The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร PLO สาขาวิชานิเทศศิลป์ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by apisara2558.cp, 2021-03-17 02:42:01

หลักสูตร PLO สาขาวิชานิเทศศิลป์ พ.ศ. 2564

หลักสูตร PLO สาขาวิชานิเทศศิลป์ พ.ศ. 2564

หลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ านเิ ทศศลิ ป์

หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2564

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั บรู พา

สารบัญ

หนา้

หมวดที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป

รหสั และช่ือหลักสตู ร 1

ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า 1

วชิ าเอก 1

จำนวนหนว่ ยกิตทเ่ี รยี นตลอดหลักสตู ร 1

รูปแบบของหลกั สตู ร 1

สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนมุ ตั ิ/เหน็ ชอบหลักสูตร 2

ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 3

อาชพี ท่ีสามารถประกอบไดห้ ลังสำเรจ็ การศึกษา 3

อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร 3

สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน 4

สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเปน็ ต้องนำมาพจิ ารณาในการวางแผน 4

หลกั สูตร

ผลกระทบต่อการพฒั นาหลักสตู รและความเกยี่ วขอ้ งกบั พันธกจิ ของมหาวิทยาลยั 5

ความสัมพนั ธ์กับหลกั สตู รอื่นท่ีเปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลัย 6

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สูตร

ปรชั ญา ความสำคัญ วตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร และคุณลกั ษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์ 7

แผนพัฒนาปรบั ปรุง 8

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างของหลกั สตู ร

ระบบการจดั การศึกษา 9

การดำเนนิ การหลักสูตร 9

หลักสูตรและอาจารยผ์ ูส้ อน 11

องคป์ ระกอบเกีย่ วกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝกึ งาน หรือสหกจิ ศึกษา) 33

ข้อกำหนดเกี่ยวกบั การทำโครงงานหรืองานวิจยั 34

หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล

การพัฒนาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนิสติ 37

ผลลพั ธก์ ารเรียนรูท้ ี่คาดหวงั ของหลกั สตู ร 37

ตารางแสดงความเชื่อมโยงระหว่างผลลพั ธ์การเรยี นรู้ท่ีคาดหวังของหลกั สตู ร (PLO) 39

กับผลลัพธก์ ารเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)

สารบญั (ตอ่ ) หน้า
45
การพัฒนาผลลพั ธ์การเรียนรใู้ นแต่ละดา้ น 53
แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลักสูตร
สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 53
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต 53
กฎ ระเบยี บ หรือหลักเกณฑใ์ นการให้ระดับคะแนน (เกรด) 54
กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนสิ ติ
เกณฑ์การสำเรจ็ การศกึ ษาของหลักสตู ร 54
หมวดที่ 6 การพฒั นาคณาจารย์ 54
การเตรยี มการสำหรับอาจารยใ์ หม่
การพัฒนาความรู้และทกั ษะให้แก่คณาจารย์ 55
หมวดท่ี 7 การประกนั คณุ ภาพหลักสตู ร 55
การกำกบั มาตรฐาน 55
บัณฑติ 56
นิสิต 56
อาจารย์ 57
หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผล 58
ส่งิ สนบั สนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชผ้ี ลการดำเนินงานด้านกระบวนการจดั การศึกษา 59
หมวดที่ 8 การประเมนิ และการปรับปรุงการดำเนนิ การของหลักสตู ร 60
การประเมินประสทิ ธิผลของการสอน 60
การประเมนิ หลกั สตู รในภาพรวม 60
การประเมนิ ผลการดำเนินงานตามรายละเอยี ดหลกั สตู ร
การทบทวนผลการประเมนิ และการวางแผนปรับปรงุ 62
ภาคผนวก 85
เอกสารแนบหมายเลข 1 คำอธิบายรายวิชา
เอกสารแนบหมายเลข 2 ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ประจำหลักสูตรและ 94

อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตร 107
เอกสารแนบหมายเลข 3 แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้

สรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping)

เอกสารแนบหมายเลข 4 คำสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู ร
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษา

สารบญั (ตอ่ ) หนา้
109 99
แอกสารแนบหมายเลข 5 ตารางเปรียบเทยี บระหว่างหลักสูตรเดิมและ
หลกั สตู รปรบั ปรุง 121 108
122
แอกสารแนบหมายเลข 6 ผลการวิพากษ์หลักสตู รจากผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก
เอกสารแนบหมายเลข 7 ประกาศมหาวทิ ยาลยั บรู พาว่าด้วยการศึกษา

ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2559 และท่แี ก้ไขเพ่มิ เติม

1

หลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวิชานิเทศศิลป์

หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564

ชื่อสถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา
คณะ/วทิ ยาเขต/ภาควชิ า คณะศิลปกรรมศาสตร์

หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

1. รหัสและชือ่ หลักสตู ร
รหัส 25480191106102
ภาษาไทย: หลักสูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชานเิ ทศศลิ ป์
ภาษาองั กฤษ: Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Visual
Communication Design

2. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา
ชื่อปรญิ ญาภาษาไทย: ศิลปกรรมศาสตรบณั ฑิต (นเิ ทศศลิ ป์)
ชือ่ ปรญิ ญาภาษาองั กฤษ: Bachelor of Fine and Applied Arts (Visual
Communication Design)
อักษรย่อภาษาไทย: ศป.บ. (นเิ ทศศิลป์)
อักษรยอ่ ภาษาองั กฤษ: B.F.A. (Visual Communication Design)

3. วชิ าเอก -

4. จำนวนหน่วยกติ ทีเ่ รียนตลอดหลกั สตู ร
จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกวา่ 129 หนว่ ยกติ

5. รปู แบบของหลักสูตร
5.1 รปู แบบ
 หลกั สตู รปรญิ ญาตรี (ต่อเนือ่ ง)
 หลักสตู รปริญญาตรี 4 ปี
 หลักสตู รปริญญาตรี 5 ปี
 หลักสูตรปรญิ ญาตรี 6 ปี
5.2 ประเภทของหลกั สูตร
 หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
 ปรญิ ญาตรีทางวชิ าการ
 ปรญิ ญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาการ

2

 หลักสตู รปรญิ ญาตรที างวิชาชีพ
 ปริญญาตรีทางวชิ าชพี

 ปรญิ ญาตรีแบบกา้ วหน้าทางวิชาชีพ
 หลักสูตรปรญิ ญาตรีปฏบิ ัติการ

 ปริญญาตรปี ฏิบัติการ
 ปรญิ ญาตรีแบบกา้ วหน้าปฏบิ ัตกิ าร
5.3 ภาษาทใี่ ช้
 หลักสูตรจัดการศึกษาเปน็ ภาษาไทย
 หลักสตู รจัดการศึกษาเปน็ ภาษาต่างประเทศ
 หลกั สูตรจดั การศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
5.4 การรับเข้าศึกษา
 รบั เฉพาะนิสิตไทย
 รับเฉพาะนิสิตต่างชาติ
 รับทงั้ นิสิตไทยและนสิ ิตต่างชาตสิ ามารถสอื่ สารภาษาไทยได้
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอน่ื /หน่วยงานอื่น (ภาครัฐ ภาคเอกชน หรอื ชุมชน)
 เป็นหลักสตู รของสถาบันโดยเฉพาะ
 เปน็ หลักสูตรทไี่ ด้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบนั อื่น/หนว่ ยงานอ่นื
ช่อื สถาบัน/หนว่ ยงาน........................................................................................
รูปแบบของความร่วมมือสนบั สนนุ
 EEC model
 CWIE
 อนื่ ๆ ระบุ .............................................................
 เปน็ หลักสูตรร่วมกับสถาบันอ่ืน/หน่วยงานอนื่
ช่อื สถาบัน.......................................ประเทศ...............................................
รูปแบบของการรว่ ม
 รว่ มมือกนั โดยสถาบนั ฯ เปน็ ผ้ใู ห้ปริญญา
 ร่วมมอื กัน โดยสถาบนั ฯอนื่ เป็นผ้ใู ห้ปรญิ ญา
 ร่วมมือกัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รบั ปรญิ ญาจากสองสถาบัน (หรอื มากกว่า 2 สถาบัน)
5.6 การใหป้ ริญญาแก่ผู้สำเรจ็ การศกึ ษา
 ให้ปรญิ ญาเพยี งสาขาวิชาเดียว
 ใหป้ ริญญามากกว่า 1 สาขาวิชา (เชน่ ทวิปริญญา)
 อนื่ ๆ (ระบุ)...............................................

3

6. สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนุมัต/ิ เห็นชอบหลักสตู ร
 หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. .............เปดิ สอน ภาคการศึกษา............ พ.ศ. ............
 หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 เปดิ สอน ภาคตน้ ปีการศึกษา 2564
ปรบั ปรุงจากหลกั สูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ านเิ ทศศิลป์ หลกั สตู รปรับปรงุ
พ.ศ. 2559
 สภาวชิ าการใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสูตรในการประชุม ครงั้ ท่ี 8/2563
วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2563
 สภามหาวิทยาลัยใหค้ วามเห็นชอบหลักสตู รในการประชุม ครั้งพเิ ศษที่ 2/2563
วนั ท่ี 29 ตลุ าคม พ.ศ. 2563

7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลักสตู รท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน
หลกั สตู รมีความพร้อมในการเผยแพรค่ ุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 และมาตรฐานคุณวุฒิระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาศลิ ปกรรมศาสตร์
พ.ศ. 2558 ในปีการศึกษา 2566

8. อาชพี ท่ีสามารถประกอบได้หลังสำเรจ็ การศึกษา
นกั ออกแบบสรา้ งสรรค์ กราฟิกดีไซน์เนอร์ นักออกแบบโฆษณา นักออกแบบบรรจุภัณฑ์นัก

ออกแบบทางคอมพวิ เตอร์กราฟิก นักสร้างภาพเคลื่อนไหว นกั ออกแบบโมเดล 3 มิติ นกั ออกแบบ
อตุ สาหกรรมดิจิทลั คอนเทนท์ นักออกแบบสื่อนวตั กรรมภาพเคลื่อนไหว นกั ออกแบบส่ือภาพยนตร์
และสือ่ ดิจิทลั นักออกแบบสื่อทางมลั ตมิ ีเดยี นกั ตกแตง่ ภาพนงิ่

9. อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร ตำแหน่ง วฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวิชา) / ผลงานวชิ าการ
ลำดับ ช่อื -สกุล / 5 ปี ยอ้ นหลัง
ทางวชิ าการ สถาบันการศึกษา /
ที่ เลขประจำตัวประชาชน (พ.ศ.2560-2564)
ปที สี่ ำเรจ็ การศึกษา
1 นายกฤษฎา แสงสบื ชาติ 9
3 1103 0087xxxx ผชู้ ว่ ย ศป.ม. (ศลิ ปะสมัยใหม่)

ศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

ประสานมิตร พ.ศ. 2540

ศศ.บ. (นิเทศศิลป์) สถาบนั ราชภัฏ

พระนคร พ.ศ. 2537

4

ลำดบั ช่ือ-สกุล / ตำแหน่ง วฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวชิ า) / ผลงานวชิ าการ

ที่ เลขประจำตวั ประชาชน ทางวชิ าการ สถาบันการศึกษา / 5 ปี ย้อนหลัง

ปที ี่สำเร็จการศึกษา (พ.ศ.2560-2564)

2 นายชยั ยศ วนิชวัฒนานุวัติ ผูช้ ่วย ปร.ด. (ทัศนศิลปแ์ ละการออกแบบ) 4

3 2001 0040xxxx ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลยั บูรพา พ.ศ. 2556

ค.อ.ม. (เทคโนโลยีเทคนคิ ศึกษา)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้

พระนครเหนือ พ.ศ. 2540

กศ.บ. (ศิลปศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั ศรี

นครนิ ทรวิโรฒ บางแสน พ.ศ. 2526

3 นางสพุ ิศ เสียงก้อง ผชู้ ว่ ย สถ.ม. (สถาปัตยกรรมภายใน) 7

4 1009 0010xxxx ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหาร

ลาดกระบงั พ.ศ. 2544

สถ.บ. (ศลิ ปอุตสาหกรรม)

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหาร

ลาดกระบงั พ.ศ. 2535

4 นายโกวิทย์ ทะลิ ผ้ชู ่วย ปร.ด. (ทัศนศิลป์และการออกแบบ) 5

3 6701 0007xxxx ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยบรู พา พ.ศ. 2560

ศศ.ม. (เทคโนโลยีสือ่ สารมวลชน)

มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2551

Certificate Pre-Professional

animation for Maya Anya

Academy, Thailand พ.ศ. 2549

ค.บ. (ศิลปศึกษา) สถาบันราชภัฏ

เพชรบรู ณ์ พ.ศ. 2546

5 นายนัตพล ถำ้ มณี อาจารย์ ศ.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต) 1

1 2097 0001xxxx มหาวิทยาลยั รงั สติ พ.ศ. 2554

ศป.บ. (นเิ ทศศิลป์) มหาวทิ ยาลัย

บรู พา พ.ศ. 2551

10. สถานทีจ่ ดั การเรยี นการสอน
 ในสถานท่ีตัง้
 นอกสถานที่ตง้ั ไดแ้ ก่ ......................................

