The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทฤษฎีการศึกษา ตลอดภาคเรียน นำเสนอ ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by manorasamarn, 2021-11-17 02:05:08

ทฤษฎีการศึกษา

ทฤษฎีการศึกษา ตลอดภาคเรียน นำเสนอ ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์

Keywords: ทฤษฎีการศึกษา

หลกั การและทฤษฎีการบรหิ ารจัดการศกึ ษา 905 - 502

รองศาสตราจารย์ ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์
ผู้อานวยการหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา

อาจารยผ์ ้สู อน วชิ าหลกั การและทฤษฎีการบริหารจดั การศึกษา

นายสมาน ติสรณะกลุ
รหัสนักศกึ ษา 6419050050
คณะ ศกึ ษาศาสตรแ์ ละศิลปะศาสตร์ สาขาวชิ า บริหารการศกึ ษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

การบริหาร

สร้างประสบการณ์

การบริหารที่ดี ต้องทาอย่าง ? ระดมความคิด

1. ต้องมีกิจกรรม

2. อย่างน้อยต้องมี 2 คน

3. ต้องมกี ระบวนการ ทฤษฎี

4. ต้องมีทรัพยากร

5. มวี ตั ถุประสงค์ การนาไปใช้

สิง่ ที่สาคัญ การบริหารโรงเรียนหรือองค์ทกุ คนต้องมีเปา้ หมายเดยี วกนั

คนทไ่ี ม่สามารถบญั ชาการตนเองได้ ยอ่ มไม่เหมาะทีจ่ ะบังคบั บญั ชาผู้อื่น

1.ภูมริ ู้ 2.ภมู ิธรรม 3.ภมู ิฐาน

มีความรู้ เปน็ ผู้ที่มคี วาม เป็นคนดี ส่งิ ทีเ่ ปน็ ทักษะ
รอบรใู้ นสง่ิ ต่าง ๆ ความรู้ มีคุณธรรม มีจริยธรรม การแสดงออก
สว่ นตัว ความรู้รอบตัว เปน็ เรือ่ งทีเ่ กดิ ขึน้ มาจาก ยอ่ มหมายถึงการสร้าง
เกดิ จากความคิด สมอง บารมแี ละเครือข่าย
และต้องมคี วามเฉียบคม ความคิดที่จะทาดี
มีความคิดเหนือความคิด สพู่ ฤติกรรมทีแ่ สดงออก

ดว้ ยการปฏิบัติ

องคป์ ระกอบ
ผู้บริหาร

ภมู ิรู้

ภมู ิธรรม ภูมิฐาน

ภูมิรู้ ภมู ิธรรม ภมู ิฐาน เก่งภายในไม่เก่งภายนอก

ภูมิธรรม ภมู ฐิ าน ภมู ริ ู้ เป็นคนดมี ีบารมแี ต่ไม่มคี วามรู้

ภูมิรู้ ภมู ิฐาน ภูมิธรรม มีความรู้ มีบารมีแต่เปน็ คนไมด่ ี

หากผู้บรหิ าร มีภูมิ ทง้ั 3 ภูมิ จะเป็นผู้บรหิ ารที่มคี วามสมบรู ณ์

องค์ประกอบของมนุษย์

ถงึ แมว้ ่าการประกอบอาชีพในแต่ละอาชีพจะไม่ ฐานคิด ฐานใจ ฐานกาย
เหมือนกนั แต่ทกุ อาชีพต้องมี 3 ฐาน เป็นคนคิด เป็นความรู้สึก การแสดง
โดยเฉพาะผู้บริหารทีอ่ ยู่ในโรงเรียน สร้างสรรค์ และเป็นการคิด ออกมาทาง
ต้องมีความเกีย่ วขอ้ งทั้ง 3 ฐาน มีตรรกะและ พฤติกรรม
และปฏิบัติให้เกดิ ผลที่ดี คิดอยา่ งมี พิจารณา
รวมถึงตดั สินใจ มีครบทุกฐาน
ระบบ
มีฐานใจอย่างเดียว คนตน้ ไม้ทร่ี ่มเย็น
คน 4 ประเภท มีฐานกายอย่างเดยี ว มีฐานคิดอย่างเดยี ว
คนเปลอื ก ๆ คนเน้ือ ๆ คนนา้ ๆ

ความคิดของผู้บริหาร

Action Habits
การกระทา นิสยั

Thinking Result
กาลังคดิ ผลลัพธ์

Positive
เชิงบวก

เรื่องที่ผู้บริหารต้องรู้ 1. Expert in Administrational ความเชี่ยวชาญในการบริหาร ต้องมีศาสตร์ทางด้านการ
บริหาร
2. Language ภาษา

- ภาษาตัวเอง (ภาษาไทย)
- ภาษาสือ่ สาร (ภาษาองั กฤษ)
- ภาษาถิ่น
3. Technology

1. Learn to Know ขั้นพื้นฐาน

วิธีหาความรู้ How To Learn 2. Learn to Do ทาได้

3. Learn to work together การทางานร่วมกับผู้อื่น

4. Learn to be อยู่เปน็ ต้องรวู้ ่าสถานการณ์ไหนควรปฏบิ ตั อิ ย่างไร

คน้ คว้าเพิม่ เติม

ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกับการบริหารการศึกษา

ความหมายของการบริหารการศกึ ษา ( Educational Administration )

