The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลับมารู้สึกตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iampowerpink, 2022-03-28 10:03:51

กลับมารู้สึกตัว

กลับมารู้สึกตัว

Keywords: เจริญสติ,วิปัสสนา,ครรชิต,พุทธศาสนา

50

ละเว้นจากการทำบาปทัง้ ปวง เพอ่ื ไมใ่ ห้มีรอ่ งรอยแหง่ บาปกรรม และมแี ตร่ ่องรอยทดี่ ีแหง่ บญุ กศุ ล
จะได้นำทางสู่สคุ ตภิ พ

พระพทุ ธเจา้ ตรัสว่า “บาปอกศุ ลใดทีย่ งั ไมเ่ กิด ก็อยา่ ใหม้ ันเกิด บาปอกุศลใดทม่ี นั เกิดข้นึ แลว้ ก็จง
ละวางทงิ้ ไป” “บุญกศุ ลใดทย่ี งั ไม่เกดิ กท็ ำใหม้ นั เกิด บญุ กศุ ลใดท่เี กิดขึน้ แลว้ กท็ ำให้มนั เจริญ
งอกงามย่งิ ๆ ข้ึนไป” แมแ้ ตใ่ นวาระสดุ ทา้ ย ถ้ามันได้รอ่ งรอยแหง่ การปลดปลอ่ ยวางบา้ ง มี
สตสิ มั ปชัญญะดี ๆ ประคองสตดิ ี ๆ รอ่ งรอยนีอ้ าจเป็นตวั นำทางครงั้ สดุ ทา้ ยของชวี ติ เรา เพราะว่า
ในวาระสุดท้ายส่ิงท่ีคนุ้ เคยทำมาท้งั หมดจะจำได้หรือไม่ก็ตาม บุญและบาปมนั จะเรยี งหนา้ มา
เพราะฉะนัน้ เวลาเราเจริญสติไปเรอ่ื ย ๆ สงิ่ ทีเ่ กิดขน้ึ กบั เราคือความคิดที่มันผดุ ขึน้ มามากมาย
มหาศาล มนั มาทงั้ ดีและไมด่ ีน่นั แหละ คอื การซ้อม คุณจะทำยงั ไงที่จะไม่ไปเกาะเกยี่ วกับมนั จะทำ
ยงั ไงที่จะวางเฉย แล้วปลอ่ ยผา่ น ดำรงจิตม่ัน ไม่ไปเกาะอะไร มนั กไ็ ม่แน่ เราอาจจะดบั โดยสิ้นเชงิ
ในวาระสุดท้ายก็ได้ ในครง้ั สมยั พทุ ธกาลจบแบบนเ้ี ยอะ ครัง้ ทีพ่ ระพทุ ธเจ้านำทางพระเจ้าสุท
โธทนะจนบรรลพุ ระอรหนั ต์ ในขณะลมหายใจสุดท้ายดับ ดังนน้ั อยากจะบอกวา่ การเจรญิ สติมนั
ช่วยเราได้ และเปน็ วิหารธรรมที่เราจะใช้ได้จนถึงทีส่ ุด แม้ในวาระสดุ ท้ายของชวี ิต

51

๙. ทิฏฐิสมบูรณไ์ รอ้ ุปาทาน

เช้านี้กม็ ีเร่อื งเล่าใหฟ้ งั เร่ืองท่วี า่ เปน็ เร่ืองเกีย่ วกับคนทไี่ มร่ อู้ ะไรเลยแต่สามารถเขา้ ใจในธรรม และ
สามารถไดร้ ับผลแห่งการปฏบิ ตั ิธรรมอยา่ งงา่ ยมาก น่าแปลกมาก อาจเปน็ เพราะความที่เขาไมร่ ู้
อะไรเลยแลว้ เมอื่ ไดป้ ระสบพบเห็นกบั มัน เขาก็เลยปกั ใจลงง่าย คือมพี ระบวชมาอยู่กับพระ
อาจารย์ ตอนนั้นพระอาจารย์ถกู สง่ ไปเป็นเจา้ อาวาสอย่ทู วี่ ดั แหง่ หนึ่ง เนื่องจากเจ้าอาวาสรปู เก่า
หนีไป ที่นั่นก็มพี ระบวชใหม่ ๑ รูปและพระบวชมา แล้ว ๑ พรรษา แตเ่ ป็นรอบที่ ๒ คอื เคยบวช
มาแล้ว ท่นี ้วี ดั แหง่ น้เี ป็นวดั ปา่ กฏุ ิก็เปน็ กุฏิหลังเล็ก ๆ อยูต่ ิดป่าชา้ พระบวชใหม่กลัวผีแต่พระท่ี
บวชมากอ่ นกลัวมากกวา่ ซึ่งพระทีบ่ วชมากอ่ นท่านกอ็ ยากจะขอนอนด้วย แตเ่ รากไ็ ม่ใหน้ อน ท่าน
ก็ทำเปน็ มาถามธรรมะขอแคม่ ีคนอยู่เปน็ เพ่ือน พอพระอาจารยอ์ ธิบายไปเรอ่ื ยท่านกเ็ รม่ิ ง่วง พอ
เรมิ่ งว่ งทา่ นก็จะยกมือไหว้ลา ประคองความงว่ งไปเพอ่ื ใหห้ ัวถึงหมอนแล้วหลับเลย พอตอนหลงั
พระอาจารยร์ ูว้ ่าท่านไมต่ งั้ ใจฟัง พระอาจารย์กบ็ อกไปเลยไม่ไดต้ ง้ั ใจฟัง พอรวู้ ่าพระอาจารย์เร่มิ
ร้แู กว กเ็ ลยไปหาพระบวชใหมอ่ กี รูปหน่งึ ไปขนข้าวของเขามาที่กุฏิของตวั เองเลย แลว้ พอกลางคืน
กช็ วนสวดมนตแ์ ละพยายามสอนสวดมนต์ แต่พอท่านใกลจ้ ะหลับทา่ นขอนอนก่อน ห้ามหลับก่อน
ทา่ น ทนี ี้พระอาจารยก์ ็เรียกพระใหมม่ าถามกลวั ผีใช่ไหม อยากหายไหม ถา้ อยากหายคนื น้ี ไม่ตอ้ ง
นอนท่ีกฏุ ใิ ห้ไปนอนศาลาพักศพในป่าช้า เอากลดไป เอาบริขารไป พระท่บี วชมาก่อนอีกรปู กจ็ ะ
ตามไป พระอาจารยบ์ อกไมต่ ้อง ให้พระใหม่ไปรปู เดยี วแลว้ พระอาจารย์ก็บอกพระใหม่ว่า อยา่ รบี
นอน ยกมือสรา้ งจังหวะไปเรอ่ื ยแล้วจะรู้เองว่าอะไรทที่ ำใหเ้ รากลัว แตถ่ า้ กลัวมากให้มองมาท่ีกฏุ ิ
พระอาจารย์ ผมจะเปดิ ไฟแล้วเดนิ จงกรมอย่ทู ี่นัน่ เขาไปอยูท่ นี่ ่นั ได้ ๒ คืน พอเช้าวันท่ี ๓ เขาเดิน
มาหาพระอาจารย์ แล้วบอกผมรแู้ ลว้ ครบั ว่าอะไรทำให้ผมกลวั แลว้ ผมกลวั อะไรอยา่ งที่พระ
อาจารย์วา่ แลว้ กลวั อะไร เล่าไดไ้ หม พระใหม่ก็เล่าว่า คนื แรกนัง่ ยกมอื สร้างจังหวะอยา่ งท่อี าจารย์
สัง่ มนั มเี สียงบางอยา่ งตกใสห่ ลงั คาครบั “ปงั ” ผมก็คดิ ว่า ผี ขนผมลุกหัวใจเต้นเรว็ มาก อณุ หภมู ิ
สงู ลิ้นชา แม้ไมม่ ผี มแต่ร้สู กึ ได้เลยวา่ ผมตงั้ มนั รสู้ กึ แตอ่ าจารย์สั่งวา่ เกิดอะไรขน้ึ ให้ยกมอื สร้าง
จังหวะ ผมกย็ กมือ แค่รอบเดยี วครับทุกอยา่ งกลับเป็นปรกติไม่เปน็ อะไร พอยกมือสร้างจงั หวะไป
ซกั พักกน็ อนหลบั ได้ พอคืนท่ี ๒ ครบั ขณะนัง่ ยกมอื สร้างจังหวะมีอะไรก็ไมร่ บู้ นิ มาชนกลดผม
“ปึง” เทา่ นั้นแหละครับมันกค็ ิดว่า ผี คราวนคี้ รับ เหน็ เลยครบั ผมี าเพียบทกุ ทศิ ทกุ ทาง มาทศ่ี าลา
ของผม ภาพน้ัน ความกลวั จับข้วั หวั ใจ ลน้ิ ชา อุณหภูมสิ งู แตอ่ าจารย์สง่ั ไว้ เกดิ อะไรข้นึ ให้ยกมือ

52

สร้างจังหวะ พอยกมอื ข้ึนเทา่ น้นั ผีหายหมดเลยครบั กลบั คนื มาเป็นปรกติ ผมเลยรู้แลว้ ผมกลัว
ความคิดตวั เอง เพราะผีทีเ่ ห็นคอื ผใี นหนงั ท่เี ราเคยผ่านตาในโทรทศั น์ พอผมยกมือภาพเหลา่ น้ันก็
หาย ผมเลยรวู้ ่า ผมกลวั ความคิดตวั เอง ทำใหต้ อนน้ีเขาเลิกกลวั ผแี ละไม่ไหล ตามความคิดไรส้ าระ
ของตัวเอง

พอกลับบา้ นไป พอ่ แมง่ งวา่ ลูกเปลย่ี นไป ไม่ทำตวั ไรส้ าระเหมอื นเม่อื ก่อน พ่อแมด่ ใี จตามกลบั มาก
ราบพระอาจารย์สอนลกู อย่างไร ลกู เปล่ยี นไปได้ อาตมาไม่ไดส้ อนอะไรมาก ลกู คุณต่างหากทใ่ี ห้
โอกาสตวั เองกบั การท่จี ะเรียนรู้ เขาจงึ ไดเ้ ปล่ียนแปลงตวั เองได้และไดค้ ้นพบความจริง จากท่เี มือ่
ก่อนกนิ เหลา้ สูบบหุ รี่ เดี๋ยวนี้เลิกหมด แถมเปน็ กำลงั สำคญั ของครอบครวั ความคดิ ทไี่ ร้สาระ เขา
สามารถตดั ออก เขาอา่ นใจตัวเองออก บอกใจตัวเองได้ ใช้ใจตัวเองเป็น วางใจตวั เองถูก มนั ได้ ๔
อยา่ งก็เท่าน้ันเอง เขาเป็นคนทีไ่ มต่ ้องถามถงึ ภาคqปรยิ ตั ิเลยนะ ไมม่ ีเพราะเพงิ่ บวช สวดมนตไ์ ม่
เปน็ แตส่ ่งิ ที่เขาเห็นคอื ความจริงที่เกิดข้ึน มนั ทำใหเ้ ขาได้คำตอบกบั ตวั เอง ตง้ั แตเ่ ราเกิดมามนั มี
เร่อื งมากมายทถ่ี ูกปลูกฝงั ในความทรงจำของเราเยอะมาก อยา่ งพระอาจารยเ์ คยไปปลูกฝงั ความ
คิดวา่ ทไ่ี หนมีงทู น่ี ั่นมีทรพั ย์ ก็มคี นบอกจรงิ หรือพระอาจารย์ ใช่มคี นทบี่ า้ นมงี ขู ึน้ มาจากทอ่ ระบาย
น้ำในห้องนำ้ เขากเ็ ลีย้ งทำอ่างใหม้ ันเลย แลว้ กท็ ำมาคา้ ข้นึ หลงั จากคุณได้ขอ้ มลู นไ้ี ปพอไปเจอเรอ่ื ง
งู ความคิดท่พี ระอาจารย์เคยบอกมนั ก็จะแวบขึน้ มาในหัวคุณ มันสมมุตขิ นึ้ มาแล้วบัญญัตมิ นั อีก

53

แล้วไปยดึ ถือเอาจรงิ เอาจังกับมันเลย มนั จะเขา้ มาปรงุ แตง่ ในจติ มันเป็นสญั ญา แล้วมนั จะเขา้ มา
ทำงานในการปรุงแต่ง จริง ๆ มันเป็นเรื่องอะไรกไ็ ม่รู้ แคไ่ ดย้ ินมาแค่น้กี เ็ อามาคิดปรุงแต่งตอ่ อยา่ ง
ทีบ่ อกวา่ ความทกุ ขม์ ันมี ๓ อย่าง

๑. ทกุ ข์ธรรมชาติ คือ ทกุ ข์ทางกาย ทุกขน์ ข้ี ึน้ มาตัง้ แตเ่ ราเกดิ ความร้อน ความหนาว ความหิว
ความกระหาย มนั จะอยู่กบั เราจนตาย ซ่งึ ไมใ่ ห้มันมีไม่ได้ แก้ไขได้เป็นคร้ังเป็นคราวไป กนิ ก็หายหวิ
รอ้ นกอ็ าบน้ำ เปน็ ไขก้ ร็ ักษาไป

๒. ทกุ ขพ์ ระไตรลกั ษณ์ คือ สภาวะแห่งการทนอยู่ไมไ่ ด้ ไมส่ ามารถอยู่ในสภาวะเดิมได้ เขาเรยี ก
สภาวะทุกข์ มนั มพี ร้อมจกั รวาลนี้ เพราะมนั คอื กฎธรรมชาติ คอื อนิจจัง ทกุ ขัง อนตั ตา ไม่วา่
อาคารนที้ พ่ี อนานไปกเ็ ส่อื มไป รา่ งกายก็เหมือนกนั เรากำจดั มนั ไม่ได้ เปน็ แต่ยอมรบั อยา่ งสดุ จติ
สดุ ใจ ยอมรบั อย่างเห็นจรงิ ๆ วา่ เปน็ เช่นนนั้ ใครเปน็ คนแรกท่ีเห็นคือเจ้าชายสทิ ธัตถะ ในคืน
วันเพญ็ เดอื น ๖ คือวันวสิ าขบูชานนั่ เอง คอื การเหน็ ในความจรงิ อนั ไม่เท่ยี ง ในความเปน็ อนจิ จัง
ทุกขงั อนตั ตา ทกุ อยา่ งเปน็ สังขารธรรม หมายถึง มนั มี ๒ อย่างขน้ึ ไปประกอบกนั ข้ึนให้มันเป็น ถา้
มีการเปลีย่ นแปลงไปขององค์ประกอบ สง่ิ น้ันก็จะเปลีย่ น อยา่ งวิชาเคมจี ะทำให้เราเหน็ ชัดขนึ้
อย่าง CO2 คอื คาร์บอนไดออกไซด์ แตถ่ ้าเป็น CO เป็นคารบ์ อนมอนนอกไซด์ คนละตัวแลว้ แต่
องค์ประกอบเปลี่ยนไป คอื ความเปน็ อนิจจัง ในความเป็นอนิจจัง มันก็แสดงความเปน็ ทุกขัง คือ
เมอื่ มนั เปล่ียนไป มันกท็ นอยไู่ มไ่ ด้ และความเปน็ อนิจจัง ทุกขัง มนั ก็คือ อนตั ตาคอื ความไม่มตี ัว
ตนทแ่ี ท้จริงมี แต่ภาวะของความหนุนเนื่องใหเ้ กิดเพียงแคใ่ นสภาวะหนง่ึ ๆ เท่านัน้ และมนั กจ็ ะ
เปล่ียนไป ดังนั้น เม่ือปฏบิ ัติไปแล้วเหน็ พระไตรลักษณ์ เรากจ็ ะหมดความสำคัญหมายในการมตี วั
ตน เราจะรู้ตามความจรงิ วา่ มันก็เปน็ อยอู่ ยา่ งน้ี ความสำคญั หมายในตวั ตนจะหมดไป

๓.ทุกข์ตัวน้คี ือ ทกุ ข์อปุ ทาน ทกุ ขเ์ พราะมีความเขา้ ไปยดึ มัน่ ถือม่ัน ยดึ มนั่ สำคัญหมายมนั เข้ามา
ตงั้ แตเ่ รารู้ความเริ่มสัมผัส ทกุ ข์ตัวน้ี คอื “ทกุ ข์อรยิ สัจ” ทกุ ข์นเี้ ราสามารถกำจัดได้ พระพทุ ธเจา้
ท่านอยากให้เรากำจดั ทุกขน์ ี้ เพราะท่านไดก้ ำจดั มาแล้วอยา่ งสน้ิ เชิง ในวนั เพ็ญเดือน ๖ กอ่ น
พุทธศกั ราช ๔๕ ปี คือวนั ท่ที ่านตรัสรูใ้ ตต้ ้นศรีมหาโพธ์ิ

54

เอาล่ะ เรากร็ ้แู ลว้ วา่ ทกุ ขใ์ ดควรกำจัด ทุกข์ใดควรยอมรับ และทกุ ขใ์ ดแกไ้ ขได้เป็นครัง้ เป็นคราว
ตัวความยึดมน่ั สำคญั หมายคือ ทุกขอ์ ปุ าทาน ทุกข์อริยสจั น่แี หละคือทุกขท์ ี่เราต้องกำจดั หรอื
พยายามทำใหม้ ันจางคลาย และสลายหายไปใหห้ มด

อันตัวทุกขอ์ รยิ สจั มนั เปน็ กระบวนการของการหลงผดิ และการหลงผิดมนั จะแกไ้ ขไดด้ ว้ ยการเหน็ ที่
ถูก และการเหน็ ทถี่ กู จะเกดิ ได้กต็ ่อเมื่อเราเขา้ ไปเหน็ กระบวนการของการหลงผิด มันถึงจะเห็นถกู
และการจะเหน็ กระบวนการหลงผิดคอื การหลงคดิ น่ันแหละ เปน็ ตวั ตน้ ทางท่จี ะเขา้ เหน็ การหลง
ผดิ เพราะฉะนนั้ การเจรญิ สตนิ นั่ แหละจะเป็นกระบวนการท่ที ำใหเ้ ราเข้าไปเห็นการหลงผดิ ความ
หลงคิดคือความหลงผดิ เม่ือเราเห็นกจ็ ะเข้าไปเฉลยความจริงตรงน้ัน ความร้สู กึ ความนกึ คดิ
อารมณต์ า่ ง ๆ ความสขุ ความทุกข์ มันเกดิ ขึน้ จากตรงน้ัน เราลองดสู เิ ม่ือเรามคี วามรสู้ กึ ตวั ชดั เจน
เราไมเ่ ปน็ อะไร แต่เมื่อใดก็ตามเราหลงออกไป มนั จะมีบางอยา่ งเปลย่ี นมาทุกทีนน่ั แหละ เหมอื น
อย่างเรือ่ งพระทพ่ี ระอาจารย์เล่ามาตอนแรก เพราะเขามีเรอ่ื งผีปลูกฝงั มาใชไ่ หม พอถงึ จงั หวะท่จี ติ
ว่งิ ออกจากอารมณก์ รรมฐาน ออกจากความเปน็ ปรกติ หลงไปคดิ เรือ่ งผี ความหวาดกลวั ตอ่ การ
ปรุงแตง่ น้นั ก็เกิดขน้ึ ทันที มนั เรว็ มาก ๆ ไมใ่ ชว่ า่ คดิ คำว่าผีแลว้ มันกลวั เลย แต่จิตมนั ปรงุ แต่งเปน็
เรอื่ งเป็นราว การปรุงแต่งมันเร็วมาก ๆ มนั ทำใหเ้ กิดภาวะแห่งการตอบสนอง เปน็ ความรูส้ กึ ข้นึ
มาตอ่ การปรงุ แต่ง คือ ภาพหลอนเพราะการปรุงแต่งนัน้ เปน็ อายตะนะ (ธรรมารมณ์) ทไ่ี ปผัสสะ
กบั มโนเป็นมโนผัสสะอีกครั้งหนึง่ คือ สังขารการปรุงแตง่ ผลผลติ ของสงั ขาร คือ นามรปู คอื
ความคดิ หลวงปู่เทยี น มคี ำพดู ที่เด็ดขาดมากคอื “นามรูป ไมใ่ ช่ รปู นาม” ถ้ารปู นามใช้คำวา่ รปู
นาม แตน่ ่คี ือ นามรูป แปลว่ามนั เป็นรูปท่เี กิดจากนาม ลองคิดถงึ ภาพไกย่ า่ งสิ คิดออกไหม คดิ ถงึ
กล่ิน คดิ ถึงรส มันมีทงั้ รปู รส กลนิ่ เสยี ง สมั ผสั แตม่ ันเป็นสง่ิ ที่จติ ปรงุ แต่งขึ้น และมนั รบั รูไ้ ด้ท่ใี จ
มันเป็นอายตนะท่ีผัสสะกับใจ แล้วมันจะเกดิ เวทนา เพราะฉะนน้ั กระบวนการสัมผสั ทางใจ ทที่ ำให้
เกิดความรสู้ ึกตอ่ ส่งิ นน้ั ก็จะเกิดความพอใจไม่พอใจในสงิ่ นัน้ กก็ ้าวเข้าสู่ความปรารถนาท่ีจะไดม้ า
หรอื ปรารถนาท่ีจะผลกั ไสออกไป มนั กเ็ ปน็ ตัณหาความอยากไมอ่ ยาก คือความยึดมั่นถือม่นั วา่ ตอ้ ง
เปน็ อยา่ งน้นั อย่างน้ี คอื ความยึดมัน่ สำคัญหมายเกิดการกอ่ ภพก่อชาติ กลายไปเป็นผทู้ กุ ข์ กลาย
ไปเปน็ ผสู้ ขุ เหมอื นตอนทพี่ ระอาจารยก์ ลวั ตกุ๊ แก แล้วเจอตกุ๊ แก พอเหน็ ปุ๊บใจปรุงแตง่ ไปเรอื่ งเดิม
ๆ ทีเ่ คยเจอ มันเรว็ มากช่วั พริบตา ตา กระทบรปู สตขิ าด หลดุ เข้าสกู่ ารปรงุ แตง่ พอปรุงแตง่ เสร็จ
มันกเ็ กดิ รบั รู้การปรงุ แต่งนั้น แต่ผลผลิตของมนั เป็นอายตนะที่พรอ้ มจะผัสสะกบั มโนผสั สะ พอเกิด

