The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-07 03:04:51

วารสารวิทยาจารย์ ปีที่ 117 ฉบับที่ 1 เดือนพฤศจิกายน 2560

1 วิทยาจารย์ พฤศจิกายน 2560

บทบรรณาธิการ

สวัสดีเพ่ือนครูและผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาทุกท่านครับ (ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธ)ิ์
ขอต้อนรับเข้าสู่ฉบับแรกของปีที่ 117 ของวารสารวิทยาจารย์ วารสาร บรรณาธกิ าร
เพ่ือวิชาชีพครูท่ียืนหยัดอยู่คู่กับผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษามายาวนาน
นับศตวรรษ ย้อนไปเม่ือ พ.ศ. 2443 มีการจัดตั้งสภาส�ำหรับอบรมครู
เรียกว่า “สภาไทยาจารย์” และ ออก “วารสารวิทยาจารย์” ฉบับแรก
ในเดอื นพฤศจกิ ายน ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2447 ไดเ้ ปลยี่ นสภาไทยาจารย์ จดั ตง้ั เปน็
“สามัคจารย์สมาคม” มีการจัดส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาการให้แก่สมาชิก
เปน็ ประจำ� ซง่ึ สมาชกิ ในตา่ งจงั หวดั จะไดร้ บั ความรผู้ า่ นทางวารสารวทิ ยาจารยน์ ้ี
ปจั จบุ นั วารสารวทิ ยาจารยไ์ ดม้ กี ารพฒั นาปรบั ปรงุ รปู เลม่ และเนอื้ หา
ให้สนองตอบต่อความต้องการของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษามากขึ้น
มสี าระความรทู้ างดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี เพอื่ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
ไดแ้ ก่ บทความวชิ าการ ผลงานวจิ ยั อกี ทง้ั บทความสาระอน่ื ๆ ในแวดวงวิชาชีพ
ทางการศกึ ษา ขอขอบคณุ สมาชกิ ทกุ ทา่ นจากใจทส่ี นบั สนนุ วารสารวทิ ยาจารย์
และร่วมสืบสานมรดกทางวิชาชีพครูต่อไป หากสมาชิกท่านใดมีข้อแนะน�ำ
หรอื ตชิ ม สามารถสง่ ผา่ นกนั เขา้ มานะครบั เพอื่ พฒั นาวารสาร วทิ ยาจารย์
ให้เป็นวารสารเพ่ือ “คร”ู อยา่ งแทจ้ รงิ
ทา้ ยนี้ ขอให้เพอ่ื นครูทกุ ทา่ นมพี ลงั ในการทำ� งาน ร่วมกันขับเคล่อื น
คุณภาพทางการศึกษา เพื่อเยาวชนของชาติท่ีจะไปช่วยสร้างอนาคตให้กับ
ประเทศไทยของเราอยา่ งมนั่ คงกนั ครบั และตอ้ งขอขอบพระคณุ สมาชกิ ทกุ ทา่ น
ที่ให้ความสนใจต่ออายุสมาชิกในเดือนท่ีผ่านมา พบกันใหม่ฉบับหน้า
สวัสดคี รับ

ขอเชิญร่วมส่ง

บทความ เร่ืองสั้น บทกวี
เกี่ยวกับการประกอบวิชาชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

เพ่อื เผยแพรใ่ นวารสารวิทยาจารย์ โดยสามารถส่งผลงาน ได้ดังนี้

1. e-mail : [email protected]
2. ไปรษณีย์ : กองบรรณาธิการวารสารวทิ ยาจารย์ สำ�นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา

128/1 ถนนนครราชสมี า แขวงดสุ ติ เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300
3. โทร. / โทรสาร : 0 2282 1308

ผลงานท่ีสง่ มาน้ัน ตอ้ งมิไดล้ อกเลียน ดัด แปลงงานของผูอ้ ืน่
ผลงานท่ีได้รบั คัดเลือกเผยแพร่ จะไดร้ บั ค่าตอบแทนตามทก่ี องบรรณาธกิ ารก�ำ หนด

วิทยาจารย์ 1

วารสารเพอ่ื การพัฒนาวิชาชีพครู ปีที่ 117 ฉบบั ท่ี 1 เดือนพฤศจกิ ายน 2560

15 29 บริหารการศกึ ษา...

ขอ้ สอบแบบเตมิ ค�ำ

34 วิชาการอา่ นง่าย...

ปฏริ ปู การศึกษา : กา้ วใหถ้ ูกทาง

38 พทุ ธศาสนา

วาทะพระบรมครู เรอ่ื ง ธรรมทเี่ ราแสดงไวด้ แี ลว้
ตอนที่ 1

01 บทบรรณาธกิ าร... 42 บทความวิชาการ
04 สกู๊ปพิเศษ...
การเมอื งในสถานศกึ ษา
รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจักรี คร้ังที่ 2 ปี 2560
ตอนท่ี 2 49 รายงานการวจิ ัย
65 ประสบการณ.์ ..

บนั ทกึ ถึงดวงดาว 86
10 นิเทศการศึกษา
69 บทความพเิ ศษ...
ยอ้ นรอยอดตี ศึกษานเิ ทศก์ เม่ือคราแรกเริ่ม
อาจารยเ์ ปล้อื ง ณ นคร จากโรงเรยี นประชาบาลถึงการศกึ ษาไทย 4.0
ตอนที่ 2
15 โรงเรยี นดี โครงการเดน่ ...
19
“โครงการภาคสี งั คมศกึ ษา”
ของคณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

19 เรียนรอบตัว...

กระบวนทศั นก์ ารจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพ่ิมเวลารู้ “STARs 5H Model” ของโรงเรยี น
อนุบาลพระสมทุ รเจดีย์ จังหวดั สมทุ รปราการ
ตอนที่ 1

25 เรื่องส้ัน

ผพู้ ลัดหลงไปกบั กาลเวลา

2 วทิ ยาจารย์

72 หอ้ งเรียนวิชาการ กองบรรณาธิการ

Thailand 4.0 โมเดล พิมพ์เขยี วขบั เคลอ่ื นประเทศไทย ท่ปี รกึ ษา :
สคู่ วามม่งั คงั่ ม่นั คง และยัง่ ยนื ตอนท่ี 2
คณะกรรมการคุรุสภา
77 วิจัยนา่ รู้ ดร.บูรพาทศิ พลอยสุวรรณ์
82 หนงึ่ โรงเรียน หนงึ่ นวตั กรรม ดร.ทนิ สิริ ศริ ิโพธ์ิ
89 ดรรชนกี ีฬา... นายไพบลู ย์ เสยี งก้อง
นางสาวจไุ รรัตน์ แสงบญุ นำ�
‘โปรเม’ มอื 1 โลก สมศักดศ์ิ รี ผงาดคว้าแชมป์ นายธีรวุฒิ ทองโอษฐ์
นายดำ�รง พลโภชน์
93 พชิ ิตการออม... นายยุทธชยั อตุ มา

ออมในกองทุนใหเ้ งินงอกเงย ผูท้ รงคุณวฒุ /ิ นักวิชาการประจ�ำ :
ฉบับปจั ฉมิ บทมนษุ ย์เงินเดอื นลงทนุ LTF
ศ.กิตตคิ ณุ สมุน อมรวิวัฒน์
97 IT Hero... รศ.ดร.วิชยั วงศใ์ หญ่
รศ.ดร.สนานจิตร สุคนธทรัพย์
E-Sports อาชีพเทรนดใ์ หม่ ในฝันเด็กไทย รศ.ดร.สมศกั ด์ิ คงเท่ยี ง
รศ.ดร.พรพพิ ัฒน์ เพิ่มผล
100 วิชาการบนั เทิง รศ.ดร.กล้า ทองขาว
รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์
เสริมแรงใหก้ บั คุณครู รศ.ดร.มนสชิ สทิ ธสิ มบรู ณ์
ดร.ประพัฒนพ์ งศ์ เสนาฤทธิ์
103 ดร.ปฐมพงศ์ ศภุ เลิศ
ดร.จกั รพรรดิ วะทา
103 ตระเวนเท่ียว ดร.พลสัณห์ โพธศ์ิ รีทอง

ค้นตาํ นานทาร์ตไข่ เมอื งมาเกา๊ บรรณาธิการ : ดร.สมศักดิ์ ดลประสทิ ธิ์

110 ย�ำสามกรอบ... หวั หนา้ กองบรรณาธกิ าร :
นางราณี จีนสทุ ธิ์
117 ปี วทิ ยาจารย์ ! จะไปต่อ หรอื รอเข้าพพิ ธิ ภัณฑ์ รองหัวหนา้ กองบรรณาธกิ าร :
นายจันทรย์ งยุทธ บุญทอง
วารสารวิทยาจารย์ ประจ�ำ กองบรรณาธกิ าร :
กองบรรณาธกิ าร/ฝ่ายสมาชิก โทร./โทรสาร 0 2282 1308 นางภัทราวรรณ ประกอบใน
ที่อยู่ 128/1 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสิต เขตดุสิต กรงุ เทพ 10300 นางจริ ภฎา ทองขาว
e - mail : [email protected] นางสาววินีตา รงั สิวรารกั ษ์
นางสาวธัญรตั น์ ศริ ิเมฆา
นางสาววรวรรณ พรพิพัฒน์
นายวชั รพล เหมืองจา
นายทรงชยั ชนื่ ลว้ น

ประสานงานฝ่ายผลติ :

นางภัทราวรรณ ประกอบใน
นางจิรภฎา ทองขาว

ศิลปกรรม/รปู เลม่ /จัดพิมพ์ :

บรษิ ัท ออนปา้ จ�ำ กดั
111/1 อาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3
แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม
กรุงเทพมหานคร 10120
โทร. 0 2689 1056
โทรสาร 0 2689 1081
www.onpa.co.th

วิทยาจารย์ 3

รางวัลสมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหาจักรี

ครั้งที่ 2 ปี 2560
เพราะครคู ณุ ภาพ สร้างคนคณุ ภาพ

สกู๊ปพเิ ศษ

ตอนท่ี 2

4 วทิ ยาจารย์

ประเทศเนการาบรไู นดารสุ ซาลาม

มาดาม ลมิ ซง โงว

ผคู้ ้นหาแววและดงึ ศักยภาพลกู ศษิ ย์
เป็นรายบุคคล เพอื่ ให้นกั เรียนทกุ คน
มตี ัวตนในช้ันเรียน

ครลู มิ วยั 52 ปี จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรดี า้ นวทิ ยาศาสตร์ เคมี และคณติ ศาสตร์ ศกึ ษาตอ่ ระดบั
ปรญิ ญาโทดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ เรมิ่ ทำ�หนา้ ทเ่ี ปน็ ครสู อนวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป ทโี่ รงเรยี นระดบั
มัธยมศึกษา 4 แหง่ ต้ังแต่ปี 2533 - 2548 และดว้ ยการสอนท่ีสง่ ผลให้ลูกศิษย์มผี ลการเรียนทดี่ ี จงึ ได้โอนไป
สอนวชิ าเคมี ระดบั A-level ท่ี Duli Pengiran Muda Al-Muhtadee Billah College ในปี 2549 จนถึงปัจจบุ ัน
นอกจากนี้ ยงั ทำ�หน้าทเี่ ป็นครพู ่ีเลยี้ งใหค้ ำ�ปรกึ ษาการพฒั นาบุคลากรดา้ นวิชาชพี แกค่ รใู นวิทยาลยั รวมท้งั
ระดบั อำ�เภอและประเทศ รวมประสบการณท์ ำ�งาน 27 ปี ด้วยความมงุ่ ม่นั เสียสละในการสอน และบทบาท
ที่โดดเด่นในวิชาชีพครู ทำ�ให้ได้รับรางวัล Excellent Service Medal ในปี 2554 และรางวัลเกียรติยศ
Excellent Award ในปี 2555 จากสุลตา่ นแหง่ บรไู นดารุสซาลาม

จากประสบการณใ์ นวยั เรยี นทเ่ี ปน็ นกั เรยี นระดบั ปานกลางทำ�ใหไ้ มเ่ ปน็ ทส่ี นใจของครูจนมาวนั หนง่ึ ไดม้ าพบ
กบั ครทู เ่ี หน็ คณุ คา่ “I have value I am somebody.” จงึ เปน็ จดุ เปลย่ี นและตง้ั ปณธิ านวา่ จะเปน็ ครทู ใ่ี หเ้ ดก็ ทกุ คน
มตี วั ตนในชนั้ เรยี น และดว้ ยประสบการณส์ อนทห่ี ลากหลายทงั้ ในระดบั ม.ตน้ และม.ปลาย ทำ�ใหเ้ ขา้ ใจปญั หา
เชงิ พฤตกิ รรมของนกั เรยี นในแตล่ ะชว่ งวยั พรอ้ มกบั ใหค้ วามสำ�คญั กบั ลกู ศษิ ยท์ กุ คน วชิ าเคมจี งึ กลายเปน็ วชิ า
ทลี่ กู ศษิ ยช์ นื่ ชอบและเปดิ ใจทจ่ี ะเรยี นรู้ เพราะไมม่ กี ำ�แพงระหวา่ งครกู บั ศษิ ย์ นอกจากนรี้ ปู แบบการสอนของ
ครลู มิ เนน้ การพฒั นาทกั ษะความคดิ และทกั ษะทางสงั คม จงึ ใหน้ กั เรยี นทำ�งานเปน็ กลมุ่ เพอื่ ใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธ์
ร่วมกัน แก้ไขปัญหาร่วมกัน รู้จักต้ังคำ�ถาม ซึ่งคุณสมบัติท่ีดีของครูคือต้องสามารถประเมินการเรียนรู้ของ
นกั เรยี นแตล่ ะคนและรวู้ า่ จะดึงทกั ษะของเขาออกมาใช้อย่างไร



มนี กั เรยี นคนหนง่ึ เปน็ เดก็ เรยี นรชู้ า้ ดฉิ นั จดั ใหเ้ ดก็ คนนอี้ ยเู่ กรด ‘อ’ี คอื มคี วามยากลำ� บาก
ในการเรียนรู้ จึงใชว้ ิธสี อนแบบตวั ตอ่ ตัวในช่วง 2 - 3 เดือนแรก และเดก็ คนนกี้ ็สร้าง
ความประหลาดใจใหก้ บั ทกุ คนดว้ ยการไดเ้ กรด ‘เอ’ ในการสอบ A-level ประสบการณน์ ้ี
ท�ำให้เรียนรูว้ า่ แทท้ จี่ รงิ แล้ว เดก็ คนนี้ไมใ่ ชเ่ ด็กท่ีเรยี นชา้ การที่เขามปี ัญหาอปุ สรรค
ในการเรยี นชว่ งแรกเพราะเขาไมม่ พี น้ื ฐานทด่ี ี การชว่ ยสอนแบบตวั ตอ่ ตวั ท�ำใหเ้ ขา
มพี น้ื ฐานการเรยี นทดี่ แี ละเขม้ แขง็ ขนึ้ ในฐานะครจู �ำเปน็ ตอ้ งคน้ หาแววของเดก็ ท�ำให้
เด็กน�ำทกั ษะของเขาออกมาใช้



