หลกั การวดั และประเมินฐานสมรรถนะ
4) การประเมินเพื่อตัดสินผล เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ (assessment of learning ) โดยใช้วิธีการวัดจาก
พฤติกรรม
การกระทา การปฏิบตั ิของผู้เรียนในสถานการณต์ ่างๆ (performance test) ท่แี สดงออกถึงความสามารถในการ
ประยุกต์ใช้ K S A ตามเกณฑก์ ารปฏิบตั ิ (performance criteria) และหลกั ฐานการเรยี นรู้อน่ื ๆ (evidence) เป็ นการ
ประเมนิ แบบอิงเกณฑไ์ ม่ใช่องิ กลุ่ม โดยผู้เรียนรบั รูเ้ กณฑก์ ารประเมินตัง้ แตต่ น้
5) การประเมินฐานสมรรถนะ มีการใชส้ ถานการณ์เป็นฐาน เพอื่ ให้บรบิ ทการประเมนิ เป็นสภาพจริงมากขึน้
6) ผ้เู รยี นจะไดร้ บั การประเมินเมื่อพรอ้ ม หากไมผ่ า่ นการประเมนิ ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด ผู้เรยี นจะตอ้ งไดร้ บั การสอนซ่อมเสรมิ
หรือไดร้ ับความช่วยเหลือด้วยวิธีการต่างๆ ทเี่ หมาะสมกบั ปญั หาและความต้องการของผ้เู รยี น จนสามารถผา่ นได้ตามเกณฑ์
จงึ จะกา้ ว ไปสกู่ ารเรียนรใู้ นขัน้ หรอื ระดับทสี่ งู ข้ึน
7) การรายงานผล เป็นการใหข้ อ้ มลู พัฒนาการของผเู้ รียนในดา้ นตา่ งๆ ทีช่ ว่ ยให้ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวขอ้ งไดข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั
การเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน ตามความเป็นจริงอย่างรอบด้าน ซ่ึงแต่ละสถานศึกษาสามารถพัฒนาขึ้นตามความ
เหมาะสมกับหลกั สูตรสถานศกึ ษา
•
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะโดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
การประเมนิ เพื่อพฒั นา
(FORMATIVE ASSESSMENT
การประเมนิ เพ่ือการเรียนรู้ (Assessment for Learning : AfL)
เป็ นการประเมินเพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมูลเกย่ี วกับผูเ้ รียนทค่ี รู/ผู้สอนสามารถ
นาไปใช้ประโยชนใ์ นการวางแผนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
ในการสอนหรอื การปรับเปลยี่ นกลยุทธใ์ นการเรยี นของผู้เรยี นประกอบด้วย
1) การประเมินก่อนเรียน (Pre assessment)หรือการประเมนิ เพอื่
วินิจฉัย (diagnostic assessment) ซง่ึ เป็ นการประเมนิ จากขอ้ มูลพนื้ ฐาน
ตา่ ง ๆ ของผู้เรยี น เช่นความรู้พนื้ ฐาน ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ลลี าการเรียนรู้
ของผู้เรยี น ความถนัด ความสนใจ ปัญหาและความตอ้ งการตา่ ง ๆ
2) การประเมนิ เพอ่ื พฒั นา (formative assessment) ซง่ึ ครู/ผู้สอน
สามารถทาไดต้ ัง้ แตผ่ ู้เรยี นเรมิ่ ต้นการเรยี นรู้จนจบการเรยี นรู้
การประเมินเพ่ือพฒั นา
(FORMATIVE ASSESSMENT
การประเมนิ ที่เป็ นการเรียนรู้ (Assessment as Learning : AaL)
เป็ นการประเมินการเรียนรู้โดยผ้เู รียน ระหว่างการเรียนรู้ เพ่อื ช่วยผเู้ รียนใหเ้ กดิ การ
ตระหนักรู้ในกระบวนการคิดและกระบวนการเรียนรู้ของตน และสามารถวางแผนพัฒนาการ
เรียนรู้ของตนใหก้ า้ วหน้าไปสู่จดุ มุง่ หมายทต่ี อ้ งการ เป็ นการประเมนิ ทเี่ น้นการใหผ้ เู้ รียน
ประเมินตนเอง (Self assessment) และประเมนิ เพอ่ื น (Peer Assessment) โดยการ
ใชเ้ ทคนิคตา่ ง ๆ เชน่ การตงั้ คาถามตรวจสอบการเรียนรู้ของตน และใชผ้ ลการประเมินในการ
กาหนดเป้าหมายและวางแผนการเรียนรู้ ครู/ผู้สอนทาหน้าทก่ี ระตุน้ การคดิ ของผู้เรียนในการ
ตรวจสอบการเรียนรู้ รวมทง้ั แสวงหากลยุทธแ์ ละวิธีการในการพัฒนาการเรียนรู้ของตน
การประเมนิ รวบยอด
(SUMMATIVE ASSESSMENT
การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Assessment of Learning : AoL)
เป็ นการประเมินเพอ่ื การตัดสนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นเมอื่ สนิ้ สุดการเรยี นเพอื่ ดูว่าผู้เรยี น
บรรลุจุดมุ่งหมายการเรยี นรู้ทก่ี าหนด มีความรู้ ความเข้าใจ สมรรถนะ และคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์
ตามมาตรฐานทกี่ าหนดหรอื ไม่ โดยครู/ผู้สอนเป็ นผู้มบี ทบาทหลักในการประเมนิ
การประเมนิ มลี ักษณะเป็ นการประเมินรวบยอด(Summative Assessment)ทใี่ ช้
จุดมุ่งหมายหรือผลลัพธก์ ารเรยี นรู้เป็ นมาตรฐานการประเมิน โดยใช้วธิ กี ารและเครอื่ งมือประเมนิ ทมี่ ี
คุณภาพเช่ือถอื ได้ ผลของการประเมิน นอกจากจะใช้ตัดสินความสามารถในการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
แล้วยังสามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาการเรียนการสอนได้ด้วย
การประเมนิ ผลเพ่ือพฒั นา
(FORMATIVE ASSESSMENT
วตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้ข้อมูลจากการประเมินเพอื่ …..
