The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ อ.เสาวลักษณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by waiisaowalak, 2021-10-29 04:36:47

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ อ.เสาวลักษณ์

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ อ.เสาวลักษณ์

แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3D ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ อาเซยี น และการพัฒนา

การเรยี นการสอนด้วยกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

วิชา วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาอาชีพธุรกจิ และบริการ รหสั วชิ า 20000-1303
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) พุทธศักราช 2562
สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ , การจดั การโลจิสติกส์

จดั ทาโดย
นางสาวเสาวลักษณ์ ล้วนฤทธิ์

ตาแหน่ง ครูพิเศษสอน
แผนกวิชาสามัญสมั พันธ์

งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน วิทยาลัยเทคนคิ สระแก้ว
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

โครงการสอนประกอบดว้ ย

1. จดุ ประสงค์รายวชิ า
2. มาตรฐานรายวชิ า
3. คาอธบิ ายรายวิชา
4. ตารางวิเคราะห์กลักสตู ร
5. ตารางวเิ คราะห์เนื้อหา
6. แผนการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร
7. ผงั การสร้างแบบทดสอบ ภาคทฤษฎี
8. ผังการสร้างแบบทดสอบ ภาคปฏิบัติ
9. แผนการสอน/การเรียนรู้

โครงการสอนรายวชิ า

รหสั วิชา 20000-1303 รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาอาชีพธรุ กิจและบรกิ าร

ระดบั ช้นั ปวช. สาขาวชิ า คอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ , การจัดการโลจิสติกส์

จานวนคาบ/สปั ดาห์ 3 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต

1.จุดประสงค์รายวชิ า

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพันธุกรรม สารเคมีในชีวิตประจาวัน เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย์ในอาหาร

ปิโตรเลยี มและพอลิเมอร์ ไฟฟา้ และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้

2. สามารถสารวจตรวจสอบเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ผลกระทบของสารเคมีและ

คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าต่อมนุษยโ์ ดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

3. สามารถทดลองทดสอบเกี่ยวกับสารเคมีในชีวิตประจาวันและในงานอาชีพ จุลินทรีย์ในอาหาร

สมบัตขิ องปโิ ตรเลียมและพอลเิ มอร์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

4. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ยั ท่ดี ตี อ่ การศกึ ษาและสารวจตรวจสอบด้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

2. มาตรฐานรายวิชา

1. แสดงความรเู้ กีย่ วกับพันธุกรรม สารเคมใี นชีวติ ประจาวนั เทคโนโลยชี ีวภาพ จุลินทรีย์ในอาหาร

ปิโตรเลียมและพอลเิ มอร์ ไฟฟ้าและคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า

2. สารวจตรวจสอบเกยี่ วกับการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมตามหลักพนั ธุศาสตร์

3. เคราะหผ์ ลกระทบของสารเคมีและคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ต่อมนษุ ย์ตามหลกั การ

4. สารวจตรวจสอบเกย่ี วกับสมบตั ขิ องปิโตรเคมีและพอลิเมอร์ด้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

5. สารวจตรวจสอบเก่ยี วกับไฟฟา้ ในชีวิตประจาวันและคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าตามหลักการและกระบวนการ

3. คาอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารเคมีในชีวิตประจาวัน และในงาน
อาชีพ เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย์ในอาหาร ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ ไฟฟ้าใน
ชวี ติ ประจาวัน และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้

4. วเิ คราะหเ์ นื้อหา

มาตรฐานรายวิชา เนอ้ื หา/สาระ

1. แสดงความรู้เก่ียวกับพันธุกรรม สารเคมีใน - การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม

ชวี ิตประจาวัน เทคโนโลยชี ีวภาพ จุลินทรยี ์ในอาหาร - เทคโนโลยชี ีวภาพ

ปิ โ ต ร เ ลี ย ม แ ล ะ พ อ ลิ เ ม อ ร์ ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ค ล่ื น - จุลนิ ทรียใ์ นอาหาร

แม่เหลก็ ไฟฟ้า - คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

- สารเคมใี นชวี ติ ประจาวันและในงานอาชีพ

2. สารวจตรวจสอบเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะ - การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

ทางพนั ธุกรรมตามหลักพนั ธศุ าสตร์

3. เคราะห์ผลกระทบของสารเคมีและคล่ืน - สารเคมีในชวี ิตประจาวันและในงานอาชพี

แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าต่อมนษุ ยต์ ามหลกั การ - คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้

4. สารวจตรวจสอบเกยี่ วกับสมบตั ิของปิโตรเคมีและ - ปโิ ตรเลยี มและผลิตภณั ฑ์

พอลเิ มอร์ดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ - ผลิตภัณฑย์ างและพอลิเมอร์

5. สารวจตรวจสอบเกี่ยวกับไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน - คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้
แ ล ะ ค ล่ื น แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า ต า ม ห ลั ก ก า ร แ ล ะ
กระบวนการ

5. การแบ่งหน่วยการสอน นาเนื้อ/สาระ มาจัดเป็นกลุ่มหน่วยการเรียน มาตรฐานแต่ละด้านอาจมีมากกว่า 1
หน่วยการเรียนก็ได้ ใน 1 หน่วยการเรียนจะประกอบไปด้วยหัวข้อสอน (หัวข้อใหญ่) หลายหัวข้อในแต่ละ
หวั ข้อมีการสอนโดยใช้เวลาตา่ ง ๆ กัน บางหวั ขอ้ ทฤษฎเี ป็นปฏบิ ตั แิ ลว้ แต่จุดประสงค์

มาตรฐานรายวิชา หนว่ ยที่ หวั ข้อการสอน เวลา (คาบ)
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับพันธุกรรม 1,2,3,4,8 - การถ่ายทอดลักษณะทาง
4-
ส า ร เ ค มี ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น พันธุกรรม
4-
เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย์ใน - เทคโนโลยีชวี ภาพ

มาตรฐานรายวชิ า หน่วยท่ี หวั ข้อการสอน เวลา (คาบ)
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
อาหารปิโตรเลียมและพอลิเมอร์ 1
ไฟฟ้าและคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2,8 - จลุ ินทรียใ์ นอาหาร 4-
5,6
2. สารวจตรวจสอบเกี่ยวกับการ 8 - คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า 2-
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตาม
หลกั พันธุศาสตร์ - สารเคมีในชีวิตประจาวันและใน 2 2
3. เคราะห์ผลกระทบของสารเคมี
และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าต่อมนุษย์ งานอาชีพ
ตามหลักการ
4. สารวจตรวจสอบเกี่ยวกับสมบัติ - ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง 2 -
ของปิโตรเคมีและพอลิเมอร์ด้วย
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ พันธุกรรม
5. สารวจตรวจสอบเกี่ยวกับไฟฟ้าใน
ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น แ ล ะ ค ล่ื น - สารเคมีในชีวิตประจาวันและใน 2 2
แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า ต า ม ห ลั ก ก า ร แ ล ะ งานอาชพี
กระบวนการ - คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 2 -
- ปโิ ตรเลียมและผลติ ภณั ฑ์ 4 -
- ผลิตภัณฑย์ างและพอลิเมอร์ 2 -

- คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ 2 -
- ไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวนั 2 -

*หมายเหตุ มีการพฒั นาหนว่ ยการเรียนรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับผู้เรียนและผเู้ รียนสามารถนาไปปฏบิ ัตไิ ด้จรงิ โดยได้
พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่องสารเคมีในชีวิตประจาวันและในงานอาชีพ ให้มีกิจกรรมการทดลอง
การทดสอบความเป็นกรดเบสของสารเคมที ใ่ี ช้ในชีวิตประจาวนั

6. แผนการประเมนิ ผลการเรยี น

รหสั วชิ า 20000-1303 รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาอาชีพธรุ กจิ และบรกิ าร

6.1 แนวทางการประเมนิ

6.1 เนือ้ หาสาระ 80 คะแนน

- ทฤษฎี 60 คะแนน

- ปฏิบตั ิ 20 คะแนน

6.2 พฤตกิ รรม 20 คะแนน

6.2 แผนการวดั

ประเมิน หนว่ ยท่ี คะแนนระหว่างภาค คะแนน เครือ่ งมอื การวดั ผล หมาย
ครงั้ ท่ี เรอื่ ง/ขอบเขต/เนื้อหา เหตุ
10 แบบทดสอบ/ใบงาน
1 1 - การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม 5 แบบทดสอบ/ใบงาน
5 แบบทดสอบ/ใบงาน
2 2 - สารเคมใี นชวี ิตประจาวันและในงานอาชพี 20
4 แบบทดสอบ/ใบงาน
3 3 - เทคโนโลยชี ีวภาพ 4 แบบทดสอบ/ใบงาน
4 แบบทดสอบ/ใบงาน
4 สอบกลางภาค 4 แบบทดสอบ/ใบงาน
4 แบบทดสอบ/ใบงาน
5 4 - จลุ ินทรียใ์ นอาหาร 20
60
6 5 - ปิโตรเลียมและผลิตภณั ฑ์ 20
100
7 6 - ผลติ ภณั ฑย์ างและพอลิเมอร์

8 7 - ไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวนั

9 8 - คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า

10 สอปลายภาค

รวมคะแนนระหวา่ งภาค

คะแนนสอบปลายภาค

คะแนนรวม

การวเิ คราะหจ ดุ ประสงค

ตารางวิเคราะหจดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม

รหัสวชิ า 20000-1303 ชอ่ื วิชา วทิ ยาศาสตรเ พื่อพฒั นาอาชพี ธรุ กิจและบรกิ าร

เรอื่ งท่ี เร่ือง จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

1 การถา ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม 1. บอกความหมายของลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมได

2. บอกความหมายของการแปรผนั ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได

3. อธิบายลกั ษณะและกระบวนการถา ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม

4. อธบิ ายลักษณะของโครโมโซมและสารพันธกุ รรมได

5. บอกสาเหตแุ ละการเกดิ มิวเทชนั ได

2 สารเคมีในชวี ิตประจําวนั และในงานอาชีพ 1. อธิบายความหมายของสารเคมีได

2. อธบิ ายและยกตัวอยางสารเคมีท่เี กดิ ขึ้นในธรรมชาติได

3. เลอื กใชสารเคมที ใ่ี ชใ นชีวิตประจาํ วันไดถกู ตอ ง

4. อธิบายและยกตัวอยางสารเคมีท่ีใชปรุงแตงรสอาหาร ใชใน

การเกษตร ใชเพื่อสาธารณูปโภค ใชเปนเครื่องสําอาง และใชใน

งานอาชีพได

3 เทคโนโลยีชวี ภาพ 1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยีชวี ภาพได