ความหมายของ “การบริหารการศกึ ษา ( Educational Administration )” โดยดจู ากคาว่า “การบริหารการศกึ ษา”
ซึ่งประกอบดว้ ยคาสาคญั 2 คา คือคาวา่ “การบริหาร ( Administration )” และ “การศึกษา ( Education )” ดงั น้ันจะขอแยกความหมายของคาทั้งสองนี้
ก่อน

ความหมายของคาวา่ “การบริหาร” มีผู้ใหค้ วามหมายไว้หลากหลาย ทั้งคล้ายๆกนั และแตกต่างกนั ขอยกตัวอย่างสกั 6 ความหมาย ดังนี้
การบริหาร คือ ศิลปะของการทางานใหส้ าเรจ็ โดยใชบ้ คุ คลอืน่
การบริหาร คือ การทางานของคณะบุคคล ต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป ทีร่ ว่ มกนั ปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน
การบริหาร คือ การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขนึ้ ไปร่วมกันทางาน เพื่อจดุ ประสงค์อยา่ งเดยี วกนั
การบรหิ าร คือ กิจกรรมทีบ่ ุคคลตั้งแต่ 2 คนขึน้ ไปร่วมกันดาเนินการ ให้บรรลุจดุ ประสงค์ร่วมกัน

ความรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกับการบริหารการศึกษา

ความหมายของ “การศึกษา” ก็มีผู้ให้ความหมายไว้คลา้ ย ๆ กนั ดังน้ี

การศึกษา คอื การงอกงาม หรือ การจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมแก่ผู้เรียน เพือ่ ผู้เรียนจะได้งอกงามขนึ้ ตามจดุ ประสงค์

การศึกษา คอื ความเจริญงอกงาม ทงั้ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา

การศึกษา คอื การสร้างเสรมิ ประสบการณ์ให้ชีวติ

การศึกษา คอื เคร่อื งมือท่ที าให้เกดิ ความเจรญิ งอกงามทกุ ทางในตวั บุคคล

จากความหมายของ ”การศึกษา” ขา้ งบนน้พี อสรุปได้ว่า การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ทงั้ ความรู้ ความคิด ความสามารถ และความเป็นคนดี

เมอ่ื นาความหมายของ “การบริหาร” มารวมกบั ความหมายของ “การศึกษา” ก็จะได้ ความหมายของ “การบริหารการศกึ ษา” ว่า “การดาเนินงานของกลมุ่ บุคคล เพื่อ

พัฒนาคนให้มีคณุ ภาพ ทง้ั ความรู้ ความคิด ความสามารถ และความเปน็ คนด”ี น่ันเอง

ซึง่ มีส่วนคล้ายกับความหมายของ ”การบริหารการศึกษา” ทม่ี ีผู้ให้ไว้ ดังน้ี

การบริหารการศึกษา คอื กิจกรรมตา่ ง ๆ ทีบ่ ุคคลหลายคนร่วมมือกันดาเนินการ เพอ่ื พัฒนาเด็ก เยาวชน ประชาชน หรือสมาชิกของสังคมในทกุ ๆ ดา้ น เช่น

ความสามารถ ทัศนคติ พฤตกิ รรม คา่ นิยม หรือคณุ ธรรม ทงั้ ในดา้ นการสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ เพอ่ื ให้บุคคลดังกลา่ วเป็นสมาชิกท่ีดแี ละมีประสิทธภิ าพของสังคม

โดยกระบวนการตา่ ง ๆ ทงั้ ทีเ่ ปน็ ระเบียบแบบแผน และไม่เปน็ ระเบยี บแบบแผน

การบริหารการศึกษา คือ กิจกรรมตา่ ง ๆ ทบ่ี ุคคลหลายคนร่วมมือกนั ดาเนนิ การ เพ่ือพัฒนาสมาชิกของสังคมในทุก ๆ ดา้ น นับตั้งแต่บุคลกิ ภาพ ความรู้ ความสามารถ

พฤตกิ รรมและคุณธรรม เพ่อื ให้มีคา่ นิยมตรงกันกบั ความต้องการของสังคม โดยกระบวนการต่าง ๆ ท่ีอาศัยการควบคุมสิง่ แวดลอ้ มให้มีต่อบคุ คล เพอ่ื ให้บุคคลพัฒนา

ตรงตามเป้าหมายของสงั คมทต่ี นดารงชีวิตอยู่

ดงั นั้นจึงสรปุ ความหมายของ “การบรหิ ารการศึกษา” ได้ว่า “การดาเนนิ งานของกลมุ่ บุคคลเพื่อพฒั นาคนให้มีคุณภาพ ทงั้ ความรู้ ความคิด ความสามารถ และความ

เปน็ คนดี” https://www.gotoknow.org/posts/379318

องคป์ ระกอบจริยธรรมผบู้ ริหารสถานศึกษา ประกอบด้วยองค์ประกอบ 11 ด้าน

1. ดา้ นความเมตตา กรณุ า 5. ดา้ นความซือ่ สัตย์ 9. ดา้ นการปกครอง

2. ดา้ นกลั ยาณมติ ร 6. ดา้ นการบงั คับตนเอง 10. ดา้ นความมีวนิ ัย

3. ดา้ นธรรมาภบิ าล 7. ดา้ นความมีเหตุผล 11. ดา้ นความรับผิดชอบ

4. ด้านความยตุ ิธรรม 8. ดา้ นการเปน็ ผู้นา

อาคม มากมีทรัพย์ จริยธรรมผบู้ ริหารสถานศึกษาfile:///C:/Users/ASUS/Downloads/245562-Article%20Text-851355-1-10-20200804.pdf