5

11. สถานการณภ์ ายนอกหรือการพัฒนาท่ีจำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสตู ร
11.1 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ
เน่ืองจากแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ มกี ารดำเนนิ การสง่ เสรมิ ให้การออกแบบ

มสี ่วนในการพฒั นาระบบทางเศรษฐกจิ หรือทเ่ี รียกวา่ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ (Creative Economic)
แผนพฒั นาเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (Eastern Economics Corrido EEC) ตามแผนยทุ ธศาสตร์
ชาติ 20 ปี โดยมุ่งเพ่มิ มูลค่าใหก้ บั สินค้าและบริการ เพื่อยกระดบั ให้สนิ คา้ และบริการของไทย เป็นที่
ต้องการในระดบั เศรษฐกิจสากลมากขน้ึ ทางคณะศิลปกรรมศาสตร์ จึงได้มีการปรับหลักสตู รใหม่ เพอ่ื ให้
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของระบบเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น

11.2 สถานการณห์ รือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
สังคมของไทยหรอื วฒั นธรรมของไทย มวี ถิ ีและมีอตั ลกั ษณ์ของตนเองที่ชัดเจน มแี หล่ง

อารยธรรม มีภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินมากมาย แฝงเป็นต้นทนุ ทางวัฒนธรรมได้เป็นอยา่ งดี เพยี งแตร่ อโอกาส
ในการปรับการนำเสนอใหร้ ่วมสมัยและน่าสนใจผ่านกระบวนการออกแบบ ซึ่งการออกแบบด้วยส่อื
ดจิ ทิ ัลจะสามารถสร้างเศรษฐกจิ สรา้ งอาชีพนำพาตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมออกส่สู ายตาชาวโลก ใหเ้ ปน็ ที่
ประจักษ์ได้

12. ผลกระทบจาก ขอ้ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสตู รและความเกีย่ วข้องกับพันธกจิ ของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลกั สูตร
การพฒั นาหลกั สตู ร มุ่งเน้นให้นิสติ เห็นความตอ้ งการของเศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม

ผา่ นการเรียนการสอนที่มีลกั ษณะเฉพาะของคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลยั บูรพา กล่าวคอื มีการ
นำปญั หาการออกแบบ หรือโครงการออกแบบจากหน่วยงานภายนอก มาเป็นส่วนปฏิบตั ิงานให้นสิ ติ ได้
ทดลองปฏบิ ตั ิงาน ในลักษณะ Arts Project Based Learning (APBL) โดยหวังผลสัมฤทธ์ิ ต่อสงั คม
ในระดบั พอใจ โดยคำนงึ ถงึ กระบวนการออกแบบทางการสื่อสาร การตลาดยคุ เศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ทแี่ สดง
อตั ลักษณเ์ ฉพาะของไทย สกู่ ารออกแบบร่วมสมยั การเรยี นการสอนในลักษณะนี้จะเป็นการเรยี นการ
สอนที่มลี กั ษณะกง่ึ การวจิ ยั และพัฒนา (R&D)

12.2 ความเกี่ยวข้องกับพนั ธกจิ ของมหาวิทยาลัย
พันธกิจของมหาวทิ ยาลัยคือจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาและวจิ ยั รวมทง้ั บริการ

วิชาการ ทำนบุ ำรงุ ศิลปะ วัฒนธรรม สนับสนนุ กิจกรรมของรฐั และทอ้ งถิ่น มสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา
ชมุ ชนและสิ่งแวดลอ้ ม การนำปญั หาท้องถ่นิ ชุมชน ปัญหาประเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรมประสาน
กับเทคโนโลยดี ิจิทัลสร้างสรรค์ผลงาน โดยมงุ่ เน้นเป็นมหาวทิ ยาลยั แห่งการวิจัย สาขานเิ ทศศิลป์ได้
สง่ เสริมพนั ธกิจการวิจัยในระดับปริญญาตรใี ห้สอดคล้อง กลา่ วคือ มุ่งใหเ้ ปน็ การเรียนการสอนใน
ลกั ษณะวิชาโครงงาน (Arts Project Based Leaning) ในเกือบทุกกลุ่มรายวิชา

6

13. ความสัมพนั ธก์ บั หลกั สตู รอน่ื ท่เี ปดิ สอนในคณะ/ภาควชิ าอนื่ ของสถาบันหลกั สูตรท่นี ำมาใช้

เปน็ แนวทางในการพฒั นาหลักสูตร

13.1 รายวิชาที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลักสตู รอนื่

รายวชิ าหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป

13.2 รายวิชาท่เี ปดิ สอนใหค้ ณะ/ภาควชิ า/หลักสตู รอ่ืน

วชิ าเลอื กเสรี

61130164 การออกแบบของเดก็ เลน่ 2 (1-2-3)

61130264 การเขียนภาพล้อ 2 (1-2-3)

61130364 การออกแบบของที่ระลึก 2 (1-2-3)

61130464 การออกแบบนิตยสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2 (1-2-3)

61130564 การออกแบบเพื่อการท่องเท่ียว 2 (1-2-3)

61130664 การออกแบบขอ้ มลู เชิงภาพ 2 (1-2-3)

61130764 องค์ประกอบศลิ ปภาพถ่าย 2 (1-2-3)

61130864 การวาดภาพมังงะและคอมมคิ 2 (1-2-3)

61130964 การออกแบบภาพดิจทิ ลั 3 มติ ิ 2 (1-2-3)

61131064 การออกแบบของเล่นจากตวั ละคร 2 (1-2-3)

61131164 การออกกราฟิกแบบบรรจภุ ณั ฑส์ ่งเสรมิ การขาย 2 (1-2-3)

61131264 อัตลักษณ์ไทยพ้ืนถ่ินเพ่ืองานออกแบบ 2 (1-2-3)

61131364 การเขียนสนี ้ำในงานออกแบบ 2 (1-2-3)

61131464 การเขยี นผา้ บาติก 2 (1-2-3)

13.3 การบริหารจัดการ

รายวชิ าทีเ่ ป็นความรบั ผดิ ชอบของคณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะฯ มีการตั้งผรู้ ับผดิ ชอบ

รายวิชาเพอ่ื ทำหน้าท่ีสอน การประเมินผลการเรียนการสอน จัดทำเอกสาร มคอ. และดำเนนิ การ

จัดการเรยี นการสอนใหม้ ีคณุ ภาพ มกี ารส่งเสริมการบรู ณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอน การใช้

เทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน

7

หมวดท่ี 2 ข้อมลู เฉพาะของหลักสตู ร

1. ปรัชญา ความสำคญั และวัตถุประสงค์ของหลกั สูตร
-ปรชั ญา-

การนำความรู้ ทักษะ บรู ณาการ และประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลในการออกแบบสอ่ื
สรา้ งสรรคพ์ ฒั นาเศรษฐกิจในยคุ ดิจิทัล มคี วามพร้อมรบั ผลกระทบความเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
ใหม่ การดำเนินชวี ติ สงั คมใหม่ แสวงหาความรู้ สร้างสรรค์ผลงานได้ด้วยตนเองส่เู ศรฐกิจสรา้ งสรรค์
ใหม่ ตระหนักในคณุ ธรรม ซื่อสัตย์สุจรติ รู้จกั ใช้สตปิ ัญญาในการดำรงชีวิต สือ่ สารกบั ผู้อื่นไดเ้ ป็น
อยา่ งดี

-ความสำคญั -
การผลิตบณั ฑติ ใหม้ คี วามคดิ สร้างสรรค์ เสริมสรา้ งทกั ษะบูรณาการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลใน
การผลติ ผลงานออกแบบส่ือดิจิทัล รองรับการประกอบการภาคธุรกิจ อตุ สาหกรรม สู่การพัฒนา
เศรษฐกิจสงั คม ศิลปวฒั นธรรม สรา้ งงานไดด้ ว้ ยตนเองส่ธู ุรกจิ ใหม่ Startup

-เหตผุ ลของการปรับปรงุ -
ปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงให้สอดคล้องกับสถานการณก์ ารเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในยคุ
เศรษฐกิจดจิ ิทัล สอดคล้องต่อมาตรฐานคุณวุฒิระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาศลิ ปกรรมศาสตร์ ทง้ั นีไ้ ด้นำ
ข้อเสนอ ปญั หาจากทุกภาคสว่ น ไดแ้ ก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ บัณฑิต ชมุ ชนท้องถิ่น และผใู้ ชบ้ ัณฑิต
มาพจิ ารณาดำเนินการปรบั ปรงุ หลักสตู ร โดยปรับหลกั สูตรใหม้ ีความทันสมัยคงไว้ซง่ึ เอกลักษณไ์ ทย
ทนั ต่อการพฒั นาทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ศิลปวฒั นธรรม และเทคโนโลยีการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
เป็นสว่ นในการพัฒนาระบบทางเศรษฐกจิ ตามแผนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC)
บรู ณาการการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั และศิลปวัฒนธรรม ม่งุ ไปสู่การออกแบบ การผลติ สื่อเทคโนโลยี
ดจิ ิทัลตอบสนองความต้องการของผู้ใชบ้ ัณฑติ ในภาคธุรกจิ อตุ สาหกรรม พฒั นาชุมชนทอ้ งถ่นิ
สิง่ แวดลอ้ ม รวมทง้ั สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานไดด้ ว้ ยตัวเอง เพือ่ พัฒนาไปสู่ธุรกจิ ใหม่ (Startup)

-วตั ถปุ ระสงค์-
เมอื่ สิ้นสุดการเรยี นการสอนตามหลักสูตรแล้ว บัณฑิตจะมสี มรรถนะ ดงั น้ี
1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ สำนึกสาธารณะในสาขาวชิ าชีพทางศิลปะ มีความรบั ผิดชอบ
ตอ่ ตนเองและสงั คม ซื่อสตั ย์ มรี ะเบยี บวนิ ยั ตระหนักต่อบทบาท หน้าที่ ต่อท้องถนิ่ ชมุ ชนสังคมและ
ประเทศ รักษาไว้ซ่งึ เอกลักษณ์ความเปน็ ไทย
2. มคี วามรู้ในหลักของฐานศาสตรท์ างศลิ ปกรรม บูรณาการข้ามศาสตร์ทเ่ี กย่ี วข้องทั้ง
ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะเพ่ือประกอบอาชีพดา้ นการออกแบบ
คอมพวิ เตอร์กราฟิก ออกแบบกราฟิกและโฆษณา และโทรทัศนแ์ ละดจิ ิทลั มเี ดีย รองรับการพัฒนา
เศรษฐกจิ สร้างสรรคต์ ามแผนพัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC)
3. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินคุณคา่ ทางสนุ ทรยี ะได้อย่างมี
วจิ ารณญาณ