- กระตุ้นการเรยี นรู้ของผู้เรยี น (Feed Up)
- ให้เป็ นข้อมูลยอ้ นกลับเพอื่ การปรับปรุงพฤตกิ รรมและผลการเรียนรู้
(Feedback)
- กระตุ้นเพอื่ ตอ่ ยอดการเรยี นรู้ (Feed Forward)
การจัดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Education)
หลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ฐานสมรรถนะ(CBC) ฐานสมรรถนะ(CBI) ฐานสมรรถนะ(CBA)
• OUTCOME-BASED * ACTIVE AND SELF-DIRECTED • เนน้ Formative Assessment
(COMPETENCY LEARNING
OUTCOMES) -assessment as learning
* ACTION /TASK-ORIENTED
• LEARNER CENTRIC * INTEGRATION -assessment for learning
• PERSONALIZED * DEEP LEARNING AND
• MULTIDISCIPLINARY • ใชก้ ารประเมินตามสภาพจรงิ
• CONTEXTUALIZED APPLICATION OF KSA
• ADAPTIVE TO THE * DIFFERENTIATED INSTRUCTION ด้วยวิธีการหลากหลาย
* SELF PACING
CHANGING NEEDS * ASSESSMENT AS LEARNING , • Summative Assessment
FEEDBACK AND INDIVIDUAL มุ่งวดั สมรรถนะองค์รวม
SUPPORT
* MASTERY LEARNING -ใช้ Performent Test
และวธิ กี ารทดสอบอ่นื ๆ
ร่วมกบั หลกั ฐานการเรียนรู้
• ประเมนิ เม่อื ผู้เรียนพร้อม หาก
ไม่ผ่าน ตอ้ งได้รับความ
ชว่ ยเหลอื 107
8 แนวทาง
การจดั การเรียนรู้เชงิ รุก
เพอื่ พฒั นาสมรรถนะผู้เรียน
แนวทางการจัดการ
เรยี นรู้
ฐานสมรรถนะ 8
แนวทาง
แนวทาง 8 Whole - School Learning
แนวทาง 7 Hybrid Competency Learning
แนวทางที่ 5 บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ
แนวทางที่ 4 สมรรถนะเป็นฐานผสานตวั ช้ีวัด
แนวทางท่ี 3 ใชร้ ปู แบบการเรียนรู้ สู่การพัฒนาสมรรถนะ
แนวทางที่ 2 ใชง้ านเดมิ ตอ่ เติมสมรรถนะ
แนวทางท่ี 1 ใชง้ านเดิม เสรมิ สมรรถนะ
109
แนวทางท่ี 1 ....ใช้งานเดมิ เสริมสมรรถนะ
ลักษณะ
เป็นการจดั การเรยี นรูท้ ่ีสอดแทรกสมรรถนะ ซ่งึ ครูเห็นวา่
สอดคลอ้ งกบั บทเรยี นนนั้ เขา้ ไป และคดิ กิจกรรมเสรมิ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนได้
พฒั นาสมรรถนะนนั้ เพ่ิมขนึ้ เป็ นการช่วยเพมิ่ การเรยี นรูข้ องผู้เรียน
ใหเ้ ข้มข้น มคี วามหมาย และเกดิ สมรรถนะทต่ี อ้ งการ
ข้นั ตอนดาเนินงาน
1) ทบทวนรายละเอยี ดสมรรถนะ/ผลลพั ธ์การเรียนรู้ให้เข้าใจและพร้อมใช้ในการ
ออกแบบกจิ กรรม
(สำหรับครูทเ่ี ร่ิมทำอำจทำเป็ นตำรำงวเิ ครำะห์และวิเครำะห์ทีละกจิ กรรม เพรำะจะ
ช่วยให้วเิ ครำะห์ได้ง่ำยขน้ึ แต่เมอ่ื คล่องขนึ้ กอ็ ำจเพยี งแค่วิเครำะห์ในใจ หรือเขียน
โน้ตสั้นๆกำกบั ไว้ โดยไม่ต้องระบอุ ย่ำงเป็ นทำงกำรในแผนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนก็
ได้)
2) นามาเทียบกบั จุดประสงค์การเรียนรู้และกจิ กรรมการเรียนการสอน
3) เลือกและระบุสมรรถนะท่สี อดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้และกจิ กรรมการ
เรียนการสอน มาระบุไว้ในตอนต้นของแผนการจดั การเรียนการสอน
ข้นั ตอนดาเนินงาน
4) คดิ กจิ กรรมการเรียนรู้ทีเ่ สริมสร้างสมรรถนะน้นั โดยบูรณาการเข้าไปในกจิ กรรมเดมิ อย่าง
กลมกลืน
5) ปรับจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลุมสมรรถนะที่เพมิ่ เตมิ
6) ระบุวธิ ีการวดั และประเมินสมรรถนะทเ่ี พม่ิ เติม
แนวทางท่ี 2 : ใช้งานเดมิ ต่อเตมิ สมรรถนะ
การพฒั นาการสอนเดมิ ของครูผ่านการสอนโดยเน้นสมรรถนะให้
มากขนึ้ โดยการขยายต่อยอดงานเดมิ เพ่มิ สถานการณ์และ