2. อธิบายการนาํ เทคโนโลยีชีวภาพไปใชในดา นตาง ๆ ได

3. อธิบายความหมายของพันธวุ ศิ วกรรมและการนําไปใชป ระโยชน

4. อธบิ ายวธิ กี ารผสมเทียมได

5. อธบิ ายประโยชนและวธิ กี ารถา ยฝากตวั ออนได

4 จลุ ินทรยี ในอาหาร 1. บอกความหมายของจุลินทรยี ใ นอาหารได

2. บอกประเภทของจุลนิ ทรียใ นอาหารได

3. อธิบายลักษณะทว่ั ไปและโครงสรางของจุลนิ ทรยี ได

4. อธิบายความสาํ คญั ของจลุ ินทรยี ใ นอาหารได

5. บอกแหลงทีม่ าของจุลนิ ทรยี ซ่ึงปนเปอ นในอาหารได

5 ปโตรเลยี มและผลติ ภัณฑ 1.อธิบายความหมายของปโ ตรเลียมและการเกดิ ปโ ตรเลียมได

2.อธิบายขนั้ ตอนการกล่ันนํ้ามนั ดิบได

3.ยกตวั อยางผลิตภัณฑปโตรเลียมได

4.อธบิ ายการเกิดแกสธรรมชาตแิ ละประโยชนข องแกสธรรมชาติได

5.ยกตัวอยางเช้ือเพลิงท่ีใชในชวี ิตประจาํ วนั ได

6 ผลิตภัณฑย างและพอลิเมอร 1. อธบิ ายความหมายและสมบัตขิ องพอลเิ มอรได
2. จําแนกประเภทของพอลิเมอรไ ด
3. อธิบายปฏกิ ริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอรไ ด

7 ไฟฟาในชีวิตประจําวัน 4. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรางและสมบตั ิของพอลเิ มอรได
8 คลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา 5. ยกตัวอยา งผลิตภัณฑยางและพอลิเมอรไ ด

1. อธิบายความรูเบือ้ งตน เกยี่ วกับไฟฟาและแหลง กาํ เนดิ ตาง ๆ ได
2. คํานวณการใชพ ลงั งานไฟฟาได
3. อธบิ ายและทดลองตอ วงจรไฟฟา อยางงา ยภายในบา นได
4. อธบิ ายและยกตัวอยา งประเภทของเคร่ืองใชไ ฟฟาตา ง ๆ ได
5. อธิบายหลักการใชและการประหยัดพลังงานของเคร่ืองใชไฟฟา
ตาง ๆ ได

1. อธบิ ายความหมายและคุณสมบตั ขิ องคลนื่ แมเหล็กไฟฟา ได
2. อธิบายการเกดิ คล่ืนแมเ หลก็ ไฟฟา ได
3. อธบิ ายเกย่ี วกบั สเปกตรมั ของการเกิดคลื่นแมเ หล็กไฟฟาได
4. บอกคลืน่ ท่ีใชใ นระบบสอ่ื สารโทรคมนาคมได
5. บอกประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ได

การวเิ คราะหหลกั สตู รรายวชิ า

ตารางการวิเคราะหเ นื้อหา

รหัสวชิ า 20000-1303 ช่ือวิชา วิทยาศาสตรเ พ่ือพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ

ชั่วโมง

ที่ เรือ่ ง เน้ือหา ทฤษฏี ปฏบิ ัติ รวม

1-2 การถา ยทอดลกั ษณะทาง 1.1 ความหมายของการถายทอดลกั ษณะทาง 6 - 6
พันธกุ รรม พันธุกรรม

1.2 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

1.3 กระบวนการถายทอดลักษณ ะทาง

พันธุกรรม

1.4 โครโมโซมและสารพนั ธุกรรม

1.5 การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

1.6 การเปล่ียนแปลงทางพนั ธุกรรม

3-4 สารเคมใี นชีวิตประจาํ วันและใน 2.1 ความหมายของสารเคมี 628
งานอาชีพ 2.2 สารปรุงแตงอาหาร
2.3 เคร่อื งด่ืม
2.4 สารทําความสะอาด
2.5 สารกําจัดแมลงและสารกําจัดศัตรูพืช
ประเทศไทย
2.6 เครือ่ งสาํ อาง
2.7 สารเคมีในงานอาชีพ
2.8 การเก็บรกั ษาวตั ถุอนั ตราย

2.9 การหลกี เลยี่ งสารเคมอี นั ตรายทีพ่ บบอยใน

ชีวติ ประจาํ วนั

5-6 เทคโนโลยชี ีวภาพ 3.1 ความหมายของเทคโนโลยี ชีวภาพ 6-6

3.2 ประโยชนของเทคโนโลยีชีวภาพ

3.3 พนั ธวุ ิศวกรรม

3.4 การผสมเทยี ม

3.5 การถายฝากตวั ออ น

3.6 การโคลนน่ิง

3.7 ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพตอสงั คมและ

สง่ิ แวดลอ ม

7-8 จุลนิ ทรยี ใ นอาหาร 4.1 ความหมายของจุลินทรยี ใ นอาหาร 628

4.2 ประเภทของจุลนิ ทรียใ นอาหาร

4.3 ลักษณะทั่วไปและโครงสรา งของจุลนิ ทรยี 

4.4 ความสําคญั ของจุลินทรยี ในอาหาร

4.5 แหลงท่มี าของจุลนิ ทรียซ ่ึงปนเปอนใน

อาหาร

4.6 แหลงท่ีอยูอาศัยของจลุ ินทรียตาม

ธรรมชาติทาง

9 สอบกลางภาค

10-11 ปโตรเลียม 5.1 ความหมายของปโ ตรเลียม 6-6

5.2 การกาํ เนดิ ปโตรเลียม

5.3 ผลติ ภัณฑจากการกลัน่ น้าํ มันปโ ตรเลยี ม

5.4 แกส ธรรมชาติ

5.5 ผลิตภัณฑท่ีไดจ ากปโตรเลยี ม

12-13 ผลติ ภัณฑย างและพอลิเมอร 6.1 ความหมายของพอลิเมอร 628
6.2 ประเภทของพอลเิ มอร
6.3 ปฏิกริ ยิ าการเกิดพอลิเมอร
6.4 โครงสรา งและคุณสมบัติของพอลิเมอร
6.5 ผลติ ภณั ฑจ ากพอลเิ มอร
6.6 ผลิตภัณฑจากยาง
6.7 ความกา วหนาทางเทคโนโลยขี อง
ผลติ ภณั ฑพอลิเมอรส ังเคราะห

6.8 การกําจดั พลาสติก

14-15 ไฟฟา ในชวี ติ ประจาํ วัน 7.1 ความรูเบ้ืองตน เก่ยี วกับไฟฟา 6-6

7.2 ประเภทของไฟฟาและแหลงกาํ เนิดไฟฟา

7.3 การสง จา ยกาํ ลังไฟฟา

7.4 วงจรไฟฟา ในบา นและอาคาร

7.5 กําลงั ไฟฟาและพลงั งานไฟฟา

7.6 ประเภทเครอ่ื งใชไฟฟาในชวี ติ

ประจาํ วนั

16-17 คลน่ื แมเ หล็กไฟฟา 8.1 ความหมายของคลืน่ แมเ หลก็ ไฟฟา 6-6
8.2 การเกดิ คล่นื แมเหล็กไฟฟา

8.3 สเปกตรมั คล่ืนแมเหลก็ ไฟฟา

8.4 ระบบสือ่ สารโทรคมนาคม

8.5 ประโยชนของการสื่อสารและ

โทรคมนาคม

18 สอบปลายภาค

รวม 54

ผลการวิเครา
รหัสวิชา 20000 -1303 วชิ า วทิ ยา

ระดบั ชั้นประกาศ

จดุ ประสงครายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า คาํ อธบิ ายรายวชิ า หนว ย

1. รูแ ล ะ เข าใจ เกี่ ย ว กั บ 1. แ ส ด งค วาม รูเก่ี ย วกั บ ศึกษาและปฏบิ ัติ 1.การถา ยทอดลกั

พั น ธุ ก ร ร ม ส า ร เค มี ใน พั น ธุ ก ร ร ม ส า ร เค มี ใน เกี่ยวกบั การถายทอด ทางพนั ธุกรรม

ชี วิ ต ป ร ะ จํ า วั น ชี วิ ต ป ร ะ จํ า วั น ลกั ษณะทางพันธุกรรม

เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย สารเคมีใน

ในอาหารปโ ตรเลียมและพอ ในอาหารปโตรเลียมและพอ ชีวติ ประจาํ วนั และใน

ลิ เม อ ร ไฟ ฟ าแ ล ะ ค ลื่ น ลิ เม อ ร ไฟ ฟ า แ ล ะ ค ล่ื น งานอาชพี

แมเ หล็กไฟฟา แมเหลก็ ไฟฟา เทคโนโลยชี วี ภาพ 2.สารเคมใี น

2. สามารถสํารวจตรวจสอบ 2. สํารวจตรวจสอบเก่ียวกับ จุลินทรยี ในอาหาร ชวี ติ ประจําวันแล

เกี่ ย ว กั บ ก า ร ถ า ย ท อ ด การถายทอดลักษณะทาง ปโ ตรเลยี มและ งานอาชพี

ลัก ษ ณ ะท างพั น ธุก รรม พันธุกรรมตามหลักพัน ธุ ผลติ ภณั ฑ พอลิเมอร

ผลกระทบของสารเคมีและ ศาสตร และผลิตภณั ฑ ไฟฟา ใน

ค ล่ื น แ ม เห ล็ ก ไฟ ฟ า ต อ 3. เคราะหผลกระทบของ ชีวิตประจาํ วนั และคลน่ื

มนุษยโดยใชกระบวนการ ส า ร เ ค มี แ ล ะ ค ล่ื น แมเหล็กไฟฟา 3.เทคโนโลยีชวี ภ

ทางวิทยาศาสตร แมเหล็กไฟฟาตอมนุษยตาม

3. สามารถทดลองทดสอบ หลักการ

เ ก่ี ย ว กั บ ส า ร เ ค มี ใ น 4. สํารวจตรวจสอบเก่ียวกับ

ชีวิตประจําวันและในงาน สมบตั ิของปโตรเคมีและพอลิ

อาชีพ จุลินทรียในอาหาร เมอรดวยกระบวนการทาง

สมบัติของปโตรเลียมและ วิทยาศาสตร 4.จลุ นิ ทรียใ นอาห

พ อ ลิ เ ม อ ร โ ด ย ใ ช 5. สาํ รวจตรวจสอบเก่ยี วกบั

ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ไฟฟา ในชีวติ ประจาํ วนั และ

าะหห ลกั สตู ร

าศาสตรเพ่ือพัฒนาอาชีพธรุ กจิ และบริการ

ศนียบัตรวิชาชีพ

ช่ัวโมง

ทปร จุดประสงคเชงิ พฤติกรรม

123

กษณะ 6 - 6 1. บอกความหมายของลักษณะทางพันธุกรรมได

2. บอกความหมายของการแปรผันลกั ษณะทางพันธกุ รรมได

3. อธบิ ายลักษณะและกระบวนการถายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม

4. อธบิ ายลกั ษณะของโครโมโซมและสารพันธกุ รรมได

5. บอกสาเหตุและการเกิดมวิ เทชันได

6 2 6 1. อธบิ ายความหมายของสารเคมีได
ละใน 2. อธบิ ายและยกตัวอยา งสารเคมีทเ่ี กิดขึ้นในธรรมชาติได

3. เลือกใชสารเคมที ่ใี ชใ นชีวิตประจาํ วนั ไดถูกตอ ง
4. อธิบายและยกตัวอยา งสารเคมที ีใ่ ชปรงุ แตง รสอาหาร ใชใ นการเกษตร ใช
เพื่อสาธารณปู โภค ใชเปน เครื่องสาํ อาง และใชในงานอาชีพได

ภาพ 6 - 6 1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยชี ีวภาพได
2. อธบิ ายการนาํ เทคโนโลยชี วี ภาพไปใชใ นดานตาง ๆ ได
3. อธิบายความหมายของพันธวุ ิศวกรรมและการนําไปใชประโยชน
4. อธบิ ายวธิ ีการผสมเทียมได
5. อธบิ ายประโยชนแ ละวธิ ีการถายฝากตัวออนได

หาร 6 2 6 1. บอกความหมายของจลุ ินทรียในอาหารได
2. บอกประเภทของจุลนิ ทรยี ในอาหารได
3. อธิบายลักษณะทัว่ ไปและโครงสรางของจลุ ินทรียไ ด

วิทยาศาสตร คลน่ื แมเหล็กไฟฟา ตาม
4. มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ยั ทด่ี ี หลกั การและกระบวนการ
ตอการศกึ ษาและสาํ รวจ
ตรวจสอบดว ยกระบวนการ 5.ปโตรเลยี ม
ทางวทิ ยาศาสตร
6.ผลิตภัณฑย างแ
ลิเมอร
7.ไฟฟาในชวี ติ ปร

8.คลนื่ แมเ หลก็ ไฟ

4. อธิบายความสําคญั ของจลุ ินทรียในอาหารได
5. บอกแหลง ทมี่ าของจุลินทรยี ซ ึง่ ปนเปอ นในอาหารได

6 - 6 1.อธิบายความหมายของปโตรเลยี มและการเกดิ ปโ ตรเลียมได
2.อธิบายขัน้ ตอนการกลั่นนํ้ามนั ดบิ ได
3.ยกตัวอยางผลติ ภณั ฑปโ ตรเลียมได
4.อธบิ ายการเกิดแกส ธรรมชาติและประโยชนของแกส ธรรมชาติได
5.ยกตัวอยา งเชอ้ื เพลงิ ทใ่ี ชในชีวติ ประจาํ วนั ได

และพอ 6 - 6 1. อธิบายความหมายและสมบัตขิ องพอลิเมอรไ ด
2. จําแนกประเภทของพอลิเมอรได
3. อธบิ ายปฏิกริ ิยาการเกิดพอลิเมอรไ ด
4. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา งและสมบตั ขิ องพอลิเมอรไ ด
5. ยกตวั อยา งผลติ ภณั ฑย างและพอลิเมอรไ ด

ระจําวัน 6 - 6 1. อธิบายความรเู บื้องตน เก่ียวกบั ไฟฟาและแหลงกําเนิดตา ง ๆ ได
2. คํานวณการใชพลงั งานไฟฟา ได
3. อธิบายและทดลองตอ วงจรไฟฟา อยา งงา ยภายในบา นได
4. อธบิ ายและยกตวั อยางประเภทของเครอื่ งใชไ ฟฟา ตา ง ๆ ได
5. อธิบายหลักการใชแ ละการประหยัดพลงั งานของเครื่องใชไฟฟาตา ง ๆ ได

ฟฟา 6 - 6 1. อธบิ ายความหมายและคุณสมบตั ขิ องคลื่นแมเหล็กไฟฟา ได
2. อธิบายการเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาได
3. อธบิ ายเกย่ี วกบั สเปกตรมั ของการเกิดคล่ืนแมเหลก็ ไฟฟาได
4. บอกคลื่นท่ใี ชใ นระบบสื่อสารโทรคมนาคมได
5. บอกประโยชนของคลืน่ แมเหลก็ ไฟฟา ได

รวม

54

ผงั การสรา งแบบทดสอบ (Te
รหสั วชิ า 20000-1303 วชิ า วิทยาศา

ระดับชน้ั ประกาศนียบตั รวชิ าช

หนว ยเร่ือง จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ผลติ ภณั ฑยางและ 1. อธิบายความหมายและสมบัตขิ องพอลเิ มอรได

พอลิเมอร 2. จาํ แนกประเภทของพอลเิ มอรไ ด

3. อธบิ ายปฏกิ ิริยาการเกดิ พอลิเมอรไ ด

4. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา งและสมบตั ิของพอลิเมอรได

5. ยกตวั อยางผลิตภณั ฑย างและพอลิเมอรได

สารเคมใี น 1. อธบิ ายความหมายของสารเคมไี ด

ชีวิตประจาํ วนั และใน2. อธิบายและยกตัวอยา งสารเคมีท่ีเกดิ ขึ้นในธรรมชาติได

งานอาชพี 3. เลือกใชส ารเคมที ี่ใชในชีวิตประจาํ วันไดถกู ตอ ง

4. อธิบายและยกตัวอยางสารเคมที ีใ่ ชปรงุ แตง รสอาหาร ใชใ

การเกษตร ใชเพ่ือสาธารณูปโภค ใชเ ปนเคร่อื งสาํ อาง และใ

อาชีพได

est Blueprint) ภาคทฤษฏี
าสตรเ พื่อพัฒนาอาชพี ธรุ กจิ และบรกิ าร
ชพี เวลาทีใ่ ชท ดสอบ 2 ชว่ั โมง

ระดบั พฤติกรรมพุทธพิ ิสัย

น้ําหนกั ความสําคัญ จํานวนขอ
รู-จํา
เ ขาใจ
นําไปใช
วิเคราะห
ประเ ิมน คา
สรางสรร ค

4 2 11
4
5 21 1
5
5 21 1
4
4 21 1
4
3 111
5
11

2 11

2 11

ใน 2 11
ใชใ นงาน

คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา 1. อธบิ ายความหมายและคณุ สมบตั ขิ องคล่นื แมเหลก็ ไฟฟาไ
2. อธิบายการเกิดคล่ืนแมเหลก็ ไฟฟาได
3. อธบิ ายเก่ียวกับสเปกตรัมของการเกดิ คลืน่ แมเหล็กไฟฟา
4. บอกคลื่นที่ใชในระบบส่อื สารโทรคมนาคมได
5. บอกประโยชนของคล่ืนแมเหล็กไฟฟาได

ไฟฟาใน 1. อธบิ ายความรเู บือ้ งตนเกี่ยวกับไฟฟาและแหลงกาํ เนดิ ตาง
ชวี ิตประจําวนั 2. คํานวณการใชพ ลงั งานไฟฟา ได
3. อธบิ ายและทดลองตอวงจรไฟฟา อยา งงา ยภายในบา นได
4. อธิบายและยกตวั อยางประเภทของเครอื่ งใชไ ฟฟาตา ง ๆ
5. อธิบายหลักการใชและการประหยัดพลังงานของเครื่องใช
ตาง ๆ ได

รวม

ได 4 11
าได 4 2 11
4 2 11
ง ๆ ได 4 2 11
5 3 111
ๆ ได
ชไฟฟา 6 11
6 2 11
6 22
6 2 11
6 3 111

100 40 8 8 9 8 4 3

ฝผงั การสรางแบบทดสอบ (T
รหัสวชิ า 20000-1303 วชิ า วิทยาศา

ระดบั ชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาช

จุดประสงครายวิชา/สมรรถนะรายวิชา/ จดุ ประสงคเ ชงิ พฤติกรรม
คําอธบิ ายรายวชิ า

จดุ ประสงครายวชิ า 1. เลือกใชส ารเคมีท่ีใชใ นชวี ิตประจาํ วันไดถ กู ตอง 1.ใหน
เปน ก
1.เพื่ อ ให มี ค วาม รูค วาม เข าใจ เกี่ ย วกั บ 2. คํานวณการใชพลงั งานไฟฟา ได 2.ใหน
บา นต
พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ

เทคโน โลยีชีวภ าพ จุลิน ทรียใน อาห าร

ปโตรเลียมและผลิตภัณฑ ยางและพอลิเมอร

สารชีวโมเลกุลในอาหาร คล่ืนแมเหล็กไฟฟา

พลงั งานนวิ เคลยี ร

2.เพ่ือใหมีทักษะการคํานวณหาโอกาสของ

ลักษณะการถายทอดทางพันธุกรรม การ

จําแนกสิ่งมีชีวิต การทดลองจุลินทรียใน

อาหาร การเลือกใชเทคโนโลยีชีวภาพ การ

ทดลองสมบัติของสารไฮโดรคารบอน การ

ทดสอบสมบตั ิทางกายภาพของพอลิเมอร การ

ทดสอบสารชีวโมเลกลุ ในอาหาร การวเิ คราะห

ผลของคลื่นแมเหล็กไฟฟาตอมนุษย และ

พลังงานนิวเคลียร

คาํ อธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับ การถายทอด

ลักษณะทางพันธุกรรม ความหลากหลายทาง

ชีวภาพ เทคโนโลยชี ีวภาพ จุลนิ ทรยี ในอาหาร

Test Blueprint) ภาคปฏิบตั ิ
าสตรเ พ่ือพัฒนาอาชพี ธรุ กจิ และบริการ
ชพี เวลาท่ีใชทดสอบ 1 ช่วั โมง