8

4. มีความสามารถแสดงออกและพัฒนาทักษะทางศลิ ปะได้ตามความถนดั และ
ความสามารถเฉพาะตน สรา้ งงานไดด้ ้วยตนเอง

5. มคี วามสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อน่ื และมีทักษะในการจัดการทางนเิ ทศศลิ ป์
6. มีความสามารถส่ือสารและนำเสนอแนวความคิดที่เป็นรูปธรรม ผ่านผลงานทางนเิ ทศศิลป์
และพัฒนาไปสธู่ รุ กิจใหม่ (Startup)
7. มคี วามสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในการสื่อสาร และสามารถใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพฒั นา/ ยทุ ธศาสตร์ หลักฐาน/ดชั นีช้ีวัด

เปล่ยี นแปลง

- ปรบั ปรงุ หลกั สูตร - ตดิ ตามความเปลยี่ นแปลงและความ - รายงานผลการ

ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ต้องการกำลังคนในภาคธรุ กิจเพ่ือเป็น ดำเนินงาน

สาขาวชิ านเิ ทศศิลป์ ขอ้ มลู ในการพัฒนาหลกั สตู ร - ผใู้ ช้บณั ฑิตมคี วามพงึ

ให้มผี ลลพั ธ์การเรยี นรู้ - เชญิ ผูเ้ ช่ียวชาญทง้ั ภาครฐั และเอกชน พอใจบัณฑิตโดยเฉลย่ี

ท่คี าดหวงั ของหลกั สตู ร มามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลกั สูตร ระดับ 3.51 จากระดบั 5

(PLO) เช่ือมโยงกบั ผลลัพธ์ - มีการตดิ ตามประเมินหลักสตู รอยา่ ง

การเรียนรู้ตามมาตรฐาน สม่ำเสมอ

คณุ วุฒิระดับปรญิ ญาตรี

สาขาศิลปกรรมศาสตร์

พ.ศ. 2558 อย่างต่อเนือ่ ง

- ยกระดบั ทรัพยากร - อาจารยต์ อ้ งผา่ นการอบรมหลักสูตร - อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบ

สายผู้สอนเพอ่ื สนบั สนนุ เบื้องตน้ เกย่ี วกับเทคนคิ การสอนการวดั หลักสูตรและอาจารย์

การเรยี นรขู้ องนสิ ิต และประเมินผล ประจำหลกั สตู รจะต้องมี

- อาจารยท์ กุ คนต้องเขา้ อบรมเกี่ยวกับ ผลงานวชิ าการและผลงาน

หลักสตู รการสอนรูปแบบตา่ ง ๆ และ สร้างสรรค์อย่างน้อยปีละ

การวัดผลประเมินผล ท้ังนเ้ี พื่อใหม้ ี 1 เรื่อง

ความรู้ ความสามารถในการประเมนิ ผล - อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบ

ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒทิ ่ีผู้สอน หลักสตู รและอาจารย์

จะตอ้ งสามารถวดั และประเมินผลได้ ประจำหลกั สูตรจะต้องมี

เป็นอย่างดี คณุ วุฒแิ ละตำแหนง่ ทาง

- ผลักดันให้อาจารย์ทำตำแหน่งทาง วชิ าการเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 20

วิชาการ เพอื่ นำองค์ความรู้ที่ไดม้ า ภายในรอบระยะ เวลาการ

พัฒนาการเรยี นรู้ของนสิ ติ ดำเนนิ งานของหลักสูตรนี้

9

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างของหลักสตู ร

1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
 ระบบทวภิ าค โดย 1 ปกี ารศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ
และ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาการศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ 15 สัปดาห์
 ระบบไตรภาค
 ระบบจตรุ ภาค
 ระบบอื่น ๆ (ระบรุ ายละเอียด)...........................................................
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอ้ น
 มภี าคฤดรู ้อน จำนวน 3 ภาค ภาคละ 8 สปั ดาห์
 ไมม่ ีภาคฤดูรอ้ น
1.3 การเทยี บเคียงหน่วยกิตในระบบทวภิ าค
-ไม่มี-

2. การดำเนนิ การหลักสตู ร
2.1 วนั -เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
ภาคการศึกษาต้น เดือน มถิ ุนายน ถึง ตลุ าคม
ภาคการศึกษาปลาย เดอื น พฤศจิกายน ถงึ กุมภาพันธ์
ภาคการศึกษาฤดรู ้อน เดือน มนี าคม ถงึ เมษายน
2.2 คณุ สมบัตขิ องผู้เข้าศกึ ษา
 เปน็ ผ้สู ำเรจ็ การศึกษามธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเทา่
 เปน็ ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสงู หรอื เทียบเท่า หรืออนปุ ริญญา
 มีเกณฑ์คุณสมบตั ิเพ่มิ เติม
2.3 ปัญหาของนิสติ แรกเขา้
โดยท่ีหลักสูตรนิเทศศลิ ป์ จะต้องเรยี นรายวิชาเฉาะดา้ นทางศิลปกรรม ดงั น้ัน จึงอาจมี

ปัญหาบ้าง สำหรบั นิสติ ทจี่ บการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษา และการศึกษานอกโรงเรียน ประกอบกบั การ
เรียนการสอนในระดับ อุดมศึกษา กับมธั ยมศึกษามีความแตกตา่ งกนั ดงั นน้ั นิสิตใหม่อาจมีปัญหา
เก่ยี วกับการปรบั ตวั ได้

2.4 กลยุทธใ์ นการดำเนินการเพอ่ื แกไ้ ขปัญหา/ข้อจำกัดของนสิ ิตในขอ้ 2.3
สำหรับนิสิตทม่ี ปี ญั หาเก่ียวกับพื้นฐานทกั ษะทางการวาดเสน้ และการออกแบบ คณะจดั

ให้มีการสอนเสรมิ ในหมวดวิชาเฉพาะดา้ นทางศลิ ปกรรม
คณะมกี ารแตง่ ตั้งอาจารย์ที่ปรกึ ษาทางวชิ าการประจำตวั นิสติ ดังน้นั เมอ่ื เกิดปัญหา

นิสติ ก็สามารถปรึกษาหรือขอคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาได้

10

2.5 แผนการรบั นิสติ และผสู้ ำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี

ปกี ารศึกษา 2564 2565 2566 2567 2568
75 75
จำนวนรับเขา้ ปีท่ี 1 75 75 75 75 75
75 75
ปที ่ี 2 (113) 75 75 75 75
300 300
ปีที่ 3 (104) (113) 75
75 75
ปที ี่ 4 (99) (104) (113)

รวม 75 (316) 150 (217) 225 (113)

คาดวา่ จะสำเรจ็ การศกึ ษา (99) (104) (113)

หมายเหตุ จำนวนนิสติ ในวงเล็บ หมายถึง นิสติ คงค้างจากหลกั สูตรเดมิ ชือ่ หลักสูตร
ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ านิเทศศลิ ป์

2.6 งบประมาณตามแผน 2564 2565 2566 หน่วย : พนั บาท
6,021 12,043 18,064
หมวดรายรับ 2567 2568
ค่าธรรมเนยี มการศึกษา 2564 2565 2566 24,086 24,086
1,708 1,776 1,847
หมวดรายจ่าย 2,135 2,178 2.222 หนว่ ย : พันบาท
1. งบบคุ ลากร 204 208
2. งบดำเนินการ 200 408 416 2567 2568
3. งบลงทุน 400 4,566 4,693 1,921 1,998
4. งบเงนิ อดุ หนุน 4,443 2,266 2,311
212 216
รวม 424 433
4,824 4,959

หมายเหตุ: ค่าใชจ้ า่ ยต่อหวั ต่อปี (สูงสดุ ) 36,000 บาท (โครงการปกติ/รบั ตรง)
44,286 บาท (โครงการพิเศษ)

2.7 ระบบการศึกษา
 แบบชน้ั เรียน
 แบบทางไกลผา่ นส่ือส่งิ พมิ พเ์ ป็นหลกั
 แบบทางไกลผา่ นส่ือแพร่ภาพและเสียงเปน็ สอื่ หลัก
 แบบทางไกลทางอเิ ล็กทรอนิกสเ์ ปน็ สอ่ื หลัก (E-learning)
 แบบทางไกลทางอนิ เตอรเ์ นต็
 อ่ืนๆ (ระบุ)
 แบบชดุ รายวชิ า (Module system)
 .................

11

2.8 การเทียบโอนหน่วยกติ และรายวิชา การสะสมหน่วยกิต (Credit bank) และ
การลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวทิ ยาลัย
การเทียบโอนหนว่ ยกิตและรายวิชาเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลยั บรู พา เรอ่ื ง การ

เทียบโอนผลการเรยี นนสิ ิตระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2560 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม (ถา้ มี)
การสะสมหน่วยกิต (Credit bank) เป็นไปตามประกาศกระทรวงอดุ มศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม เรอ่ื ง แนวทางการดำเนินงานระบบคลังหนว่ ยกิตระดบั อุดมศึกษา
พ.ศ. 2562 และประกาศมหาวทิ ยาลยั บรู พา

3. หลกั สตู รและอาจารยผ์ สู้ อน

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกว่า 129 หน่วยกติ

3.1.2 โครงสรา้ งหลักสตู ร

1) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ไม่น้อยกว่า 30 หนว่ ยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ 93 หน่วยกิต

2.1) วชิ าแกน 18 หน่วยกติ

2.2) วชิ าเฉพาะดา้ นทางการออกแบบ 6 หนว่ ยกิต

2.3) วชิ าเอก 69 หนว่ ยกิต

2.3.1) วิชาเอกบงั คับ 40 หนว่ ยกิต

2.3.2) วิชาเอกเลือก 29 หนว่ ยกติ

3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ

3.1.3 รายวชิ า

1) หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป 30 หนว่ ยกิต

1. กลุ่มวิชาทักษะการใชช้ ีวติ คุณภาพ 9 หน่วยกิต

1.1 รายวิชาบังคับ 3 หนว่ ยกติ

89510064 ภมู บิ รู พา 3 (2-2-5)

Wisdom of BUU

1.2 รายวิชาเลือก 6 หน่วยกติ

1.2.1 ปรชั ญาชวี ติ เพื่อการเสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวติ 2 หนว่ ยกิต

89510164 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 (1-2-3)

Sufficiency Economy Philosophy

1.2.2 วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพเพอื่ การเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ 2 หนว่ ยกิต

89510364 การบริหารสขุ ภาวะทางกาย 2 (1-2-3)

Physical Well-being Management

12

1.2.3 สนุ ทรยี ศาสตร์เพอื่ การเสริมสร้างคุณภาพชวี ติ 2 หน่วยกิต

89510564 การบรหิ ารสขุ ภาวะทางจิต 2 (1-2-3)

Psychological Well-being Management

2. กลุม่ วิชาพลเมอื งไทยและพลเมืองโลก 12 หนว่ ยกิต

89520164 การพฒั นาทกั ษะการคิดนอกกรอบ 2 (1-2-3)

Lateral Thinking Skill Development

89520364 กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ 2 (1-2-3)

Creative Activities

89520464 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 3 (2-2-5)

English for Communication

89520664 ภาษาอังกฤษเพ่ือการเรยี นรู้ชีวิตจริง 3 (2-2-5)

Experiential English

89520864 ทักษะภาษาไทยเพ่อื การอาชพี ในสังคมรว่ มสมัย 2 (1-2-3)

Thai Language Skills for Careers in Contemporary Society

3. กลุ่มวิชาท่ีเสริมสมรรถนะการทำงานในโลกอนาคต 9 หนว่ ยกิต

3.1 รายวิชาบังคับ 2 หน่วยกติ

89530064 โอกาสและความทา้ ทายในการทำงานในโลกอนาคต 2 (2-0-4)

Opportunities and Challenges for Future Careers

3.2 รายวชิ าเลือก 3 รายวชิ า จำนวน 7 หนว่ ยกติ

3.2.1 รายวชิ าความรู้เพอื่ การทำงาน 4 หน่วยกิต

(จดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ นสิ ติ มหาวทิ ยาลยั บูรพาสามารถเข้าถงึ เนื้อหารายวชิ าไดต้ ลอดเวลา

