเ้ ฉลยี่
59.28 บาท/ราย

รูปท่ี 4 เวบ็ www.bmacovid.com รปู ที่ 5 กลุ่มจติ อาสาไทยรงุ่ (1) รูปที่ 6 กลุ่มจิตอาสาไทยรุ่ง
(2)

ผลลัพธ์ :
การพัฒนาระบบ Fast Track Home isolation ท้าให้ผู้ป่วย Covid19 ได้รับการรักษาและยาอย่าง

รวดเร็วภายใน 24 ช่ัวโมงร้อยละ 88.7 มรี ะยะเวลาการรบั ยาเฉลย่ี 14.7 ชัว่ โมง สามารถลดจ้านวนผปู้ ่วยท่ีทรุด
ลงจากการเปลี่ยนกลุ่มสีจาก 14 ราย เหลือ 1 ราย และสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการด้าเนินการจาก 94.56
เหลือ 59.28 บาท / ราย

www.bmacovid.com กราฟแสดงร้อยละผ้ปู ่ วยทไ่ี ด้รับยา กราฟแสดง ผ้ปู ่ วยท่มี กี ารเปลยี่ นสถานะจากเขยี วเป็ นเหลือง (ราย)

one stop service ภายใน 24 ช่ัวโมง 15 14 RPP HI fast sheet www.bmacovid.com
10 HI portal A-med one stop service
100 ขนส่ง C 89 88.7 Standing order HI ขนส่ง C
ขนส่ง B
เปิ ด Home 63.3 บริษทั ไทยรุ่ง

50 isolation RPP HI fast sheet เปิ ด HI 5 บริษทั
ขนส่ง A HI portal A-med Standing order HI ไทยรุ่ง
ขนส่ง B 5 ขนส่ง A
13 2
การพฒั นาวงรอบท่ี 2 การพฒั นาวงรอบที่ 3 การพฒั นาวงรอบที่ 4
0 0

การพฒั นาวงรอบท่ี 1 0 การพฒั นาวงรอบท่ี 1 การพฒั นาวงรอบท่ี 2 การพฒั นาวงรอบท่ี 3 การพฒั นาวงรอบที่ 4

กราฟแสดงระยะเวลาทีผ่ ้ปู ่ วยได้รับยาเฉลย่ี ช่ัวโมง / ราย www.bmacovid.com บริษทั กราฟแสดง ค่าใช้จ่ายในการขนส่งเฉลยี่ บาท / ราย
one stop service ไทยรุ่ง 94.56
100 84 เปิด HI ขนส่ง C
100
ขนส่ง A
68.4 59.28
50 30 12.3 14.7
50 38.6
RPP HI fast sheet การพฒั นาวงรอบที่ 2 การพฒั นาวงรอบที่ 3 การพฒั นาวงรอบท่ี 4
0
HI0portal A-med การพฒั นาวงรอบที่ 1 การพฒั นาวงรอบที่ 2 การพฒั นาวงรอบท่ี 3 การพฒั นาวงรอบท่ี 4

Standing ordกeาrรพHฒั Iนาวงรอบที่ 1
ขนส่ง B

บทเรยี นท่ีได้รบั :
การพฒั นาระบบ Fast Track Home isolation โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ และหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องช่วยให้

ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษา และได้รับยาอย่างรวดเร็ว ช่วยลดความรุนแรงของอาการ ลดจ้านวนผู้ป่วยท่ีทรุดลง
จากการเปล่ียนกล่มุ สี และลดคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ เนนิ การ
กำรตดิ ตอ่ กบั ทีมงำน : นางสาวณัฏฐนชิ ใจดี แพทย์แผนไทยประยกุ ต์
กล่มุ งานเวชศาสตรช์ มุ ชนและเวชศาสตร์ผู้สงู อายโุ รงพยาบาลราชพพิ ฒั น์ ส้านักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร
โทร. 094-746-5796 E-mail : [email protected]

32. ชอื่ ผลงำน: LOGISTICS COVID EMS รำชพิพัฒน์

คำสำคญั : Ambulance center, Mapping Covid Area, ผูป้ ว่ ย Covid-19

ภำพรวม :

ปัญหำ จากสถานการณ์การระบาดของ Covid-19 ท่ีเพ่ิมขึนอย่างก้าวกระโดดท้าให้มีผู้ป่วยรอเข้ารับ

บรกิ าร ในสถานพยาบาลเพิ่มสูงขึน ภายใต้บุคลากร และรถพยาบาลท่ีมีอยู่อยา่ งจ้ากดั รวมถงึ ขาดศูนย์กลางใน

การประสานงานท่ีชัดเจน สง่ ผลใหม้ ผี ปู้ ่วยภายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบของโรงพยาบาลราชพิพัฒนต์ กค้างไมส่ ามารถ

เข้ารับการรักษาไดภ้ ายใน 24 ชั่วโมงหลังแจ้งผลถึงร้อยละ 34 และพบอุบัติการณ์ผปู้ ่วยทรุดลงระหวา่ งรอ ทีม

จงึ ไดพ้ ัฒนาระบบการรบั ส่งผ้ปู ่วย Covid -19 ขนึ

เป้ำหมำย ผู้ป่วย Covid-19 ภายใต้ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ได้รับการส่งต่อเข้ารับ

การรักษา ในสถานพยาบาลที่ก้าหนดภายใน 24 ชั่วโมงมากกว่าร้อยละ 95 และลดอุบัติการณ์ทรุดลงระหว่าง

รอรถรับส่งเขา้ รบั การรักษา

แนวทำงกำรพัฒนำ พัฒนาระบบการรับส่ง ผปู้ ว่ ย Covid -19

สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :

ครังท่ี 1 ทีม EMS ปฏิบัติงานรับส่งผู้ป่วย Covid-19 จากศูนย์กลางการ

ประสานงานของ กทม. ซ่ึงสถานพยาบาลทุกแห่งใน กทม. จะต้องแจ้งผู้ป่วยที่

ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลผ่านศูนย์ดังกล่าวและรอการประสานงาน

เพื่อจัดสรรเตียงและออกรับผู้ป่วยท้าให้ทีมสามารถรับผู้ป่วยได้เพียง 17 รายต่อ

เดือน ในขณะท่ี clinic ARI ของโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ก็มีผู้ป่วยที่พบเชือและต้องรอเพ่ือเข้ารับการรักษาใน

สถานพยาบาลของโรงพยาบาลราชพิพัฒน์เองเป็นจ้านวนมาก ทีมจึงได้ประชุมร่วมกับทีมพัฒนาระบบบริการ

clinic ARI ,MSO, NSO, ER เพอ่ื จัดแนวทางการรับส่งผ้ปู ว่ ยดังกล่าว ลดการรอคอย และลดความเส่ียงต่อการ

เกิดอุบัติการณ์ทรุดลงระหว่างรอ ส่งผลให้สามารถรับส่งผู้ปว่ ยเข้าสถานพยาบาลที่ก้าหนดภายใน 24 ช่ัวโมงได้

เพยี งรอ้ ยละ 66 เน่ืองจากข้อจา้ กดั ด้านบคุ ลากร และจ้านวนรถพยาบาลไม่เพียงพอ

ครังท่ี 2 ทีมได้ประสานงานกับผู้บริหารเพ่ือขออนุเคราะห์รถพยาบาลจาก

หน่วยงานภาคเอกชนเพิ่มเติมและประสานงานทมี HRD เพอ่ื ขออัตราก้าลังเพิ่ม ส่งผล

ให้สามารถรับส่งผู้ป่วยเข้าสถานพยาบาลท่ีก้าหนดได้เพ่ิมขึน

เป็นร้อยละ 75 แต่ยังคงพบอุบัติการณ์ผู้ป่วยทรุดลงระหว่างรอ

รถพยาบาล ประมาณ 3-5 รายต่อเดือน เน่ืองจากทีม

ต้องรับข้อมูลจากหลายช่องทาง และ ยังขาด

ศูนย์กลางท่ีจะท้าหน้าท่ีคัดกรองความเร่งด่วนของผู้ป่วย

ทงั หมด จึงได้จดั ตงั Ambulance center ขึนเพ่อื จัดล้าดับความส้าคัญเรง่ ด่วนใน

การรับส่งผู้ป่วยและด้วยผู้ป่วยท่ีเพ่ิมขึนเป็นอย่างมาก ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย

กลุ่มสีเขียว ทีมจึงขอการสนับสนุนจากทีมอาสาสมัครในพืนที่เพื่อช่วยรับ

ผู้ป่วยดังกล่าว แต่ก็ยังคงพบผู้ป่วย Covid-19 พักอาศัยกระจายอยู่ตามพืนท่ี

ต่างๆ เกดิ ความซา้ ซ้อนในการปฏบิ ตั งิ านที่มกี ารรับสง่ ในเสน้ ทางเดยี วกนั

ครังท่ี 3 ทีมได้ประสานงานกับทีมระบาดวิทยาและทีม IT ได้จัดท้า

Mapping Covid Area เพื่อพัฒนาระบบและเพ่ิมประสิทธิภาพในการรับส่ง Mapping Covid Area
ผู้ป่วยในเส้นทางเดียวกัน ท้าให้ทีมสามารถรับส่งผู้ป่วย Covid-19 ภายใต้ความ

รับผิดชอบของโรงพยาบาลราชพิพัฒน์เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลท่ีก้าหนดภายใน 24 ชั่วโมง ร้อยละ

100 ไม่พบอุบัติการณ์ผู้ป่วยทรุดลงระหว่างรอรถพยาบาล แต่ด้วยสถานการณ์การระบาดท่ียังคงรุนแรง ยัง
พบว่ามีผปู้ ว่ ยนอกเขตพืนทีต่ ิดต่อขอเข้ารบั การรักษากับทางโรงพยาบาลเป็นจ้านวนมาก ผ่านองค์กรการท้างาน
เพอ่ื การกศุ ล

ครังท่ี 4 ทีมจึงได้ขยายการบริการรับส่งผู้ป่วยนอกเขตพืนท่ีรับผิดชอบเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล
ร่วมกับองค์กรการท้างานเพ่ือการกุศล ส่งผลให้สามารถให้บริการรับส่งผู้ป่วยนอกเขตพืนที่บริการเพ่ิมอีก 50
เขต และรับผู้ปว่ ยเพ่มิ ขนึ เฉล่ยี 100 รายต่อเดอื น
ผลลัพธ์ :

จากการพัฒนา LOGISTICS COVID EMS ราชพิพัฒน์ ท้าใหผ้ ูป้ ่วย Covid-19 ภายใตค้ วามรบั ผิดชอบของ
โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลท่ีก้าหนดภายใน 24 ช่ัวโมงมากกว่า
ร้อยละ 95สามารถเพม่ิ ศักยภาพในการรับส่งผู้ปว่ ยได้มากขนึ โดยประสานงานกับหนว่ ยงานภายนอกเพ่ือขยาย
ขอบเขตการบริการนอกพนื ท่ี ลดอุบตั ิการณ์ผู้ป่วยทรดุ ลงระหว่างรอรถพยาบาล ทา้ ใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถเขา้ รับการ
รกั ษาได้อยา่ งทันท่วงที