กาํ หนดงานที่ใชว ัดสอบภาคปฏิบัติ นํา้ หนกั เวลาทใ่ี ชส อบ
(ชั่วโมง)
นักเรียนจัดกลุมและทดลองการทดสอบความ 50
กรดเบสของสารที่ใชใ นชวี ิตประจําวนั 1
นักเรียนคํานวณการใชพลังงานไฟฟาภายใน 50
ตอ ไปนห้ี ถูกตอ ง 1

ปโตรเลียมและผลิตภัณฑ ยางและพอลิเมอร
สารชีวโมเลกุลในอาหาร คล่ืนแมเหล็กไฟฟา
พลงั งานนวิ เคลยี รตอ การดํารงชวี ติ

รวม

2 100 2

1

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 หน่วยท่ี 1

ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาอาชพี ธุรกจิ และบรกิ าร (20000- เวลาเรียนรวม 54

1303) คาบ

ชอ่ื หน่วย การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม สอนครั้งท่ี 1–2/18

ชื่อเรอ่ื ง การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม จานวน 6 คาบ

หวั ข้อเร่อื ง

1.1 ความห มายของการถ่ายท อดลักษ ณ ะท าง กจิ กรรมท่ี 1.1 การหาหมเู่ ลือด

พนั ธุกรรม กจิ กรรมท่ี 1.2 สืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั มิวเทชัน

1.2 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

1.3 กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม

1.4 โครโมโซมและสารพนั ธุกรรม

1.5 การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

1.6 การเปล่ียนแปลงทางพันธกุ รรม

แนวคดิ สาคัญ
พันธุศาสตร์ (Genetics) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ว่าด้วยการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ไปสู่ลูกหลาน (Heredity) โดยหน่วยพันธุกรรมท่ีเรียกว่า ยีน (Gene) การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทาให้ทราบถึงสาเหตุของความคล้ายคลึง หรือความแตกต่างระหว่างบรรพบุรุษ
กบั ลูกหลาน

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้และปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับหลักการทางพันธุกรรม

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. บอกความหมายของลกั ษณะทางพันธุกรรมได้
2. บอกความหมายของการแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมได้
3. อธิบายลักษณะและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมได้
4. อธบิ ายลักษณะของโครโมโซมและสารพนั ธกุ รรมได้
5. บอกสาเหตุและการเกิดมวิ เทชนั ได้

2

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกดา้ นความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมนี ้าใจ

และแบง่ บัน ความรว่ มมือ/ยอมรบั ความคิดเหน็ สว่ นใหญ่

เนอ้ื หาสาระ
1.1 ความหมายของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม
ลักษณะทางพันธุกรรม (Genetic Character) หมายถึง ลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีควบคุมโดยยีน

ซง่ึ สามารถถา่ ยทอดจากรนุ่ หน่งึ ไปยังรุ่นตอ่ ไปได้ เช่น จากพ่อแม่ไปสู่ลกู
1.2 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม
1.2.1 ความแปรผนั ของลกั ษณะทางพันธกุ รรม (Genetic Variation)
1.2.2 ลักษณะทางพันธุกรรมกบั สงิ่ แวดล้อม (Genes and Environment)
1.3 กระบวนการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม
1.3.1 ความน่าจะเป็นและกฎแหง่ การแยกตัว ทฤษฎีความน่าจะเป็น
1.3.2 กฎแห่งการรวมกลุม่ กนั อย่างอสิ ระ
1.4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
ยีนเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซม และโครโมโซมของเซลล์ร่างกายจะเหมือนกันเป็นคู่ ๆ ท้ังรูปร่าง

ขนาด และการเรียงตัว ยีนที่มีตาแหน่งเดียวกันของโครโมโซมที่คู่กันจะกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะ
เดยี วกนั ภายในนิวเคลียสของเซลลม์ สี ารพนั ธุกรรมหรือดีเอ็นเอ...

1.5 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของคน ทาได้โดยการสืบประวัติครอบครัวที่ต้องการศึกษา

หลาย ๆ ชั่วอายุคน นามาเขียนแผนผังแสดงบุคคลท่ีได้รับการถ่ายทอดลักษณะท่ีศึกษาเป็นแผนภาพแสดง
ลาดับเครือญาติ เรียกว่า พงศาวลี หรือ เพดดีกรี (Pedigree) โดยใช้สัญลักษณ์แทนบุคคลต่าง ๆ เพดดีกรีจะ
ช่ ว ย ให้ สั งเก ต เห็ น แ บ บ แ ผ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า งพั น ธุ ก ร ร ม ได้ ง่า ย ขึ้ น ว่ า เป็ น ลั ก ษ ณ ะ เด่ น ห รื อ
ลกั ษณะด้อย

1.6 การเปลย่ี นแปลงทางพันธกุ รรม
มิวเทชัน (Mutation) และการคัดเลอื กโดยธรรมชาติ (Natural Selection)

กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 1/18, คาบท่ี 1–3/54)
1. ครูช้ีแจงรายละเอียดเก่ียวกับคาอธิบายรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล

การเรยี น คณุ ลกั ษณะนิสัยทีต่ อ้ งการใหเ้ กดิ ขนึ้ และขอ้ ตกลงในการเรยี น
2. นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยท่ี 1
3. แบง่ กลุ่มนักเรยี นเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 คน และครใู ห้หนงั สอื เรยี น
4. ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรยี น และครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี น

3

5. ครสู อนเนอื้ หาสาระ หวั ข้อ 1.1 – 1.4
6. นกั เรยี นทากิจกรรมท่ี 1.1 ขณะนักเรียนทากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม
7. ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยกจิ กรรม และรว่ มอภิปรายสรปุ บทเรียน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 2/18, คาบที่ 4-6/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมีวินยั และความรบั ผดิ ชอบ
2. ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น
2.1 ครทู บทวนเนอื้ หาทเี่ รียนในครง้ั ที่ 1
2.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี น
2.3 นักเรยี นจดั กลมุ่ ๆ ละ 5 คน
3. ข้ันสอนเนื้อหาสาระขอ้ 1.5-1.6
4. นกั เรยี นทากิจกรรมตามกจิ กรรมที่ 1.2-1.3 ขณะนักเรียนทากิจกรรมครจู ะสงั เกตการทางานกลมุ่
5. ขนั้ สรุป ครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรม และร่วมอภิปรายกบั นักเรียน
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 1

ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 1, ใบกิจกรรมที่ 1.1–1.3, PowerPoint ประกอบการสอน

และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวดั และการประเมินผล
1. แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ

60 ผา่ นเกณฑ์
2. แบบทดสอบหลังเรยี น ต้องได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้คะแนน

ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
4. ตรวจกจิ กรรมการทดลอง ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
5. ตรวจแบบฝกึ หดั ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานท่มี อบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝึกหดั ใหเ้ รียบร้อย ถกู ต้อง สมบรู ณ์

4

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน
1. ผลการทาและนาเสนอกจิ กรรม
2. ผลการทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยที่ 1

เอกสารอ้างองิ
1. หนังสอื เรียนวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาอาชีพธรุ กจิ และบริการ (20000-1303)
บริษัทศนู ย์หนังสอื เมืองไทย จากัด
2. เว็บไซต์และสื่อส่ิงพมิ พ์ท่ีเก่ียวข้องกบั เนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

5

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 หน่วยท่ี 2

ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาอาชีพธุรกจิ และบริการ (20000– เวลาเรียนรวม 54

1303) คาบ

ชื่อหน่วย สารเคมีในชีวิตประจาวนั และในงานอาชีพ สอนคร้ังท่ี 3-4/18

ชอื่ เรือ่ ง สารเคมใี นชวี ิตประจาวนั และในงานอาชพี จานวน 6 คาบ

หวั ข้อเรอ่ื ง

หนว่ ยท่ี 2 สารเคมีในชีวิตประจาวนั และในงาน กจิ กรรมที่ 2 ใหน้ ักเรยี นสารวจสารเคมีทใ่ี ชใ้ น

อาชพี ชวี ิตประจาวนั และในงานอาชีพ
2.1 ความหมายของสารเคมี
2.2 สารปรงุ แตง่ อาหาร
2.3 เครื่องด่ืม
2.4 สารทาความสะอาด
2.5 สารกาจดั แมลงและสารกาจัดศตั รพู ชื ประเทศไทย
2.6 เครือ่ งสาอาง
2.7 สารเคมีในงานอาชีพ
2.8 การเกบ็ รกั ษาวัตถอุ ันตราย

2.9 การหลีกเลี่ยงสารเคมีอันตรายที่พบบ่อยใน

ชวี ิตประจาวนั

แนวคิดสาคัญ
สารเคมีเป็นสสารวัสดุที่ใช้ในชีวิตประจาวันและในงานอาชีพ หรือได้จากกระบวนการเคมี เช่น สารปรุง

รสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น ในการจาแนก
สารเคมีเป็นพวก ๆ น้ันใช้วัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเกณฑ์การจาแนก ดังน้ี สารปรุงแต่งอาหาร แบ่งเป็น 2
ประเภท คือ ได้จากการสังเคราะห์ เช่น น้าส้มสายชู น้าปลา ซีอ๊ิว ซอสมะเขือเทศ เป็นต้น และได้จากธรรมชาติ
เช่น เกลอื น้ามะนาว น้ามะขามเปียก น้าอัญชัน เป็นต้น เคร่ืองด่ืมแบ่งเป็น 7 ประเภท ได้แก่ น้าด่ืมสะอาด น้า
ผลไม้ นม น้าอดั ลม เครือ่ งด่มื บารงุ กาลงั ชาและกาแฟ และเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้และปฏิบตั เิ กย่ี วกบั สารเคมีทใี่ ชใ้ นชีวิตประจาวนั และในงานอาชพี

6

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะ

1จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 5. อธิบายและยกตัวอย่างสารเคมีที่เกิดข้ึนใน

ด้านความร้แู ละทักษะ ธรรมชาติ

1. อธิบายความหมายของสารเคมีได้ 6. อธิบายอละยกตัวอน่างสารเคมีท่ีใช้ปรุงรส

2. อธิบายและยกตัวอย่างสารเคมีที่เกิดขึ้นใน อาหาร

ธรรมชาติได้

3. เลอื กใชส้ ารเคมที ีใ่ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ไดถ้ ูกต้อง

4. อธิบายและยกตัวอย่างสารเคมีที่ใช้ปรุงแต่งรส

อาหาร ใช้ในการเกษตร ใช้เพื่อสาธารณูปโภค ใช้เป็น

เครือ่ งสาอาง และใช้ในงานอาชีพได้

สิ่งมชี ีวิตได้

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดนิง่ ทจี่ ะแกป้ ัญหา ความซอ่ื สัตย์ ความ