55

มโนผัสสะปบุ๊ พระอาจารยค์ วามรู้สกึ หวาดกลวั กบั มนั และก็ผลักไสทจี่ ะไมเ่ อา ขบวนการเกิดเพยี ง
เสีย้ ววนิ าทมี นั เรว็ ขนาดนนั้ ดังนัน้ สดุ ยอดท่สี ดุ คอื พระพทุ ธเจ้าทีท่ า่ นสามารถแยกเป็นชน้ั ๆ เป็นขัน้
ตอนได้ ท้งั ๆ ทม่ี นั เกดิ เพียงเส้ียววินาที แตท่ ่านสามารถชี้ให้เห็นวา่ มขี น้ั ตอนอย่างน้ีจริง ความเร็ว
ของจติ ทไี่ ปเหน็ จติ เรว็ ได้ขนาดน้ัน เพราะฉะนน้ั กระบวนการของการเจรญิ สติและรู้เท่าทันความ
หลงคิดมันเป็นตน้ ทางของการทีจ่ ะเขา้ ไปเห็นความหลงผิด เพือ่ จะทำความเหน็ ใหม้ ันถูกและความ
เห็นทีถ่ ูกต้องทสี่ ดุ คือ ไรซ้ ึง่ อปุ าทาน น่นั คือผูม้ ที ิฐิท่ีสมบูรณแ์ ล้ว

56

๑๐.อานสิ งส์ของการเจรญิ สติ

วนั นก้ี ม็ ีเรอื่ งอยากจะเล่า แต่ใหพ้ จิ ารณาดูนะเก่ียวกับการปฏบิ ตั นิ แี่ หละ ผปู้ ฏบิ ตั ิควรเข้าใจอาหาร
อยู่ ๔ อยา่ ง

อยา่ งท่ี ๑ เรยี กวา่ อาหารทเ่ี ป็นคำๆ “กวฬิงการาหาร” การรู้จกั การบริโภคอาหารเพ่ือให้เราใชด้ ับ
ทุกข์ธรรมชาติท่ีเราไดพ้ ดู กนั มาว่าทกุ ข์มี ๓ แบบ แบบท่ี ๑ คือ ทกุ ขธ์ รรมชาติ คือ ทุกข์ของกายท่ี
เกดิ จากความหิว และเป็นทุกข์ท่ดี ับได้เป็นครั้งเป็นคราวอาหารอยา่ งท่ี ๑ น้ี คอื อาหารที่เราทาน
เขา้ ไป เพอ่ื ดบั ทกุ ข์อยา่ งท่ี ๑ แตถ่ า้ เราไม่ร้จู ักการบริโภคอาหารใหด้ ีแล้ว อาจจะทำให้เกดิ ทุกข์
แบบท่ี ๓ คอื ทกุ ข์อุปทาน เวลาเราหิว ถ้าไม่กำหนดรู้ให้เปน็ แค่ทกุ ขธ์ รรมชาติธรรมดา มันจะกลาย
เปน็ ทุกข์ทางใจก็มี เสริมเข้าไปเปน็ ทุกขอ์ ุปทานอีก

ทีนอ้ี าหารตัวที่ ๒ เรียกว่า “ผสั สาหาร” อาหารคอื ผสั สะ คอื การกระทบทางอายตนะ
พระพทุ ธองคท์ รงตรสั วา่ การกำหนดร้ผู ัสสาหารได้ เท่ากบั เรากำหนดร้เู วทนาท้ัง ๓ อย่าง เวลามี
ผัสสะ เราจะไปทันตอนความรสู้ กึ ไม่ทนั ตอนตากระทบรูป ไมท่ ันตอนหไู ด้ยนิ เสียง จะไปทันตอนท่ี
มันร้สู กึ กับสิง่ นั้นแล้ว บางทไี ปทนั ตอนปรงุ แต่งเรียบรอ้ ยแล้วดว้ ยซำ้ จะไปทันตอนมโนผสั สะ

ดงั น้นั อาหารตวั นจี้ ะไปทีม่ โนผัสสะเลย ไปดทู ่ีเวทนาทางจติ คือ ความสุข ความทุกข์ ความพอใจไม่
พอใจ ความเฉย ๆ ผัสสะตัวนี้คือ เกิดจากการปรงุ แตง่ เรยี บรอ้ ยแลว้ เกิดจากกระทบท่ีจิตใจเรา ยก
ตวั อยา่ งตาที่มองมาทีร่ ปู เกิดการกระทบทีต่ าแลว้ เกิดการรับรู้แลว้ ปรุงแต่ง ซง่ึ คอื หน้าทขี่ องจติ
หนา้ ทจี่ ิตอยา่ งแรกคือมหี นา้ ทรี่ ับรูส้ ่งิ ท่ีมากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ดังนน้ั เมื่อมอง
มาท่ีรปู ตากระทบรปู รับรเู้ กดิ วญิ ญาณทางตา จกั ขุวญิ ญาณ แล้วจติ ก็ปรงุ แต่งสิ่งที่รับร้ไู ปเร่อื ย ๆ
เปน็ ขัน้ ๆ เช่น ถา้ เรามองมาทีพ่ ระอาจารย์ ตาเหน็ พระอาจารย์ เสร็จแล้วจิตก็เริ่มปรงุ แตง่ วา่
แต่งตวั แบบน้ใี ชส้ ญั ญาณเปน็ ตวั บอกวา่ เปน็ พระ ไม่เท่าไหร่ จติ ปรุงแตง่ ต่อวา่ เปน็ พระอ้วน ๆ บางที
ปรุงต่อไปอกี เปน็ ขน้ั ๆ แล้วไปกระทบทใี่ จเปน็ มโนผสั สะ ตรงนีแ้ หละที่เราต้องไปกำหนดรู้ ถา้ เรา
กำหนดรไู้ มท่ ันมนั จะไหลไปสเู่ วทนา คอื ชอบไม่ชอบ ดไี ม่ดี พอใจ ไม่พอใจ สขุ ทกุ ข์ ดงั นน้ั ถา้ เรา
เขา้ ใจเร่ืองผัสสะ เราจะกำหนดรเู้ วทนาทั้ง ๓ ถ้าเราไมม่ สี ติกำหนดรทู้ ันมนั จะพาไปสตู่ ณั หา

57

ทีน้ีอาหารตวั ที่ ๓ “มโนสญั เจตนาหาร” อาหาร คอื ความจงใจหรอื เจตนาที่จะกระทำ ใคร
กำหนดรู้ตัวนเี้ ท่ากับกำหนดรตู้ ณั หาทั้ง ๓ เช่น เราเหน็ อาหารแลว้ อยากจะตักอาหารชิ้นน้นั ชน้ิ นี้
การอยากจะทำน่ันแหละคือตณั หา แล้วเราสามารถเห็นความอยากกำหนดรูไ้ ด้ นี่คอื การเหน็ เจตนา
เหน็ ความคิด ถา้ คณุ ทำตามความอยากทนั ทีคือทำตามตณั หา แตถ่ ้าคุณเหน็ มันแล้วเบรกก่อน แลว้
จากนน้ั ทำดว้ ยสติมนั จะต่างกนั ถ้าเราทำตามมันในขณะที่คดิ จะทำนั้นแปลวา่ เราทำตามกเิ ลส ทำ
ตามตัณหา ดงั น้นั วธิ กี ารคือ เมอื่ รู้มันก็หยุด ยงั ไม่ทำและสตมิ นั จะเป็นผูแ้ จกแจงว่าสมควรทำหรือ
ไม่ ถ้ามนั เห็นว่าไม่สมควรเราจะไมท่ ำ แตถ่ า้ เห็นสมควร การทำไปของเรา คอื เราทำความมีสติ ไม่
ได้ทำดว้ ยแรงตณั หา หรือความคิดท่ผี ลกั ดันใหท้ ำ ซงึ่ มนั จะใหผ้ ลทแ่ี ตกตา่ งกนั ในการทำสิง่
เดยี วกนั ถ้าทำตามตณั หา เรากจ็ ะไหลไปตามกิเลสตลอดเวลา แตถ่ า้ ทำด้วยสติ คอื เราไม่ได้ทำตาม
กเิ ลส ต่อไปไม่วา่ อะไรเราก็จะไม่ไหลไปตามกิเลส ไมว่ ่าจะเป็นเรอ่ื งใด

ส่วนอาหารตัวท่ี ๔ “วญิ ญาณอาหาร” คือ การกำหนดรูก้ ารรับรู้ ซ่งึ แนน่ อนการรบั รู้มนั มตี วั ท่ี
ครอบคลุมทกุ อย่างแล้ว แต่อาหารทเี่ ราตอ้ งเกย่ี วขอ้ งมากทส่ี ุด คือ ผสั สาหาร และมโนสญั เจตนา
หาร คือ ผัสสะให้เรารูเ้ ทา่ ทันเวทนา และร้เู ทา่ ทนั ตัณหา การรูเ้ ทา่ ทันตณั หามันจะทำให้เราไมต่ อ้ ง
ไปสู่ความทุกข์ได้ ในวงจรของปฏิจจสมุปบาท ถา้ เราสามารถรเู้ ทา่ ทันเวทนาทเ่ี กิดขนึ้ ไมไ่ หลไป
ตามเวทนานน้ั กจ็ ะไม่กอ่ เกดิ ความทกุ ข์หรือช้าทีส่ ุด เห็นตอนทีม่ ันเกิดตัณหาแลว้ สามารถระงบั
ยบั ย้งั ทนั มนั กย็ งั ไมเ่ กิดทกุ ข์ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ให้เราละทต่ี ัณหา

ส่วนทุกข์ ส่ิงที่พึงกระทำคือ “กำหนดรู้”

สมทุ ยั ส่ิงทพี่ ึงกระทำคือ “ละ”

นโิ รธ ส่งิ ทีพ่ งึ กระทำคอื “ทำให้มนั แจ้ง”

มรรค สง่ิ ท่พี งึ กระทำคอื “เจริญใหม้ าก”

58
ดังนน้ั เราต้องรู้ส่งิ ที่พงึ กระทำตอ่ อรยิ สัจ ๔ และตัณหา คือสมทุ ยั สง่ิ ท่ีพึงกระทำคือ ละ
ตัวอย่างเช่น ถ้าเราเหน็ อาหารท่วี างอยูเ่ ต็มโตะ๊ แลว้ เราเกดิ ความอยากความไม่อยากในอาหาร
แต่ละอย่าง แล้วเรากต็ กั ตามความอยากความไมอ่ ยากนนั้ เท่ากบั เราใช้กิเลสเป็นตัวผลักไสตัวเอง
ตลอด ถ้าทำบอ่ ย ๆ มันจะเกิดอะไรขนึ้ กจ็ ะกลายเป็นคนทำอะไรตามความอยากหรือไม่อยาก
P14

แตถ่ ้าคณุ เหน็ ความอยาก ความไมอ่ ยากปบ๊ั แต่แมม้ นั ไม่อยาก แตม่ ันมปี ระโยชน์ สมควรต้องทำ
เราก็ใชส้ ตใิ นการทำ หรือแม้ว่าอันนี้มนั อยาก แตเ่ ราหยุดกอ่ น แลว้ ทำตามความสมควรใชส้ ติในการ
ทำไมไ่ ดท้ ำตามความอยาก ผลมันจะแตกต่างคือ อันหน่ึงทำด้วยสติ อนั หน่ึงถูกผลกั ดันดว้ ยความ
อยาก ซึ่งตรงนี้เราสามารถร้ทู ันและทำไดไ้ มย่ าก ซ่งึ ถ้าเราฝึกไปเรื่อย ๆ เรากจ็ ะเท่าทนั กิเลสได้ แลว้
จะใช้ชวี ิตอย่างมีสติ เมอ่ื เราฝกึ ไปมาก ๆ เราก็จะรูเ้ ทา่ ทันเร็วขน้ึ และรู้ละเอียดลงไปเร่ือย ๆ แลว้
สติจะพฒั นาขน้ึ เรื่อย ๆ ดังนน้ั การที่เราเจริญสติใหม้ าก อานิสงส์คอื เราจะเห็นได้ชัดเจนข้ึน เร็ว
มากขึ้น แลว้ เมอ่ื เราเห็นตัณหาเราเรว็ มากข้ึนแล้วหยดุ แลว้ ใช้สติเขา้ มาทำผลจะแตกต่างจากการที่
ทำด้วยตณั หา ซงึ่ จะเปน็ ตัวทำให้เรากอ่ ภพกอ่ ชาตติ ่อไป เหมือนเราใหอ้ าหารตณั หาตลอด แตถ่ า้

59
เราสกัด ตณั หาก็จะไดอ้ าหารน้อยลง ซง่ึ มันมีผล คือ เราสกัดอาหารหนู เราเพ่มิ อาหารแมว แมวคอื
สติ ดงั นน้ั เราตอ้ งหยุดใหอ้ าหารหนู แลว้ มาให้อาหารแมวกันเถอะ อกศุ ลกรรมใดท่ยี งั ไมเ่ กดิ เราก็
จะสามารถสกัดได้ อย่างตอนท่หี วิ แลว้ ตกั อาหารด้วยตณั หา ร้ไู หมว่าจิตเราไดเ้ สวยชาตเิ ปน็ เปรต
เรยี บร้อยแลว้ คนโบราณเขาสร้างรปู เปรตท้องโต ๆ มอื ใหญ่ ๆ แขนยาว ๆ ท้องทโ่ี ตมันผลักดันให้
หิวให้อยาก คือ อำนาจแหง่ โลภะมือใหญ่ ๆ แขนยาว ๆ กก็ อบโกยเข้ามาแตป่ ากเท่ารูเขม็ กนิ
เข้าไปไมไ่ ด้ มนั ก็ผลกั ดันให้หิวตลอด นน่ั คอื อาการแหง่ โลภะ เพราะฉะนัน้ เปรตคือ ผลแหง่ ความ
โลภท่ีมนั ถูกผลกั ดัน น่ากลัวนะ p15

ดังน้นั การทเ่ี รากำหนดรู้อริ ิยาบถย่อย ๆ นี้เราจะเหน็ ความคดิ ตวั เองได้ละเอยี ดและชดั เจนมากขึ้น
แลว้ มันจะทำใหช้ ีวิตประจำวันเปน็ วถิ ีปฏิบตั ิไปในตวั เราทำงานตามปรกตจิ ิตร้เู ท่าทันอยู่ตลอดเวลา

60

61

๑๑.ยดึ มั่นสําคัญหมายเปน็ ทกุ ข์

เชา้ วันนท้ี ีเ่ ราสวดบทสังเวคปริกิตตนปาฐะ พระอาจารยย์ นื ยนั ว่าบทนศี้ ักดสิ์ ิทธ์ทิ ี่สุดกวา่ บทสวดอนื่
เพราะนั่นคือบทท่ีพิสจู น์ท่เี ห็นไดท้ นั ที และเปน็ บททสี่ รปุ เรยี บเรียงรวบรวม ย่นยอ่ ทั้ง ๘๔,๐๐๐
พระธรรมขันธล์ งมาให้แล้ววา่ พระพุทธเจา้ สอนเร่อื งอะไร และมงุ่ มั่นอยา่ งมากว่าตอ้ งการใหส้ าวก
ทงั้ หลายร้เู รอ่ื งอะไร พระพทุ ธองค์ชีใ้ ห้เห็นความทกุ ข์ของคนมาจากสาเหตอุ ะไร คอื ทุกขจ์ ากความ
เกดิ ความแก่ ความเจบ็ และความตาย ทกุ ขจ์ ากความไมส่ บายกายไม่สบายใจ ความเศร้าโศก
เสียใจ ความคับแค้นใจ ประสบส่ิงท่ไี มเ่ ป็นทร่ี ักทีพ่ อใจ พรากจากสิง่ ท่ีเปน็ ทร่ี ักทพ่ี อใจ ปรารถนาส่งิ
ใดไม่ได้ส่ิงนั้น นี่คือความทกุ ข์ท่พี ระองคส์ าธยายใหฟ้ งั แต่สดุ ท้าย พระองคส์ รุปว่า เพราะมี
อุปาทานในขนั ธ์ ๕ ทุกข์จึงเกดิ คอื ความทีเ่ ราไปยึดมนั่ สำคัญหมายในขนั ธ์ ๕ คอื รูป เวทนา สัญญา
สงั ขาร วญิ ญาณ ถ้ายอ่ ๆ เหลอื ๒ ขันธ์ คือ รูปขันธ์กับนามขันธ์ รปู ขนั ธค์ อื สงิ่ ท่ีเราจับต้องได้ และ
สมั ผัสได้ (มี ๒ นัย คอื ร่างกาย ไดแ้ ก่ มหาภตู รูป ๑ และสภาวรปู ได้แก่ สี เสียง กลิน่ รส ฯลฯ อีก
๑) รูป คือ ส่งิ ท่ตี อ้ งสลายไปเพราะปัจจัยตา่ ง ๆ อันขดั แยง้ แต่ไมส่ ามารถรับร้ไู ด้ นามขนั ธค์ ือจบั
ตอ้ งไมไ่ ด้ แต่รบั รแู้ ละรสู้ ึกกับมนั ได้ ถ้ายงั งัน้ กระบวนการทเี่ กดิ ขน้ึ กบั กายของเรา จึงเป็นเรอื่ งของ
รูป สว่ นกระบวนการท่ีเกดิ ขึ้นในจติ ใจของเรา คอื นาม ไมว่ า่ จะเปน็ ความร้สู ึก ความนกึ คิด หรือ
อารมณ์ใด ๆ ที่เกดิ ข้ึน ความเกิด ความแก่ ความเจบ็ ความตาย เป็นทุกข์ เกิดมาจากการท่ีเราไป
ยึดมัน่ ถอื ม่นั ในรปู ขันธ์ สว่ นความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ คือ นามขนั ธ์ ดงั นน้ั เราตอ้ งทำความเข้าใจในรูปกบั
นาม กายกบั จติ อาการของรูป อาการของนาม เพื่อใหเ้ ข้าใจสิง่ เหล่านน้ั ตามความเป็นจรงิ
พระองค์จงึ บอกว่าเพราะเรายึดม่ันถอื มั่นในรูป มีความยดึ มั่นสำคัญหมายในรูปจึงเปน็ ทกุ ข์ เรา
เผลอเขา้ ไปยึดมนั่ ในเวทนา ยดึ ม่ันสำคัญหมายในการปรุงแตง่ ทางจิต ยดึ ม่ันสำคัญหมายในความจำ
ไดห้ มายรู้ ซงึ่ เราสงั เกตดวู า่ ในการคดิ เรอ่ื งหนง่ึ ๆ ของเรา ความคดิ ท่เี กดิ ข้ึนมนั เกดิ จากผลผลติ จาก
การปรงุ แตง่ สังขารคือกระบวนการ วตั ถดุ บิ ของการปรุงแตง่ คอื สญั ญา คอื วัตถดุ บิ คือขอ้ มูลที่จะ
เอามาปรุงแต่งด้วยกระบวนการปรงุ แต่ง คอื สังขาร พอปรงุ แตง่ เสร็จแล้วกก็ ลายเปน็ ความคิด แล้ว
ความคดิ เกดิ ขึน้ ก็ไปกระทบจิตใจ มันกจ็ ะมีเวทนาตามมาคอื ความรู้สึก พอใจ ไม่พอใจ สุข ทกุ ข์ พอ
เปน็ ความสขุ กเ็ กดิ ความอยากตณั หาอุปาทานกเ็ ขา้ ไปทำงานแล้ว แลว้ เรากเ็ ข้าไปยดึ มน่ั ดว้ ยความ
ปรารถนาด้วยความพอใจ พระพุทธองคจ์ งึ ชแี้ จงให้ เราว่าเพราะเราไปยึดม่นั ถอื มน่ั สำคัญหมายใน
ขันธ์ ๕ มนั จึงเปน็ ทกุ ข์ เพราะเม่ือเรายดึ ไปแลว้ มนั ไม่สามารถอยู่ใหเ้ รายดึ ไดต้ ลอดเพราะเป็น