ไมม่ ีการจัดตารางสอน นิสิตเข้ารบั การประเมินผลไดโ้ ดย Computer-based testing or Internet-

based testing)

รายวชิ าดา้ นการบรหิ ารจัดการ

89531164 กฎหมายสำหรับคนทำงานและธุรกิจ 2 (2-0-4)

Law for Worker and Business

89531764 การตลาดสำหรับผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21 2 (2-0-4)

Marketing for Entrepreneurship in the 21st Century

3.2.2 รายวิชาบูรณาการ 3 หน่วยกิต

(จดั การเรยี นการสอนแบบ Project-based Learning ไม่มีการจดั ตารางสอน แตจ่ ัดเปน็ กิจกรรม

Pitching) นิสติ จะลงวิชานี้ได้ตอ้ งผ่านรายวิชาในกลมุ่ 3.1 และ 3.2.1 ครบ 6 หน่วยกิต

89539764 การเปน็ ผูป้ ระกอบการในศตวรรษท่ี 21 3 (0-0-9)

Entrepreneurship in the 21st Century

13

2) หมวดวิชาเฉพาะ 93 หน่วยกิต

2.1) วชิ าแกน 18 หน่วยกติ

60110164 สุนทรยี ศาสตร์ 3 (2-2-5)

Aesthetics

60110264 ประวัติศาสตร์ศลิ ป์ตะวันออกและศลิ ปกรรมในประเทศไทย 3 (2-2-5)

History of Eastern Arts and Thai Arts

60110364 ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวนั ตก 3 (2-2-5)

History of Western Art

60111164 การวาดเสน้ 1 3 (1-4-4)

Drawing I

60111264 การวาดเส้น 2 3 (1-4-4)

Drawing II

60111364 องคป์ ระกอบศลิ ป์ 3 (2-2-5)

Art Composition

2.2 วิชาเฉพาะด้านทางการออกแบบ 6 หนว่ ยกติ

60333164 การออกแบบนิทรรศการและการจดั แสดง 3 (2-2-5)

Exhibition and Display Design

60333264 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3 (2-2-5)

Packaging Design

2.3 วิชาเอก 69 หน่วยกิต

2.3.1) วิชาเอกบังคบั 40 หนว่ ยกิต

60715164 การเขียนแบบเพอ่ื การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 (1-4-4)

Mechanical Drawing for Communication Design

60715264 การถา่ ยภาพดิจิทัล 3 (1-4-4)

Digital Photography

60724164 การจดั การธุรกิจสรา้ งสรรค์ 2 (2-0-4)

Creative Business Management

60724264 สัมมนาการออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ 3 (3-0-6)

Seminar in Communication Design

60725164 การออกแบบนิเทศศลิ ป์ 3 (1-4-4)

Visual Communication Design

60725264 การออกแบบโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 3 (1-4-4)

Advertising and Public relation Design

60725364 การออกแบบภาพกราฟกิ เคลอื่ นไหว 3 (1-4-4)

Motion Graphics Design

14

60735164 เทคโนโลยีการพมิ พ์ 3 (1-4-4)

Printing Technology

60735264 การผลิตรายการวดี ทิ ศั น์ 3 (1-4-4)

Creative and Video production

60735364 การเขียนภาพประกอบ 2 (1-3-2)

Illustration

60745164 การศึกษาอสิ ระ 4 (2-4-6)

Individual Study

60749164 ศลิ ปนพิ นธ์ 8 (2-12-10)

Arts Thesis

หมายเหตุ นสิ ติ ทจี่ ะลงวิชา 60749164 ศิลปนพิ นธ์ นัน้ จะตอ้ งผ่านการเรยี นหมวดวิชาเฉพาะ

ทางศลิ ปกรรม จำนวน 88 หน่วยกิต

2.3.2) วิชาเอกเลือก 29 หนว่ ยกิต

ให้เลือกเรียนกลมุ่ วชิ าใด กล่มุ วิชาหน่ึง ดงั นี้

กลมุ่ วิชา คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก

60726164 กระบวนการคิดสร้างสรรคส์ ำหรบั การออกแบบแอนเิ มชนั 3 (1-4-4)

Creative Thinking for Animation Design

60726264 การเขยี นบทและนำเสนอเร่ืองด้วยภาพ 3 (1-4-4)

Script writing and Storyboarding

60726364 การออกแบบตัวละคร 3 (1-4-4)

Character Design

60726464 การวาดภาพดิจทิ ลั 3 (1-4-4)

Digital Painting

60736164 การออกแบบแอนเิ มชนั 2 มติ ิ 3 (1-4-4)

2D Animation Design

60736264 การออกแบบแอนเิ มชัน 3 มติ ิ 3 (1-4-4)

3D Animation Design

60736364 การออกแบบเสียงสำหรบั แอนิเมชัน 3 (1-4-4)

Sound Design for Animation

60736464 วชิ วลเอฟเฟกส์ 1 3 (1-4-4)

Visual Effects I

60736564 วชิ วลเอฟเฟกส์ 2 3 (1-4-4)

Visual Effects II

60736664 สตอ็ ปโมชัน 2 (1-3-2)

Stop Motion

15

กลมุ่ วิชา ออกแบบกราฟิกและโฆษณา 3 (1-4-4)
60717164 การออกแบบอัตลักษณ์สำหรบั องค์กร 2 (1-3-2)
3 (1-4-4)
Corporate Identity Design 3 (1-4-4)
60727164 วิวฒั นาการและหลกั การออกแบบกราฟิก 3 (1-4-4)
3 (1-4-4)
Evolution and Principle of Graphic Design 3 (1-4-4)
60727264 การออกแบบตวั อักษร 3 (1-4-4)
3 (1-4-4)
Typographic Design 3 (1-4-4)
60727364 การสรา้ งสรรค์งานออกแบบกราฟกิ
2 (1-3-2)
Creative Graphic Design 3 (1-4-4)
60737164 การออกแบบภาพเคลื่อนไหวสำหรับงานกราฟิก 3 (1-4-4)
3 (1-4-4)
Animation for Graphic Design 3 (1-4-4)
60737264 การสรา้ งสรรค์และการผลติ งานโฆษณา 3 (1-4-4)
3 (1-4-4)
Advertising and Production Design
60737364 การออกแบบกราฟกิ สำหรบั ผลิตภณั ฑ์และส่ิงแวดล้อม

Products and Environmental Graphic Design
60737464 สอื่ ดจิ ิทลั สำหรับการออกแบบกราฟิก

Digital Media for Graphic Design
60737564 คอมพวิ เตอร์ 2 มติ ิ สำหรบั การออกแบบกราฟิก

2D Computer for Graphic Design
60747164 คอมพวิ เตอร์ 3 มติ ิ สำหรับงานกราฟิกและโฆษณา

3D Computer for Graphic Design and Advertising
กล่มุ วชิ า โทรทศั นแ์ ละดจิ ิทัลมีเดีย

60728164 สอ่ื ดจิ ิทัลเวริ ค์ ชอป
Digital Media Workshop

60728264 นวตั กรรมและการผลติ สอ่ื ดจิ ิทลั
Innovation for Digital media production

60728364 การออกแบบและสร้างสรรคภ์ าพถ่าย
Design and Layout Photography

60728464 การสรา้ งสรรค์ภาพเคลื่อนไหว
Moving images for Photography

60738164 การผลิตรายการโทรทัศน์ 1
Television Production I

60738264 การผลติ รายการโทรทศั น์ 2
Television Production II

60738364 การถา่ ยภาพโฆษณา
Advertising Photography

16

60738464 การกำกับรายการโทรทัศน์ 3 (1-4-4)

Directing for Television

60738564 การตัดต่อ 3 (1-4-4)

Editing

60738664 ภาพยนตรโ์ ฆษณาและส่ือดิจิทลั 3 (1-4-4)

Advertising Film and Digital Media

3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต

ให้เลอื กเรียนรายวชิ าใด ๆ ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ จากรายวชิ าทีเ่ ปิดสอนใน

มหาวทิ ยาลัยบรู พา หรือเลือกเรยี นจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนท้ังภายในและภายนอกประเทศ

หรอื เลือกเรียนจากรายวิชาดงั นี้

61130164 การออกแบบของเด็กเล่น 2 (1-2-3)

Toy Design

61130264 การเขียนภาพล้อ 2 (1-2-3)

Art of Caricature

61130364 การออกแบบของทร่ี ะลึก 2 (1-2-3)

Souvenir Product Design

61130464 การออกแบบนติ ยสารอิเล็กทรอนิกส์ 2 (1-2-3)

Electronic Magazine Design

61130564 การออกแบบเพ่ือการทอ่ งเท่ียว 2 (1-2-3)

Design for Tourism

61130664 การออกแบบข้อมลู เชิงภาพ 2 (1-2-3)

Infographic Design

61130764 ศิลปะภาพถ่าย 2 (1-2-3)

Art of Photography

61130864 การวาดภาพมังงะและคอมมิค 2 (1-2-3)

Manga and Comic

61130964 การออกแบบภาพดิจิทลั 3 มิติ 2 (1-2-3)

3D Digital Design

61131064 การออกแบบของเลน่ เชิงศิลปะ 2 (1-2-3)

Art Toys Design

61131164 ออกแบบกราฟิกบนบรรจภุ ณั ฑ์เพ่ือส่งเสรมิ การขาย 2 (1-2-3)

Graphic Packaging Design for Sale Promotion

61131264 อตั ลักษณ์ไทยพืน้ ถ่ินเพือ่ งานออกแบบ 2 (1-2-3)

Thai Local Identity for Design

61131364 การเขยี นสีนำ้ ในงานออกแบบ 2 (1-2-3)

Watercolor for Design

61131464 การเขยี นผ้าบาตกิ 2 (1-2-3)

Batik Painting

ความหมายของรหัสวชิ า 17
เลขรหัส 601 หมายถงึ
เลขรหสั 603 หมายถงึ วิชาแกน
เลขรหัส 607 หมายถงึ วชิ าเฉพาะด้านทางการออกแบบ
เลขรหัส 6113 หมายถึง วชิ าเอกนิเทศศลิ ป์
เลขรหสั หลักท่ี 4 หมายถึง วิชาเลือกเสรีทางนเิ ทศศิลป์
เลขรหัสหลกั ท่ี 5 หมายถึง ช้นั ปีทเ่ี ปิดสอน
หมวดวชิ าดังต่อไปนี้
เลข 0 หมายถึง วชิ าดา้ นทฤษฎีวชิ าแกน
เลข 1 หมายถงึ วชิ าด้านทฤษฎีวชิ าเฉพาะด้าน
เลข 2 หมายถงึ วิชาดา้ นปฏิบัติวชิ าเฉพาะด้าน
เลข 3 หมายถึง วชิ าดา้ นปฏบิ ัติเฉพาะด้านทางการออกแบบ
เลข 4 หมายถึง วชิ าด้านทฤษฎวี ชิ าเอก
เลข 5 หมายถงึ วชิ าดา้ นปฏิบตั ิวิชาเอก
เลข 6 หมายถงึ วชิ าด้านปฏบิ ัตขิ ัน้ สงู ทางดา้ นคอมพวิ เตอร์กราฟกิ
เลข 7 หมายถงึ วิชาด้านปฏิบตั ขิ ั้นสูงทางด้านออกแบบกราฟิกและโฆษณา
เลข 8 หมายถงึ วิชาด้านปฏบิ ัตขิ น้ั สงู ทางดา้ นโทรทัศนแ์ ละดจิ ิทัลมีเดยี
เลข 9 หมายถึง วชิ าด้านปฏิบัติวิชาเอกข้ันสูงสดุ
เลขตวั ที่ 6 หมายถึง ลำดบั ของรายวิชาในกลมุ่ วิชาของเลขรหสั ตัวที่ 5
เลขตัวท่ี 7-8 หมายถงึ ปีที่สร้างรายวชิ า