บทบาทสาคัญและหนา้ ทขี่ องผบู้ ริหาร

1. เป็นผู้นาในดา้ นความรู้ความสามารถในหลาย ๆ ดา้ น และมีความทันสมยั
การเป็นผู้นาในการบรหิ ารต้องมีความรู้ความสามารถในหลาย ๆ ดา้ น และอัปเดตเทรนด์ตา่ ง ๆ ให้ทนั ยุคทันสมยั อยู่เสมอ ตดิ ตามขา่ วสารความรู้ด้านต่าง ๆ เพ่อื นามาปรับ
ใช้ในหน่วยงาน และเพ่อื ท่จี ะสามารถส่งั การบุคลากรในหนว่ ยงานได้และสามารถสง่ั สอนเรื่องตา่ ง ๆ ทบ่ี ุคลากรไม่มีความเขา้ ใจในดา้ นนน้ั ๆ ได้

2. เป็นผู้นาการส่ังการ มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อบคุ ลากรในหนว่ ยงาน
เพราะตอ้ งได้รบั หน้าท่สี าคญั ในการบรหิ ารงานให้ประสบผลสาเร็จ จึงตอ้ งเป็นผู้นาในการส่ังการให้กับทุกฝ่ายทกุ หนว่ ยงานสามารถดาเนินงานไปได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ผู้บรหิ ารต้องมอบงานให้กบั บุคลากรได้อย่างเหมาะสมด้วย

3. เป็นผจู้ ัดหาส่งิ ตา่ ง ๆ ในการดาเนินงาน มีบทบาทมากกวา่ ผอู้ ื่น
การเปน็ ผู้บรกิ ารกค็ ือการเป็นผู้นา การจะทาอะไรก็ตามแตจ่ ะต้องดาเนนิ งาน จัดหาสิง่ ตา่ ง ๆ เชน่ จะต้องหาทรพั ยากรจากแหล่งตา่ ง ๆ เพ่ือมาดาเนินงานในองคก์ ร เพ่อื ให้
งานเดินตอ่ ไปไดส้ าเรจ็

4. เป็นผ้สู รา้ งความสมั พนั ธอ์ ันดีในองค์กร เป็นทีย่ อมรับจากบคุ ลากรใหเ้ ปน็ ผู้นา
เนื่องจากในองคก์ รนนั้ ต้องมีการสนทนากันระหว่างบุคคลดว้ ย ผู้บรหิ ารต้องเชือ่ มความสมั พนั ธ์ของหน่วยงานและบุคลากรให้มีความสัมพันธ์ท่ีดตี ่อกนั เพอ่ื การทางานของ
องค์กรจะได้มีประสทิ ธภิ าพอย่างมากทีส่ ดุ

https://campus.campus-star.com/jobs/126849.html

สรปุ รวม

การบริหารทีด่ ีต้องมีกระบวนการบริหารทรพั ยากรทม่ี ีอยู่และมีการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ที่ชัดเจน เพื่อเป้าหมายเดยี วกนั
เริ่มจากการสรา้ งประสบการณ์ ระดมความคดิ จนเกดิ ทฤษฎีและสามารถนาไปใช้ ผู้บรหิ ารท่ดี ี ตอ้ งมี ภูมิรู้ ภูมิธรรม และภูมิฐาน
จึงจะเป็นผู้บรหิ ารทม่ี ีความสมบรู ณ์

มนุษย์เมื่อเกดิ มาสามารถดารงชีวิตอยู่รอดอาศัยองคป์ ระกอบ 3 สว่ นทีส่ าคัญ คอื
1.สมอง ทางานดา้ นความคิด
2.ใจ ทางานดา้ นความรู้สึก
3.กาย ทางานดา้ นการแสดงออกทางพฤติกรรม
ทงั้ 3 องค์ประกอบจะสมบรู ณ์ได้ต้องอาศัย คณุ ธรรม จริยธรรม เป็นองค์ประกอบในแต่ละดา้ น
คุณธรรม จริยธรรมสาหรับผู้บรหิ ารมีความสาคัญอย่างลกึ ซึ้ง เพราะเริ่มตน้ มาจากความคิดทีด่ ี สกู่ ารไตร่ตรองตดั สนิ ใจ
และแสดงออกมาทางพฤตกิ รรม
ผู้บรหิ ารท่มี ีคณุ ธรรม จริยธรรมจะแสดงพฤตกิ รรมออกมาในเชงิ บวก เชน่ มีความเมตตา กรุณา มีความซื่อสตั ย์
มีความยตุ ิธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบ เปน็ ต้น

นอกจากคณุ ธรรม จริยธรรมทผ่ี ู้บรหิ ารพงึ มี ความรู้กเ็ ป็นเรื่องทีส่ าคญั สาหรบั การบริหาร ผู้บรหิ ารต้องเป็นผู้นาทางวิชาการ มีความเชย่ี วชาญ
รู้ภาษา เกง่ เทคโนโลยี ความรู้ทีไ่ ด้มาน้ันเกดิ จากการเสาะแสวงหาอย่างไม่หยดุ น่งิ และตอ้ งทันกบั กระแสการเปล่ยี นแปลงของโลกในยคุ ปัจจุบนั