วทิ ยาจารย์ 5

ประเทศกัมพูชา

ครดู ี โส พอน

ครผู มู้ งุ่ มน่ั จะเปน็ ครู ผใู้ ชค้ วามรกั
และความทุ่มเทในการสอน
เพราะเชื่อว่าการศึกษาจะช่วย
สร้างอนาคตของลูกศษิ ย์ และ
อนาคตของประเทศ

ครดู ี โส พอน วยั 40 ปี ดว้ ยความฝนั อยากเปน็ ครตู ง้ั แตว่ ยั เดก็ เพราะตอ้ งการใหเ้ ดก็ มคี วามรู้
เปน็ คนดีและมชี วี ติ ทด่ี ใี นอนาคตจงึ ตง้ั ใจสอบเปน็ ครูโดยจบการศกึ ษาปรญิ ญาตรีวชิ าเอกภาษาองั กฤษ
ทม่ี หาวทิ ยาลยั พนมเปญ ฝกึ อบรมครปู ระถมศกึ ษาทศ่ี นู ยฝ์ กึ อบรมครขู องกมั ปง เฌอนาง ฝกึ อบรมครู
พน้ื ฐานจากศนู ยฝ์ กึ อบรมครฮู นุ เซน และฝกึ อบรมทำ�สอื่ การสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ เรมิ่ ตน้ วชิ าชพี
ครูทโี่ รงเรียนประถม Punlay Primary School เมอื่ ปี 2539 ต่อมา ปี 2542 ยา้ ยไปเป็นครสู อน
ป.6 ที่ Kumroukrong Primary School ผลสำ�เร็จจากการทำ�งานของความเป็นครูมา 20 ปี
จึงได้รับเหรียญเงิน เหรียญทองแดง และได้รับรางวัลสมเด็จเดโช Somdach Decho Award
Number 1 ในปี 2560

ครูดี สร้างบรรยากาศการสอนให้เป็น “ห้องเรยี นแห่งความสุข” โดยใหค้ วามรักแกเ่ ดก็
อยา่ งเทา่ เทยี มกนั ทำ�ใหน้ กั เรยี นมแี ววตาของความสขุ กลา้ ยกมอื ตอบคำ�ถามเปน็ ภาษาองั กฤษ
ทมุ่ เทตอ่ การสอนโดยออกแบบการเรยี นรใู้ หส้ นกุ กระตนุ้ ความกลา้ ของเดก็ ทเ่ี รยี นออ่ นและลงรายละเอยี ด
เดก็ รายบคุ คล ทงั้ ชอื่ ของลกู ศษิ ย์ การจดั ทนี่ ง่ั ใหเ้ ดก็ เรยี นเกง่ และออ่ นใกลก้ นั ศกึ ษาพนื้ ฐานชวี ติ
ของเด็กและคอยติดตามช่วยเหลอื เพอื่ ใหม้ ีอนาคตทด่ี ี และเป็นกำ�ลงั คนที่สำ�คญั ของประเทศ

ผลสำ�เรจ็ ของนกั เรยี นพบวา่ ในแตล่ ะปมี นี กั เรยี นสอบผา่ นมากกวา่ 95% ลกู ศษิ ยบ์ างคน
ได้เรียนต่อต่างประเทศ ได้รับเหรียญจากการสอบระดับชาติและการแข่งขันระดับโลก ครูดี
เช่ือว่า



เดก็ จะประสบความสำ� เรจ็ ไดต้ อ้ งมี 3 องคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั คอื ครอบครวั
ท่ีช่วยสนับสนุนและเป็นแรงจูงใจ โรงเรียน โดยมีครูคอยช้ีแนะทั้งความรู้
และคณุ ธรรม และสงั คม ทอี่ ยใู่ กลช้ ดิ เดก็ และดงึ ดดู จติ ใจใหด้ ำ� เนนิ รอยตาม



6 วทิ ยาจารย์

ประเทศสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี

ครูเอนชอน ระมนั

ครูนักพัฒนาการศึกษาของ
ประเทศอนิ โดนเี ซีย และผสู้ ร้าง
แรงบันดาลของความเป็นครู

ครเู อนชอน วยั 47 ปี เกดิ ทเ่ี มอื ง Majalengka เขตชวาตะวนั ตก จบการศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั
Pasundan จังหวดั บนั ดงุ ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสงั คมศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษา
ที่ Mekarwangi Public Elementary School ครผู เู้ ปน็ แรงบนั ดาลใจแกค่ รอู นื่ ๆ ในชวาตะวนั ตก และมบี ทบาท
ในการพฒั นาระบบการศกึ ษาของอนิ โดนเี ซยี โดยเปน็ ครวู ทิ ยากรฝกึ อบรมโรงเรยี นระดบั มาตรฐานของประเทศ
ฝกึ อบรมเพอ่ื จดั ทำ�หลกั หลกั สตู รแกค่ รใู หญโ่ รงเรยี นทที่ ำ�หนา้ ทค่ี รผู สู้ อน และมผี ลงานเขยี นเผยแพร่ อาทิ
เรอื่ งสนั้ บทความทางการศกึ ษา ตำ�ราเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา 6 เลม่ หนงั สอื สงั คมศกึ ษา 2 เลม่ เปน็ ตน้
ความโดดเด่นด้านการสอนและนักพัฒนาระบบการศึกษาของครูเอนชอน จึงได้รับรางวัล
ครผู ูส้ อนดีเด่นในระดับชาติ จัดโดยกระทรวงศกึ ษาธิการและวฒั นธรรมของประเทศอนิ โดนีเซยี



ผมเชื่อว่าอาชีพครูเป็นอาชีพที่ดี ผมมีแรงบันดาลใจในการท�ำงานกับเด็ก
และวงการศึกษา ถือเป็นแรงผลักดันท�ำให้ผมท�ำทุกอย่างเพื่ออุทิศชีวิต
ใหก้ บั การศกึ ษาและการเรียนการสอน



ซงึ่ บางครงั้ พบปญั หาการสอนกจ็ ะแกป้ ญั หาดว้ ยการทำ�วจิ ยั เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจปญั หานนั้ อยา่ งถอ่ งแท้
มีการปรึกษาครูระดับอาวุโสและเพ่ือนครูด้วยกัน เยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อให้เข้าใจเด็กอย่างลึกซ้ึง
เพอ่ื นำ�มาพัฒนาแนวทางการเรียนรู้ของเดก็ เปน็ รายบุคคล
รางวลั ตา่ งๆ ทผ่ี มไดร้ บั ในฐานะครู ถอื เปน็ ความเปลย่ี นแปลงทท่ี ำ�ใหผ้ มเปน็ ผเู้ รยี นรทู้ ด่ี ี เรยี นรู้
ท่ีจะเปน็ ครูที่ดีขึน้ และเป็นคนทด่ี ขี นึ้ ”

วิทยาจารย์ 7

ประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

ครคู ูนวิไล เคนกติ สิ ัก

นั ก บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โ ร ง เ รี ย น ย อ ด เ ย่ี ย ม
ผหู้ ลอมรวมการมสี ว่ นรว่ มของครแู ละชมุ ชน
สง่ ผลการพฒั นานกั เรยี นอยา่ งมคี ณุ ภาพ

ครคู นู วไิ ล วยั 56 ปี จบการศกึ ษาโรงเรยี นฝกึ หดั ครวู งั เวยี ง กรงุ เวยี งจนั ทร์ ไดร้ บั ประกาศนยี บตั ร
วชิ าภาษาอังกฤษ จาก Dongkhamxang Teacher Training College เริม่ เป็นครปู ระถมเม่ือปี 2521 ที่
Donenokkum Primary School ปี 2524 ย้ายมาอยูท่ ีโ่ รงเรยี น Sokphaluang Primary School ปี 2541
มาเป็นครูใหญท่ ี่ Thongkang Primary School กรงุ เวียงจนั ทร์
ครคู นู วไิ ลนบั เปน็ นกั บรหิ ารจดั การโรงเรยี นดเี ยยี่ มเนอื่ งดว้ ยโรงเรยี นประถมThongkangเปน็ โรงเรยี น
ขนาดเลก็ มคี รเู พยี ง7คนมจี ำ�นวนนกั เรยี นถงึ 326คนแตน่ กั เรยี นมผี ลการเรยี นทดี่ ีครคู นู วไิ ลเปน็ ผดู้ งึ ศกั ยภาพ
ของครทู กุ คน โดยครทู งั้ 7 คน ไดร้ ับรางวัลระดบั ประเทศ ครูคูนวิไล ใช้วิธบี ริหารจดั การโรงเรียนโดยดงึ
การมสี ว่ นรว่ มของครู ผปู้ กครอง และชมุ ชน ในทกุ ปจี ะมกี ารประชมุ ผปู้ กครองเพอ่ื เสนอแนวคดิ และแนวทาง
ในการพฒั นาโรงเรยี นรว่ มกันอย่างจริงจงั



ดิฉันฝันที่จะเป็นครูตั้งแต่เป็นเด็กประถม เพราะชอบเคร่ืองแบบที่สวยงาม และ
มองว่าครูเป็นคนคอยช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนโดยไม่ค�ำนึงว่า
จะเรยี นเกง่ หรอื ไม่ ครพู ยายามชว่ ยเหลอื ใหน้ กั เรยี นประสบความส�ำเรจ็ ในชวี ติ
จงึ เชอ่ื ม่นั ว่าจะมสี ว่ นท�ำส่ิงเหลา่ น้ีใหน้ ักเรียนทุกคนได้

” ดว้ ยประสบการณก์ ารสอน การฝกึ อบรมทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ รวมทง้ั การบรหิ ารจดั การ

โรงเรยี น ทำ�ใหค้ รคู นู วไิ ล มสี ว่ นสำ�คญั ในการเขยี นตำ�ราภาษาลาวสำ�หรบั เดก็ ประถม การสอนภาษาลาว
แกช่ นกลมุ่ นอ้ ย การประเมนิ ผลสำ�หรบั โรงเรยี นประถมศกึ ษา การมสี ว่ นรว่ มในการเขยี นและแกไ้ ขหนงั สอื
แนะนำ�การเรยี นการสอนแกเ่ ดก็ ประถม มบี ทบาทในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายและการออกพระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาของประเทศ นอกจากนยี้ งั ไดร้ ับรางวลั ครูทม่ี วี ิธีการสอนทีด่ ีท่ีสดุ ในระดบั อำ�เภอ จงั หวัด และ
ประเทศ รางวัลครูที่มีประสบการณ์ และครูที่มีความเชี่ยวชาญ โรงเรียนที่สอนได้เป็นโรงเรียนต้นแบบ
ดา้ นคณุ ภาพของกรงุ เวยี งจนั ทร์ รวมทง้ั ไดร้ บั ประกาศนยี บตั รชน่ื ชมจากรฐั บาลจำ�นวนหลายฉบบั ทส่ี ำ�คญั
คอื Victory Labor Medal จากรฐั บาล สปป.ลาว

8 วทิ ยาจารย์

ประเทศมาเลเซยี

ฮัจญะห์ ซารีปะ บินดี เอมิ บง

ครผู สู้ รา้ งนกั นวตั กรรมรนุ่ ใหม่ ดงึ ความรู้
ในหอ้ งเรยี นสกู่ ารแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั

ครฮู ัจญะห์ วัย 54 ปี เป็นครแู กนนำ� (Master Teacher) วิชาทกั ษะชีวิตแบบบูรณาการ มีประสบการณ์
การสอน 34 ปี จบการศึกษาประกาศนยี บัตรด้านการศกึ ษา ธรุ กจิ ศกึ ษา และปรญิ ญาตรีด้านโภชนาการและ
อาหารทม่ี หาวทิ ยาลยั มาเลเซยี Terengganu เรม่ิ เปน็ ครสู อนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทกั ษะชวี ติ แบบบรู ณาการ
และภมู ศิ าสตรท์ โี่ รงเรยี นมธั ยม Khairiah ตอ่ มายา้ ยมาสอนทโี่ รงเรยี นมธั ยม Marang ปี 2550 - ปจั จบุ นั สอนท่ี
โรงเรียนมัธยม Imtiaz Yayasan Terengganu สอนทักษะชีวิต คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์
เป็นหัวหนา้ หมวดวชิ าเทคนคิ และอาชวี ศกึ ษา ไดเ้ ป็นครแู กนนำ� ดา้ นทกั ษะชีวติ แบบบรู ณาการ
การสอนของครูฮัจญะห์ พยายามให้เด็กสร้างนวัตกรรมจากความรู้ในห้องเรียน ด้วยการกระตุ้น
เม่ือพบปัญหาในชีวิตประจ�ำวันเพ่ือเป็นโจทย์ท�ำโครงงานและใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหา จึงเกิด
ทีมนวัตกรรมในโรงเรียนชื่อว่า Al Fateh Inventors ซ่ึงประสบความส�ำเร็จทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ผลงานนวัตกรรมจากลูกศิษย์ เช่น “Dr. Duster” น�้ำยาท�ำความสะอาดสีเขียวท่ีมีส่วนผสมของมะพร้าวกับ
ว่านหางจระเข้ จากที่มาของการลบกระดานไวท์บอร์ด เพ่ือมาทดแทนการใช้แอลกอฮอล์ท่ีมีกลิ่นและมลพิษ
พรอ้ มกบั มกี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หใ้ ชง้ านงา่ ย จนไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทองคำ� ในการแขง่ ขนั นวตั กรรมสง่ิ ประดษิ ฐ์
ทก่ี รุงกวั ลาลัมเปอร์ และผลงาน “มหัศจรรย์ของสบเู่ อนกประสงค์” ทำ� จากใบเตยและน้�ำมนั ปาล์ม ได้รบั รางวัล
ทีห่ นึง่ เหรียญเงนิ ในการแขง่ ขันระดับนานาชาติท่ไี ตห้ วนั
รวมทงั้ การใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละแนวคดิ แบบสรา้ งสรรคม์ าออกแบบวชิ าทกั ษะการมชี วี ติ อยแู่ บบบรู ณาการ
เพ่ือยกระดบั คะแนนทดสอบของนักเรียน ทำ� ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทีด่ ีขึน้

“ครฮู จั ญะห์ ไดร้ บั รางวลั การปฏบิ ตั งิ านดเี ยย่ี ม (Excellent Service Award) ถงึ 6 ครง้ั

รางวัลครูนวัตกรรมชนะเลิศ (First Innovation Teacher Award) ปี 2554 และ
รางวลั ครเู กยี รตยิ ศ (Prestige Teacher Award) ในปี 2557 และครนู วตั กรรมดเี ดน่
ระดบั อ�ำเภอ ปี 2559