ร่วมกบั องคก์ รการกศุ ลรบั

กราฟแสดงจานวนผ้ปู ่ วยติดเชื้อCOVID-19ท่ีได้รับมอบหมายให้นาส่งต่อเดือน ผปู้ ่วยนอกพ้นื ท่ี

Mapping Covid

3000 -ต้งั ambulance center Area
-ทมี อาสาสมคั ร
2500จานวนผู้ ิตดเ ้ืชอ(ราย) 2362 2580 Self-isolation/HI
ีม.ค.-64
2000 เม.ย.-64 ช่วยเหลือ 1997
พ.ค.-64
ิม.ย.-64เพ่มิ ทรพั ยากร
ก.ค.-64
ส.ค.-64
ก.ย.-64
ต.ค.-64
พ.ย.-64
ธ.ค.-64
ม.ค.-65
ก.พ.-65
ีม.ค.-65
1500 1300 517 532 494 966
1000 897
301 527
500 17 67 เดือน
0

ระยะท่ี 3 ระยะท่ี 4

ระยะท่ี1 ระยะท่ี2

กราฟแสดงร้อยละของผู้ป่ วยCOVID-19ที่ได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาใน กราฟแสดงจานวนผู้ป่ วยทมี่ กี ารทรุดลงระหว่างรอรถ
สถานพยาบาลทกี่ าหนดภายใน24ชั่วโมง
4

4.5

120 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 43

100้รอยละผู้ ่ปวย ่ีทเข้าสถานพยาบาลใน 24 ชั่วโมง66 75 3.5
80 จานวนผู้ ่ปวย(ราย)
3

2.5

60 2

40 1.5

20 10 0 000000000
0 เดือน เดือน
0.5
มี.ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 มิ.ย.-64 ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65
0

มี.ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 มิ.ย.-64 ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65

ระยะท1ี่ ระยะท่ี 2 ระยะท่ี 3 ระยะที่ 4 ระยะท1ี่ ระยะที่ 2 ระยะท่ี 3 ระยะที่ 4

บทเรียนทไี่ ดร้ ับ :
การปรับการท้างานภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินโดยความร่วมมือของทุกทีมในโรงพยาบาลราชพิพัฒน์
ร่วมกับองค์กรภาคเอกชน และองค์กรเพื่อการกุศล โดยมุ่งเน้นความปลอดภยั ของผู้ป่วยเป็นหลกั ช่วยให้ผ้ปู ่วย
ได้รบั การสง่ ตวั เข้าสถานพยาบาลเพือ่ เข้ารับการรักษาได้อยา่ งทนั ท่วงที และลดการสญู เสีย
กำรติดต่อกับทีมงำน : นางสาวจินตหรา แสนใจ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัติการ และนายสุปรชี า สงิ โต ตา้ แหน่ง
พนักงานขับรถยนต์ หน่วยแพทยก์ ชู้ วี ติ โรงพยาบาลราชพพิ ฒั น์ โทร. 083-0127289
E-mail : chintara4049 @gmail.com

33. ชอ่ื ผลงำน : คัดกรองฉบั ไว ร้ผู ลทันใจ @Covid-RPP

คำสำคัญ : Covid-19, Swab, คดั กรอง
ภำพรวม :

ปัญหำ จากสถานการณ์การระบาดของ Covid-19 ผู้รับบริการท่ีมีความเสี่ยงจะได้รับการคัดกรอง
ตรวจหาเชือโดยวิธี RT-PCR ซ่ึงทางโรงพยาบาลยังไม่มีศักยภาพในการตรวจ ต้องส่งสิ่งส่งตรวจไปยัง
โรงพยาบาลอนื่ ของส้านักการแพทย์ ทา้ ให้ผูป้ ว่ ยรอผลการตรวจนานมากกวา่ 72 ช่วั โมง และตอ้ งเดินทางมารับ
ผลการตรวจเองที่คลินิก ARI ท้าให้เกิดความเสี่ยงต่อการติดเชือ ภายหลังได้ปรับเป็นการโทรแจ้งผลตรวจทุก
ราย กย็ งั คงพบปัญหาเบอร์โทรศัพท์ตดิ ต่อไม่ได้ ผรู้ ับบรกิ ารไม่เขา้ ใจ สง่ ผลต่อการดา้ เนินการรกั ษาผปู้ ว่ ยต่อไป

เป้ำหมำย เพ่ือเพ่ิมศักยภาพการตรวจคัดกรอง covid-19, ลดระยะเวลาการรอคอยผลการตรวจ RT-
PCR, ลดจา้ นวนผรู้ บั บริการไม่ได้รับแจ้งผลตรวจ RT-PCR

แนวทำงกำรพัฒนำ พฒั นาระบบการคัดกรอง และการรายงานผลการตรวจ Covid-19
สำระสำคัญของกำรพฒั นำ:

ครงั ท่ี 1 ทีมผู้บรหิ าร ทีมระบาดวทิ ยา และทมี ฝ่ายการพยาบาล ได้อนุมัตเิ ปิดให้บริการคัดกรองผูร้ ับบริการ
ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชือ Covid-19 โดยวิธี RT-PCR ซึ่งสามารถให้บริการได้เพียง 200-250 คน/วัน มี
ผู้รับบริการตกค้างไม่ได้รบั การตรวจเป็นจ้านวนมาก อีกทังทางโรงพยาบาลยังไม่มีศักยภาพในการตรวจ จงึ ต้อง
ส่งส่ิงส่งตรวจไปยังโรงพยาบาลอื่นของส้านักการแพทย์ ท้าให้ผู้รับบริการต้องรอผลการตรวจนาน มากกว่า 72
ชั่วโมง และต้องเดินทางมารับผลการตรวจเอง ทีมจึงได้พัฒนาระบบการจองคิว เพื่อลดการรอคอย และลด
ความแออดั แตผ่ ู้รับบริการตอ้ งเดนิ ทางมา 3 รอบ คือวนั จองคิว วันตรวจ และวันรับผลตรวจ ส่งผลใหเ้ กดิ ความ
เสี่ยงต่อการติดเชือ