ร่วมมอื

เนื้อหาสาระ
ในชีวิตประจาวันต้องเกี่ยวข้องกับสารหลายชนิดซ่ึงมีลักษณะแตกต่างกัน สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันจะมี

สารเคมีเป็นองค์ประกอบ ซ่ึงสามารถจาแนกเป็นสารสังเคราะห์และสารธรรมชาติ เชน่ สารปรงุ รสอาหาร สาร
แต่งสีอาหาร สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น ในการจาแนกสารเคมีแต่ละ
ประเภทนัน้ ใช้วตั ถุประสงคใ์ นการใช้เปน็ เกณฑก์ ารจาแนก

ความหมายของสารเคมี
สารเคมี (Chemical Substance) คือธาตุหรือสารประกอบที่มีสูตรทางเคมี สมบัติทางกายภาพ และทางเคมีที่
สามารถระบุองค์ประกอบทางเคมีท่ีแน่นอนได้ เช่น น้าบริสุทธ์ิ (H2O) ประกอบด้วยธาตุ ไฮโดรเจน (H) 2
อะตอม และออกซิเจน (O) 1 อะตอมรวมตัวกัน หรือเกลือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ก็ประกอบด้วยธาตุ Na
และ Cl อย่างละ 1 อะตอม หรือ caicium carbonate เป็นสารประกอบท่ีเกิดจากการรวมตัวของธาตุ caicium
,carbon and oxygen มีสูตร CACO3 เป็นสารประกอบอนินทรีย์ อีกพวกหนึ่งสารประกอบอินทรีย์ มีคารบ์ อนเป็น
โครงสรา้ ง เช่น acetic acid มสี ตู รวา่ CH3COOH

7

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 3/18, คาบที่ 7–9/54)
1. ครูชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับคาอธิบายรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล

การเรยี น คุณลักษณะนิสัยท่ตี ้องการใหเ้ กดิ ข้นึ และขอ้ ตกลงในการเรียน
2. นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยที่ 2
3. แบ่งกลมุ่ นักเรียนเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 5 คน
4. ครนู าเข้าสู่บทเรยี น และครแู จง้ จุดประสงค์การเรียน
5. ครสู อนเน้อื หาสาระ หวั ข้อ 2.1 – 2.4
6. นกั เรยี นทากิจกรรมท่ี 2.1-2.3 ขณะนกั เรียนทากจิ กรรมครจู ะสังเกตการทางานกลุม่
7. ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรม และรว่ มอภปิ รายสรุปบทเรียน

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 4/18, คาบท่ี 10-12/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี ินัย และความรบั ผดิ ชอบ
2. ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรยี น
2.1 ครทู บทวนเนื้อหาท่ีเรยี นในคร้งั ที่ 3
2.2 ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียน
2.3 นักเรียนจดั กล่มุ ๆ ละ 5 คน
3. ขั้นสอนเน้อื หาสาระขอ้ 2.5-2.7
4. นักเรียนทากจิ กรรมตามกิจกรรมท่ี 2.4-2.7 ขณะนักเรียนทากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทางานกลมุ่
5. ข้ันสรุป ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรม และร่วมอภิปรายกับนกั เรยี น
6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 2

ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 2, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อน

เรยี น และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวดั และการประเมินผล
1. แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ

60 ผ่านเกณฑ์
2. แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

8

3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้คะแนน
ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

4. ตรวจกจิ กรรมการทดลอง ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
5. ตรวจแบบฝึกหดั ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานทีม่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทาแบบฝกึ หัดใหเ้ สรจ็ เรยี บร้อย ถกู ต้อง สมบูรณ์

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน
1. ผลการทาและนาเสนองานจากกิจกรรม
2. ผลการทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 2

เอกสารอา้ งอิง
1. หนงั สอื เรยี นวิชา วทิ ยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชีพธรุ กจิ และบรกิ าร (20000–1303)
บริษัทศนู ย์หนงั สอื เมืองไทย จากัด
2. เว็บไซตแ์ ละสอ่ื สงิ่ พิมพท์ ่เี กี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

9

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 หนว่ ยที่ 3

ชื่อวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาอาชพี ธุรกิจและบริการ (20000- เวลาเรียนรวม 54

1303) คาบ

ชื่อหน่วย เทคโนโลยีชีวภาพ สอนคร้ังที่ 5–6/18

ชือ่ เรือ่ ง เทคโนโลยชี วี ภาพ จานวน 6 คาบ

หวั ข้อเรื่อง กิจกรรมที่ 3.1 แก๊สชีวภาพ
3.1 ความหมายของเทคโนโลยี ชวี ภาพ
3.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยีชวี ภาพ
3.3 พนั ธุวศิ วกรรม
3.4 การผสมเทยี ม
3.5 การถา่ ยฝากตัวอ่อน
3.6 การโคลนนิง่
3.7 ผลของเทคโนโลยชี วี ภาพต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม

แนวคิดสาคญั
เทคโนโลยีชีวภาพเป็นการนาความรู้มาปรับปรุงส่ิงมีชีวิตให้มีคุณภาพและใชป้ ระโยชน์ไดต้ ามตอ้ งการ ในยุค

แรก ๆ มนุษย์รู้จักใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการถนอมอาหาร และแปรรูปอาหารตามข้ันตอนง่าย ๆ เช่น
การทาน้าปลา ปลาร้า เนยแข็ง และไวน์ เป็นต้น ต่อมาได้พัฒนาวิธีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพให้สูงขึ้น เช่น
ใชใ้ นอตุ สาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมผลติ ยาปฏชิ ีวนะ เปน็ ต้น

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เก่ยี วกบั หลกั การเทคโนโลยี ชีวภาพ

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยชี ีวภาพได้
2. อธิบายการนาเทคโนโลยชี วี ภาพไปใช้ในด้านต่าง ๆ ได้
3. อธิบายความหมายของพนั ธุวศิ วกรรมและการนาไปใช้ประโยชน์ได้
4. อธิบายวธิ กี ารผสมเทียมได้
5. อธบิ ายประโยชนแ์ ละวิธกี ารถ่ายฝากตัวออ่ นได้

10

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไม่หยดน่ิงท่ีจะแกป้ ัญหา ความซื่อสัตย์ ความ

ร่วมมือ

เน้อื หาสาระ
3.1 ความหมายของเทคโนโลยี ชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ แปลมาจากคาว่า Biotechnology โดยใช้คาว่า Bio รวมกับ Technology

สาหรับคาว่า Bio มาจาก Biology (ชีววิทยา) เป็นเรื่องของส่ิงมีชีวิตและ Technology เป็นการประยุกต์ใช้
ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ เมื่อนามารวมเป็น Biotechnology หมายถงึ การใชค้ วามรเู้ ก่ียวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อสรา้ ง
ผลิตภัณฑ์ และบริการที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ใน
ด้านต่าง ๆ ท้ังด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ ด้านสาธารณสุข และด้านการผลิตแหล่ง
พลังงาน และนอกจากนั้นเทคโนโลยีชีวภาพด้านพันธุวิศวกรรมเป็นวิธีการท่ีได้รับความสนใจในปัจจุบัน เพราะ
เป็นเทคโนโลยที ่นี าไปใช้ในการตัดต่อยีนเพอ่ื ดดั แปลงพนั ธุกรรมของพืชและสตั ว์

3.2 ประโยชนข์ องเทคโนโลยชี ีวภาพ
3.2.1 ด้านการเกษตร
3.2.2 ด้านอตุ สาหกรรม
3.2.3 ดา้ นอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อม
3.2.4 ด้านพลังงาน

3.3 พันธุวิศวกรรม
3.3.1 ประโยชน์ของพนั ธุวศิ วกรรม
3.3.2 โทษของพันธุวิศวกรรม

3.4 การผสมเทยี ม
การผสมเทียม (Artificial Insemination) หมายถึง การใชน้ ้าเช้ือฉีดเขา้ ไปในอวยั วะสืบพนั ธ์ขุ อง

สตั ว์ตวั เมยี ในระยะเวลาเป็นสัด เพ่อื ใหส้ ตั ว์ตวั เมยี ตั้งท้องแลว้ คลอดลูกออกมาตามปกติ โดยไม่ตอ้ งใหส้ ัตว์ผสม
พันธุ์ตามธรรมชาติ

3.5 การถา่ ยฝากตัวออ่ น
การถ่ายฝากตัวอ่อน (Embryo Transfer) หรือการถ่ายฝากเอ็มบริโอ หมายถึง การนาเอาตัวอ่อน

ที่เกิดจากการผสมพันธรุ์ ะหว่างไข่ของสัตว์แม่พันธ์ุและเชอื้ ตัวผู้ของพ่อพันธ์ุท่ีคัดเลอื กไว้ ซ่ึงล้างเกบ็ ออกมาจาก
มดลูกของแม่พันธุ์ (ตัวให้) แล้วนาไปฝากใส่ไว้ให้เติบโตในมดลูกของตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (ตัวรับ) จนกระท่ังคลอด
ขน้ั ตอนการถา่ ยฝากตัวอ่อน ตวั รบั จะตอ้ งมีสภาพมดลูกพร้อมที่จะรบั การฝังตวั ของตวั อ่อนได้

3.6 การโคลนนงิ่
3.7 ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพต่อสังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม

11

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 5/18, คาบท่ี 13–15/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมีวนิ ยั และความรับผดิ ชอบ
2. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 3
3. แบง่ กลุ่มนกั เรียนเป็นกลุม่ ๆ ละ 5 คน
4. ครนู าเข้าสู่บทเรียน และครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียน
5. ครสู อนเนื้อหาสาระ หัวขอ้ 3.1-3.2
6. นักเรียนทากิจกรรมท่ี 3.1 ขณะนักเรยี นทากิจกรรมครจู ะสังเกตการทางานกลุ่ม
7. ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรม และรว่ มอภปิ รายสรปุ บทเรยี น

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 6/18, คาบท่ี 16-18/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกชื่อสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี นิ ัย และความรบั ผิดชอบ
2. ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น
2.1 ครทู บทวนเนือ้ หาท่เี รียนในคร้ังที่ 4
2.2 ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี น
2.3 นักเรียนจดั กลมุ่ ๆ ละ 5 คน
3. ข้ันสอนเนอ้ื หาสาระขอ้ 3.2
4. นักเรยี นนาเสนอกิจกรรมท่ี 3.1 และแบบฝึกหดั ขณะทากิจกรรมครจู ะสังเกตการทางานกลุ่ม
5. ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรม และร่วมอภปิ รายกบั นกั เรยี น
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 3

