ความแตกต่างระหวา่ งสมรรถนะกับทักษะ
สมรรถนะเป็นความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านใดๆ ได้
สาเร็จ ส่วนทักษะ ก็เป็นความสามารถในการทาสิ่งในส่ิง
หนง่ึ ได้ดใี นระดับใดระดบั หนง่ึ ทัง้ ๒ คาเปน็ คาท่ีแสดงถงึ
พฤตกิ รรมการกระทาหรือการปฏบิ ตั ิเหมือนกัน
โดยทัว่ ไปจงึ มักมกี ารใช้คาวา่ ทักษะ (skills) และ
สมรรถนะ (competency) ควบคกู่ ัน หรอื สลับกนั อยู่บอ่ ยๆ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 51
ความแตกต่างระหวา่ งสมรรถนะกับทักษะ
อยา่ งไรก็ตาม
แม้จะดเู หมือนกนั แต่สมรรถนะจะเปน็ ทกั ษะ หรือ
ความรทู้ ่นี าไปสกู่ ารกระทาหรอื การปฏิบัตทิ ีด่ กี ว่า โดดเดน่
กวา่ ทักษะ
Competencies refer to skills or knowledge that
lead to superior performance.
(https://talentguard.com)
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 52
ประเภทของสมรรถนะ
๑. Core Competencies/ Generic Competencies
สมรรถนะหลกั สมรรถนะแกน สมรรถนะทั่วไป
สมรรถนะกลาง
๒. Specific Competencies สมรรถนะเฉพาะ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 53
ลกั ษณะของสมรรถนะในหลักสูตรฐานสมรรถนะ
สมรรถนะหลัก (Core Competency )
เป็นสมรรถนะขา้ มวชิ าหรือคร่อมวิชา คอื เปน็ สมรรถนะทสี่ ามารถ
พฒั นาให้เกดิ ขน้ึ แก่ผเู้ รียนได้ในสาระการเรยี นรูต้ ่างๆ
หรอื นาไปประยุกต์ใช้ในการพฒั นาผูเ้ รียนใหเ้ รียนรู้สาระต่างๆ ไดด้ ขี ้ึน
ลกึ ซ้ึงขึน้
สมรรถนะในลักษณะน้ี เปน็ สมรรถนะทีม่ ลี ักษณะ “Content – free”
คือ ไมเ่ กาะติดเน้ือหา หรอื ไมข่ น้ึ กับเนื้อหา เพยี งแต่ว่าสมรรถนะบางสมรรถนะ
อาจพฒั นาไดด้ กี ว่ากบั เน้อื หาบางเนอ้ื หา
ตวั อย่างสมรรถนะประเภทน้ีเชน่ สมรรถนะการคดิ ขน้ั สงู สมรรถนะการ
ทางานแบบรวมพลงั สมรรถนะทกั ษะชีวติ ซง่ึ สมรรถนะเหล่านี้
สามารถใช้เนื้อหาสาระใดๆ กไ็ ด้ในการพัฒนา
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 54
Transferable Competencies
สมรรถนะที่เช่ือมโยงใช้ /เปล่ียนถา่ ย
สมรรถนะทต่ี ดิ ตัว สามารถเปลีย่ นถา่ ยได้ ใช้ไดใ้ นงาน/
สถานการณ์ต่างๆ แม้จะไมค่ นุ้ เคย
-สื่อสาร
-แก้ปัญหา
-ทางานเป็นทีม
-คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ
Transversal Competencies สมรรถนะขา้ มสายงาน
สมรรถนะท่ใี ช้ในการทางานของทกุ อาชพี
(ยเู นสโก)
Critical and Innovative Interpersonal Skills Global Citizenship Physical and
Thinking Psychological Health
Teamwork Respect for Diversity
Critical Thinking Collaboration Intercultural Respect for the
Innovative Thinking Initiative Environment
Creativity Sociability Understanding
Entrepreneurship Collegiality Ability To Resolve Healthy Lifestyle
Resourcefulness Self-Discipline Physical Fitness
Application Skills Enthusiasm Conflicts Empathy
Reflective Thinking Perseverance Self-Respect
Presentation Skills Self-Motivation Civic Participation
Reasoned Decision- Compassion
Making Integrity
Communication Commitment
Leadership Awareness
Organisational Skills Tolerance
Openness
ลกั ษณะของสมรรถนะในหลักสูตรฐานสมรรถนะ
สมรรถนะเฉพาะ( Specific Competency)
เปน็ สมรรถนะเฉพาะวิชา / สาขาวชิ า ซึ่งจาเปน็ สาหรบั วิชาน้นั ๆ
ตวั อย่างเช่น ในกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จะมีสมรรถนะ
เฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะดา้ นหลักภาษา การประพนั ธ์ ในกลุ่ม
สาระศลิ ปะมสี มรรถนะด้านการวาดภาพ การปัน้ การประดิษฐ์ เปน็ ตน้
สาระวิชาต่างๆ จะมสี มรรถนะเฉพาะวชิ าของตน ซึ่งมีลักษณะเป็น
“ทกั ษะ” (Skill) หรอื การปฏิบัติ
หากผเู้ รียนไดร้ บั การฝึกทักษะจนสามารถ
ใช้งานได้ และสามารถประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะนั้น ในการทางาน และใน
สถานการณ์หลากหลาย ทักษะน้ัน ก็จะพัฒนาเป็นสมรรถนะ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 57
สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency)
ประกอบด้วย ประยุกต์ใช้
KSA ของสาระเฉพาะเรื่อง
สมรรถนะเฉพาะ
Knowledge ประยุกตใ์ ช้ งาน สมรรถนะ
- Factual K. ประยกุ ต์ใช้ ชวี ิต เฉพาะ
- Conceptual k. (Theory, principle, big ประยุกตใ์ ช้ สถานการณ์
idea, concept) ตา่ ง ๆ 58
- Procedural K.
- Meta-cognitive K.
Skills
- Performance S.
- Cognitive S.
- Social S.
- Life S.
- Research S.
etc.
Attitude / Attribute
Feeling, Attitude , Value, Character
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
ระดบั ของสมรรถนะ
สมรรถนะมไี ดห้ ลายระดบั ตามความจาเปน็ หรือความตอ้ งการในหลายๆ เร่อื ง เรา
จาเป็นตอ้ งมสี มรรถนะในระดับพอใชก้ ารได้ จงึ จะอยรู่ อดอยูด่ ี แตใ่ นบางเรอ่ื ง เรา
จาเป็นต้องมสี มรรถนะในระดบั สูงขน้ึ ดงั น้นั ในการพัฒนาและการวดั สมรรถนะ จึงต้องมี
การกาหนดเกณฑก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Criteria) วา่ ต้องการในระดบั ใด เชน่
สาหรบั คนท่วั ๆ ไปอาจจาเปน็ ต้องมีสมรรถนะการใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร ในระดับ
พอใชก้ ารได้ คอื สมรรถนะสื่อสารเรอ่ื งทัว่ ๆไปพอเขา้ ใจกัน แตส่ าหรบั ผทู้ ่ตี อ้ งการไปศึกษา
ต่อตา่ งประเทศ สมรรถนะทางด้านนี้ ก็จาเปน็ ตอ้ งอยู่ในระดบั สงู ซ่ึงมกั จะมกี ารกาหนด
มาตรฐานเอาไว้
สมรรถนะที่สงู ข้ึน กจ็ ะตอ้ งอาศัยความรู้ ทักษะ ทส่ี ูงขึน้ ด้วย แต่ความรู้ ทักษะท่ี
สูงขึ้นนั้น อาจสง่ ผลหรือไม่สง่ ผลต่อการเกิดสมรรถนะกไ็ ด้ ขนึ้ อยกู่ ับประสบการณ์ ในการ
นาความรูแ้ ละทกั ษะเหล่านน้ั มาใช้ รวมท้งั คุณลกั ษณะส่วนตนทมี่ ีว่าเออื้ อานวยเพียงใด
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 59
LITERACY AND COMPETENCY
ความฉลาดรแู้ ละสมรรถนะ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 60
LITERACY AND COMPETENCY
LITERACY
LITERACY
61 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY
LITERACY
K
P/S A
LITERACY
62 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY
LITERACY
K
P/S A
LITERACY
63 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY
LITERACY
K
P/S A
LITERACY
64 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY
LITERACY
K
P/S A
LITERACY
65 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับ
การศกึ ษาฐานสมรรถนะ
66
การศกึ ษาฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Education : CBE)
• หลักสูตรฐานสมรรถนะ
(Comp๐etency – Based Curriculum : CBC)
•การจัดก๑ารเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ
(Compete๐ncy – Based Instruction : CBI)
•การวดั และ๔ประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ
(Compete๕๐ncy – Based Assessment : CBA)