ครังท่ี 2 ทีมได้ประสานงานกับทีม IT ในการพัฒนาระบบการจองคิวด้วย
Application QueQ เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถจองคิวการตรวจได้เอง และทีมได้
ประสานงานกับผู้บริหาร และทีมพัฒนาระบบบริการเพื่อเพ่ิมตู้ negative pressure
ในการตรวจ เพ่ิมรอบรถในการส่ง สิ่งส่งตรวจ และปรับระบบการแจ้งผลเป็นแจ้ง
ทางโทรศัพท์ เพ่ือลดความเส่ียงต่อการติดเชือจากการเดินทางมาโรงพยาบาลหลาย
รอบ ส่งผลให้สามารถรองรับผู้รับบริการได้เฉล่ีย 500 คนต่อวัน แต่ยังคงพบปัญหา
ข้อจ้ากัดด้านศักยภาพในการตรวจท้าให้ผู้รับบริการต้องรอรับผล การตรวจนาน
มากกว่า 72 ชั่วโมง และพบปัญหาผู้ป่วยไม่ได้รับแจ้งผลตรวจ RT-PCR เน่ืองจากไม่สามารถ
ติดต่อผปู้ ่วยได้

ครังที่ 3 ทีมได้ประสานงานกับผู้บริหาร และหน่วยงานชันสูตร
โรคกลาง อนุมตั สิ ร้างหอ้ งอณูชีววิทยา เพอ่ื เพิม่ ศกั ยภาพในการใหบ้ ริการ
ตรวจหาเชือ Covid-19 และประสานทมี IT พฒั นาระบบการแจ้งผลการ
ตรวจผ่าน official line : แจ้งผลตรวจโควิด RPP ด้วยเอกสารแนบผล
การตรวจ ส่งผลให้สามารถรองรับจ้านวนผู้รับบริการตรวจคัดกรองได้
เพ่ิมขึนเฉลี่ย 700 คนต่อวัน และผู้รับบริการจะได้รับผลการตรวจภายใน 24 ชั่วโมง แต่เนื่องด้วยสถานการณ์
การระบาด Covid-19 ที่เพิ่มขึนอย่างก้าวกระโดด ส่งผลให้มีผู้รับบริการมารับบริการที่คลินิก ARI เป็นจ้านวน
มาก สร้างความแออัด และเพิ่มความเส่ียงต่อการกระจายเชือ ส่งผลกระทบต่อผู้ท่ีมารับบริการอ่ืนๆ ภายใน
โรงพยาบาล

ครังที่ 4 ทีมได้ประสานงานกับผู้บริหาร และ
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ เพื่อขอเปดิ บริการตรวจ
คัดกรองเชิงรุก และการบริการแบบ Drive thru ในพืนที่
เสี่ยงนอกโรงพยาบาล ได้แก่ วดั ศรีสดุ าราม วคิ ตอเรียการ์เด้น
สมาคมชาวปักษ์ใต้ และ SC Plaza เพ่ิมศักยภาพในการคัดกรองผู้รับบริการให้เร็วท่ีสุด ลดการแพร่ระบาด
และความแออัดในโรงพยาบาล ท้าให้สามารถตรวจคัดกรองผู้ปว่ ยได้เพิ่มขึนเฉลีย่ 1,200 คนต่อวัน และพัฒนา
ระบบการตรวจสอบผลการตรวจได้ด้วยตนเองของผู้รับบริการผ่าน Application line ส่งผลให้ผู้รับบริการ
ทราบผลตรวจของตนเองได้ ภายใน 24 ชว่ั โมง สร้างความพึงพอใจต่อผ้รู บั บริการ
ผลลัพธ์ : เรมิ่ ด้าเนนิ การตงั แต่วนั ท่ี ธนั วาคม 2563 – ปัจจุบัน

จากพัฒนาระบบการคดั กรอง และการรายงานผลการ
ตรวจ Covid-19 สามารถลดขนั ตอนในการให้บริการ ท้าใหผ้ ูร้ บั บริการสามารถเข้าถึงการคดั กรองและทราบผล
การตรวจได้อย่างรวดเร็ว ภายใน 24 ช่ัวโมง ลดจ้านวนผู้รับบริการไม่ได้รับการแจ้งผลตรวจ RT-PCR เพ่ิม
ศักยภาพในการให้บริการทังเชิงรุก และเชิงรบั ไดถ้ งึ 1,200 ราย/วัน สร้างความพงึ พอใจให้กบั ผรู้ บั บริการ 97%
และยังสง่ ผลให้โรงพยาบาลมีรายรบั เพิ่มมากขนึ
บทเรยี นทไี่ ดร้ บั :

การพัฒนาระบบการคัดกรอง และการรายงานผลการตรวจ Covid-19 โดยความร่วมมือของทุกทีมใน
โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ และองค์กรภาคเอกชน รวมถึงการน้า Application มาใช้ช่วยเพ่ิมศักยภาพในการ
ด้าเนินงาน และการเข้าถึงการคัดกรอง และการรายงานผลการตรวจ covid-19 ส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับการ
ตรวจได้อยา่ งทันทว่ งที ลดการแพรก่ ระจายของเชอื และลดความแออดั ในโรงพยาบาล
กำรตดิ ต่อกับทีมงำน : นางสาวพีรญา ดาดาด นกั วิชาการสาธารณสขุ กลุ่มงานเวชศาสตร์ชมุ ชนและเวชศาสตร์
ผสู้ งู อายุโรงพยาบาลราชพิพฒั น์ โทร. 02-4440163 ต่อ 8837 Email : [email protected]

