The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลับมารู้สึกตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iampowerpink, 2022-03-28 10:03:51

กลับมารู้สึกตัว

กลับมารู้สึกตัว

Keywords: เจริญสติ,วิปัสสนา,ครรชิต,พุทธศาสนา

กลับมารู้สึกตัว

พระอาจารย์ ครรชิต อกิญจโน

2

“สุดท้ายเราอาจวางได้จนถึงทีสดุ ถ้าตังใจปฏิบตั ิดีๆแล้วมีสติคอย
เฝาดขู ณะทีเรากําลังจะหลับแล้วก็เหน็ ต้องเรยี นรูเ้ หมือนอยา่ งที
พระอาจารยบ์ อกพระทีวัดว่า “ซอ้ มตาย” ก็ไมแ่ นน่ ะเราอาจเปน
ผูท้ ีปล่อยวางได้ถึงทีสุดในขณะทีลมหายใจเฮือกสุดท้ายของเรา
จบลงก็ได้”

3

คําอนุโมทนา

พระอธิการครรชติ อกิ ฺจโน
วัดวีรวงศาราม
ต.นาฝาย อ.เมอื ง จ.ชัยภมู ิ
๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘

4

คํานิยม

รูจ้ ักพระอาจารยค์ รรชิตจากสภาวะธรรม เราก็เปนศษิ ย์ทีครูสอนมา เรา
ก็สอนผู้อืนตามทีครูสงั สอน ผู้ทีสอนก็ทําตามคําสอน ก็ได้ฟงคําพูดจาก
ผู้ทีสอนพดู ใหฟ้ งอันเกิดจากการปฏิบตั ินัน เราก็รูว้ ่าผดิ ถูกอยา่ งไร ก็
บอกใหแ้ ก่ผู้ปฏิบัติฟง ถ้าผิดก็ใหแ้ ก้ไขเอาเองถ้าถูกก็ทําไป ผ้ปู ฏิบัติก็จะ
รูเ้ อง ทําเอง ได้ประสบการณ์เอง ก็จะรูธ้ รรมทีควรรูค้ วรเห็นตามสมควร
แก่ผู้ปฏิบตั ิ

พระอาจารยค์ รรชติ ท่านก็พดู ใหฟ้ งจากสภาวธรรมทีท่านรู้ท่านเหน็
สภาวธรรมทีเปนสจั ธรรมต้องเปนอันเดียวกัน นเี ราก็รูจ้ ักพระอาจารย์
ครรชิตด้วยสภาวธรรมเชน่ นี

สภาวธรรมทีท่านพูดให้ฟงนนั ท่านก็สอนผู้อืนตามทีท่านพูดใหเ้ ราฟง
การสอนธรรมการปฏิบัติธรรมของท่านกลายมาเปนหนังสอื เล่มนี
สมควรแก่การศกึ ษาแก่ผู้แสวงหาธรรมอันเปนสัจจะและหนงั สือเล่มนี
ยังเปนเรอื งทีท่านพดู ใหเ้ ราฟง และยังมกี ารทําให้ดู สัมผัสได้จนถึงวันนี
ยงั คงเส้นคงวาเสมอมา

ท่านพูดท่านสอนอยา่ งไร
เราก็พูดก็สอนอยา่ งท่าน

ขออนุโมทนาด้วยพระอาจารยค์ รรชิต ทีมคี วามตังใจพากเพยี รสงั สอน
ผู้อืนมานานจนมาถึงบดั นี และจงเพียรสอนต่อไปก็จะเกิดกศุ ลรว่ มกัน
ทุกถ้วนหน้าและยิงๆ ขึนไปนันเทอญ

หลวงพอ่ คําเขียน สวุ ณฺโณ
วัดปาสุคะโต
ท่ามะไฟหวาน ชยั ภูมิ

5

6

สารบญั

คํานยิ ม
บทนาํ
๑. จังหวะสละทกุ ข์
๒. ตังใจคิดกับหลงคิด
๓. เหน็ อยา่ เปน
๔. เจริญสติดียอ่ มมีทีอาศยั ชดั เจน
๕. รู้แล้ววางยอ่ มถึงทางพน้ ทกุ ข์
๖.ทําสบาย ๆ ใหต้ ่อเนอื ง
๗. รูส้ กึ ตัวเปนมรรคพล
๘. สร้างรอ่ งรอยเอาไว้
๙. ทิฏฐสิ มบูรณไ์ ร้อุปาทาน
๑๐.อานสิ งส์ของการเจรญิ สติ
๑๑.ยดึ มนั สาํ คัญหมายเปนทุกข์
๑๒. รอ่ งรอยการดับทุกข์
๑๓. ธรรมะเปนทีพึงได้จรงิ
๑๔. เกียวเนอื งด้วยเหตปุ จจัย
๑๕. ยอ่ มรูไ้ ด้ด้วยตัวเอง
๑๖. สติทีรูท้ ัน
๑๗. กลับมา…รูส้ กึ ตัว

7

บทนํา

เจรญิ พร ท่านผเู้ ขา้ รว่ มอบรมทกุ ท่าน หลายท่านคงเคยนังสมาธิ
และปฏิบตั ิธรรมกันมาบา้ งแล้วในหลากหลายรูปแบบ ซงึ นันก็บง่
บอกว่าท่านเปนผูใ้ ฝในการศกึ ษาอันเปนคุณสมบตั ิของผ้ไู ด้สงั สม
บารมีมาก่อน จึงได้มโี อกาสในการทํากิจเหล่านี แนน่ อนว่าใน
ความแตกต่างของวิธกี ารก็อาจจะทําใหผ้ ลการปฏิบัติทีแตกต่าง
บางวิธกี ็อาจทําใหเ้ รารูส้ ึกว่าจิตของเรานิงสงบ บางวิธอี าจทําให้
เราสมั ผสั ได้ถึงความตืนรู้ บางวิธีอาจใช้การกําหนดรู้ลมหายใจ
เข้าออก บางวิธีอาจใช้การกําหนดกับคําบรกิ รรม แต่ทีพระ
อาจารยจ์ ะสอนพวกเราในวันนีคือการเจริญสติด้วยการ
เคลือนไหวตามแนวทางการปฏิบตั ิของหลวงปูเทียน จิตตฺ สุโภ ซงึ
เปนการปฏิบตั ิตามหลักการสติปฏฐานด้วยการตังอารมณ์
กรรมฐาน ผา่ นการยกมอื สร้างจังหวะ ๑๔ จังหวะ ในขณะทีเรา
ฟงพระอาจารยพ์ ดู อยูน่ ีจิตใจเราเปนอยา่ งไร เฉยๆ แล้วเรารูไ้ หม
แล้วถ้าลองเอามอื ไว้ข้างหลังแล้วกํามอื เรารู้ไหมว่ากํามอื แบมอื
เรารูว้ ่าไหมว่าแบมอื เห็นไหมว่าเรารูว้ ่าเราทําอยา่ งนันโดยทีเรา
ไมต่ ้องมองเหน็ มอื ของเราด้วยซาเพราะมนั ไมไ่ ด้อาศยั การรู้ด้วย
ตาแต่มันอาศัยรู้ด้วยอะไรบางอยา่ งทีเกิดขนึ จากภายในใชห่ รือไม่

เอาล่ะ คราวนีเรามาทําการสรา้ งจังหวะโดยการตังอารมณ์
กรรมฐาน ๑๔ จังหวะ โดยการใชเ้ จตนาในการทํา เจตนาในการ
เคลือนไหว ใหเ้ รา “รบั รู้” ไปกับการเคลือนไหวของมือ

เอาล่ะ ทีนีเรามาลองทํากัน ใหเ้ ราใสค่ วามตังใจในการเคลือนไหว
มือในแต่ละครงั แต่ละจังหวะ ทําไปเรอื ยๆ แล้วก็อยา่ ลืมสงั เกตใจ
ของเราด้วยว่าเปนอยา่ งไร การสรา้ งจังหวะไมม่ ีจังหวะตายตัว

8

จะทุกคนมีจังหวะของตัวเอง โดยใชก้ ารรู้สกึ กับการเคลือนไหวที
ชดั เปนตัวชวี ัดว่าประมาณไหน เอาล่ะ มาลองทํากันดู

9
ทําซาต่อไปเรือยๆ ใหร้ ูส้ กึ

10

๑. จังหวะสละทกุ ข์

ขณะนีเรามายกมอื สร้างจังหวะกัน ขณะทีเรามาปฏิบตั ิก็มกี าร
ปวดการเมอื ยเราควรจะมกี ารเปลียนอิริยาบถ เพอื การปฏิบตั ิ
ของเราจะได้เกิดความต่อเนอื ง ก่อนทีจะเข้าสกู่ ารเดินจงกรม
มาทวนกันนดิ นงึ ในบทนาํ พระอาจารย์ได้ใหพ้ วกเราตังอารมณ์
กรรมฐาน ๑๔ จังหวะ ด้วยการใช้เจตนาในการทํา เจตนากับการ
เคลือนไหวทําใหจ้ ิตไปอยูท่ ีตรงนัน รู้ได้อยา่ งไรว่ามนั อยู่ รูไ้ ด้
เพราะมันรู้ เพราะธรรมชาติของจิต คือ ธาตรุ ู้ เมืออยูก่ ับสิงใดเขา
ก็จะรู้กับสิงนนั เพราะฉะนนั ขณะทีเราตังใจยกมือสรา้ งจังหวะ
เราจะรู้ทันทีว่ามอื ของเราเคลือนไหว แล้วพระอาจารยก์ ็สอน
พวกเราเกียวกับจิตทอี ยูใ่ นอารมณ์กรรมฐาน กับหลงออกจาก
อารมณ์กรรมฐานมันมอี ยูจ่ รงิ ใช่หรอื ไม่ ในขณะทีมนั รู้อยูใ่ นสงิ
ทีตนเองทํานันแปลว่ามันอยูใ่ นอารมณ์กรรมฐานนนั ๆ อีกขณะ
หนงึ แทนทีมันจะรูใ้ นสิงทีตนเองทํามันกลับไปรู้อยา่ งอืน เราจะใช้
คําว่า “มันหลง” ขอใหเ้ ข้าใจตามนีก่อนว่าการรูอ้ ยูก่ ับอารมณ์
กรรมฐานแปลว่า “มันรูอ้ ยู”่ และการทีออกไปรู้อยา่ งอืนทีไมใ่ ช่
สิงทีเรากําหนดแปลว่า “มนั หลง” เพือใหแ้ ยกแยะระหว่างความ
รู้อยูแ่ ละความหลงออกไป เพราะจะทําใหเ้ ราเรยี นรู้ได้ง่ายขนึ
เพราะการทีจิตใจเรารู้อยูใ่ นอารมณ์กรรมฐานมนั ไมไ่ ด้สรา้ ง
ปญหาอะไร แต่การทีจิตหลงออกจากอารมณ์กรรมฐานมนั จะ
สรา้ งปญหาในอนาคต ซงึ จะเปนอยา่ งไรนันเราจะเรียนรู้กันต่อ
ไป ก็ขอใหเ้ ขา้ ใจตามนีก่อนว่ามันมีอยู่ ๒ อยา่ งเปนพนื ฐาน

ทุกครังทีพระอาจารยไ์ ปเทศน์กับหลวงพอ่ หลวงพอ่ จะให้พระ
อาจารยเ์ ทศนก์ ่อนในเรืองพืนฐาน แล้วหลวงพอ่ ค่อยเทศน์ ไม่

11

อยา่ งนนั จะฟงไมเ่ ขา้ ใจในเรอื งลักคิดหลงคิด การรู้ในอารมณ์
กรรมฐานหรือออกจากอารมณก์ รรมฐาน

ทีนเี รามาเปลียนอิริยาบถกัน คือ การเดินจงกรม เปลียนจากการ
นังสร้างจังหวะมาใช้การเคลือนไหวในรูปแบบการเคลือนไหว
ของเท้าสมั ผัสกับพนื เราอาจจะเคยเดินจงกรมกันมา ไมว่ ่าใคร
จะปฏิบตั ิแนวทางใดก็ตาม การเดินจงกรมจะเปนเรอื งคล้ายๆกัน
อยูแ่ ล้ว ตอนนีอยากใหก้ ําหนดรูเ้ บา ๆ แค่กระทบ แค่ฝาเท้า
กระทบพนื พอ ไมต่ ้องไปรู้ละเอียด เอาแค่รับรู้ รบั รู้พอ แต่ถ้าใคร
สามารถกําหนดรับรู้ละเอียดได้ก็ทําไป สว่ นคนทียังไมเ่ คยก็เอา
ง่าย ๆ ก่อน ก็คือ แค่ แปะ แปะ แปะ เอาง่ายทีสดุ แต่ใครเคย
ปฏิบตั ิมาแล้วสามารถกําหนดละเอียดได้ก็ไมว่ ่ากัน เวลาเรา
เปลียนจากนังมาเดิน เวลาจะลุก เอามอื เท้าพนื นดิ นึงแล้วยกตัว
ขึนมานังทับส้นเท้าไว้ การทีเราสามารถลุกขนึ เปนจังหวะได้มนั
จะเปนผลดีต่อการเซฟรา่ งกายของเราอยา่ งทีหนึง อยา่ งทีสอง
จะเปนการเจรญิ สติเปนจังหวะ เปนจังหวะ จังหวะทีหนึงเรานัง
ทับสน้ เท้า จังหวะทีสองยืดตัวขนึ จังหวะทีสามก็ตังเขา่ ขึน
จังหวะทีสกี ็ยกตัวขนึ จังหวะทีหา้ ชดิ เท้า คราวนีลองขยับเท้า
สาํ รวมมือไว้ รูฝ้ าเท้ากระทบพนื แต่ละครงั พอเดินมาสดุ ทางหมุน
ตัวกลับ เดินสบาย ๆ รับรูก้ ับฝาเท้าของเรา ตามองทางเดินเพราะ
ตาเราจะทําใหห้ ลงไปได้ง่ายกับสิงทีผา่ นมา คราวนเี ราพยายาม
จะตะล่อมให้จิตเขากลับคืนมาอยูเ่ ปนทีเปนทาง คือกลับมาอยูใ่ น
อารมณก์ รรมฐานนนั เอง เราแค่ประคองแค่ “รู้ รู้ รู”้ เปนการ
เขยา่ ธาตรุ ู้ใหม้ นั ตืนขนึ มาเพือความฉบั ไวในการเห็นสภาวธรรม
ในขณะทีรูก้ ับฝาเท้าทกี ระทบพืนนันแค่รบั รูเ้ ฉยๆและถ้าจิตเรา
แว๊บคิดเรอื งอืนไป หลงออกไปก็รบั รู้ การรับรู้ไปเรือย ๆ นนั จะ
ทําให้เราตระหนักรู้ ดังนันการทีเราเผลอออกไปก็ไม่เปนไร