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 67
การศกึ ษาฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Education : CBE)
เป็นการจัดการศึกษาทงั้ ทางด้านหลกั สตู ร การเรยี นการสอน และ
การวัดประเม๐นิ ผล ที่ยึดผเู้ รยี นเป็นศนู ย์กลาง (Learner Centric) เปิด
โอกาสใหผ้ ูเ้ ร๑ียนไดเ้ รียนรู้ตามความสนใจ ความถนัด และก้าวหน้าไป
ตามความสามารถของตน โดยเน้นการเช่ือมโยงกบั บรบิ ทชีวิตจรงิ และ
การนาความรู้ไปใ๐ช้จรงิ และสามารถปรบั เปลี่ยนได้ตามความตอ้ งการ
๔
(adaptive to th๐e changing needs)
๕
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 68
หลกั สูตรฐานสมรรถนะ
(Compe๐tency – Based Curriculum : CBC)
๑
69
ลักษณะสาคญั ของหลักสตู รฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum)
เปน็ หลักสตู รท่ี
• ยึดผู้เร๐๑ียนเป็นศูนย์กลาง (Learner Centric) โดย
ค านึ งถึ งความสนใจ ความถนั ด ความพร้ อม
ความสาม๐ารถ ปัญหาและความต้องการของผู้เรียน
รวมทั้งคว๐๔ามเหมาะสมกับบริบท วิถีชีวิต ภูมิสังคม ชาติ
พนั ธุ์ และ๕วัฒนธรรม
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 70
ลักษณะสาคัญของหลักสูตรฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum)
เปน็ หลกั สูตรท่ี
• เคชวื่อามมโสยา๑๐งมกาบั รชถีวในิตจกรางิรน(rาeคaวlาlมifรeู้ ท) กัขษอะงผเเู้จรตยี คนตโแิ ดลยะมุ่งพฒั นา
คุณลักษณะต่างๆ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ ไปใช้ให้เป็นประโยชนใ์ นชีวิต
จรงิ มไิ ดม้ งุ่ เ๔๐รอ่ื งความรูห้ รือเน้อื หาวิชาที่อาจมีการ
เปลย่ี นแปลง๐ไดต้ ามกาลเวลา
๕
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 71
ลักษณะสาคญั ของหลกั สูตรฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum)
เป็นหลกั สูตรท่ี
• ยดึ สมรร๐ถนะทจี่ าเป็นตอ่ การใช้ชีวติ เป็นหลกั ในการจัดการศึกษา
โดยมกี าร๑กาหนดเกณฑ์ความสามารถที่ต้องการใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ตั ไิ ด้
ในแตล่ ะระดบั การศึกษา
• ความสามารถ๔๐จะถกู กาหนดให้มีความต่อเน่อื งกัน โดยใช้
ความสามารถ๐ที่มใี นแต่ละระดับเป็นฐานสาหรบั เพิม่ พนู
ความสามารถ๕ในระดบั ต่อไป (ศ. ดร. ธารง บัวศรี, ๒๕๓๕)
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 72
ลกั ษณะสาคัญของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum)
• เปน็ หลกั สูตรฐานปฏิบตั ิ/ทกั ษะ (Action/Skill-Oriented) ไมใ่ ชห่ ลกั สูตร
ฐานความ๐รู้ (Knowledge-Oriented)
• เป็นหลักส๑ูตรทม่ี ุ่งสู่ การทาได้ (Able To Do) ไม่ใช่หลกั สตู รท่มี ุ่งสกู่ ารรู้ (Able
To Know)
เปน็ หลักสูต๔๐รท่ใี ห้ความสาคญั กบั พฤติกรรม การกระทา การปฏิบัตขิ อง
ผเู้ รียน มิใชเ่ พยี งกา๐รมีความรเู้ ทา่ นนั้ แต่ต้องสามารถประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทักษะ
เจตคติ และคุณลักษ๕ณะตา่ งๆ ในการปฏิบัติตนและปฏบิ ัติงานต่างๆได้
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 73
ลักษณะสาคัญของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum)
• เปน็ หลักสูตรบูรณาการท่ีสง่ เสริมการใช้ความรู้ข้ามศาสตร์
(Multidisciplinary) ก่อใหเ้ กดิ การเรียนรูแ้ บบองค์รวม
(Holistic)
• เปน็ หลักสูตรท่ยี ืดหย่นุ สามารถปรับเปลย่ี นสมรรถนะได้
ตามความต้องการของผเู้ รียน ครู สงั คม และโลก
(Adaptive to the changing needs)