” อ่านตอ่ ฉบบั หนา้

วิทยาจารย์ 9

นิเทศการศึกษา

ธเนศ ข�ำเกิด

ย้อนรอยอดตี ศึกษานิเทศก์ เมอ่ื คราแรกเร่มิ

อาจารย์เปลือ้ ง ณ นคร

ปรมาจารยด์ า้ นภาษาไทย ทใ่ี ครๆ กร็ ู้จกั

ตอนผมรบั ราชการใหมๆ่ หนงั สอื วารสารในวงการศกึ ษาเลม่ แรกทผี่ มไดอ้ า่ นและตดิ ตามเปน็ ประจำ�
คือ “วิทยาสาร” ของสำ�นกั พมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ และหนงั สือ “ชัยพฤกษ”์ อีกเลม่ หนึง่ ต่อมา
จงึ มวี ารสารทางวชิ าการทหี่ นว่ ยงานตา่ งๆ จดั ทำ�ขน้ึ อกี หลายฉบบั เปน็ เวทใี หผ้ มไดเ้ ขยี นบทความ
สง่ ไปลงตีพิมพ์ไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง เชน่ วารสารพัฒนาหลกั สูตร วารสารวชิ าการ (กรมวิชาการ)
วารสารส่งเสริมเทคโนโลยี (สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย - ญ่ปี ่นุ ) มิตรครู มติครู ก้าวไกล
ประชาศกึ ษา วทิ ยาจารย์ จนั ทรเกษม สวนสวยโรงเรยี นงาม วจิ ยั สนเทศ วารสารราชมนู เปน็ ตน้
ตอ่ มาภายหลงั วารสารทางวชิ าการแทบทกุ ฉบบั ไดป้ ดิ ตวั ลง ยงั คงมวี ารสารวทิ ยาจารย์ ของครุ สุ ภา
ฉบบั เดียวที่ยังตพี มิ พใ์ หผ้ มไดเ้ ขยี นเป็นคอลมั นป์ ระจำ� และเขียนมาอยา่ งต่อเนือ่ งมาจนทุกวันนี้

พอพูดถึงความเป็นมาของหนังสือวารสารทางวิชาการต้ังแต่ต้น โดยเฉพาะหนังสือวิทยาสาร และชัยพฤกษ์ ท�ำให้
นกึ ถงึ ปรมาจารยท์ างภาษาไทยทา่ นหนงึ่ เจา้ ของนามปากกา “นายตำ� รา ณ เมอื งใต”้ ทโ่ี ดง่ ดงั ทา่ นเปน็ บรรณาธกิ ารวทิ ยาสาร
และชัยพฤกษใ์ นสมัยนัน้ และเขยี นตำ� รับตำ� ราทางภาษาไทยไวม้ ากมาย โดยชีวติ การทำ� งานของทา่ นโลดโผนมาก เคยเป็น
ทั้งครู ผูบ้ ริหาร นักการเมือง นักวิชาการ นักจัดรายการวทิ ยุ (วิทยุศกึ ษา) ศึกษานิเทศก์ นักเขยี น นกั แสดง บรรณาธิการ
หนังสอื พิมพ์/วารสาร และอาจารยพ์ ิเศษ ทา่ นผู้นีก้ ค็ ือ อาจารย์เปลื้อง ณ นคร โดยตำ� แหน่งสดุ ท้ายกอ่ นทที่ า่ นจะลาออก
จากราชการใน พ.ศ. 2503 ทา่ นดำ� รงตำ� แหนง่ เป็นศกึ ษานเิ ทศก์เอก ดว้ ย ผมจงึ ขอยอ้ นรอยเขียนถึงอดีตศึกษานเิ ทศกท์ ่านน้ี
มาเล่าสกู่ ันฟงั ครับ

อาจารยเ์ ปลอื้ ง ณ นคร เกดิ เมอื่ วนั ที่ 4 กนั ยายน พ.ศ. 2452 ทอ่ี ำ� เภอพนางตงุ (ปจั จบุ นั คอื อำ� เภอควนขนนุ ) จงั หวดั พทั ลงุ
เปน็ บตุ รคนโตของขนุ เทพภกั ดี (เลก็ ณ นคร) กบั นางเทพ ภกั ดี (ยกฮน่ิ ขนุ ทะโร) เรมิ่ เรยี นหนงั สอื ทว่ี ดั ลา่ ง พอขน้ึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
บิดาส่งให้ไปอยู่กับป้าที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าเรียนต่อท่ีวัดท่ามอญ จนจบประโยคประถมปีท่ี 3 แล้วไปเรียนต่อ
ท่ีโรงเรียนประจําจังหวัดนครศรีธรรมราช “เบญจมราชูทิศ” จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 จึงได้มาเรียนต่อท่ีโรงเรียนมัธยม
วัดเทพศริ นิ ทร์ (ปจั จบุ ันคือโรงเรียนเทพศิรินทร์) โดยอาศัยอยกู่ บั พลเอก เจา้ พระยา บดินทรเดชานชุ ิต (แยม้ ณ นคร) ผูม้ ีศกั ดิ์
เป็นลุง จนจบช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 8 เม่ือ พ.ศ. 2469 แล้วเข้าศึกษาต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไดป้ ระกาศนยี บตั รประโยคครูมัธยม (ป.ม.) เป็นรนุ่ แรก เมอ่ื พ.ศ. 2473

พ.ศ. 2474 อาจารยเ์ ปลอ้ื งเขา้ รบั ราชการเปน็ ครชู น้ั ตรที โี่ รงเรยี นมธั ยมโฆสติ สโมสร ทาํ งานอยเู่ พยี ง 7 วนั กไ็ ดร้ บั คาํ สง่ั
ใหย้ า้ ยไปสอนทโี่ รงเรยี นมธั ยมวดั สทุ ธวิ ราราม (ปจั จบุ นั คอื โรงเรยี นวดั สทุ ธวิ ราราม) 5 เดอื นตอ่ มาไดร้ บั ยศเปน็ รองอาํ มาตยต์ รี
พ.ศ. 2477 ย้ายไปเป็นครูโรงเรียนประถมกสิกรรม ประจําภาคใต้ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2479 ย้ายกลับมาเป็นครูโรงเรียน
พณชิ ยการวดั แก้วฟา้ ลา่ ง จงั หวัดพระนคร พ.ศ. 2480 ย้ายไปเป็นครโู รงเรียนฝึกหัดครปู ระถมพระนคร และได้รบั แตง่ ตั้งเปน็
ผ้ชู ว่ ยอาจารย์ใหญ่ใน พ.ศ. 2481

10 วิทยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 11

อาจารย์เปลื้องท�ำหน้าท่ีเป็นครูสอนภาษาไทยมาโดยตลอด และเป็นครูภาษาไทยที่เอาใจใส่ต่อการสอน
เปน็ อยา่ งยงิ่ เพราะอาจารยเ์ ปลอ้ื งรกั ภาษาไทย ไดซ้ มึ ซบั ความรกั ความสนใจในภาษาไทยมาตงั้ แตเ่ ดก็ สมยั เมอ่ื อยู่
กับพลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต ผู้เป็นลุง โดยอาจารย์เปล้ืองมีหน้าท่ีอ่านหนังสือต่างๆ ให้ฟังเป็นประจ�ำ
ทง้ั หนงั สอื พมิ พ์ หนงั สอื เปน็ เลม่ รวมทง้ั หนงั สอื วรรณคดตี า่ งๆ จนเกดิ ความรกั และความสนใจภาษาไทยเปน็ ชวี ติ จติ ใจ
อาจารย์เปล้ืองจงึ เป็นนกั อา่ นและสนใจวธิ เี ขยี นหนงั สอื ของนักเขียนตา่ งๆ เร่ือยมา ด้วยเหตนุ อี้ าจารย์เปลื้องจงึ ได้
เขียนหนังสือหลายเร่ืองหลายเล่มต้ังแต่สมัยศึกษาอยู่ท่ีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเมื่อเร่ิมรับราชการครู
จนมีช่ือเสียงในเร่ืองภาษาไทย ดังนั้นเมื่ออาจารย์เปลื้องเป็นครูสอนภาษาไทยจึงท�ำให้ผู้เรียนได้รับท้ังความรู้และ
ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ จากเกร็ดภาษาไทยต่างๆ ท่ีอาจารย์เปลื้องไดอ้ ่านและน�ำมาถา่ ยทอดให้แกผ่ ้เู รียน

พ.ศ.2483 กระทรวงธรรมการได้จัดต้ังกองการศึกษาผู้ใหญ่ข้ึน อาจารย์เปลื้องจึงโอนมาอยู่
กองการศกึ ษาผใู้ หญ่ และ พ.ศ.2484 กไ็ ดร้ บั แตง่ ตงั้ เปน็ หวั หนา้ แผนก พ.ศ. 2589 อาจารยเ์ ปลอ้ื งลาออก
จากราชการเพื่อไปสมคั รรบั เลอื กตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวดั พัทลงุ แตไ่ ม่ไดร้ ับเลอื กต้ัง 3 เดือนต่อมา
จงึ ขอกลบั เขา้ รบั ราชการอกี ทำ� งานตอ่ มาอกี ระยะหนงึ่ กเ็ กดิ ความรสู้ กึ เบอื่ หนา่ ยจงึ ลาออกจากราชการ
อกี เม่ือ พ.ศ. 2490
พ.ศ. 2491 รัฐบาลได้มอบใหก้ ระทรวงศึกษาธิการจัดทําหนังสอื อา่ น ประกอบการศึกษาของเด็กและ
ผู้ใหญ่ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบเรื่องนี้ให้คุรุสภาเป็นผู้ดําเนินการ คุรุสภาจึงตั้งคณะกรรมการ
ขนึ้ ชดุ หนึ่ง อาจารยเ์ ปลอื้ งไดร้ ับเชิญใหเ้ ข้ารว่ มเป็นกรรมการด้วยเพราะแม้จะลาออกจากราชการแล้ว
แตค่ วามทเี่ ปน็ ผมู้ ชี อ่ื เสยี งโดง่ ดงั ดา้ นความรคู้ วามสามารถในการเขยี นหนงั สอื จนเปน็ ทย่ี อมรบั อยแู่ ลว้
แตก่ ารทํางานของคณะอนุกรรมการชดุ นี้ไมค่ ่อยจะราบรื่น เพราะประธานกรรมการซึง่ เปน็ ข้าราชการ
ประจาํ ตดิ ราชการบอ่ ย อาจารยเ์ ปลอ้ื งจงึ เสนอใหจ้ ดั ตง้ั สาํ นกั งานวรรณกรรมการศกึ ษาขนึ้ (สาํ นกั งานนี้
อยู่ชั้น ๒ ของตึกสามัคยาจารย์ในบริเวณโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปัจจุบันได้ร้ือถอนไปแล้ว)
โดยให้รวมอยู่ในสํานักงานเลขาธิการคุรุสภาเพ่ือจัดทําหนังสือที่มีคุณค่าสําหรับเด็ก อาจารย์เปล้ือง
ไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ ผจู้ ดั การสาํ นกั วรรณกรรมการศกึ ษาตามโครงการนี้ หลงั จากจดั ทาํ หนงั สอื สาํ หรบั เดก็
ชดุ คลงั นยิ ายแลว้ คณะกรรมการจงึ ไดค้ ดิ ทาํ หนงั สอื สาํ หรบั ครขู น้ึ เปน็ หนงั สอื รายปกั ษช์ อื่ ประชาศกึ ษา
อาจารยเ์ ปลือ้ งทําหนา้ ท่เี ปน็ บรรณาธกิ ารคนแรก จนถงึ พ.ศ. 2502
พ.ศ. 2495 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดต้ งั้ กรมวชิ าการขนึ้ มกี องเผยแพรก่ ารศกึ ษาเปน็ ผดู้ ําเนนิ งานสถานี
วทิ ยศุ กึ ษา อาจารยเ์ ปลอื้ งจงึ กลบั เขา้ รบั ราชการอกี ทก่ี องเผยแพรก่ ารศกึ ษา เพอื่ ทาํ งานดา้ นวทิ ยศุ กึ ษา
และจดั ทาํ วารสารวทิ ยศุ กึ ษาในตาํ แหนง่ ผชู้ าํ นาญการ เมอื่ พ.ศ. 2496 และใน พ.ศ. 2500 ไดร้ บั แตง่ ตงั้
ใหด้ าํ รงตาํ แหนง่ วทิ ยากรเอก ซงึ่ เปน็ ตาํ แหนง่ แรกในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมอ่ื แรกทม่ี าอยกู่ องเผยแพร่
การศกึ ษานน้ั สาํ นกั วฒั นธรรมทางระเบยี บประเพณี สภาวฒั นธรรมแหง่ ชาตไิ ดจ้ ดั ทาํ หนงั สอื สาํ หรบั เดก็
ช่ีอ ชัยพฤกษ์ อาจารย์เปลื้องได้รับหน้าท่ีเป็นบรรณาธิการ เมื่อกระทรวงวัฒนธรรมยุบแล้ว
บรษิ ทั ไทยวฒั นาพานชิ ได้รบั ชว่ งมาท�ำตอ่ และอาจารยเ์ ปลื้องก็ยงั ท�ำหน้าที่เป็นบรรณาธกิ ารอยู่
พ.ศ. 2499 อาจารยเ์ ปลอ้ื งไดร้ บั ทนุ ขององคก์ ารยเู นสโก (UNESCO) ไปดงู านวทิ ยศุ กึ ษาในตา่ งประเทศ
เป็นเวลา 7 เดอื น ท่ปี ระเทศองั กฤษ สหรฐั อเมรกิ า และออสเตรเลยี เมอ่ื กลบั มาก็ได้ด�ำเนนิ งานวทิ ยุ
โรงเรียน (School Broadcast) โดยส่งกระจายเสียงวิชาต่างๆ ไปยังห้องเรียน เป็นประโยชน์ต่อ
การเรียนการสอนเปน็ อันมาก