62

“อนจิ จงั ” มันไมเ่ ท่ยี ง และมันก็เปน็ “อนัตตา” มันไมม่ ตี ัวตน มนั เพียงอาศัยเหตุปัจจยั ใหเ้ กดิ ข้ึน
ตัง้ อยใู่ นกาละหนึ่งเทศะหน่งึ ในสภาวะหนึง่ เทา่ น้ัน แลว้ มนั กด็ ับไป พระองค์เลยชี้ใหเ้ ราเห็นอย่างน้ี
เพราะฉะน้ันในการเจรญิ สติทเ่ี ราผกู ความรสู้ กึ ตวั ให้เด่นขน้ึ มา เราเห็นความเปน็ ไปในสว่ นท่ีเปน็
นามขันธ์ แลว้ ไปเหน็ ความคดิ ความรู้สึกที่มันปรงุ แต่งขึ้นมา เหน็ อารมณ์ต่าง ๆ ที่คุณเหน็ นั้นมัน
ยดื เย้ือมาจนป่านนม้ี ีบ้างไหม น่ันหมายความว่า มันเกดิ ขึน้ แลว้ มนั ก็ดับไป มนั เกิดข้ึนมาเพอ่ื ทำ
หน้าท่ขี องมันในชว่ งหนึ่ง แลว้ มันก็ดบั ไปเราก็เห็นอยู่ดังนัน้ ธรรมะของพระพทุ ธเจา้ เป็นธรรมะที่
“สันทิฏฐโิ ก” ผู้ปฏบิ ัติพงึ ร้ไู ด้ ไม่ต้องรอเพราะพสิ จู นไ์ ดท้ นั ที ดังนน้ั ธรรมใดก็ตามที่สามารถพิสูจน์
ไดท้ ันทีนัน่ คอื ธรรมะแท้ของพระพทุ ธเจ้า

ถ้าเราเริ่มตน้ และสามารถพิสูจนใ์ นธรรมของพระพุทธองค์ไดเ้ ราก็จะมีกำลังทำตอ่ ไปเพอื่ เขา้ ใจ
ธรรมะทีล่ ะเอยี ดต่อไปได้ ดังน้ัน ถ้าเราเขา้ ใจอย่างนแ้ี ล้ว คำว่า “ไม่ทกุ ข”์ ที่พระพุทธองค์ทรงตรสั
นน้ั เข้าใจใหด้ วี ่าพระพุทธองค์ตรสั ถงึ ทางแห่งความไมท่ กุ ขไ์ ม่ใชท่ างแห่งความสขุ นะ ความไม่ทกุ ข์
คอื ภาวะของการทจ่ี ิตน้ัน “เปน็ กลาง” ท่ีไมเ่ หว่ียงไปทางสขุ และทกุ ข์ นน่ั คอื มชั ฌมิ า ทางตรง
กลาง ท่ีพระพุทธองค์ทรงสอนในสิง่ ทไี่ มม่ ใี ครเคยสอน เพราะกอ่ นหนา้ นีม้ แี ตส่ อนในทางสุข หรือ
ทุกข์ คือ ๒ ฝั่งนี้ ดังน้นั ในสมัยพุทธกาล คำสอนของพระพทุ ธเจ้าจึงเหมอื นเป็นการเปดิ ทางใหม่
คนเรามักจะติดในไมส่ ุขก็ทุกข์ ไมบ่ ญุ ก็บาปเป็น ๒ ฝัง่ ตลอด แตพ่ ระองคก์ ลบั ช้ีตรงกลางให้เหน็ ไม่
สุดโตง่ ทง้ั ๒ ฝงั่ ดงั นั้นการปฏิบตั ิของเราเพอื่ ตรงกลางคือความไมท่ ุกข์ เปน็ การร้เู ท่าทันทกุ ข์ และ
ดบั ทุกข์ลงเพื่อกลบั คนื ความเปน็ ปรกติ

ดังน้ัน คนสมยั โบราณทำไมเข้าใจคำสอนของพระพุทธเจา้ ได้อย่างรวดเรว็ เพราะคนสมยั นัน้ จติ ของ
คนเปน็ สมาธโิ ดยธรรมชาติ เป็นปรกติเพราะการกระตนุ้ เร้าทางประสาทสัมผสั ไมแ่ รง รปู รส กล่ิน
เสียง ไมจ่ ดั จ้าน เพราะอยทู่ ่ามกลางธรรมชาติ ซง่ึ หลอ่ หลอมเขาให้จิตของเขาเปน็ ปรกติ แล้วพอมี
วนั หนึ่งความพลดั พราก ความสูญเสีย ความหลงผดิ ก็ทำใหเ้ ขาเกิดความทุกข์ โศก รำ่ ไรรำพัน
พระพทุ ธองคก์ ็ทรงชี้ว่า “นน่ั ผิดปรกตแิ ลว้ เธอจงมีสตมิ าเถอะ” ทำใหเ้ ขาเหน็ ว่าจริง และเมอื่ เขา
เหน็ เชน่ น้นั เขาเคยปรกติมาก่อนจึงรไู้ ด้วา่ ต้องกลบั ไปทางไหน เม่อื นน้ั เขากส็ ามารถได้รบั รสแห่ง
พระธรรมทนั ที สามารถเขา้ ใจไดท้ ันที ใหพ้ วกเราสงั เกตวา่ ทกุ ข์เกิดจากอะไร เพราะจิตมนั เผลอไป
ปรงุ แต่ง แล้วเผลอยึด สำคญั หมายกับสงิ่ น้ันไป เช่นเราเผลอปรงุ แต่งต่อไปเร่ือย ๆ แล้วกเ็ ผลอยดึ

63

ว่าเป็นจริงเป็นจัง ทุกขก์ เ็ กดิ ขน้ึ จนมีสติกลับมารตู้ วั วา่ เผลอคิดไปไดอ้ ยา่ งไร พอมสี ติรู้ตัว ทุกข์มนั ก็
ดับเทา่ นน้ั เอง ดังน้ันการดบั ทุกขน์ น้ั มีจริง

พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า ถา้ เรายดึ มัน่ สำคัญหมายวา่ กายนเี้ ป็นตวั เป็นตนของเรามันกไ็ มแ่ ปลก
หรอก เพราะเธอเหน็ ความเปลยี่ นแปลงมนั ทุก ๆ ปจี นเธออายุ ๘๐ อายุ ๙๐ เธอจึงจะยอมรบั กับ
มันไดว้ ่ามันไม่ใช่ตวั ตนของเรา เพราะถ้ายังมีความสดสวยอยู่ กย็ งั มคี วามร้สู ึกว่ายังเป็นเราอยู่ พอ
เมอ่ื เราแกแ่ ล้ว เรากเ็ ริม่ เห็นความจริง บางคนยอมรับไมไ่ ด้ พยายามทำให้กลบั มาสาวเหมอื นเดิม
แต่ถา้ เรามองกระจกแล้ว รสู้ ึกวา่ น่นั ใครไมใ่ ช่เรา และกย็ อมรับกบั มนั นั่นคอื เราเขา้ ใจความไม่ยึด
ม่นั สำคญั หมายในตวั ตนของเรา

ดงั นัน้ การทีพ่ ระพุทธองค์ทรงตรสั วา่ มนั ไม่แปลกท่เี ราจะยดึ มั่น สำคัญหมายในตวั ตนน้ัน ทา่ น
ตอ้ งการสื่อวา่ เราเกดิ มากับกายน้ี ยดึ ม่นั ในกายนี้มานาน จะทำใหค้ ลายความยึดม่นั มนั ตอ้ งใช้
เวลา แต่ถ้ายึดมั่นสำคัญหมายว่า จติ น่นั มตี วั ตนนั่นผิดมาก เพราะจิตมันเกิดดบั ตลอดเวลา ดังนน้ั
ความรูส้ กึ ความนกึ คิด อารมณ์ตา่ ง ๆ มันจงึ เป็นเพยี งเกิดดับ เราไม่ควรไปยดึ มนั่ สำคัญหมายกับ
มัน แตเ่ รามักเผลอเขา้ ไปยดึ ม่นั ดว้ ยความพอใจ ความไม่พอใจ เผลอเอาความพอใจไม่พอใจ เข้าไป
เก่ยี วข้องอย่เู ร่ือย ทา่ นจึงบอกว่า “อาตาปี สัมปะชาโน สะตมิ า วินะยะ โลเกอภชิ ชา โทมนสั สัง”
“มีความเพียรเปน็ เครือ่ งเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจ และความไมพ่ อใจใน
โลกออกเสียได”้ ไม่ใชโ่ ลกใบน้ี โลกหมายถึงการปรงุ แตง่ มนั เกิดขึน้ จากอายตนะผสั สะ เกิดการ
ปรงุ แตง่ ข้ึนมา ทุกข์เกิดเพราะเราหลงเขา้ ไปยดึ พระองค์ จงึ ตรัสวา่ “สังขติ เตนะปญั จปุ าทา นกั
ขันธาทุกขา” ว่าโดยยอ่ คืออุปาทาน ขนั ธ์ทั้ง ๕ คอื ตัวทุกข์ ถา้ ไมม่ ีอุปทาน ไมเ่ ข้าไปยึดมนั ก็ไม่
ทกุ ข์ เพราะเม่อื เราปฏบิ ตั ถิ ึงจดุ หนงึ่ เราจะเข้าใจว่า ขนั ธ์มันเปน็ ธรรมชาตขิ องมัน เราจะรู้จักมัน
หรือไมร่ จู้ กั มัน มนั กม็ ีอยอู่ ยา่ งนั้น เราจะเขา้ ไปยดึ หรอื ไมเ่ ข้าไปยดึ มันก็อยูอ่ ย่างน้ัน รปู รส กลน่ิ
เสียง โผฏฐพั พะ ธรรมารมณ์ มันก็มอี ยอู่ ย่างนั้น
ยกตวั อย่างงา่ ย ๆ ในขณะทเี่ ราเจรญิ สตมิ ันจะมีความคดิ ตา่ ง ๆ ผดุ ข้นึ มามากมายใชไ่ หม สังเกต
ไหมวา่ ความคิดบางความคดิ มนั ทิ้งไปเลย ไมส่ นใจ เพราะเราไมใ่ หค้ วามหมายกบั มัน มันกไ็ มม่ ีค่า
กับเรา แตบ่ างความคดิ ทมี่ ันผดุ ขึน้ มาทำไมมันมผี ลบางอย่างกบั เรา ยดื เยือ้ เพราะเราไปใหค้ วาม
หมายกับมนั บางเรอ่ื งถ้ายุติไม่ลงเพราะเราไปให้ค่ากับมัน สุดท้ายพาเราทุกข์เลย สงิ่ เหลา่ น้ีเรา

64

พิสูจนไ์ ด้ตลอด นีแ่ หละคือธรรมะของพระพทุ ธเจา้ สดุ ยอดแหง่ มหาบรุ ุษ สง่ิ ที่ทำให้เราพ้นทุกขไ์ ด้
คอื ต้องหันกลับมามองตวั เราเอง จึงกล่าวไดว้ ่า ศาสนาพุทธเปน็ ศาสนาของมนุษย์ โดยมนษุ ย์ เพอ่ื
มนษุ ย์ เพราะเปน็ เร่ืองราวของมนษุ ย์ ไมใ่ ช่ศาสนาของเทพเจา้ ใด ๆ หรือสงิ่ ศักด์ิสิทธิ์ใด ๆ

หลายคนเริม่ มองเหน็ มันจะคิดกเ็ รอ่ื งของมัน มนั จะหดหูก่ ็เรอื่ งของมนั มนั จะฟ้งุ ซา่ นก็เรื่องของมัน
ฉันจะดำรงของฉนั นัน้ คอื ภาวะสคู่ วามเปน็ กลางทีม่ องเหน็ ทกุ อย่างวา่ มันเป็นอยา่ งน้นั ซึง่ ภาวะ
เปน็ กลางน้ีมันไม่ทำใหเ้ ปน็ ทุกข์ ดงั น้ัน เวทนาจะแรงกล้าแค่ไหน อย่างตอนเวลานง่ั แล้วปวดขา คอื
ปวดขาก็ปวดไป แตฉ่ ันจะนง่ั ของฉันอย่างน้ี เวทนาจะไม่สามารถทำใหเ้ ราเป็นทกุ ข์ แตเ่ วทนานน้ั ก็
ยงั คงมอี ยู่ เวลาความฟุ้งซ่านเกดิ ขึน้ กป็ ล่อยให้ฟงุ้ ไป ถ้าเราไมส่ นใจมนั มนั กด็ ับไปเอง ไมต่ ้องไป
ทุกข์กบั มัน บางคนยังไม่ทนั ง่วงเลยถามพระอาจารย์ แลว้ ถ้างว่ งทำยงั ไง แบบนส้ี อ่ แววทกุ ข์ตง้ั แต่
มนั ยงั ไมม่ าเลย แบบน้ีอปุ าทานแรงกล้ามากยงั ไมเ่ จอความงว่ งเลยกลวั ไปก่อนแล้ว เพราะฉะน้นั
ขบวนการแห่งการเจริญสติมันตอ้ งเป็นปจั จบุ นั ทันที เพราะปัจจบุ นั ขณะทจ่ี ะเขา้ พบประสบส่ิงน้ัน
แลว้ จะจัดการกบั ส่ิงนนั้ ในปจั จุบนั ทนั ที ปจั จุบนั ขณะเป็นสง่ิ ท่เี ราต้องตระหนักทีส่ ุด

สรุปว่า “ทุกขม์ ีเพราะยดึ ทุกขย์ ดื เพราะพลอย ทุกข์นอ้ ยเพราะหยุด ทุกขห์ ลดุ เพราะปล่อย”
ดังนัน้ ความรู้สึกนกึ คดิ อารมณต์ า่ ง ๆ มนั จะเกิดกี่ร้อยก่พี ันเรอื่ ง มันก็เป็นเร่ืองของมนั เราทำได้แค่รู้
กบั มนั เฉย ๆ สำคญั คือเราดำรงสตขิ องเราไปเรื่อย ความรูส้ ึกตวั ของเราไปเรอ่ื ย ๆ สิ่งทเ่ี ราเรยี นมา
ตลอดคอื การเฝา้ ดูการหลงคิด ซึ่งมันเป็นตัวปญั หา เราต้องเฝา้ เรียนรูก้ ับมัน และเราก็สรุปไดใ้ นวนั
น้ีว่าเพราะเราเผลอเขา้ ไปยึดกบั ความหลงคิด จึงทำใหเ้ กิดปัญหา ซ่ึงเป็นท่มี าของทุกข์

65

๑๒. รอ่ งรอยการดับทุกข์

การทเี่ กิดความทกุ ข์ เพราะเราเขา้ ไปยดึ ใชห่ รอื ไม่ ถ้าเราเฉย ๆ เราก็ไมท่ กุ ข์ ดังนั้น ทกุ จะเกดิ บาง
คร้ังบางเวลาเท่านนั้ จะเกดิ ทกุ คร้งั ทุกคราวที่เราเผลองน้ั เรากด็ บั ทกุ ขบ์ างครัง้ บางคราวกอ่ นสิ ก็ดับ
ทกุ คร้ังทีม่ นั เกดิ ทุกขม์ นั เกิดเมอื่ ไหรต่ ้องดบั มนั เมอื่ น้นั ใช่หรือไม่ ส่งิ สำคัญคือเมอื่ ความทุกขเ์ กดิ ขึน้
ในขณะใดก็ตาม ถ้าเราสังเกตดูดี ๆ มันเกิดเพราะเราเผลอเขา้ ไปยึดความรู้สกึ ความนกึ คดิ หรือ
อารมณ์ต่าง ๆ ถ้าเราสามารถรู้ทันมันตรงน้ลี ่ะ รวู้ า่ นม่ี ันกำลังเข้าไปแลว้ รทู้ นั มันกำลงั ปรุงแต่ง โดย
มีสติรทู้ ัน การปรุงแต่งดบั ลง ทุกข์ก็ดับลงโดยปรยิ าย ดังนนั้ เราต้องมีความฉบั ไวในการกำหนดรู้
ทุกข์ จิตจงึ ต้องมคี วามวอ่ งไว ควรแกก่ ารมองเหน็ ทกุ ขใ์ หเ้ รว็ ขึ้น ตอ้ งเจริญสติให้มาก เราจะสงั เกต
วา่ พอเราเจริญสตมิ าก เราจะสมั ผัสอะไรไดเ้ รว็ ข้นึ เหมือนเราด่ืมนำ้ เปลา่ มาก ๆเขา้ แลว้ จำรสชาติ
น้ำเปล่านั้นได้ พอจะมอี ะไรมาใส่ให้รสชาติเปลีย่ นแมเ้ พยี งน้อยนดิ เรากส็ ามารถรไู้ ด้ จติ ท่มี ี
คณุ ภาพจะสามารถสมั ผสั ได้เร็วขนาดน้นั เมอ่ื เราเจรญิ สติไปมาก ๆ เข้า มนั จะน่มุ นวล มันกส็ ัมผสั
ได้เร็วกบั การกระทบ คือ ทำให้เรากำหนดร้คู วามเปล่ียนแปลงไดเ้ รว็ ปุถุชน คนยงั หนา คือจิตใจที่
หนากจ็ ะรู้ทุกข์ไดย้ าก แตเ่ ม่ือเจรญิ สตมิ ากจะสมั ผสั ได้ไว การสมั ผสั ไดไ้ ว เปน็ ไปเพอื่ การกำหนดรู้
ทุกข์ ทกุ ขเ์ ป็นส่งิ ต้องกำหนดรู้ เราสามารถรูไ้ ดว้ า่ ใจเราเปน็ ทุกขไ์ ม่ต้องให้ใครบอก รู้เองว่าจิตเราส่นั
ไหว กระเพอื่ ม แล้วกระบวนการแหง่ การเจรญิ สติจะสามารถจัดการมนั ไดเ้ อง จะเหน็ และรทู้ นั
และเห็นความทกุ ข์มันดับลง