ประสบการณ์ให้ผ้เู รยี นได้ฝึ กใช้ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตใิ ห้มากขนึ้
ข้นั ตอนดาเนินงาน
1)พจิ ารณากจิ กรรมทก่ี าหนดไว้เดิม แล้ววเิ คราะห์ว่าผ้เู รียนสามารถใช้ความรู้ ทกั ษะ
และ เจตคตทิ ไ่ี ด้เรียนรู้แล้วให้เป็ นประโยชน์ได้อย่างไร
2)เลือกสถานการณ์ต่าง ๆ ทจ่ี ะช่วยให้ผู้เรียนได้ใช้ ความรู้ ทกั ษะ และ เจตคตทิ ไี่ ด้เรียนรู้
แล้ว
3)ออกแบบกจิ กรรมทจี่ ะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึ กให้ผ้เู รียนใช้ความรู้ ทกั ษะ และ เจตคติ ใน
สถานการณ์ทกี่ าหนด
4)ปรับจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลมุ สมรรถนะทไ่ี ด้ฝึ กเพมิ่ ขึน้
5) เพมิ่ วธิ ีการวดั ประเมินผลสถานะทไ่ี ด้ฝึ กเพม่ิ เติม
แนวทางที่ 3 :ใช้รูปแบบการเรียนรู้ สู่การพฒั นาสมรรถนะ
*เป็ นการสอนตามปกตทิ ม่ี ีการนารูปแบบการเรียนรู้ทีใ่ ชเ้ ดมิ มา
วเิ คราะหเ์ ชอ่ื มโยงกับสมรรถนะทสี่ อดคล้องกบั รูปแบบการเรียนรู้ ซึง่ ช่วย
ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรูต้ ามจุดประสงคข์ องรูปแบบการเรียนรู้ และเกดิ
สมรรถนะที่มุ่งพฒั นา
* เป็ นการสอนทม่ี ีกระบวนการตามรูปแบบท่คี รูคดั สรรวา่ สามารถ
พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนได้ โดยพิจารณาความสอดคลอ้ งระหว่างจุดหมาย
ของรูปแบบ แนวคดิ ทฤษฎีพนื้ ฐาน และขัน้ ตอนการสอนของรูปแบบกบั
สมรรถนะทีม่ ุง่ พฒั นา พิจารณาว่าสามารถปรบั หรือเพมิ่ ขน้ั ตอนยอ่ ยเพอ่ื
เพ่มิ หรอื เน้นทักษะสาคัญๆของสมรรถนะไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ข้นั ตอนการดาเนินการ
1) เลือกรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสม สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2) ศึกษารูปแบบการเรียนรู้ทไ่ี ด้เลือกไว้ ให้เข้าใจถึงหลกั การ กระบวนการ วธิ ีการ
จดุ อ่อน และจดุ แขง็ ของรูปแบบการเรียนรู้
3) กาหนดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการ/ข้ันตอนของรูปแบบการเรียนรู้
ข้นั ตอนการดาเนินการ
4) ศึกษาสมรรถนะต่าง ๆ และพจิ ารณาว่าในกระบวนการ/กจิ กรรมท่ีกาหนด มี
สมรรถนะใดทสี่ ามารถนามาบูรณาการได้
5) คดิ กจิ กรรมการเรียนรู้ทส่ี ามารถพฒั นาสมรรถนะท่ีบูรณาการ
6) ปรับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลุมสมรรถนะทีเ่ พมิ่ เตมิ
7) เพมิ่ เตมิ วธิ ีการวดั และประเมนิ สมรรถนะท่ีบูรณาการ
แนวทางที่ 4 สมรรถนะเป็ นฐาน ผสานตวั บ่งชี้
เป็ นการสอนโดยนาสมรรถนะและตวั ชวี้ ัดทส่ี อดคล้องกันมาออกแบบการสอน
ร่วมกัน เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้ทงั้ เนอื้ หาสาระและทกั ษะตามทต่ี ัวชวี้ ัดกาหนด ไป
พร้อมกับการพฒั นาสมรรถนะหลักทจ่ี าเป็ นต่อชวี ิต
*เป็ นการสอนทเี่ หมาะสาหรับครูทไ่ี ด้ทดลองนาสมรรถนะเขา้ มาบูรณาการในการ
เรียนการสอนปกตขิ องตนตามแนวทางที่ 1 และ2 มาระยะหน่ึง จนมคี วามม่ันใจ
มากขนึ้ และพร้อมทจี่ ะก้าวออกจากการสอนแบบเดมิ ๆ ไปสู่การสอนทเี่ น้น
สมรรถนะอยา่ งเตม็ ตวั หรอื ครูทเี่ หน็ ประโยชนข์ องสมรรถนะและต้องการจะ
ออกแบบแผนการสอนของตน โดยใหส้ มรรถนะเป็ นตัวนา แต่ขณะเดยี วกันก็
ครอบคลุมตวั ชวี้ ัดของหลักสูตรอยา่ งครบถ้วน
* ลักษณะของแผนการจดั การเรียนการสอนแบบนี้ เป็ นการบูรณาการสมรรถนะ
สาคัญๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับส่ิงทค่ี รูตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ ใหม้ กี ารจดั การ
เรยี นรู้ทหี่ ลายหลาย เน้นใหผ้ ู้เรยี นไดฝ้ ึ กการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ฝึ กทกั ษะ และพัฒนา
เจตคติ และ คุณสมบัตติ ่าง ๆ ผ่านการปฏบิ ัตจิ ริงในสถานการณต์ า่ งๆอยา่ ง
กว้างขวาง
ข้นั ตอนการดาเนินการ
1) กาหนดสมรรถนะที่ต้องการพัฒนาผู้เรียน
2) พจิ ารณาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ตามหลกั สูตรในแต่ละวชิ า/ กล่มุ สาระ และ
ตัวชี้วัดท่ีสอนในหลกั สูตร ท่ีสอดคล้องกบั สมรรถนะท่ีเลือก
3) กาหนดหัวข้อ / หัวเร่ือง ความรู้ ทักษะ และเจตคติสาคัญ และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ท่ี
ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
4) กาหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลมุ สมรรถนะที่กาหนด
ข้นั ตอนการดาเนินการ
5) ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีเอือ้ ให้ผ้เู รียนได้เกดิ สมรรถนะที่ต้องการพฒั นา
เน้นการจดั การเรียนรู้เชิงรุก จดั ประสบการณ์ท่มี คี วามหมาย และส่งเสริมให้
ผู้เรียนใช้ความรู้ทกั ษะ เจตคติ และคุณลกั ษณะที่ได้เรียนรู้แล้ว ในสถานการณ์
ต่างๆในชีวติ จริง เพ่ือให้ผ้เู รียนได้พฒั นาสมรรถนะ และเป็ นไปตาม
วตั ถุประสงค์ทวี่ างไว้
6 ) วางแผนการประเมนิ ผล โดยเน้นการประเมนิ ตามสภาพจริง(Authentic
Assessment) ให้สอดคล้องและตอบรับวตั ถุประสงค์เชิงสมรรถนะท่กี าหนด
ไว้ต้งั แต่ต้น
แนวทางท่ี 5 : บูรณาการ ผสานหลายสมรรถนะ
ลักษณะ
* เป็ นการสอนโดยนาสมรรถนะหลกั ทุกดา้ นเป็ นตวั ตงั้ และวิเคราะหต์ วั ชวี้ ดั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง แล้วออกแบบการ
สอนทมี่ ีลักษณะเป็ นหน่วยบรู ณาการทชี่ ่วยใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้อยา่ งเป็ นธรรมชาตแิ ละเหน็ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
วิชา/กลุม่ สาระการเรียนรูต้ า่ งๆ
* การบูรณาการ เป็ นการจดั การเรียนรูแ้ บบองคร์ วมทน่ี าสง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ ในชวี ิต สงั คม และโลก เชน่
สถานการณ์ ประเดน็ สาคัญในสงั คม ปรากฏการณ์ ทเี่ กย่ี วขอ้ งสัมพนั ธก์ ับผู้เรียนมาเชือ่ มโยงกับเนือ้ หา ทกั ษะ
และเจตคตใิ นทุกกลุ่มสาระการเรยี นรูท้ เี่ หมาะสมกับช่วงวยั ของผูเ้ รยี น โดยผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงการเรียน
กบั ประสบการณใ์ นชีวิต สรา้ งประสบการณ์ ความรู้และความสามารถ เพอ่ื ใหเ้ กดิ สรรถนะหลักทงั้ สิบดา้ นและ
นาใชไ้ ดจ้ ริงในสถานการณต์ า่ งๆ อยา่ งมคี วามสุขและเป็ นพลเมืองไทยผ้ใู สใ่ จสังคม การสอนแบบบรู ณาการจงึ
เป็ นแนวทางการสอน ทส่ี อดคล้องกับปรัชญาการสอนแบบสมรรถนะเป็ นฐานมากทสี่ ุด
ข้นั ตอนการดาเนินการ
1) ทบทวนรายละเอียดสมรรถนะ/ผลลัพธ์การเรียนรู้ทุกด้านและวเิ คราะห์เนื้อหาสาระ ความรู้ ทักษะทกี่ าหนดเป็ นตวั ชี้วดั ของกลุ่มสาระ
ต่างๆ
2) กาหนดหน่วยการเรียนรู้ ท่ีสามารถสร้างความเช่ือมโยงกบั เนื้อหาการเรียนรู้ทสี่ ัมพนั ธ์และน่าสนใจเหมาะสมกับวยั ของผ้เู รียน หรือ
เป็ นหน่วยการเรียนรู้ทเี่ ป็ นภูมปิ ัญญา วธิ ีการคดั เลือกหน่วยการเรียนรู้ สามารถทาได้หลายวธิ ี เช่น
2.1 เร่ิมจากสิ่งที่ผ้เู รียนสนใจหรือสิ่งทสี่ ามารถกระต้นุ ให้สนใจได้ง่าย