18

3.1.4 แผนการศกึ ษา
แผนการเรียนของนสิ ิตในหลักสตู รศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขานิเทศศิลป์

ในแตล่ ะภาคเรียนของปกี ารศึกษาเป็นดังนี้
แบบเต็มเวลา

หมวดวิชา ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester) หน่วยกิต
ศึกษาท่ัวไป รหัสและชื่อรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษา
วชิ าเฉพาะ 89510064 ภมู บิ ูรพา ดว้ ยตนเอง)
Wisdom of BUU
3 (2-2-5)
89520464 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 3 (2-2-5)
English for Communication 3 (2-2-5)
3 (2-2-5)
60110164 สุนทรยี ศาสตร์
Aesthetics 3 (1-4-4)
3 (2-2-5)
60110264 ประวัตศิ าสตร์ศิลป์ตะวันออกและศิลปกรรมใน 3 (1-4-4)
ประเทศไทย
History of Eastern Arts and Thai Arts 21

60111164 การวาดเส้น 1
Drawing I

60111364 องคป์ ระกอบศิลป์
Art Composition

60715164 การเขยี นแบบเพื่อการออกแบบนิเทศศลิ ป์
Mechanical Drawing for Communication
Design
รวม (Total)

19

หมวดวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) หน่วยกติ
ศึกษาทัว่ ไป รหัสและช่ือรายวิชา
วิชาเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษา
89510164 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ดว้ ยตนเอง)
วิชาเลือกเสรี Sufficiency Economy Philosophy
2 (1-2-3)
89520664 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนร้ชู ีวิตจรงิ
Experiential English 3 (2-2-5)

60110364 ประวตั ิศาสตรศ์ ลิ ปะตะวันตก 3 (2-2-5)
History of Western Art
3 (1-4-4)
60111264 การวาดเส้น 2
Drawing II 3 (1-4-4)

60715264 การถา่ ยภาพดจิ ิทลั 2
Digital Photography 16

xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี
รวม (Total)

20

หมวดวิชา ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาต้น (First Semester) หนว่ ยกิต
ศกึ ษาทว่ั ไป รหัสและช่ือรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษา
วชิ าเฉพาะ 89510364 การบรหิ ารสุขภาวะทางกาย ด้วยตนเอง)
วิชาเลือกเสรี Physical Well-being Management
2 (1-2-3)
89520164 การพฒั นาทกั ษะการคิดนอกกรอบ
Lateral Thinking Skill Development 2 (1-2-3)

89520864 ทักษะภาษาไทยเพอื่ การอาชีพในสงั คมร่วมสมยั 2 (1-2-3)
Thai Language Skills for Careers in
Contemporary Society 3 (1-4-4)

60725164 การออกแบบนเิ ทศศิลป์ 3 (1-4-4)
Visual Communication Design
3
60725264 การออกแบบโฆษณาและประชาสมั พันธ์ 2
Advertising and public relation Design 17

xxxxxxxx วชิ าเลอื กเฉพาะกลุ่ม
xxxxxxxx วิชาเลอื กเสรี

รวม (Total)

21

ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา รหสั และชื่อรายวิชา หน่วยกิต
ศึกษาทวั่ ไป
(ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษา
วชิ าเฉพาะ
ด้วยตนเอง)

89510564 การบรหิ ารสุขภาวะทางจิต 2 (1-2-3)

Psychological Well-being Management

89520364 กจิ กรรมสร้างสรรค์ 2 (1-2-3)

Creative Activities

89530064 โอกาสและความท้าทายในการทำงานในโลก 2 (2-0-4)

อนาคต

Opportunities and Challenges for Future

Careers

60735364 การเขยี นภาพประกอบ 2 (1-3-2)

Illustration

60735264 การผลติ รายการวีดทิ ศั น์ 3 (1-4-4)

Creative and video production

60725364 การออกแบบภาพกราฟิกเคล่ือนไหว 3 (1-4-4)

Motion Graphics design

xxxxxxxx วชิ าเลอื กเฉพาะกลมุ่ 6

รวม (Total) 20

22

หมวดวิชา ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester) หน่วยกิต
ศึกษาทวั่ ไป รหัสและชื่อรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษา
วิชาเฉพาะ 89531164 กฎหมายสำหรับคนทำงานและธรุ กิจ ดว้ ยตนเอง)
Law for Worker and Business
2 (2-0-4)
89531764 การตลาดสำหรับผปู้ ระกอบการในศตวรรษที่ 21
Marketing for Entrepreneurship in the 2 (2-0-4)
21st Century
3 (1-4-4)
60735164 เทคโนโลยีการพิมพ์
Printing Technology 2 (2-0-4)

60724164 การจดั การธุรกจิ สรา้ งสรรค์ 9
Creative Business Management 18

xxxxxxxx วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม
รวม (Total)

หมวดวิชา ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) หน่วยกติ
ศึกษาทว่ั ไป รหสั และชื่อรายวิชา
วิชาเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษา
89539764 การเปน็ ผ้ปู ระกอบการในศตวรรษท่ี ด้วยตนเอง)
วชิ าเลือกเสรี 21Entrepreneurship in the 21st Century
3 (0-0-9)
60433364 การออกแบบบรรจุภัณฑ์
Packaging Design 3 (2-2-5)

60433264 การออกแบบนทิ รรศการและการจัดแสดง 3 (2-2-5)
Exhibition and Event Design
3 (3-0-6)
60724264 สัมมนาการออกแบบนิเทศศลิ ป์
Seminar in Communication Design 8
2
xxxxxxxx วิชาเลอื กเฉพาะกลมุ่ 22
xxxxxxxx วชิ าเลอื กเสรี

รวม (Total)

23

หมวดวิชา ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น (First Semester) หน่วยกิต
วชิ าเฉพาะ รหสั และชื่อรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษา
60745164 การศึกษาอิสระ ด้วยตนเอง)
Individual Study
4(2-4-6)
Xxxxxxxx วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม
3
รวม (Total) 7

หมวดวชิ า ปที ่ี 4 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) หน่วยกิต
วิชาเฉพาะ รหสั และชื่อรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษา
60749164 ศิลปนิพนธ์ ดว้ ยตนเอง)
Arts Thesis
8 (2-12-10)
รวม (Total)
8

24

หมวดวชิ า แบบบางส่วนเวลา หน่วยกติ
ศึกษาทว่ั ไป ปีที่ 1 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)
วชิ าเฉพาะ รหสั และชื่อรายวิชา (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษา
ด้วยตนเอง)
89520464 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
English for Communication 3 (2-2-5)
3 (2-2-5)
60110264 ประวัตศิ าสตร์ศลิ ป์ตะวนั ออกและศิลปกรรมใน
ประเทศไทย 3 (1-4-4)
History of Eastern Arts and Thai Arts 3 (2-2-5)

60111164 การวาดเสน้ 1 3 (1-4-4)
Drawing I
15
60111364 องค์ประกอบศิลป์
Art Composition

60715164 การเขียนแบบเพื่อการออกแบบนิเทศศลิ ป์
Mechanical Drawing for Communication
Design
รวม (Total)

หมวดวชิ า ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) หนว่ ยกติ
ศึกษาท่ัวไป รหัสและช่ือรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษา
วิชาเฉพาะ 89510164 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้วยตนเอง)
Sufficiency Economy Philosophy
2 (1-2-3)
89520664 ภาษาองั กฤษเพ่ือการเรยี นรชู้ ีวติ จรงิ
Experiential English 3 (2-2-5)

60110364 ประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะตะวันตก 3 (2-2-5)
History of Western Art
3 (2-2-5)
60110164 สนุ ทรยี ศาสตร์
Aesthetics 3 (1-4-4)

60111264 การวาดเส้น 2 3
Drawing II 17

xxxxxxxx วิชาเลือกเฉพาะกลมุ่
รวม (Total)

25

หมวดวชิ า ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น (Summer Semester) หนว่ ยกิต
ศกึ ษาทั่วไป รหสั และช่ือรายวิชา
วชิ าเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษา
89510064 ภมู ิบรู พา ดว้ ยตนเอง)
Wisdom of BUU
3 (2-2-5)
60725164 การออกแบบนิเทศศิลป์
Visual Communication Design 3 (1-4-4)

60715264 การถ่ายภาพดจิ ิทลั 3 (1-4-4)
Digital Photography
รวม (Total) 9

หมวดวิชา ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาต้น (First Semester) หน่วยกติ
ศึกษาท่ัวไป รหสั และชื่อรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษา
วิชาเฉพาะ 89510364 การบริหารสขุ ภาวะทางกาย ด้วยตนเอง)
Physical Well-being Management
2 (1-2-3)
89520164 การพฒั นาทักษะการคิดนอกกรอบ
Lateral Thinking Skill Development 2 (1-2-3)

89520864 ทักษะภาษาไทยเพื่อการอาชพี ในสังคมร่วม 2 (1-2-3)
สมยั Thai Language Skills for Careers in
Contemporary Society 3(1-4-4)

60725264 การออกแบบโฆษณาและประชาสมั พนั ธ์ 3
Advertising and public relation Design 12

xxxxxxx วชิ าเลือกเฉพาะกลุ่ม
รวม (Total)

26

ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester)

หมวดวชิ า รหสั และช่ือรายวิชา หน่วยกิต
ศึกษาทัว่ ไป
(ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษา
วชิ าเฉพาะ
ดว้ ยตนเอง)

89510564 การบรหิ ารสุขภาวะทางจิต 2 (1-2-3)

Psychological Well-being Management

89520364 กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ 2 (1-2-3)

Creative Activities

60735364 การเขียนภาพประกอบ 2 (1-3-2)

Illustration

60724164 การจัดการธุรกจิ สร้างสรรค์ 2 (2-0-4)

Creative Business Management

60735264 การผลิตรายการวดี ทิ ัศน์ 3 (1-4-4)

Creative and video production

60725364 การออกแบบกราฟิกเคลอ่ื นไหว 3 (1-4-4)

Motion Graphics Design

xxxxxxxx วิชาเลอื กเฉพาะกลมุ่ 3

รวม (Total) 17

ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน (Summer Semester)

หมวดวิชา รหสั และช่ือรายวิชา หน่วยกติ
ศกึ ษาท่ัวไป
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษา
วิชาเฉพาะ
ดว้ ยตนเอง)

89530064 โอกาสและความท้าทายในการทำงานในโลก 2 (2-0-4)

อนาคต

Opportunities and Challenges for

Future Careers

60433264 การออกแบบนทิ รรศการและการจัดแสดง 3 (2-2-5)

Exhibition and Event Design

xxxxxxxx วิชาเลอื กเฉพาะกล่มุ 3

รวม (Total) 8

27

ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)

หมวดวิชา รหสั และช่ือรายวิชา หนว่ ยกติ
ศกึ ษาท่วั ไป
(ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษา
วชิ าเฉพาะ ดว้ ยตนเอง)

89531164 กฎหมายสำหรับคนทำงานและธรุ กจิ 2 (2-0-4)

Law for Worker and Business

89531764 การตลาดสำหรบั ผูป้ ระกอบการในศตวรรษท่ี 21 2 (2-0-4)

Marketing for Entrepreneurship in the

21st Century

60725364 การออกแบบกราฟิกเคลอ่ื นไหว 3 (1-4-4)

Motion Graphics Design

60724164 การจัดการธุรกจิ สร้างสรรค์ 2 (2-0-4)

Creative Business Management

xxxxxxxx วชิ าเลือกเฉพาะกลมุ่ 6

รวม (Total) 15

หมวดวชิ า ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) หน่วยกิต
ศึกษาท่ัวไป รหัสและชื่อรายวิชา
วิชาเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษา
89539764 การเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษท่ี 21 ด้วยตนเอง)
วชิ าเลอื กเสรี Entrepreneurship in the 21st Century
3 (0-0-9)
60735164 เทคโนโลยีการพมิ พ์
Printing Technology 3 (1-4-4)

60333364 การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 3 (2-2-5)
Packaging Design
6
xxxxxxxx วชิ าเลือกเฉพาะกล่มุ 2
xxxxxxxx วชิ าเลือกเสรี 17