12

ระลึกรูแ้ ล้วกลับมาเท่านันเอง คือใหก้ ลับมารบั รู้ทีอารมณ์
กรรมฐานของเรา อยา่ หวังว่าจิตจะอยูก่ ับอารมณ์กรรมฐาน
ตลอดเวลา แต่ขอให้แค่มันหลงแล้วกลับมารูแ้ ล้วกลับมาอยู่
เรอื ย ๆ เวลาเราเดินด้วยความเจตนาใหเ้ ดินเต็ม ๆ ฝาเท้า ใส่
ความตังใจลงไป มเี จตนาแต่ไม่เพ่ง ถ้ารูส้ กึ เพง่ หรือหนกั ศรี ษะให้
มองไกลออกไปนดิ นงึ ให้รบั รู้อยา่ งสบาย ๆ จะสังเกตว่าเราเดิน
ไปเดินมาเราจะเรมิ เพลิน นิวรณ์จะเริมแทรกได้ เพราะเราจะ
เผลอเดินด้วยความเคยชนิ เพราะฉะนนั ขบวนการของการเจรญิ
สติเราต้องคอยเฝาดูตัวเอง เฝาดูความรูส้ กึ ตัวเองว่าความรูส้ กึ
ตัวของเราชัดไหมหรือความรูส้ ึกของเราเบลอ ๆ พอเริมเบลอปุบ
เราก็ใสเ่ จตนาลงไป ในระยะแรกในการเดินจงกรมควรเดินเต็ม ๆ
ฝาเท้า เพราะปกติเราจะไมเ่ ดินอยา่ งนัน มันก็จะทําให้เกิดความ
ตังใจในการทํา เหมือนการยกมอื สรา้ งจังหวะ มันไมใ่ ชอ่ ิริยาบถ
ตามธรรมชาติ ไมม่ ใี ครทํา

ดังนัน การทําอิรยิ าบถอยา่ งนมี ันต้องใสค่ วามตังใจลงไป เพราะ
ฉะนนั กระบวนการแหง่ การเจริญสติเราต้องคอยดคู อยเชค็ อยู่
เรอื ย ๆ ว่าความรูส้ กึ ตัวของเราชัดไหม ถ้ามันไมช่ ัดมนั เบลอ ๆ
ควรเนน้ ด้วยความเจตนา เพมิ เจตนาลงไป

ในเรืองของการเดินสําคัญอยา่ งหนึง อยา่ ไปก้มศีรษะมากเกินไป
อยา่ ไปกังวลมากเกินไป เดินสบาย ๆ คอตังปรกติ แต่สายตาหลบุ
ตาลง เพราะถ้าก้มมาก ๆ มนั จะล้า เกิดทกุ ขเวทนาทางกายมาก
ขนึ เราไมต่ ้องเพมิ ใหม้ นั เพราะเดียวมันจะแสดงตัวมนั เอง

มเี รืองหนงึ พระอาจารย์จะเล่าใหฟ้ ง พระอาจารยเ์ ดินตังใจมาก
ขณะบิณฑบาต เดินก้มหนา้ ก้มตาไมม่ องอะไรเลย มันก็เหมือนมี

13
คนมานงั รอใสบ่ าตร พระอาจารย์ก็เดินเขา้ ไปเตรยี มเปดบาตร
อะไรรู้ไหม หมามนั นังอยูข่ ้างทาง เพราะความทีเราก้มหน้าก้มตา
ไมม่ องให้เต็ม ๆ เหน็ อยูไ่ กล ๆ ก็เราเห็นไมช่ ัด พอเดินเขา้ ไปใกล้
ๆ เปนหมาซะนี

ดังนัน เราเดินสบาย ๆ พอรู้สึกอึดอัดใหห้ ายใจเข้าลึก ๆ ผอ่ นลม
หายใจช้า ๆ ลองดถู ้าเมอื ยก็มองไกล ๆ ซักนดิ นึง เวลาเราเดิน
นาน ๆ นวิ รณก์ ็แทรกเขา้ มาก็ใหเ้ ราหายใจเข้าลึก ๆ ผอ่ นสายตา
ออกไป มนั จะชว่ ยได้ จิตจะสดชืนขึนมา
ดังนนั เราต้องหมันคอยสงั เกตจิต เพราะเวลาเราเดินไปเดินมาจิต
ของเราเพง่ มนั จ้องทีฝาเท้ามาก รบั รู้ทีฝาเท้ากระทบพืนต่อเนอื ง
มาก ๆ มันตกเขา้ ไปข้างใน มนั จะเข้าสูค่ วามสงบ แล้วความรู้สกึ

14

ตัวก็จะเบลอ ๆ ดังนันต้องออกมา บางทีมนั ฟงุ ออกไปก็ดึงลม
หายใจชว่ ย มันหนั มาสนใจลมหายใจ ก็จะกลับขึนมาได้ ดังนัน
ขบวนการต้องค่อยเรยี นรูค้ ่อย ๆ ดไู ป

15

๒. ตังใจคิดกับหลงคิด

เรืองของการปฏิบตั ิเปนเรืองทีเราต้องให้ความใสใ่ จ ต้องให้เวลา
กับตัวเองให้มากขึน เพราะบางทีผ้ปู ฏิบัติหลายคนมกั จะหวังพงึ
ครูบาอาจารย์จนไมค่ ิดทีจะหาคําตอบด้วยตัวเอง มนั ก็จะไมไ่ ด้
สัมผัสเอง มันจะไมช่ ดั เจน ตัวเองไมป่ ระจักษ์แจ้งกับมัน ไมไ่ ด้ชมิ
รสชาติของมนั ดังนัน ต้องทําด้วยตัวเองใหม้ นั ประจักษ์แจ้งใน
ตัวคณุ เอง มันจะไมค่ ลาดเคลือนไมเ่ คลือนคล้อย

ดังนัน เวลาปฏิบตั ิต้องคอยสังเกตสิงทีมันเกิดขึน พระอาจารย์ไม่
อยากใชค้ ําว่า “พิจารณา” เพราะเวลาใชค้ ํานี คนมกั จะคิดว่าไป
คิด ๆ เอา ซึงมนั ไมใ่ ชค่ ําว่า “สงั เกต” เหมอื นคุณทดลองทาง
วิทยาศาสตร์ เชน่ ถ้าคณุ อยากรูว้ ่า สาร A ผสมกับสาร B มนั จะ
เปนยงั ไง คณุ ต้องเอาสารทังสองมาผสมกันแล้วก็ “ดูมนั สงั เกต
มัน” แล้วก็จดบนั ทึกสงิ ทีสังเกตว่ามกี ารเปลียนแปลงเปนอยา่ งไร
บ้าง ขบวนการการปฏิบัติธรรมก็ไมต่ ่างจากนนั คําว่า “สงั เกต”
จึงเปนสิงจําเปนมากสาํ หรับผ้ปู ฏิบัติ เพราะการสังเกตเปน “
โยนิโสมนสกิ าร” คือ การพิจารณาเฝาสังเกตอยา่ งแยบคาย กับ
สิงทีเกิดขึนภายในกายของเรา ขบวนการทีมนั เกิดขนึ ทังหมดมัน
เกิดขึนอยูใ่ นตัวของเราเอง มนั ไมไ่ ด้อยูข่ า้ งนอก เพราะถ้าเราเฝา
สังเกตอาการต่าง ๆ ทีมันเกิดขนึ ทางกายทางใจของเราในขณะที
เราปฏิบัติไป มันจะทําใหเ้ ราได้ประสบการณ์ ซึงมันสําคัญมาก ๆ
จําไว้ว่า ปญญาไมใ่ ชส่ ิงทีเราจะไปยัดเยียดให้กันได้ ต่อให้พระ
อาจารยอ์ ธิบายธรรมะขนาดไหนก็ตามก็ไมใ่ ชป่ ญญาแท้ ๆ ทีคณุ
จะได้รบั มนั ไมใ่ ชข่ องจรงิ ปญญามนั เปนกระบวนการทีให้จิต
ของเรานนั ได้รบั ประสบการณ์ สงั สม ๆ มาก ๆ เข้าแล้วปญญาก็

16

จะค่อย ๆ สว่างขนึ มาเอง เพราะฉะนนั กระบวนการทีเราเรียกว่า
“วิปสสนา” นันแปลว่า “อุบายในการทําปญญาใหม้ นั เรอื งขนึ ”

ดังนัน วิปสสนาไมใ่ ชต่ ัวปญญา แต่เปนกระบวนการทีต้องสร้าง
ขึนมา พยายามใหจ้ ิตเราได้ประสบการณ์ การทีเขาสามารถเห็น
สภาวธรรมครังที ๑ ก็เปนประสบการณ์ ๑ ครัง ทีเขาเหน็ ครงั ที
๒ ที ๓ หรอื เมือจิตอยูใ่ นอารมณก์ รรมฐาน จิตก็จะรู้ว่าเวลาทีเรา
อยูใ่ นอารมณก์ รรมฐานเปนอยา่ งไร และเวลาทีเราหลงออกไป
จากอารมณ์กรรมฐานเปนอยา่ งไร การหลงออกไปนนั แล้วเรา
รูส้ กึ ตัวกลับมาได้ จิตเขาก็จะได้ประสบการณว์ ่า การทีหลงออก
ไปจากอารมณก์ รรมฐานแล้วกลับมาได้อยา่ งไร การทีเขา
สามารถมองเห็นทัง ๒ อยา่ ง ว่าทีอยูใ่ นอารมณก์ รรมฐานและการ
หลงออกไปเปนอยา่ งไร เราเหน็ ทัง ๒ สว่ น ทําใหเ้ ห็นความแตก
ต่างและสามารถแยกแยะได้ด้วยตัวเองว่าอะไรใช่ อะไรไมใ่ ช่
อะไรควร อะไรไมค่ วร

ดังนัน กระบวนการปฏิบัติในการเจรญิ สติ เราจึงไมก่ ลัวเรือง
ความหลง ใหห้ ลงไป ยิงหลงใหเ้ รายงิ รู้กับมัน ยงิ หลงแล้วเรารูต้ ัว
ว่ามนั หลงนันแหละปญญายงิ คมเหมือนการลับมดี เวลาลับมีด
เขาจะไถไปดึงกลับเหมอื นหลงไปดึงกลับมาทกุ ครงั ทีมันหลงไป รู้
ว่ามันลงไปปุบดึงกลับมาได้ปบ ประสบการณท์ ีผา่ นพบเหน็ แล้ว

ดังนันเวลามันหลงเราอยา่ ไปเอาเรอื งเอาราวของมนั เอาแต่
อาการของมัน เกิดอะไรขนึ ก็ตามอยา่ เอาเรืองเอาราว เอาอาการ
ของมนั ถ้าเอาเรอื งราวของมันก็แปดหมนื สพี ันเรอื ง แต่ถ้าเอา
อาการของมนั ก็มแี ค่เกิดแล้วก็ดับ คือตอนทีมนั หลงมนั จะหลง

17

ไปเรืองอะไรก็ตาม พอมันกลับมาได้มนั ก็ดับ อยา่ ไปเอาเรืองเอา
ราว ใหเ้ ห็นอาการของมัน

ดังนัน ในขณะทียกมือสร้างจังหวะหรือเดินจงกรมหรือปฏิบัติ
อยา่ งไรก็ตาม สิงทีจะเกิดขึนก็คือ
๑. จิดตังอยูใ่ นอารมณ์กรรมฐานเบอื งต้น
๒. คือจิตหลงออกจากอารมณ์กรรมฐาน
๓. เมือรูต้ ัวว่าจิตหลงออกไป เมอื รูต้ ัวมันจะทําใหจ้ ิตกลับคืนมา

สติมันระลึกได้ พอกลับมาปุบ การปรุงแต่งความนึกคิดอารมณ์
ต่าง ๆ เหล่านันมันก็ดับ ประสบการณท์ ีมนั เหน็ ว่าจิตมันหลงออก
ไป สติระลึกได้มันก็ดับ เหน็ ซา ๆ อยา่ งนมี ันจะเกิดเหน็ ความไม่
เทียง มองสงิ ต่าง ๆ เหล่านันมันชวั คราว เกิดมาด้วยเหตุปจจัย
ชวั คราวและก็ดับไป การทีเหน็ บอ่ ยขนึ ชดั ขึน ซงึ แต่ละคนจะใช้
เวลาไมเ่ ท่ากัน บางคนอาจจะเห็นไมก่ ีครงั ก็สามารถกะเทาะ
เปลือกไขอ่ อกมาได้ เราไมส่ ามารถทําใหม้ นั กะเทาะออกมาได้
เหมือนแม่ไก่ก็แค่ใหค้ วามอบอุ่นเท่านัน ลกู ไก่ต้องกะเทาะออก
มาเอง แต่แมไ่ ก่ต้องสรา้ งเหตปุ จจัยใหล้ กู ไก่กะเทาะออกมา