2.2 เร่ิมจากปัญหาทพ่ี บในผู้เรียน ในโรงเรียน ในสังคม และออกแบบหน่วย ทเ่ี อื้อให้ผ้เู รียนได้เกิดประสบการณ์จาก
กิจกรรมที่จดั และเป็ นไปตามวตั ถุประสงค์ที่วางไว้
2.3 เร่ิมจากปัญหาสังคม ประเดน็ ทางสังคม เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขึน้ ในระดับโรงเรียน ระดบั ชุมชนระดับชาติ หรือระดับโลก
2.4 เร่มิ จากแนวคดิ (Concept) สาคัญทต่ี อ้ งการใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรู้ สรา้ งองคค์ วามรู้ และนาแนวคดิ นั้น
ไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ ประจาวนั
ข้ันตอนการดาเนินการ
3. กาหนดแนวคดิ และคิดคาถามใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวคิด เนือ้ หา และตัง้ คาถามท่ี
โตแ้ ย้งไดเ้ พื่อใหน้ ักเรยี นไดฝ้ ึ กคิด
4. กาหนดขอบเขตเนือ้ หาสาระการเรยี นรู้ ทกั ษะ เจตคติ ทก่ี าหนดเป็ นตัวบ่งชใี้ นแต่ละ
กลุ่มสาระทส่ี มั พันธก์ บั หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และการประเมินผล
5. กาหนดประสบการณก์ ารเรียนรู้ โดยนาสมรรถนะมาเชื่อมโยงกับกจิ กรรมทจ่ี ดั ให้
นักเรยี น เพื่อใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ ในการวางแผนนัน้ เน่ืองจากครูมักคิดถงึ
องคป์ ระกอบตา่ งๆของการจัดการเรยี นการสอนไปพร้อมๆกัน โดยคานึงถึง
นักเรยี น ส่ือ ทรัพยากรทมี่ ีในบรบิ ทของตน การเรยี งลาดับการเขียนแผนการ
จดั การเรียนการสอน จึงอาจสลับ ยืดหยุ่นได้ตามความถนัดของครู ส่ือทมี่ ี และ
บริบทของโรงเรยี น
ข้นั ตอนการดาเนินการ
6. ดาเนินการสอน นาขอ้ มูล ขอ้ สงั เกตจากการสอนมา ประเมนิ ปรบั แผนระหว่าง
สอน และปรบั ปรุงหลงั สอนเพ่อื ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ หรือพฒั นาสมรรถนะ
ไดม้ ากขึน้
การสอนแบบบูรณาการนี้ เป็ นแนวทางการสอนทใี่ หค้ วามสาคัญกับความ
สนใจ และความตอ้ งการจาเป็ นของผู้เรียน จึงอาจมกี ารปรบั เพิ่มหรือลด เนือ้ หา
สาระ กจิ กรรม สื่อ และวธิ ีประเมินผล หลังจากสอนไปสกั ระยะ ซง่ึ ครูสามารถ
ยดื หยุ่นได้ตามความเหมาะสม
แนวทางท่ี 6 : สมรรถนะชีวติ ในกจิ วตั รประจาวนั
การส่งเสรมิ สมรรถนะหลักขณะผู้เรยี นปฏิบัตกิ จิ วัตรประจาวันเป็ นวิธีการส่งเสรมิ
สมรรถนะอย่างเป็ นธรรมชาตแิ ละช่วยปลกู ฝังให้สมรรถนะดงั กล่าวมคี วามม่ันคงถาวรจาก
การปฏิบัตเิ ป็ นประจาทกุ วันอกี ด้วย
ลกั ษณะ
สมรรถนะชีวติ ในกจิ วตั รประจาวนั เป็ นการสร้างสรรคก์ ารเรียนรูอ้ ยา่ งสอดคล้อง
สมั พนั ธก์ บั การดาเนินชีวิตประจาวนั ปกตขิ องนักเรียน สอดคล้องกบั กจิ กรรมตา่ งๆ ทม่ี ักเกดิ
ในโรงเรียน นับเป็ นการฝึ ก/ พฒั นาสมรรถนะน้ันๆ ไดอ้ ยา่ งซา้ ๆ อกี ทงั้ เป็ นไปตามธรรมชาติ
ปกตขิ องชวี ติ นักเรยี น ทจ่ี ะมีความยดื หยนุ่ และทา้ ทายทจ่ี ะเผชญิ สถานการณต์ ามธรรมชาติ
ของชวี ิต และเม่ือฝึ กพฒั นาสมรรถนะน้ันๆไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และผ่านสถานการณต์ า่ งๆ
ผูเ้ รียนจะคอ่ ยๆ มีสมรรถนะน้ันๆ อยา่ งแทจ้ ริง สามารถนาความรู้ ทกั ษะ และ ประสบการณ์
ไปใช้ในสถานการณต์ า่ งๆ ในการดาเนินชีวิตจริง
ข้นั ตอนการดาเนินการ
1.ขนั้ เตรยี มการ
1.1 สารวจกิจวตั รประจาวนั ของผ้เู รยี นซ่งึ มที งั้ กจิ วตั รทเี่ ป็ นรายวนั รายสปั ดาห์ รายเดอื น รายภาค และราย
ปี จดั ทาเป็ นรายการไว้