ดังน้ันกระบวนการแหง่ การเจริญสติ สง่ิ แรกทีเ่ ราจะเห็นคือ ความคิด ความรสู้ กึ และอารมณต์ ่าง ๆ
ท่ีมนั เกดิ ข้นึ ตง้ั แตว่ ันแรกพระอาจารยพ์ าพวกคุณรคู้ ืออะไร การตัง้ อารมณ์กรรมฐาน จากนั้นกพ็ า
ไปเห็นความหลงคิด ความลักคดิ และเมื่อเห็นแลว้ ก็จะรู้ว่ามนั ผดุ ขน้ึ มาอยูเ่ รอื่ ย ๆ เมือ่ เราเห็นมนั
ผดุ ขนึ้ มาอยเู่ รอื่ ยแลว้ จะเหน็ วา่ บางเรอ่ื งมันทำให้เกิดความยดื เยือ้ เราไมอ่ าจสลดั มนั ท้งิ ลงได้
เพราะเราเผลอเข้าไปยดึ ให้ค่าความหมายกับมันและกป็ รงุ แต่ง และเม่ือรอู้ ยา่ งนแ้ี ลว้ ก็หยดุ ใหค้ ่า
ความหมายกบั มัน แลว้ กก็ ลบั มาที่ความร้สู กึ ตัวมนั ก็จบ ทท่ี บทวนนเี้ พ่อื เทยี บเคยี งบางอยา่ งว่า การ
มองเห็นการเกิดขึ้นการดับลงของความรู้สึกความนกึ คดิ อารมณต์ ่าง ๆ มันเปรียบได้กบั ครั้งที่เจ้า
ชายสทิ ธัตถะนัง่ ใต้ตน้ ศรมี หาโพธิ์ ส่ิงแรกทเ่ี จา้ ชายเห็นในตอนหัวค่ำคือ ปัญญาชนั้ แรกคอื การระลกึ
ชาติ ปัญญาลำดับที่ ๒ คือสาเหตขุ องการเกิด และปัญญาลำดบั ที่ ๓ คอื เห็นสาเหตุ เมอ่ื เห็นสาเหตุ

66

ทา่ นก็ตัดสาเหตุน้นั และท่านก็เห็นว่าตนเองนั้นไดด้ บั หมดแล้ว ซง่ึ เหตุปัจจยั ทัง้ ปวงสน้ิ สุดสักที พน้
แลว้ ซึ่งอาสวะกเิ ลสท้งั หลาย แลว้ ทำไมต้องระลึกชาตไิ ด้ก่อน ร้ไู หม

ในการระลึกชาตขิ องพุทธเจ้าเพ่อื ให้เกิดความเบ่อื หน่ายในการเกดิ การเกิดทกุ คราวเปน็ ทุกข์ร่ำไป
แต่ถ้ามาเป็นสมยั น้ีใครระลึกชาตไิ ดแ้ ห่ไปดูกันใหญ่ คนสมยั น้ีจงึ เขา้ ใจผิดมากขนึ้ การทเ่ี ราเจรญิ สติ
เห็นความคดิ ทีม่ ันผุดข้ึนมาเรือ่ ย ๆ เพ่อื อะไร เพื่อเหน็ ความไรส้ าระของมัน เพอ่ื ความเบอื่ หนา่ ย
มากข้นึ เรือ่ ย ๆ เห็นมันเกดิ แลว้ ดับอยู่อย่างน้ี ลำดบั ที่ ๒ ทา่ นเห็นสาเหตขุ องการเกดิ เราเห็นไหม
วา่ บางความคิดท่มี ันยืดเยอ้ื มันดับไมล่ ง ทีม่ นั นำพาสคู่ วามทุกข์ เห็นสาเหตุมนั ไหม คือเผลอเข้าไป
ยดึ ทกุ ขเ์ กดิ ขึน้ เพราะเราเผลอ เขา้ ไปยึด พอลำดบั ที่ ๓ พอเห็นสาเหตุ แลว้ ก็ “ละ” สาเหตุนั้น พอ
ละสาเหตุได้ สิง่ ที่เราเผลอปรุงแตง่ กด็ ับได้ แลว้ ท่านกบ็ รรลุอาสวกั ขยญาณได้ ของเราแค่เหน็ วา่ เม่อื
เราถอนจากความหลงเขา้ ไปยดึ การปรุงแตง่ ก็ยุติ ความทกุ ข์ท่ีเกดิ ในขณะนัน้ ก็ดบั ลงในขนะนัน้
เช่นเดียวกัน

ดงั นน้ั เมื่อเราเจริญสติ เหน็ ความคดิ ที่มนั ผุดขน้ึ มามาก ๆ จติ กจ็ ะเบื่อหนา่ ยคลายกำหนัด เหน็
ความไรส้ าระ เรากไ็ ม่เขา้ ไปยึดให้เป็นสาระ เรากห็ ลุดจากทุกข์และเห็นว่ามนั เป็นอย่างนัน้ ของมนั
เอง แลว้ มนั กด็ บั ไป ดงั นน้ั เราสามารถดับทกุ ขไ์ ด้ทกุ ขณะ เรอื่ งการดบั ทกุ ขข์ องพระพุทธเจ้าก็เป็น
เรื่องที่เขา้ ถึงได้ ไมเ่ หลือบ่ากวา่ แรง ด้วยกำลังแหง่ บุรษุ ดว้ ยความเพียร ดว้ ยความบากบัน่ ก็
สามารถเข้าถงึ ได้ แมไ้ ม่ใช่การดับโดยสมุจเฉท แตก่ เ็ ปน็ การดับทกุ ขท์ ที่ ำใหเ้ ราได้สัมผัสรสชาตขิ อง
การดบั ลงแห่งทุกข์ ดังน้ันถ้าเรารู้ทนั กระบวนการท่มี ันทำใหเ้ กดิ ทุกขเ์ ราก็สามารถดบั ทุกขข์ นาดนน้ั
ได้ แลว้ จติ เค้าก็จะยนื ยนั วา่ การดบั ทุกข์ของพระพุทธเจ้านัน้ ทำได้ แมม้ ันจะไม่สมจุ เฉทคอื ไม่โดย
สิน้ เชิงกต็ ามแต่มนั กด็ บั เปน็ ขณะ ๆ ถา้ จติ ได้สมั ผสั รสชาติแหง่ การดบั ทุกข์น้ีไปเร่อื ย ๆ แลว้
โยนโิ สมนสิการนัน่ แหละสดุ ยอดแห่งความรทู้ ่เี ราจะเอาไปใชใ้ นการเดินทางของเราตอ่ ไป ซึ่งถ้ามี
ใครมาเล่าใหเ้ ราฟังก็ไมส่ ามารถรู้ไดเ้ ทา่ เราสมั ผสั เอง เหมอื นมีใครมาบอก วา่ อาหารอันนีอ้ ร่อยมาก
ก็ไดแ้ ต่ฟงั จนกระทั่งได้กนิ เองถึงจะรู้คือเมอื่ เราไดส้ มั ผัสแลว้ เราก็จะจำมนั ได้ พอจำไดม้ นั กเ็ กิด
ร่องรอยทจี่ ะใหเ้ ขาเวียนกลับไปรสน้ันตลอด คนเราจะขนึ้ สวรรค์หรือลงนรกกอ็ ยูท่ ต่ี อนเป็นมนุษย์
นี่แหละ ถ้าจิตสัมผสั กับความสขุ ตลอดเมื่อตายไปมนั ก็เป็นรอ่ งรอยนำพาให้ไปสวรรค์ แตถ่ า้ ตอน
เปน็ มนุษย์จำสมั ผสั แตค่ วามทุกขต์ ลอดมนั ก็เปน็ ทางนำไปสู่นรก แต่เราทำร่องรอยการดบั ทุกข์ ถ้า

67

เราทำไปเร่อื ย ๆ มันกจ็ ะเปน็ รอ่ งรอยนำทางเราเอง มนั จะไมค่ าดเคลอ่ื นไม่เคลือ่ นคลอ้ ย เราปฏบิ ตั ิ
แค่นี้ยงั เหน็ ได้ แล้วพระอรยิ ะทที่ า่ นปฏิบตั ิมากอ่ นเรามานาน เราจะหมดความสงสัยในพระธรรม
ไมล่ งั เลสงสยั ในพทุ ธธรรมคำส่ังสอนของพระพทุ ธเจา้ ความศรัทธาจะแนบแน่นลงในจติ เตม็ ๆ ไม่
ตอ้ งถามอะไรอกี แลว้ จะมองหาแค่ว่าทุกข์อยู่ท่ีไหน แลว้ จะดบั มันอยา่ งไร ไมม่ วั ไปตดิ กับการ
ลูบคลำศลี พรต ไมถ่ ามเรอ่ื งความงมงาย ทิง้ ไปเลย ไมม่ กี ารถามว่าสวดมนตร์บทนั้นบทนี้ แล้วจะ
เป็นอย่างไร เราจะเดินตามรอยบาท พระศาสดาอยา่ งเตม็ ท่ี

68

๑๓. ธรรมะเปน็ ทีพ่ ึ่งได้จริง

เอาละ่ วนั นพ้ี ระอาจารยก์ ม็ ีเรื่องเล่าส่กู ันฟัง ตง้ั ใจฟงั กนั ให้ดี เมอื่ คนเราน้ันมีสติสมั ปชญั ญะบรบิ ูรณ์
ยอ่ มไมม่ คี วามหวาดหวนั่ แม้ในขณะท่ีกำลังจะตาย

มเี ร่ืองเลา่ ให้ฟัง ลองพจิ ารณาดอู นั นี้ พระอาจารยต์ อ้ งการยนื ยันธรรมะขององคส์ มเด็จพระสัมมา
สมั พุทธเจ้าไม่ใชเ่ รื่องธรรมดาให้ผลไม่ขึ้นอยู่กบั กาลเวลา มโี ยมคนหน่ึงปว่ ยเป็นมะเร็งปอดระยะ
สุดท้ายพระอาจารยไ์ ดร้ ับโทรศพั ท์นิมนตจ์ ากหมอท่ีโรงพยาบาลชยั ภมู ิบอกวา่ มผี ปู้ ว่ ยทเี่ ป็นมะเรง็
ระยะสดุ ท้ายทรมานมากอยากตาย คือเวทนามนั แรงกลา้ มากถงึ ขนาดออกปากวา่ อยากตาย หมอ
เลยนิมนต์พระอาจารยไ์ ปคยุ กับเขา ในฐานะท่ีพระอาจารยเ์ คยบรรยายการดูแลผู้ปว่ ยระยะสดุ ทา้ ย
วถิ ีพทุ ธให้กบั โรงพยาบาล พอพระอาจารยไ์ ปถึง เขาก็สะลมึ สะลอื เหมือนเขาตอ้ งการใชย้ าในการ
ระงับปวด พอไปถงึ เตยี งทีเ่ ขานอนอยู่พระอาจารย์กไ็ ปนั่งข้าง ๆ เตียง หมอเขากบ็ อกคนไขว้ ่าพระ
อาจารย์มาเย่ยี ม เขาก็พยายามลุกขน้ึ นัง่ แลว้ กย็ กมอื ไหว้ พระอาจารยก์ ถ็ ามเขาว่าเป็นอยา่ งไรบ้าง
เขาก็เอามอื จับหน้าอกเขาบอกว่าปวดมาก มันปวดทรมานมาก พระอาจารย์กถ็ ามวา่ ปวดอยู่ตลอด
เวลาไหม เขาบอกว่าปวดตลอดเวลา ทนี เี้ ราก็คยุ กับเขาคยุ ไปหลาย ๆ เรอ่ื งจนเคา้ เพลิน พอเขา
เผลอกล็ องถามเขาวา่ ตอนน้ปี วดไหม เขาบอกไมค่ อ่ ยปวดแลว้ กไ็ หนบอกวา่ ปวดตลอดเวลาไง
เอาอย่างน้ี พระอาจารย์บอกวา่ อยากร้วู า่ คณุ ปวดมากแค่ไหน ลองบีบแขนพระอาจารย์ ถา้ มนั ปวด
มากบีบแขนพระจารยใ์ หพ้ ระอาจารย์รับรู้ถงึ ความปวด เขากก็ ำแขนพระอาจารย์ พอมนั ปวด เขาก็
เรมิ่ บบี แขนพระอาจารย์ บบี แน่นเลย พระอาจารยก์ ็บอกเขาใหม่ ถา้ ปวดอีกกบ็ ีบอีกนะ ตงั้ ใจบบี
เลยนะ เต็มท่เี ลย พอมนั ปวดอกี เขาก็ต้งั ใจบบี เลย พระอาจารย์กบ็ อกเขา เอาอีกคราวนี้พอมันเริ่ม
ปวดอกี ก็บีบอีกนะ คราวนีพ้ อมนั จะปวดอกี เขากค็ ว้าแขนพระอาจารย์บบี อกี เราเล่นกันอยา่ งนไ้ี ป
สักพกั เขาบอก พระอาจารย์ครับ มนั ไมค่ อ่ ยเจบ็ มันเจบ็ นอ้ ยลงครับ มนั เปน็ เพราะอะไรครบั พระ
อาจารยบ์ อก กเ็ ม่อื ก่อนคณุ เจบ็ คณุ เอาใจคุณทง้ิ ลงไปร้อยเปอร์เซ็นต์กบั ความเจบ็ น้ัน แตต่ อนน้คี ณุ
มาสาละวนกบั การบีบแขนพระอาจารย์ ใจคณุ มาจดจ่อกบั การบีบแขนพระอาจารย์ ไอ้ท่มี ันเคยทง้ิ
ไปร้อยเปอรเ์ ซน็ ต์กบั ความเจบ็ ปวดนัน้ มนั กถ็ ูกแบง่ มาทแ่ี ขนพระอาจารย์ จติ ใจท่ีเคยจดจอ่ กบั
ความเจ็บ มันถกู แบง่ มาจดจอ่ กับแขนท่จี ะบีบ ความเจบ็ ก็ผอ่ นลงไป น่คี ือกระบวนการการเรยี นรู้
ใหเ้ ข้าใจเรอ่ื งเวทนาทางกายกับเรอ่ื งของจติ คนละอย่างกนั เราใช้เวลาเรยี นรเู้ ร่อื งน้ีดว้ ยกันอยู่

69
ประมาณ ๓ ชัว่ โมง เมื่อเราอธบิ ายให้เขาเขา้ ใจวา่ เมอ่ื กที้ ่ีคณุ เจ็บน้อยลงเพราะใจคณุ ไมไ่ ด้เขา้ ไปย่งุ
กับความเจบ็ ปวดนน้ั แต่ใจของคณุ มาสาละวนกบั แขนพระอาจารย์ และในการบบี คณุ ก็ไม่สนใจ
เทา่ ไหรห่ รอก แต่ที่สำคัญคือ สนใจจะบบี ใหพ้ ระอาจารย์รู้ว่าคณุ เจ็บแคไ่ หน เอาละ่ ต่อไปนใ้ี หค้ ุณ
นอนหงายมอื ควำ่ มือ พอมนั เจบ็ กร็ ับรวู้ ่ามันเจ็บแตก่ ็กลับมารบั ร้ทู ีม่ ือท่หี งายที่ควำ่ หงายแล้วก็คว่ำ
ไปเรอ่ื ย ๆ เพราะเวลาที่มนั เจบ็ เราไมไ่ ด้เจบ็ ตลอดเวลา ความเจบ็ ท่มี ันมีขึ้นมา มันเจบ็ เป็นครง้ั ๆ ไม่
ได้เจ็บตลอดเวลา มันเป็นบางครงั้ เพราะฉะน้นั พอเวลาเจ็บก็เอาใจไปรบั รู้กับการหงายควำ่ ของมอื

แลว้ พระอาจารยก์ ก็ ลบั มากรงุ เทพฯ อกี ประมาณอาทิตย์ พระอาจารย์ไปโคราช ทางโรงพยาบาลก็
โทรตามอกี พระจารย์คนไข้อยากพบพระอาจารย์ ครง้ั แรกทีพ่ บคนไข้คอื หมอยัดเหยียดใหพ้ บ แต่
ครงั้ นคี้ นไขอ้ ยากพบ ขอร้องใหพ้ ระอาจารยแ์ วะชยั ภูมิก่อนกลับมากรุงเทพฯ พอไปถึงคราวนี้เขาน่งั
แลว้ เขากค็ ว่ำมือหงายมือให้ดู แลว้ เขาก็บอกตอนน้คี วามเจบ็ มันน้อยลงแล้ว แตม่ ันก็ยงั เจ็บอยู่ แลว้
ก็นั่งคยุ กนั พระอาจารยบ์ อกว่า คราวน้คี ณุ ลองทำใจกลาง ๆ กบั มัน ในขณะคุณรบั รู้กบั การ
เคล่ือนไหวของคณุ คุณลองสังเกตไหมวา่ บางครั้งใจคุณกเ็ อนเอยี งเขา้ ไปหาความเจบ็ ปวด ใชค่ รับ

70

พระอาจารย์ แลว้ คุณทำอย่างไร ผมกพ็ ยามกลับมารบั รู้กบั มือทคี่ ว่ำหงายตรงนี้ ความพยายามกลับ
มาของคณุ มันเป็นความพยายามหนี หนีความเจ็บปวดออกมาหรอื เปลา่ เอาใหมค่ ราวน้คี ุณไม่ต้อง
หนมี ัน แต่ความเจ็บปวดใหม้ นั รวู้ า่ มี แต่คุณรแู้ คค่ วำ่ มอื หงายมือ ความเจ็บปวดก็ใหม้ ันเจบ็ ปวดไป
แตค่ ุณร้อู ยู่แคจ่ ากตรงน้ี คุณจะทำงานตรงน้ี ตรงนั้นกป็ ลอ่ ยใหม้ ันทำงานของมนั ไป เราพบกันอีก
๓ ชั่วโมง แลว้ พระอาจารยก์ ็กลับ อกี ไมก่ ่ีวนั พระอาจารยก์ อ็ อกพรรษา หมอโทรไปหาบอกคนไข้
เสยี ชวี ิตแลว้ แต่ภรรยาเขาบอกไมอ่ ยากเชือ่ เลยว่าธรรมะสามารถช่วยสามเี ขาได้ขนาดนี้ เลยถามวา่
ชว่ ยยังไง ภรรยาบอกว่าวนั ทสี่ ามีเขาจะตาย สามีลกุ ขนึ้ นง่ั เรียกลกู สาวไปกอด เรยี กลูกชายไปกอด
เรยี กภรรยาไปกอดโดยไม่พดู อะไรสกั คำ หลังจากนน้ั ก็เอนตัวลงนอน ภรรยากน็ ึกวา่ สามีหลับ ไมม่ ี
อาการอะไรทั้งนน้ั ภรรยาเอะใจ ทำไมสามีนอนนาน พอเขา้ ไปดใู กล้ ๆ เลยรู้ว่าสามไี ปแลว้ เขา
บอกไม่น่าเชอ่ื เลยว่า ธรรมะท่ีเพง่ิ คุยกนั และพึ่งปฏิบัติไมน่ านมนั จะสามารถช่วยสามเี ขาไดข้ นาดน้ี
มันทำใหเ้ ขาจากไปอยา่ งสงบ โดยไม่มีอาการทุรนทุรายเลย ถามว่าเขาหลงตายไหม ไมใ่ ช่เลย เขา
ลาแล้วเขาไม่ตอ้ งการใหล้ ูกและภรรยารำ่ ไหร้ ำพนั คดิ ดูวา่ ถ้าภรรยาและลูกรู้วา่ เขาตอ้ งตายจะ
โวยวายกนั ขนาดไหน เขาต้องการจากไปอยา่ งสงบ ภรรยาและลูกก็ไมต่ ้องมาน่งั คร่ำครวญ ตัวเขาก็
จะมีเวลาทำจติ ของเค้าอย่างสงบและจากไปอยา่ งสงบ ลองคิดดวู ่า ถา้ เขากำลังจะตาย ภรรยาก็ร้อง
เรียก ลูกกร็ ้อง ต้องเรยี กหมอพยาบาลกนั ว่นุ วาย นั่นกท็ ำให้จิตเขาไม่สงบ จิตเผลอข้ึนมาหว่ ง
ภรรยาห่วงลูก ดังนน้ั ไปอย่างเงียบ ๆ เลยดกี วา่ เขาทำอยา่ งเงยี บ ๆ เรียบ ๆ สบาย ๆ เขาไม่ได้
ปฏิบัติอะไรนานเลย นน่ั หมายถงึ ธรรมะของพระพทุ ธเจ้าใหผ้ ลไดเ้ สมอ แมใ้ นเวลาสุดท้ายของชวี ติ
จริงอยคู่ วามเจ็บปวดและความตายท่ีใกล้เข้ามาเยือนเขา มันทำใหเ้ ขาอาจจะต้องขวนขวายให้มาก
ขนึ้ แต่การขวนขวายจะเกดิ ขึน้ ไม่ได้ ถ้าเขาทำแลว้ ไมไ่ ดร้ บั อานิสงสข์ องมัน เพราะเขาไดร้ บั
อานสิ งสข์ องมนั ก็ยิง่ ทำให้เขาควรขวายที่จะทำ เพราะฉะนน้ั การท่ีเขามสี ติรเู้ ท่าทนั กับทุกขเวทนา
ท่เี กดิ ขนึ้ แล้วไม่ไปเปน็ กับมนั แล้วประคองจิตตวั เองไวใ้ หร้ ู้สกึ กบั การรสู้ ึกตัว มันทำใหเ้ ขาสามารถที่
จะมสี ติทจ่ี ะจบชวี ติ ของเขาไดอ้ ย่างงดงาม นเ่ี ขาไม่เคยปฏิบตั ิธรรมเลยนะ ดสู เิ ค้ามีโอกาสแค่น้นั เขา
กย็ งั ทำแล้วมันก็ไดผ้ ล จากการทำตรงนนั้ แล้วเราล่ะโอกาสเยอะกว่าเขา แตเ่ พราะเราไมม่ อี ะไรมา
ไล่ก้นใหท้ ำ จรงิ อยเู่ พราะเขามอี ะไรมาไลก่ ้น แต่ถา้ เขาไมไ่ ด้อานสิ งส์เขาก็ไม่ทำหรอก เคยมีโยม
หลายคนที่พระอาจารย์พยามบอกแตเ่ ขาไม่รบั โชคดีทค่ี นปว่ ยคนนนั้ เขารบั ธรรมะแหง่ สมเดจ็ พระผู้
มพี ระภาคเจ้าแล้วเขากไ็ ดธ้ รรมะนั้นเป็นที่พึง่ แลว้ เขากย็ ังทำใหล้ ูกเมียไม่ตอ้ งทุกข์ทรมานกบั การ
จากไปของเขา เหน็ ไหมวา่ ธรรมะใหค้ ณุ แกค่ นท่ีตายและคนทีอ่ ยู่ คงเคยเหน็ คนท่กี ำลังจะตายแล้ว