18

ดังนัน ขบวนการวิปสสนาของเราเปนเหมือนแมไ่ ก่ต้อง
ทะนถุ นอมอยา่ งเวลาแมไ่ ก่ฟกไข่ ถ้ารู้สึกว่ามันร้อนเกินไป เขาจะ
ยกตัวขึนให้ลมผา่ น ไมใ่ ชว่ ่านอนฟกทังวันทังคืน เขาจะพยายาม
ปรับอุณหภมู ิ ตอนแมไ่ ก่ยกตัวเขาจะใช้ปากพลิกไขเ่ พอื ให้ความ
รอ้ นอยา่ งทัวถึง ดังนนั การปฏิบตั ิธรรมก็เปนลักษณะนนั เชน่ กัน
ต้องคอยหมนั สังเกตต้องปรับต้องเปลียนแปลง เพอื ให้จิตได้
ประสบการณ์ พอประสบการณ์มาก ๆ เข้ามนั จะออกมาเอง เจาะ
เปลือกไขท่ ีขงั ไว้ออกมา คือ ปญญาจะสว่างขนึ มาด้วยตัวมนั เอง
เพราะฉะนันจึงจําเปนอยา่ งยิงต้องทําให้มาก เจริญให้มาก เพอื
ให้ได้ประสบการณม์ าก ๆ สงั สมมาก ๆ จะเปนตัวผลักดันให้เกิด
การเปลียนแปลงด้วยตัวของเขาเอง เราไมม่ ีสิทธิไปเปลียนแปลง
เขา เขาจะเปนของเขาเอง แต่ต้องอาศัยเราเปนผูป้ ระคับ
ประคองสรา้ งประสบการณ์ให้กับเขา เอือต่อการทีจะเกิด
ประสบการณใ์ หก้ ับเขา เพราะฉะนันถ้าเราสงั เกตใหด้ ี การทีเรา
ได้ประสบการณ์ชว่ ยจนเห็นความไมเ่ ทียง ก็เหมือนครงั ทีท่าน
โกณฑัญญะฟงเทศน์พระพุทธเจ้าแล้วพจิ ารณาตาม แล้วเห็นการ
เกิดดับในจิตของตน แล้วก็ร้องออกมาว่า “ยงั กิญจิสมทุ ยธัมมงั
สพั พันตัง นิโรธะธัมมันติ” สงิ ใดสงิ หนึงมกี ารเกิดขึนเปน
ธรรมดา สงิ ใดสงิ นันมกี ารดับเปนธรรมดา นนั คือพระอัญญา
โกณฑัญญะนันเอง เพราะฉะนนั กระบวนการแหง่ การเจริญสติ
จะต้องทําให้จิตนมี นั ตืนขึนมา คือ ต้องใช้กระบวนการเขยา่ เขยา่
ให้มนั ตืน โดยการเคลือนไหวใหม้ าก แล้วใหจ้ ิตมัน “รบั รู”้ กับ
การเคลือนไหวใหม้ าก ใหส้ ติมันอยูก่ ับการเคลือนไหวใหม้ าก
เพราะเรามกั หลงไปกับการหลับ

ดังนัน หลวงปูเทยี นกับหลวงพ่อคําเขยี นจึงเน้นใหม้ กี าร
เคลือนไหวอยูต่ ลอด จะไมอ่ ยากใหน้ ังนงิ ๆ เพราะเวลานงั นิง ๆ

19

หลายคนมกั จะไหลเขา้ ไปสูค่ วามสงบ แล้วจิตก็ง่ายทีจะไปติดอยู่
ทีความสุข จึงไมแ่ ปลกหรอกว่า ทําไมกามฉันทะคือนิวรณ์ตัว
แรก เพราะคนมกั จะติดสขุ ง่าย เพราะฉะนนั แนวทางการเจรญิ
สติของหลวงปูเทียน ท่านจะสอนให้เราเดินทังวัน ยกมอื สรา้ ง
จังหวะทังวัน ในขณะทีเราเดินทังวันเราก็ต้องคอยดดู ้วย คอย
ปรบั เพราะบางทีเดินไปเดินมามนั เพลิน จังหวะเดิม ๆ ซา ๆ จะ
ทําใหเ้ กิดความเพลินและความเคยชิน พอเกิดความเคยชิน
ความรู้สกึ ตัวไมเ่ กิดแต่มนั ก็ไปได้ จังหวะมอื ก็ไปได้ เหมอื นเวลา
กินขา้ ว ใครตังใจจากขา้ วใสป่ าก ไมม่ ี เราทําด้วยความเคยชิน แต่
เราไมเ่ คยพลาดเปา บางทีหนั มองอยา่ งอืนก็ตักใสป่ ากได้ เพราะ
เราทําด้วยความเคยชินก็จะทําให้สติไมเ่ ข้มแข็ง ความตืนตัวก็ไม่
เกิดขึน

ดังนัน ขบวนการของการปฏิบตั ิมนั จึงต้องการการขยับปรับ
เปลียนจังหวะอยูต่ ลอดเวลา คือ มคี วามเพยี รในการเฝาสังเกต
เปนหลัก จะทําชา้ ทําเร็วไมม่ ผี ล เอาความรูส้ กึ เปนหลัก ความ
รูส้ กึ ตัวทมี นั รูช้ ดั กับการกระทําของเรา ถ้าทําไปนาน ๆ เกิด
ความเคยชิน ก็ต้องปรับเปลียนจังหวะ ดังนัน หลักสาํ คัญคือ การ
เหน็ อาการทมี นั เกิดขนึ จรงิ ๆ โดยทเี ราไม่สนใจว่ามนั จะเรยี ก
ว่าอะไรก็ตาม แต่เราสนใจแค่ว่าเหน็ อาการทีมนั เกิดขนึ

ดังนนั ในขณะทีเราเดินจงกรม หรือยกมือสรา้ งจังหวะ แล้วเกิด
มนั หลงปรุงงแต่งไป เราจะไมใ่ สช่ ือให้มันว่ามันเปนอะไร รู้แต่ว่า
มันเปนภาวะทีผิดปรกติไปแล้วก็กลับมา แล้วเราจะเหน็ ภาวะเปน
ปรกติกลับคืนมา ซึงเราจะเห็น ๒ อยา่ ง คือ ความเปนปรกติกับ
ความเปลยี นแปลง ไมต่ ้องสนใจว่าเปนกุศล อกศุ ล เปนความ

20

โกรธ ความโลภ ความชงั ไมต่ ้องสนเพราะถ้าเรามวั แต่ไปสนว่า
มันคืออะไรมันจะเกิดความ “ยดื เยอื ” เพราะเราไปมเี ยอื ใย

ดังนนั ให้เรารู้แค่นี รูภ้ าวะปกติและหลงออกไป เพราะความ
หลงนันแหละทีทําให้เกิดความโลภ ความชงั ความรักต่าง ๆ
มากมายดังนัน ถ้าเรารูเ้ ท่าทันความหลง เราก็จะสามารถกลับ
มา ถ้าเรารูไ้ มเ่ ท่าทันเราก็จะไหลไปกับความหลง

คราวนเี รามาลองทดสอบกัน เอากระดาษกับปากกามาเช็ดหัวข้อ
การกระดาษว่า “เรอื งทใี จหลงคิด” แล้วใหย้ กมอื สร้างจังหวะ
แล้วเมือใดก็ตามทีใจมันหลงออกไป ให้มาเขียน เชน่ ขณะยกมือ
สร้างจังหวะใจมันแว๊บคิดถึงบ้าน ก็ใหเ้ ขยี นว่าคิดถึงว่าบา้ น
แล้วกลับมายกมอื สร้างจังหวะอีก แว๊บไปอีก คิดถึงหมาก็เขยี นว่า
คิดถึงหมา ขอให้ทุกคนตังใจ เชิญรว่ มได้ ยกมือสรา้ งจังหวะพอ
มนั หลงก็ไปเขยี น เรามาดกู ันว่าได้กีเรอื ง ถ้าทุกครังทีมนั หลงไปมี
สติรูท้ ันจะดีมาก ๆ เลย (ผา่ นไป ๑๐ นาที)

เอาล่ะ คราวนีพระอาจารยจ์ ะใหก้ ิจกรรมที ๒
ข้อที ๑ อาหารทีชอบ เขยี นอาหารทีชอบ ๑ อยา่ ง
ขอ้ ที ๒ สว่ นประกอบ วัตถุดิบมอี ะไรบ้าง
ข้อที ๓ วิธีทํา ใครไมเ่ คยทําก็ลองคิดเอง คาดการณ์เอง

(ผา่ นไป ๑๐ นาที)

เสรจ็ แล้วลองมาดูซิ ระหว่างอันแรกเปนการเขียนจากหลงคิด อัน
ทีสองเปนการเขียนจากตังใจคิด แล้วเราจะสรุปว่ายังไง มนั แตก
ต่างกันอยา่ งไร อยา่ งแรกคือ ความหลงคิด อยา่ งที ๒ คือ ความ

21

ตังใจคิด ถ้าเราสรุปได้เราจะเข้าใจบทเรียนนเี ลย ซึงมผี ลต่อการ
เจริญทางจิต มีผลต่อการบําเพญ็ ทางจิต สงั เกตว่าอันดับแรกมนั
หลงคิดไมเ่ ปนเรอื งเปนราว สะเปะสะปะ สว่ นตังใจคิดมนั มกี าร
เรยี งลําดับเปนเรอื งเปนราวมขี นั ตอน

ดังนนั ในชวี ิตของคนเรามนั จะเกยี วขอ้ งกับความคิดอยู่ ๒
อยา่ ง คือ หลงคิดกับตังใจคิด แล้วลองคิดดวู ่า วันหนึงเราอยูก่ ับ
ความตังใจคิดหรือหลงคิดมากกว่ากัน ลองดซู วิ ่าความตังใจคิดว่า
มนั จะเกิดขึนได้ต้องทําอยา่ งไรคือต้องมเี ปาหมาย มกี ระบวนการ
ต้องทํา มปี ญหาต้องแก้ ซึงในแต่ละวันมนั มีสงิ ทีเราต้องทําอยา่ ง
นนั เยอะไหม มันก็ไมเ่ ยอะเท่าหลงคิด แล้วดูซวิ ่าตังใจคิดจบเปน
ไหม มันจบเปน แต่ลหลงคิดมนั จบไม่เปน มันโดดไปเรือย ๆ
จากเรอื งโนน้ ไปเรืองนี แต่ในความตังใจคิดมนั เรียงของมนั มนั
จบ ในความตังใจคิด มันมคี วามรูส้ กึ ตัว เพราะมันมสี ติในการ
คิด ดังนนั มนั เปนความคิดทีเราควบคุมได้

ดังนัน ในเรอื งความทุกขจ์ ึงไมม่ ีใครตังใจใหต้ ัวเองทกุ ข์ เพราะ
ฉะนนั ในการตังใจคิดมนั จึงไมม่ ีปญหา เพราะการคิดแบบตังใจ
คิดมันมสี ติมีความรูส้ กึ ตัวในการคิด เพือแก้คําว่ามันมคี วามรูส้ กึ
ตัวเฉพาะการเคลือนไหวเท่านนั หรือ ผดิ ล่ะ แม้ในความคิด ถ้าเรา
มีความตังใจมสี ติมนั ก็มีความรู้สึกตัว เพราะฉะนนั สิงทีเราต้อง
เข้าไปจัดการเรยี นรูใ้ หเ้ ข้าใจ คือ ตัวหลงคิด นันคือสิงทีเราต้อง
ไปเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจ เพราะถ้าเราไมเ่ ขา้ ใจมนั ก็สรา้ งปญหาให้เราได้

ดังนัน เราต้องเจรญิ สติและเฝาเรยี นรู้กับการหลงคิดเพอื ใหเ้ หน็
ความจรงิ แล้วจะเรยี นรูไ้ ด้เองว่าในการหลงคิดบางความคิดก็ไม่
ได้สรา้ งปญหา มเี พียงบางเรอื ง บางครังและบางคราวทีมีปญหา

22

เพราะ ความคิดมนั เปนขนั ธ์ มันมขี องมันอยูแ่ ล้ว แต่เปน
อุปทานขันธ์ต่างหากทเี ปนทกุ ข์

23

๓. เห็นอยา่ เปน

เราเปนนักปฏิบตั ิเห็นมนั ปวด เห็นมนั เมอื ย เราเหน็ มนั เปน อยา่
เอาเราไปเปน ถ้าเอาเราไปเปนเมือไหร่ เราก็เปนไปกับมนั เมอื นนั
มคี นหนงึ เขียนว่า “เมอื หลงคิดก็เอาปจจัย ๕ ตัวทีพระอาจารย์
สอนมารูก้ ็ชว่ ยให้หายไปได้” พระอาจารยก์ ็งงมาก ว่าสอนตอน
ไหน เราว่าเราสอนปจจัย ๔ เอามาดูว่าอ่านผิดจังหวะหรือเปล่า
ต้องอ่านว่าเมอื หลงคิดก็เอาปจจัย ๕ ตัว ทีพระอาจารย์สอน เออ
อยา่ งนคี ่อยเขา้ ใจถูกหนอ่ ย ซึงมนั มอี ะไรบา้ งนะ

๑. สติมนั อ่อน สติยงั ไม่มกี ําลัง
๒. มคี วามรูส้ กึ มันเปนอัตตา ว่าเปนเรอื งของเรา
๓. มคี วามเพลิน
๔. มคี วามอยาก มคี วามเสยี ดาย
๕. เขา้ ไปเปนกับมัน ซงึ เราเข้าไปเหน็ เอง

เหตปุ จจัยเยินเยอ้ ทีทําให้เราเปนไปกับมัน ทีเราไมส่ ามารถสลัด
ทิงได้อันดับแรก คือ

๑. สติยงั ไม่มกี ําลังทําใหเ้ กิดความยืดเยอื จะใช้สญั ลักษณ์เปรียบ
เทียบกับสติ คือ แมวทีมันยงั ตัวเล็กตามภาษาหลวงปูเทียน มันยงั
ไมส่ ามารถสู้กับหนูท่อกรุงเทพฯ ตัวใหญ่ คือ ความหลงคิด ที
เขา้ ไปมนั ทําให้มคี วามยืดเยือเกิดการปรุงแต่งทางจิตและไม่
สามารถสลัดได้

๒. คือเรอื งทมี ันเผลอคิดขนึ มา ความรูส้ กึ นึกคิดทเี กิดขนึ มา มนั
มตี ัวเรามไี ด้มเี สยี มนั เปนเรอื งของเรา ตัวเรา ของเรา พอมนั มี

24

ความรู้สกึ แบบนีขึนมามนั ก็ออกได้ยาก แต่ถ้าจิตปรุงแต่งเรือง
สัพเพเหระมนั จะสละทิงได้ง่ายมากเลยมันจะสละทิงได้เองด้วย
ตัวของมัน โดยพืนฐานสติมนั จะเขยี ทิงอยูแ่ ล้ว ซงึ แตกต่างจาก
การปรุงแต่งทีมตี ัวเราของเรา มันเกิดอัตตาตัวตน มนั จะสลัดทิง
ได้ยาก มนั จะเกิดความยดื เยอื ต่อไป