การบริหารการศึกษานนั้ เปน็ การดาเนินการเพ่ือพฒั นาคนให้มีคุณภาพ ทง้ั ความรู้ ความคิด ความสามารถและเป็นคนดี โดยการใช้บทบาทและหน้าทข่ี อง
ผู้บรหิ ารใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางทีถ่ ูกต้อง สจู่ ุดมุ่งหมายขององคก์ รท่มี ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล

การนาไปใช้ รธู้ รรม

ผ้บู ริหาร ผ้บู ริหาร
3 ภูมิ
ภูมิธรรม 3 รู้

ภูมิรู้ ภูมิฐาน รู้คิด ร้สู าเรจ็

การที่จะเป็นผู้บรหิ ารที่ดีมคี วามสมบรู ณ์ในอนาคตต้องเป็นผู้บริหารท่มี ีครบทั้ง 3 ภมู ิ การบริหารท่ดี มี ีคุณภาพ
ผู้บรหิ ารที่มคี วามสมบรู ณ์ มีภูมิรู้ ภมู ธิ รรม ภูมฐิ าน แล้วนาทั้ง 3 ภมู นิ ี้ไปบริหาร ต้องเปน็ ผู้บรหิ ารที่
ความสาเรจ็ ไมไ่ กลเกินเอื้อม รู้คิด รู้ธรรม รู้สาเรจ็

น้ามหาเสน่ห์
น้าคา น้ามือ น้าใจ

ดอกอภยั
1.ใบย้มิ 2.ใบยกยอ 3.ใบเยือกเย็น 4.ใบยอม
ก่งิ เมตตา
กา้ นกรณุ า

รากออ่ นน้อม

ควรใช้คาพูดทีน่ ุ่มนวลมากกว่าคาพดู ที่แขง็ กร้าว

 เยือกเย็น
 ยินยอม อย่าพยายามเอาชนะในสถานทีต่ งึ

สิ่งทีผ่ ิดไม่ได้

 Corruption ทุจริต ไม้คดใช้ทาขอ เหล็กงอใช้ทาเคียว
คนคดอย่างเดียวใช้ทาอะไรไม่ได้เลย ซื่อกินไมห่ มด คดกินไม่นาน
(กนิ นาน ๆ ด้วยความสจุ ริตเถิด)
 เมาเพศ ผิดจรรยาบรรณ

การปรบั บคุ ลิกภาพของผ้บู ริหาร

ทรงผม
ใบหน้า
แหวานทใ่ี ส่ตอ้ งมีความหมาย อย่าให้เกนิ สองวง
ปากกา ห้ามพก
มือถือ เน้นออฟชน่ั ไม่เน้นราคา
พกเงินให้พอดี
เสื้อผ้าซักให้หอม สะอาด รีดเรียบ เสื้อแขนยาวหา้ มพับแขน
รองเท้าผู้หญิงมสี ายรัดสน้
สทู สีดา น้าตาล เทา
อย่าสร้างภาพให้มคี วามสุข

MBW การบริหารทีด่ ีนน้ั ควรดฟู ้าดูดิน
ชีวติ ลิขติ เอง หรือ
Management By Walking ฟ้า 50 (พึง่ พาผู้อื่น)
การบริหารจัดการ ตนเอง 50

ดูคนออก “เราไมส่ ามารถทาทุกอยา่ งท้ังหมด
บอกคนได้ ได้ด้วยตวั เอง”
ใช้คนเป็น

เดินตลอดเวลา เดินเพื่อไปพบ

ชีวิตขาลง
นายเหยียบ เพื่อนผลกั ลกู น้องถีบ

การบริหาร
บริหาร เท่ากบั บริ บวก หาร
บริ หมายถึง รอบ ๆ ถ้วนทัว่
หาร หมายถงึ แบ่งกัน กระจาย
บริหาร จึงหมายถึง การแบ่งงานกนั ทาให้โดยท่วั ถงึ กนั มผี ู้บริหารเปน็ ผคู้ อยติดตามดูแล เพื่อให้งานสาเรจ็
ลุล่วงด้วยดี
(Peter F.Drucker) การบริหารคือ ศิลปะในการทางานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายร่วมกับผู้อื่น
(Harold Koontz) การบริหารคือ การดาเนินงานใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไวโ้ ดยการอาศัย คน เงิน
วัตถสุ ิ่งของ เป็นปจั จัยในการปฏบิ ัติงาน
(Herbert A. Simon) การบริหารคือ กจิ กรรมที่บคุ คลต้ังแต่ 2 คนขนึ้ ไป ร่วมมือกนั ดาเนินการให้บรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกนั

วิจิตร ศรีสะอ้าน และคณะได้สรุปสาระสาคัญของการ
บริหารไว้ดงั น้ี

การบริหารเป็นกจิ กรรมของกลุ่มบคุ คลตง้ั แต่ 2 คน ข้ึนไป
ร่วมมือกนั ทากจิ กรรม

เพื่อให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ร่วมกนั โดยการใช้กระบวนการ
และทรัพยากรทีเ่ หมาะสม