71

ถกู ลูกหลานร้องไห้ โวยวาย แลว้ คนตายกต็ ายตามยถากรรม ต้องใชค้ ำว่ายถากรรม นา่ เสียดายท่ี
เราเป็นชาวพุทธแตไ่ มเ่ อาสง่ิ นี้มาใชใ้ นการนำทางคนทจี่ ะตายใหไ้ ปอย่างสงบ ส่สู คุ ติ เราไมใ่ ห้ความ
สำคญั ของเรือ่ งนี้ แลว้ เราก็ปล่อยให้คนตาย ตายตามยถากรรม

พระอาจารยเ์ คยไดย้ ินมาว่า อย่างทางธิเบตเวลามีคนตายในบ้าน พวกเขาจะรบี ไปนิมนตร์ นิ โปเช
คือพระอาจารยข์ องเขา พระลามะ ทเ่ี ปน็ พระอาจารยส์ อนกรรมฐาน มานำทางคนทใี่ กลต้ ายของ
เขา มาทำพิธมี านำทาง แต่ชาวพทุ ธบ้านเราปล่อย จะคดิ ถงึ พระก็ตอนตายแลว้ ใหไ้ ปสวด จรงิ ๆ
แล้วสวดใหค้ นเปน็ ฟัง แต่คนเป็นคดิ ว่าสวดให้คนตายฟัง หูมันดบั ไปแลว้ จะไดย้ นิ อะไร ไมต่ ้องรอ
ไปเคาะโลง มันไมต่ อ้ งรอถงึ ตอนน้ันแตส่ ังคมไทยเปน็ แบบน้ี เหตุผลน้ีแหล่ะ พระอาจารยจ์ งึ
พยายามอบรมการดูแลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ท้ายวถิ ีพุทธ เพราะเหน็ อานสิ งค์ของมัน เหน็ ถงึ ธรรมะของ
พระพทุ ธองค์ สามารถช่วยได้ แม้ในวินาทีสุดท้าย พระเจ้าสุทโธทนะทรงบรรลคุ วามเป็นพระ
อรหนั ต์ ในขณะที่พระพุทธองคน์ ่ังอย่ขู า้ งเคยี งแล้วก็สง่ นำทางให้พระเจา้ สทุ โธทนะทรงจบลงอย่าง
งดงาม เปน็ ผ้ทู ด่ี บั ลงโดยไมเ่ หลือในช่วงสุดทา้ ย และอกี หลายท่านทีส่ ามารถฉวยโอกาสทองครัง้
สดุ ทา้ ยของชีวิตในการจบลงอย่างงดงามก็เหน็ มปี ระวัติมาแล้ว ทำไมเราไมค่ ิดวา่ ปจั จบุ ันกต็ ้อง
ทำได้บา้ ง แมจ้ ะไม่ถงึ ขนาดดบั โดยไม่เหลือ แต่ดบั อย่างสงบนา่ จะทำได้ เพราะฉะน้นั ถา้ เราเข้าใจ
การเจริญสติ คนแรกที่ได้อานิสงสค์ อื เรา และถ้าเราเขา้ ใจอย่างดี คนรอบข้างเรากจ็ ะได้ และย่ิงกวา่
นัน้ แมว้ ่ามีใครจะจบชีวิต หรือมคี นป่วย เรากส็ ามารถช่วยเขาได้ ถ้าเราเขา้ ใจการเจรญิ สติ อย่าง
น้อยเราก็สามารถช่วยผอ่ นปรนทกุ ขเวทนาของเขาให้เบาลงได้ และถ้าเปน็ ไปไดก้ ็สามารถนำทาง
เขาได้ ใหเ้ ขาได้จบอย่างสงบในบ้นั ปลาย และในฐานะของพทุ ธบรษิ ทั ท่ีนำเอาคำสอนขององค์
สมั มาสัมพุทธเจ้านำมาใช้ไดจ้ รงิ ไม่ใชแ่ คจ่ ำและอยู่บนหง้ิ ดังน้ัน เมือ่ เรามเี วลามีโอกาส สมควรไหม
ทจี่ ะเร่งความเพยี ร ทำให้เขา้ ใจ ทำให้เปน็ ทพี่ ึ่งของเราจริง ๆ

72

๑๔. เก่ียวเนอ่ื งด้วยเหตุปจั จัย

อรุณสวัสดิ์ทุกท่าน เชา้ นีก้ ็ใกลแ้ ล้วละ่ มคี นบอกว่าจิตจะเบิกบานเองเมอื่ วานสุดทา้ ยทกุ ทเี ลย เปน็
เพราะว่าเรารวู้ า่ จติ จะได้กลับไปรบั ใช้กิเลสอีกแลว้ เจา้ นายผู้ยงิ่ ใหญ่ เมือ่ วานเราสวดมนตเ์ ริม่ ต้น
ดว้ ยวา่ เมือ่ เราตง้ั กายตรงดำรงสติมัน่ ท่านใหเ้ ราทำอะไร หายใจเขา้ หายใจออก กรรมฐาน
เบือ้ งตน้ ดังน้ันพวกเราสังเกตไหมวา่ เม่ือจบแตล่ ะบท แต่ละบททา่ นให้เราร้ลู มหายใจเข้า ลม
หายใจออก คือการที่เราตัง้ อารมณ์กรรมฐานไวแ้ ลว้ ทำใหเ้ รารู้เห็นสภาวะทมี่ ันเปลี่ยนแปลงของจติ
ดังนนั้ การทเี่ รายกมือสรา้ งจงั หวะ ให้เรารู้สกึ ตวั กไ็ มต่ า่ งกัน ในขณะท่เี รายกมอื สรา้ งจังหวะ เรารู้
กายของเรา แตเ่ มอื่ จิตเราหลงไปแล้ว ถ้าเราไปเป็นกับมัน เรากจ็ ะไมเ่ ห็นมนั ดังนนั้ สิ่งท่เี ราต้องมี
คอื อารมณ์กรรมฐาน ดงั นน้ั เม่ือเราตั้งอารมณก์ รรมฐานใดก็ตาม อารมณ์กรรมฐานนน่ั เอง จะเป็น
ท่ีอาศยั ให้เราเรยี นรสู้ ่งิ ทเี่ ปลี่ยนแปลงไปในกาย และในจิตของเรา เมือ่ ก่อนเราไม่เคยรู้ เราก็ไหลไป
กบั มัน เป็นไปกบั มนั ต่อเมื่อเรารู้ คอื เราออกมายนื ดู เราก็เหน็ วา่ น่เี อง มันเปน็ เชน่ นเี้ อง “ตถตา”
แปลวา่ เป็นเชน่ นีเ้ อง ดงั นัน้ เมอ่ื เรามองเห็นความเป็นเชน่ น้ันเอง ฟังให้ดนี ะ คือ “ความไม่มีเรา” มี
แตส่ ภาวะธรรมที่เปน็ ไป เปน็ ความรู้สึก ความนึกคดิ อารมณใ์ ด ๆ ก็คือความที่มนั เปน็ ไป ไม่ว่าฝน
ตก ฟ้ารอ้ ง โลกร้อน มนั ก็เป็นไปดว้ ยเหตุดว้ ยปจั จัยท่ีทำให้มันเกิดข้ึน เพราะมันมีหลายส่ิงหลาย
อยา่ ง ท่มี ันเหมาะสมกนั มันถึงได้เกดิ ขึ้นมา ปัจจุบนั นที้ ่ีเรามคี วามรคู้ วามสามารถหาเงินหาทอง
เพื่อความสขุ สบายมากมาย และเราคดิ วา่ คนโบราณอยกู่ นั อย่างยากลำบาก แต่ความเข้าใจใน
สภาวะธรรมของเราน้ันเทยี บไม่ได้เลยกบั คนโบราณ คนโบราณเขา้ ถงึ สภาวธรรม ขนาดทเี่ อาการ
เข้าถึงนิพพานมาแตง่ เพลงกลอ่ มเดก็ นอนทางภาคใต้มเี พลงกลอ่ มเด็กนอนอยูเ่ พลงหน่งึ

73

“มะพรา้ วนาฬเิ ก ตน้ เดียวโนเน อยกู่ ลางทะเลขผ้ี ้งึ ฝนตกไม่ต้อง ฟ้ารอ้ งไมถ่ ึง กลางทะเลข้ผี งึ้ ถึงได้
แตผ่ ู้พ้นบญุ ” ขนาดสภาวะพระนิพานยังสามารถมาแตง่ เปน็ เพลงกลอ่ มเดก็ นอน แสดงว่าคน
โบราณเขาไดย้ นิ เร่ืองราวเหล่าน้ีจนกลายเปน็ เรือ่ งปกติ หรอื คนโบราณทสี่ อนเร่อื งปฏจิ จสมทุ ปบาท
สอนเรอื่ งเหตุเร่อื งปัจจยั สอนว่าสิ่งเหล่านัน้ มันมเี หตุ แต่เมอ่ื แกไ้ ขเหตทุ ี่ถูกตอ้ ง มนั ก็ย้อนกลับมา
แล้วก็ดบั ปญั หาได้ เช่อื ไหมวา่ คนสมยั น้ีกลับตัดวชิ าเรยี นเหล่านอ้ี อกไปจากบทเรียนของเดก็ ทงั้ ที่
เราเรยี นกันมาต้ังนาน ตายายปลูกถ่ัวปลกู งาให้หลานเฝา้ หลานไมเ่ ฝ้า อกี ามาลกั ไป ตามาตากด็ า่
ยายมายายกต็ ี หลานกเ็ ลยรีบว่งิ ไปขอความชว่ ยเหลอื จากใครรู้ไหม ไปขอนายพราน นายพราน
บอกไม่ใชเ่ รอ่ื งของฉัน ก็เลยว่งิ ไปขอให้หนูมากัดสายธนูนายพราน หนูบอกไมใ่ ชเ่ รือ่ งของฉัน ก็เลย
ตอ้ งไปขอใหแ้ มวมาไลก่ ัดหนู แมวกบ็ อกไม่ใชเ่ รือ่ งของฉัน เลยไปขอให้หมามาไลก่ ัดแมว หมาก็บอก
ไม่ใช่เรอื่ งของฉัน กข็ อร้องใหไ้ มค้ อ้ นมาตีหวั หมา ไมค้ ้อนก็บอกไมเ่ กย่ี วกับเรื่องของฉัน ก็ไปขอรอ้ ง
ไฟให้มาไหมไ้ มค้ อ้ น ไฟก็บอกไมเ่ กยี่ วกบั ฉนั กเ็ ลยไปขอให้นำ้ มาดบั ไฟ นำ้ กบ็ อกไม่เก่ียวกับฉนั ก็
เลยไปขอให้ตลงิ่ พงั ทบั น้ำ ตลง่ิ ก็บอกไมใ่ ช่เรือ่ งของฉนั กไ็ ปขอช้างมากระทบื ตล่งิ ช้างกบ็ อกไมใ่ ช่
เรื่องของฉนั สดุ ท้ายก็ไปขอแมลงหวีม่ าตอมตาชา้ ง แมลงหวโี่ อเค พอแมลงหว่โี อเคเท่านนั้ ชา้ งยอม
ไปขูเ่ หยยี บตล่งิ ตลิง่ ไปขู่พังใสน่ ำ้ น้ำก็ไปข่ดู บั ไฟ ไฟกไ็ ปข่เู ผาไมค้ อ้ น ไมค้ ้อนกไ็ ปขทู่ บุ หัวหมา หมา
กไ็ ปขไู่ ลก่ ัดแมว แมวก็ไปขไู่ ลก่ ัดหนู หนูกไ็ ปขู่กดั สายธนนู ายพราน นายพรานก็เลยไปจดั การอีกา
น่ีคือปฏจิ จสมปุ บาท นี่แสดงวา่ มนั มีเหตุมีปจั จัยใหห้ นุนเนอ่ื งมา แตเ่ ม่ือเราถอนเหตปุ จั จยั บางอยา่ ง
ได้ มันก็ยอ้ นกลับไป มนั คือ สภาวธรรมท่ีคนโบราณนำมาสอนให้เราร้จู ักเรื่องของเหตปุ ัจจยั ท่มี นั

74

หนนุ เนือ่ งซึง่ กนั และกนั ให้ก่อเกดิ และเมื่อมันแกไ้ ขบางส่งิ บางอยา่ งได้ มันก็จะย้อนกลบั แล้วกจ็ ะ
เปลีย่ นแปลงไปตามเหตุตามปัจจัย มันเป็นบทเรยี นทีส่ อนมาตั้งแต่เด็ก ให้เรยี นรู้ เรือ่ งเหตปุ ัจจัยท่ี
หนนุ เนอ่ื งกนั อยา่ งเพลงง่าย ๆ กบทำไมจึงร้อง กบมนั ร้องเพราะท้องมนั ปวด ทอ้ งทำไมจงึ ปวด
เพราะขา้ วมันดบิ ข้าวทำไมจงึ ดบิ เพราะไฟมันดับ ไฟทำไมจงึ ดบั เพราะฟนื มันเปียก ฟืนทำไมจึง
เปยี ก เพราะฝนมนั ตก ฝนทำไมจงึ ตก เพราะกบมนั รอ้ ง ก็จะมองเหน็ ความหนนุ เน่ืองซึ่งกันและกนั
ซึง่ มนั หาสาเหตทุ แ่ี ทจ้ ริงไมไ่ ด้ ซึ่งจะแสดงใหเ้ หน็ ความเปน็ อนตั ตา ไม่มีอะไรเปน็ จุดเร่มิ ตน้ ท่ีแทจ้ ริง
มีแต่การหนุนให้กันจนเกดิ ความเปน็ ไป ในทางพระพทุ ธศาสนาไมม่ ีความเป็นตัวเริม่ ต้นเลย มนั มี
แตส่ ภาวะของการหนุนเนอ่ื งซึ่งกนั และกนั ชดั เจนไหม

มีครง้ั หนงึ่ หลวงพอ่ คำเขียนเล่าให้ฟงั ปี ๒๕๑๘ ตอนนนั้ เขาจัดการแสดงธรรมทส่ี วนลุมพินี วนั นั้น
มหี ลวงพอ่ ธรรมธโร จากวัดไทรงาม จงั หวดั สพุ รรณบุรี ซ่งึ สอนสตปิ ัฏฐานการเคล่ือนไหวเหมอื นกนั
มหี ลวงพ่อคำเขยี นและเจ้าสำนักอกี ทา่ นหน่งึ หลวงพ่อธรรมธโรเทศนก์ ่อน ทา่ นพูดเรอ่ื งสติ ก็ยนื ยนั
เร่อื งสติ ต่อมาท่านเจ้าสำนกั อกี ท่านก็บอกวา่ อะไรก็สติ ๆ ศีลตอ้ งมากอ่ นสิ เพราะสำนกั ของท่าน
นน้ั เขาจะเน้นเร่อื งศลี ดงั นัน้ ศลี ตอ้ งมากอ่ นเหน็ ไหมศลี สมาธิ ปญั ญา มนั ตอ้ งเขา้ ใจศลี ก่อน ทำศลี
ใหด้ ี ถึงจะทำสมาธใิ ห้ดีพอ แล้วจะมปี ัญญา พอถงึ หลวงพ่อคำเขยี น หลวงพอ่ บอกว่าถา้ ไม่มีสตมิ นั
รักษาศีลไม่ได้ เพราะฉะนัน้ มันไมไ่ ด้มาเป็นแถว มันมาเปน็ วงกลมทหี่ นนุ เนอ่ื งซึง่ กนั และกนั โดยมี
สติเป็นตวั ควบคมุ ทุกอย่าง เพราะถ้าไม่มีสติก็รักษาศีลไม่ได้ เพราะฉะน้นั คำสอนของพระพทุ ธเจา้
สอนใหเ้ ราเขา้ ใจความจรงิ ของการหนุนเนือ่ งของเหตปุ จั จยั ท่ที ำให้มนั ก่อเกดิ จงึ เป็นเหตปุ ัจจัยให้
เปล่ียนแปลงตลอดเวลา ซึ่งเราเรียกว่า “สงั ขารธรรม” เพราะสังขารแปลวา่ มนั ประกอบกันขึน้
มันปรุงแต่งกนั ขนึ้ คำวา่ ปรุงแต่งมนั มีอยา่ งเดยี วไมไ่ ด้ มันต้องประกอบดว้ ย ๒ อย่างข้ึนไปพอเป็น
๒ อย่างข้นึ ไป มันจะเป็นความเทยี่ งแทแ้ นน่ อนไดไ้ หม ดังน้ันเม่อื มันประกอบกนั ขึน้ มนั ปรงุ แต่งกนั
ข้นึ มนั กม็ ีความไม่เทย่ี งแท้แลว้ เพราะหมายความว่า มนั พรอ้ มทีจ่ ะมีเหตุปจั จัยใหเ้ ปล่ยี นแปลง
ตลอดเวลา

ดงั น้ันท่ีมนั ต้องเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เราเรียกว่ามันเป็นอนิจจัง คอื ความทม่ี นั ไม่สามารถคงอยู่
ในสภาพเดมิ ได้ ดังนั้นความทมี่ ันตอ้ งเปลี่ยนแปลงไปทนอยไู่ มไ่ ด้ จึงเรยี กสภาวะนีว้ า่ ความเป็น
ทกุ ขัง บังคบั มันไมไ่ ด้ ไมม่ ีตวั ตนที่แท้จรงิ มแี ตเ่ หตปุ ัจจัยหนุนเนอ่ื งกนั ใหก้ ่อเกิด แลว้ จะเปล่ยี นไป