๓. เมือมันมี “นันทิ” คือ มคี วามเพลิน ติดในรสชาติของการ
ปรุงแต่งนัน การทีจะออกได้ง่าย ๆ ก็เปนไปได้ยาก แม้ทกุ ข์มันมี
รสชาติแบบทกุ ข์ ความหลงเพลิดเพลินในรสชาติมนั หลงข้ามภพ
ขา้ มชาติได้ อยา่ งทีบอกว่า เพราะมนั ติดในรสมันจึงเกิดชาติ
บรรพบุรุษของเราจึงกําหนดคําว่า รสชาติ ขึนมา จะเห็นว่า
บรรพบุรุษของเราท่านใช้ปรมตั ถธรรม ท่านใชธ้ รรมชันสงู ในการ
บัญญัติศัพท์ อยา่ ง “คณุ ค่ากับมลู ค่า” ต่างกันลิบลับ คุณค่า คือ
ค่าทีบง่ บอกถึงความมีคุณ แต่มูลค่ามันผิดตังแต่มนั ขึนต้นว่ามูล
แล้ว มูลเปนของตา ซึงมลู ค่าเราตีความหมายเปนเรืองของราคา
ราคาก็จะมาจากคําว่า ราคะ อยา่ งของทีมีราคามากก็คือของที
มันยวั ราคะเราได้มาก มนั จะสามารถดึงราคะเราได้มากนันเอง
ดังนัน คําว่า รสชาติ เพราะมรี สจึงเกิดชาตะ คือ ต้องเวยี นว่าย
ตายเกิดเพราะติดในรส เปนชาติแล้วชาติเล่าก็เพราะติดในรส

มเี รืองหนงึ ในชาดก พระพุทธองค์ทรงตรสั เรอื งนี มกี วางตัวหนึง
สวยมาก พระราชามาเห็นอยากได้ คนสวนบอกจะจับมาให้ เลย
เอาหญ้าไปจุ่มนาผึงก็หลอกล่อมาเรอื ย ๆ จนมนั ติดในรสชาติเลย
ตามมาจนจับได้ ท่านทรงตังใจจะบอกว่าเพราะการติดในรสชาติ
ทําใหน้ ําภัยมาใหต้ นเอง และภัยทใี หญ่หลวงทสี ดุ คือ ภัยใน
วัฏสงสาร

25

พระอาจารยข์ อยกตัวอยา่ งว่า หลวงปูมัน บําเพญ็ เพียรอยูท่ ีถาสา
ริกา แล้วท่านสงั เกตว่าเวลาเข้าสมาธทิ ีไรจะมีนมิ ติ เปนลกู หมามา
เกาะแขง้ เกาะขา สงสยั ว่ามันคืออะไร เมอื ท่านพจิ ารณาดแู ล้วจึง
รูว้ ่าอดีตชาติของท่าน ท่านเคยเกิดเปนลกู หมาถึง ๗ ชาติ เพราะ
ติดใจในรสชาติของความเปนหมา ก็เลยต้องเวียนว่ายในความ
เปนหมา ซึงความติดใจในรสชาตินันทําใหเ้ ราถอนออกมาได้ยาก
ไมส่ ามารถสลัดความรู้สึกนึกคิดนนั ออกมาง่าย ๆ มันเกิดความ
อยาก เสียดาย มนั จึงทําใหไ้ หลออกไปกับสิงนัน เราจึงกลายเปน
ผเู้ ปนกับความรูส้ กึ นึกคิดอารมณ์ต่าง ๆ เหล่านัน ตกเขา้ หลมุ
พรางในเวทนา จิต และธรรม ความรูส้ กึ คือเวทนา ความคิดคือ
จิตตา และธรรมารมณ์ต่าง ๆ หรอื อารมณ์ต่าง ๆ คือ ธมั มานุปส
สนา หลุมพรางเหล่านีมันเปนหลุมพรางทีจิตเรามกั จะเผลอ และ
ก็ตกเข้าไปอยูเ่ รือย ๆ พอเราตกเขา้ ไปปุบเราก็กลายเปนผู้เปน
เปนผอู้ ยูใ่ นเวทนานัน เปนผอู้ ยูใ่ นจิตตานนั เปนผูอ้ ยูใ่ นความคิด
เหล่านนั เปนผู้อยูใ่ นธรรมารมณเ์ หล่านัน กลายไปเปนผเู้ ปน

26

ดังนัน พระพทุ ธเจ้าสอนเราว่าให้เราเปนผเู้ หน็ เหน็ เวทนาใน
เวทนา เหน็ จิตในจิต เหน็ ธรรมในธรรม ท่านไมไ่ ด้บอกใหเ้ ราไป
เปน ท่านบอกให้เราเห็น

ดังนัน เราจะเปนผเู้ หน็ คือ ภาวะเราหลดุ ออกมา แล้วเปนผดู้ ู ผู้
เหน็ มนั แล้วอะไรทีจะเปนตัวนําพาใหเ้ ราลบออกมา คือ สติ
สติสมั ปชัญญะจะเปนตัวนําพาใหเ้ ราหลุดออกมา แล้วมองย้อน
กลับไปเหน็ มัน เพราะขณะทีเรามะรุมมะต้มุ อยูใ่ นมนั เราจะไม่
เห็นมนั เพราะเวลาเกิดอะไรขนึ มาแล้วเราเข้าไปเปนกับมัน เรา
จะไมเ่ ห็น เพราะเราอยูใ่ นกระแสของมัน เหมือนลูกศษิ ยพ์ ระ
อาจารยท์ ีชอื แอนดรูว์ เขาบอกเพงิ รูจ้ ักวัดแม้ว่าอยูว่ ัดมาตังนาน
จนเขาเขา้ ไปในเมอื งเจอความวุ่นวายในเมือง จึงรู้ว่าวัดนมี นั สงบ
อยา่ งนีนเี อง ก็เหมอื นกับตอนทีเขามาอยูเ่ มอื งไทย เขาจึงเพงิ รู้ว่า
เยอรมนเี ปนอยา่ งไร แล้วเมือเขาออกจากเมอื งไทยเขาถึงจะเห็น
เมอื งไทย คือ ขบวนการทีเราไปอยูท่ ่ามกลางมนั เราไปเปนกับ
มันเมือไหร่ เราไมม่ ีทางรูจ้ ักมัน เราต้องออกไปก่อน ดังนัน
ขบวนการแหง่ การเจรญิ สตินเี อง ทําใหเ้ ราออกไปก่อน เราถึง
จะมองยอ้ นกลับเขา้ มาได้

ครงั หนงึ พระอาจารยไ์ ปเทียวกับหลวงพอ่ ไปเพชรบุรขี ึนไปบน
ยอดเขา โยมบอกว่าจะพาไปดูทะเลหมอก ทังพระอาจารยก์ ับ
หลวงพอ่ ก็ไปยืนตรงหน้าผากกัน โยมคนทีพาไปก็บอกว่า หลวง
พอ่ ครบั ถ้าเรามาเช้ากว่านหี มอกมนั จะขนึ มาถึงเราเลยนะครบั
เนยี เราจะอยูท่ ่ามกลางมนั เลย หลวงพอ่ ก็เลยบอกว่าดีแล้วล่ะ
ถ้าเราอยูท่ ่ามกลางมนั เราก็ไมเ่ หน็ มนั เราจะเหน็ ทะเลหมอกได้ยัง
ไง ถ้าเราอยูท่ ่ามกลางมนั เพราะฉะนนั เมือเราอยูข่ ้างนอกมัน เรา
ก็จะเหน็ ว่ามันมลี ักษณะรูปรา่ งอยา่ งไร นันคือ ลักษณะทีจะทําให้

27

เรารูว้ ่าเมือเกิดอะไรขนึ เกิดความรู้สกึ นึกคิดอะไรก็ตาม สิงทีเรา
ต้องทําก็คือ เจริญสติ เมือเราเจรญิ สติ รูส้ กึ ตัวมสี ติสมั ปชัญญะ
เราจะหลดุ ออกไป พอเราหลุดออกไป เราก็จะมองยอ้ นกลับมา
เห็น เมือเรายอ้ นกลับมาเหน็ เราก็จะเหน็ ธรรมชาติของเวทนาว่า
เปนอยา่ งไร คือ เหน็ เวทนาในเวทนาเห็นความเปนจริงในเวทนา
นนั เอง เหน็ จิตในจิต คือเหน็ ธรรมชาติของการปรุงแต่งทางจิต
คือความคิดทีมันปรุงแต่งกันขึนมาตามความเปนจรงิ
พระพุทธเจ้าท่านสอนให้เราเห็นตามความเปนจริง

ดังนนั กระบวนการทีเราจะเห็นตามความเปนจริงได้ คือเราต้อง
ไมเ่ ข้าไปเปนกับมัน หลวงพอ่ คําเขยี น จึงพูดวลีที ๒ ว่า “ผดู้ ู ผู้
เปน” คือ เมือเราเปนผู้ดู เราจะไมเ่ ปนผเู้ ปน แต่ถ้าเราเปนผู้เปน
เราก็ไมม่ วี ันเปนผูด้ ไู ด้ เพราะฉะนนั ขบวนการเจริญสติอยา่ งต่อ
เนอื ง แล้วทําให้ความรู้สกึ ตัวชัดขึนเรือย ๆ และทําใหค้ วามรูส้ กึ
ตัวนันเปนวิหารธรรมทําขนึ มา คือ เมอื เราเจริญสติดีแล้ว คือการ
ทีเรามคี วามรู้สึกตัวดี รู้ตัวทัวพร้อม มนั จะกลายเปน “วิหาร
ธรรม” ธรรมอันเปนเครืองอาศยั แล้วมนั จะอยูต่ รงกลางระหว่าง
ทีมันจะมองเหน็ ทังขา้ งในและขา้ งนอก ไมต่ กเขา้ ไปข้างใน ไม่
ฟุงออกไปข้างนอก ซึงอยูต่ รงกลาง และตรงนีแหละคือเคล็ดที
ทําให้เจ้าชายสิทธัตถะ ค้นพบในคาคืนวันเพ็ญเดือน ๖ และท่าน
ใชต้ ัวนแี หละ เฝาดูสงิ ทีเกิดขึนตลอดคาคืนนัน สมยั ก่อนเจ้าชาย
สิทธตั ถะฝกเปนผเู้ ปนหมดเลย ได้สมาบตั ิ ๘ คือ รูปฌาน ๔ อรูป
ฌาน ๔ ได้สิงนนั แล้วเกิดอะไรขึน คือ เกิดภาวะของผู้เปน คือ
เขา้ ไปเสวยความรูส้ กึ ของฌาน อารมณ์ของฌาน ฌานคือความ
เปนผูเ้ ปน วิปสสนาญาณทําให้ไมเ่ ปน ญาณ คือ ผดู้ ผู เู้ ห็น ฌาน
คือผเู้ ปน ถ้ายังติดในอารมณข์ องฌาน แปลว่ายงั เปนผ้เู ปน แต่ถ้า
เปนญาณ แปลว่า มันหลุดออกมาแล้ว มนั พน่ ออกมาแล้ว ถึงจะ

28

มองเขา้ ไปเหน็ เพราะฉะนนั ในขณะทีท่านได้สมาบัติ ๘ ท่านก็ยัง
เปนผเู้ ปนอยู่ ยังเข้าไปเปนภายในดําดิงลงไป พอเปลียนมา
ทรมานกายยงิ ไปกันใหญ่ จนกระทังท่านเปลียนมาเปนขบวนการ
เจริญสติ ในวันเพ็ญเดือน ๖ ท่านประคองจิตเฉย ๆ ไมใ่ หต้ ก
เขา้ ไปขา้ งในไมใ่ ห้ฟงุ ออกไปข้างนอก แต่ใช้ลมหายใจเขา้ หายใจ
ออกเปนฐานทีตัง ถ้าเราดูอานาปานสติสตู ร จะเหน็ ว่า รูอ้ ยูแ่ ละ
แลเหน็ รู้ลมหายใจเข้า รูล้ มหายใจออก รูล้ มหายใจเข้ายาว รูล้ ม
หายใจออกยาว รูล้ มหายใจเขา้ สัน รู้ลมหายใจออกสนั รู้การปรุง
แต่งของลมกับบกายว่าเปนอยา่ งไร รูจ้ ิตว่าเปนอยา่ งนนั อยา่ งนี
เพราะฉะนันภาวะความเปนผูร้ ูไ้ ด้เกิดกับท่าน นันคือ สติ ทีตังมนั
และประคองจิตเอาไว้ ไมใ่ หต้ กเข้าไปภายในและไมใ่ หฟ้ งุ ออกไป
ขา้ งนอก แต่รบั รูท้ กุ สงิ ทกุ อยา่ งทีเกิดขึน มองเห็นความสมั พันธ์
กันระหว่างกายกับจิตอยา่ งต่อเนือง ท่านมองเห็นว่า เมอื กาย
ระงับจิตก็ระงับ เมอื ลมละเอียดกายก็ละเอียด ไมไ่ ด้เปนกับมัน
ท่านมองเห็นมันเปน ขบวนการนเี องทําใหท้ ่านเข้าใจตามความ
เปนจริงนนั แหละ เพราะฉะนันการทีเราปฏิบตั ิแล้วเข้าไปดืมดา
กับความสขุ สงบ ก็ไมผ่ ดิ เปนไปเพือใหจ้ ิตมีกําลังบ้างนนั คือการ
พัก แต่ทีถูกกว่า แม้แต่ความสงบและความสขุ เหล่านัน เราก็
เปนเพยี งแค่เหน็ เห็นว่ามนั มี เห็นว่ามนั เปน มันจะมอี าการสงบ
ลงไปเราก็รูว้ ่ามันเปนอยา่ งนนั กระบวนการแหง่ การเจรญิ สติ
เราจะเฝาดูจิตของเราแปรเปลยี นเปนอาการต่าง ๆ แมแ้ ต่
ความสงบทีเกิดขึนก็เปนอาการหนงึ ของจิต ฟงุ ซา่ นก็เปนอาการ
หนึงของจิต มนั เปนอยา่ งไรก็ตาม มนั ก็เปนอาการทีเปลียนไป
ของจิต ถ้าเรามีผู้รูต้ ัวความรู้สกึ ตัวชัดเจน เรากลายเปนผู้ดู มันจะ
มองเห็นขบวนการการเปลียนแปลงไปของจิต แต่ภาวะผดู้ มู นั จะ
ทําใหม้ องเหน็ ว่า แม้ว่ามันจะเปลยี นเปนอาการใดก็ตาม
สดุ ท้ายอาการทเี ปนไปเหล่านันมนั ก็หาย มันก็ดับ จะเห็นอยู่

29

อยา่ งนัน ซงึ เห็นตามธรรมชาติของมัน เห็นตามความจรงิ ไมผ่ ิด
จากพระไตรลักษณ์ ถ้าเหน็ ผิดจากพระไตรลักษณเ์ ราเรยี กว่า “
วิปลาส”