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 74
โครงสร้างของหลักสูตรฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum)
• ใช้ Competencies เป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ ทีน่ าสู่การกาหนด
จดุ ประสงค์ โดยอาศยั ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ เป็นปจั จยั ในการ
เสริมสร้างสมรรถนะ (Competency outcomes drive
curriculum objectives)
หลกั สตู รจึงตอ้ งกาหนดสมรรถนะที่ผเู้ รยี นพงึ ปฏิบัติได้เป็น
เป้าหมาย แล้วจึงกาหนดเนือ้ หา ความรู้ และคณุ ลกั ษณะทจ่ี ะชว่ ย
ให้ สมรรถนะนั้นเกดิ ขึน้
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 75
โครงสร้างของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
หลกั สูตรฐานสมรรถนะ กาหนด มาตรฐานสมรรถนะ (Competency
Standards) เป็นสมรรถนะขน้ั ตา่ ท่ีจาเป็นสาหรับผูเ้ รยี น เพอื่ การดารงชวี ิต
อย่างมีคณุ ภาพ ๒ ลักษณะ
๑. สมรรถนะหลัก (Core Competency)
๒. สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency)
ในแต่ละประเทศ ออกแบบหลกั สตู รแตกตา่ งกนั
หลกั สตู รบางประเทศกาหนดเฉพาะสมรรถนะหลัก (Core Competency)
หลักสูตรบางประเทศกาหนดเพยี งสมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency)
ซง่ึ มกั เป็นไปตามความต้องการ บรบิ ท และลกั ษะเฉพาะของแต่ละประเทศ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 76
โครงสร้างของสมรรถนะในหลักสูตรฐานสมรรถนะ
สมรรถนะหลัก (Core Competency ) สมรรถนะเฉพาะ( Specific Competency)
เปน็ สมรรถนะข้ามวชิ าหรือคร่อมวิชา คอื เปน็ เปน็ สมรรถนะเฉพาะวชิ า / สาขาวชิ า ซึ่งจาเป็น
สมรรถนะที่สามารถพฒั นาใหเ้ กิดข้นึ แก่ผู้เรียนได้ สาหรบั วิชาน้ันๆ
ในสาระการเรียนรู้ตา่ งๆหลากหลาย
ตวั อยา่ งเช่น ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จะมี
หรอื นาไปประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เรยี นรู้ สมรรถนะเฉพาะของวชิ า เช่น สมรรถนะด้านหลัก
สาระตา่ งๆ ได้ดขี นึ้ ลึกซ้งึ ขนึ้ ภาษา สมรรถนะด้านการประพนั ธ์ สมรรถนะด้านการ
วาดภาพ การปั้น การประดิษฐ์ เป็นตน้
สมรรถนะในลกั ษณะน้ี เปน็ สมรรถนะท่ีมลี ักษณะ
“Content – free” คือ ไมเ่ กาะติดเนอ้ื หา หรอื ไมข่ ้ึนกับ สาระวชิ าตา่ งๆจะมีสมรรถนะเฉพาะวิชาของตน
เนือ้ หา ซ่งึ มลี กั ษณะเป็น “ทกั ษะ” (Skill)
เพียงแต่ว่าสมรรถนะบางสมรรถนะ อาจพฒั นาได้ หากผเู้ รียนได้รับการฝึกทักษะจนสามารถ
ดกี ว่ากับเนื้อหาบางเนือ้ หา ใช้งานได้ และสามารถประยกุ ต์ใชท้ ักษะน้ัน ในการ
ตัวอยา่ งสมรรถนะประเภทน้เี ชน่ สมรรถนะการคดิ ขั้น ทางาน และในสถานการณห์ ลากหลาย
สูง สมรรถนะการทางานแบบรวมพลัง สมรรถนะทักษะ ทกั ษะนั้น ก็จะพัฒนาเปน็ สมรรถนะ
ชีวติ ซ่ึงสมรรถนะเหล่านี้
สามารถใชเ้ นือ้ หาสาระใดๆ กไ็ ด้ในการพัฒนา
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 77
โครงสรา้ งของหลักสูตรฐานสมรรถนะ
หลกั สูตรฐานสมรรถนะโดยทว่ั ไป จะกาหนด
• สมรรถนะหลัก และ สมรรถนะเฉพาะ
• ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้/จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้เชิงสมรรถนะ
(learning competencies) สาหรบั ผเู้ รียนในชว่ งวัยหรอื ช่วงชัน้
ตา่ งๆ ใหแ้ ก่ครู เพ่ือใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนให้แกผ่ ูเ้ รยี น
• สาระการเรยี นรู้ขั้นตา่ สาหรบั การพฒั นาสมรรถนะทีก่ าหนด
ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี นหรอื อาจให้โรงเรยี นและครูกาหนดได้ตามความ
เหมาะสม
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 78
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Instruction)
79
การจดั การเรียนรู้เชิงรุก
พืน้ ฐานการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รียน
แนวคิดการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก
* การเรียนรู้เชิงรุก เป็นกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียนที่ผเู้ รียนตอ้ งใชท้ ้งั การคิด
การลงมือทาและการปฏิสมั พนั ธแ์ ลกเปล่ียนเรียนรู้กบั ผอู้ ื่น ผเู้ รียนไมไ่ ดอ้ ยใู่ นฐานะ
ผรู้ ับความรู้จากครูเท่าน้นั แต่จะตอ้ งเป็นผมู้ ีบทบาท หรือมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การเรียนรู้อยา่ งตื่นตวั
*การมีส่วนร่วมที่ผเู้ รียนรู้เป็นผจู้ ดั กระทาต่อสิ่งเร้า (สิ่งที่เรียนรู้) มิใช่เพียงเพียง
รับส่ิงเร้าหรือการมีส่วนร่วมอยา่ งเป็นผรู้ ับ (passive paticipation) เท่าน้นั
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
แนวคิดการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก
การจดั ใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชก้ ระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ใหผ้ เู้ รียนเกิดการ
ต่ืนตวั ท้งั ทางร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์ ซ่ึงสามารถช่วยใหผ้ เู้ รียนมีความ
จดจ่อ ผกู พนั (Engagement) กบั สิ่งท่ีเรียนรู้จนเกิดการเรียนรู้ท่ีมี
ความหมายตอ่ ตนเองและสามารถนาการเรียนรู้น้นั ไปใชป้ ระโยชนต์ ่อตน
ผอู้ ่ืน และสงั คม
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
การตนื่ ตวั (ACTIVE)
การต่ืนตวั (Active ) ทีจ่ ะช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ทแ่ี ท้จริงได้ดี
ควรเป็ นการต่ืนตัวทเ่ี ป็ นไปอย่างรอบด้านท้ังด้านกาย สตปิ ัญญา สังคม และ
อารมณ์ เพราะพฒั นาการท้งั 4 ด้าน มีความสัมพนั ธ์ต่อกนั และกนั และส่งผล
ต่อการเรียนรู้ของผ้เู รียน
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
การต่ืนตัวทางกาย (Physically Active)
การให้ผู้เรียนได้เคล่ือนไหวร่างกายทากิจกรรมต่าง ๆ ที่
หลากหลาย เหมาะสมกบั วยั และความสนใจของผเู้ รียน
สามารถช่วยให้ร่างกายและประสาทรับรู้ตื่นตัว พร้อมที่จะรับรู้
และเรยี นรู้
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
การต่นื ตัวทางสติปัญญา (Intellectually Active)
การท่ีผู้เรียนได้เคล่ือนไหวทางการคิดใช้กระบวนการทางสมอง
ในการสร้างความหมาย ความเข้าใจในสง่ิ ที่เรียนรู้
สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ และเกิดการเรียนรู้ที่
ชดั เจน
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
การต่ืนตัวทางอารมณ์ ( Emotionally Active)
การท่ีผู้เรียนเกิดอารมณ์หรือความรู้สึกต่าง ๆ ในการคิด การ
กระทา การรว่ มกิจกรรมต่าง ๆ
อารมณ์ ความรู้สึกส่งผลต่อการคิด การกระทาของผู้เรียน ช่วย
ใหส้ ่งิ ท่เี รยี นร้มู ีความหมายต่อผเู้ รียนมากขึน้
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
การตน่ื ตัวทางสงั คม( Socially Active)
การทผ่ี ู้เรียนเกดิ ปฏิสมั พนั ธ์ทางสังคม และใช้กระบวนการทางสังคม
ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อการเรยี นร้ขู องตน
สามารถช่วยขยายขอบเขตการเรียนรู้ของบุคคลให้กว้างขวางขึ้น