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 3, ใบกิจกรรมที่ 3.1, PowerPoint ประกอบการสอน และ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวดั และการประเมินผล
1. แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ

60 ผา่ นเกณฑ์
2. แบบทดสอบหลงั เรียน ต้องไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

12

3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้คะแนน
ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

4. ตรวจกจิ กรรมการทดลอง ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
5. ตรวจแบบฝึกหดั ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานทมี่ อบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝึกหดั ใหเ้ สรจ็ เรยี บร้อย ถกู ต้อง สมบูรณ์

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการทาและนาเสนองานจากกจิ กรรม
2. ผลการทาแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 3
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 3

เอกสารอ้างอิง
1. หนังสือเรียนวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชีพธุรกิจและบรกิ าร (20000-1303)
บริษทั ศนู ย์หนงั สือเมืองไทย จากดั
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่ือสิง่ พมิ พ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม

13

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 4 หนว่ ยท่ี 4

ชื่อวิชา วิทยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาอาชีพธุรกจิ และบรกิ าร (20000- เวลาเรียนรวม 54

1303) คาบ

ชอื่ หน่วย จุลนิ ทรยี ใ์ นอาหาร สอนคร้งั ท่ี 7–8/18

ช่ือเร่ือง จุลินทรีย์ในอาหาร จานวน 6 คาบ

หวั ข้อเร่อื ง

4.1 ความหมายของจลุ นิ ทรีย์ในอาหาร กิจกรรมท่ี 4.1 แบคทีเรยี ในอาหาร

4.2 ประเภทของจุลินทรยี ใ์ นอาหาร กิจกรรมที่ 4.2 ศึกษาลกั ษณะของรา

4.3 ลกั ษณะทั่วไปและโครงสร้างของจลุ ินทรีย์ กจิ กรรมที่ 4.3 ศกึ ษาลกั ษณะของยีสต์

4.4 ความสาคัญของจลุ นิ ทรยี ์ในอาหาร

4.5 แหล่งท่มี าของจุลินทรีย์ซงึ่ ปนเป้อื นในอาหาร

4.6 แหล่งท่ีอยู่อาศัยของจุลินทรีย์ตามธรรมชาติทาง

ชวี ภาพ

แนวคิดสาคญั
จุลินทรีย์ (Microorganism) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีองค์ประกอบทางเคมีคล้ายกับสัตว์ชั้นสูง

สามารถทาให้เกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมี ดารงชีวิตโดยใช้อาหารอย่างง่าย ๆ เช่น เกลืออนินทรีย์อย่างเดียว หรือ
ผสมกับน้าตาลเฮกโซส (Hexose) ทาให้เจริญเพิ่มจานวนข้ึนได้อย่างรวดเร็ว จุลินทรีย์มีหลายชนิด
มคี ณุ สมบัติต่างกัน เชน่ สว่ นประกอบทางเคมี และอัตราการเพมิ่ จานวน เป็นตน้ ถึงแมว้ า่ จุลนิ ทรยี จ์ ะอยู่ในกลุ่ม
เดียวกนั ก็ยังมคี วามแตกต่างกนั

สมรรถนะย่อย
แสดงความร้แู ละปฏิบตั ิเก่ยี วกับจลุ ินทรยี ใ์ นอาหาร

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของจลุ นิ ทรยี ใ์ นอาหารได้
2. บอกประเภทของจุลินทรีย์ในอาหารได้
3. อธบิ ายลักษณะท่วั ไปและโครงสร้างของจลุ นิ ทรียไ์ ด้
4. อธิบายความสาคญั ของจลุ นิ ทรยี ์ในอาหารได้
5. บอกแหล่งทมี่ าของจลุ ินทรีย์ซง่ึ ปนเป้ือนในอาหารได้
6. บอกแหล่งที่อยู่อาศัยของจุลนิ ทรยี ต์ ามธรรมชาตทิ างชวี ภาพได้

14

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไมห่ ยดนิ่งท่จี ะแก้ปญั หา ความซ่ือสัตย์ ความ

รว่ มมอื ใชอ้ ุปกรณท์ ดลองอย่างฉลาดและรอบคอบ

เนอื้ หาสาระ
4.1 ความหมายของจลุ ินทรยี ์ในอาหาร
จลุ ินทรยี ์วิทยา (Microbiology) เป็นวิชาที่ศึกษาเก่ียวกับสง่ิ มีชวี ิตขนาดเล็กซึ่งมองด้วยตาเปล่าไม่

เห็นต้องมองด้วยกล้องจุลทรรศน์ สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เหล่าน้ี เรียกว่า “จุลินทรีย์” ประกอบด้วยส่ิงมีชีวิต
5 กลุ่ม คือ แบคทเี รยี (Bacteria) ไวรสั (Virus) ฟงั ไจ (Fungi) โปรโตซัว (Protozoa) และสาหร่าย (Algae)

4.2 ประเภทของจุลนิ ทรีย์ในอาหาร
จุลนิ ทรีย์ทม่ี คี วามสาคัญด้านอาหาร แบ่งได้เปน็ 3 พวกใหญ่ ๆ คือ แบคทีเรยี รา และยีสต์

4.3 ลกั ษณะทัว่ ไปและโครงสรา้ งของจุลนิ ทรีย์
4.3.1 แบคทีเรยี (Bacteria)
4.3.2 รา (Mold)
4.3.3 ยสี ต์ (Yeast)

4.4 ความสาคัญของจลุ ินทรยี ใ์ นอาหาร
4.4.1 จุลนิ ทรยี ท์ าใหอ้ าหารเกดิ การเนา่ เสยี
4.4.2 จลุ ินทรีย์ทาใหอ้ าหารเปน็ พษิ
4.4.3 จลุ ินทรยี ์ทาให้เกิดผลิตภณั ฑอ์ าหาร
4.4.4 จลุ นิ ทรียเ์ ปน็ อาหารโดยตรง
4.4.5 จลุ นิ ทรยี เ์ ปน็ ดัชนีคณุ ภาพอาหาร

4.5 แหล่งทม่ี าของจุลินทรยี ซ์ ่ึงปนเปือ้ นในอาหาร
4.5.1 ดินและนา้ (Soil and Water)
4.5.2 อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการประกอบอาหาร (Equipment used for Cooking)
4.5.3 จุลินทรียท์ ่ีอยู่ในลาไสข้ องมนุษย์หรือสตั ว์
ฯลฯ

4.6 แหลง่ ท่อี ยอู่ าศัยของจุลินทรยี ต์ ามธรรมชาตทิ างชวี ภาพ
4.6.1 จุลนิ ทรียใ์ นพืช (Microbial Flora)
4.6.2 จุลนิ ทรีย์ในสัตว์ (Bacteria in Animals)
4.6.3 จลุ นิ ทรยี ใ์ นคน (Bacteria in Humans)

15

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 7/18, คาบท่ี 19–21/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมีวนิ ัย และความรับผดิ ชอบ
2. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 4
3. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นเปน็ กลุม่ ๆ ละ 5 คน
4. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียน และครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียน
5. ครสู อนเน้อื หาสาระ หวั ขอ้ 4.1-4.3
6. นกั เรยี นทากิจกรรมท่ี 4.1-4.3 ขณะนักเรยี นทากิจกรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุม่
7. ครูและนักเรยี นรว่ มกันเฉลยกจิ กรรม และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 8/18, คาบท่ี 22-24/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี นิ ยั และความรับผดิ ชอบ
2. ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น
2.1 ครทู บทวนเนอื้ หาทีเ่ รยี นในครงั้ ที่ 7
2.2 ครแู จ้งจุดประสงค์การเรียน
2.3 นักเรียนจดั กล่มุ ๆ ละ 5 คน
3. ขน้ั สอนเน้อื หาสาระข้อ 4.3-4.6
4. นกั เรียนทากจิ กรรมที่ 4.3 ขณะนักเรยี นทากิจกรรมครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม
5. ข้นั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภปิ รายกับนักเรยี น
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 4

ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 4. ใบกิจกรรมท่ี 4.1-4.3, PowerPoint ประกอบการสอน

และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวัดและการประเมินผล
1. แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ

60 ผา่ นเกณฑ์
2. แบบทดสอบหลังเรยี น ต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

16

3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้คะแนน
ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

4. ตรวจกิจกรรมการทดลอง ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
5. ตรวจแบบฝึกหัด ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานทมี่ อบหมาย
งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝกึ หัดให้เสรจ็ เรียบรอ้ ย สมบรู ณ์

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน
1. ผลการทาและนาเสนองานจากกิจกรรม
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 4
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 4

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สอื เรยี นวิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาอาชพี ธุรกจิ และบรกิ าร (2000–1303)
บริษทั ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั
2. เวบ็ ไซต์และสือ่ สง่ิ พิมพท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

17

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 5 หน่วยที่ 5

ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชพี ธรุ กิจและบริการ (20000- เวลาเรียนรวม 54

1303) คาบ

ชื่อหน่วย ปิโตรเลยี มและผลิตภณั ฑ์ สอนครัง้ ท่ี 8–9/18

ช่อื เรื่อง ปิโตรเลยี มและผลติ ภณั ฑ์ จานวน 6 คาบ

หัวข้อเร่อื ง กิจกรรมที่ 5.1 ปิโตรเลียมกบั เศรษฐกิจและสงั คม
5.1 ความหมายของปิโตรเลียม กจิ กรรมท่ี 5.2 ผลกระทบทเ่ี กิดจากการขนสง่
5.2 การกาเนิดปิโตรเลยี ม
5.3 ผลิตภัณฑ์จากการกลนั่ นา้ มนั ปิโตรเลียม นา้ มันดบิ
5.4 แก๊สธรรมชาติ
5.5 ผลติ ภัณฑ์ท่ไี ด้จากปิโตรเลยี ม

แนวคิดสาคญั
ปิโตรเลียม (Petroleum) เปน็ ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ คี ุณค่าทางเศรษฐกจิ เป็นแหล่งพลังงานฟอสซลิ ท่ี

สาคัญ และเป็นวตั ถุดิบในการผลิตเชอ้ื เพลงิ ทใ่ี ชใ้ นรถยนตแ์ ละน้ามันหล่อล่นื ในเครือ่ งจกั รกล นอกจากนย้ี งั
สามารถนามาปรบั เปล่ียนหรอื แปรรปู เปน็ วตั ถุดบิ ในอุตสาหกรรม เชน่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและปยุ๋ เคมี เป็น
ต้น อุตสาหกรรมดังกล่าวทาใหเ้ กิดการพัฒนาด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่เปน็ ประโยชน์
ในการดารงชีวิต