รวม (Total)

28

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน (Summer Semester)

หมวดวิชา รหสั และชื่อรายวิชา หนว่ ยกิต

(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษา

ด้วยตนเอง)

60724264 สมั มนาการออกแบบนิเทศศิลป์ 3 (3-0-6)

Seminar in communication design

วิชาเฉพาะ xxxxxxxx วิชาเลือกเฉพาะกล่มุ 2

วชิ าเลอื กเสรี xxxxxxxx วิชาเลอื กเสรี 4

รวม (Total) 7

หมวดวชิ า ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester) หน่วยกิต
วชิ าเฉพาะ รหัสและช่ือรายวิชา
(ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษา
60745164 การศึกษาอสิ ระ ดว้ ยตนเอง)
Individual Study
4 (2-4-6)
รวม (Total)
4

ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester)

หมวดวชิ า รหัสและช่ือรายวิชา หนว่ ยกติ
วิชาเฉพาะ
(ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษา

ดว้ ยตนเอง)

60749164 ศิลปนิพนธ์ 8 (2-12-10)

Arts Thesis

รวม (Total) 8

3.1.5 คำอธิบายรายวิชา
(เอกสารแนบหมายเลข 1)

29

3.2 ช่ือ สกลุ ตำแหน่งและคุณวฒุ ิของอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ประจำหลักสตู ร

(1) นายกฤษฎา แสงสบื ชาติ เลขประจำตัวประชาชน 3 1103 0087xxxx

ศป.ม. (ศลิ ปะสมัยใหม)่ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร พ.ศ. 2540

ศศ.บ. (นเิ ทศศลิ ป์) สถาบนั ราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2537

ตำแหนง่ ทางวิชาการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดมิ

รหัสวชิ า รายวิชา จำนวนหน่วยกติ

60726159 กระบวนการคิดสร้างสรรคส์ ำหรับการออกแบบ 3 (1-4-4)

ภาพเคล่ือนไหว

60726259 การเขียนบทและนำเสนอเรื่องด้วยภาพ 3 (1-4-4)

60726359 การออกแบบตัวละคร 3 (1-4-4)

60736459 เทคนิคพิเศษในการสรา้ งภาพเคลือ่ นไหว 1 3 (1-4-4)

60745159 การศึกษาอสิ ระ 4 (2-4-6)

60749159 ศิลปนิพนธ์ 8 (2-12-10)

ภาระงานสอนในหลกั สตู รนี้

รหสั วิชา รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต

60726164 กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์สำหรับการออกแบบ 3 (1-4-4)

แอนเิ มชนั

60726264 การเขียนบทและนำเสนอเรอื่ งดว้ ยภาพ 3 (1-4-4)

60726364 การออกแบบตวั ละคร 3 (1-4-4)

60736464 วชิ วลเอฟเฟกส์ 1 3 (1-4-4)

60745164 การศึกษาอสิ ระ 4 (2-4-6)

60749164 ศิลปนพิ นธ์ 8 (2-12-10)

(2) นายชัยยศ วนิชวัฒนานุวัติ เลขประจำตัวประชาชน 3 2001 0040xxxx

ปร.ด. (ทัศนศิลป์และการออกแบบ) มหาวิทยาลัยบรู พา พ.ศ. 2556

ค.อ.ม. (เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2540

กศ.บ. (ศลิ ปศกึ ษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน พ.ศ. 2526

ตำแหนง่ ทางวิชาการ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

30

ภาระงานสอนเดิม

รหัสวิชา รายวิชา จำนวนหน่วยกติ
3 (1-4-4)
60715259 การถา่ ยภาพดจิ ิทลั 3 (1-4-4)
3 (1-4-4)
60735159 เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 (1-4-4)
4 (2-4-6)
60735259 การผลิตรายการวีดิทัศน์ 8 (2-12-10)

60728359 การถ่ายภาพสร้างสรรค์ จำนวนหน่วยกิต
3 (1-4-4)
60745159 การศึกษาอิสระ 3 (1-4-4)
3 (1-4-4)
60749159 ศิลปนิพนธ์ 3 (1-4-4)
4 (2-4-6)
ภาระงานสอนในหลกั สูตรนี้ 8 (2-12-10)

รหัสวิชา รายวชิ า

60715264 การถา่ ยภาพดิจิทัล

60735164 เทคโนโลยีการพมิ พ์

60735264 การผลิตรายการวีดทิ ัศน์

60728364 การออกแบบและสรา้ งสรรค์ภาพถ่าย

60745164 การศึกษาอิสระ

60749164 ศิลปนิพนธ์

(3) นางสพุ ิศ เสียงก้อง เลขประจำตวั ประชาชน 4 1009 0010xxxx

สถ.ม. (สถาปัตยกรรมภายใน) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหาร

ลาดกระบงั พ.ศ. 2544

สถ.บ. (ศิลปอุตสาหกรรม) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

พ.ศ. 2535

ตำแหน่งทางวิชาการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดมิ

รหสั วิชา รายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต

60433259 การออกแบบนิทรรศการและการจดั แสดง 3 (1-4-4)

60433359 การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 3 (2-2-5)

60715159 การเขียนแบบเพ่ือการออกแบบ 3 (1-4-4)

60717159 การออกแบบกราฟิกสำหรับองค์กรและกราฟกิ 3 (1-4-4)

ในสภาพแวดล้อม

60749159 ศิลปนิพนธ์ 8 (2-12-10)

31

ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้

รหัสวิชา รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ
3 (1-4-4)
60433264 การออกแบบนทิ รรศการและการจดั แสดง 3 (2-2-5)
3 (1-4-4)
60433364 การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 3 (1-4-4)

60715164 การเขียนแบบเพ่ือการออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ 8 (2-12-10)

60717164 การออกแบบกราฟกิ สำหรับองคก์ รและกราฟกิ

ในสภาพแวดล้อม

60749164 ศิลปนิพนธ์

(4) นายโกวทิ ย์ ทะลิ เลขประจำตัวประชาชน 3 6701 0007xxxx

ปร.ด. (ทัศนศลิ ป์และการออกแบบ) มหาวิทยาลัยบรู พา พ.ศ. 2560

ศศ.ม. (เทคโนโลยสี อ่ื สารมวลชน) มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2551

Certificate Pre-Professional animation for Maya Anya Academy, Thailand พ.ศ. 2549

ค.บ. (ศิลปศึกษา) สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2546

ตำแหนง่ ทางวิชาการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดมิ

รหสั วชิ า รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต

60727159 ววิ ัฒนาการการออกแบบกราฟกิ 2 (1-3-2)

60737459 การออกแบบสอื่ ดิจิทัลสำหรับการออกแบบกราฟกิ 3 (1-4-4)

60737559 คอมพวิ เตอร์สำหรับการออกแบบกราฟิก 1 3 (1-4-4)

60747159 คอมพวิ เตอรส์ ำหรบั การออกแบบกราฟกิ 2 3 (1-4-4)

60745159 การศึกษาอิสระ 4 (2-4-6)

60749159 ศิลปนพิ นธ์ 8 (2-12-10)

ภาระงานสอนในหลักสตู รน้ี

รหัสวิชา รายวิชา จำนวนหน่วยกิต

60727164 ววิ ฒั นาการและหลักการออกแบบกราฟกิ 2 (1-3-2)

60737464 สือ่ ดจิ ิทัลสำหรับการออกแบบกราฟิก 3 (1-4-4)

60737564 คอมพวิ เตอร์ 2 มิติ สำหรับการออกแบบกราฟิก 3 (1-4-4)

60747164 คอมพิวเตอร์ 3 มิติ สำหรบั งานกราฟิกและโฆษณา 3 (1-4-4)

60745164 การศกึ ษาอสิ ระ 4 (2-4-6)

60749164 ศิลปนพิ นธ์ 8 (2-12-10)

32

(5) นายนตั พล ถ้ำมณี เลขประจำตวั ประชาชน 1 2097 0001xxxx

ศ.ม. (คอมพิวเตอร์อารต์ ) มหาวทิ ยาลัยรงั สิต พ.ศ. 2554

ศป.บ. (นเิ ทศศิลป์) มหาวทิ ยาลยั บูรพา พ.ศ. 2551

ตำแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดิม

รหัสวชิ า รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ

60725459 คอมพวิ เตอร์เพื่อการออกแบบภาพเคลื่อนไหวขัน้ 3 (1-4-4)

พืน้ ฐาน

60726459 ดจิ ิทลั เพ้นต้งิ 3 (1-4-4)

60736259 การออกแบบและการสร้างภาพเคล่อื นไหว 3 มติ ิ 3 (1-4-4)

60736459 เทคนคิ พเิ ศษในการสร้างภาพเคล่อื นไหว 1 3 (1-4-4)

60736559 เทคนิคพิเศษในการสร้างภาพเคลือ่ นไหว 2 3 (1-4-4)

61130359 การออกแบบของที่ระลกึ 2 (1-2-3)

ภาระงานสอนในหลกั สูตรนี้

รหสั วิชา รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต

60725364 การออกแบบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว 3 (1-4-4)

60726464 การวาดภาพดิจิทัล 3 (1-4-4)

60736264 การออกแบบแอนเิ มชัน 3 มิติ 3 (1-4-4)

60736464 วิชวลเอฟเฟกส์ 1 3 (1-4-4)

60736564 วชิ วลเอฟเฟกส์ 2 3 (1-4-4)

61130364 การออกแบบของท่ีระลึก 2 (1-2-3)

60745164 การศกึ ษาอิสระ 4 (2-4-6)

60749164 ศิลปนิพนธ์ 8 (2-12-10)

(6) นายบุญชู บุญลขิ ิตศริ ิ เลขประจำตัวประชาชน 3 6702 0005xxxx

ค.ด. (เทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั พ.ศ. 2555

ค.ม. (โสตทัศนศกึ ษา) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2548

กศ.บ.(เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2544

ตำแหนง่ ทางวชิ าการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์

ผลงานทางวชิ าการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

33

ภาระงานสอนเดิม

รหสั วชิ า รายวิชา จำนวนหน่วยกติ
3 (3-0-6)
60725159 การวจิ ัยศลิ ปกรรมและการออกแบบ 2 (1-3-2)
3 (1-4-4)
60728159 การผลิตส่อื ผสม 1 8 (2-12-10)

60728259 การผลติ สื่อผสม 2 จำนวนหนว่ ยกิต
3 (3-0-6)
60749159 ศิลปนพิ นธ์ 2 (1-3-2)
8 (2-12-10)
ภาระงานสอนในหลกั สูตรน้ี

รหสั วิชา รายวิชา

60724264 สัมมนาการออกแบบนิเทศศลิ ป์

60728164 การผลติ ส่ือผสม

60749164 ศลิ ปนพิ นธ์

(7) นายบรรยวัสถ์ ประเสริฐวรชัย เลขประจำตัวประชาชน 3 1206 0067xxxx

ปร.ด. (ทัศนศลิ ป์และการออกแบบ) มหาวทิ ยาลัยบูรพา พ.ศ. 2562

ศ.ม. (ศลิ ปไทย) มหาวิทยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. 2549

ศ.บ. (ศิลปไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2547

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดิม

รหัสวชิ า รายวิชา จำนวนหน่วยกติ

60110259 ประวัติศาสตรศ์ ิลปกรรมในประเทศไทย 3 (3-0-6)

60211159 ประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันออก 3 (3-0-6)

ภาระงานสอนในหลักสตู รนี้

รหสั วิชา รายวิชา จำนวนหน่วยกติ

60110264 ประวัติศาสตรศ์ ิลป์ตะวันออกและไทย 3 (2-2-5)

(8) นายภานุ สรวยสุวรรณ เลขประจำตัวประชาชน 3 2499 0037xxxx

ปร.ด. (ทัศนศิลปแ์ ละการออกแบบ) มหาวทิ ยาลัยบรู พา พ.ศ. 2557

ศ.ม. (จติ รกรรม) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. 2546

ศ.บ. (จติ รกรรม) มหาวิทยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. 2540