รวมทั้งช่วยให้กระบวนการเรียนรู้สนุก มีชีวิตชีวาซ่ึงตอบสนองความ
ต้องการของมนษุ ย์ทเ่ี ป็นสัตว์สังคม
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
การจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก
การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่สี ง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมีบทบาทสาคญั
ในการเรยี นรู้ และดาเนินการเรยี นรูอ้ ยา่ งตืน่ ตวั ทงั้ 4 ด้าน
1) ได้เคลอ่ื นไหว ทากิจกรรมต่าง ๆ(กาย)
2) ได้ใช้ความคดิ (สติปัญญา)
3) ไดม้ ีปฏสิ ัมพนั ธแ์ ลกเปลี่ยนเรยี นรู้กบั ผู้อืน่ (สงั คม)
4) เกดิ ความรูส้ กึ ทเี่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ท่ตี อ้ งการ(อารมณ)์ จะชว่ ยให้
ผ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรูไ้ ดด้ ี
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
การจดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ
การจัดใหผ้ ู้เรียนเรยี นรูอ้ ยา่ งตน่ื ตวั ดว้ ยกระบวนการเรียนรูท้ ่ี
หลากหลายทม่ี กี ารผสมผสานกระบวนการเรยี นรูท้ ี่เน้นให้ผเู้ รยี นไดม้ กี าร
เคลอ่ื นไหวทางสตปิ ัญญา คอื การใชค้ วามคดิ การเคล่อื นไหวทางสงั คม คือ
การมปี ฏิสัมพันธก์ บั ผู้อ่ืน การเคลอ่ื นไหวทางกาย คอื การเปล่ียนอริ ิยาบถ
และได้เคล่อื นไหวทากจิ กรรมตา่ ง ๆ โดยการทากจิ กรรมทางสติปัญญา
สงั คม ทางกายดังกลา่ ว จะต้องสามารถชว่ ยสร้างอารมณ์ ความรูส้ ึก และ
เจตคติ ท่สี ง่ ผลใหก้ ารเรยี นรู้ท่เี กิดขนึ้ มคี วามหมายตอ่ ตนเองมากขนึ้
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก อาจจะมีลกั ษณะของการ
ผสมผสานการเรียนรู้ 4 ดา้ นไม่เทา่ กันขนึ้ อยกู่ ับจุดมุ่งหมาย
ผู้เรียน ผู้สอน เงอ่ื นไข และบริบทของการเรียนการสอน
แตล่ ะครั้ง
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
ลกั ษณะการจดั การเรียนรู้เชิงรุกท่ี
หลากหลาย :
ความตื่นตวั ดา้ นต่าง ๆ
อารมณ์ (E) ร่างกาย (P) สตปิ ัญญา (T)
สงั คม (S)
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
ลกั ษณะการจดั การเรียนรู้เชิงรุกที่หลากหลาย :
ความตื่นตวั ดา้ นอารมณ์ผสานในการสร้างความ
ตื่นตวั ทุกดา้ น
ร่างกาย+อารมณ์ (PE) สตปิ ัญญา +อารมณ์ (TE) สังคม
+อารมณ์ (sE)
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
ลักษณะการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุกทส่ี มดุล... เน้นทุกด้าน ร่างกาย
สติปัญญา สังคม อารมณ์
EI sE
•
E
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
ลักษณะการจดั การเรียนรู้เชิงรุกท.ี่ .. เน้นสตปิ ัญญา
E
I
E •E E
sP
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
ลกั ษณะการจดั การเรียนรู้เชงิ รุกท.ี่ .. เน้นความตน่ื ตวั ร่างกาย
E
P
• ES I
E s E
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
ลกั ษณะการจัดการเรียนรู้เชงิ รุกท.่ี .. เน้นความตน่ื ตวั ดา้ นสังคม
E
S
PE • ES I E
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
หลกั การจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ
1) มีการกาหนดสมรรถนะท่ีต้องการพัฒนา
2) มีการกาหนดงานท่ีสามารถใช้สร้างสมรรถนะผู้เรยี นตามท่ีกาหนด
3) มีการกาหนดความรู้ ทกั ษะ เจตคติ/คุณลักษณะทจี่ าเป็ นสาหรบั ผูเ้ รยี นในการทางานน้ันใหส้ าเรจ็ โดยสง่ เสรมิ การใชค้ วามรูข้ า้ มศาสตร์
(multidisciplinary) อย่างบรู ณาการ (integration)