34. ชอื่ ผลงำน : ดกั จับได้กอ่ น ลดขันตอนแกไ้ ข

คำสำคญั : คัดกรองใบส่ังยาผ้ปู ่วยนอก, Prescribing Error, ความคลาดเคลอื่ นในการสงั่ ใชย้ า
ภำพรวม :

ปัญหำ จากการตรวจสอบค้าส่ังการใช้ยาก่อนการจ่ายยา พบอุบัติการณ์การเกิดความคลาดเคล่ือนในการ
สั่งใช้ยา (prescribing error) ที่พบบ่อย 3 อันดับได้แก่ จ้านวนยาไม่สอดคล้องกับวันนัด วิธีบริหารยาไม่
ครบถ้วนถูกต้อง และการส่ังใช้ยาซ้าซ้อน ท้าให้เกิดขันตอนการท้างานท่ีซ้าซ้อน เนื่องจากผู้รับบริการต้องไป
ติดต่อการเงินเพื่อยกเลิกใบเสร็จ กลับไปพบแพทย์ แก้ไขใบส่ังยาและจัดยาใหม่อีกครัง และในบางกรณีไม่
สามารถตดิ ตอ่ กับแพทย์ผู้ทา้ การรักษาได้ทันกอ่ นปิดคลนิ ิกบรกิ าร ผู้รบั บรกิ ารรอรบั ยานาน และเกิดความไม่พึง
พอใจตอ่ ระบบบริการ

เปำ้ หมำย 1. ระยะเวลารอรับยาเฉล่ียไม่เกนิ 30 นาที
2. ผรู้ ับบรกิ ารมีความพึงพอใจต่อระบบบริการ มากกว่า ร้อยละ 80
3. ลดจา้ นวนการยกเลกิ ใบเสร็จจากความคลาดเคลือ่ นทางยา

แนวทำงกำรพฒั นำ พัฒนาระบบการคัดกรองใบสง่ั ยาผูป้ ว่ ยนอก
สำระสำคญั ของกำรพฒั นำ :

ครังที่ 1 กลุ่มงานเภสัชกรรม องค์กรแพทย์ คณะกรรมการ IT ฝ่ายงบประมาณการเงินและบัญชี และ
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ ด้าเนินการทบทวนปัญหา และศึกษาดูงานระบบบริการการจ่ายยาผู้ป่วย
นอก มีมติให้ปรับปรุงระบบบริการโดยให้มีการคัดกรองใบสั่งยา ตังแต่จุดรับใบสั่งยา เพ่ือดักจับความ
คลาดเคลื่อนในการสง่ั ใชย้ าและด้าเนินการแก้ไข ก่อนท่ีผู้รับบริการจะชา้ ระเงิน เพื่อลดการยกเลิกใบเสรจ็ และ
ระยะเวลารอคอยกรณีใบส่ังยามีปัญหา แต่ด้วยข้อจ้ากัดของบุคลากรท่ีมีจ้ากัด ผู้ที่ท้าการคัดกรองใบสั่งยาจึง
เป็นเจ้าพนักงานเภสัชกรรม จึงพบปัญหา การท้างานท่ีไม่เป็นไปใน
แนวทางเดยี วกัน เช่น การค้านวณขนาดยา เปน็ ตน้

ครังที่ 2 เพ่ือพัฒนาการคัดกรองใบส่ังยาให้เป็นไปในแนวทาง
เดียวกันจึงประสานงานกับทีมเภสัชกร และทีม IT เพื่อพัฒนาเคร่ืองมือ
ในการช่วยคัดกรองใบสั่งยา เช่น โปรแกรมขนาดการใช้ยาในเด็ก, การ
ท้าตารางค้านวณจ้านวนยาตามวันนัด, ขนาดการใช้ยา Favipiravir ภาพแสดงเครื่องมือท่ีช่วยในการคดั กรองใบสง่ั ยา
และจัดอบรมบุคลากรให้มีความรู้พืนฐาน และมีแนวทางการท้างานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน แต่ยังคงพบ
ปัญหาการคัดกรองล่าช้า เน่ืองจากมีช่องบริการเพียง 1 ช่อง และความไม่สะดวกของการใช้งานในระบบ e-phis
ในการดูข้อมูลผู้ป่วยเพื่อตรวจสอบค้าสั่งใช้ยา เช่น วันนัดครังถัดไปเพื่อค้านวณยาให้สอดคล้องกับวันนัด
น้าหนัก ส่วนสงู ของผปู้ ว่ ยเพือ่ คา้ นวณขนาดการใชย้ า

ครังท่ี 3 เปิดช่องบริการรับใบส่ังยาเพิ่มอีก 1 ช่อง และได้ประสานงานกับทีม IT และทีมพัฒนาระบบบริการ
เพื่อปรับใบสรุปการรักษาให้มีข้อมูลส้าคัญของผู้ป่วย เช่น ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการวินิจฉัย อาการส้าคัญ
รายการยา วัดนัดครังล่าสุด และวัดนัดครังถัดไป และใช้ใบดังกล่าวแทนใบ exit Q เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานมีข้อมูล
ประกอบในการตรวจสอบใบสั่งยาได้ครบถ้วน และรวดเร็วขึน แต่ยังคงพบว่าจ้านวนการยกเลิกใบเสร็จยังคงสงู
เน่อื งจากระบบ E-Phis ไดก้ ้าหนดให้ผ้รู ับบริการทมี่ ีคา่ ใช้จา่ ยต้องไปจ่ายเงินก่อนจึงจะมายืนยนั ใบสง่ั ยาทีห่ ้องยาได้