ลกั ษณะการบริหาร

 เปน็ ศาสตร์ (science) องคค์ วามรู้เกดิ จากวิธีทางวิทยาศาสตร์
 เป็นศิลป์ (art) พฒั นาทักษะ ประยกุ ต์ ยืดหยุ่น เพื่อจุดหมาย

โครงสร้างการบริหาร มีลักษณะดังนี้

 ความแตกต่างทางแนวดิ่ง หรือความแตกต่างทางระดบั การบริหาร
 ความแตกต่างทางแนวนอนหรือความแตกต่างโดยอาศยั เขตความรับผดิ ชอบ

แบ่งประเภทผู้บริหารตามแนวดิ่ง แบ่งประเภทผ้บู ริหารตามแนวนอน

 ผู้บริหารระดบั สงู (Top Managers)  ผู้บริหารท่ัวไป (General Managers)
 ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Managers)  ผู้บริหารตามหน้าที่ (Functional Managers)
 ผู้บริหารระดบั ตน้ (First – line Managers)  ผู้บริหารโครงการ (Project
 Managers)

ทฤษฎีทางการบรหิ ารคอื สิง่ ทีท่ ามาแล้ว

ทฤษฎีแห่งบทบาท สมาชิกในสงั คมต่างมีตาแหน่ง
มีบทบาท ต่างก็ต้องแสดงบทบาทของตน 3 อย่าง

 บทบาทที่พอดี เปน็ ครู ต้องแสดงบทบาทใหพ้ อดี
 บทบาทที่ขาดไป แสดงให้มที ้ัง 3 บทบาท
 บทบาททีล่ ้นเกนิ
แต่ต้องเปน็ คณุ ต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และต่อองค์กร

บทบาทที่แสดงออกมาเปน็ สมการ

สุข เท่ากับ ทุกข์ บวก ทกุ ข์ บวก........./หากสิ่งที่เราแสดงออกเป็นสขุ แต่เต็มไปด้วยความทกุ ข์หลาย ๆ ครั้ง แสดง
ว่าสขุ หนึ่งสขุ เกิดทกุ ขห์ ลายตัว เราต้องพิจารณาว่าคุ้มหรือไม่หากคมุ้ กท็ าต่อ

ทุกข์ เท่ากบั สขุ บวก สขุ บวก........./หากสิ่งทีเราแสดงออกเป็นทกุ ข์ แต่ผลทีอ่ อกมาจะเกดิ ความสขุ อกี หลายตัว ก็
ลองพิจารณาดวู ่าเราจะยอมทกุ ขต์ ่อไปหรือไม่

คนเราต้องส้ชู ีวิต ขอให้คิดว่าตัวเองเปน็ ต๊กุ ตาล้มลุก จึงจะมีความสขุ
เพราะต๊กุ ตาล้มลุกไม่มีวนั ล้ม

ทฤษฎีบูรณาการทางสังคมของ Osborn and Gaebler อธิบายว่า

- เอกตั บุคคลได้รับการยอมรบั ให้เป็นสมาชกิ ในกลุ่มด้วยเหจุผลใดเหตผุ ลหนงึ่
-การเข้าเปน็ สมาชิกใหม่ในกลุ่ม หากโดดเด่นมากเกินไป จะเป็นภยั แกต่ นเอง

จงดาดี อย่าทาเด่น จะเป็นภัย

จะดีชว่ั อย่ทู ีต่ วั ทา จะสูงตา่ อย่ทู ี่ทาตัว

ทฤษฎีความต้องการ 5 ข้นั ของ อีริค ฟรอมม์
มนษุ ย์มีความต้องการ 5 ประการ

 มสี ัมพนั ธภาพ เช่น กลุ่มนกั เรียน ประถม มธั ยม กลุ่มแบบนี้จะมคี วามเหนยี วแน่น เปน็ เพือ่ นเปน็ มติ ร
แท้เพราะไมม่ ผี ลประโยชน์เข้ามาเกย่ี วข้อง

 มกี ารสร้างสรรค์ ชวนกนั เรียน ชวนกันทางาน
 มสี ังกดั หากทาดีเพือ่ นยอมรบั หากทาชว่ั เพือ่ นไม่ยอมรบั
 มเี อกลักษณ์แห่งตน มเี อกลกั ษณ์เฉพาะกลุ่ม เช่น กลุ่มที่มจี ิตอาสา เป็นต้น
 มหี ลกั ยึดเหนี่ยว ยึดหลักตามศาสนา

อปุ สรรคแค่ไหนก็ไมห่ วน่ั
คืนและวันจะโหดร้ายสกั เพียงไหน

ร้อยและพนั ปญั หาฝ่าฟนั ไป
เพือ่ มเี ธอยิ้มให้ทีป่ ลายทาง

ทฤษฎีจงู ใจ ของมาสโลว์
มีประเดน็ สาคัญ ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ 3 ประการ

 มนุษย์มคี วามต้องการ ไมม่ ที ี่สิ้นสดุ มคี วามต้องการในแนวเดียวกัน จึงแก่งแยง่ ชิงดีกนั
 ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแลว้ จะไมเ่ ป็นสิ่งจงู ใจของพฤติกรรมอีกต่อไป ความต้องการที่