สมรรถนะย่อย
แสดงความรแู้ ละปฏิบตั เิ กยี่ วกบั ปโิ ตรเลยี ม

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ดา้ นทกั ษะ
ดา้ นความรู้

1. อธิบายความหมายของปิโตรเลียมและการเกิดปโิ ตรเลียมได้
2. อธิบายขน้ั ตอนการกล่นั น้ามนั ดบิ ได้
3. ยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ปิโตรเลยี มได้
4. อธบิ ายการเกดิ แกส๊ ธรรมชาติและประโยชนข์ องแก๊สธรรมชาติได้
5. ยกตัวอยา่ งเชื้อเพลิงท่ใี ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้

18

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไมห่ ยดน่งิ ท่ีจะแกป้ ัญหา ความซ่ือสัตย์ ความ

รว่ มมอื

เน้อื หาสาระ
5.1 ความหมายของปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม (Petroleum) มาจากภาษาลาติน 2 คา คือ เพตรา (Petra) แปลว่า หิน และโอเลียม

(Oleum) แปลว่า น้ามัน รวมความแล้วหมายถึง น้ามันท่ีได้จากหิน ตามคานิยาม ปิโตรเลียม หมายถึง
สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีธาตุเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่ คาร์บอนและไฮโดรเจน โดย
อาจมีธาตุโลหะชนิดอื่น เช่น กามะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจนปนอยู่ด้วย ปิโตรเลียมในธรรมชาติ
มสี ถานะเปน็ น้ามันดบิ (Crude Oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural)

5.2 การกาเนิดปโิ ตรเลยี ม
ปิโตรเลียมเกิดจากส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ท้ังบนบกและในทะเลเป็นเวลาหลายล้านปี เมื่อส่ิงมีชีวิต

เหล่าน้ีตายลงจะเน่าเปื่อยผุพังและย่อยสลายไป แต่ในสภาพแวดล้อมท่ีออกซิเจนน้อยซากสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ี
จะถูกแปรเปลี่ยนเป็นสารอินทรีย์สะสมตัวอยู่กับตะกอนดินเลน ในเวลาต่อมาเม่ือผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง
สว่ นของช้ันตะกอนจะถูกทับถมและค่อย ๆ จมลงจนแข็งตัวเป็นหิน อิทธิพลของความร้อนและความดันภายใต้
ผวิ โลกทาให้เกดิ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสารอินทรียจ์ นกลายเป็นปิโตรเลียมในท่ีสุด ปิโตรเลียมท่ีเกิดข้ึน
จะเคล่ือนย้ายจากแหล่งกาเนดิ ผ่านไปสู่ชัน้ หินท่ีมีรพู รนุ ในบริเวณทมี่ ีความร้อนและความกดดันต่ากวา่ และมชี ั้น
หินเน้อื ละเอยี ดปดิ กัน้ ไวท้ าใหเ้ กิดเปน็ แหล่งปโิ ตรเลียม

5.3 ผลติ ภณั ฑ์จากการกลัน่ น้ามันปิโตรเลียม
5.3.1 การกลน่ั นา้ มนั ดิบ
5.3.2 ประโยชน์ของผลติ ภณั ฑ์จากการกลัน่ นา้ มันปโิ ตรเลียม

5.4 แก๊สธรรมชาติ
ประเภทของแก๊สธรรมชาติแบง่ ออกได้ 2 ชนิด คอื แก๊สธรรมชาตแิ หง้ และแกส๊ ธรรมชาติช้ืนหรอื เปียก
5.4.1 ส่วนประกอบของแกส๊ ธรรมชาติ (Component of Natural Gas)
5.4.2 ประโยชน์ของแก๊สธรรมชาติ

5.5 ผลิตภณั ฑ์ท่ีได้จากปิโตรเลยี ม
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมมีองค์ประกอบของธาตุคาร์บอน (C) และธาตไุ ฮโดรเจน (H) เมื่อถูกเผาไหม้จะ

ทาปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจนให้น้ากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานความร้อนท่ีได้จะมากหรือน้อย
ขน้ึ อย่กู ับชนดิ ของเช้ือเพลิง เช้ือเพลงิ ทีน่ ามาใช้ประโยชนแ์ บ่งได้ 3 ชนดิ

1) เชือ้ เพลิงแขง็ 2) เชือ้ เพลิงเหลว 3) เชื้อเพลิงแกส๊

19

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 8/18, คาบที่ 22–24/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี นิ ัย และความรับผดิ ชอบ
2. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 5
3. แบง่ กลุ่มนักเรยี นเป็นกลุ่มๆ ละ 5 คน
4. ครนู าเข้าสบู่ ทเรียน และครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรยี น
5. ครสู อนเนือ้ หาสาระ หัวข้อ 5.1-5.2
6. นักเรยี นทากิจกรรมที่ 5.1 ขณะนักเรียนทากจิ กรรมครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม
7. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 9/18, คาบท่ี 25-27/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมีวนิ ัย และความรบั ผดิ ชอบ
2. ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
2.1 ครทู บทวนเน้อื หาทีเ่ รียนในครงั้ ที่ 8
2.2 ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี น
2.3 นกั เรียนจดั กลุ่ม ๆ ละ 5 คน
3. ข้นั สอนเน้ือหาสาระข้อ 5.3-5.4
4. นักเรยี นทากิจกรรมที่ 5.2 ขณะนกั เรยี นทากิจกรรมครูจะสงั เกตการทางานกลุ่ม
5. ขนั้ สรุป ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรม และร่วมอภิปรายกับนกั เรยี น
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 5

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 5. ใบกิจกรรมท่ี 5.1-5.2, PowerPoint ประกอบการสอน

และแบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวัดและการประเมินผล
1. แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ

60 ผา่ นเกณฑ์
2. แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

20

3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้คะแนน
ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

4. ตรวจกิจกรรมการทดลอง ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
5. ตรวจแบบฝึกหดั ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหท้ าแบบฝึกหัดใหเ้ สรจ็ เรียบร้อย สมบูรณ์

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเร็จของผูเ้ รียน
1. ผลการทาและนาเสนองานจากกิจกรรมการทดลอง
2. ผลการทาแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 5
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 5

เอกสารอา้ งอิง
1. หนงั สอื เรียนวิชา วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชีพธรุ กจิ และบริการ (20000-1303)
บริษทั ศนู ย์หนังสือเมืองไทย จากดั
2. เวบ็ ไซตแ์ ละสื่อส่ิงพิมพท์ เ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

21

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 หน่วยที่ 6

ช่ือวิชา วิทยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชีพธรุ กิจและบริการ (20000- เวลาเรียนรวม 54

1303) คาบ

ช่อื หน่วย พอลิเมอร์และผลติ ภัณฑ์ยาง สอนคร้ังท่ี 11–

12/18

ชื่อเรื่อง พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ยาง จานวน 6 คาบ

หัวข้อเรือ่ ง

6.1 ความหมายของพอลเิ มอร์ กจิ กรรมท่ี 6.1 การสลายตวั ของพลาสติก

6.2 ประเภทของพอลเิ มอร์ กจิ กรรมท่ี 6.2 การทาเส้นใยสงั เคราะห์

6.3 ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ กิจกรรมที่ 6.3 การทายางในประเทศไทย
6.4 โครงสร้างและคณุ สมบตั ิของพอลเิ มอร์ กจิ กรรมท่ี 6.4 การทดสอลพลาสติกรไี ซเคลิ
6.5 ผลติ ภัณฑจ์ ากพอลเิ มอร์

6.6 ผลิตภณั ฑ์จากยาง

6.7 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิ

เมอรส์ ังเคราะห์

6.8 การกาจดั พลาสติก

แนวคดิ สาคญั

ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ในชีวิตประจาวนั ประเภทพลาสติกชนดิ ตา่ ง ๆ เช่น ถุงและภาชนะใส่อาหาร ขวด เคร่ืองใช้
ในครัวเรือน อุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์ภายในส่วนประกอบของรถยนต์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ นอกจาก
พลาสติกแล้วยังมีเส้นใยท่ีได้จากธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ เช่น เส้นใย ไนลอน เส้นใย
พอลิเอสเทอร์ และเส้นใยอะคริลิก ต่างเป็นสารพอลิเมอร์ นอกจากน้ีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ทาให้มีการนาพอลิเมอร์มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบและใช้เป็นวัสดุแทนไม้ โลหะ และแก้ว
ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้และปฏิบตั เิ กี่ยวกับผลติ ภัณฑ์ยางและพอลเิ มอร์

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 22
ดา้ นทักษะ
ด้านความรู้
1. อธิบายความหมายและสมบตั ิของพอลิเมอร์ได้
2. จาแนกประเภทของพอลเิ มอร์ได้
3. อธบิ ายปฏกิ ริ ิยาการเกิดพอลิเมอรไ์ ด้
4. อธิบายลักษณะโครงสรา้ งและสมบัตขิ องพอลเิ มอรไ์ ด้
5. ยกตัวอยา่ งผลติ ภณั ฑ์ยางและพอลเิ มอรไ์ ด้

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไมห่ ยดนิ่งท่ีจะแก้ปัญหา ความซ่อื สัตย์

ความรว่ มมอื ชว่ ยเหลือเกื้อกูล

เนื้อหาสาระ
6.1 ความหมายของพอลเิ มอร์
พอลิเมอร์ (Polymer) หมายถึง สารท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ่ เกิดจากโมเลกุลพ้ืนฐานเรียกว่า

มอนอเมอร์ (Monomer) จานวนมากเช่ือมต่อกันด้วยพันธะโควาเลนต์ พอลิเมอร์ท่ีประกอบด้วยมอนอเมอร์
ชนิดเดียวกันเรียกว่า โฮโมพอลิเมอร์ เช่น พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) แต่บางชนิดมีมอนอเมอร์หลายชนิด
เรยี กว่า โคพอลิเมอร์หรอื พอลิเมอรร์ ่วม เชน่ ไนลอน เปน็ ต้น

6.2 ประเภทของพอลเิ มอร์
6.2.1 การแบ่งประเภทของพอลิเมอรต์ ามแหล่งกาเนดิ
6.2.2 การแบ่งประเภทของพอลิเมอร์ตามส่วนประกอบ

6.3 ปฏิกิรยิ าการเกดิ พอลิเมอร์
6.3.1 ปฏิกริ ิยาพอลิเมอรไ์ รเซชันแบบเตมิ (Addition Polymerization Reaction)
6.3.2 ปฏิกริ ยิ าพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแนน่ (Condensation Polymerization Reaction)