โรงพยาบาลราชพิพฒั น์ ใบส่งั ยาผปู้ ่ วยนอกโรงพยาบาลราชพิพฒั น์

HN : กรุณาตดิ ต่อหอ้ งยา ช่อง 15
วนั ท่ตี รวจ :
วนั ที่ตรวจ : HN : 1234/56 ช่ือ-สกลุ ผปู้ ่ วย : สิทธิการรักษา :
ชื่อ-สกลุ ผปู้ ่ วย : หน่วยงานท่ีสง่ : แพทย์ : แพย้ า :
สทิ ธิการรกั ษา : จานวนใบส่งั ยา :
diag :
อายุ : แพทยผ์ ตู้ รวจ : คา่ รกั ษา :
อายุ : BW : HT :

สิง่ ท่ีทา่ นตอ้ งปฏบิ ตั ใิ นวนั นี้ T(C): HR : RR : BP : รายการยา วิธีใชย้ า จานวน
-ตดิ ตอ่ หอ้ งการเงิน ชอ่ งหมายเลข 8,9
-กรุณาตดิ ตอ่ หอ้ งยา ชอ่ งหมายเลข 15 INR : SCr : e-GFR: 1.
อาการสาคญั : 2.
3.
วนั รบั ยาลา่ สดุ :
นดั ครงั้ ถดั ไป : (วนั )

ภาพแสดงใบ exit Q ภาพแสดงใบสรุปการรักษาที่ใชแ้ ทนใบ exit Q

ครังที่ 4 ทีมไดป้ ระสานงานกับ ทมี พฒั นาระบบบรกิ ารผปู้ ่วยนอก ทีม IT และฝ่ายงบประมาณและการเงิน
เพื่อปรับขันตอนการรับยา โดยให้ผู้รับบรกิ ารต้องมายืนยันใบส่งั ยาที่ห้องยาก่อนเพ่ือตรวจสอบรายการยา และ
ตรวจสอบยา กอ่ นไปช้าระเงินทกุ ราย เพือ่ ผู้รบั บริการจะไดผ้ า่ นการคดั กรองใบสง่ั ยาก่อนชา้ ระเงินทุกราย สง่ ผล
ให้อบุ ตั กิ ารณ์การยกเลกิ ใบเสรจ็ รับเงนิ ลดลง ลดระยะเวลารอคอย และเพิม่ ความพงึ พอใจใหก้ ับผู้รบั บริการ

ผลลพั ธ์ : เร่มิ ด้าเนินการวันท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2564 ถึงปัจจุบัน

นาที ร้อยละ คร้ัง/1,000 ใบส่ังยา
50 776898500505 74.63
40 38.24 39.23 38.37 38.18 38.27 35.57 33.17 81.17 84.41 7 6.6 5.82 5.6
30 28.4825.33 ปี งบ 62
20 73.75 ปี งบ 64 ปี งบ 65 6 5.32 4.71
10 (ต.ค.64-ม.ี ค. 65) 5 4.04
0 ปี งบ 63
4 3.43
ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 ม.ี ค.-65
3 2.21 1.94
กราฟแสดง ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ย 2

1

0

ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 ม.ี ค.-65

กราฟแสดง ร้อยละความพึงพอใจของ กราฟแสดง อตั ราการยกเลิกใบเสร็จรับเงิน
ผรู้ ับบริการหอ้ งจา่ ยยาผปู้ ่ วยนอก

สรปุ จากการพัฒนาระบบการคดั กรองใบส่ังยาผูป้ ่วยนอก ทา้ ให้ลดความซ้าซ้อนในการดา้ เนนิ การหากเกิด
ความคลาดเคล่ือนจากการส่ังยาเกิดขึน ลดอุบัติการณ์การยกเลิกใบเสร็จรับเงิน ลดระยะเวลารอคอย ส่งผลให้
ผรู้ บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจเพมิ่ มากขนึ
บทเรียนท่ไี ดร้ ับ :

การทา้ งานเป็นทมี ร่วมกับสหสาขาวิชาชพี และทมี บริการจ่ายยาผ้ปู ว่ ยนอก ในการพฒั นาระบบการคัด
กรองใบสัง่ ยา ท้าใหส้ ามารถดักจับ Prescribing Error และดา้ เนินการแกไ้ ขได้รวดเรว็ ขึน ลดระยะเวลาในการ
รอรับยา ลดจา้ นวน
การยกเลกิ ใบเสร็จและเพิม่ ความพึงพอใจของผู้รบั บริการ
กำรติดตอ่ กับทีมงำน : นางสาวจันทภา สระกบแก้ว เจ้าพนักงานเภสชั กรรมช้านาญงาน และนายสหรกั จีนจุ้ง
เจ้าพนักงานเภสัชกรรม กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โทร.095 -1020888
Email : [email protected]

35. ชือ่ ผลงำน/โครงกำรพัฒนำ : Expire LINE Alert

คำสำคญั : แจง้ เตอื นก่อนเวชภณั ฑ์และยาตา่ งๆจะหมดอายุ
ภำพรวม :