ไม่ได้รบั การตอบสนองเท่านน้ั ทเี่ ปน็ สงิ่ จูงใจของพฤตกิ รรม
 ความต้องการของมนุษย์มีเป็นลาดับข้ัน ตามลาดบั ความสาคัญ เมือ่ ความต้องการระดับตา่ ได้รบั การ

ตอบสนองแล้วความตอ้ งการระดบั สูงก็จะเรียกรอ้ งให้มีการตอบสนองทนั ที

ลาดบั ข้ันความต้องการของมนุษย์ ความต้องการความสมหวงั ของชวี ิต
ความตอ้ งการชือ่ เสียง - ยกย่อง

ความต้องการด้านสังคม - ความรักความพอใจ

ความตอ้ งการความปลอดภยั

ความต้องการทางด้านร่างกาย

ทฤษฎกี ารจงู ใจ – สขุ อนามัยเฮอร์เบอร์ก
ทฤษฎนี ีไ้ ด้ตงั้ สมมตฐิ านเกี่ยวกับองค์ประกอบที่จะสนับสนนุ ความพอใจในการทางาน

และองค์ประกอบที่สนับสนนุ ความไมพ่ อใจในการทางาน

พวกที่ 1 ตวั กระตุ้น คือองค์ประกอบทีท่ าให้เกดิ ความพอใจ
 งานที่ปฏบิ ตั ิ
 ความรู้สึกเกี่ยวกับความสาเรจ็ ของงาน /
 ความรบั ผิดชอบ
 โอกาสก้าวหน้าในหน้าที่การงาน

พวกที่ 2 ปจั จยั สขุ อนามยั หรือองค์ประกอบทีส่ นบั สนนุ ความไมพ่ อใจในการทางาน
 แบบการบงั คับบญั ชา
 ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล
 เงินเดือนค่าตอบแทน
 นโยบายของการบริการ

ทฤษฎี X และ ทฤษฎี Y  1.มนษุ ย์จะขยันขนั แข็ง
 2.การทางานของมนษุ ย์ก็เหมือนกับการเล่นการ
 1.มนุษย์มักเกียจคร้าน
 2.มนุษย์ชอบหลีกเลีย่ งงาน พกั ผ่อนตามธรรมชาติ
 3.มนษุ ย์ชอบทางานตามคาสง่ั และ
 3.มนษุ ย์รู่จักกระตุ้นตนเองให่อยากทางาน
ต้องการให้มีผคู้ วบคมุ  4.มนษุ ย์มวี ินัยในตนเอง
 4.ต้องใช้วินยั ของหมคู่ ณะบังคบั  5.มนุษย์มกั แสวงหาความรับผิดชอบ
 5.มนุษย์มกั หลีกเลีย่ งไมอ่ ยากรับผิดชอบ
 6.มนุษย์ไม่เฉลียวฉลาดขาดความ  6.มนษุ ย์มสี มรรถภาพในการทางานและมี
ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์
รบั ผิดชอบ

ทฤษฎีวุฒิภาวะ วฒุ ิ เท่ากบั สติปัญญา ฉลาด โง่
ปริญญาวิชาการ
ขยนั
ฉลาด ภาวะ เท่ากับ พฤตกิ รรม ขยัน ข้เี กยี จ
ปริญญาโลก
ปลอ่ ย ข้ีเกยี จ
โง่ ขาย
รว่ ม

สงั่

You’re OK I’m OK I’m not OK
You’re not OK
สดชื่น แจ่มใส ไมม่ น่ั ใจ
ยกตน ข่มท่าน หมดอาลัย

ร้จู กั พอก่อสุขทกุ สถาน
ร้จู กั กาลเวลาพาสดใส
ร้จู ักตนพ้นทุกข์มีสุขใจ
ร้จู กั ใครไม่ร้เู ท่าร้ตู วั

ทฤษฎีหน้าต่างสีบ่ านของโจฮารี มีชื่อเรียกว่า “ทฤษฎีหน้าต่างดวงใจ”

ตนเองรู้ ตนเองไม่รู ้

ผู้อื่นรู้ เปิดเผย จดุ บอด
ผู้อื่นไม่รู้ ซ่อนเร้น ก้นบึ้งทีล่ ้าลึก

เวลามองตวั เอง อย่ามองหาความดี จงมองหาข้อผิดพลาด แล้วทาให้ถกู ต้อง

คนฉลาดเรียนร้จู ากความผิดพลาดของคนอืน่
คนโง่เรียนรู้จากความผิดพลาดของตวั เอง

ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม (ดวงเดือน พนั ธมุ นาวิน)

พฤตกิ รรมทีเ่ กดิ จากปจั จัย 8 ประการหรือ 8 กลุ่ม คือ 3 กลุ่มเปรยี บเสมือนรากของ
“ต้นไม้จรยิ ธรรม” คือ (1)ความเฉลียวฉลาด (2) สุขภาพจิตดี (3) ประสบการณ์สังคมสงู
อีก 3 กลุ่มเปรียบเสมือนลาต้น คือ
(4) ทัศนคติ ค่านยิ ม คุณธรรม (5) เหตุผลเชิงจรยิ ธรรม (6)แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ์ และอีก 2
กลุ่ม เปรียบเสมือนดอกหรือผล คือ (7) มุ่งอนาคต –ควบคุมคน (8) ความเชื่อ
อานาจในตน