มคี ําพดู ของหลวงปูสายวัดปากล่าวว่า “เหน็ การนํา ๑ ใบ รูจ้ ัก
การนา ๑ ใบ มรี อ้ ยมพี ันกา มันก็เปนอยา่ งเดยี วกัน” เมือจิตมอง
เห็นความไมแ่ ตกต่าง มนั จะเกิดการวางเฉยต่อการหลงเข้าไปยึด
คลายจากการหลงเข้าไปยดึ มนั ก็เปนอยา่ งนเี อง มันจะไมห่ ลงไป
เอาสิงนันมคี ่ามคี วามหมายอีก ไมใ่ ห้ความหมายมันอีกต่อไปมันก็
เท่านัน แต่สงิ นนั มันก็ยงั มอี ยู่ แต่ความรู้สึกในการใหค้ ่าให้ความ
หมายมนั ไมม่ ี นนั ก็คือสงิ ทีพระพุทธเจ้าสอน และวางแนวทาง
การปฏิบัติให้เราไปพบสงิ นี ไปเขา้ ใจอยา่ งนี เพือใหเ้ ราใช้ชีวิตได้
อยา่ งถกู ต้องจริง ๆ เราจะเกียวขอ้ งทกุ อยา่ งได้อยา่ งเปนปรกติ
มาก ๆ ตามเหตปุ จจัยของมนั ตามสมมตุ ิบญั ญตั ิของมนั ก็ไม่
แปลก เพราะพระพุทธองค์ทรงตรัสว่า พระองค์ไมไ่ ด้ปฏิเสธโลก
ไม่ได้มองโลกในแง่รา้ ย แต่มองเหน็ โลกตามความเปนจรงิ ซึง
เห็นว่าแมโ้ ลกจะเปลียนไป แต่คําสอนของพระพทุ ธศาสนาก็ยัง
ใชก้ ับโลกได้ตลอดไปเพราะมันเปนจรงิ ไมม่ ีอะไรหนพี ้นกฎพระ
ไตรลักษณไ์ ด้ ดังนัน ชาวพุทธจึงเปนผปู้ รบั ตัวเข้ากับโลกเพราะ
รูเ้ ท่าทันว่า นันมนั ต้องเปนไปตามเหตตุ ามปจจัย

ดังนันเราต้องสรา้ งความรูส้ ึกตัวให้มนั เด่นขึนมา ขอเน้นอกี ว่า
ความรูส้ กึ ตัวเกิดขนึ ได้ในทกุ ๆ อิรยิ าบถ เพยี งแค่เราใสเ่ จตนา
ทจี ะทํามันและรูก้ ับสงิ ทที ําในปจจุบนั ขณะนัน ในบทภัทเท
กรัตตคาถา แมผ้ ใู้ ดเหน็ ธรรมเกิดขนึ เฉพาะหน้าในทนี ัน ๆ
อยา่ งแจ่มแจ้ง ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน เขาควรพอกพนู อาการ
นันไว้ แล้วเราควรทําใหม้ นั เจรญิ ใหม้ ากขึน ด้วยวิธยี กมอื สรา้ ง

30

จังหวะก็รูส้ ึก เดินจงกรมรูส้ กึ หายใจเขา้ หายใจออกรูส้ ึก ท้องยุบ
เขา้ พองออกรู้สกึ กะพรบิ ตา กลืนนาลายรู้สึกกับมันได้ อยา่ เปน
แค่รู้กับสงิ นัน อะไรก็เปนฐานทีตังในการเจริญสติได้หมดเลย แม้
ลมพัดมา กระทบโดนผวิ เรา เราก็รู้ บางครงั ไมต่ ้องแทนด้วย
ภาษาก็ได้

มีเรอื งเล่า ท่านเจ้าคณุ กับหลวงตาวัดปา เทศน์ ๒ ธรรมาสน์ วันนี
เราจะมาสาธยายใหญ้ าติโยมได้ฟงพอสดับสติปญญาว่าด้วยอา
ทิตตปรยิ ายสูตร ความโลภมันรอ้ นเปนไฟ ความโกรธมนั ร้อนเปน
ไฟ ความหลงมนั รอ้ นเปนไฟ ท่านเจ้าคณุ ป.ธ. ๙ อธิบายก่อน
ความโลภมนั รอ้ นเปนไฟ ท่านก็อธบิ ายด้วยภาษาสดุ ยอด ด้วย
ความรู้ทีเรยี นมา ชาวบ้านก็สรรเสรญิ ว่าท่านอธิบายได้ชดั เจน
แจ่มแจ้ง เสรจ็ แล้วท่านเจ้าคณุ ก็หนั มาทางหลวงตา เอ้า หลวงตา
ชว่ ยอธิบายให้โยมเขา้ ใจหนอ่ ยซิ ความโกรธมนั ร้อนเปนไฟมนั
เปนอยา่ งไร ท่านหลวงตาก็นังเฉย ท่านเจ้าคุณก็ว่า หลวงตา
ได้ยนิ ไหม หลวงตาก็นังเฉย ได้ยนิ ไหมเนีย เสียงเริมห้วน หลวงตา
ยังเฉย หลวงตาได้ยนิ ไหม หลวงตาก็หันไปมองหน้าแล้วเฉย ท่าน
เจ้าคณุ ก็เรมิ หงดุ หงิด สกั พกั หลวงตาก็หยิบไมค์มา แล้วพดู สัน ๆ
๒ พยางค์ “ส้นตีน” ลองคิดดูว่าจะเกิดอะไรขึน ท่านเจ้าคณุ เดือด
ปุด ๆ หลวงตาเปนใครบงั อาจมาว่าเรา ปากสนั หลวงตาหันไป
มองแล้วก็พูดว่า “นีไงความโกรธมนั ร้อนเปนไฟ ไมต่ ้องอธิบาย
หรอกมันมอี ยูแ่ ล้ว แต่ว่าเราจะไปเหน็ มันหรือเปล่า หรอื เราจะไป
เปนกับมัน” พูดแค่นจี บ คือถ้าเห็นก็แปลว่าเราทัน ถ้าเปนคือเรา
ไมท่ ัน ดังนนั เราก็มาเจรญิ สติเพอื เหน็ จะได้ไมเ่ ปน เริมเลย

31

๔. เจรญิ สติดียอ่ มมที ีอาศยั ชดั เจน

ถ้าเปนผเู้ จริญสติทีดีจะนอนหลับง่ายมากสามารถตัดสวิตช์เร็ว
เพราะจะไมฟ่ ุงไมม่ เี รืองต้องคิดอะไร เรอื งลักคิดทีมันโผล่ขนึ มา
เราก็จะทิงได้เรว็ แล้วหลับไปเลย ถ้าเราสามารถเจริญสติไปเรือย
ๆ จนกระทังเหน็ มนั หลับยงิ ดีใหญ่ เพราะถ้าเราสามารถมองเห็น
ในขณะจะหลับ มันจะทําใหเ้ ราเขา้ ใจอะไรบางอยา่ งซึงชว่ งนีเปน
ชว่ งเวลาทีวิเศษมาก ๆ ทีเราเหน็ ในกระบวนการทีจะหลับลงไป
ซึงวิเศษอยา่ งไรเราจะเขา้ ใจบางอยา่ งทีเกียวขอ้ ง ทีเขาบอกว่า
เวลาใกล้ตายมนั จะเกิดอะไรขึน การเหน็ ภาวะจะหลับของเราจะ
สามารถเขา้ ใจสภาวะนันได้ แล้วจะรูเ้ องว่าทําไมพระพุทธเจ้าจึง
บอกว่า สพั พะปาปสสะอะกะระณัง พึงละเว้นจากการทําบาป
ทังปวง กสุ ะลัสสปู ะสมั ปะทา พึงทํากศุ ลใหถ้ ึงพรอ้ ม สะจิตตะ
ปะรโิ ยทะปะนัง ชาํ ระจิตของตนใหผ้ อ่ งแผว้ จะเขา้ ใจว่าถ้าเรา
ไมม่ สี ติทีเพยี งพอ สิงทีเราทํามาทังหมดมนั จะย้อนมาใหเ้ ราเห็น
จะเรียงหน้ามาในรูปแบบของความคิด ทังกรรมดีและกรรมไมด่ ี
เพราะฉะนนั ถ้าเราสามารถทีจะรูท้ ัน และวางจิตเปนกลางต่อสิง
ทีมันเรยี งหนา้ เขา้ มาเหล่านนั ได้ สดุ ท้ายเราอาจวางได้จนถึงทีสดุ

ถ้าเราตังใจปฏิบัติดี ๆ แล้วมีสติคอยเฝาดู ขณะทีมนั จะหลับ แล้ว
เฝาเห็นเรียนรู้เหมือนอยา่ งทีพระอาจารยบ์ อกพระทีวัดว่า “ซ้อม
ตาย” ก็ไมแ่ นน่ ะ เราอาจจะเปนผูป้ ล่อยวางได้ถึงทีสุดในขณะที
ลมหายใจเฮือกสุดท้ายของเราจบลงก็ได้ อยา่ ลืมว่าผู้ทีสามารถ
บรรลใุ นวาระสุดท้ายนนั มีเยอะในสมัยพุทธกาล พระอรหันต์
หลายรูปทีสําเรจ็ ขณะทีกําลังจะหมดลมหายใจ เพราะฉะนนั มัน
เปนหนทางหนงึ จึงอยากให้มาตังใจเจรญิ สติใหด้ ี ๆ อยากให้หงาย
มอื ความอื เบา ๆ ประคองไปจนกว่าเราจะหลับ มันจะทําใหเ้ รา

32

หลับได้ง่ายขนึ เพราะจิตไมม่ ีกังวล จิตไมไ่ ปฟุงซา่ นเอาเรอื งโนน้
เรอื งนีมาคิด มันจะรับรู้ในอารมณก์ รรมฐานของตัวเองอยา่ งต่อ
เนอื ง

พระอาจารยอ์ ยากทบทวนเรืองทีเราทําเมอื วาน คือ ความแตก
ต่างระหว่างหลงคิดกับตังใจคิด ถ้าเรามานงั มองมนั จริง ๆ แล้ว
พยายามค้นหาคําตอบกับมนั พระอาจารยบ์ อกเลยว่ามนั จะเฉลย
บางสงิ บางอยา่ งใหเ้ ราเหน็ ได้ชดั มาก โดยเฉพาะสงิ แรกเลย เมือ
หันกลับไปมองมนั อีกครังหนึงจะเห็นความไรส้ าระของความหลง
คิด จะรูจ้ ะเหน็ เลยว่ามันคิดไปได้อยา่ งไร
ดูสินังอยูท่ ีนีดี ๆ มนั ก็คิดเรอื งอะไรก็ไมร่ ู้เดียวก็ไปโนน้ เดียวก็เปน
นนั เปนนี ถ้าเรามองเหน็ อยา่ งนี มองย้อนกลับไป ภาวะของการ
ได้มองย้อนกลับไปเหน็ คือภาวะนีสาํ คัญมาก ๆ มีเด็กฝรงั คนนึง
มาบวชอยูก่ ับพระอาจารย์ชือแอนด์ดรู คนฝรังนดี ีอยา่ งหนงึ คือ
เขาจริงจัง เวลาเขาอยากเรยี นรูอ้ ะไร เขาจะจริงจังกับมัน ใสใ่ จ
เขาอยูก่ ับพระอาจารยน์ านพอสมควร

วันหนึงบอกแอนด์ดรู พระอาจารย์จะไปอบรมผปู้ วย HIV จะไป
ไหม ไปครับ อยากไปฟงด้วย พระอาจารย์ก็พาเขาไป วันนันเปน
วันทีอากาศร้อนมาก ๆ จีวรเขาหนากว่าของพระอาจารย์ เขาก็
ยิงร้อนมาก แต่ก็ทําอะไรไมไ่ ด้ พระอาจารยก์ ็เหน็ แล้วว่าเขา
อึดอัด จากโรงพยาบาลพระอาจารย์ก็พาไปโรงเรียนทีพระ
อาจารยส์ อน นกั เรียนเหน็ ฝรังบวช ก็สนใจเขา้ มาคยุ มะรุมมะตุ้ม
ทีนมี มี ารยาทเขาดีนะ เขาก็คยุ ด้วย แต่เราก็เหน็ ว่าเขาอึดอัดมาก
เพราะมนั ร้อน พอกลับถึงวัดแอนด์ดรูถอดจีวรออก ไมไ่ หว ๆ
รอ้ น วุ่นวายมากพระอาจารย์ ถ้ากลับไปเยอรมันนแี ล้วมนั วุ่นวาย
อยา่ งนจี ะบวชตลอดชีวิต นเี พิงจะรูจ้ ักวัดครบั พระอาจารย์ เปน

33

อยา่ งไรหรือ ผมอยูม่ าตังนานยงั ไมร่ ู้จักวัดเลย วันนีผมพึงรูจ้ ักวัด
ว่าสงบครับ เมืองวุ่นวายครับ เหมือนตอนนผี มพึงรู้จักเยอรมนี
เพราะผมมาอยูเ่ มอื งไทย และตอนนีผมยังไมร่ ูจ้ ักประเทศไทย
ผมต้องกลับไปเยอรมนซี ะก่อน ผมถึงจะรูจ้ ักประเทศไทย คําพดู
ของเขาเข้าท่านะ พระอาจารย์เลยบอกเขาว่าใชแ่ ล้วล่ะ ถ้าเรายงั
อยูใ่ นสงิ ใดก็ตาม เราจะไมร่ ูจ้ ักสงิ นัน แต่ถ้าเราออกจากมันเมอื
ไหร่ เรามองยอ้ นกลับมาเราจะรู้จักสงิ นนั ความรูส้ ึกความนึกคิด
อารมณ์ต่าง ๆ เชน่ เดียวกัน ถ้าเรายังอยูใ่ นเขา เราจะไมร่ ูจ้ ักเขา
เพราะถ้าเรายังอยูก่ ับเขา เราก็ตกอยูใ่ นกระแสเขา และเมอื ใด
ก็ตามเราหลุดออกจากกระแสเขาได้ เราย้อนกลับมองเข้ามา เรา
จะรูจ้ ักเขา และเห็นเขาตามความเปนจริง เพราะฉะนันคนทีอยู่
ในความโกรธจะไมร่ ูจ้ ักความโกรธเพราะตัวเองอยูใ่ นกระแสของ
มนั แต่เมือออกจากมันได้คณุ จะขนหัวลกุ เมือเหน็ ความโกรธมนั
เปนอยา่ งนี มนั มอี ิทธพิ ลต่อจิตใจเราอยา่ งไร เราจะมองเหน็ มนั
เพราะฉะนันกระบวนการแรกทีพระอาจารย์พาไปทํา คือใหเ้ ห็น
การออกจากสงิ นันแล้วย้อนกลับมามอง คือการมองเหน็ การลัก
คิดของตนเอง มองเหน็ ขยะทีมนั เยอะมาก และสงิ เหล่านมี ันเข้า
มาในชีวิตของเราตลอดเวลา บางเรอื งบางอยา่ งบางทีก็ไหล
เขา้ ไปเผลอไปกับมนั ดังนันเมอื มองยอ้ นกลับไป เราจะเห็นความ
ไรส้ าระมากมายของมัน