75

ตามเหตุตามปัจจัยทเี่ ปล่ียนไป จึงไม่มตี วั ตนที่แทจ้ ริง อยูไ่ ดใ้ นภาวะหนึ่งในกาละหน่ึง ในช่วงระยะ
เวลาหนงึ่ เท่านน้ั ทีนย้ี อ้ นกลบั มาทเ่ี พลงกล่อมเด็ก มะพร้าวนาฬเิ ก ต้นเดยี วโนเน อยกู่ ลางทะเล
ข้ผี ้งึ ฝนตกไมต่ อ้ ง ฟา้ รอ้ งไม่ถึง กลางทะเลขี้ผึง้ ถึงได้แตผ่ ู้พน้ บุญ ไล่ตัง้ แตต่ อนสดุ ทา้ ย ผู้พน้ บุญ
ทำไมไม่เอาผพู้ น้ บาป ทำไม คือดีไมเ่ อาช่ัวไมเ่ อา ดรี ู้จัก ชว่ั รูจ้ ัก มนั เป็นคำสอนท่ีเหนอื ย่ิงกว่าคำ
สอนอนื่ ใด ซงึ่ โดยทั่วไปกส็ อนให้ละเวน้ ความชวั่ มุ่งทำความดี และจะเห็นว่าในคำสอนโอวาท
ปาตโิ มกข์น้ัน สองขอ้ นีข้ ึน้ ก่อน “สัพพะปาปสั สะอะกะระณัง กสุ ะลัสสปู ะสมั ปะทา” คือการ
ละเว้นในการทำบาปทั้งปวง จงทำกศุ ลให้ถงึ พรอ้ ม นน่ั หมายถึงวา่ การละเว้นการทำช่ัวทำบาปนน้ั
เป็นคำสอนท่ีมอี ยแู่ ลว้ เป็นคำสอนที่มีมานาน ทุกศาสนากส็ อนเหมอื นกนั แต่คำสอนท่ี ๓ น้ี
ตา่ งหากท่ีไมม่ ใี ครสอน “สะจิตตะปะริโยทะปะนงั ” จงชำระจิตของตนให้ผ่องแผว้ ใหข้ าวรอบ น่นั
หมายถึงวา่ เหนอื ยง่ิ กวา่ บญุ และบาป ถา้ บญุ คือความสุข ผลแหง่ บุญคือความสขุ ผลแห่งบาปคอื
ความทุกข์ใชห่ รอื ไม่ แต่คำสอนของพระพุทธเจา้ เหนือทกุ ข์ เหนอื บาป เหนอื บุญ เหนอื สขุ ภาวะ
แหง่ ความไม่ทุกขน์ ้นั มอี ยู่ พระพุทธเจา้ ใชค้ ำน้ี เพราะฉะนนั้ ภาวะของความไมท่ ุกข์จงึ ไมใ่ ช่สขุ และ
ไมใ่ ช่ทุกข์ จึงหมายถงึ ว่า คนท้ังหลายมกั จะหลงไปในทาง ๒ ฝง่ั เสมอ ไม่สุขก็ทุกข์ใชห่ รือไม่
พระพุทธองคจ์ งึ ทรงชตี้ รงกลางวา่ ความไมส่ ุขไมท่ ุกข์น้ันมี น่ันคือ “มชั ฌมิ า” นน่ั คือ ตรงกลาง ซ่งึ
ไม่มใี ครเปิดทางนเ้ี ลย แตศ่ าสดาหนุ่มอายุเพยี ง ๓๕ ปกี ลา้ สอน ถือวา่ เปน็ ศาสดาทีห่ นมุ่ ทส่ี ุด ถึงไม่
แปลกท่ีทา่ นเดนิ ผา่ นพราหมณผ์ ู้หน่งึ พราหมณผ์ ู้นัน้ ถามว่า ท่านนยิ มคำสอนของศาสดาใด วรรณะ
ของทา่ นผอ่ งแผ้วเหลอื เกนิ ท่านบรรลธุ รรมของศาสนาใด พระองคต์ รสั ตอบวา่ เราคือสยัมภเู รา
เป็นเอง เรารู้เอง นัน่ คือคำตอบของพระพทุ ธเจ้า “เราไม่มคี รู เราเปน็ ผู้รู้เอง” พราหมณ์นน้ั มอง
หนา้ แลว้ เดนิ จากไป พระพทุ ธเจ้าอายุ ๓๕ ปถี อื ว่ายงั หนมุ่ มากกับการเป็นศาสดาแลว้ ประกาศตัว
ว่าเป็นผู้รู้เองข้นึ มาซ่ึงท่านได้สอนวา่ สิ่งทีเ่ หนือบญุ และบาปนั้นมีอยู่ เราละเวน้ การทำบาปท้ังปวง
เพราะนน่ั คอื ส่ิงไมด่ ี ทำกุศลให้ถึงพร้อมเพราะส่งิ นัน้ จะเอือ้ ตอ่ จิตของเราท่ีจะอ่มิ เอบิ ในบญุ ทำใหม้ ี
กำลงั เพราะจติ ทด่ี ีอยกู่ บั ความดี จติ จะต่นื เบกิ บานเป็นกุศล ซงึ่ นั่นจะเป็นฐานใหเ้ ราร้วู ่า แมว้ า่ การ
เขา้ ไปยดึ ติดในความสขุ เหล่านัน้ มนั ก็ยงั เปน็ การติดอยู่ เพราะใน “อนปุ ุพพกิ ถา” พระพุทธเจา้
ทา่ นสอนชดั เจนมากว่า ทาน ศีล ความสุขท่ีเกดิ จากการใหท้ านรกั ษาศลี แตท่ ่านยงั สอนถงึ “อาทนี
วะ” โทษของความสขุ กค็ ือกฎพระไตรลกั ษณ์จะสขุ แค่ไหน ปราณแี คไ่ หน มันกม็ ดี บั มนั ก็มีความ
ไม่เทีย่ งแทแ้ นน่ อน ต่อให้เรายดึ มัน่ ถอื มนั่ หรอื จะปรารถนามันแคไ่ หนกต็ าม มนั ก็อยูใ่ ตก้ ฎพระ
ไตรลกั ษณ์ นนั่ คือ โทษของมนั เพราะฉะนน้ั จึงไมแ่ ปลกเลยว่า ถา้ ใครไดฟ้ งั “อนุปพุ พิกถา” ของ

76

พระพุทธเจา้ แลว้ ไลต่ ามลำดบั จติ จะค่อย ๆ ถกู ทำให้เบกิ บาน พระพทุ ธองค์จะไลจ่ ากการพดู ถึง
ทาน และบอกอานิสงส์ของการใหท้ าน พูดถึงการรักษาศลี และบอกถงึ อานสิ งส์แหง่ การรักษาศีล
รวมทั้งบรรยายวา่ อานิสงส์แหง่ การให้ทานรกั ษาศลี นั้น เปน็ อย่างไร จติ คนจะเบกิ บานขึน้ เรอ่ื ย ๆ
พอเบิกบานขึ้นมาก ๆเข้า พระพทุ ธองค์ก็ช้ีให้เห็นถงึ อาทีนวะ สกั พักความสขุ น้ันจะดับลง เม่ือ
ความสุขมนั ดบั ลง นน่ั แหละโทษของสขุ แมจ้ ะสขุ ประณตี ขนาดไหนกต็ าม มนั ก็อยภู่ ายใต้กฎพระ
ไตรลักษณ์ ดงั น้ัน ทา่ นจึงช้ีใหเ้ หน็ ว่าจิตทีม่ ันฟอู มิ่ เอบิ แล้วดบั ลงมันกอ็ ยู่ภายใต้กฎพระไตรลักษณ์
แลว้ จติ ก็เริม่ เห็นความไม่เที่ยงแทแ้ น่นอน พระองค์ก็จะพดู ถงึ “เนกขมั มะ” คือการออกจาก
กามคณุ การปลอ่ ยวางจากความสุข เป็นหนทางท่ปี ระณีตกว่า จิตของเรากจ็ ะลน่ื ไหลตามเหน็ ตาม
ทพี่ ระองค์ชี้ ดงั นั้นมีการกล่าววา่ ใครฟงั “อนปุ ุพพกิ ถา” จบกระบวนการครงั้ ทหี่ น่งึ อยา่ งตำ่ ทส่ี ุด
คือพระโสดาบัน (ต้องฟงั จากพระโอษฐ์ของพระพทุ ธเจา้ ) เพราะพระองค์คอื ผูช้ ำ่ ชองมากในเรื่องนี้
และถา้ ไดฟ้ ังครง้ั ที่สองติดกนั บรรลคุ วามเปน็ พระอรหันต์เลย น่ันคือคำสอนของพระพุทธเจ้าที่
เหนอื ยงิ่ กว่าและแตกตา่ งจากศาสดาอื่น ถอื เป็นคำสอนที่พลกิ เลย แผ่นดนิ สน่ั สะเทอื นเพราะเป็น
คำสอนทีไ่ มม่ ใี ครสอนเลยและไม่มีใครชี้ตรงนี้เลย เพราะฉะน้นั การถึงได้ในผพู้ น้ บุญ คอื เหตผุ ลท่ี
กล่าวมาทง้ั หมด ว่าทำไมถงึ ไดแ้ ต่ผ้พู ้นบุญ ย้อนเนอื้ เพลงขนึ้ ไปอกี มะพร้าวนาฬิเก ตน้ เดียวโนเน
ทำไมเป็นตน้ เดียว เม่ือกีพ้ ระอาจารยพ์ ูดเรอ่ื ง “สงั ขารธรรม” หมายถึง ตอ้ งสองอยา่ งขน้ึ ไป
เพราะฉะนนั้ ในคำสอนของพุทธศาสนา ส่ิงทีม่ นั ไม่ใชส่ งั ขารธรรมเราเรียกว่า “วสิ งั ขาร”
เพราะฉะน้ันท่ีใชค้ ำวา่ มตี ้นเดียวโนเนนัน้ หมายถงึ ส่ิงนั้นมันไมไ่ ดป้ รงุ แต่ง มันเหนือการปรงุ แตง่ ไม่
มกี ารปรงุ แต่งในภาวะนนั้ คือไม่ประกอบกนั ข้ึนมา แต่พน้ จากการประกอบกันข้นึ มา ดงั นั้น ต้น
เดียวโนเน คอื มนั ไมต่ อ้ งประกอบกับอะไร อยู่กลางทะเลขผ้ี ึง้ ทำไมตอ้ งเปน็ ทะเลขผี้ ึ้ง กลาง
ทะเลทรายหรือทะเลอืน่ ไม่ได้หรือ คือขีผ้ ้งึ มันแขง็ ตัวไดม้ นั ออ่ นตัวได้ มนั ละลายและมันกแ็ ข็งตวั ขนึ้
มาได้ดว้ ยเหตดุ ้วยปัจจัยบางอย่างก็ทำให้ข้ผี ง้ึ น้นั อ่อนตวั และด้วยเหตดุ ้วยปัจจยั บางอย่าง ก็ทำให้
ขผ้ี งึ้ นั้นแข็งตัวได้

ดงั นนั้ ทะเลขี้ผ้งึ จึงเป็นทะเลทไี่ ม่มคี วามเท่ยี งแทแ้ น่นอน ทา่ นต้องการบอกว่า มันอย่ตู รงนั้นแหละ
ตรงทค่ี วามเปน็ อนจิ จัง ทุกขงั อนัตตา นัน่ แหละ มันอยู่กลางพระไตรลักษณ์ อยู่กลางความไม่
เที่ยงแทแ้ น่นอน อยู่กลางความท่มี ันทนสภาพเดมิ ไมไ่ ด้ อย่กู ลางความไมม่ ตี วั ตนทีแ่ ทจ้ รงิ

77

ดังนนั้ ขบวนการการเขา้ ถงึ สภาวะธรรมจำเปน็ ตอ้ งเห็นกฎพระไตรลกั ษณ์ เห็นความเปน็ จริงท่ีไมม่ ี
อะไรหนีพ้นจากกฎพระไตรลักษณน์ ี้ได้ ความปลอ่ ยวางก็จะเกดิ ขึ้น เราต้องหาทะเลข้ผี ้ึงใหเ้ จอ
เขา้ ใจทะเลขี้ผง้ึ ใหไ้ ด้ เมอ่ื เขา้ ใจชดั เจน แลว้ เราจะรู้ว่า เราไมม่ ีสทิ ธอ์ิ ะไรเลย เมื่อนัน้ ภาวะแห่งการ
พบมนั ก็จะเกดิ ข้นึ เอง “ฝนตกไมต่ อ้ ง ฟ้ารอ้ งไมถ่ ึง” คอื ไม่มีอะไรทำอะไรได้ มันอยูใ่ นภาวะทีม่ ัน
เหนอื กว่า คนโบราณนเี่ ขาสดุ ยอด เขาเอาสภาวธรรมข้นั สดุ ยอดมาแต่งเปน็ เพลงกลอ่ มลกู ให้ลูกได้
ค้นุ เคยกับสภาวธรรม ใหค้ นุ้ เคยกบั เรือ่ งราวแหง่ ธรรม ความท่เี ราไมเ่ ขา้ ใจส่ิงที่บรรพบุรษุ ทงิ้ ไว้ให้
มนั ก็เลยทำให้เราห่างไกลออกจากสมบัติช้นิ สำคญั ทบ่ี รรพบุรุษทิ้งไวใ้ หเ้ รา ๒๐๐๐ กว่าปี คนกเ็ ลย
เข้าถึงสิ่งท่ีบรรพบุรษุ ทงิ้ ไวช้ ้ินนีน้ ้อยลงเรอ่ื ย ๆ ห่างไปเรอ่ื ย ๆ แล้วก็มองไม่เห็นคณุ ค่า เพราะฉะนัน้
พระอาจารยต์ ้องการใหม้ องเหน็ ว่า ภาวะแห่งการเขา้ ถึงและเขา้ ใจธรรมะ สภาวธรรมมันเป็นสงิ่ ท่ี
สามารถถงึ ได้ในปจั จบุ นั ขณะน้ีแหละ ผลแห่งการปฏิบัตินน้ั ใหผ้ ลเราเร่อื ยมาตลอด ให้เรามัน่ ใจว่า
เราเดินถกู ทาง ถา้ เราสามารถทำจติ ให้เป็นกลางกับการมองเหน็ ปลอ่ ยให้สภาวธรรมนัน้ แสดงตัว
โดยอิสระของเขา สติท่ีตั้งมั่น ความรสู้ ึกตวั ท่ีตน่ื รู้น่นั เอง จะเหน็ ความจรงิ ของธรรมชาติ เราก็เฝา้
มองทะเลขผ้ี ึ้งท่ีมนั จะแสดงตัวของมัน มนั อาจจะซกั ๑๐ ปีกช็ า่ งมนั ๒๐ ปีก็ได้ ไม่แนด่ ูดี ๆ มันอาจ
จะแป๊บเดยี ว แล้วก็อม้ื มนั อยู่ตรงนี้ แต่ก็ไม่แนอ่ ีก ดไู ปดูมาจนหมดชาตินีม้ นั ยงั ไม่ออก ต้องไปนัง่ ดู
ชาติหนา้ ต่อ เพราะถา้ มนั สร้างเหตุปจั จยั มนั กต็ อ้ งกลับมาน่งั ใหมอ่ กี กย็ งั ดีที่ไดก้ ลับมานงั่ อกี รอบ
เปน็ เพราะเหตปุ ัจจยั ทีม่ นั ทำให้สวา่ งโพลงนั้น มันยงั ไม่ถึงพรอ้ มก็ตอ้ งมาดกู ันอีก สำคัญที่วา่ จะเริม่
ดูไดห้ รอื ยงั ถ้าตราบใดทย่ี ังไมม่ าดูก็ยิง่ แล้วใหญ่เลย ไม่รู้จะได้กลับมานัง่ ดูอกี หรอื เปล่า แต่ถา้ ได้เร่มิ
แลว้ แต่ถา้ มนั ดไู ม่เสรจ็ มนั กจ็ ะกลับมานัง่ ดใู หม่ได้ แตถ่ า้ ไมเ่ ริ่มก็ไมร่ ้วู า่ จะได้กลบั มานงั่ ดอู ีกหรอื
เปล่า เพราะฉะนนั้ เรามาน่ังดูทะเลขผี้ ึ้งกนั ตอ่ ไป ไมแ่ น่อาจจะเจอมะพร้าวนาฬเิ กไมว่ ันใดกว็ นั หนงึ่

78

๑๕. ย่อมร้ไู ด้ดว้ ยตวั เอง

เมอื่ ก้ไี ด้นัง่ สนทนากันในกลมุ่ เลก็ ๆ ก็คดิ วา่ น่าจะใหก้ ลมุ่ ใหญฟ่ ังบา้ ง คอื ธรรมะนี้ บางทีแค่นิดเดียว
ก็อาจทำใหค้ ลกิ ได้ เพราะบางทแี ค่บงั ๆ อยู่ สะกดิ แคน่ ดิ เดยี วก็เกิดความเขา้ ใจด้วยตัวของตัวเอง
การสอนธรรมะ สิง่ หนึง่ ท่ีพระอาจารย์จำมาตลอดและระมดั ระวังอย่างมากกค็ อื มีครง้ั หนึง่ มี
พระรปู หน่งึ ทา่ นเทศน์ ท่านพูดถงึ สภาวธรรมเปน็ อย่างน้นั อย่างน้ี ปฏบิ ัตอิ ยา่ งนแ้ี ลว้ เปน็ อยา่ งนั้น
ทา่ นเลา่ ให้ฟงั เลย หลวงพอ่ คำเขียนทา่ นว่า ไม่ร้จู ะพูดทำไม การพดู นำอย่างนัน้ ซงึ่ ไมใ่ ชส่ ่งิ ท่ีดี พระ
อาจารยจ์ ำขึน้ ใจเลย การพดู ว่าเม่ือปฎบิ ัตธิ รรมแล้วจะเกิดอาการอย่างนั้นอย่างน้ี เปน็ การฝังความ
ทรงจำให้กับลูกศิษย์ ปัญหาคือ เม่ือลกู ศษิ ยท์ ำไมไ่ ดอ้ ย่างน้นั และพอไม่ได้กจ็ ะคิดให้มันเปน็ อย่าง
น้นั และมนั จะไมพ่ บความจริง จิตมันจะแค่น้อมใจเชอ่ื อย่างบางคำสอนของบางสำนักท่ีจะบอกว่า
พอปฏิบตั ิถึงขนั้ นจ้ี ะเห็นนิมติ เป็นอยา่ งนี้ พออีกขั้นจะเห็นนมิ ติ เปน็ อยา่ งน้ัน สนุกไต่ขึน้ กนั นา่ ดู ซึง่
เปน็ การทำรา้ ยลูกศษิ ย์ จรงิ ๆ แลว้ นา่ บอกแค่ให้ลองทำอยา่ งนีด้ ูนะวา่ ผลจะออกมาเปน็ อยา่ งไร
ปลอ่ ยใหล้ ูกศิษยล์ องไปทำ และใหล้ ูกศิษย์สมั ผัสเองจริง ๆ แค่นำทางเพ่ือให้เขาเปน็ ไม่ใชใ่ ห้เขาจำ
และผู้ปฏิบัตกิ ต็ ้องหมนั่ คน้ หาคำตอบวา่ ครูบาอาจารย์วางอบุ ายให้ ก็เพ่ือใหเ้ ราคน้ หาคำตอบเอง
ซงึ่ ถ้าเราไม่เข้าใจกห็ าคำตอบไม่ได้