6.4 โครงสรา้ งและคณุ สมบัตขิ องพอลเิ มอร์
6.4.1 พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain Length Polymer)
6.4.2 พอลิเมอร์แบบก่ิง (Branched Polymer)
6.4.3 พอลิเมอรแ์ บบร่างแห (Cross–linking Polymer)

6.5 ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
พลาสตกิ (Plastic) เส้นใย (Fibers) และยาง (Rubber)

6.6 ผลิตภัณฑ์จากยาง ยางพาราที่ผลิตได้แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยาง
เครป ยางผ่ึงแห้ง และน้ายางขน้

23

6.7 ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยขี องผลิตภณั ฑ์พอลิเมอรส์ ังเคราะห์
ด้านการแพทย์ (Medical) ใช้พอลิเมอร์พอลิไวนิลคลอไรด์ผลิตถุงใส่เลือดและเส้นเลือดเทียม

ส่วนพอลิเอทลิ นี ใชท้ าฟนั ปลอม ล้นิ หัวใจ กระเพาะปัสสาวะ และท่อนา้ ดี เปน็ ตน้
ด้านการเกษตร (Agriculture) ใช้พอลิเมอร์พอลิไวนิลคลอไรด์ผลิตพลาสติกคลุมดินเพื่อรักษา

ความชุ่มช้ืนและป้องกันการถูกทาลายของผิวดิน ทาตาข่ายกันแมลงสาหรับการปลูกผักปลอดสารพิษ
ส่วนพอลเิ มอร์ พอลเิ อทลิ ีนใชป้ พู ้นื บ่อน้า เป็นตน้

6.8 การกาจดั พลาสตกิ

กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 11/18, คาบที่ 31–33/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกชื่อสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี ินยั และความรับผิดชอบ
2. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 6
3. แบ่งกลุ่มนักเรยี นเปน็ กลุม่ ๆ ละ 5 คน
4. ครนู าเข้าส่บู ทเรียน และครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียน
5. ครสู อนเนือ้ หาสาระ หัวข้อ 6.1-6.4
6. นกั เรียนทากจิ กรรมท่ี 6.1-6.2 ขณะนักเรียนทากิจกรรมครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม
7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรม และรว่ มอภปิ รายสรุปบทเรยี น

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 12/18, คาบท่ี 34-36/54)
1. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสารวจการแต่งกายพร้อมบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี ินัย และความรับผดิ ชอบ
2. ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
2.1 ครทู บทวนเนอ้ื หาทเี่ รยี นในครง้ั ท่ี 11
2.2 ครูแจง้ จุดประสงค์การเรยี น
2.3 นกั เรยี นจดั กล่มุ ๆ ละ 5 คน
3. ข้นั สอนเนือ้ หาสาระขอ้ 6.5-6.8
4. นักเรยี นทากิจกรรมที่ 6.3-6.4 ขณะนักเรียนทากจิ กรรมครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่
5. ข้ันสรปุ ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรม และร่วมอภปิ รายกบั นกั เรียน
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 6

ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้
1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 6. ใบกิจกรรมที่ 6.1-6.4, PowerPoint ประกอบการสอน

และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น

24

2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต
www.google.com

การวดั และการประเมินผล
1. แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ

60 ผ่านเกณฑ์
2. แบบทดสอบหลังเรยี น ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้คะแนน

ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
4. ตรวจกิจกรรมการทดลอง ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
5. ตรวจแบบฝึกหัด ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานทีม่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหท้ าแบบฝึกหัดใหเ้ สรจ็ เรียบร้อย สมบูรณ์

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการทาและนาเสนองานจากกิจกรรม
2. ผลการทาแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 6
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 6

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสอื เรียนวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาอาชีพธรุ กจิ และบรกิ าร (2000–1303)
บรษิ ัทศนู ย์หนงั สอื เมืองไทย จากัด
2. เว็บไซต์และสื่อสง่ิ พิมพท์ เี่ ก่ียวขอ้ งกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม

25

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 7 หน่วยท่ี 7

ช่อื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาอาชีพธรุ กจิ และบรกิ าร (20000- เวลาเรยี นรวม 54

1303) คาบ

ช่ือหน่วย ไฟฟ้าในชีวิตประจาวนั สอนคร้ังท่ี 13–

15/18

ชื่อเรื่อง หนว่ ย ไฟฟา้ ในชีวิตประจาวนั จานวน 9 คาบ

หัวข้อเรอื่ ง กจิ กรรมท่ี 7.1 การต่อวงจรไฟฟ้า
7.1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับไฟฟา้ กิจกรรมท่ี 7.2 กาลังไฟฟ้า
7.2 ประเภทของไฟฟา้ และแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า กจิ กรรมที่ 7.3 ไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน
7.3 การส่งจ่ายกาลังไฟฟ้า
7.4 วงจรไฟฟ้าในบ้านและอาคาร
7.5 กาลังไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟ้า
7.6 ประเภทเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าในชวี ติ

ประจาวนั

แนวคดิ สาคญั
ไฟฟ้าเป็นพลังงานชนิดหนึ่งท่ีเปลี่ยนรูปมาจากพลังงานอื่น ๆ เช่น พลังงานน้า พลังงานลม พลังงานเคมี

พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น ประเทศไทยมีไฟฟ้าใช้เป็นคร้งั แรกเมื่อ 20 กันยายน พ.ศ. 2427 ในสมัยรัชกาลท่ี 5
มีการติดตั้งเคร่ืองกาเนิดไฟ ฟ้ า เดินสายไฟ ฟ้า และติดตั้งโคมไฟ ฟ้า โดยใช้บริเวณ กระทรวง–
กลาโหมในปัจจุบันเป็นโรงผลิตไฟฟ้า จากน้ันการไฟฟ้าในประเทศไทยได้มีการพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน
พบว่าพลงั งานที่เปลี่ยนรปู ไปเป็นไฟฟ้าส่วนใหญ่ได้มาจากแก๊สธรรมชาติ และพลังงานนา้ ท่ีไดม้ าจากเขื่อนตา่ ง ๆ
สามารถผลติ ไฟฟา้ ได้เพียง 4.7% เท่านนั้

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกีย่ วกบั ไฟฟ้าในชีวิตประจาวนั ประเภท วงจรไฟฟา้ และอปุ กรณ์ไฟฟา้ ตามหลกั การ

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกับไฟฟ้าและแหลง่ กาเนดิ ต่าง ๆ ได้
2. คานวณการใช้พลังงานไฟฟา้ ได้
3. อธบิ ายและทดลองต่อวงจรไฟฟา้ อย่างง่ายภายในบ้านได้
4. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ได้

26

5. อธิบายหลักการใช้และการประหยดั พลงั งานของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ต่าง ๆ ได้

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่หยดน่ิงท่ีจะแกป้ ัญหา ความซ่ือสัตย์ ความ

ร่วมมือ

เนื้อหาสาระ
ไฟฟ้าเป็นสิ่งที่จาเป็นและมีอิทธิพลมากในชีวิตประจาวัน เราสามารถนาไฟฟ้ามาใช้ประโยชน์ในด้าน

ต่าง ๆ เช่น ด้านแสงสว่าง ด้านความร้อน ด้านพลังงาน และด้านเสียง เป็นต้น การเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าจึงมี
ความจาเป็นอย่างยิ่งเพ่ือให้สามารถใช้ไฟฟ้าได้อย่างประหยัดและไม่เกิดอันตราย ใช้อย่างระมัดระวัง ต้องรู้
วิธีการป้องกนั ที่ถกู ต้อง ในทนี่ ้จี ะขอกล่าวถึงประเภทของไฟฟ้า และอุปกรณไ์ ฟฟ้าในชีวิตประจาวนั ท่คี วรจะรจู้ ัก

ความร้เู บ้ืองต้นเกย่ี วกบั ไฟฟา้
ไฟฟ้าเป็นพลังงานชนิดหน่ึงท่ีเปล่ียนรูปมาจากพลังงานอื่น ๆ เช่น พลังงานน้า พลังงานลม พลังงานเคมี
พลังงานแสงอาทิตย์ เปน็ ต้น ประเทศไทยมีไฟฟ้าใช้เปน็ คร้ังแรกเมื่อ 20 กันยายน พ.ศ. 2427 ในรชั สมัยรชั กาล
ที่ 5 มีการติดต้ังเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า เดินสายไฟฟ้าและติดตั้งโคมไฟฟ้า โดยใช้บริเวณ กระทรวง
กลาโหมในปัจจบุ นั เป็นโรงผลิตไฟฟ้า จากนั้นการไฟฟ้าในประเทศไทยไดม้ ีการพฒั นามาจนถึงปัจจุบัน จะพบว่า
พลังงานท่ีเปลี่ยนรปู ไปเป็นไฟฟ้าส่วนใหญ่ได้มาจากแก๊สธรรมชาติ พลังงานน้าท่ีได้มาจากเข่ือนต่าง ๆ สามารถ
ผลิตไฟฟ้าได้เพียง 4.7% เท่านัน้

ประเภทของไฟฟ้าและแหล่งกาเนิด
1. ไฟฟา้ สถิต
2. ไฟฟา้ กระแส แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื

(1) ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current หรือ DC) ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลไป
ทางเดยี วตลอดระยะเวลาทีว่ งจรไฟฟ้าปิด

(2) ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current หรือ AC) ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้าท่ีมีการไหล
กลับไปกลับมา ทง้ั ขนาดของกระแสและแรงดนั ไม่คงที่ เปล่ยี นแปลงอยูเ่ สมอ

การกาเนดิ ของไฟฟา้

1. ไฟฟ้าท่ีเกิดจากการเสียดสีของวัตถุ เป็นไฟฟ้าท่ีเกิดข้ึนจากการนาวัตถุต่างกัน 2 ชนิดมาขัดสี
กัน เช่น แผน่ พลาสตกิ กบั ผา้ หวีกับผม

2. ไฟฟ้าทเ่ี กดิ จากการทาปฏกิ ิริยาทางเคมี โดยการนาโลหะ 2 ชนดิ ท่ีแตกต่างกันตัวอยา่ ง สังกะสี
กับทองแดงจุ่มลงในสารละลาย โลหะทั้งสองจะทาปฏิกิริยาเคมีกับสารละลายทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า เช่น
แบตเตอรี่ ถา่ นอัลคาไลน์ (ถ่านไฟฉาย)


Click to View FlipBook Version