1.2 จดั ทารายละเอยี ดของกจิ กรรมทท่ี าในกจิ วัตรต่าง ๆ โดยเริม่ ตน้ ทาไปทลี ะกจิ วตั รดงั นี้
1) ระบุจดุ ประสงค์หลักของกจิ วตั รน้ัน
2) พจิ ารณาว่าสมรรถนะอะไรท่สี ามารถนามาเพมิ่ เตมิ เพ่ือช่วยให้ทากจิ วตั รน้ันได้ดขี ึน้ (สามารถใช้รายการ
สมรรถนะช่วยในการวเิ คราะห์ ตรวจสอบ)
3) นาสมรรถนะทเ่ี พมิ่ ไปเตมิ ในจุดประสงค์ข้อ ๑
1.3 กาหนดสาระ ( K ) ทักษะ ( P ) และคุณลักษณะ ( A ) รวมท้งั ตวั ชีว้ ดั ของ KPA ที่จาเป็ นต่อการเสริมสร้าง
สมรรถนะทต่ี ้องการ เพ่ือใช้เป็ นแนวทางในการจดั การเรียนรู้
ข้นั ตอนการดาเนินการ
1.ขัน้ เตรียมการ
1.4 จดั ทาเอกสารความรูเ้ สริมสาหรับครูเน่อื งจากการดแู ล ตดิ ตาม กากับพฤติกรรมของผเู้ รียนน้นั ไมไ่ ดเ้ ป็ นหน้าทขี่ องครูประจาชน้ั เพยี งผู้
เดียว แต่เป็ นหน้าทข่ี องครูทุกคนทจี่ ะตอ้ งเอาใจใสด่ แู ล สมรรถนะหลายสมรรถนะอาจไมไ่ ดอ้ ยู่ในความชานาญของครูทุกคน ดังนั้น ครูทม่ี ี
ความรู้ ความเข้าใจทเ่ี กย่ี วข้อกบั สมรรถนะนน้ั ๆ จงึ ควรจดั ทาเอกสารใหค้ วามรูเ้ สริมแก่ครูคนอนื่ เพอื่ ใหม้ คี วามเข้าใจตรงกนั ในประเดน็ ที่
ตอ้ งการเสริมใหแ้ ก่ผู้เรยี น ดงั นัน้
ครูทกุ คนจงึ มตี ัวชว่ ยในการร่วมกนั พฒั นาผู้เรียนใหไ้ ปในทศิ ทางเดยี วกัน
กจิ กรรมประจาวันทนี่ ักเรยี นทาเป็ นประจามกั เป็ นการกระทาทท่ี าเหมอื น ๆ กนั และซา้ ๆ กนั ไมว่ ่าจะเรียนในระดับใด ทาใหน้ ักเรียน
ไมไ่ ด้มกี ารเรยี นรู้เพม่ิ ขึน้ ดงั นน้ั จงึ ควรทค่ี รูจะตอ้ งร่วมกนั คิดวา่ ในแตล่ ะระดบั ชั้นหรอื ชว่ งช้ัน นักเรียนควรจะต้องมสี มรรถนะเพม่ิ ขึน้ คอื
สามารถดูแล รกั ษาวนิ ัยของหมคู่ ณะได้ ซงึ่ หมายถึงการทน่ี ักเรยี นจะตอ้ งมสี มรรถนะอน่ื ๆ เพม่ิ ขึน้ เช่น การสังเกต การปฏสิ มั พนั ธก์ ับ
บุคคลและหมคู่ ณะ การสอ่ื สารอย่างเหมาะสม และการแก้ปัญหาต่าง ๆ ประจาวัน
ข้นั ตอนการดาเนนิ การ
2.ข้ันปฏิบัตกิ ารซ่อมเสรมิ สมรรถนะ
2.1เรมิ่ ตน้ จากการสารวจพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตกิ จิ วัตร
ของผู้เรียนเป็ นรายบุคคลโดยใช้รูบริกสเ์ ป็ นเคร่ืองมือ
2.2 วิเคราะหข์ ้อมูลจากผลการสารวจ พฤตกิ รรมใดที่
ผู้เรยี นยงั ไม่ไดป้ ฏิบัติ หรือปฏิบัตแิ ต่ไม่มคี ุณภาพ หรือ
ปฏิบัตแิ ต่ไม่สม่าเสมอ ตวั อย่างเช่น ในกิจวัตรการเคารพ
ธงชาตใิ นตอนเช้าของทุกวัน อาจพบว่านักเรยี นจานวนไม่
น้อยยังจาเนือ้ เพลง และร้องเพลงชาตไิ ม่ได้
ข้นั ตอนการดาเนินการ
2.3 นาผลการวเิ คราะห์ข้อมูล มาออกแบบการจดั กจิ กรรมเพื่อซ่อมหรือเสริมสมรรถนะ
1) ในกรณีท่มี ีพฤตกิ รรมที่เป็ นปัญหาร่วมของผู้เรียนซึ่งอาจจะเป็ นพฤตกิ รรมท่ตี ้องซ่อมหรือเสริมเพม่ิ เตมิ แล้วแต่
กรณี ให้ครูออกแบบกจิ กรรมซ่อม หรือเสริมการเรียนรู้ในเรื่องน้นั โดยอาจสอนในช้ันเรียนในกลุ่มสาระทีเ่ กีย่ วข้อง
หรือจดั ในเวลาของกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนหรืออาจจะนัดหมายเรียนนอกเวลา หรืออาจจะใช้กลยุทธ์ให้เพื่อนสอน
เพื่อน ซึ่งในการดาเนินการนีค้ รูสามารถใช้ประโยชน์จากเอกสาร สาระ ทกั ษะ และคุณลกั ษณะที่จาเป็ นต่อการพฒั นา
สมรรถนะ ซ่ึงได้จดั ทาไว้ตามทรี่ ะบุไว้ใน ข้อ 1.3) ของข้นั ดาเนินการ
ข้นั ตอนการดาเนินการ
2.3 นาผลการวเิ คราะห์ข้อมูล มาออกแบบการจดั กิจกรรมเพ่ือซ่อมหรือเสริมสมรรถนะ
2) ในกรณที เ่ี ป็ นปัญหารายบุคคล ครูอาจใช้การแนะนาหรือสอนเป็ นรายบุคคล หรือ ให้เพื่อนช่วยเพื่อน หรือให้ผ้เู รียน
ดาเนินการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูเป็ นท่ีปรึกษา
ท้ังนีค้ รูควรเก็บข้อมูลของนักเรียนเป็ นรายบุคคล เพ่ือช่วยให้เห็นภาพรวมของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งสะท้อนจดุ อ่อน จดุ
แขง็ ของนักเรียน และช่วยให้รู้ว่าควรให้การดูแลตดิ ตามและกากบั นักเรียนคนใดในเรื่องใด เพ่ือช่วยให้ไม่เป็ นภาระมาก
สาหรับครู ครูสามารถจดั ระบบให้นักเรียนเป็ นผู้เกบ็ ข้อมูล และตดิ ตาม กากับพฤตกิ รรมของกันและกัน โดยครูควรมกี าร
ตดิ ตามผลเป็ นระยะ ๆ และมกี ารสุ่มตรวจสอบตามความเหมาะสม
แนวทางที่ 7 การเรียนรู้สมรรถนะแบบผสมผสาน..ลกั ษณะ
• เป็ นการสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้สมรรถนะในหลากหลายรูปแบบผสมผสานกัน (Hybrid Competency Learning)
• พิจารณาในบริบทของทบี่ า้ นและโรงเรียน ความพร้อมของนักเรียน ผู้ปกครอง และครูผู้สอน มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ
สถานการณแ์ ละเหตุการณใ์ นชวี ิตจริง
• ออกแบบภายใต้ขอ้ จากดั ทตี่ ้องมีความยดื หยนุ่ และยงั คงทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ทส่ี ามารถพฒั นาสมรรถนะของผู้เรียน
• ใหค้ วามสาคัญกับการบรู ณาการเรียนรู้ในสถานการณท์ มี่ ีความเหมาะสม และสามารถผสมผสานวิธกี ารเรียนการสอนไดห้ ลาก
หลากหลาย
• ช่วยใหค้ รูเปลี่ยนมุมมองและสามารถออกแบบการเรียนรู้ในสถานการณใ์ หม่ ภายใต้ขอ้ จากัดตา่ ง ๆ และมีความสมั พันธก์ บั บริบท
และชีวิตจริงของผู้เรียน ทง้ั ทบ่ี ้านและโรงเรียน เกดิ เป็ นสมรรถนะทม่ี ีฐานของความเป็ นจริงในชีวิตประจาวัน
แนวทางที่ 7 การเรียนรู้สมรรถนะแบบผสมผสาน..ข้ันตอน
1.ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนที่มคี วามเป็นไปได้ เมื่อเกิดสถานการณ์ตา่ ง ๆ On Site On Air Online On On Hand
2.สารวจความพร้อมและบรบิ ทของทบี่ า้ นและโรงเรียน พรอ้ มเลอื กแนวทางการจดั การเรยี นการสอนท่ีมีความเปน็ ไปไดแ้ ละมีความเหมาะสม
3.ศึกษากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน กาหนดผลลัพธก์ ารเรยี นรู้
4.กาหนดบทเรียน กจิ กรรมการเรียนรู้ พื้นทีก่ ารเรียนรู้ และสิ่งสนบั สนนุ ในการเรยี นรู้และพัฒนาสมรรถนะของผู้เรยี น
5.วเิ คราะห์สถานการณ์จริงตามบริบทท่บี า้ นและโรงเรยี น เพื่อกาหนดประเด็นทีส่ ามารถจดั ให้เป็นจุดเน้นให้ผู้เรยี นได้พฒั นา
6.ออกแบบแนวทางการพัฒนาผ้เู รยี นรว่ มกนั ระหว่างบา้ นและโรงเรยี น โดยกาหนดผลลพั ธ์การเรยี นร้ทู ตี่ อ้ งการ และจดั ใหม้ คี วามยดื หยุน่ ในวิธีการ
และเวลาทใ่ี ช้ในการดาเนนิ การแตล่ ะกจิ กรรม
7.กาหนดแนวทางการประเมนิ สมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นในแนวทางท่มี คี วามหลากหลายตามสภาพจริงโดยเป็นการประเมิน ร่วมกันระหว่างบ้าน
และโรงเรียน โดยอาจเป็นการสะท้อนการเรยี นรู้ การเขียนบันทึกประจาวัน การสะท้อนจากมุมมองหรือความคิดเห็นของผู้ปกครอง ครู หรือผู้ที่
เก่ียวข้อง
แนวทางท่ี 8 การเรียนการสอนฐานสมรรถนะเพือ่ ร่วมกนั พฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนท้งั โรงเรียน โดยใช้ประเด็นการ
เรียนรู้ร่วมกัน (Whole - School Learning)..ลกั ษณะ
• การสง่ เสริมสมรรถนะหลักของผู้เรียนสามารถทาได้ทัง้ ในหอ้ งเรียน นอกหอ้ งเรียน นอกโรงเรียน ทบ่ี ้าน ในชุมชน อีกท้งั ผ่านการ
ปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจาวัน
• แนวนี้เป็ นการเรียนรู้จากเร่ืองราว/ประเด็น/เนื้อหา/ ต้นทนุ ของโรงเรียนหรือชุมชน / บทเรียนท่มี ีความหมายร่วมกันทเ่ี ป็ นจุดเน้น
สาคญั ของโรงเรียน และนาสกู่ ารพฒั นาผู้เรียนทงั้ โรงเรียน (Whole - School)
• มีการกาหนดสมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา ออกแบบสาระการเรียนรู้ และงานการเรียนรู้ทเี่ หมาะสมกบั นักเรียนทกุ ช้นั ทกุ กลุ่ม ตามลักษณะ
พนื้ ฐานความรู้ทม่ี ีระดบั พฒั นาการ และประเดน็ ทเี่ ป็ นความสนใจทง้ั รายบคุ คล รายกลมุ่ และชนั้ เรียน
• ทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้ในเร่ืองเดียวกัน แตต่ ่างกนั ในประเด็นยอ่ ย และความลมุ่ ลึกในสิ่งทเ่ี รียน สง่ ผลต่อการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ แบ่งปัน
ประสบการณร์ ะหว่างกนั เกดิ การเรียนรู้เชงิ ลกึ
• แนวนี้สามารถเช่ือมโยงความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่ได้เรียนรู้ไปใช้ได้จริงผ่านสถานการณห์ ลากหลายท้ังในห้องเรียน นอก
หอ้ งเรียน และชีวิตจริง ช่วยปลูกฝังสมรรถนะสาคญั ต่อการดารงชีวิตประจาวันใหเ้ กดิ ขึน้ อยา่ งย่งั ยืน
แนวทางที่ 8 การเรียนการสอนฐานสมรรถนะเพ่ือร่วมกนั พฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนท้ังโรงเรียน
โดยใช้ประเด็นการเรียนรู้ร่วมกัน (Whole - School Learning)..ข้ันตอน
1.ศึกษากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน
2.สารวจส่ิงทเ่ี ป็ นประเด็นร่วมทเี่ ป็ นจดุ เน้นสาคญั ของโรงเรียน โดยเปิ ดโอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วข้องทกุ สว่ นมีสว่ นรว่ มในการคัดเลือก
3.กาหนด บทเรียน/หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ย สาหรับผู้เรียนแตล่ ะชน้ั แตล่ ะกลุ่ม ตลอดจนกิจกรรม/งานการเรียนรู้ท่ที ุกกลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน
และกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4.ร่วมกันออกแบบบทเรียน/หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ยทม่ี ีลกั ษณะบูรณาการ สาหรับผู้เรียนแต่ละชั้น แต่ละกลุ่ม โดยเน้นใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้
เชิงรุก ผ่านรูปแบบการเรียนรู้ต่าง ๆ ท้ังในหอ้ งเรียน นอกห้องเรียน นอกโรงเรียน ท่ีบ้าน ในชุมชน อีกท้ังผ่านการปฏิบัติกิจวัตร
ประจาวัน กิจกรรมชุมนุม ชมรม กิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมพิเศษต่าง ๆ ที่เช่ือมโยงกับประเด็นร่วมท่ีกาหนด โดยแต่ละ
บทเรียน/หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ยกาหนดรายละเอยี ด เก่ียวกับ จุดเน้น สาระสาคัญ สมรรถนะที่ต้องการพัฒนา ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ สาระ
การเรียนรู้ กลยุทธ/์ หลกั การการจัดการเรียนรู้ งานการเรียนรู้ และแนวทางการวัดและประเมินผล
5.ผู้เก่ยี วขอ้ ง ทง้ั ครูผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ ผู้ปกครอง และผู้รู้ในชุมชนร่วมกนั พฒั นาสมรรถนะผู้เรียน วัดและประเมินผลสมรรถนะ ซ่อม
เสริม เติมเต็ม ร่วมกันถอดบทเรียน และนาขอ้ มูลมาปรับปรุงพัฒนางาน
COMPETENCY BASED EDUCATION
A SHIFT FROM
KNOWLEDGE TO ACTION
135
เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