ทฤษฎีต้นไมจ้ ริยธรรม
มนุษย์มีจิตใจและภูมิธรรมทแี่ ตกต่างกัน

 มนุษย์ที่มจี ิตใจเปน็ สัตว์ คุณธรรม จริยธรรมต่ากว่าเกณฑ์ที่สังคมตง้ั เอาไว้ รู้กาละเทศะ
 มนษุ ย์ทีม่ จี ิตใจเป็นคน ทาอยู่ในเกณฑ์ทีม่ ีคุณธรรม จริยธรรม เช่น เจอผู้ใหญ่ แล้วยกมือไหว้ เป็นต้น
 มนุษย์ที่มจี ิตใจเป็นเทวดา หมายถงึ มจี ิตใจที่มีคณุ ธรรมจริยธรรมสูงกว่าเกณฑ์ทีส่ ังคมตงั้ เอาไว้ เช่น

เมื่อไปซื้ออาหารแล้วเราเข้าควิ แต่ให้คนอื่นที่มาทีหลงั ซื้ออาหารก่อน เปน็ ต้น

ความดีเปน็ การลงทนุ เพียงอย่างเดียวที่ไม่เคยทาให้ใครล้มละลาย

เพราะสังคมประเมินคา่ ทจี่ นรวย คนจงึ สรา้ งเปลือกสวยไว้สวมใส่
หากสังคมวดั ค่าทภี่ ายใน คนจะสรา้ งแต่จติ ใจท่ใี ฝด่ ี

ทฤษฎีบคุ ลิกภาพของเชลดอน บคุ ลิกภาพของมนุษย์จะขึ้นอย่กู บั รูปร่างที่
ปรากฏของบุคคลน้นั บุคลิกภาพของมนุษย์แยกเปน็ สามประเภท

 1.ผู้มีรูปร่างอ้วนกลม ป้อม ชอบความสบาย การสังคมดี
 2.ผู้มีรปู ร่างสูงใหญ่ กล้ามเนื้อแขง็ แรงชอบออกกาลังกาย จิตใจเป็นนักกฬี า
 3.ผู้มีรูปร่างบอบบาง ออ่ นแอ ไม่ชอบออกสังคม

ทฤษฎีเรือลอยน้า

น้า หมายถึง ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา
เรือ หมายถงึ ผู้บริหาร

ผู้บรหิ ารต้องได้รบั การสนับสนนุ จากผู้ใต้บงั คบั บัญชา จึงอาจดารงตาแหน่งอยู่ได้
เหมือนดั่งเรือทีล่ อยไดเ้ นื่องจากน้าคอยรองรบั

หากน้าไม่ปรารถนาเรือกส็ ามารถล่มเรือให้จมได้ เหมือนดั่งวันใดทีผ่ ู้ใต้บังคบั บัญชา
ปฏิเสธไมย่ อมรบั ตัวผู้บริหาร กอ็ าจรว่ มแรงร่วมใจควา่ ผู้บรหิ ารคนน้ันลงจากตาแหน่ง

หัวละคร หวั โขนที่คนใส่ เขาสมมติให้เท่านั้นนะท่านเอ๋ย
อย่าหลงลืมตวั ลืมตนกันนักเลย พอชวดเชยกไ็ ม่พ้นคนคือกนั

ทฤษฎีวัวสองตวั

มนษุ ย์และสตั ว์น้ัน เมือ่ อยู่ผู้เดียวเดีย่ วโดด ไม่ต้องแขง่ ขันกับผู้ใด กอ็ ยู่ไปตามสบาย เปรียบได้กับวัวตวั
เดียว ที่เลม็ หญ้ากินโดยลาพัง กก็ ินช้า ๆ แต่เมือ่ เหน็ วัวอีกตัวหนึ่งเข้ามาใกล้ กร็ ู้สึกว่ามคี ู่แข่ง เกรงหญ้าที่
กินอยู่จะไม่พอ ต้องรีบกินเป็นการใหญ่ เกิดการแข่งขนั เตม็ ที่ มนุษย์เราต้องการแข่งขัน เมือ่ แข่งขนั แล้ว ก็
ต้องเป็นผู้ชนะ

การนาไปใช้

1.ควรมอบหมายงาน คล้ายกันหลายกลุ่ม
2.เปรียบเทียบการปฏบิ ัติงาน
3.เทียบผลงาน
ผลควรเปน็ Win - Win

(แง่มุม : ทฤษฎีววั สองตัว)

สดุ เส้นสายปลายทางแหง่ ความเหงา ยามท้อแท้เหนื่อยใจหมดสิ้นหวงั
ยงั ว่างเปล่าโดดเดยี่ วและสบั สน หมดกาลังต่อสู้หมดทุกสิ่ง
ไม่เหลือใครร่วมทางแมส้ กั คน หมดเรี่ยวแรงหัวใจที่พกั พงิ
สู้บนหนทางเปลยี่ วอย่างเดยี วดาย กม็ ีเธอหนึ่งสิ่งพงิ พกั ใจ

หลกั การบริหารและวิวัฒนาการ

 พฒั นามาตามลาดบั เริ่มจากอดีต
 เป็นการลองผิดลองถูก
 การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
 เรียนรู้จากประสบการณ์ของตัวเอง หรือมกี ารแลกเปลีย่ นกันในวงจากัด
 การถ่ายทอดไปยงั ทายาท ลกู ศิษย์ หรือลกู จ้าง