ประการต่อมาคือ เมือเราเจรญิ สติเราจะเหน็ มันชัดในขณะทีเมือ
ก่อนเราไมเ่ คยรูจ้ ักมัน ไมเ่ คยสนใจ แต่เมือวานพระอาจารยพ์ า
คณุ กลับไปดูเขา ซงึ มันมีความสาํ คัญอยา่ งยิงทีจะต้องรูจ้ ักเขา
เห็นเขา เหน็ ความหลงคิดอยา่ งนนั เพราะกระบวนการการปรุง
แต่งทางจิตทีมนั จะปรุงแต่งกันสคู่ วามรูส้ กึ ความนกึ คิดอารมณ์
ต่าง ๆ นัน มนั มจี ุดเรมิ ต้นทีตรงหลงคิดตรงนัน ความรกั ความ

34

หลง ความโกรธ ความชัง อาฆาต สขุ ทกุ ข์ อะไรก็ตามมันเริมต้น
ทีตรงนัน จากการทีจรงิ มนั แวบออกไปจากอารมณก์ รรมฐาน
ภาวะแหง่ การทีมันผดุ ขนึ มานี จากจิตใจเรานแี หละ มันเปนตัว
เรมิ ต้นใหเ้ ราไหลไปสูค่ วามรูส้ ึกความนกึ คิดอารมณ์ต่าง ๆ ถ้า
ตามสติปฏฐานเขาบอกว่า หมวดแหง่ จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
เวทนานุปสสนาสติปฏฐานและธัมมานปุ สสนาสติปฏฐาน สงิ
เหล่านคี ือหลุมพราง ทําให้จิตของเราตกเขา้ ไปอยูก่ ับมนั เพราะ
ฉะนันถ้าเราเหน็ ต้นเค้าว่าหลมุ พรางเหล่านนั มันกําลังหลอกล่อ
ให้เราหลงไป เราก็จะได้ไมต่ กไปในหลมุ แต่เราจะมองลงไปใน
หลุมและเห็นความจรงิ นนั คือสงิ ทีเราต้องเรยี นรูแ้ ต่เราไมต่ ้อง
จ้องว่ามันจะเกิดเมือไหร่ มนั จะเกิดของมนั เอง ไมเ่ รยี งลําดับ
เดียวเวทนาก็มา เดียวจิตตานปุ สสนาก็มา เดียวสภาวธรรมต่าง ๆ
มนั ก็มาให้เราเหน็ อารมณต์ ่าง ๆ เดียวมนั มาให้เราเหน็ เอง สําคัญ
ทีสดุ คือ เราต้องเจริญสติเอาไว้ไมใ่ หต้ กเขา้ ไปในกระแสของสงิ
เหล่านนั แล้วเราจะเหน็ สิงเหล่านนั เกิดขึนและผา่ นไป ซงึ การที
เราจะเหน็ อยา่ งนันได้ เราต้องเห็นต้นเค้าของมันก่อนว่ามันผุด
ขนึ มาอยา่ งไร

ดังนนั ขบวนการรู้เท่าทันของการลักคิด ความหลงคิดนเี อง จะ
เปนการทีทําใหเ้ ราเหน็ ต้นเค้าของมนั ดังนนั การเจรญิ สติทีดีนนั
จะทําใหเ้ รามีทีอาศยั เค้าเรยี กว่า “วิหารธรรม” เหมอื นกับเรานัง
บนก้อนหนิ ก้อนใหญ่ ๆ อยูก่ ลางลําธาร นามนั ไหลมาเอือย ๆ เรา
ก็เหน็ มันจะไหลมาอยา่ งรุนแรง เหมอื นนาปาเราก็เห็น แต่เราจะ
ไมต่ กเข้าไปในกระแสของมนั เพราะเรามที ีนังอยา่ งปลอดภัย เรา
จะมองเห็นว่านามันไหลมาจากทิศทางใด แล้วจะไมแ่ ปดเปอน
กับมนั เราจะเปนเพยี งผู้ดูและเห็นมัน

35

ดังนนั ทีพระอาจารย์ใหแ้ ยกระหว่างตังใจคิดและหลงคิด ความ
ตังใจคิดมันไมไ่ ด้เกิดขนึ เรือย ๆ มันเกิดขนึ มาเปนบางครังทีเรา
ทํางานต้องหาคําตอบกับมนั ทีเราต้องทําโนน่ ทํานี ในระหว่าง
การปฏิบตั ิเราตัดทิงไปเลย เพราะเราไมไ่ ด้ทํางานตอนนี ดังนัน
ความคิดทีผุดขนึ มาต่าง ๆ ต่อไปนคี ือลักคิด เราจะเห็น “ความ
ลักคิด” เกิดขึนอยูต่ ลอดเวลา เดียวก็ผุดขนึ มา เราไมอ่ าจปฏิเสธ
มัน “ในขบวนการเจรญิ สติเราจะไม่ปฏิเสธความลักคิดหรอื
หลงคิดแต่เราจะรูท้ ันมัน” เพราะถ้าปฏิเสธเมือไหรแ่ ปลว่าไปกด
ขม่ จิตใจเอาไว้ จะทําใหเ้ ราไมม่ ีทางรูค้ วามจรงิ ของธรรมชาติจิต
เพราะตัวลักคิดหรอื หลงคิดจะเปนตัวแสดงธรรมชาติของจิตให้
เราได้เห็น คุณจะรู้จักจริตนิสยั ใจคอตัวเองชัดเจนขนึ รูจ้ ักตัวเอง
มากขึน เพราะถ้าคนเรามีความค้นุ ชินทางไหนมันก็จะผุดเรอื ง
นนั ขนึ มาเรือย ๆ เพราะคือสงิ ทีเราสงั สม และเมอื เรามองย้อน

36

กลับไปในสิงทีเราลักคิด เราจะเหน็ ความไร้สาระของจิตเรา
มากมายขนาดนี เพอื ใหเ้ บอื หนา่ ยคลายจากการเขา้ ไปหลงยึดมนั
ถือมันกับความหลงคิดเหล่านัน เมอื จิตเห็นมันก็จะเรมิ คลายจาก
การเข้าไปหลงยึด เหมือนผหู้ ญงิ คนหนงึ ไปหาพระอาจารยท์ ีวัด
ท่าทางทกุ ข์มากเหมอื นคนไมไ่ ด้หลับได้นอน พระอาจารย์ก็ถามมี
อะไร เขาบอกว่าฝนว่าไปงานศพ พอจุดธูปเคารพศพเสร็จ ก็เงย
หนา้ เห็นว่าเปนรูปเธอเอง เธอกลัวมาก เธอบอกพระอาจารยว์ ่า
เธอฝนแมน่ พระอาจารยถ์ ามว่าคืนนนั ฝนกีเรือง เธอบอกจําไมไ่ ด้
เดินมาหาพระอาจารย์เดินคิดมากีเรือง จําไมไ่ ด้ จําไว้ใหด้ ี “
กลางคืนว่าฝนกลางวันว่าคิด” มันไมไ่ ด้แตกต่างกัน คนเรามนั
จะจําได้เฉพาะ ๒ อยา่ งเท่านนั ๑. พอใจ ๒. ไมพ่ อใจ ถ้ามันพอใจ
มนั ก็จะจําได้ ถ้ามนั ไมพ่ อใจมนั ก็จําได้ ถ้าเฉย ๆ ไมส่ น เพราะ
ความฝนนันคณุ ไมพ่ อใจ เลยจําได้ แต่ทังคืนนันฝนเปนรอยเรือง
แต่กลับจําไมไ่ ด้ ก็เลยพาโยมคนนนั เจริญสติ ใหม้ องเห็นความลัก
คิด พอทําไปก็เริมเขา้ ใจ เพราะฉะนันอยา่ ไปคิดมาก นผี า่ นมา ๕
ปแล้วยังไมต่ ายเลย แต่งงานมีลูกไปแล้วด้วย

ดังนัน ถ้าเรามองเหน็ ความลักคิด จะเหน็ ว่ามันไมใ่ ชเ่ รอื งทีจะไป
สนใจไยดีกับความคิดทีมันผุด ๆ ขนึ มาตลอดเวลา แต่คณุ เชอื มยั
ว่าไอ้ความคิดทีมนั ผดุ ขึนมาตลอดเวลา บางครงั บางความคิดมัน
ก็ทําใหเ้ ราเปนทุกขแ์ ละสขุ เชือไหม เชอื เลยทันทีก็ผดิ ปฏิเสธ
ทันทีก็พลาด อยา่ เพิง พสิ ูจนก์ ่อน กระบวนการแหง่ การเจรญิ สติ
จะทําให้เห็นเองว่ามนั มีจรงิ ๆ ความคิดบางความคิดทีมนั ไมน่ า่
สนใจ จิตมนั จะทิงไปเอง สติจะทิงเอง แต่มนั จะมบี างอยา่ งทีมัน
ทิงไมล่ ง แล้วเราจะมาเรียนรูก้ ันว่าทําไมมนั ถึงทิงไมล่ ง นนั แหละ
คือต้นเค้าแหง่ ความทกุ ข์ทีมนั จะเกิดขึนจรงิ ๆ พระอาจารย์บอก
ได้เลยว่าถ้าเราเข้าใจขบวนการนีเมอื ไหร่ เราจะเขา้ ใจ

37

กระบวนการตรสั รู้ของพระพุทธเจ้า ว่ามีลําดับการเกิดขึน
อยา่ งไรทําไมถึงเปนลําดับอยา่ งนนั

38

๕. รูแ้ ล้ววางยอ่ มถึงทางพ้นทกุ ข์

อรุณสวัสดิเจรญิ พร เช้าวันนีก็เปนวันทีสองทีเราอยูท่ ีนี มใี คร
นอนไมห่ ลับบา้ ง การทีเราปฏิบตั ิเมือวานนี นา่ จะทําให้เรานอน
หลับง่ายขนึ เพราะเราเดินจงกรมกันทังวัน มนั จะเกิดความเมือย
ล้ากับรา่ งกายเราก็จะทําใหห้ ลับได้ง่ายขนึ สว่ นหนึง อีกสว่ นหนงึ
คือจิตใจของเราทีเริมอยูเ่ ปนทีเปนทางมากขึนเข้ารอ่ งเข้ารอย
ทําให้เกิดการนอนหลับไมฟ่ ุงซา่ น มันสามารถตัดสวิตชไ์ ด้เรว็ ไม่
ยดื เยือ เวลานอนก็นอน เวลาตืนก็ตืน มนั เปนกระบวนการของ
สติทีเขา้ มาชว่ ยบรหิ ารจัดการรา่ งกายของเราได้ดีขึน สําหรบั เชา้
วันนีมีเรอื งเล่าขอใหต้ ังใจฟงและพิจารณาใหด้ ีนะ

เมอื ครงั ทีสมเด็จพระผู้มพี ระภาคเจ้าได้เสด็จไปแสดงธรรม หลัง
จากทีทรงบรรลุธรรม บรรลอุ นตุ ตรสัมมาสมั โพธิญาณเปน
พระพทุ ธเจ้าแล้ว พระองค์ก็ได้เสด็จไปทีกรุงราชคฤห์ เพือไป
แสดงธรรมให้แก่พระเจ้าพิมพสิ ารซึงได้ขอนมิ นต์ไว้ตังแต่ครงั ที
พบกันครงั แรกว่า เมอื ใดพระองค์ท่านได้บรรลธุ รรมอยา่ งที
พระองค์แสวงหาแล้ว ขอให้พระองค์ทรงแสดงธรรมโปรดข้า
พระพทุ ธเจ้าพรอ้ มชาวเมืองด้วยเถิด พระพทุ ธองค์ก็เสด็จมา แต่
ก่อนทีจะมาถึง พระองค์ได้ประกาศใหค้ นรู้จัก ด้วยการยดึ สาํ นัก
ใหญส่ าํ นกั หนงึ ก่อนเข้ากรุงราชคฤห์ เพราะการทีจะมาเดียว ๆ
นนั มันก็ยากแก่การทีคนจะเชือและศรัทธา และตอนนนั ทีกรุง
ราชคฤห์เขามีชฎิล ๓ พนี ้องซึงเปนใหญอ่ ยู่ พระองค์ก็ไปโปรด
ชฎิลจนชฎิลและพวกยอมบวชเปนสาวก จนมที ังหมด ๑๐๐๓ รูป
แล้วพระองค์ก็นําเหล่าสาวก ๑๐๐๓ รูปนันเดินทางเขา้ กรุง
ราชคฤห์ ชาวกรุงราชคฤห์เห็นครงั แรกก็สงสัยว่า ใครเปนศาสดา
ของใครระหว่างชฎิลพีใหญก่ ับพระพทุ ธเจ้าซงึ ยังหนุม่ ยังแนน่ อยู่

39

เพงิ จะอายุ ๓๕ ป ชฎิลก็แก่แล้ว พระพุทธเจ้าทรงตรัสกับชฎิลพี
ใหญว่ ่าเธอจงแสดงใหช้ าวกรุงราชคฤหเ์ ขาเห็น ชฎิลพีใหญก่ ็เดิน
ออกมา แล้วก้มลงกราบพระพุทธเจ้า เท่านนั แหละทกุ คนก็ฮือฮา
พระพุทธเจ้าก็ได้แสดงธรรมจนพระเจ้าพิมพสิ ารได้ถวายสวน
เวฬุวันให้เปนวัดแหง่ แรกในพุทธศาสนา ทีนีปญหามนั อยูต่ รงที
ว่า คนทังเมืองก็แหก่ ันไปสวนเวฬุวัน ใครก็ไปฟงเทศนฟ์ งธรรม
จากพระพุทธเจ้า ไปดูความรม่ รนื แหง่ ศูนย์เวฬวุ ัน ยกเว้นคน
เดียวทีไมไ่ ปคือมเหสขี องพระเจ้าพิมพสิ าร เพราะพระนางได้ยนิ
ขา่ วมาว่า พระพุทธเจ้าองค์นนั ทรงตําหนิความสวยความงาม
เพราะพระนางเปนคนทีสวยทีสดุ ในกรุงราชคฤห์ และพระนาง
หลงในความสวยของตนเอง เพราะทุกคนบอกว่าพระนางสวย
พระนางก็หลงติดว่าตนเองสวย พระนางเลยกลัวจะถกู ตําหนกิ ็ไม่
ยอมไป จนพระเจ้าพมิ พิสารใหค้ นมาแต่งลํานาํ ขับรอ้ งพรรณนา
ถึงความสวยงามของสวนเวฬุวัน จนพระนางเรมิ คล้อยตาม
กล่อมทุกวันจนพระนางอยากไปดู โดยตังใจว่าจะไปเดินดูรอบ ๆ
พระนางเดินดคู วามรม่ รนื ความสงบ แม้จะมีภิกษุอยูเ่ ปนพัน ก็
ไมม่ เี สียงอึกทึกครกึ โครม ญาติโยมมาฟงธรรมกันเรือนพันเรือน
หมนื ก็ไมม่ ีเสียงดังอะไร มีแต่ความสงบเงียบ เสียงธรรมชาติ
ล้วนๆ มแี ต่ความสงบและความสวยงาม ความเรยี บง่าย ทําให้
พระนางเดินมาเรอื ยโดยไมร่ ูต้ ัว จนเดินมาถึงบรเิ วณศาลาที
พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงธรรม

พระพุทธเจ้าก็รูแ้ ล้วว่าพระนางมาถึงอยูใ่ นระยะทีมองเหน็
พระองค์ได้ พระพทุ ธองค์ก็ทรงเนรมิตสาวนอ้ ยอายุประมาณ ๑๖
-๑๗ สวยมากขนาดพระนางเขมาหันไปเหน็ แล้วตะลึง ลองคิดดู
ว่า คนทีคิดว่าตัวเองสวยหลงในความงามของตัวเอง แต่เหน็ แล้ว
ตะลึงในความงามของสาวน้อยคนนนั แปลว่า สาวนอ้ ยคนนัน

40

ต้องสวยมาก สวยกว่าพระนาง พระพุทธองค์ทรงรูว้ ่าพระนาง
เขมารกั สวยรักงาม ก็ทรงเนรมติ ให้สวยทีสุด ซงึ สาวนอ้ ยคนนัน
กําลังถวายงานพดั (หมายถึงค่อยอุปฏฐาก) แต่พระนางเห็นคน
เดียว ด้วยความสวยของดรุณีนอ้ ยคนนนั ทําใหพ้ ระนางอยาก
เห็นชัด ๆ จึงเดินเข้ามาทีศาลาเรอื ย ๆ โดยไมร่ ูต้ ัว พอพระพุทธ
องค์ทรงรู้วาระแล้วว่า พระนางเอาจิตมาจับทีดรุณนี อ้ ยคนนี แล้ว
พระองค์ก็เนรมติ ต่อให้ผ้หู ญงิ คนนีมีอายุมากขนึ ก็เรมิ เปนสาว
เต็มตัว เปนสาวใหญอ่ ายุมากขึน จนกระทังเปนหญงิ ชราแล้วก็
เริมปวย แล้วก็ล้มตายลงไปต่อหน้าต่อตาแล้วค่อย ๆ เนา่ เปอยผุ
พงั จนเหลือเปนเถ้าสลายลมพดั หายไป พระนางเขมาจ้องมอง
ภาพนันตลอดการเดินเขา้ มาในศาลา โดยไมร่ ู้ตัวว่าตัวเองเขา้ มา
ในศาลาจนมานงั อยูข่ ้าง ๆ พระพุทธเจ้า จิตของพระนามเริม
ไถ่ถอนออกจากความยดึ มนั ถือมนั ในความสวยความงามตังแต่
เห็นภาพนนั สดุ ท้ายพระนางได้บรรลกุ ารเปนโสดาบันเรยี บร้อย
แล้ว ด้วยจิตและปญญาของพระนาง เมือเหน็ ภาพนันมันคลาย
จากความยึดมนั ถือมันในความเปนตัวเปนตน ไถ่ถอนจากความ
ยดึ มันสําคัญหมายในตัวตนออกไป เมือพระนางบรรลคุ วามเปน
พระโสดาบัน และนงั อยูข่ ้าง ๆ พระพทุ ธเจ้าแล้วพระพุทธเจ้าได้
ทรงแสดงธรรม ให้พระนางฟงว่า “คนทตี ิดในกามคณุ เปรยี บ
เหมอื นแมงมุมทชี ักใยออกมาแล้วติดใยตัวเอง” นงั พจิ ารณา
เนือความนัน พระนางก็บรรลุความเปนพระอรหนั ต์

เวลาเราฟงพระสูตรทีไร เราก็จะรู้สึกว่าทําไมบรรลุกันง่ายจัง แค่
เนยี มพี ระเคยถามพระพทุ ธองค์ว่าฟงธรรมพระพุทธองค์เพียง
นอ้ ยนิดแล้วก็บรรลไุ ด้ พระพทุ ธองค์ทรงตรัสว่า อยา่ บอกว่าเพียง
นอ้ ยนดิ ธรรมะของเราไมม่ ีคําว่านอ้ ยนิด ธรรมะของเรานันมเี พือ
บุคคลแต่ละบุคคลไมเ่ หมือนกัน มันมเี พียงพอเฉพาะแต่ละบุคคล

41
นนั ๆ ทีจะบรรลไุ ด้ พระองค์หยิบบทนีมาสัน ๆ ให้กับพระนาง
เขมา “คนทหี ลงติดในกามคณุ เปรยี บได้กับแมงมมุ ชกั ใยออก
มาแล้วติดใจใยตัวเอง” พระนางเขมาก็เลยได้บรรลุ

พระเจ้าพมิ พสิ ารเห็นคาแล้ว พระนางยงั ไมก่ ลับซกั ที เลยมาตาม
พอมาตามพระพุทธองค์ทรงตรสั ว่า มเหสขี องท่านไมส่ ามารถ
กลับไปครองเรอื นได้อีกแล้ว
พระเจ้าพมิ พิสารก็ขออนุโมทนาสาธุ ข้าพระพทุ ธเจ้าอนญุ าตให้
พระนางได้บวช พระนางจึงได้เปนพระเขมาเถรี ซึงเปนพระอัคร
สาวิกาเบืองขวา ผมู้ ากด้วยปญญาดังพระสารีบุตร
ทีนีเรอื งของเรือง คือ มนั มสี ิงทีนา่ สนใจอยู่ มีอะไรบ้าง การเกิด
ดับไมย่ ดึ มนั ถือมัน นนั ก็เปนจุดหนงึ คือ การเกิดและดับไปทําให้
พระนางคลายจากการยดึ มันถือมัน จนบรรลเุ ปนพระโสดาบนั มี
อะไรอีกทีนา่ สนใจ คําทีพระพทุ ธองค์ตรสั ว่า คนทีหลงติดใน
กามคุณเปรยี บได้กับแมงมุมทีชกั ใยออกมาแล้ว หลงติดใยตัวเอง

42

คําว่ากามคุณคือ ความนา่ ใครย่ นิ ดีใน รูป รส กลิน เสียง
โผฏฐพั พะ รูปเหล่านเี ปนรูปภายนอก ความยินดีมนั เกิดจากอะไร
รูปมันรูไ้ หมว่ามนั เปนสิงทีนา่ ยนิ ดี เสียงมนั รู้ไหม กลินมันรูไ้ หม
สงิ เหล่านมี ันรูไ้ หมว่ามนั ได้ยินดีนา่ ปรารถนา มนั ไมร่ ู้ ดังนันความ
ยนิ ดีความใคร่ ความปรารถนามันเกิดจากไหน เกิดจากตัวเราที
มันสง่ ออกไปใชห่ รือไม่ มนั สง่ ออกไปจากเรา พระพทุ ธองค์จึง
ตรัสว่ามนั เปนเหมอื นดังใยแมงมมุ ใยแมงมมุ มนั ออกจากตัว
แมงมุมเอง ดังนนั ความนา่ ใครย่ นิ ดีทังหลายมันสง่ ออกไปจากเรา
มันไมไ่ ด้มาจากทีอืน มันปรุงแต่งขนึ มาจากใจเราเอง ใจเราต่าง
หากทีสง่ ออกไปเหมือนใยแมงมุมทีพน่ ออกไป แถมโง่ด้วย พน่
ออกไปแล้วพนั ตัวเอง แล้วตัวเองก็หลงติดมัน เหมือนความนา่
ใครย่ นิ ดีทังหลายแหล่ทีมนั สง่ ออกจากใจของเรา แล้วเราก็หลง
ไปยดึ เอาเองอีกต่างหากว่าเปนอยา่ งนัน เปนอยา่ งนี ต้องเปน
อยา่ งนนั อยา่ งนี เราสมมุติกันขนึ มาเอง ปรุงแต่งกันขนึ มาเองแล้ว
ก็หลงติดในสิงทีเราปรุงแต่งขนึ มาเอง เหมอื นใยแมงมมุ มนั ย้อน
กลับมาแล้วพนั ตัวเอง โลกนไี มไ่ ด้ว่าอะไรเลย รูป เสยี ง กลิน รส
โผฏฐพั พะ ไมไ่ ด้ว่าอะไรเลย เราว่าเองทังนัน

มีคําพดู หนงึ ของหลวงปูชาสุดยอดเลย “เรอื งโกหกพูดกันรอ้ ย
คนจนกลายเปนเรอื งจรงิ ” เรืองโกหกแต่ยนื ยันสามคนก็ถือเปน
เรอื งจริงแล้ว เพราะฉะนันทังหมดทังสนิ เปนเพราะเราสมมุติกัน
ขึนมาแล้วเราก็ไปยึดถือในสมมุติบญั ญตั ิเเหล่านนั ความนา่ ใคร่
นา่ ยินดีก็เกิดจากการปรุงแต่งภายในจิตใจของเรา ดวยสมมตุ ิ
บัญญตั ิด้วยสัญญาทีเขาบอกว่าตังแต่เมอื ไหรไ่ มร่ ู้ ภาษาอีสาน
บอกว่า “ปูสังกะสายา่ สังกะส”ี คือไมร่ ูเ้ มือไหร่ ไมร่ ูว้ ่ามาแต่เมือ
ไหรห่ าไมเ่ จอแล้ว หลายสิงหลายอยา่ งในชวี ิตของเรา เรารู้ไหมว่า
มันมาได้อยา่ งไร มีเรอื งราวมากมายมาเกียวขอ้ งกับชีวิตเรา

43

โดยทีเราก็ไมร่ ูว้ ่ามันมาได้อยา่ งไร แต่มันก็สงั สมมาซึงก็จะทําให้
เราหลงยดึ อยูเ่ รือย อยา่ งเรอื งการปฏิบัติ ถ้าเราปฏิบตั ิแล้วต้อง
เห็นอยา่ งนนั ต้องมีอยา่ งนี ต้องเจอสภาวะอยา่ งนันอยา่ งนี ต้องมี
ฤทธิอยา่ งนนั อยา่ งนี เราเคยได้ยินไหม มนั มาตังแต่เมอื ไหร่ จะ
บอกว่าสงิ ทีเกิดมาเหล่านี มันเปนความปรารถนาของมนุษยท์ ีมัน
อยูภ่ ายใต้จิตลึก ๆ ด้วยความโง่และหลงว่าจะต้องใหไ้ ด้ต้องมีต้อง
เปน ซึงเหมอื นเปนโปรแกรมข้ามภพข้ามชาติเรามาตลอดกับ
ความรู้สกึ ของความอยากได้อยากมีอยากเปน หรือถกู มันปลูกฝง
เมือเราเริมจําความได้ว่าต้องให้มีใหเ้ ปน ความรู้สกึ เหล่านนี ีเองที
มันเปนตัวผลักดันให้เราแสวงหาทีมนั จะได้มีจะเปน จึงไมแ่ ปลก
ว่ามนั จึงเปนขบวนการทีทําใหเ้ ราลงและถลําเขา้ ไปเรือย ๆ

ดังนนั พระพทุ ธเจ้าทรงสอนใหเ้ ราหันกลับไปมองและพจิ ารณา
สิงทีมันเกิดขึนกับเราจริง ๆ เคยมีความรูส้ ึกแบบนไี หม เราโกรธ
ใครบางคนมากเลย ในขณะทีเราร้อนเปนไฟ แต่คนทีเราโกรธ
นอนตีพุงเฉยเลย ไมร่ ู้เรืองกับเรา คือ เราสง่ ความไมพ่ อใจสูเ่ ขา
แล้วเราก็หลงยดึ ความไมพ่ อใจเหล่านนั เอามาเปนทกุ ข์ ในขณะที
เขาไมร่ ูเ้ รอื งเลย เราปรุงแต่งขึนมาเองแล้วหลงคิด เพราะฉะนัน
เมอื เราเริมปฏิบัติ เราจะเริมมองเหน็ ขยะ จะเขียออก

ดังนนั การปฏิบัติในทางพทุ ธศาสนาคือ จะเริมทิง ยงิ รูย้ ิงทิง ทิง
ออกเพราะมนั เฉลยความจริง แล้วมันจะวาง มนั จะเหลือน้อยลง
ดังนนั ถ้ายงิ ปฏิบัติแล้วมันแบกรูม้ ากขึน คือสวนทาง เพราะหลัก
ของพทุ ธศาสนาต้องไมเ่ หลืออะไร แมแ้ ต่อัตตา ความรูส้ ึกความ
เปนตัวตนมันต้องนอ้ ยลงไป ถ้ามันรูม้ นั ต้องวางเปน รูล้ ้ววาง รู้
ตามความจรงิ แล้ววาง เพราะเมอื รู้แล้วมนั ก็หนไี มพ่ ้นกฎพระ
ไตรลักษณ์ จิตมันก็วาง ยึดมันถือมันไมไ่ ด้มนั ก็วางเอง เพราะ

44

ฉะนนั ทังหมดทังสินมันต้องมาเรมิ ทีใจของเรา เพอื ให้รู้เท่าทันใย
ทีมันออกจากตัวเราไมใ่ ห้มนั มาพันตัวเอง จะเห็นว่าใยแมงมุมมี
ความเหนยี วติดเลยนะ เหมอื นความยึดมนั ถือมันทีเราสง่ ไป
ยดึ ถือแล้วไปปรุงแต่ง ดังนนั เราต้องรู้เท่าทันไมป่ ล่อยใยออกมา
เพราะฉะนันจะเหน็ ว่า พระสูตรนีมีอะไรนา่ สนใจเยอะอยา่ งที
พระพทุ ธเจ้าบอก มันไมน่ อ้ ย มันไมม่ ากแต่พอดีสาํ หรับบุคคล ใน
ทางพทุ ธศาสนาฝายนกิ ายเซน เวลาครูบาอาจารย์จะสอนให้
บรรลรุ ู้แจ้ง มักจะเลือกหลักสูตรทีเหมาะกับลกู ศษิ ยข์ องท่าน
เพราะฉะนนั ในแต่ละพระสตู รสาํ คัญนา่ สนใจ มีรหสั อยูข่ ้างในนัน
ใหเ้ ราถอดรหสั เพอื ให้เปนไปเพือการพน้ ทกุ ข์ ไมไ่ ด้สอนใหจ้ ําแต่
ให้เอามาใช้ สําหรับเช้านีก็จบเพยี งเท่านี