ปัญหำ : พบว่าเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินในรถพยาบาลที่จัดไว้เพ่ือใช้งาน หมดอายุ
เลยวันใช้งาน ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบการท้างาน ระบบการตรวจสอบความพร้อมใช้งาน
ของเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินในรถพยาบาล เม่ือน้าเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
และยาฉกุ เฉนิ ในรถพยาบาลท่ีมีการหมดอายุไปใชง้ านกบั ผู้ป่วยอาจท้าให้เกิดผลเสียได้
เป้ำหมำย : เวชภณั ฑ์ วสั ดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉกุ เฉินในรถพยาบาลพรอ้ มใช้ ไมห่ มดอายกุ ารใช้งาน
สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :
หน่วยแพทย์กู้ชีวิต เป็นหน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจทางการแพทย์ฉุกเฉิน บุคลากรจึงต้องมีความพร้อม
ในการท้างานตลอดเวลา รวมถึงเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินในรถพยาบาลก็ต้องมีความพร้อม
ใช้งานเช่นเดียวกัน ซ่ึงทางหน่วยแพทย์กู้ชีวิตมีการตรวจสอบความพร้อมใช้ทุกวัน แต่ยังพบว่าเวชภัณฑ์ วัสดุ
อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินในรถพยาบาลท่ีจดั ไว้เพ่ือใช้งาน หมดอายุเลยวนั ใชง้ าน ส่งผลให้เกิดความเสียหาย
ต่อระบบการท้างาน ระบบการตรวจสอบความพร้อมใช้งานของเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินใน
รถพยาบาล เม่ือน้าเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินในรถพยาบาลท่ีมีการหมดอายุไปใช้งานกับ
ผู้ป่วยอาจท้าให้เกิดผลเสียได้ ดังนัน ผู้จัดท้าจึงเห็นความส้าคัญของการดูแลเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และ
ยาฉุกเฉินในรถพยาบาลให้พร้อมใช้งาน จึงจัดท้านวัตกรรมช่ือ Expire LINE Alert ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้
โปรแกรม LINE ซึง่ มใี นโทรศพั ท์มือถืออยู่แลว้ แจ้งเตอื นเข้าระบบ LINE notify ของกลุ่มบุคลากรหนว่ ยแพทย์กู้
ชีวิต แจ้งเตือนเป็นข้อความให้บุคลากรทุกๆคน ทราบว่ามีเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ และยาฉุกเฉินใน
รถพยาบาลใด ใกล้หมดอายุบ้าง ซึ่งจะมีการแจ้งเตือนก่อนวันหมดอายุประมาณ 3 วัน ให้บุคลากรด้าเนินส่ง
หน่วยจ่ายกลางใหเ้ รียบร้อย และพร้อมใชง้ าน ตลอดจนสามารถน้าระบบนไี ปพัฒนาใช้กบั หนว่ ยงานอน่ื ๆต่อไป

ผลลพั ธ์ :
พยาบาลหน่วยแพทย์กู้ชีวิต ตระหนักถึงการตรวจเช็ควัสดุอุปกรณ์และการแจ้งเตือนผ่าน line notify

มากขนึ และ เวชภัณฑ์ วสั ดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ และยาฉุกเฉินในรถพยาบาลพรอ้ มใช้ ไม่หมดอายุการใชง้ าน
บทเรยี นทีไ่ ด้รบั :

ใช้ E-mail ส่วนตัวเป็นการสร้างสคริปขึน ท้าให้ทีมมีส่วนร่วมในการลงบันทึกน้อย และทีมช่วยแก้ไข
ข้อมูลไม่ได้เท่าท่ีควร แนวทางแก้ไขต่อไปคือ ย้ายการสร้างสคริปโดยใช้ E-mail ของหน่วยงาน ทุกคนในทีม
สามารถแก้ไขขอ้ มูลตา่ งๆได้ด้วย
กำรตดิ ต่อกบั ทีมงำน :
นางสาวนฤภร จ้อยสูงเนิน ตา้ แหนง่ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัตกิ าร
หน่วยงาน อุบตั เิ หตุ-ฉกุ เฉินและหนว่ ยแพทยก์ ูช้ ีวิต โรงพยาบาลลาดกระบงั กรุงเทพมหานคร ส้านักการแพทย์
โทรศพั ท์ 097-2366805 [email protected]

36. ช่อื ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : หงิ่ ห้อยคอยรกั

คำสำคญั : สายสวนปสั สาวะ เคล่ือนยา้ ยผู้ปว่ ย การไหลย้อนกลบั การติดเชอื ทางเดินปสั สาวะ
ภำพรวม :

ปัญหำ : ปกติร่างกายมีกลไกในการป้องกันการติดเชือทางเดินปัสสาวะ คือ การไหลของน้าตามแรง
โน้มถ่วงของโลก ทังนีการไหลออกของน้าปัสสาวะ จะช่วยขับเอาเชือแบคทีเรียที่ปนเป้ือนออกสู่นอกร่างกาย
ดังนันหากมีความผิดปกติของการไหลออกของปัสสาวะ เช่น การอันปัสสาวะ การมีนิ่วหรือเนืองอกอุดตันใน
ทางเดินปัสสาวะ การท้างานบีบตัวเพ่ือขับปัสสาวะของท่อไตหรือกระเพาะปัสสาวะท่ีผิดปกติ ผู้ป่วยที่นอนติด
เตียงไม่สามารถลุกขึนมาปัสสาวะได้ จะเพ่ิมความเส่ียงต่อการเกิดโรคติดเชือทางเดินปัสสาวะ ในผู้ป่วยท่ีมีการ
ใสส่ ายสวนปสั สาวะคาไว้เพ่ือช่วยในการปสั สาวะจะมโี อกาสตดิ เชือในทางเดนิ ปสั สาวะเพ่ิมขึนเช่นกัน เนื่องจาก
ระบบการไหลออกของปัสสาวะของร่างกายเสียไป และตัวสายสวนปัสสาวะเองจะเป็นท่ีอาศัยของแบคทีเรีย
และเป็นท่ีเกาะส้าหรับการเคลื่อนของแบคทีเรียจากภายนอกร่างกายเข้าสู่อวัยวะในระบบทางเดินปัสสาวะได้
ง่ายขึน การที่ลืมหักพับและคลายการหักพับสายของถุงปัสสาวะขณะการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยท่ีมีสายสวนคา
ปัสสาวะที่ไม่มีระบบการป้องกันการไหลกลับ จะเกิดการไหลย้อนจากปัสสาวะเก่าที่ไหลลงสู้ถุงเก็บกลับเข้าสู่
กระเพาะปสั สาวะของผู้ปว่ ยซ่ึงเปน็ สาเหตหุ นึง่ ของการตดิ เชอื ทางเดนิ ปัสสาวะในผู้ปว่ ยเหลา่ นี