นพพงษ์ บญุ จิตราดุล ได้แบ่งวิวฒั นาการของการบริหาร ออกเปน็ 3 ยุค

 1.ยคุ การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ มุ่งทฤษฎีและหลกั การใชเ้ หตุและผลอย่างเดียว
คนทางานหนกั ได้แตง่ าน

2.ยคุ บรหิ ารแบบมนุษยสมั พนั ธ์ ยคุ นีง้ านลดลงเพราะเห็นความสาคัญของคนมากกว่า
ยคุ น้ีคนทางานมีความสุขขึ้นแต่ผลปรากฏวา่ งานลดลงจึงไม่ประสบตวามสาเร็จ

3.ยุคทฤษฎีและการจดั การ เปน็ การผสมผสานทั้งสองยคุ เข้าด้วยกัน

ยุคการจดั การแบบวิทยาศาสตร์ ผ้มู ีบทบาทสาคญั ได้แก่
Taylor Fayol Urwick

Luthur Gulick and Lyndall Urwick เปน็ รักบริหารงานแบบวิทยาศาสตร์ บริหารงานโดยหวงั ผลงาน
เปน็ ใหญ่ (Tack Centered) เขาได้แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับกระบวนการบริหาร
สรุปย่อได้ว่าPOSDCoRBดงั นี้

1.P Planning การวางแผน
2.O Organization การจดั องค์การ
3.S Staffing การจัดคนเข้าทางาน
4.D Directing การอานวยการ , การสัง่ การ
5.Co Coordinating การประสานงาน
6.R Reporting การรายงาน
7.B Budgetting การบริหารงบประมาณ

ทฤษฎีการจัดการตามระบบราชการ
(Bureaucratic management) Max Weber (1864-1920
องค์การควรจะถูกบริหารบนพื้นฐานของเหตุและผลและไม่เปน็ ส่วนตวั
ลกั ษณะทีส่ าคัญขององค์การแบบราชการ

 มกี ารแบ่งงานกนั ทาเฉพาะด้าน

 มกี ารระบสุ ายบงั คับบัญชาอย่างชัดเจน

 บคุ คลจะถกู คดั เลือกและเลื่อนตาแหน่งบนพนื้ ฐานของคณุ สมบตั ิทางเทคนิค

 การบริหารกับการเป็นเจ้าขององค์การจะถูกแยกจากกัน

 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคบั บญั ชาและผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชาอยบู่ นพนื้ ฐานของความไม่เป็นสว่ นตวั

 มกี ารกาหนดกฎและระเบียบวิธีปฏบิ ัตไิ ว้อย่างเปน็ ทางการ

Frederick W. Taylor “บดิ าแห่งการจดั การท่มี ีหลักเกณฑ์” ซึ่งเป็นผู้ตน้ คดิ สาคญั ในการ
วางหลักการ

 1.ต้องมีความคิดค้นและกาหนด “วิธีทีด่ ีที่สุด” (one best way) สาหรับงานทจี่ ะทาแตล่ ะอย่าง จะต้องมี
การกาหนดวิธีการทางานทดี่ ีทสี่ ุดที่จะช่วยให้สามารถทางานเสรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดตี ามวัตถปุ ระสงค์
มาตรฐานของงาน การจ่ายผลตอบแทนแบบจูงใจต่าง ๆ กจ็ ะจา่ ยให้ตามผลผลิตทง้ั หมด สาหรับส่วนที่
เกิดนมาตรฐาน

 2.ต้องมีการคัดเลือกและพฒั นาคน การรู้จักจดั งานให้เหมาะสมสอดคล้องกบั คนงาน (selection) จะต้อง
มกี ารพิจารณาเป้นพิเศษที่จะให้ได้คนทมี่ คี ุณสมบตั ิทีด่ ที ี่สดุ ตรงตามงานทีจ่ ะใหท้ า (Put the right man on
the right job)

 3.การพิจารณาอย่างรอบคอบ เก่ยี วกับวิธีทางานควบคู่กับการพิจารณาคนงาน คนงานจะไมค่ ดั ค้านต่อ
วิธีทางานใหม่ที่ไดก้ าหนดขึน้ เพราะโดยหลักเหตผุ ลคนงานทกุ คนจะเหน็ ถึงโอกาสทเี่ ขาจะไดร้ ับรายได้
สงู ขึ้น จากการทางานถกู วิธีทีจ่ ะช่วยให้ได้ผลผลติ สูงขนึ้

 การประสานร่วมมือกนั อยา่ งใกล้ชิดระหว่างผบู้ รหิ ารและคนงาน ฝ่ายบริหารควรจะได้ประสานงานอย่าง
ใกล้ชิดเป็นประจากบั คนงานทีป่ ฏบิ ัติงาน แต่จะต้องไมใ่ ช่การไปลงมือปฏบิ ัติ

Henry L.Gantt (1861-1919)
Gantt ได้พัฒนาวิธีจ่ายค่าตอบแทนแบบใหม่ ไม่ได้ใช้วิธีจ่าย
ค่าจ้างแบบสองระดบั เหมือนเทย์เลอร์ แต่ใช้วิธีให้แรงจงู ใจ


Click to View FlipBook Version