12 วทิ ยาจารย์

พ.ศ. 2501 กองเผยแพร่การศึกษาได้โอนมากบั ส�ำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร อาจารย์เปลอื้ ง
ข้าราชการพลเรือนสามัญชน้ั เอก จึงไดร้ บั แต่งตัง้ เปน็ ศึกษานิเทศกเ์ อก เม่อื พ.ศ. 2502
พ.ศ. 2503 อาจารย์เปล้ืองลาออกจากราชการ ขณะนั้นข้าราชการชั้นเอกรับเงินเดือน 3,000 บาท
เมอื่ ลาออกจากราชการแลว้ ไดเ้ ขา้ รบั งานบรรณาธกิ ารหนงั สอื พมิ พ์ วทิ ยาสาร ของบรษิ ทั ไทยวฒั นาพานชิ
และยังคงเป็นบรรณาธิการหนังสอื ชัยพฤกษ์ อยตู่ ามเดมิ
พ.ศ. 2507 อาจารย์เปลื้องไดร้ ับเชิญเป็นอาจารย์สอนวิชาวรรณคดีและภาษาไทย ทีค่ ณะครศุ าสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และได้กอ่ ตงั้ สโมสรสุนทรภูข่ ้ึนเมอ่ื พ.ศ. 2508
พ.ศ. 2518 อาจารยเ์ ปลอ้ื งลงสมคั รรบั เลอื กตง้ั เปน็ ผแู้ ทนราษฎรอกี ครงั้ หนง่ึ ในนามของพรรคประชาธปิ ตั ย์
ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎร เขต 7 (ธนบุรี คลองสาน ราษฎร์บูรณะ) และได้รับเลือกเป็น
ประธานกรรมาธิการวัฒนธรรมและสังคม แต่ไม่ทันได้ด�ำเนินงานรัฐบาลก็ประกาศยุบสภา เม่ือมี
การเลอื กตง้ั ใหม่ อาจารย์เปล้ืองก็ปฏเิ สธท่จี ะลงสมคั รรบั เลือกตั้งอีก
พ.ศ. 2522 หนงั สอื พิมพ์ ชัยพฤกษ์ และวิทยาสาร ยุบกจิ การ อาจารยเ์ ปลื้องจึงลาออกจากบรษิ ัทไทย
วัฒนาพานชิ เมื่ออายุได้ ๗๐ ปี
ชีวิตครอบครัวอาจารย์เปลื้องสมรสกับนางสาวเสณี ณ มหาชัย มีบุตร 6 คน คือ นายศิธร นายภัทรวิทย์
นายพริ ยี ์ นายสรุ พงศ์ นางสุรนี าฏ วริ ยิ สริ ิ และนางสาวสุพรรณิกา ณ นคร
นามของอาจารยเ์ ปลอ้ื ง ณ นคร หรอื นามปากกา นายตำ� รา ณ เมอื งใต้ นนั้ โดง่ ดงั มากในวงการภาษาไทย
ของเมืองไทย อาจารย์เปล้ืองเร่ิมงานเขียนคร้ังแรกเม่ือเรียนอยู่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ
มีผลงานเป็นที่ยกย่องของอาจารย์ท่ีสอน อาจารย์เปล้ืองจึงได้รับมอบหมายจากสโมสรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ให้เป็นบรรณาธิการหนังสือของมหาวิทยาลัย และได้เร่ิมใช้นามปากกาว่า นายต�ำรา ณ เมืองใต้ เป็นครั้งแรก
ในการเขยี นเรอ่ื งหลายเรอื่ ง เชน่ นางงามแผนโบราณ ตาของเจา้ หลอ่ น คณั ฑี ฯลฯ และใชน้ าม ป. ณ นคร ในการเขยี น
อกี หลายเรอื่ ง เชน่ ประทารกรรม (มาจากเรอ่ื ง The Rape Of Lucreece ของเชกสเปยี ร)์ ขภู่ รรยา เปน็ ตน้ เมอ่ื เปน็ ครู
ทโ่ี รงเรยี นยมธั ยมวดั สทุ ธวิ รารามไดเ้ ขยี นเรอื่ งลงในวารสารวทิ ยาจารย์ ใชน้ าม ร.อ.ต.เปลอ้ื ง ณ นคร (ร.อ.ต.ยอ่ มาจาก
รองอำ� มาตยต์ ร)ี เชน่ เรอ่ื งการเลน่ ของเดก็ เครอื่ งวา่ งของนกั เรยี น ภาษติ ครู เปน็ ตน้ และยงั มเี รอื่ งลงในหนงั สอื ตา่ งๆ
อีกมากมาย
หนงั สอื ทที่ ำ� ใหอ้ าจารยเ์ ปลอ้ื งมชี อื่ เสยี งมาก คอื ปรทิ รรศนแ์ หง่ วรรณคดไี ทย ซงึ่ ไดเ้ ขยี นอทุ ศิ เพอ่ื สนองพระคณุ
พลเอก เจา้ พระยาบดินเดชานชุ ิต (แยม้ ณ นคร) และทา่ นผู้หญิงบดนิ เดชานุชิต (เลียบ ณ นคร) ผู้ปลูกฝังความรัก
ความสนใจภาษาไทยให้ ต่อมาอาจารย์เปล้ืองได้แต่งต�ำราท่ีมีคุณค่าต่อการศึกษาภาษาไทยอีกหลายเล่ม เช่น
ประวตั วิ รรณคดไี ทยฉบบั นกั ศกึ ษา ซงึ่ ไดร้ บั รางวลั ในฐานะเปน็ วรรณกรรมชนั้ ดจี ากสำ� นกั วฒั นธรรมทางวรรณกรรม
สภาวฒั นธรรมแห่งชาติ หนังสือวรรณคดไี ทยปัจจบุ นั วิชาการประพันธ์ และการหนังสอื พมิ พ์ ฯลฯ หนังสอื วา่ ดว้ ย
การเขียนเรียงความ 6 เล่ม ซึ่งมีประโยชน์ยิ่งส�ำหรับครูสอนภาษาไทย ด้วยว่าก่อนนี้ยังไม่มีต�ำราว่าด้วยการเขียน
เรยี งความมาก่อน นอกจากนย้ี ังเขียนค่มู อื ครูอีกหลายเลม่ เชน่ คู่มอื ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย คู่มอื วาสิฏฐี คู่มอื พทุ ธประวัติ
อิลราชค�ำฉนั ท์ เป็นตน้ เขยี นหนังสอื การใช้ภาษาของนกั เรียน เช่น ปทานกุ รมนกั เรียน พจ-นะ- สารานุกรม เปน็ ต้น
เขียนบทความเกี่ยวกับภาษาไทยลงในบัญชรภาษาของหนังสือพิมพ์ต่างๆ หลายเล่ม เช่น หนังสือพิมพ์เอกชน

วทิ ยาจารย์ 13

สวนอกั ษรรงุ่ อรณุ เปน็ ตน้ เขยี นเรอ่ื งสน้ั และนยิ ายอกี หลายเลม่ อกั ษรศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ ใหเ้ มอื่ วนั ท่ี 15 ตลุ าคม
เชน่ ชดุ นายเลากะงงั ฆ์ มโหสถบณั ฑติ เปน็ ตน้ เขยี นประกอบ พ.ศ. 2524
ภาพชุดรว่ มกบั นายเหม เวชกร เช่น ภาพสนุ ทรภู่ ราชาธริ าช พ.ศ. 2529 ไดร้ บั พระราชทานพระเกยี้ วทองคำ� จาก
กากี กามนติ เปน็ ตน้ มงี านแปลอกี หลายเลม่ เชน่ ราชาปารสี คณะอกั ษรศาสตร์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ในฐานะผทู้ ำ� นบุ ำ� รงุ
(แปลจากเรือ่ ง King of Paris ของ กยี ์ อังดอร์) หญงิ กรงุ โรม และเผยแพร่ความรู้ภาษาไทยดเี ดน่
(จากเรอ่ื งWomenofRomeของอลั แบรโ์ ตโมราเวยี )แดค่ ณุ ครู พ.ศ. 2539 ไดร้ บั ยกยอ่ งเปน็ ปชู ณยี บคุ คลทางภาษา
ดว้ ยดวงใจ (จากเรอ่ื ง To Sir, with Love ของ อี อาร์ เบรตเกต) และวรรณคดไี ทยจากกระทรวงศึกษาธิการ
และแปลเรอื่ งสำ� หรบั เดก็ อกี หลายเรอื่ ง เชน่ อศั วนิ แหง่ กษตั รยิ ์ อาจารย์เปล้ืองลาออกจากวัฒนาพานิชแล้ว ก็ได้
อารเ์ ธอร์ เดวี คร็อกเก็ต เป็นตน้ รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นกรรมการในงานเกี่ยวกับภาษาไทย
นอกจากจะมคี วามสามารถในการเขยี นหนงั สอื แลว้ หลายงานเชน่ งานปรบั ปรงุ หนงั สอื ภาษาไทยระดบั มธั ยมศกึ ษา
อาจารย์เปลื้องยังเป็นนักแสดงทีมีความสามารถยอดเยี่ยม ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร งานผลติ เอกสารการสอนภาษาไทย
อีกด้วย ได้แสดงละครเป็นตัวเอกจากบทประพันธ์ของ ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช เปน็ ตน้ และไดพ้ กั ผอ่ น
หมอ่ มหลวงปน่ิ มาลากลุ หลายเรอื่ งเชน่ การเมอื งเรอื่ งรกั เปน็ ตน้ ทอ่ งเทย่ี ว เขยี นหนงั สอื แปลหนงั สอื อกี หลายเรอื่ ง หลายเลม่
ดว้ ยอจั ฉรยิ ภาพดา้ นภาษาไทยของอาจารยเ์ ปลอ้ื ง เช่น หนังสือภาษาวรรณา และยังมีอีกหลายเร่ืองท่ียังมิได้
ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ในโอกาสฉลองครบ 50 ปี แหง่ การสถาปนา รวมเปน็ เลม่ อาจารยเ์ ปลอ้ื งมสี ขุ ภาพแขง็ แรงดีไมม่ โี รครา้ ยแรง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยจึงได้ขอ มแี ตค่ วามชราอยา่ งเดยี วเมอ่ื อายยุ า่ งเขา้ ปที ี่90เรม่ิ รบั ประทาน
พระราชทานปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อาหารน้อยลง และได้ถึงแก่กรรม เม่ือวันที่ 25 ตุลาคม
ให้แก่อาจารยเ์ ปล้อื งเม่อื วันที่ 26 มนี าคม พ.ศ. 2510 ต่อมา พ.ศ. 2541 สิรอิ ายไุ ด้ 89 ปี 1 เดือน 21 วัน
สภามหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขอพระราชทานปริญญา

14 วิทยาจารย์



...เมืองไทยนีอ้ ย่ไู ด้ดว้ ยความสามคั คี ด้วยความเขม้ แขง็
ดว้ ยความเสียสละ อาศัยความเห็นอกเห็นใจซึง่ กันและกนั และ

ถา้ รกั ษาความเหน็ อกเหน็ ใจนแ้ี ล้ว ประเทศชาติของเราก็จะ
เป็นท่อี าศยั ทีอ่ ดุ มสมบรู ณแ์ ละน่าสบายตอ่ ไปชวั่ กาลนาน...



ความตอนหนึง่ ในพระราชด�ำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที่ 9
พระราชทานในพิธพี ระราชทานธงประจ�ำรุ่นลูกเสอื ชาวบ้าน จังหวัดขอนแกน่
ณ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ วันท่ี 19 กุมภาพนั ธ์ 2519

วทิ ยาจารย์ 15

โรงเรยี นดี โครงการเดน่

“โครงการภาคีสังคมศึกษา”

ของคณะรฐั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านท่ีรัก โรงเรียนดี โครงการเด่น ฉบับนี้ เสนอ “โครงการภาคีสังคมศึกษา”
จากการที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดกิจกรรมการแข่งขันตอบปัญหาวิชาการ
ทางรัฐศาสตร์ ซึ่งเป็นนิมิตหมายที่ดีท่ีนักเรียนจาก 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้พบปะพูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรู้
เก่ียวกับความร่วมมือทางวิชาการ ช่วยกันระดมสมองโดยตกลงร่วมกันที่จะสร้างโปรเจคทางวิชาการ
ทีเ่ ก่ยี วกับสังคมศาสตร์ โดยใชช้ ่อื วา่ “ภาคีสงั คมศึกษา”

16 วิทยาจารย์

โดยนักเรียนท่ีร่วมกันก่อต้ังในแต่ละโรงเรียนได้น�ำ
เรอ่ื งราวทป่ี ระชมุ รว่ มกนั นำ� เสนอคณะครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สังคมศึกษาฯ ของแต่ละโรงเรียนให้ช่วยกันผลักดันและ
ขับเคล่ือนให้ภาคีสังคมฯ เกิดความเป็นรูปธรรมมากข้ึน
โดยมกี ารประชมุ ครง้ั แรกทโ่ี รงเรยี นกรงุ เทพครสิ เตยี นวทิ ยาลยั
เม่ือวันที่ 16 มิถุนายน 2557 โดยมีการหมุนเวียนการเป็น
ประธานภาคีสังคมฯ วาระละหน่ึงปี โดยใช้ล�ำดับตัวอักษร
ภาษาองั กฤษเปน็ เกณฑ์ โดยมนี กั เรยี นโรงเรยี นกรงุ เทพครสิ เตยี น
วทิ ยาลยั เปน็ ประธานภาคสี งั คมฯ คนแรก ตอ่ จากนน้ั มพี ธิ เี ปดิ
และงานแถลงขา่ วอยา่ งเปน็ ทางการ เมอ่ื วนั ท่ี 4 สงิ หาคม 2558
ณ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยมี ฯพณฯ พลเรือเอก
ชมุ พล ปจั จสุ านนท์ องคมนตรเี ปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ ปจั จบุ นั
มีโรงเรียนที่เป็นสมาชิกภาคีสังคมฯ จ�ำนวน 6 โรงเรียน คือ
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลัย โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา โรงเรียนอัสสมั ชัญศึกษา
โรงเรยี นวฒั นาวทิ ยาลัย และโรงเรียนสตรีวทิ ยา

วิทยาจารย์ 17

กิจกรรมความรว่ มมอื ทางวิชาการเก่ยี วกับสังคมศกึ ษาของภาคีสังคม มดี งั น้ี
1. ค่ายภาคสี งั คมศึกษา ณ หนว่ ยบญั ชาการนาวกิ โยธิน ฐานทพั เรือสตั หีบ จ.ชลบรุ ี วนั ที่ 19 มีนาคม 2558
2. กิจกรรมภาพถ่ายส่ือความหมายชุมชน ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (หอศิลป์กรุงเทพฯ)
วันที่ 24 - 29 มกราคม 2559
3. เสวนาแนวทางการศกึ ษาตอ่ ระดบั อดุ มศกึ ษาดา้ นสงั คมศาสตร์ โดยรนุ่ พที่ ศี่ กึ ษาอยใู่ นคณะตา่ งๆ หลายมหาวทิ ยาลยั
เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ คณะโบราณคดี คณะเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 ณ โรงเรียนกรงุ เทพครสิ เตียนวิทยาลยั
4. โครงการปลูกปา่ ชายเลน ณ สำ� นกงานบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งที่ 2 วนั ที่ 16 ตุลาคม 2559
5. กิจกรรม Walk Rally เกาะรตั นโกสนิ ทร์ ณ โรงเรยี นสตรีวทิ ยา วนั ที่ 26 สงิ หาคม 2560
จากข้อมูลข้างต้น เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างความสามัคคีที่เกิดจากการร่วมมือของเยาวชน กลุ่มเล็กๆ ที่สามารถสร้าง
ความร่วมมือน�ำไปสู่สิ่งทีย่ ่งิ ใหญ่ได้เสมอ หากรักษาความสามคั คี การรว่ มมอื ท่เี ขม็ แขง้ นีไ้ ว้ และสง่ ตอ่ โดยร่นุ ตอ่ รนุ่ เช่ือเหลือ
เกนิ วา่ “ประเทศชาตขิ องเรากจ็ ะเปน็ ทอ่ี าศยั ทีอ่ ุดมสมบูรณ”์ ดงั ในพระราชดำ� รัสฯ ไดอ้ ย่างแน่นอน // สวัสดีครับ //