4) มีการให้ผูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ผูเ้ รยี นสามารถเลือกเส้นทางการเรียนรู้ (learning pathway) ของตนได้ มีการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้เชิงรุก (active learning) ทหี่ ลากหลาย และสามารถตอบสนองความแตกตา่ งของผ้เู รียน ( differentiated instruction)
5) มีการเสรมิ สร้าง A (attitude/ attribute) สร้างแรงจูงใจ แรงบนั ดาลใจ กระตุ้นความสนใจใฝ่ รู้ สร้างความรู้สึกเป็ นเจ้าของการเรียนรู้ เพือ่ ให้ผู้เรียน
สามารถนาตนเองและกากบั การเรยี นรู้ของตนเองได้ (self-directed learning) เน่ืองจาก A เป็ นปัจจยั สาคัญในการขบั เคลือ่ นกระบวนการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รียน
6) มีการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงลึก (deep learning) ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดความเข้าใจในเร่ืองที่เรียนรู้ให้ถึงระดับที่สามารถประยุกตใ์ ช้ได้ และเกิดการเรียนรู้
แบบรูจ้ ริง (mastery learning) คือเกิดการเรียนรู้ตามเกณฑท์ กี่ าหนดได้จรงิ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
หลกั การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ
7) มีการใหผ้ ูเ้ รียนลงมอื ปฏบิ ตั ิงานจริง ได้เผชิญสถานการณ์ ปัญหา อุปสรรคท่ีท้าทาย และได้มีโอกาสประยุกต์ใช้ K S A
ในการทางานจนประสบความสาเรจ็
8) มีการให้ผู้เรียนใช้เวลาในการเรียนรู้/การทางาน ตามความถนัดและความสามารถของตน สามารถก้าวหน้าไปเร็วช้า
แตกตา่ งกนั ได้ (self-pacing)
9) มีการให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเองระหว่างเรียน (assessment as learning) เพ่ือการปรับปรุงวธิ ีการ
เรียนรู้ และผลการเรียนรู้ของตน
10) มีการสังเกตพฤติกรรมและการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน โดยครูให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) และให้ความช่วยเหลือตาม
ความต้องการของผู้เรยี นเป็ นรายบุคคล
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
กา๐รวดั และประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ
(Compe๑tency – Based Assessment : CBA)
๐
๔
๐
๕
99
หลกั การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ
1) ให้ความสาคัญกบั การประเมนิ เพ่ือพฒั นา (formative assessment) โดยถอื วา่ การประเมินเป็นกจิ กรรมในกระบวนการเรยี น
การสอนตามปกติ ผเู้ รียนมกี ารประเมนิ การเรยี นรู้ของตนเองระหวา่ งเรยี น (assessment as learning) เพือ่ นาผลการประเมนิ มา
ใช้ในการปรบั ปรุงวิธกี ารเรียนร้ขู องตนใหด้ ียิ่งขึน้ กา้ วหน้าข้นึ ครูสงั เกตและเกบ็ ขอ้ มลู การเรยี นรูข้ องผ้เู รยี น เพ่ือนาผลการประเมิน
มาใช้ในการปรบั ปรงุ การสอนของตน และพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ดขี ้นึ (assessment for learning)
2) การประเมนิ เพอื่ พฒั นาใช้วิธีการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) จากสิ่งท่ีผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง เช่น การ
ประเมินโดยใช้แฟม้ สะสมผลงาน (portfolio) การประเมินจากชิ้นงาน จากการปฏิบัติงาน รวมไปถึงการประเมินตนเองและการ
ประเมนิ โดยเพ่อื น
3) การประเมนิ ตดั สินผล (summative assessment) จะมงุ่ วดั สมรรถนะองค์รวม ทแี่ สดงถึงความสามารถในการประยกุ ต์ใช้ K
S A ในการปฏบิ ัติงานในสถานการณต์ ่างๆ