ดังนัน้ ในขบวนการการเจริญสติ เม่อื เราตง้ั อารมณก์ รรมฐานด้วยการรสู้ กึ ตวั ไป สำคญั มาก ๆ คอื
เราต้องเขา้ ไปสมั ผัสร้กู บั มันจรงิ ๆ เหน็ มนั จริง ๆ เห็นการเกดิ ขนึ้ ของความรสู้ กึ นึกคิดและอารมณ์
ตา่ ง ๆ เมื่อเราสังเกตเห็นวา่ มันเกดิ อะไรขนึ้ เราตอ้ งเปน็ ผไู้ ด้รับคำตอบด้วยตัวเราเอง เพราะสง่ิ น้นั
ถา้ เขา้ ใจไดช้ ดั เจนกับมัน และสัมผสั กับมันจรงิ ๆ มนั จะกลายเป็นคมู่ ือในการทจ่ี ะใช้ทะลุทะลวงทกุ
อยา่ ง เปน็ กญุ แจท่จี ะไขทกุ กรณี เพราะไมม่ อี ะไรหนีพ้นตรงน้ันไปได้ ไมว่ า่ จะมอี ะไรเกดิ ขึน้ เปน็ ร้อย
เป็นพนั ก็ไมม่ อี ะไรหนีพน้ ลกั ษณะนนั้ ไปได้ พระพทุ ธเจา้ ทา่ นไดต้ รัสว่า นัน่ คอื “พระไตรลักษณ์” ท่ี
สมั ผสั ดว้ ยตัวเราเอง และส่งิ ท่ที ำให้เหน็ ได้ง่ายทส่ี ดุ กค็ ือการเจรญิ สติ เฝา้ ดูการเกดิ ขึ้นของความ
รสู้ ึก ความนึกคดิ อารมณต์ า่ ง ๆ เพราะความรู้สึกนึกคิด ทีเ่ กดิ ข้นึ ในใจน้นั มนั เกิดดับเร็ว เดี๋ยวมนั
เกิด เดีย๋ วมันกด็ ับ เพราะฉะน้ัน การที่เราเขา้ ไปเหน็ มนั จริง ๆ ยงิ่ เหน็ มากก็จะทำใหเ้ รายนื ยัน
ชัดเจน และเมอ่ื ยืนยันชดั เจน มนั กจ็ ะกลายเป็นกญุ แจใหก้ ับเราในการทจ่ี ะไขทุกอย่าง ไม่ติดขัดไม่

79

คา้ งคาไมต่ ดิ ข้อง จะเกดิ สภาวธรรมใดข้นึ มา มันกไ็ ขเลย เพราะมนั ไมม่ ีอะไรหนพี น้ กฎพระ
ไตรลกั ษณ์นไี้ ด้ เจ้าชายสิทธัตถะทา่ นทรงพบอนั น้กี อ่ น กอ่ นทจี่ ะเข้าสกู่ ระบวนการตรัสรู้

ดงั นั้น การเจริญสตเิ พ่ือให้ได้กุญแจตวั น้ี มันต้องมคี วามต่อเนื่อง อยา่ งเมื่อเช้าที่เราพูดถงึ ทะเลข้ผี ึ้ง
ทำไมตอ้ งไปเจอทะเลข้ผี ึ้งก่อน ก่อนทจี่ ะไดพ้ บกบั ตน้ มะพรา้ ว มนั ต้องให้เข้าใจในความเป็นทะเล
ขี้ผ้ึง มนั ถงึ จะเขา้ ถงึ ต้นมะพร้าว เพราะฉะน้ัน เราจึงไมบ่ ีบบงั คบั ไมก่ ดไมบ่ ังคบั จติ เราแคป่ ระคอง
มาไวใ้ หเ้ ปน็ ทเี่ ปน็ ทางบา้ งแต่ไม่ถงึ กับบีบค้นั เขาไว้ แตเ่ ราจะใช้สติเปน็ ตวั เฝา้ ดเู ขา การท่ีเรามเี จตนา
กบั การเคลอ่ื นไหว ก็เพื่อมาดึงจติ มาประคบั ประคองไว้ แต่ก็คอื การประคบั ประคองไวแ้ บบสบาย
ๆ บบี ให้เขาเปน็ ลกู นกนอ้ ยในกำมอื คือบบี แรงลูกนกก็ตาย คลายมากมันกห็ ล่น เอามนั พออยใู่ หน้ ก
มนั รอ้ งไดบ้ ้าง ดน้ิ ได้บ้าง เราถงึ จะรจู้ กั มัน ประคองประมาณน้นั แลว้ กเ็ ฝ้าดูส่ิงทเี่ กดิ ขึน้ อยา่ งตอ่
เนื่องโดยมีความรู้สกึ ตวั เป็นฐาน แลว้ จะเหน็ มันเอง ทำไปเรือ่ ย ๆ แล้วมนั จะสะสม แล้วมนั จะเหน็
ความจริงไปเรอ่ื ย ๆ เม่ือกที้ ีค่ ยุ กบั ขา้ งนอก คอื มคี ร้งั หนึง่ พระอาจารยม์ ่ันใจสิง่ ทตี่ นเองเข้าใจ แต่
ตอนนนั้ อาจจะยังไม่เขา้ ถงึ ใจก็ได้ พระอาจารยเ์ ดนิ ไปหาหลวงพ่อแลว้ บอกหลวงพ่อวา่ หลวงพ่อ
ครบั “ทุกอยา่ งมันมี มีเพราะสมมต”ิ หลวงพ่อมองหนา้ พระอาจารย์ แล้วหลวงพอ่ พดู ว่า “ทกุ
อย่างมนั มี มเี พอ่ื ว่าง” คำพดู มันเรียงมาเหมอื นกนั แต่หกั กนั ตอนท้าย กล็ องไปคิดดแู ลว้ กนั คิดไม่
ออกก็ไม่ตอ้ งคิด แล้วทำไปทำมาก็จะเข้าใจเองวา่ มันต่างกนั อย่างไร ในสองประโยคนนั้ เอาละ่ ทงิ้
ไว้ตรงนี้ เจรญิ สติกนั ต่อเถอะ
P18

80

81

๑๖. สติทร่ี ้ทู นั

บ่ายนก้ี เ็ ป็นบ่ายท่ีมีใครหลายคนเบกิ บาน เพราะใกล้จะได้กลบั บา้ นแล้ว กใ็ ห้เราเหน็ มนั ก็แลว้ กัน
เคยไดย้ นิ คำพูดของหลวงปดู่ ูลยไ์ หม ทีท่ ่านบอกว่า “จิตท่ีส่งออกนอกเป็นสมุทยั ผลที่จติ สง่ ออก
นอกคือทุกข์ จิตเห็นจติ เป็นมรรค ผลทจ่ี ิตเหน็ จติ เป็นนโิ รธ” จิตท่สี ่งออกนอกเปน็ สมุทัยคอื
สาเหตุของการเกดิ ทุกข์ คำวา่ จติ สง่ ออกนอก หมายถึงวา่ จิตทห่ี ลงออกไป หลงจากความรสู้ กึ ตัว
หลงจากอารมณ์กรรมฐานทเี่ ราตั้งไว้ หลงคิดออกไป หลงปรุงแต่ง ภาวะแหง่ การหลงคิด ลักคิด
หลงไปปรุงแตง่ ส่งผลให้เกิดข้ึนคอื ความทกุ ข์ คอื ทุกข์อริยสัจ ทกุ ขอ์ ุปาทาน นัน่ แหละทเ่ี กิดขนึ้
ภายในจติ ใจของเรา เพราะฉะนั้น จากการท่ีเราได้ต้ังใจกบั การเรยี นรู้ เราจะมองเหน็ ว่า เม่ือเราตัง้
อารมณก์ รรมฐานไว้อย่างตอ่ เน่อื ง มีการรสู้ กึ ตวั ดว้ ยการเจริญสติ เราจะเห็นชัดเลยว่า การทีจ่ ติ มัน
ออกไปมนั มีอยู่ มนั จะวง่ิ ไปขา้ งนอก หรือ ไหลเข้าไปสคู่ วามสงบก็มี ภาวะท่ีฟ้งุ ไปนั่นแหละคือ สง่
ออกนอก น่ันคือสมุทัย พอมันออกไปแลว้ กป็ รุงแตง่ ในระดับซ้อนกัน มีภาวะเขา้ ไปยึด มคี วามยึด
ม่ันสำคญั หมายในการปรุงแต่งนั้นเขา้ ไปอีก คือมนั ออกไปจากความเป็นปรกติ ภาวะทกุ ขเ์ หลา่ นัน้
เราไดส้ ัมผสั หรอื ไม่ “จติ เห็นจิตทา่ นว่าเป็นมรรค” คอื สติที่ไปรูท้ ัน เมื่อสติดึงความร้สู กึ ตัว เมื่อ
ความรู้สึกตวั มนั เห็นภาวะแหง่ การปรุงแต่งนน้ั นน่ั แหละคอื มรรค ขบวนการทีม่ สี ติรเู้ ทา่ ทนั เอา
สตไิ ปรู้ทนั การปรุงแต่งเหล่านน้ั พอรทู้ นั มนั กด็ ับ นน่ั แหละนิโรธ ทกุ ขท์ ม่ี นั ดับลงนน้ั แหละ แต่การ
ดบั ลงลักษณะน้ี มนั ก็เป็นภาวะแห่งการดบั ช่วั ครง้ั ชวั่ คราว การดบั เลก็ ๆ ทพ่ี ระอาจารย์บอก แม้
มนั จะดบั เล็ก ๆ แต่อานิสงสท์ ่ีมนั เหน็ นะสมิ นั ไม่ธรรมดา อานิสงสท์ ่มี นั มองเห็นการดบั ลงของทุกข์
น้ี ขณะทีม่ ันแจ้งข้นึ สว่างขนึ้ มนั จะตื่นเลย จะมีความสุขดว้ ย และเราจะรวู้ ่ามันเป็นอย่างน้ี คอื
องคค์ วามรทู้ ่มี ันสมั ผสั ได้ ตรงนน้ั ตา่ งหากท่เี ป็นอานิสงส์ทีแ่ ท้จริง เพราะมันจะจดจำสภาวะ จดจำ
ความรสู้ กึ ของทกุ ขด์ บั แล้วความไมท่ กุ ข์ การออกจากทกุ ขไ์ ด้ใหม้ นั แจ้งขนึ้ มา แมเ้ พยี งเล็กนอ้ ย แต่
น่นั มันกเ็ ปน็ รอ่ งรอยทเ่ี ขาได้สมั ผัสและได้ยนื ยนั เขาจะใชก้ ระบวนการน้แี หละเป็นทางตอ่ ไป ทจี่ ะ
สามารถกำหนดรูท้ ่ลี ะเอยี ดขึ้น หมายถึง กำหนดรกู้ ารปรุงแตง่ ตา่ ง ๆ ทลี่ ะเอยี ดขึ้น เพ่ือที่จะละ
หรือดบั ทกุ ข์ที่เกดิ ข้ึนตามลำดับ ซึง่ มันกใ็ ช้วธิ กี ารเดียวกนั ถงึ บอกว่าถ้ามันเหน็ สกั คร้ังมนั จะได้
เครอ่ื งมอื ซ่ึงเปน็ เครอื่ งมือของพระพทุ ธเจ้าทีท่ ิ้งไวใ้ ห้เราใช้แก้ปญั หาทล่ี ะเอยี ดต่อไปได้เร่อื ย ๆ มนั
มีภาวะเชงิ ซ้อนทล่ี กึ ลงไป บางทีเราเห็นว่ามันไม่ใชท่ กุ ข์ แตพ่ อมองอีกทมี นั ใช่ แล้วเคร่ืองมือนีจ้ ะ
ช่วยเราได้ เหน็ ตน้ ทางการดับทกุ ข์ของพระพุทธเจ้า ซึง่ มนั มขี ั้นตอนของมนั จริง ๆ เพราะมสี ่งิ นี้ ส่ิง

82

นจ้ี งึ เกิดขนึ้ มา ถา้ ดับเหตสุ ่งิ น้ี สง่ิ นจ้ี ึงดบั มนั กเ็ หน็ อยู่ เมอื่ จิตเห็นไปเรือ่ ย ๆ มนั กจ็ ะเป็นเคร่ืองมือที่
จะใช้แก้ปญั หาใหก้ ับตวั เองได้ แก้ทกุ ข์ของตนเองได้ และเรากพ็ อจะสัมผสั มันได้ ซง่ึ ตอนน้ีปฏบิ ตั มิ า
๔ - ๕ วันแล้ว ทกุ คนไดเ้ ห็นแลว้ ด้วย แตม่ นั ยงั หยาบ ๆ ไมค่ มเฉียบ แต่มันกม็ ไี ว้แกป้ ญั หาที่มนั
หยาบ ๆ คงไมม่ ีใครเอาขวานไปผ่าตัด จะผ่าตดั ตากจ็ ะต้องเอาแสงเลเซอร์มาผา่ ตัด ซง่ึ เคร่ืองมอื นน้ั
มนั ตอ้ งพัฒนาไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะมคี วามละเอียดอ่อน แตท่ ัง้ หมดก็เปน็ แนวทางเดียวกัน เพราะ
นนั่ คือสง่ิ ที่พระพทุ ธเจ้าสอนมาแล้ว ตรัสมาแล้ว บา่ ยนี้ก็มาพัฒนาเคร่ืองมือกัน ปฏิบตั ิกันตาม
อธั ยาศยั

83

๑๗. กลบั มา…รู้สึกตัว

พวกเราเคยฟงั เรอื่ งการปรินพิ พานของสมเดจ็ พระผู้มพี ระภาคเจ้าไหม ในวันที่พระองค์เสดจ็ ดับขัน
ธปรินพิ พาน พระองค์เสด็จกลบั จากบ้านของนายจุนทะ แลว้ เดินทางสู่อุทยานของกษัตริย์มัลละ
ทงั้ หลายและในระหวา่ งนนั้ ก่อนถงึ พระองคท์ รงกระหายน้ำ แลว้ ให้พระอานนทไ์ ปตกั นำ้ พระ
อานนท์ไปตกั ตักแลว้ ก็ไมไ่ ด้ ครงั้ ทหี่ น่งึ นำ้ กข็ ุ่น กลบั มาพระพทุ ธเจา้ กใ็ ห้ไปใหม่ พอไปครง้ั ท่สี องก็
ยังไมไ่ ดอ้ ีก พอไปครง้ั ท่ีสามถงึ ได้ พระอานนทก์ ็สงสัยมากวา่ เกิดอะไรขน้ึ เพราะโดยปรกติทวั่ ไป สงิ่
ใดกต็ ามที่สมเด็จพระผู้มพี ระภาคเจา้ ต้องการก็จะมีรองรบั ไวเ้ ลย จะไม่มีอุปสรรคเช่นนี้ กเ็ ลยถาม
ว่ามนั เกดิ อะไรขนึ้ พระองค์ก็บอกวา่ มนั เปน็ เศษกรรมท่ีอดีตกาลนานมาแล้ว ท่านเคยเปน็ เดก็ เลีย้ ง
ววั ท่านเลยี้ งววั แลว้ วัวหิวน้ำ บังเอญิ ว่ากองคาราวานเกวยี นเพิง่ ผา่ นไป น้ำในลำธารมันขนุ่ ดว้ ย
ความหวังดเี ลยดึงววั ไวไ้ ม่ใหก้ นิ นำ้ ครั้งที่ ๑ ดงึ ไว้ น้ำกย็ ังข่นุ พอววั ยืน่ หน้าไปอีก นำ้ ก็ขนุ่ อยู่กด็ งึ ไว้
๒ ครัง้ จนนำ้ ใส แลว้ ปลอ่ ยให้ววั มนั กนิ ด้วยเศษของกรรมนั้น กเ็ ลยมาส่งผล

มีอยวู่ นั หนึ่งมีพระรูปหนึง่ พดู เรอ่ื งกรรมบอกต้องตายถึงจะพน้ กรรมถงึ จะพน้ จากการรบั ผลของ
กรรมประมาณนี้ พระอาจารยจ์ งึ บอกวา่ ไม่ใช่หรอก มันไม่ต้องถงึ ตายหรอก แตเ่ ม่ือใดก็ตามเมือ่ คณุ
บรรลุถึงความเป็นพระอรหันต์กรรมนัน้ ยังแสดงตวั แต่ไม่มผี รู้ ับผลของกรรม คอื กรรมยังคงดำเนนิ
ไป แต่ผู้รบั ผลมนั ไมม่ เี หมอื นมะมว่ งที่คณุ ปลูก คณุ ปลูกมนั แลว้ มันออกดอกออกผล แต่คณุ ไมก่ นิ
มัน มันกย็ งั ออกดอกออกผลอยู่

ทีนีพ้ ระองค์ก็เสด็จไปถึงอุทยาน แลว้ ใหพ้ ระอานนทป์ ูผ้าลงระหวา่ งต้นรงั ทัง้ คู่ แล้วพระองคก์ ็ลง
นอน หลงั จากนั้นกเ็ รียกประชมุ พระภกิ ษุทอ่ี ยู่บริเวณน้นั ทง้ั หมดใหร้ บี มาเพราะพระองคจ์ ะ
ปรนิ พิ พานในคำ่ คืนน้ี พอทุกคนมากันพร้อมแลว้ พระองค์แสดงโอวาทครัง้ สุดท้าย ปจั ฉิมโอวาท
ความว่า ให้ภิกษุนนั้ อยใู่ นความไมป่ ระมาท “วะยะธัมมาสังขารา อัปมาเทนะสมั ปาเทถะ”
“สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เธอทัง้ หลายจงทำความไมป่ ระมาทให้ถึงพร้อมเถดิ ”
พอพระองคต์ รสั สอนเสร็จแล้ว พระองคก์ ็ไมส่ อนอะไรอีกเลย ก็ปิดพระโอษฐ์ จากนั้นกล่าวกนั ว่า
พระอนุรุทธไดด้ วู ่าสมเดจ็ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ดำเนนิ จติ อยา่ งไรในขณะนน้ั กบ็ อกวา่ พระองค์นั้น
ทรงเข้าฌานสมาบตั ิ จากปฐมฌานไปส่ทู ตุ ิยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ฌานทหี่ น่งึ สองสามสถี่ ึง