18 วทิ ยาจารย์

เรียนรอบตัว

ธนนิ ท์รฐั กฤษฎิฉ์ นั ทัชท์ ศิริวศิ าลสุวรรณ

กระบวนทัศนก์ ารจดั กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้

“STARs 5H Model”

ของโรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดีย์
จงั หวัดสมุทรปราการ

(ตอนที่ 1)

สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษาไดน้ อ้ มนำ�พระราชดำ�รสั ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
และนโยบายของรฐั บาลเกยี่ วกบั การบรหิ ารจดั การเวลาเรยี น “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร”ู้ มาสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นโรงเรยี น
อย่างเป็นรูปธรรม ครูผู้สอนมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติและเรียนรู้
ดว้ ยตนเองมากขน้ึ นกั เรยี นไดร้ บั การพฒั นาใหม้ คี ณุ ภาพและมคี วามสขุ ในการเรยี นรอู้ ยา่ งแทจ้ รงิ โดยสถานศกึ ษา
ตระหนักในการขบั เคล่อื นนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลาร”ู้ มกี ารออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ อันจะนำ�
ไปสู่การพัฒนาผ้เู รียน และจดั กจิ กรรมการเรยี น โดยให้ ผู้เรียนปฏบิ ัติจรงิ (Learning by Doing) โดยการจดั
กจิ กรรมการเรยี นการสอนดว้ ยการปฏบิ ตั ิ (Action Learning) โดยผสมผสานวถิ กี ารดำ�เนนิ ชวี ติ หรอื การจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา การจัดประสบการณ์จากปัญหาจริง
(Real Problem) การจัดการปญั หาด้วยโครงงาน (Project - Based Learning) เปน็ ตน้ นอกจากนีค้ รูเปน็
ผอู้ �ำ นวยความสะดวก (Facilitator) ทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ
สรา้ งความรกั ความศรทั ธาใหก้ บั ผเู้ รยี น ใหผ้ เู้ รยี นสามารถพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพจดั การเรยี นรใู้ หม้ ี
ความสมดลุ บรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ ม ใหผ้ เู้ รยี นไดส้ นกุ สนานกบั กจิ กรรมการเรยี น และเสรมิ สรา้ งประสบการณ์
ที่สรา้ งสรรค์ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามสุขจากการช่วยเหลือ เอื้ออาทรและรว่ มมือรว่ มใจกัน การเรียนรอู้ ยา่ งมีความสขุ
นบั เปน็ รากฐานสำ�คญั ของการทำ�ใหผ้ เู้ รยี นคดิ เปน็ พงึ พอใจในการเรยี นรู้ และสามารถนำ�ไปสกู่ ารประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ
ประจำ�วนั ดังน้นั ผู้ท่เี กีย่ วขอ้ งกับการจดั กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร้”ู ตอ้ งปรับเปล่ยี นความเชอื่ ทง้ั ของ
ตนเอง บคุ ลากร และผเู้ รยี นไปสกู่ ารเจรญิ งอกงามทางความคดิ (Growth Mindset) โดยทงั้ ครแู ละนกั เรยี น
เป็นผู้เรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน ครูเรียนรู้วิธี “ลดเวลาเรียน” ของผู้เรียนในฐานะผู้รับความรู้ และหาวิธี “เพิ่มเวลารู้”
ให้นักเรียนลงมอื คิด ลงมือทำ� เพอื่ นำ�ไปสู่การพัฒนาความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรม จากการ
ทำ�กิจกรรมต่างๆ ท่ีมีความหลากหลาย ลุ่มลึกและยืดหยุ่นท้ังวิธีการเรียน การใช้แหล่งเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผล การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน และการทำ�ให้การเรียนรู้มีความหมายต่อการดำ�เนินชีวิต
การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ เกิดปฏิสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
ส่งเสริมนักเรียนให้ใช้ความสามารถที่แตกต่างในการทำ�งาน สร้างโอกาสพัฒนาต่อยอดความสามารถให้
ประสบความสำ�เร็จ เกดิ ความภาคภูมิใจ รบั รคู้ ณุ คา่ ของตนเอง และสร้างแรงจูงใจพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

วิทยาจารย์ 19



การจัดการศึกษาต้องดูภาพรวมทั้งประเทศเพราะทุกวันนี้การศึกษาค่อนข้างอ่อนแอ
และมุ่งเน้นการเรียนการสอนเน้ือหาบางเร่ืองมากเกินไป การน�ำองค์ 4 แห่งการศึกษา
คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา และหัวใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ
หมายถึง การฟัง การคิด การถาม และการเขียน ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของนักปราชญ์
และบัณฑิตอีกท้ังยังจะเป็นเทคนิคในการช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนเก่งมาก…”



พระราชด�ำ รัสในเร่ืองการศกึ ษาของ
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ท้ังนี้จากพระราชด�ำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ดังกล่าวโรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ สังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
สมทุ รปราการ เขต 1 ได้น้อมนำ� หลักแห่งองค์ 4 แห่งการศกึ ษา คือ พุทธศิ ึกษา จริยศึกษา
หัตถศกึ ษา และพลศกึ ษา หรือเรียกอกี อยา่ งว่า การพฒั นาทักษะด้วย 4H คือ Head Heart
Hands และ Health เข้ามาผสมผสาน และประยุกต์ใช้ให้เข้ากับกิจกรรม “ลดเวลาเรียน
เพม่ิ เวลาร”ู้ ทท่ี างโรงเรยี นไดจ้ ดั ขนึ้ ในภาคเรยี นที่ 1 และ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 อยา่ งมคี ณุ ภาพ
โดยงานบริหารวิชาการของโรงเรียนได้สร้างนวัตกรรมในรูปแบบของกระบวนทัศน์
การจัดกจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ คือ “STARs 5H Model” ซง่ึ กระบวนทัศน์ดังกล่าว
จัดเป็นนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์และแปลกใหม่ในวงการศึกษาของประเทศไทย เพราะ
เกิดจากการความร่วมมือร่วมใจและการมีส่วนร่วมระหว่างครูและนักเรียนทุกขั้นตอน
โดยกระบวนการในการด�ำเนนิ กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
ได้ใช้กระบวนการ “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action
Research – PAR)” ในการด�ำเนนิ การ โดยมรี ายละเอียดของการพฒั นานวตั กรรม ดงั นี้

20 วิทยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 21

1) ข้ันการศึกษาบรบิ ท

ในขน้ั ตอนนี้คณะครูผบู้ รหิ ารและนกั เรยี นจะทำ� การสำ� รวจวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาความตอ้ งการ
ในการเลือกกิจกรรมของนักเรยี น โดยใชเ้ ทคนิคการสอบถามและสมั ภาษณ์ เพอื่ ใหท้ ราบถงึ
บรบิ ทของโรงเรยี น และทราบถงึ แนวทางในการพฒั นานวตั กรรมในรปู แบบของกระบวนทศั น์
ตอ่ ไป

2) ข้ันก�ำหนดปัญหา

ในขนั้ ตอนน้ี คณะครู ผู้บรหิ าร และ
นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ คำ� ถามหรอื ปญั หา
ร ว ม ท้ั ง อ ธิ บ า ย เ ป ้ า ห ม า ย แ ล ะ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการแก้ไขปัญหาให้
ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องได้เห็นภาพและ
เกดิ ความเขา้ ใจตรงกนั รวมถงึ การสรา้ ง
ความตระหนกั ในบทบาทและความสำ� คญั
ของการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนดำ� เนนิ
กจิ กรรมทุกข้ันตอน

22 วทิ ยาจารย์

3) ข้นั การวางแผนและปฏิบัติงาน STARs 5H Model

ในขั้นตอนนี้ คณะครูและผู้บริหารจัดท�ำข้ันตอนการปฏิบัติงาน Sคือ –กาSรจYดั SกTจิ กEรMรมอยา่ งเป็นระบบ
ให้ชดั เจนโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน รวมทง้ั ระบุด้วยวา่ ผู้มีสว่ นเกย่ี วข้อง
กับการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร้”ู แต่ละฝา่ ยจะมสี ว่ นรว่ ม Tคอื –กาTรผHสIมNผKสานทกั ษะการคดิ ขนั้ สูง
อะไร และอยา่ งไร เมอ่ื ใดบา้ ง พรอ้ มทง้ั แผนการปรบั ปรงุ หรอื ปรบั เปลยี่ น
วธิ ีการดำ� เนนิ กจิ กรรม และรว่ มกันออกแบบนวัตกรรมในรูปแบบของ คAือ – ACTIVE และเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
กระบวนทศั นก์ ารจดั กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ คือ “STARs 5H การลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง
Model” ให้มีความสอดคล้องกบั การพฒั นาทกั ษะด้วย 4H และบริบท
ของโรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี เ์ ปน็ สำ� คญั จากนน้ั นำ� กระบวนทศั น์
ดงั กลา่ วไปใชเ้ พอ่ื จดั กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร”ู้ ใหก้ บั นกั เรยี น
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 6

คRือ ก–าRรสEะทF้อEนCผTลตามสภาพจริง

S – SHARE

คอื การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

4H – HEAD HEART

คอื พฒั นาทกั ษHะA4Nดา้Dน HEALTH

คHือ เ–รยี HนสAนPุกแPลYะมีความสุข

วทิ ยาจารย์ 23

4) ข้นั การตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ

ในขนั้ ตอนนี้ คณะครู ผบู้ รหิ าร และนกั เรยี นจะเขา้ รว่ มปฏบิ ตั กิ ารโดยตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งาน
ทุกข้ันตอน และคอยตรวจสอบผลของการด�ำเนินงานว่ามีสิ่งใดที่ผิดพลาด หรือไม่เป็นไป
ตามแผนหรอื เปา้ หมาย หรอื มสี ง่ิ ใดทเี่ กดิ แทรกซอ้ นขนึ้ มาหรอื ไม่ โดยคณะครแู ละนกั เรยี นนนั้
จะเข้ามีส่วนรว่ มลงมอื ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามแผนกจิ กรรม และตรวจสอบผลว่าพึงพอใจ
หรอื ไม่ รวมทง้ั ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั (Feedback) ทแ่ี สดงถงึ ความพงึ พอใจและความสำ� เรจ็ ของ
การด�ำเนินกิจกรรม โดยมกี ารใชก้ ระบวนการแบบการทบทวนหลงั ปฏบิ ตั งิ าน (After Action
Review: AAR) ระหว่างครู นกั เรยี น และผูบ้ รหิ าร

5) ขนั้ การสรุปผลการจัดกจิ กรรม

ในข้ันตอนนี้ คณะครจู ะทำ� การสรปุ ผลการจัดกจิ กรรม สว่ นผบู้ รหิ ารมีสว่ นรว่ มด้วยการรบั ทราบและ
ตรวจสอบประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมวา่ ประสบความส�ำเร็จมากน้อยเพียงใด มปี ัญหาและอปุ สรรค
อยา่ งไรบา้ ง โดยนกั เรยี นและผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มดว้ ยการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ผลของการจดั กจิ กรรม
ว่าพึงพอใจและได้ผลตามที่คาดหวังไว้หรือไม่ และแสดงความคิดเห็นอ่ืนประกอบข้อมูลด้วยว่า
เพราะเหตุใด

( อ่านต่อฉบับหนา้ )

24 วทิ ยาจารย์

เร่ืองสนั้

ประทมุ เรอื งฤทธิ์

ผ้พู ลดั หลงไป
กบั กาลเวลา



“ฟาอีฟถูกจับ” เสียงลือ ลามท่ัวหมู่บ้านเล็กๆ
อย่างรวดเร็ว ฟาอีฟเด็กชายร่างผอมแกร็นสูง
ไม่มากนัก จบชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ไมเ่ กนิ สองปี
ทางบา้ นสง่ เรยี นตอ่ ทโ่ี รงเรยี นปอเหนาะยงั ไมท่ นั จบ
ก็ต้องออกจากโรงเรยี นกลางคนั แล้วเขา้ ทำ�งาน
ในโรงงานทอี่ ำ�เภอหาดใหญ่ที่แม่ (มะ) ทำ�งานอยู่
ก่อนแล้ว ทำ�งานอยู่ไม่ถึงปีก็ถูกจับ ข่าวแว่วว่า
เป็นคดยี าเสพตดิ

“อับดลวานี” ชายวัยต้นสี่สิบผิวเข้มผอมสันทัด
ไวเ้ ครายาว เพอ่ื นรนุ่ ราวคราวเดยี วกนั วา่ “ไอเ้ ครา” หรอื “พเี่ ครา”
อนั เปน็ ลกั ษณะเฉพาะตวั เสยี งเลา่ กนั วา่ สมยั ยงั เดก็ เดก็ ชาย
อบั ดลุ วานี วาฮบั คอื ความหวงั ของครอบครวั เขาสบื เชอื้ สาย
มาจากครอบครัวที่เป็นตระกูลแรกๆ ที่เข้ามาต้ังถ่ินฐาน
ในหมู่บ้านน้ี ซึ่งย้ายมากจากชุมชนเก่าแก่อกี ฟากของท่งุ นา
ไปทางด้านตะวนั ตกเย้อื งไปเหนอื