ตำแหนง่ ทางวิชาการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

34

ภาระงานสอนเดิม

รหสั วชิ า รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
3 (3-0-6)
60110259 ประวตั ศิ าสตร์ศิลปกรรมในประเทศไทย 3 (3-0-6)

60211159 ประวัตศิ าสตร์ศิลป์ตะวันออก จำนวนหนว่ ยกิต
3 (2-2-5)
ภาระงานสอนในหลกั สตู รนี้

รหัสวชิ า รายวิชา

60110264 ประวัติศาสตรศ์ ลิ ปตะวนั ออกและศิลปกรรมใน

ประเทศไทย

(9) นายอธวิ ธุ งามนิสัย เลขประจำตัวประชาชน 3 1009 0362xxxx

ศ.ม. (ศลิ ปไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2553

ศ.บ. (ศลิ ปไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2550

ตำแหน่งทางวชิ าการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดิม

รหสั วชิ า รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต

60212359 การวาดเส้น 1 3 (1-4-4)

60212459 การวาดเส้น 2 3 (1-4-4)

61130259 การเขยี นภาพล้อ 2 (1-2-3)

ภาระงานสอนในหลักสตู รนี้

รหัสวิชา รายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต

60110464 การวาดเส้น 1 3 (1-4-4)

60110564 การวาดเส้น 2 3 (1-4-4)

61130264 การเขียนภาพล้อ 2 (1-2-3)

(10) นายจำนงค์ ธนาวนชิ กลุ เลขประจำตวั ประชาชน 3 2001 0115xxxx

ศ.ม. (จติ รกรรม) มหาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2534

ศ.บ. (จติ รกรรม) มหาวิทยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. 2531

ตำแหน่งทางวชิ าการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดมิ

รหสั วชิ า รายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ

60212359 การวาดเส้น 1 3 (1-4-4)

60212459 การวาดเสน้ 2 3 (1-4-4)

ภาระงานสอนในหลักสูตรน้ี 35 จำนวนหนว่ ยกติ
รหสั วชิ า รายวชิ า 3 (1-4-4)
60110464 การวาดเส้น 1 3 (1-4-4)
60110564 การวาดเสน้ 2

(11) นางสาววรรณวรางค์ เล็กอุทัย เลขประจำตัวประชาชน 3 5399 0000xxxx

ปร.ด. (ทศั นศลิ ป์และการออกแบบ) มหาวิทยาลัยบรู พา พ.ศ. 2562

ศ.ม. (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2541

ศ.บ. (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2537

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดิม

รหัสวชิ า รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต

60211259 ประวตั ิศาสตร์ศลิ ปต์ ะวันตก 3 (3-0-6)

ภาระงานสอนในหลักสตู รน้ี

รหสั วิชา รายวิชา จำนวนหน่วยกติ

60110364 ประวัติศาสตรศ์ ลิ ปะตะวันตก 3 (2-2-5)

(12) นางสาวรสา สนุ ทรายุทธ เลขประจำตัวประชาชน 1 1020 0032xxxx

ปร.ด. (ศิลปะการออกแบบ) มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ. 2561

M.A. (Multimedia) Monash University, Melbourne, Australia พ.ศ. 2553

ศล.บ. (ออกแบบนเิ ทศศิลป)์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี พ.ศ. 2549

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

ภาระงานสอนเดิม

รหสั วชิ า รายวิชา จำนวนหน่วยกิต

61130159 การออกแบบของเด็กเล่น 2 (1-3-2)

ภาระงานสอนในหลักสตู รน้ี

รหสั วชิ า รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต

61130164 การออกแบบของเด็กเล่น 2 (1-2-3)

(13) นายภาสกร แสงสวา่ ง เลขประจำตัวประชาชน 3 1702 0024xxxx
ศ.ม. (ศลิ ปไทย) มหาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2550
ศ.บ. (ศิลปไทย) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2547
ตำแหน่งทางวิชาการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

36

ภาระงานสอนเดิม

รหสั วชิ า รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
2 (1-2-3)
61130259 การเขยี นภาพล้อ
จำนวนหน่วยกติ
ภาระงานสอนในหลักสูตรน้ี 2 (1-2-3)

รหัสวชิ า รายวิชา

61130264 การเขียนภาพล้อ

3.2.2 อาจารยพ์ ิเศษ
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบรู พา ว่าด้วยอาจารย์พิเศษ พ.ศ. 2556 และท่ี

แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ถา้ มี)

4. องคป์ ระกอบเกยี่ วกบั ประสบการณภ์ าคสนาม (การฝึกงาน และสหกิจศกึ ษา)
ไม่มี

5. ขอ้ กำหนดเก่ียวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย (ถา้ มี)
โครงการศิลปนิพนธ์ เสนอหวั ข้อตามความสนใจ มีแนวความคดิ และจุดม่งุ หมายท่ีได้รับอนุมตั จิ าก

คณะกรรมการพจิ ารณาหวั ขอ้ ศลิ ปนิพนธ์ ประกอบดว้ ยผลงาน และเอกสาร อธิบายขน้ั ตอนการพฒั นา
ผลงาน กระบวนการสร้างสรรค์ ตามระเบียบว่าด้วยการทำศิลปนพิ นธ์ของคณะศิลปกรรมศาสตร์

5.1 คำอธิบายโดยย่อ
หวั ขอ้ ตามความสนใจ แนวความคิดและจุดม่งุ หมาย ขนั้ ตอนการพฒั นาผลงาน

กระบวนการสรา้ งสรรค์
5.2 ผลการเรียนรู้
1) คน้ คว้าข้อมลู อย่างมเี หตุผลและเป็นระบบ
2) สรา้ งสรรคผ์ ลงาน
3) ผลงานท่ไี ดส้ รา้ งสรรค์
5.3 ช่วงเวลา : ภาคการศกึ ษาปลาย ปี 4
5.4 จำนวนหน่วยกิต : 8 หนว่ ยกิต
5.5 การเตรยี มการ
ตอ้ งผ่านการเรียนรายวชิ าเฉพาะทางศิลปกรรม จำนวน 88 หนว่ ยกิต
5.6 กระบวนการประเมินผล
ประเมนิ โดยคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ประกอบดว้ ยอาจารย์ผู้สอน และผู้ทรงคุณวฒุ ิ

ภายนอก ท่ีได้รบั การแต่งต้งั จากคณะศิลปกรรมศาสตร์

37

หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้และกลยทุ ธ์การสอนและการประเมนิ ผล

1. การพฒั นาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต

คณุ ลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกจิ กรรมของนสิ ิต

- มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ดี - มกี ารสอดแทรกเรื่องมนุษยสมั พันธ์และการวางตัวในองค์กรธุรกิจ

ในบางรายวิชา

- มภี าวะผนู้ ำ และความ - กำหนดใหม้ รี ายวชิ าซึ่งนิสติ ต้องทำงานเป็นกลุ่ม และมีหัวหน้ากลุ่ม

รับผิดชอบ ตลอดจนมีวินัย ในการทำรายงานตลอดจนนำเสนอรายงาน เพ่ือเป็นการฝกึ ใหน้ สิ ติ

ในตนเอง ได้สรา้ งภาวะผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี

- มกี จิ กรรมนสิ ิตท่มี อบหมายใหน้ ิสิตหมุนเวียนกนั เป็นหัวหนา้ ในการ

ดำเนินกิจกรรม เพ่ือฝกึ ให้นิสิตมีความรบั ผดิ ชอบและมีภาวะผู้นำ

- มีกตกิ าที่จะสร้างวนิ ัยในตนเอง เชน่ การเข้าเรียนตรงเวลา

เข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอการมีส่วนรว่ มในช้นั เรียนและส่งงานทไี่ ดร้ บั

มอบหมายตรงเวลาเสมอ

- มที ักษะด้านการ - กำหนดใหม้ รี ายวิชาเฉพาะดา้ นทางการออกแบบ และรายวิชาการ

ออกแบบ และการจัดการ จดั การธุรกิจสร้างสรรค์ เรยี นรกู้ ารสร้างสรรค์ธรุ กิจดา้ นการ

ธรุ กิจสรา้ งสรรค์ ออกแบบในยุคเศรษฐกิจใหม่

- มีทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี - รายวิชาที่มกี ารนำเสนอรายงานในชั้นเรียน กำหนดให้นำเสนอโดย

สารสนเทศได้ดี ใชโ้ ปรแกรมการนำเสนอผลงาน หรอื ส่อื ดจิ ิทลั อน่ื เพื่อเพ่ิมทักษะทาง

เทคโนโลยีสารสนเทศ

- มีทกั ษะการเรียนรู้ด้วย - การจัดการเรียนการสอนทสี่ ่งเสริมใหน้ ิสติ เรยี นรู้ด้วยตนเอง โดยใช้

ตนเอง และรบั ผดิ ชอบต่อ การสอนทย่ี ึดผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ มีวิธคี ดิ สามารถแกป้ ญั หาทางการ

สังคม ออกแบบสรา้ งสรรค์ผลงาน และมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม

2. ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ทีค่ าดหวังของหลักสตู ร (Program learning outcomes, PLO)
ผลการเรียนรขู้ องหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education Learning Outcomes: GELO)

GELO1 แสดงออกถึงความซื่อสตั ย์ มรี ะเบยี บวินัย มีศิลปวัฒนธรรมท่ีดีงาม โดยเฉพาะ
เอกลกั ษณ์ความเป็นไทย

GELO2 แสดงพฤตกิ รรมการเป็นพลเมืองท่ีดีของสงั คมไทยและสังคมโลก มจี ิตสาธารณะ
ร่วมแก้ปญั หาสงั คม ต่อต้านการทจุ รติ

GELO3 มคี วามรอบรู้ เท่าทนั ตอ่ การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของภมู ภิ าคในเขตพฒั นา
พเิ ศษภาคตะวนั ออก และของโลก

GELO4 มีทักษะการแสวงหาความรูต้ ลอดชวี ิต วเิ คราะห์ตนเอง สร้างแผนการใช้ชีวติ อย่างมี
คณุ ภาพ

38

GELO5 มคี วามคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ สามารถบรู ณาการขา้ มศาสตรใ์ ช้ในการแก้ปัญหา ร่วม
สรา้ งสรรค์นวตั กรรม

GELO6 สามารถใช้ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการเป็นผู้ประกอบการ
GELO7 รับผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม สามารถทำงานร่วมกับผู้อืน่ ในพหุวฒั นธรรม และ
แสดงความคดิ เห็นได้อยา่ งสร้างสรรค์
GELO8 สามารถทำงานเปน็ ทีม ทง้ั ในฐานะผู้นำและสมาชิกท่ีดีของกลุม่
GELO9 สามารถใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลในการแสวงหาข้อมูลอยา่ งรูเ้ ท่าทันและหลากหลาย
รวมทง้ั นำเสนองานอย่างมีประสิทธภิ าพ
GELO10 สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
ผลการเรียนรขู้ องหลกั สูตร (Program learning outcomes, PLO)
PLO1 ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ และมีวินยั
PLO2 มที ัศนคติทดี่ ี เปิดกว้างรบั ฟังแนวคิดของผู้อน่ื
PLO3 มจี ติ อาสา จติ สำนึกสาธารณะ
PLO4 อธบิ ายหลักการและทฤษฎพี ้ืนฐานทางศลิ ปกรรมได้
PLO5 ประยุกตค์ วามรู้จากทฤษฎีส่กู ารปฏิบตั ิ บรู ณาการศาสตร์ทางศลิ ปกรรม และศาสตร์
อ่นื ท่ีเกย่ี วข้องในการค้นคว้า แก้ปญั หา และพัฒนาทางด้านการออกแบบคอมพวิ เตอร์กราฟิก
การออกแบบ กราฟิกและโฆษณา และโทรทัศน์และดิจทิ ัลมีเดียอย่างเป็นระบบ
PLO6 อธิบายความสมั พนั ธข์ องศาสตร์ทศ่ี กึ ษากับบริบททางสงั คม ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรม
PLO7 อธบิ ายเกยี่ วกบั มาตรฐานหรือธรรมเนยี มปฏบิ ัตดิ ้านการประกอบอาชีพด้าน
ศลิ ปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
PLO8 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ เพ่ือพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
PLO9 คดิ แบบองคร์ วม เพ่ือแกป้ ญั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องต่อสถานการณ์
PLO10 คน้ ควา้ รวบรวมและประเมนิ ข้อมูล จากแหลง่ ขอ้ มูลท่หี ลากหลายอยา่ งมี
วิจารณญาณ และวเิ คราะห์หาแนวทางแก้ไขปญั หาได้อยา่ งสร้างสรรค์
PLO11 มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และปฏภิ าณไหวพรบิ ในการสร้างผลงาน
PLO12 เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่นื และมนุษยสัมพันธท์ ่ดี ี
PLO13 มคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานของตนเองและสงั คม สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
PLO14 สามารถแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผล และเคารพในความคดิ เหน็ ที่แตกต่าง
PLO15 สามารถส่ือสารภาษาไทยและภาษาองั กฤษดว้ ยการพดู ฟงั อา่ น เขยี น ในการ
สอ่ื สารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสอ่ื สารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
PLO16 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมลู เพอื่ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานหรือ
การนำเสนอผลงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