84

ฌานทแี่ ปด คอื รปู ฌานถงึ อรปู ฌาน แลว้ พระองคก์ ็ถอยลงมา จากแปด มาเจ็ด มาหก มาห้า มาสี่
มาสาม มาสอง มาหนึ่ง ขึ้นไปแลว้ ถอยลงมา จากน้นั ก็ข้นึ ไปอีกครง้ั หนง่ึ ถึงฌานทส่ี ่ี ออกจากสีไ่ ม่
ยอมเข้าห้า ดบั ลงตรงน้ัน ดับลงตรงระหวา่ งฌานทสี่ ก่ี บั ฌานท่หี า้ น่ันหมายถึง ท่านต้องการบอกให้
เรารู้ว่า พระพทุ ธองค์ทรงดับลงตรงกลาง ตรงท่ีมันไมม่ ีรูป ไมม่ ีนาม รปู ฌานกค็ ือรปู อรปู ฌานคอื
นาม และทีเ่ กดิ ดบั เกดิ ดับ คอื รปู กับนาม เมือ่ ไมส่ ำคญั หมายในรปู กไ็ ม่ต้องเกดิ กบั รูป ดบั กบั รปู
เมอื่ ไม่สำคัญหมายในนามก็ไม่ต้องเกดิ กับนามดับกบั นามอกี ต่อไป เมือ่ พระองค์ ไม่ไดส้ ำคัญหมาย
ทง้ั สองสว่ น ทงั้ รูปและนาม มันกไ็ มม่ ีการเกิดดับอีกต่อไป นนั่ คอื ส่ิงท่ที า่ นต้องการบอกให้เรารวู้ า่
ท่านสำคัญหมายส่ิงใดก็ตาม ทา่ นกจ็ ะเปน็ กบั สงิ่ นน้ั ถ้าเราไมส่ ำคญั หมายกับสิ่งใด เราก็ไม่เป็นกับ
ส่งิ น้ัน คุณใหค้ วามสำคัญหมายกับสิ่งใดกต็ าม คุณกเ็ ป็นกับสิ่งนั้น เม่อื คุณทำสมาธิ คณุ สำคัญหมาย
กับลมละเอยี ดคณุ กเ็ ป็นกบั ลม เพราะคุณสำคัญหมายกบั ลมน้นั แตถ่ า้ คณุ ใชค้ วามรสู้ กึ เขา้ มาเปน็
ฐาน ความรสู้ กึ ที่ว่าไม่ใชค่ วามรสู้ กึ ตวั นะ อยา่ งหมายถงึ รปู ฌานน้ี มีการใช้ลมเป็นฐาน หน่ึง สอง
สาม สี่ เลยส่ีไป ลมหาย ลมดบั มันจึงไม่สนรปู รปู จงึ ตกไป พอเขา้ สูฌ่ านทหี่ า้ กใ็ ชค้ วามรู้สกึ ซึ่งเคย
สังเกตไหมถ้าเราพิจารณาดูให้ดี มนั มีอยบู่ างอย่าง ถา้ เราเคยเหน็ พอเราเกดิ อะไรขึน้ เราจะมีภาวะรู้
และถ้าลองพิจารณาดูจะเห็นรมู้ นั อย่ใู นรอู้ ีกทีหน่งึ มันมรี ู้ซอ้ นรู้ใชไ่ หม พอดูอกี ทีกม็ ีรู้ซ้อนรู้เข้าไป
อีกเร่อื ย ๆ แลว้ มนั จะจบเปน็ ไหม เรียกวา่ รไู้ มม่ ีส้ินสุด เพราะฉะน้นั กระบวนการของเราบางทีกต็ ก
เขา้ ไปสู่ความร้สู ึกทม่ี ันไม่ใช้รูป มันใช้นามธรรมมาเป็นฐานเพราะฉะน้ันถ้าเราสำคญั ในนามเรากเ็ กิด
ดบั กบั นาม ถา้ เราสำคัญในรูปเราก็เกดิ ดับกับรูป พระพทุ ธองค์ทรงทำให้เราเห็นวา่ ถ้าจะดับไม่
เหลอื มนั ตอ้ งไม่สำคัญม่ันหมายทงั้ รปู และนาม ตรงกลางทีไ่ ม่สำคัญหมายในรูปและนาม
เพราะฉะนน้ั จะเห็นวา่ พระองคด์ ับสนทิ ไมเ่ หลือ คอื ปรนิ พิ พาน ปริ แปลวา่ โดยรอบ นพิ พาน ดับ
เยน็ คอื ดบั เย็นโดยรอบไม่เหลอื เลย คอื ตรงกลางระหว่าง รูปฌานกบั อรปู ฌาน ตรงนเ้ี ปน็ ข้อให้เรา
ไดส้ งั เกต แมว้ ่าจะยากสำหรับเรา แต่พระพทุ ธองค์ทรงตรสั วา่ ด้วยกำลังแหง่ บุรุษ ถ้าเรามคี วาม
เพยี ร ความบากบ่ันทถ่ี กู ต้อง บางทีเพยี รบากบั่นแต่คนละทางกไ็ ม่ใช่ สำคญั ว่าอะไรเปน็ ตัวช้วี า่ ถูก
ตอ้ ง ประการแรกคอื คุณต้องการ “พน้ ทุกข”์ ถา้ การปฏบิ ตั ิของคุณ ทำใหค้ ุณพ้นทกุ ข์ คอื ถูก
ทาง แตถ่ ้าคุณปฏบิ ัติ เพ่อื ใหไ้ ดอ้ ยา่ งน้นั อย่างนี้ เปน็ อย่างนัน้ เป็นอย่างนี้ น่นั คอื ผิด คือ
ต้งั เปา้ หมายผดิ ความเหน็ ก็เบ่ยี งเบน เพราะความเห็นของพระพทุ ธเจ้า คอื การพ้นทุกข์ มองเหน็
ทกุ ข์ แลว้ ออกจากทกุ ข์ แตท่ ีเ่ ราเคยได้ยนิ วา่ ปฏิบัตแิ ลว้ เพ้ียนเปลีย่ นไป น่ันก็แปลว่า เขา
ตั้งเปา้ หมายผิดตั้งแต่แรกเลยลมื มองเรือ่ งทุกข์และการดับทุกข์ กลบั มองเรื่องอื่น จะไปเอานัน้ เอาน่ี

85

ก็เลยหลงทาง เพราะตั้งโปรแกรมจิตไว้ผดิ เพราะเจ้าชายสิทธัตถะทา่ นทกุ ขท์ างใจ แลว้ ทา่ นกม็ อง
หาหนทางที่จะดับทุกข์นั้น ในระยะเวลา ๖ ปี แหง่ การแสวงหา ก็หาตรงนี้ คือ หาทางออกจาก
ทกุ ขท์ างใจ และอย่างทส่ี อง เมื่อคณุ ตง้ั ไวแ้ นว่ แน่ว่าจะออกจากทุกข์ คณุ พบแนวทางท่ีถูกตรง
ต่อคุณแล้วหรือยัง แลว้ ตรงตอ่ การที่จะเขา้ ไปพน้ ทกุ ขจ์ รงิ ๆ ไหม ซึง่ อนั นจ้ี ะมาคกู่ ับขอ้ สาม คือ
มีกัลยาณมิตร และครูบาอาจารยท์ ท่ี ่านเขา้ ใจ ในเส้นทางน้ัน ชัดเจนไหม และขอ้ สดุ ทา้ ยคอื ทำ
จริงแค่ไหน มคี วามเพยี รขนาดไหน ถ้าสขี่ ้อนีค้ รบบริบูรณ์ โอกาสท่ีจะถึงจุดหมายกม็ ีมาก แตท่ ่ี
สำคัญสดุ คือ ขอ้ หนงึ่ และข้อสี่ นแ่ี หละเป็นตัวเริม่ ต้น คือตัง้ ตน้ ถกู แล้ว มีความเพียรแลว้ ทางก็
จะมาเอง

พระอาจารยจ์ ะยอ้ นกลบั มาหน่อยหนึ่ง ว่าในความเพยี ร ทีเ่ รามุ่งมัน่ เพ่ือการพน้ ทุกข์ก็ต้องมีการ
ทำความเหน็ ใหต้ รงในลักษณะท่วี า่ ถ้ามีคนท่ีพยายามแนะนำหรอื เราศึกษาใหเ้ ขา้ ใจว่าจรงิ ๆ แล้วน่ี
ธรรมะของพระพทุ ธเจ้าสอนเรือ่ งอะไรกนั แน่ มันกเ็ ปน็ แนวทางให้เราได้ แม้ตอนน้ียงั ไมเ่ ขา้ ใจ ก็ฟงั
ไว้ก่อนแล้วคอยสังเกตวา่ มนั เปน็ เชน่ นนั้ จรงิ ไหม คือเม่ือเรายึดม่ันสำคัญหมายกับสิง่ ใดเราก็เป็น
อย่างนน้ั แหละ เชอื่ ไหม

มโี ยมคนหนึง่ จะต้องเขา้ หอ้ งผ่าตัด แกกลวั มากกับการผ่าตัด แกวติ กกังวลมาก พอแกกงั วล ความ
กงั วลกไ็ ปกับแกในหอ้ งผา่ ตดั ในขณะที่ถกู วางยาสลบ แกก็ยงั กงั วลอยู่ โดยที่แกก็สลบไปโดยไมร่ ้วู า่
สลบ พอแกสลบเหมือนทุกอย่างมันจบ สำคัญคอื แกฟน้ื ข้ึนมา ส่งิ แรกที่แกเอย่ ปากขึ้นมาคอื เขาจะ
เริม่ ผ่าตดั หรือยัง เข้าใจไหม พิจารณาดเู อา แกวิตกกงั วลเรอื่ งการผ่าตดั จนแกสลบไป คือดบั ไปตรง
นน้ั พอแกฟ้นื ขน้ึ มา แกกย็ ังวติ กกงั วล จนไมร่ ู้ว่าผา่ ตัดไปแลว้ คอื มนั ยึดม่นั ในสง่ิ ไหนมันกเ็ กดิ ในสง่ิ
นน้ั เพราะฉะนัน้ ถ้ายดึ ในสขุ ก็เกิดดบั ในสุข ถ้ายึดในทุกข์ก็เกดิ ดบั ในทุกข์ เข้าใจนะ ตอ่ ไปการ
เจรญิ สติเฝ้าดูจติ ใจของเรากจ็ ะเหน็ ชดั ขน้ึ สำคญั ทสี่ ดุ คอื เห็นตอนมันเข้าไปยดึ เพราะมนั ยดึ เม่ือไห
ร่ทุกข์เม่ือนนั้ เราลองซอ้ มได้ตอนนอนจะหลับ ลองเจรญิ สติในขณะทีจ่ ะหลับดู ดูวา่ เกิดอะไรข้ึนใน
ขณะนน้ั ให้เห็นเอง เพราะถ้าฟังพระอาจารย์ เดย๋ี วกน็ ้อมเขา้ ไป คดิ ว่าใชเ่ ลย

ดังน้ัน อย่างที่พระอาจารยเ์ ลา่ ใหฟ้ งั จะเห็นว่า ในพระสูตรน้นั มีอะไรใหเ้ ราถอดรหัส เพื่อเป็น
หนทางอยูใ่ นนน้ั เยอะมาก แตค่ นกลบั มองพระสูตรเปน็ แค่เรือ่ งที่ไวท้ อ่ งจำ มาเล่าส่กู ันฟงั เคย

86

สงั เกตไหมเม่อื จบพระสตู ร เขาจะบอกวา่ เมอ่ื ชนเหลา่ น้นั ได้ฟังภาษติ แหง่ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ กม็ ีค
วามเบิกบานในธรรมเหล่านน้ั กบ็ รรลุธรรมกัน ข้นั ต่ำคอื พระโสดาบนั ขน้ั สงู ก็คือ พระอรหนั ต์ นน่ั
หมายความวา่ ในธรรมนนั้ มีอะไรใช่ไหม ไมใ่ ช่แคจ่ ำธรรมดา พระพุทธเจ้าทรงตรสั เองว่า การบรรลุ
ธรรมนนั้ มีหลายบริบท บรรลธุ รรมในขณะทฟ่ี ังธรรม บรรลธุ รรมในขณะท่ีพจิ ารณาเน้ือความธรรม
บรรลุในขณะสาธยายธรรม บรรลุขณะปฏิบตั ธิ รรม ลองอ่านดู

ดงั น้นั พระอาจารยอ์ ยากฝากพวกเราไวก้ ็คอื ลองอ่านดใู นบทการบรรลธุ รรมแห่งพระอรหนั ต์ใน
พระสตู รต่าง ๆ มนั มีกระบวนการที่ซ่อนอยู่ในนนั้ ถ้าเราลองพิจารณาดูใหด้ ี ตวั พระสตู รต้องตคี วาม
ให้เข้าใจ แตพ่ ระอภิธรรมไมต่ ้องตคี วาม พระอภธิ รรมคอื สภาวธรรม ตคี วามพระสตู รให้เข้าใจแลว้
จะเข้าใจ พระอภธิ รรมเอง เพราะถ้าไปตคี วามอภธิ รรมก็เปน็ แค่ความคิดของเราท่ไี ปตคี วามสภาว
ธรรม ทง้ั ๆ ทมี่ ันมีอยู่แลว้ ลองพจิ ารณาดูอย่าเพิ่งเช่อื สภาวธรรมเปน็ ส่ิงทเ่ี ราตอ้ งเห็นต้องสัมผัส
มนั ไม่ต้องตคี วาม มนั เปน็ ของมนั อยา่ งนั้น แคเ่ รามีสติเข้าไปร้เู ทา่ ทันสภาวธรรมในขณะนน้ั ไป
ระลึกร้ไู ด้ทนั ขนาดไหน และมองเหน็ การเกิดดับของมนั แล้วเรามีสตอิ ยา่ งน้ี เพยี รทำไปเรอื่ ย ๆ
แล้วก็ลองดวู ่ามันจะเกดิ อะไรข้ึน มนั จะเป็นยงั ไง เรากจ็ งดมู นั ไป เราจะแคร่ ้กู บั มนั แต่จะไม่เป็นกบั
มนั เปน็ ผดู้ เู ฉย ๆ กายมันเป็นยงั ไงก็รบั รู้ไป จติ เป็นยังไงกร็ ับรไู้ ป แล้วเราก็ฝกึ ท่ีจะไม่ไปเป็นกับมัน
ฝากเอาไว้

และสุดทา้ ยเม่ือคร้งั ที่พระอาจารย์ปฏิบัติอยกู่ ับหลวงพ่อ มอี ันโนน้ อนั น้ี มันเกดิ ข้นึ มากมาย มันเกิด
ทีไรกอ็ ยากไปเล่าให้หลวงพ่อฟัง อยากไปเล่าให้ทา่ นฟงั ในใจมนั ก็รทู้ ันอยู่ แตม่ นั กย็ ังตาม ในใจมัน
มีความรสู้ กึ ฟูมากเลย กบั การท่ตี ัวเองเห็นอย่างนนั้ พอไปถงึ กะจะไปพูดใหท้ า่ นฟงั เสร็จแลว้ รอ
เพ่อื จะฟงั ว่าท่านจะพยากรณ์เราว่าอยา่ งไร มนั มคี วามรสู้ กึ อยา่ งนน้ั เล่าเต็มที่เลย หนงึ่ ชั่วโมงผ่าน
ไป หลวงพ่อนัง่ ฟังเสรจ็ เรากล็ นุ้ ต่อ พอเราหยุดเล่า เราก็ลนุ้ ว่า หลวงพ่อท่านจะบอกเราเปน็
อย่างไร พอหลวงพอ่ เอ่ยปากออกมา “กลับมาที่ความรูส้ กึ ตวั รเึ ปล่า” ปากนีต่ อบทันทนี ะ กลับ
ครบั แต่ในใจ “รเึ ปล่านะ” แล้วหลวงพอ่ กไ็ มพ่ ูดอะไร หลวงพ่อย้ิม แล้วเรากจ็ ากมา แต่ในใจก็ เอ...
ทำไมหลวงพ่อไม่พูดอะไรเลย อีกสองสามวันต่อมา โผล่หน้ามาหาหลวงพอ่ อีก แล้วเล่าให้ท่านฟงั
มันเป็นอยา่ งนอ้ี ย่างน้ัน หลวงพอ่ น่งั นง่ิ ในใจลนุ้ ต่อ ใจฟูคับอกเลย รอหลวงพ่อตอบ ทา่ นถามว่า
“กลบั มาท่คี วามรสู้ ึกตวั รึเปล่า” เราก็ตอบ กลับครบั ในใจก็ยงั ไมแ่ น่ใจ ครง้ั ท่ีสองกลับไป อีกสาม

87

วนั กลบั มาเล่าใหม่ หลวงพ่อก็ถามคำเดมิ “กลบั มาทคี่ วามรสู้ กึ ตวั รึเปลา่ ” คราวน้เี กดิ ความสงสัย
ทำไมหลวงพอ่ ถามคำนี้ เอ...หรอื เราไม่ไดก้ ลบั กลบั ไปทำใหม่
ผา่ นไปอีกสามวัน คราวน้ตี ้งั ใจเดนิ มาเลย คิดว่าครง้ั น้แี น่ ๆ สภาวธรรมทีเ่ ราพบเดด็ ขาดจริง
กระหย่ิมยม้ิ ยอ่ งมาเลย พอเดนิ มาถึงกลางทางกร็ บั รูก้ ารเดนิ ของตัวเอง ตอนแรกเดินมาคดิ แต่
หลวงพ่อจะวา่ ยงั ไง พอกลับมารับรู้การเดนิ ของตัวเองเทา่ นั้นแหละ หยุดกกึ ... แล้วเดินกลับไปเดนิ
จงกรมตอ่ สกั พักหลวงพ่อเดนิ มามองหนา้ แล้วยมิ้ ๆ ทง้ั หมดทั้งสิ้นมันหลงลว้ น ๆ เลย มันเหน็ ชัด
ๆว่าตัวเองฟฟู ่อง ยังไม่รู้ตัวอีก นัน่ แหละทำไม หลวงพอ่ ถึงถามวา่ “กลับมาท่คี วามรสู้ กึ ตัวรึเปล่า”
เพราะฉะนั้น วันน้ีกอ่ นจากกนั ขอฝากคาถาสดุ ยอดไว้

“กลบั มา…รสู้ ึกตวั ”

88

คำอนโุ มทนาผู้จัดทำ

ขา้ พเจ้า ขออนุโมทนาในบญุ กศุ ลและความดที ้งั หลาย ของผ้ทู ร่ี ่วมทำ E-Book นี้ ซ่งึ บคุ คลทส่ี ำคญั
ท่สี ุดคอื พระอาจารย์ ครรชติ อกิญจโน ผถู้ ่ายทอดธรรมะ ของพระพุทธองค์ และนำสอน นำ
ปฏบิ ัตใิ ห้ไดเ้ ห็นทางเดินอนั สวา่ ง ส่องทางเพื่อดำเนนิ ตามรอยพระศาสดา และยังมีบคุ คลอกี
มากมายทชี่ ว่ ยสง่ เสรมิ ต้งั แตเ่ ริม่ บันทกึ จนเป็นหนังสือและพัฒนาตามยุคสมยั จนมาเป็น E-Book ท่ี
สามารถหาอา่ นไดส้ ะดวกยิง่ ข้ึน ขอขอบคณุ ครอบครัวทเี่ ปน็ กำลงั สนบั สนนุ ตลอดมา และขอให้ทุก
ทา่ นไดร้ ่วมอนุโมทนาบญุ รว่ มกัน

ศิรินทร อ่างแกว้

89

คำอนโุ มทนาผู้จดั ทำ

หนังสือ E-book เล่มนี้ เป็นการแปลงมาจากหนงั สอื “กลบั มารูส้ กึ ตวั ” ของพระอาจารย์ครรชติ อ
กิญจโน ให้เป็นในรปู แบบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพ่ือให้ผทู้ ส่ี นใจ ได้ศกึ ษาได้สะดวก และง่ายขน้ึ เขา้ กับ
ยุคสมัยปจั จบุ นั

ขอขอบพระคุณพระอาจารย์ครรชติ ท่เี ป็นผู้ใหแ้ สงสว่างทางธรรมและเป็นผู้อนญุ าตใหจ้ ดั ทำ
หนงั สือเล่มนข้ี ้ึนมา

ขอขอบคุณและขออนโุ มทนาบญุ กบั กัลยาณมติ รทกุ ทา่ นที่ได้ร่วมกันจัดทำใหห้ นังสือเล่มน้ใี ห้สำเร็จ
ขน้ึ มาได้

นันทน์ ภัส เด่นนภาสรุ พงศ์ และครอบครัว

90

คำอนโุ มทนาผจู้ ัดทำ

ขอกราบขอบพระคณุ พระอาจารยค์ รรชิต อกิญจโนอยา่ งสูงสุด ที่ไดส้ อนแนวทางการเจรญิ สตติ าม
แนวหลวงปเู่ ทยี นให้เขา้ ใจและได้ฝกึ ปฏบิ ัตติ ามเพอ่ื เป็นหลกั ในการดำเนนิ ชีวติ และ อนุญาติ
ใหจ้ ดั ทำเปน็ หนังสอื เพือ่ เผยแพร่

ขอขอบคุณศริ นิ ทร อา่ งแก้วท่ไี ดบ้ นั ทกึ คำสอนของพระอาจารย์ครรชิตไว้ และ ได้ถอดเทปบนั ทึก
คำสอนจนเป็นหนงั สือต้นฉบับ รวมถึงขอบคณุ ท่ใี หโ้ อกาสได้รว่ มจดั ทำหนังสือธรรมะเลม่ นเ้ี ป็นรูป
แบบ E-book

ขอขอบคณุ นนั ทน์ ภสั เด่นนภาสรุ พงศท์ ่แี นะนำใหร้ ู้จักพระอาจารย์ครรชติ อกญิ จโน

ขอขอบคณุ ครอบครัว และ กลั ยามติ รทกุ ทา่ นท่ีสนบั สนนุ และเก้อื กลู ทั้งทางตรงและทางออ้ มใน
การผลติ หนงั สอื เล่มน้ี

ขอทา่ นผูอ้ ่านไดร้ ว่ มอนุโมทนาบญุ กบั กุศลทไี่ ดจ้ ากการผลิตหนังสือเลม่ นี้ และหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ ว่า
หนังสอื เล่มน้จี ะเป็นประโยชน์ตอ่ ทา่ นผอู้ า่ นและท่านผูท้ ่นี ำไปปฎิบตั ติ ามเป็นกิจวัตร ให้เป็นปัจจัยสู่
การบรรลมุ รรคนิพานดว้ ยเทอญ

ปิยพร เรอื งรองปัญญา
ณฐั พล บุญแสง


Click to View FlipBook Version