45

๖.ทําสบาย ๆ ให้ต่อเนือง

เรอื งของการปฏิบัติไมต่ ้องคราเครง่ มากสบาย ๆ แต่ขยันทําคํา
สอนของหลวงปูเทียนจนมาถึงหลวงพอ่ คําเขียน ท่านจะบอกว่า
ให้ทําเล่น ๆ แต่ใหต้ ่อเนอื งเพราะการทีเราไปคราเครง่ เปนภาวะ
แหง่ การตังจิตทีผิดแล้ว แต่มันก็คอยจะคราเครง่ อยูต่ ลอด เพราะ
จิตของคนมันจะโน้มเอียงไปทางอัตตกิลมถานโุ ยคง่าย คือ ภาวะ
แหง่ การรู้สกึ เครง่ ๆ พระพุทธเจ้าท่านบอกให้รูต้ ืนแล้วเบิกบาน
ปฏิบตั ิธรรมมนั ต้องสบาย ๆ บางคนตังใจภายใน ๓ เดือนนีต้องรู้
ให้ได้ พอไมเ่ กินอาทิตย์ หน้าดําคราเครียดมากเลย พระอาจารย์
ยงั ไมบ่ อก ปล่อยให้ทกุ ขส์ อนเขาเอง ใหเ้ ขาเผชญิ ว่านคี ือสงิ ผิด
ถ้าเขายงั ไมเ่ หน็ ทุกข์ โทษของมันก็เลยยังไมร่ ูจ้ ัก เหมือนเวลา
สอนเด็กไมใ่ ห้สูบบุหรี ไมใ่ ห้โดดเรียน เขาไมเ่ ชือหรอก จนกว่าเขา
เหน็ โทษทีมาเจอเข้ากับตัว ถึงจะเขา้ ใจ ต้องสอบตกก่อนถึงจะรู้
บางครงั เรืองของการปฏิบัติครูบาอาจารย์ก็จะปล่อยไปก่อน ให้
โดนไปก่อน เพราะคนเราชอบมอี ัตตกิลมถานโุ ยค คือ มันต้องดู
เครง่ ๆ เครยี ด ๆ มนั ถึงจะใช่

ดังนนั จึงไมแ่ ปลกว่าทําไมศาสนาของมหาวีระ หรอื ศาสนาเชน (
พวกชีเปลือย) จึงดํารงอยูใ่ นอินเดียได้ โยคีทรมานกายยงั ดํารง
อยูไ่ ด้ แต่พทุ ธศาสนาหายไปเลย ลองดูใจเรา พระอาจารย์เคยต่อ
ต้านการปฏิบัติ คือ ถ้าปฏิบตั ิแล้วต้องเครง่ ๆ ประหลาด ๆ ไมเ่ อา
ดีกว่าถ้าปฏิบัติแล้วมชี อื ว่าเปนผปู้ ฏิบัติธรรม มกี ิรยิ าท่าทาง
แปลก ๆ ได้ชอื ว่าฉนั ปฏิบัติธรรม มันนา่ กลัวมากเลย เปนภาพที
นา่ กลัวมากสาํ หรบั พระอาจารย์ในตอนนนั ก็เลยไมเ่ อา จนวัน
หนงึ ได้พบทางทีเราไมต่ ้องคราเครง่ กับการปฏิบัติ แต่จะมวี ิธกี าร
ทีหลากหลายในการชว่ ยเหลือตัวเองให้ได้เรียนรู้ลองวิธโี น้นวิธนี ี

46

ใชห้ ลักการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาชว่ ย ทดลองวิธีต่าง ๆ ทําให้
สนกุ เพลิดเพลินกับการปฏิบัติ หลายคนทีมีภาวะแหง่ การ
เครง่ เครยี ดก็จะทําให้เกิดความล่าชา้ ในการปฏิบัติบางทีก็หลงไป
เลย

มนี ิทานเซนเรืองหนึงนา่ สนใจมาก มหี นมุ่ คนหนึง พอ่ เปนเจ้า
สํานักดาบ เขาก็อยากเปนนกั ดาบเหมือนพอ่ แต่พอดูแล้วลกู ชาย
ไมเ่ หมาะ พอ่ ก็ไมย่ อมสอน เลยตัดสินใจหนีออกจากบา้ น ไปหา
ครูบาอาจารย์อืน ไปหาอาจารยท์ ีว่าเก่งทีสุด อาจารย์บอกว่ายาก
นะ วิชานีไมธ่ รรมดา ชายหนมุ่ ก็บอกไมเ่ ปนไรผมจะพยายาม
ตังใจเรยี น อาจารย์บอก ๓ - ๔ เดือนเลยนะ เขาบอกไมเ่ ปนไรผม
จะใชเ้ วลาใหม้ ากตังใจให้มากทีสุด อาจารยบ์ อกว่าถ้าอยา่ งนี ๗
เดือน อาจารย์ครับผมจะท่มุ เททังกลางวันกลางคืนเลยครับ
อาจารยบ์ อกถ้าอยา่ งนี ๑ ป พอจะตอบอาจารย์ อาจารยบ์ อกไม่
ต้องพูดแล้ว ไปตักนาผา่ ฟนหุงข้าวอาจารย์ ไมไ่ ด้พดู เรอื งดาบ
เลย และไมบ่ อกว่าจะสอนเมอื ไหรด่ ้วย พอชายหนมุ่ ไปตักนามา
อาจารยเ์ ดินผา่ น อาจารย์ก็เอาเท้าเขยี ใหส้ ะดดุ ล้ม ชายหนุม่ มอง
หน้าอาจารย์ อาจารยก์ ็เฉยเดินผวิ ปากหายไป พอผา่ ฟนอยูด่ ีๆ
อาจารย์ก็เดินมาฟาดหัวโปก พอมองหน้าอาจารย์ อาจารย์ก็เฉย
หุงข้าวอยูก่ ็โดนฟาดหวั ฟาดเสร็จก็เดินหายไป วัน ๆ โดนฟาด
หลายครงั ทํางานก็หนกั สอนก็ไมส่ อน คราวนชี ายหนมุ่ ก็คอย
ระวัง พออาจารย์โผล่มาเขาก็เรมิ ระมดั ระวัง แต่ก็ยงั โดนอยู่
เพราะอาจารย์มาไมเ่ ปนเวลา ผลุบ ๆ โผล่ ๆ บางทีทําอะไรเพลิน
ๆ อยูก่ ็มาฟาดโปงแล้วหายไป

พอมาวันหนึงหลังจากอยูม่ าได้ ๒ เดือน ขณะทีก่อไฟอยู่ อาจารย์
ก็โดดมาเลย ฟาดเต็มที ชายหนมุ่ ก็หยบิ ท่อนฟนมารบั ได้ พอรับ

47
ได้ปุบ อาจารย์บอก “เฮ้อ จบแล้ว” จบแล้ววิชานักดาบ เธอเรียน
จบแล้ว

ตอนนชี ายคนนเี ปนนกั ดาบทีเก่งทีสุดของญีปุน บนั ทึกไว้ใน
ประวัติศาสตร์ และกระบวนท่าคือ“ไร้กระบวนท่า” เพราะ
สามารถรับและตอบโต้ได้อยา่ งทันทีทันใด ไมว่ ่าจะมากระบวน
ท่าไหนก็ตาม
เพราะฉะนันเวลาปฏิบตั ิไมต่ ้องคาดหวังว่าจะเปนอยา่ งนนั อยา่ งนี
และสาํ คัญคือ “การตระหนักรูป้ จจุบนั ” นักดาบคนนนั เก่งทีสุด
เพราะอะไร เพราะเขาอยูใ่ นปจจุบนั ขณะไมม่ กี ระบวนท่า แต่มี

48

สติสมั ปชัญญะรวดเรว็ ทังตังรบั และตอบโต้ เพราะฉะนนั การเขา้
ถึงธรรมมนั ก็ไมม่ ีกระบวนท่า อยูท่ ีเราสรา้ งเหตปุ จจัยให้พรอ้ ม

พูดถึงเรืองกระบวนท่าทําใหค้ ิดถึงเรอื งจิงจอกกับแมวปา แมวปา
เขารู้สกึ ว่าจิงจอกได้หายไป ๓ อาทิตย์ ไมเ่ จอหน้าพจี ิงจอกเลย
พอ ๓ อาทิตย์ผา่ นไป พีจิงจอกก็กลับมา นอ้ งแมวปาได้ถามพี
จิงจอก ว่าหายไปไหนมาตัง ๓ อาทิตย์ คิดถึง พจี ิงจอกก็บอกไป
เรยี นกระบวนท่าหลบหลีกภัย ๑๕ กระบวนท่า การหลบภัยนัน
ต้องมีวิธีการน้อง ศตั รูมาอยา่ งนเี ราต้องไปอยา่ งนี มนั มาอยา่ งนี
ต้องไปอยา่ งนี จิงจอกอธบิ ายใหญ่ น้องแมวปาอยากเรยี นบ้าง
ขอเรยี นจากพจี ิงจอกสกั กระบวนท่า พจี ิงจอกก็มองด้วยหางตา
ยากนะนอ้ ง ต้องใช้ความเพยี รกว่าพีจะจบมาได้แทบเปนแทบ
ตาย ในขณะทีคยุ กันนันก็มีนายพรานโผล่มาจากหลังพมุ่ ไม้ยก
หน้าไมข้ ึนมาเตรยี มยิง บงั เอิญเจ้าแมวปาหนั มาเห็น ด้วย
สญั ชาตญาณแมวปากระโดดหลบหลังต้นไม้ เจ้าจิงจอกมวั แต่คิด
กระบวนท่าว่าจะหลบท่าไหนดี ก็เลยถกู ยิงตาย ยังไมไ่ ด้ใช้ซกั ท่า
แมวปาเอามือตบอกราํ พงึ ว่า โชคดีจังทีกูยังไมไ่ ด้เรยี น (ฮา)
เขา้ ใจไหมอยา่ ไปคิดกับกระบวนท่าให้มากตระหนกั รูใ้ นปจจุบัน
แล้วทําไป อยา่ ไปคาดหวังมงุ่ มนั อยา่ ไปบบี คันต้องเปนอยา่ งนัน
อยา่ งนี เพราะการทีเราจะเขา้ ใจสภาวธรรมมันไมเ่ ลือกกาลเทศะ
หรอก

ครงั แรกทีพระอาจารยเ์ ข้าใจ เรืองรูปเรอื งนาม เรอื งกายเรอื งจิต
นนั เกิดขึนขณะพระอาจารยบ์ ิณฑบาต ขณะเดินไปบณิ ฑบาต
เดินผา่ นสะพาน เดินไปแล้วมนั ก็โผล่มาให้เหน็ ชดั ขึน ๆ บททีมนั
จะเขา้ มามันไมใ่ ชเ้ วลานานหรอก ขอใหม้ นั มีปจจัยพร้อม ใครที
ปฏิบัติสมาธิมาก่อนถือว่าโชคดีเพราะจะมพี นื ฐานในการตังจิตใน

49

อารมณ์กรรมฐาน พอมาเจรญิ สติจะสามารถตังจิตง่าย เหน็ การ
เปลียนแปลงง่าย เพราะจิตจะนงิ สงบง่าย แต่พอมนั เปลียนแปลง
จะรู้สึกได้ชัด สภาวะเกิดขนึ ได้ทกุ ขณะของชวี ิต และพอเราเข้าใจ
เราจะคลายและวางลง เพราะมันจะเฉลยความจรงิ ให้เราได้
แต่ละครงั ๆ แต่เราทําใหม้ ากขยันสงั สมจนถึงจุดหนึงมนั จะสว่าง
ของมันเอง จะเข้าใจ เข้าถึงและจะเฉลยแล้วสามารถวางลงได้
เอง มันจะเบาขนึ เรือย ๆ สบาย ๆ

50

๗. รูส้ กึ ตัวเปนมรรคพล

มพี ระสตู รอยูพ่ ระสตู รหนึงเปนพระสตู รทีพดู ถึงขอนไมล้ อยนา มี
อยูว่ ันหนงึ พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปพร้อมภิกษุประมาณหนงึ ไปพัก
รมิ แมน่ าแหง่ หนึง ขณะนนั พระองค์ได้มองไปทีแมน่ าก็เห็นขอน
ไม้ขอนหนงึ ลอยอยูก่ ลางนา พระองค์จึงตรสั ว่า “ภิกษุทังหลาย
เธอเห็นขอนไมท้ ีอยูก่ ลางนานันไหม” ภิกษุก็มองตามไป ก็ตอบ
ว่า “เหน็ พระพทุ ธเจ้าค่ะ” พระพุทธองค์ก็ตรัสว่า “ถ้าขอนไมน้ ี
ไมไ่ ปติดฝงนนู้ ไมม่ าติดฝงนี ไมถ่ กู มนุษย์เอาไป ไมถ่ กู อมนษุ ย์
เอาไป ไมจ่ มลงท่ามกลางของวังวนและไมผ่ พุ งั เนา่ ในซะก่อนแล้ว
ขอนไม้นกี ็หวังได้ทีจะออกสูม่ หาสมุทร อันเปนทีสุดของสายนา
ทังหลาย”

ภิกษุเหล่านันก็ทลู ว่าขอพระพุทธองค์ทรงอรรถาธบิ าย พระพุทธ
องค์ทรงตรัสว่า “ขอนไมเ้ ปรยี บได้ดังจิตเราผ้ปู ฏิบัติ ถ้าขอนไมไ้ ม่
ไปติดฝงนูน้ ฝงนู้นเปรยี บได้กับอายตนะภายนอก ฝงนเี ปรยี บได้
กับอายตนะภายใน ถ้าจิตของเราถูกตังมนั ไว้ดีแล้ว มีความ
เปนกลางไมเ่ อนเอียงยึดติดไปในรูป เสยี ง กลิน รส โผฏฐัพพะ
ธรรมารมณ์ คืออายตนะภายนอกและไมห่ ลงติดยึดมนั กับ ตา หู


Click to View FlipBook Version