39

PLO17 มีความสามารถในเชิงการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขหรือเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมสำหรบั
ศลิ ปกรรม

PLO18 สามารถสรา้ งสรรค์ผลงานออกแบบและผลงานส่ือดิจทิ ลั

3. ความคาดหวังของผลลพั ธ์การเรยี นรูเ้ มือ่ ส้นิ ปีการศึกษา (Yearly learning outcomes, YLO)
ปีที่ 1 นิสิตมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง เขา้ ใจในสาขาวิชาท่ศี ึกษา และมีความรคู้ วามเข้าใจพื้นฐาน

ทางดา้ นการออกแบบ
ปที ี่ 2 นิสิตมคี วามรูใ้ นหลักของฐานศาสตร์ทางศิลปกรรมทเี่ ก่ียวข้องทง้ั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ มีทักษะ

ทางการออกแบบ และกระบวนการคดิ สร้างสรรค์
ปีที่ 3 นิสิตมีทกั ษะในการจัดการทางนเิ ทศศิลป์ และทักษะเฉพาะทางในวชิ าเอกทางด้านคอมพิวเตอร์

กราฟิก การออกแบบกราฟิกและโฆษณา และโทรทัศนแ์ ละดิจิทลั มเี ดยี
ปที ี่ 4 นสิ ติ มีทกั ษะความสามารถในการสร้างสรรคโ์ ครงงานด้วยตนเอง สามารถส่ือสารและนำเสนอแนวคดิ

ผ่านผลงานนิเทศศิลป์ ดา้ นคอมพิวเตอร์กราฟิก การออกแบบกราฟิกและโฆษณา และโทรทัศน์
และดจิ ิทัลมีเดยี

ตารางแสดงความเช่ือมโยงระหว่างผลลัพธ์การเรยี นรู้ทค่ี าดหวังของหลักสูตร (PLO) กบั ความคาดหวังของ

ผลลพั ธ์การเรียนรู้เมอ่ื สน้ิ ปีการศึกษา (YLO)

PLOs YLO ปที ่ี 1 ปที ่ี 2 ปที ่ี 3 ปีที่ 4

1. ซือ่ สตั ยส์ ุจริต และมวี นิ ยั ✓ ✓ ✓✓

2. มที ศั นคตทิ ี่ดี เปดิ กวา้ งรับฟงั แนวคิดของผ้อู ื่น ✓ ✓ ✓✓

3. มีจิตอาสา จติ สำนกึ สาธารณะ ✓ ✓ ✓✓

4. อธิบายหลักการและทฤษฎีพืน้ ฐานทางศิลปกรรมได้ ✓ ✓ ✓✓

5. ประยุกตค์ วามรจู้ ากทฤษฎสี ่กู ารปฏิบัติ บูรณาการศาสตร์ ✓ ✓✓

ทางศลิ ปกรรม และศาสตร์อ่นื ท่เี กย่ี วข้อง ในการคน้ คว้า

แกป้ ญั หา และพฒั นาทางดา้ นการออกแบบคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก

การออกแบบกราฟิกและโฆษณา และโทรทัศนแ์ ละดจิ ิทลั มีเดยี

อย่างเป็นระบบ

6. อธบิ ายความสัมพันธข์ องศาสตรท์ ี่ศึกษากับบริบททางสังคม ✓ ✓✓

ภมู ิปัญญาและวัฒนธรรม

7. อธิบายเก่ียวกบั มาตรฐานหรอื ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ดิ า้ น ✓✓

การประกอบอาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศกึ ษา

8. แสวงหาความรู้ ประยุกต์ เพอื่ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ✓ ✓ ✓ ✓

40

PLOs YLO ปีท่ี 1 ปีท่ี 2 ปีท่ี 3 ปที ี่ 4

9. คิดแบบองค์รวม เพ่ือแก้ปัญหาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและ ✓ ✓✓

สอดคลอ้ งตอ่ สถานการณ์

10. ค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมลู จากแหล่งข้อมลู ท่ี ✓ ✓✓

หลากหลายอย่างมีวจิ ารณญาณ และวิเคราะหห์ าแนวทางแก้ไข

ปญั หาได้อย่างสร้างสรรค์

11. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ และปฏิภาณไหวพรบิ ในการสร้าง ✓ ✓ ✓ ✓

ผลงาน

12. เขา้ ใจบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง รบั ฟังความคดิ เห็นของ ✓ ✓ ✓✓

ผูอ้ นื่ และมนุษยสัมพนั ธ์ทด่ี ี

13. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานของตนเองและสังคม สามารถ ✓ ✓ ✓ ✓

ทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

14. สามารถแสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตผุ ล และเคารพ ✓ ✓ ✓✓

ในความคิดเห็นท่ีแตกตา่ ง

15. สามารถสือ่ สารภาษาไทยและภาษาองั กฤษดว้ ยการพูด ฟัง ✓ ✓✓

อา่ น เขียน ในการสือ่ สารโดยท่วั ไป ตลอดจนใชว้ ิธกี ารสื่อสารทาง

ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

16. สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ ข้อมลู ✓ ✓✓

เพ่ือการสร้างสรรคผ์ ลงานหรือ การนำเสนอผลงานได้อย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ

17. มคี วามสามารถในเชงิ การประยกุ ต์ใช้ความรเู้ ชิงตัวเลข ✓✓✓

หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรบั ศิลปกรรม

18. สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานออกแบบหรือผลงานสือ่ ดจิ ิทัล ✓ ✓ ✓ ✓

4. ตารางแสดงความเชื่อมโยงระหวา่ งผลลัพธ์การเรียนรูท้ ่คี าดหวังของหลกั สตู ร (P
สาขาศิลปกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558

PLOs TQF คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1 231

1. ซ่ือสัตย์สจุ ริต และมีวินัย ✓

2. มีทัศนคติที่ดี เปิดกว้างรับฟงั แนวคิดของผู้อ่นื ✓

3. มจี ิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ ✓

4. อธบิ ายหลักการและทฤษฎีพนื้ ฐานทางศิลปกรรมได้ ✓

5. ประยุกต์ความรูจ้ ากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบัติ บูรณาการศาสตร์

ทางศลิ ปกรรม และศาสตร์อน่ื ที่เกีย่ วข้อง ในการค้นควา้

แกป้ ัญหา และพัฒนาทางดา้ นการออกแบบคอมพิวเตอร์

กราฟิก การออกแบบกราฟิกและโฆษณา และโทรทัศน์

และดจิ ิทลั มีเดียอยา่ งเปน็ ระบบ

6. อธิบายความสัมพันธ์ของศาสตรท์ ศ่ี ึกษากับบริบททาง
สังคมภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรม

7. อธิบายเก่ียวกับมาตรฐานหรือธรรมเนยี มปฏบิ ัตดิ า้ น

การประกอบอาชีพด้านศลิ ปกรรมศาสตรใ์ นสาขาวิชาท่ีศึกษา

8. แสวงหาความรู้ ประยุกต์ เพื่อพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง

PLO) กับผลลัพธ์การเรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับปริญญาตรี

ความรู้ ทกั ษะทางปญั ญา ทักษะความสมั พนั ธ์ ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทักษะ
ระหวา่ งบุคคล และ เชงิ ตวั เลข การสือ่ สาร พิสยั
ความรับผิดชอบ และการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

2 3 4 1 2 3 41 2 3 1 2 3 1

✓ 41





PLOs TQF คุณธรรม จรยิ ธรรม

1 23 1

9. คิดแบบองค์รวม เพ่อื แก้ปัญหาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
และสอดคล้องต่อสถานการณ์
10. คน้ ควา้ รวบรวมและประเมนิ ขอ้ มูล จากแหล่งข้อมลู ที่
หลากหลายอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และวิเคราะหห์ าแนวทาง
แก้ไขปัญหาได้อยา่ งสร้างสรรค์

11. มีความคดิ สร้างสรรค์ และปฏิภาณไหวพรบิ ในการสร้าง
ผลงาน
12. เข้าใจบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง รบั ฟังความคิดเหน็ ของ
ผู้อื่นและมนุษยสมั พันธท์ ่ีดี
13. มคี วามรบั ผิดชอบต่องานของตนเองและสงั คม สามารถ
ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
14. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล และเคารพ
ในความคดิ เห็นทแี่ ตกตา่ ง
15. สามารถสือ่ สารภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยการพูด
ฟัง อา่ น เขียน ในการส่ือสารโดยทว่ั ไป ตลอดจนใชว้ ิธกี าร
สื่อสารทางศลิ ปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะ
ระหว่างบุคคล และ เชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร พสิ ัย
ความรบั ผดิ ชอบ และการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

2 3 4 1 2 3 41 2 3 1 2 3 1





✓ 42





PLOs TQF คุณธรรม จริยธรรม

1 23 1
16. สามารถเลือกใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น
ข้อมลู เพอื่ การสรา้ งสรรค์ผลงานหรือ การนำเสนอผลงานได้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
17. มีความสามารถในเชงิ การประยกุ ตใ์ ช้ความรเู้ ชงิ ตัวเลข
หรือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสำหรับศิลปกรรม
18. สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานออกแบบหรือผลงานสือ่ ดิจิทัล

หมายเหตุ รายละเอยี ดผลการเรียนรูต้ ามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขาศ
ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม
1. ซอ่ื สตั ย์สุจริต มีวินัย และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม
2. มที ัศนคติท่ีเปิดกวา้ ง ยอมรับฟังแนวคิดของผ้อู ื่น
3. มีจติ อาสา จิตสำนึกสาธารณะ
ด้านความรู้
1. รอบรใู้ นศาสตรท์ างศิลปกรรม และศาสตร์อื่นทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
2. มีความสามารถในการค้นควา้ แกป้ ัญหาและพัฒนาทางดา้ นศิลปกรร
3. มคี วามรู้ในทางศิลปะ ที่สัมพนั ธก์ ับบรบิ ททางสงั คม ภมู ิปัญญาและวัฒ
4. มคี วามรู้เกย่ี วกบั มาตรฐานหรอื ธรรมเนียมปฏบิ ตั ิด้านการประกอบวิช

ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทักษะความสมั พันธ์ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะ
ระหวา่ งบุคคล และ เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร พิสัย
ความรบั ผดิ ชอบ และการใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศ

2 3 4 1 2 3 41 2 3 1 2 3 1






ศิลปกรรมศาสตร์ (มคอ.1) 43

รมศาสตรอ์ ยา่ งเป็นระบบ
ฒนธรรม
ชาชีพดา้ นศิลปกรรมศาสตรใ์ นสาขาวชิ าท่ีศกึ ษา


Click to View FlipBook Version