เป้ำหมำย : ลดการลืมการหักพับและคลายการหักพับสายของถุงปัสสาวะขณะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เพ่อื ป้องกันการไหลยา้ ยกลบั ของปัสสาวะเกา่ กลบั เข้าสผู้ ู้ปว่ ย

แนวทำงกำรพัฒนำ พัฒนานวัตกรรมห่ิงห้อยคอยรักที่ป้องกันการลืมหักพับและคลายสายจากถุง
ปัสสาวะขณะเคลื่อนย้ายและสง่ กลับผู้ป่วย

สำระสำคัญของกำรพัฒนำ : มีอุปกรณ์ช่วยในการหักพับ/คลายปลดสายสวนและเตือนผู้ใช้งานขณะ
เคลื่อนยา้ ยผู้ป่วยทมี่ ีสายสวนปัสสาวะ
ผลลัพธ์ : ลดการลมื ได้ 90

บทเรยี นทไ่ี ด้รับ :

1.ลดการลืมหักพับและคลานสายสวนปัสสาวะขณะเคลื่อนย้ายและน้าส่งผู้ป่วยที่เป็นสาเหตุหน่ึงของ
การตดิ เชอื ทางเดนิ ปสั สาวะที่เกิดการไหลยอ้ นกลับของปสั สาวะเกา่

2.ใช้งานไดก้ ับถงุ ปัสสาวะทไ่ี ม่มีระบบการไหลย้อนกลับเทา่ นนั
กำรติดตอ่ กบั ทมี งำน :
ชอื่ -สกลุ ปน่ิ รัตน์ มนตส์ ุวรรณ ตา้ แหน่ง พยาบาลวิชาชีพชา้ นาญการพเิ ศษ.
หน่วยงาน หน่วยจา่ ยกลาง ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลลาดกระบงั กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์มอื ถอื 02326995 ตอ่ 236 e-mail : [email protected]

37. ชอื่ ผลงำน / โครงกำรพฒั นำ : บนั ไดสวรรค์

คำสำคญั : บนั ไดทส่ี ามารถเคลอื่ นยา้ ยไปมาได้

ภำพรวม :

ปัญหา : ผปู้ ่วยสงู อายุและผมู้ นี า้ หนักตวั มากไม่สามารถเดินขึนรถนอนได้เอง

เปา้ หมาย: จัดทา้ บนั ไดทส่ี ามารถน้ามาวางเพ่ือใหผ้ ปู้ ว่ ยเดินขึนรถนอนไดส้ ะดวก

แนวทางการพัฒนา:จดั ทา้ บันไดใหม้ ีขนาดความกว้างและความยาวให้ถูกหลกั วิศวกรรม

สำระสำคญั ของกำรพัฒนำ :

ผู้ป่วยท่ีมีน้าหนักตัวมาก และผู้ป่วยสูงอายุที่สามารถเดินได้ ไม่สะดวกในการขึนเตียงนอนที่มีความสูง

ของรถนอนรพ.ท้าให้มีความยากล้าบากในการขึนมาก ทางคณะเวรเปลจึงได้จัดท้าบันไดที่สามารถยก

เคล่ือนยา้ ย สา้ หรับเทยี บรถนอน และเดินขึนลงได้อย่างปลอดภยั และสะดวกมากขึน

ผลลพั ธ์ :

ผู้ปว่ ยที่มีนา้ หนักตัวมาก และผสู้ ูงอายทุ ่ีเดินได้ สามารถเดนิ ขนึ รถนอนไดเ้ องโดยผา่ นบันไดสวรรค์

ผปู้ ว่ ยมีความพึงพอใจในบรกิ าร

ลดการสัมผสั ในยุคโควดิ 19

บทเรยี นทไี่ ด้รบั :
ในการทดลองใช้ยังไม่พบปัญหาในการใช้ และผู้ป่วยที่ใช้งานยังไม่ได้มีข้อต้าหนิในเร่ืองการใช้งาน แต่

ทางคณะกรรมการนวัตกรรม รพ. มีข้อเสนอแนะให้มีการวัดขนาดความกว้างยาว ของแผ่นไม้และความสูงห่าง
ระหว่างขันของบันได ใหถ้ ูกต้องตามหลักวิศวกรรม รวมทังแนวทางการพัฒนาท่ีสามารถจัดท้าเป็นระบบไฮดรอลิก
ทางคณะผ้จู ัดท้า จึงได้รับฟงั และจะนา้ ไปพฒั นาตอ่ ยอด ให้มมี าตราฐานมากขนึ
กำรตดิ ต่อกบั ทีมงำน :
ชอ่ื -สกลุ นางสาววรรณรกั ษ์ หนูเพชร ต้าแหน่ง หวั หน้าห้องอบุ ตั ิเหตุ - ฉกุ เฉนิ
หน่วยงาน ห้องอบุ ตั เิ หตุ – ฉกุ เฉนิ
โทรศัพท์มอื ถอื 0896531595 e-mail [email protected]
ช่อื -สกลุ นายวชิ ัย นิลสมบูรณ์ ต้าแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั กิ าร
หน่วยงาน ห้องอุบตั เิ หตุ - ฉุกเฉิน
โทรศพั ทม์ อื ถือ 0627589797 e-mail [email protected]
ช่อื -สกุล นายพรี ะชยั เจริญ ตา้ แหน่ง พนักงานทั่วไป


Click to View FlipBook Version