วิทยาจารย์ 25

ในอดตี พนื้ ทนี่ ี้ ตน้ ตระกลู ของอบั ดลวานี เปน็ กลมุ่ คนแรกๆ ทอ่ี พยพยา้ ยมาอยหู่ กั รา้ งถางพง
ข้างๆ ล�ำคลองแนวตะวันตกไปด้านตะวันออก เป็นผืนดินแปลงใหญ่ และเลือกจะตั้งบ้านเรือน
ริมฝั่งคลองซึ่งมีอยู่ประมาณ ห้าหกหลังคาเรือนส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหมู่ญาติใกล้ชิดตามกันมา
อยู่รว่ มกัน ในไมช่ ้ามัสยิดสรา้ งขนึ้ ใกลๆ้ ท่าน้�ำริมฝง่ั คลองเสมือนเป็นการปกั หมุดหมาย เริ่มตน้ ใหม่
ของชุมชนแห่งนี้
ลำ� คลองสายนเ้ี สมอื นเสน้ เลอื ดใหญข่ องผคู้ นแถบนน้ั เพราะเปน็ ลำ� คลองทไ่ี หลมาจากตน้ นำ้�
เทอื กเขาผา่ นยา่ นชมุ ชนทง้ั ชมุ ชนเกา่ แกแ่ ละชมุ ชนใหม่ ผา่ นตวั ตลาดชมุ ชนเมอื ง แลว้ ไหลออกสทู่ ะเล
ช่ือของล�ำคลองจะเรียกชื่อต่างกันไปตามหย่อมบ้านและลักษณะของพื้นท่ีท่ีไหลผ่าน ในอดีต
เป็นทั้งเส้นทางคมนาคม ค้าขาย มีหน้าท่าเป็นท่าเรือเล็กๆ ตามชุมชนและในบางวันก็มีตลาดนัด
ทางนำ้� ทค่ี รกึ ครนื้ จอแจดว้ ยเรอื พาย เรอื ถอ่ ทนี่ ำ� ผลผลติ มาคา้ ขายแลกเปลยี่ นสนิ คา้ ระหวา่ งหมเู่ หนอื
เช่น น้�ำมันยาง ผลไม้ สะตอ ลูกเหรียง ข้าวสาร เกลือ กะปิ เปลือกเสม็ด หรือเคร่ืองมือเคร่ืองใช้
ท่ีจ�ำเป็น และมักจะเห็นไม้ซุง ไม้ท่อนจากเทือกเขาต้นน้�ำ ผูกเป็นแพลากจูงล่องไปตามล�ำน�้ำ
ในฤดนู ำ้� หลากงา่ ยต่อการลากจงู ไหลไปตามน�้ำไว้ใช้ทำ� บา้ นทอี่ ยู่อาศัย
แนวฝั่งคลองที่ดินเป็นเนินลาดสวยงามและอุดมสมบูรณ์ผืนใหญ่ จึงตกเป็นของกลุ่มคนที่
ย้ายมาอยู่ช่วงแรกๆ ซ่ึงต่อมาท่ีดินได้ถูกแบ่งซอยให้ลูกหลานรุ่นต่อไป ส่วนที่ดินท่ีห่างออกไปที่ลุ่ม
พวกที่อพยพมาอยู่ภายหลังก็จับจอง ทุกวันนี้ท่ีดังกล่าวได้กลายเป็นสวนยางพารา และที่นามีบ้าง
เลก็ นอ้ ย
หลังจากทางราชการประกาศให้พ้ืนที่บางส่วนทางทิศเหนือฝั่งคลองของหมู่บ้านเป็น
ทุ่งสงวนเลี้ยงสัตว์มีอาณาเขตกว้างใหญ่ครอบคลุมหลายหมู่บ้านท�ำให้ชาวบ้านท่ีเคยมีบ้านบุกเบิก
ในพื้นท่ีเร่ิมขาดความม่ันใจในความเป็นเจ้าของ บางครัวครอบต้องอพยพอีกคร้ัง ครั้งนี้ไปไกลข้าม
จงั หวัดอีกฟากของเทือกเขาบรรทดั ไปต้งั หมูบ่ า้ นใหม่บนพน้ื ท่ยี ากผคู้ นจะเขา้ ไปถงึ ในระยะเรมิ่ แรก
อบั ดลวานี พเ่ี ครา หรอื ไอเ้ ครา ตอนยงั เลก็ เปน็ เดก็ ทฉี่ ลาดใครๆ ตา่ งชน่ื ชม แมก้ ระทงั่ ครเู กา่ ๆ
ทสี่ อนมากเ็ ชอ่ื วา่ เดก็ ชายคนนไี้ ปไดห้ ากไดเ้ รยี นมคี วามพรอ้ มเกอื บทกุ อยา่ งทง้ั ฐานะ และความฉลาด
รวมทงั้ สามารถเรยี นทางศาสนาทอ่ งคมั ภรี ไ์ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ มาตง้ั แตเ่ ลก็ ๆ เมอ่ื จบชนั้ ประถมศกึ ษา
ปที ี่ 6 ครอบครวั จงึ เลอื กสง่ ไปตอ่ ทโี่ รงเรยี นปอเหนาะไกลออกไปในพนื้ ทส่ี ามจงั หวดั ตามความเชอ่ื และ
ความต้องการ เชื่อว่าเม่ือเรียนจบทางศาสนามาใช้ชีวิตในหมู่บ้าน สามารถเป็นผู้น�ำทางศาสนา
แบบอยา่ งการใชช้ วี ติ และสง่ เสรมิ วงศต์ ระกลู ใหไ้ ดร้ บั ความเชอื่ ถอื ทงั้ ทางโลกทสี่ บื เชอื้ สายจากตระกลู ใหญ่
และทางศาสนา ด้วยความคาดหวงั อันเป่ยี มล้น
นำ้� ในลำ� คลองไหลเออื่ ยลดลงตามความเจรญิ ของชมุ ชนตา่ งๆ รมิ ฝง่ั คลอง ตง้ั แตต่ น้ นำ้� ชมุ ชน
ขยายใหญข่ น้ึ พนื้ ทถ่ี กู จบั จอง เปน็ ไรน่ า สวน และทอี่ ยอู่ าศยั พรากเอาความสมบรู ณข์ องผนื ปา่ ทเ่ี คย
มีมาครัง้ อดตี ลดลงตามไปดว้ ย พนื้ ทีก่ ลางนำ้� ก็เชน่ เดียวย่อมได้รับผลเชน่ เดยี วกนั

26 วทิ ยาจารย์

เม่ือทางพลีที่ถูกกันไว้ให้เป็นทางส่วนรวมกลายเป็นถนนลูกรังคดเลื้อยเลี้ยวขนานไปกับ
ล�ำคลองด้วยแรงงานของคนในชุมชน ถนนถกู ตัดผา่ นหมบู่ ้าน ล�ำคลองลดความจำ� เป็นลง บ้านเรือน
ที่เรียงรายอยรู่ มิ คลองเรม่ิ โยกย้ายมาอยูแ่ นวถนน บา้ นของอบั ดลวานีกเ็ ชน่ เดียวกัน
หลังจากหายหน้าหายตาจากบ้านหลายปี เน่ินนานนัก อับดลวานี กลับมายังบ้านเกิด
แต่มิใช่มาคนเดียวกลับพาหญิงสาวร่างสูงโปร่งผิวด�ำแดง พูดจาส�ำเนียงเปล่งแปลกไปจากท้องถิ่น
และทอ้ งอยุ้ อา้ ยเตม็ ที แมว้ า่ ความหวงั ของครอบครวั หลดุ หายไปแตจ่ ำ� ใจยอมรบั ครอบครวั ใหมท่ กี่ ำ� ลงั
จะเกดิ ขนึ้ ทด่ี นิ รมิ ฝง่ั คลองแปลงหนง่ึ ยาวถงึ ลำ� คลองกลายเปน็ ทอี่ ยขู่ องครอบครวั ใหม่ บา้ นหลงั ใหม่
ถกู สร้างขึน้ เป็นบ้านไมย้ กพนื้ สงู เลก็ น้อยหลังเลก็ ๆ
การกลบั มาของอบั ดลวานเี ปลย่ี นไปจากเดมิ อยา่ งสนิ้ เชงิ จากเดก็ ชายมาเปน็ หนมุ่ ใหญ่ และ
จากความคาดหวังการร�่ำเรียนทางศาสนาด้วยความมุ่งม่ัน มาเป็นชายหนุ่มกร้านด�ำ แต่อย่างน้อย
ความออ่ นน้อมถ่อมตนพูดจาสุภาพ ทักทายทกุ คนในหมู่บา้ น ยงั มใี หเ้ ห็นอยูเ่ ป็นประจ�ำ
เมื่อความมืดมาเยอื นหมบู่ ้าน ดกดกึ รถจกั รยายนตค์ ันเกา่ ครำ�่ คร่าส่งเสยี งดงั ครางได้ยินมา
แตไ่ กล รถแลน่ ฝา่ ความมดื ดว้ ยความเรว็ แมจ้ ะไรแ้ สงไฟหนา้ รถสาดสอ่ งใหเ้ หน็ ทาง อาการโซไปเซมา
คล้ายจะล้มควำ่� แต่ความชำ� นาญบนเสน้ ทางสามารถรอดปลอดภัยทกุ ครงั้ ตลอดระยะสิบกว่าปมี า
นย้ี ามมดื คำ่� อบั ดลวานจี ะมงุ่ หนา้ ไปยงั บา้ นขาประจำ� อยทู่ างตะวนั ออกของหมบู่ า้ นซงึ่ หยอ่ มบา้ นของ
คนพุทธอยูห่ ลายครัวเรอื น เขานง่ั ด่ืมจนดึกแลว้ คอ่ ยกลบั บ้าน นอนไม่ก่ีช่วั โมงก็ต้องลุกข้นึ ตัดยาง
ความเปน็ คนตา่ งถน่ิ และไมค่ อ่ ยเปน็ ทยี่ อมรบั มากนกั ในหมญู่ าติ ภรรยาอบั ดลวานตี ดั สนิ ใจ
ท�ำงานโรงงานในตัวเมืองท่ีไกลออกไปกว่าร้อยกิโลเมตรบ่ายแก่ๆ จะเดินทางไปทำ� งานพร้อมกับรถ
ในหมู่บ้านท่ีเป็นรถประจ�ำบรรทุกผู้โดยสารอัดแน่นเต็มและกลับมาถึงบ้านเกือบรุ่งเช้า จากนั้นก็
หลบั เปน็ ตายดว้ ยความเหนอื่ ยออ่ น จนเปน็ ทรี่ กู้ นั วา่ ชว่ งกลางวนั หา้ มปลกุ รบกวนเวลานอน จะตนื่ อกี ครง้ั
ก็จวนบา่ ยโมง


๒.
ผมสอดสายตาแต่เช้า นักเรียนจ�ำนวนไม่มากนักสามารถเห็นได้จ�ำได้แทบทุกคน เช้าๆ
กอ่ นเขา้ แถวเคารพธงชาติ เปน็ กิจกรรมเวรทำ� ความสะอาดกลมุ่ สรี บั ผดิ ชอบพนื้ ที่ต่างๆ ของโรงเรียน
นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เป็นตัวหลักในการท�ำงานพรอ้ มกับนอ้ งๆ
“ฟาอฟี ไปไหน ไมเ่ ห็นมาทำ� เวรเลย” ผมถามนกั เรียนในกลมุ่ สที ก่ี ำ� ลังกวาดหนา้ อาคารเรยี น
“ยงั ไมม่ าครบั คร”ู นักเรียนตอบขนึ้ แทบจะพร้อมกนั
ผมชกั จะเอะใจเพราะชว่ งนฟ้ี าอฟี มกั จะขาดโรงเรยี นบอ่ ยมากหลายวนั มานขี้ าดประจำ� มากขน้ึ
จนครูประจ�ำวิชาบ่นกันพอสมควร ก็เลยจับรถจักรยานยนต์บ่ึงไปบ้านฟาอีฟทันที ทันทีท่ีถึงเห็น
บา้ นเงยี บเชยี บประตปู ดิ เรียกฟาอีฟดังๆ หลายคร้ัง เสียงเงียบไมม่ คี ำ� ตอบรบั จากข้างใน

วทิ ยาจารย์ 27

“ไปอาบนำ�้ แตเ่ ชา้ แลว้ ครู เหน็ เดนิ ไปทคี่ ลองหายไปเลย ไมเ่ หน็ ขนึ้ มาเลย” เพอ่ื นบา้ นผเู้ ปน็ ญาติ
ตะโกนบอก
ผมบง่ึ รถไปตามเสน้ ทางระหวา่ งรอ่ งสวนยางพาราลงไปยงั รมิ ลำ� คลองจอดรถเดนิ ลงไปยงั ลำ� คลอง
ลงไปยงั ริมน้ำ� ในคลองซ่งึ เปน็ แนวพนื้ ทรายทอดยาว
“ท�ำอะไรคร”ู เสยี งทกั ดงั ขน้ึ จากน้�ำในคลอง
“ตามหาเดก็ ฟาอีฟ หายไปหลายวนั แล้ว” ผมตอบ
“อ๋อ ! เห็นมันอยรู่ ิมคลองเชา้ ๆ ทุกวัน แถวดงราโพ (เลา) ริมคลองดา้ นโน้น” ชาวบา้ นบอกพรอ้ ม
ช้ีไปยงั ทศิ ตะวันตกกล่มุ ต้นราโพทขี่ ้นึ เต็มริมฝ่ังคลอง
ผมเดินลัดเลาะตามทางที่ชี้บอก ริมฝั่งคลองท่ีมีพ้ืนทรายมุ่งเดินเข้าดงราโพข้ึนอัดแน่น
มอื คอยแหวกแยกราโพเดนิ ไปเรอื่ ยๆ จนถงึ ตรงกลาง มที ว่ี า่ ง บนผนื ทรายเหน็ รอยเทา้ เลก็ ๆ อยเู่ ตม็ มกี องฟนื
ร่องรอยปิ้งย่างอะไรสักอย่างท้ิงรอยเอาไว้ท่อนไม้ฟืนยังกองสุมอยู่มอดดับไปนานแล้ว รอยเท้าเล็กๆ
ทางเดนิ ลงวงั นำ้� และอกี ฝง่ั มที างขน้ึ เตยี นราบ เปน็ รอ่ งทางนำ้� กดั เซาะขน้ึ ไปยงั อกี ฝง่ั ..ผมมน่ั ใจวา่ เดก็ นา่ จะ
มาแอบหลบท่ีนี่แลว้ รบี หนีไปข้ึนอีกฝง่ั เป็นแน่ ผมรีบกง่ึ เดินกงึ่ วิง่ ขึน้ จากฝัง่ คลองพรอ้ มกบั สตารท์ เครือ่ ง
รถกลบั ไปยงั ถนนใหญข่ ข่ี า้ มสะพานไปดอู กี ดา้ นของฝง่ั คลอง วนเวยี นลดั เลาะทางเหมอื งนำ้� และรอ่ งสวน
ยางพาราและเลียบฝั่งคลองอยู่นาน ก่อนต้องพ่ายท้อใจตนเองรีบกลับมายังโรงเรียนเพราะชั่วโมงแรก
ต้องเข้าสอนรออยู่
แน่นอนว่าเย็นวันนี้เป็นไงเป็นกัน ผมต้ังใจกลับบ้านค่�ำหรือดึกต้องพบกับผู้เป็นพ่อของเด็กชาย
ฟาอีฟให้ได้ ท�ำความเข้าใจเรื่องเรียนของลูกเขา ให้พามาโรงเรียนให้ได้ แต่ทว่าผมเฝ้าอยู่บ้านใกล้ๆ
จนค�่ำไมม่ ีวีแ่ ววท้งั ฟาอีฟและอบั ดลวานผี ูเ้ ปน็ พ่อ ส่วนแม่นนั้ ไปทำ� งานตงั้ แต่ชว่ งบา่ ยก่อนเลิกเรียนแล้ว
จึงตอ้ งกลับบ้านดว้ ยความผิดหวังอนั อดั แนน่ อยู่ในอก
ผมตนื่ แตเ่ ชา้ รบี ไปโรงเรยี นตงั้ แตย่ งั มดื อยู่สรา้ งความประหลาดใจใหก้ บั ผคู้ นสองขา้ งทางทรี่ จู้ กั กนั
รีบขับรถบ่ึงมายังโรงเรียนจอดรถแล้วเดินมายังบ้านฟาอีฟ ตั้งใจว่าวันนี้จะต้องพบตัวให้ได้ อัลดลวานี
ผเู้ ปน็ พอ่ นา่ จะตน่ื ไปตดั ยางพารานานแลว้ ผมไมก่ ลา้ ทจ่ี ะเรยี ก ถอยหา่ งจากประตบู า้ นวางระยะพอสมควร
ยกขอนไมน้ งั่ เฝา้ รอดว้ ยแนใ่ จวา่ เดก็ ชายฟาอีฟยังไม่ตืน่ อยา่ งแน่นอน
ท่ามกลางความเงียบ เสยี งกลอนดังคลิกเบาๆ ประตูคอ่ ยๆ ถกู เปดิ ช้าๆ และแผว่ เบาที่สดุ พรอ้ ม
กับเด็กชายร่างผอมเล็กย่องลงจากบนั ไดบ้าน
“ฟาอฟี ” ผมเรยี กด้วยเสียงดงั
ร่างนั้นหันขวับทันที ต่ืนตกใจ เพียงอึดใจน้�ำตาไหลพรากยกมือข้ึนปิดหน้าร้องไห้เสียงดังข้ึน
สะอึกสะอื้นยนื สัน่ เทาไมพ่ ูดอะไร
“ไปโรงเรยี น อาบนำ�้ แลว้ ไปโรงเรยี น” ผมเอามอื แตะไหลแ่ ลว้ บอกวา่ “ครจู ะคอยเธออยทู่ โ่ี รงเรยี น”
ว่าแล้วเดนิ กลับโรงเรยี น

28 วทิ ยาจารย์

บริหารการศึกษา

วันชยั ต้ังทรงจติ ร

ข้อสอบ..แ...บ..บ....เตมิ ..ค...�ำ ...

ไดเ้ คยเขยี นถงึ ขอ้ สอบแบบตอบสองทางเลอื กและขอ้ สอบแบบจบั คมู่ าแลว้ คราวนข้ี อเขยี นถงึ
ขอ้ สอบแบบเตมิ คำ�บา้ งเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ชดุ กนั ซง่ึ ขอ้ สอบแบบนค้ี ดิ วา่ กำ�ลงั เหมาะกบั ยคุ กระดาษแพง
พอดี ถา้ ผอู้ อกขอ้ สอบออกไดด้ แี ลว้ กส็ ามารถวดั ผลไดด้ เี ชน่ กนั และไมเ่ ปลอื งกระดาษสำ�หรบั
พิมพ์ข้อสอบอีกด้วย ซ่ึงผิดกับข้อสอบแบบเลือกตอบที่ใช้กระดาษมากอันเนื่องมาจาก
ตัวเลือกนั่นเอง เพ่ือนครูบางคนอาจจะเห็นว่านำ�เอาเรื่องเล็กน้อยเหลือเกินมาเขียน
การเขียนข้อสอบแบบนี้ ทุกคนต้องเคยผ่านและเคยออกข้อสอบมาแล้วทั้งส้ิน อาจจะเห็น
เปน็ เรอื่ งงา่ ยเกนิ ไป สำ�หรบั ผเู้ ขยี นนน้ั มคี วามคดิ วา่ ขอ้ สอบแบบนม้ี ปี ญั หาและขอ้ บกพรอ่ ง
ในการออกอยู่มากเหมือนกัน ผู้ออกข้อสอบแบบนี้ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ไม่เช่นนั้น
ข้อบกพร่องก็จะเกิดข้นึ ได้เช่นกนั

วิทยาจารย์ 29

เนื้อหาท่ีเหมาะส�ำหรับข้อสอบแบบนี้ ได้แก่ แผนผังของสัตว์ แมลงหรือดอกไม้ โดยให้บอกช่ือ
ของสว่ นต่างๆ ใหเ้ ตมิ คำ� ง่ายๆ หรือใช้กบั โจทยเ์ ลขคิดในใจส้นั ๆ ทกุ ชนดิ ลกั ษณะของค�ำถามจะเปน็ คำ� ถาม
ประโยคเดยี วหรือหลายประโยคก็ได้ เพือ่ เปน็ ส่งิ เร้าให้เติมคำ� ในช่องว่างทีเ่ ว้นไว้ สำ� หรบั ลกั ษณะการตอบก็
ตอบแบบส้ันๆ เพื่อเตมิ ให้ประโยคสมบรู ณ์ สว่ นใหญ่แล้วข้อสอบแบบเตมิ คำ� นี้จะวัดความจ�ำและความคิด

ข้อแนะน�ำส�ำหรับการออกขอ้ สอบแบบเตมิ ค�ำ

1. ควรหลีกเล่ียงการใช้ค�ำว่า “เช่น” เพราะค�ำนี้จะท�ำให้ค�ำตอบมีหลายอย่างเวลาให้คะแนน
จะเกิดปัญหาวา่ ตอบกีอ่ ย่าง จึงจะไดค้ ะแนนเตม็ หรือตอบอยา่ งไหนจงึ จะถูกท่ีสุด ตัวอยา่ ง เช่น
ไม่ดี : การท�ำน้ำ� ใหส้ ะอาดอาจท�ำได้หลายวธิ ี เชน่ .....................................................................
ดขี น้ึ : วิธที ำ� น�ำ้ ใหส้ ะอาดท่ีสดุ คอื .............................................................................................
ไมด่ ี : ยาเสพติดใหโ้ ทษมหี ลายชนดิ เช่น ..................................................................................
ดีข้ึน : ยาเสพตดิ ทใี่ ห้โทษมากที่สุด คอื ....................................................................................

30 วทิ ยาจารย์

2. การเว้นที่ว่างส�ำหรับเติมค�ำ ควรเว้นให้ยาวหรือส้ันสม่�ำเสมอกันไม่สั้นบ้างยาวบ้าง เพราะอาจ
เป็นการแนะน�ำค�ำตอบให้ผูต้ อบก็ได้ว่าคำ� ตอบน้ันสั้นยาวเพยี งใด
ไม่ดี : ผู้แตง่ หนังสอื พระอภัยมณี ค�ำกลอน คอื ..............................................................
: ผู้แตง่ หนังสอื ธรรมจรยิ า คือ ...............................................................................
ดีขึ้น : ผู้แตง่ หนังสือพระอภัยมณี ค�ำกลอน คือ ..............................................................
: ผแู้ ตง่ หนงั สอื ธรรมจรยิ า คือ ...............................................................................
ไมด่ ี : อนุสาวรยี ท์ า้ วเทพสตรี ทา้ วศรสี ุนทร อยทู่ จ่ี ังหวัด .................................................
: อนสุ าวรีย์ทา้ วสุรนารี อยทู่ ี่จงั หวดั ......................................................................
ดขี น้ึ : อนุสาวรีย์ท้าวเทพสตรี ท้าวศรสี นุ ทร อยูท่ จ่ี ังหวัด .................................................
: อนสุ าวรีย์ทา้ วสุรนารี อยทู่ จี่ ังหวดั ......................................................................
3. ไม่ควรลอกถ้อยค�ำจากหนังสือโดยตรง เพราะจะเป็นการวัดความจ�ำแต่เพียงด้านเดียว ควรให้
ผู้ตอบใช้ความคดิ บ้าง
ไมด่ ี : เกาะคือพื้นดนิ ขนาดใหญท่ ี่มี ...............................................................................
ดขี น้ึ : พ้ืนดินขนาดใหญ่ทมี่ ีน�ำ้ ลอ้ มรอบเราเรยี กว่า .........................................................
ไม่ดี : ขนุ แผนเปน็ นามพระราชทานเดิมชอื่ ....................................................................
ดีข้ึน : ชื่อเดมิ ของขนุ แผนคือ .........................................................................................
4. ควรเวน้ ช่องวา่ งใหเ้ ติมเฉพาะตอนท้ายเท่านั้น เพราะถา้ เวน้ ด้านหนา้ จะทำ� ใหไ้ มเ่ ป็นไปตามล�ำดับ
ความคดิ ของผู้ตอบ
ไมด่ ี : ........................................................... เปน็ ตวั นำ� เชื้อไข้จับส่ัน (มาลาเรยี ) มาสูค่ น
ดขี ้ึน : สัตวท์ ่นี ำ� เช้อื ไข้จบั สนั่ (มาลาเรยี ) มาสู่คนคอื .......................................................
ไมด่ ี : ................................................................................. เปน็ ประเทศท่ีมดี ินขาวมาก
ดีขึ้น : ประเทศทีม่ ีดินขาวมากคอื ..................................................................................
5. ในหนึง่ ข้อควรใหเ้ ติมคำ� เพยี งแหง่ เดยี ว เพราะถ้าเตมิ หลายแหง่ จะไมส่ ะดวกในการใหค้ ะแนนและ
มกั เป็นคำ� ถามทค่ี ลมุ เครือตอบได้หลายแง่มุม
ไมด่ ี : เม่อื เรารบั ประทาน ................................. จะท�ำให้รา่ งกาย ...................................
ดขี น้ึ : สง่ิ ทเ่ี รารบั ประทานเขา้ ไปแลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กร่ า่ งกายเราเรยี กสงิ่ นน้ั วา่ ............
ไมด่ ี : พชื จะ ............................................... เมื่อได้รบั .................................................
ดขี ึน้ : สิ่งส�ำคัญทท่ี �ำให้พืชปรงุ อาหารคือ .......................................................................

วทิ ยาจารย์ 31

6. เมอื่ ตอ้ งการใหเ้ ตมิ คำ� ตอบเปน็ ตวั เลขควรแสดงหนว่ ยใหช้ ดั เจน เชน่ บาท สตางค์ องศา ตารางวา
หรือ ตารางน้วิ เปน็ ตน้
ไมด่ ี : ทสี่ วนกวา้ ง 14 วา ยาว 16 วา คิดเปน็ พนื้ ที่ .......................................................
ดีขน้ึ : ท่ีสวนกว้าง 14 วา ยาว 16 วา คดิ เป็นพน้ื ท่ี .......................................... ตารางวา
ไมด่ ี : ซอื้ รถยนต์มา 57,035 บาท ตอ่ มาอีก 6 เดอื น ขายไป 35,278 บาท
ขาดทุน .......................................
ดขี ้นึ : ซื้อรถยนตม์ า 57,035 บาท ตอ่ มาอีก 6 เดอื น ขายไป 35,278 บาท
ขาดทุน ..................................... บาท
7. ขอ้ ความทเ่ี วน้ ไวใ้ หผ้ ตู้ อบเตมิ คำ� ถามตอ้ งสามารถบงั คบั ใหผ้ ตู้ อบ ตอบใหอ้ ยใู่ นแนวทตี่ อ้ งการได้
เชน่
ไม่ดี : เลอื ดออกตามไรฟนั เพราะ ...............................................................................
ดีขนึ้ : ถา้ ขาดวิตามนิ ซี จะทำ� ให้เกิดโรคซึ่งเรียกว่า .......................................................
ไม่ดี : ถา้ ขุดลึกลงไปในดนิ จะพบ ...............................................................................
ดขี น้ึ : ช้นั ของโลกท่ีรองรบั ดินอยู่คอื ...........................................................................
8. ไมค่ วรใชค้ �ำว่า ราวๆ ประมาณ เพราะจะทำ� ให้ไมท่ ราบวา่ ตอบใกลเ้ คยี งเพยี งใดจงึ จะถือวา่ ถกู
และได้คะแนน
ไมด่ ี : กรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ษตั รยิ ป์ กครองรวมราวๆ ................................................... พระองค์
ดขี น้ึ : กรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ษตั รยิ ป์ กครองรวม ....................................................... พระองค์
ไม่ดี : กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานขี องไทยประมาณ ................................................... ปี
ดีขึ้น : กรุงศรีอยธุ ยาเป็นราชธานขี องไทย ................................................................ ปี
9. ควรหลีกเลย่ี งคำ� ถามที่แนะค�ำตอบ เช่น
ไมด่ ี : โคลงนิราศนรนิ ทร์ ผ้แู ตง่ คือ .............................................................................

(คำ� ตอบคอื นายนรนิ ทร์ธิเบศร์ (อิน) ซ่งึ ข้อความในค�ำถามเปน็ การแนะค�ำตอบอยูแ่ ลว้ )
ไม่ดี : ลมที่พดั จากทะเลเข้าหาฝัง่ เรยี กวา่ ..................................................................
(ค�ำตอบคือ ลมทะเล ซงึ่ ขอ้ ความในคำ� ถามเป็นการแนะค�ำตอบอยแู่ ลว้ เชน่ กนั )

32 วทิ ยาจารย์

ข้อดีของข้อสอบแบบเติมค�ำก็มีอยู่มาก การออกข้อสอบแบบนี้ใช้วัดความคิดความจ�ำได้ดี
วดั หลกั ภาษาความถนดั และใชว้ ดั วนั ที่ชอ่ื ของบคุ คลสำ� คญั สถานทข่ี องเหตกุ ารณส์ ำ� คญั ๆเปน็ ตน้ นบั วา่ ขอ้ สอบ
แบบน้สี ามารถออกคุมเนอื้ หาได้มาก สำ� หรบั ขอ้ เสียก็มีเช่นกันคอื เป็นขอ้ สอบแบบปรนัยท่ีมคี วามเป็นปรนัย
น้อยที่สุด คือ ค�ำถามไม่แจ่มชัด ไม่มีมาตรฐานในการให้คะแนน การตีค่าคะแนนออกมาเป็นระดับของ
สมรรถภาพทางสมองไม่แน่นอน และท่ีส�ำคัญท่ีสุดคือเปลืองเวลาในการตรวจ บางครั้งเป็นการวัด
ดา้ นภาษาและลายมอื ซงึ่ ทง้ั 2 อย่างนไ้ี ม่เกีย่ วกบั การวดั ความสามารถของผ้สู อบในบางวชิ า เช่น
ค�ำถาม : เมืองหลวงของเวยี ดนามใตช้ อ่ื ................................... ผู้ตอบเขียนคำ� วา่ “ไซ่งอ่ น” ไมถ่ กู
เพราะอ่อนดา้ นภาษาอาจจะเขยี นเปน็ “ไงซอน” ซ่ึงท�ำความลำ� บากใจให้ผู้ตรวจมาก
คิดว่าข้อสอบแบบเติมค�ำท่ีได้ค้นคว้าน�ำมาเสนอต่อเพ่ือนครูคงมีประโยชน์บ้างไม่มากก็น้อยและ
หวงั เปน็ อยา่ งมากว่าในการออกขอ้ สอบเติมค�ำครั้งตอ่ ไป ก็คงไมม่ ีข้อบกพรอ่ งเหล่าน้ีเกิดข้นึ อกี

เอกสารอ้างอิง
กมล สุดประเสรฐิ , หลกั และวธิ วี ดั ผลการศึกษา, พระนคร : โรงพมิ พ์วฒั นาพานิช, 2510

ชวาล แพรตั กลุ , เทคนคิ การวัดผล, พระนคร : โรงพิมพว์ ัฒนาพานชิ , 2509
ธีแนน, เดวิด เค, การประเมินผลการสอนในประเทศไทย, ส�ำนักงานวางแผนการศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2509

วทิ ยาจารย์ 33

วชิ าการอ่านงา่ ย

ประทมุ เรอื งฤทธิ์

ปฏิรูปการศกึ ษา :
กา้ วให้ถูกทาง

ปีน้ี..ลมเหนือพัดหนาวมาเร็วมากตั้งแต่เริ่มเดือนตุลาคม
ภาคใต้ฝั่งตะวันออกรอบลุ่มทะเลสาบสงขลา ฝนตก
ลงมาเร่ือยๆ ชนิดที่ว่า วันเว้นวัน ผู้คนมีอาชีพท�ำสวน
ยางพาราบ่นอุบถึงรายได้ประจ�ำวันหดหายไปพร้อมกับ
อัตคัดขัดสนของครอบครัวท่ามกลางความฝืดเคือง
ของสภาวะทางเศรษฐกิจฐานรากในยุคนี้ บางคนถึงกับ
บน่ บอกวา่ “ทก่ี รดี ยางมานย้ี งั ไมค่ มุ้ กบั คา่ ปยุ๋ ทล่ี งไปเลย”
ดว้ ยความผนั ผวนของลกั ษณะภมู อิ ากาศ และราคาดงิ่ ลง
ส่งผลให้รายได้ของคนภาคเกษตร

34 วิทยาจารย์

ทเี่ รยี กกนั วา่ “รายยอ่ ย”หรอื “รบั จา้ งกรดี ยาง” ตา่ งประสบปญั หาการใชจ้ า่ ยซอ้ื ของลดลงตามไปดว้ ย
แมจ้ ะเปน็ ภาพเลก็ ๆ ในเชงิ พน้ื ทแ่ี ตก่ ระจายอยทู่ วั่ ไปยอ่ มสง่ ใหร้ ะบบใหญส่ นั่ คลอนทา่ มกลางความฝดื เคอื ง
เหลา่ น้ี
ด้วยสภาพผันผวนจากสภาพของอากาศย่อมส่งผลให้คนหนุ่มสาวเร่ิมทยอยออกจากหมู่บ้าน
เขา้ ทำ� งานในโรงงานใกลๆ้ มากขน้ึ ปลอ่ ยทงิ้ สวนยางใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องคนแกเ่ ฒา่ พรอ้ มกบั ลกู ๆ การพลดั หลง
ในกบั ดกั ของรายไดแ้ ละการบรโิ ภคของครอบครวั เดยี่ วรนุ่ ใหมย่ งั คงเปน็ คลนื่ กระจายกระเพอื่ มไปทกุ พนื้ ที่
ไมเ่ ว้นแม้กระท่งั พืน้ ท่ชี ายขอบเลก็ ๆ
ในขณะท่ีการจัดการศึกษาต้องท�ำงานแข่งกับนโยบายเชิงซ้อนก่อทับกับภารกิจท่ีควรจะเป็น
ดว้ ยคาดหวังเติมคนให้เปน็ พลงั ของชาติตามนโยบายของยุคสมัยอนั เป็น “เจตนารมณก์ ารเมอื ง” จึงเป็น
การท�ำงานเฉพาะหน้ามากกว่าการภารกิจของการศึกษาท่ีแท้จริง รวมทั้ง การจัดการและดึงหน้าที่ของ
ครอบครวั มาทำ� แทนเสยี สว่ นใหญ่ โรงเรยี นจงึ เปรยี บเสมอื น “บา้ นหลงั ทสี่ อง” ของนกั เรยี น ในเรยี นเรยี นรู้
สรา้ งรากฐานของชวี ติ รวมทง้ั ฝกึ ทกั ษะชวี ติ หากแตพ่ อออกจากรว้ั โรงเรยี นตอ้ งเผชญิ กบั วถิ ขี องความเปน็ จรงิ
อีกด้านหน่ึงของสังคม และเป็นวิถีที่ทุกคนอยู่ในกับดักของทุนบริโภคท่ีกระจายครอบคลุมทุกพื้นที่
ย่ิงกว่าลมมรสุมใดๆ และวิถีของการบริโภคมีความรุนแรงมากข้ึนเกินกว่าท่ีระบบการผลิตในฐานราก
ของพื้นที่ชายขอบจะวิ่งไล่ทัน ความล่มสลายของครอบครัว ชุมชนของพ้ืนท่ีชายขอบ น�ำไปสู่การขยาย
ขอบเขตการบริโภคท่กี วา้ งข้ึนจนยากฉุดรั้ง
ในมติ กิ าลเวลา...สภาพของชมุ ชนรอบรว้ั โรงเรยี นกอ่ เปน็ ทางสายแพรง่ ของการแกง่ แยง่ แขง่ ขนั ..
และเออ่ื ยชา้ บา้ ง จงึ เปน็ แนวปะทะระหวา่ งวถิ ดี ง้ั เดมิ กบั สมยั ใหมท่ ย่ี งั ขาดการเชอ่ื มตอ่ ใหล้ งตวั อนั เนอ่ื งมาจาก
การก้าวของสังคมบริโภค เทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่งผลให้ผลผลิตคนรุ่นใหม่ได้เปลี่ยนสภาพตนเองออก
จากชุมชนและความเป็นพ้ืนถิ่น ก้าวสู่ความเป็น “พลโลก” จาก “ชุดความคิดทันสมัย” ได้ก่อเป็นรูป
เป็นพฤตกิ รรมการบริโภคตามหลกั ตลาดนยิ มไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง

วทิ ยาจารย์ 35

สถานศึกษาซง่ึ เปน็ กระบวนการกลอ่ มเกลาทางสังคมตามแนวอัตลกั ษณ์ของชาติพนั ธ์ุ
สร้างการเรียนรใู้ นอดีต ปัจจบุ นั รวมทง้ั การกา้ วสอู่ นาคต จงึ เป็นแนวปะทะอีกด้านหนง่ึ ของพ้นื ที่
ตาม “ชุดความคิดทนั สมัย” กระบวนการหลอ่ หลอมหรือกล่อมเกลามกั ไล่ไม่ทันตอ่ ปรากฏการณ์
พลวัตรทางสังคม จนกลายเป็นต้องปรับเปลี่ยนตลอดเวลา เมื่อมีสถานการณ์ทางสังคม
และความตอ้ งการของเสน้ ทางอำ� นาจทอี่ ยากใหเ้ ปน็ จงึ ไมแ่ ปลกใจเลยวา่ ในระยะสามทศวรรษ
ที่ผ่านมาได้เกิดการปรับเปลี่ยนจนบางครั้งได้ก่อให้ค�ำถามว่า เส้นทางการจัดการศึกษา
เปน็ การสง่ เสรมิ พฒั นาหรอื ฉดุ รงั้ โดยเฉพาะในภาคสว่ นของ “โครงสรา้ งทางการศกึ ษา”ทอี่ อกแบบ
มาคร้ังแล้วครั้งเล่าสามารถสนองตอบและรองรับต่อการพัฒนาบุคคลและสังคมจรงิ หรอื ไม่
และรวมทั้งการผลิตนโยบายที่เป็นการ “ผลิตซ้�ำ” อยู่ตลอดเวลา ก่อผลให้สถานการณ์ผู้ปฏิบัติ
สับสน “การผลิตซ้�ำ” จึงเป็นการสร้างภาระท่ีซ�้ำซ้อนท่ามกลางข้อจ�ำกัดของงบประมาณ
บคุ ลากร เวลา และภารกจิ หลกั ทางการศกึ ษา
จากโครงสร้างทางการศึกษา การออกแบบทุกยุคสมัยมิได้ตอบสนองต่อภารกิจ
หลักการจัดการศึกษาในระดับฐานราก เพราะการสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาการศึกษา
ค�ำตอบจะอยู่ท่ี “โรงเรียน” ส�ำคัญท่ีสุด แต่ทว่าผลของการออกแบบกลับท�ำให้โรงเรียนเล็กลง
ทงั้ บคุ ลากรและงบประมาณ แตใ่ หภ้ ารกจิ เพมิ่ ขนึ้ ในขณะทหี่ นว่ ยงานเหนอื ขน้ึ ไปไดร้ บั การออกแบบ
ใหม้ คี วามพรอ้ มทงั้ ดา้ นเครอ่ื งมอื งบประมาณและบคุ ลากร ดว้ ยลทั ธคิ วามเชอ่ื ในการสรา้ งกลไก
การควบคมุ การบงั คบั บญั ชาในแนวดงิ่ มากกวา่ การ “รว่ มสรา้ งสรรคภ์ ารกจิ ”การออกแบบดงั กลา่ ว
หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารถกู บบี รดั ใหเ้ ลก็ ดว้ ยขอ้ จำ� กดั ยอ่ มสง่ ผลกระทบตอ่ การจดั การศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพ
ไดต้ ามความคาดหวงั ของสงั คม แมจ้ ะพยายามบอกวา่ “วนั นไ้ี ดเ้ พม่ิ งบประมาณ และอตั รากำ� ลงั
ท่ีเหมาะสมกับองค์กรแต่ละหน่วย” แต่ทว่า การเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและ
เตมิ ศกั ยภาพทเ่ี ขม้ แขง็ ใหก้ บั ฐานรากจะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ โรงเรยี นในระดบั แรก โดยใหโ้ รงเรยี น
เปน็ นิตบิ คุ คลและอัตรามาสนับสนุนในหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารใหท้ ำ� งานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

36 วทิ ยาจารย์

จ�ำได้ว่า...ในระยะเริ่มแรกของการก้าวสู่ความเป็นครูประกอบวิชาชีพน้ีด้วยความต้ังใจม่ัน
เราตา่ งพดู ถงึ และใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ ครทู สี่ นบั สนนุ การเรยี นการสอนโดยคาดหวงั ใหค้ รทู ำ� หนา้ ทจ่ี ดั การเรยี น
การสอนอย่างสมบูรณ์ ปลดภารกิจที่นอกเหนือจากงานการจัดการเรียนการสอนออกไป แต่เม่ือ
ผ่านถึงวัยใกล้เกษียณอายุราชการ เร่ืองราวเหล่านี้กลับถูกเก็บใส่ล้ินชักแห่งความคาดหวังมากว่า
สามทศวรรษ แมจ้ ะปฏริ ปู การศกึ ษากค่ี รงั้ ตง้ั แตก่ ารเปน็ “วาระแหง่ ชาต”ิ จนถงึ การนำ� พาประเทศไปสู่
“ไทยแลนด์ 4.0” หากหนว่ ยรบมีก�ำลังอ่อนแอยากที่ชนะต่อข้าศกึ กระทงั่ ชนะใจตนเอง
นาปรงั ..บนพนื้ ทเี่ ลก็ ๆ ดา้ นทศิ ใตข้ องโรงเรยี นคอ่ ยๆ ถกู ทยอยเกบ็ เกยี่ วอยา่ งรวดเรว็ เมอื่ ฝนตง้ั เคา้
วา่ จะตกลงมาเพยี งระยะเสาร์ – อาทติ ย์ นาขา้ วบนพนื้ ทเี่ ลก็ ๆ กถ็ กู เกบ็ เกย่ี วดว้ ยรถเกย่ี วขา้ วตนี ตะขาบ
สัญชาติภาคกลางจนหมดสิ้น คงเหลือตอซังและร่องรอยตีนตะขาบเป็นร่องลึก ปีนี้ผลการเก็บเกี่ยว
ขา้ วนาปรังแทบมองไม่เหน็ เด็กเดินตามรถเกยี่ วข้าว แตกต่างไปจากหลายปีกอ่ นทเ่ี ดก็ จะเดนิ ตามหลัง
รถเก็บเกี่ยวสะพายไซ มือถือสุ่มหรือนาง ไล่จับปลายังคงตกค้างเหลืออยู่ในผืนนาตามท่ีลุ่ม
น้�ำขัง จากการเขา้ มาของนกปากหา่ ง และ การเล้ียงเปด็ ไล่ทุ่ง แมจ้ ะทำ� ให้หอยเชอร่ี ศตั รูสำ� คัญของ
ตน้ ข้าวลดน้อยลง แตค่ วามสมบรู ณ์ของท้องทงุ่ แหลง่ อาหารของคนในพนื้ ถน่ิ หดหายไปเชน่ เดยี วกนั
ฝนแห่งฤดูค่อยๆ ตกลงมาเพียงไม่ถึงสัปดาห์ เมื่อน�้ำเต็มนา เสียงของเคร่ืองยนต์ดังแต่เช้า
ครางกระหม่ึ ทง้ั แบบรถไถนาชนดิ เดนิ ตาม หรอื รถจกั รไถนาขนาดเลก็ ดงั ประสานกนั นาปกี ำ� ลงั เรม่ิ ขน้ึ
บนพนื้ ทเ่ี ลก็ ๆ หอ้ มลอ้ มดว้ ยสวนยางพาราทง้ั สามดา้ น การทำ� นายงั คงเปน็ อาชพี เสรมิ จากสวนยางพารา
แมว้ นั นพ้ี น้ื ทนี่ าจะหดแคบลงเรื่อยๆ ด้วยการเปลี่ยนจากท่ีนาขุดยกร่องปลูกยางพาราล้อมกรอบเข้า
มาเร่ือยๆ จากพืน้ ท่ีนากว้างสดุ ตา คงเหลอื ไมถ่ ึงกึ่งของพนื้ ทท่ี ม่ี ีอยเู่ ดิม
และวันนี้...เป็นวันแรกของการแข่งขันทักษะงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนในระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษา นักเรียนพากนั ตน่ื เต้น พกพาความมัน่ ใจและความสามารถเขา้ แขง่ ขนั อย่างล้นเปย่ี ม
“อ้าว ! ใครจะไปแข่งขันทกั ษะมาเรว็ ขนึ้ รถครู น่งั ดๆี ระวงั ดว้ ยหละ่ ”

วทิ ยาจารย์ 37

พทุ ธศาสนา

สุนทร การบรรจง

แดค่ ณุ ครู

ตอนที่ 43

วาทะพระบรมครู เร่อื ง

ธรรมท่เี ราแสดงไว้ดแี ล้ว

ราตรีนาน สำ� หรบั บุคคลทีน่ อนไมห่ ลบั
ระยะทางหน่งึ โยชน์ไกล สำ� หรับผลู้ ้าแล้ว
สงั สารวฏั ยาวนาน สำ� หรบั แดนพาล
ผูไ้ ม่รแู้ จ้งพระสัทธรรม

(ตอนที่ 1)

พบกันฉบับนี้ ข้ึนต้นหรืออารัมภบทด้วยพุทธภาษิต เรื่องคนพาล
ซ่ึงมาในหนังสือธรรมดา แปลโดยศาสตราจารย์พิเศษเสฐีพรพงษ์
วรรณปก ราชบัณฑิต เพื่อน�ำไปสู่เรื่องธรรมท่ีเรากล่าวไว้ดีแล้ว

เร่ืองของธรรมที่เรากล่าวไว้ดีแล้วหรือสวากขาตธรรมน้ี เป็นเรื่องท่ี
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงโต้ตอบพระเจ้าปเสนทิโกศล มีมา
ในทตุ ิยอัปปมาทสูตรที่ 8 วรรคท่ี 2 แหง่ โกศลสงั ยตุ ต์ มใี จความดังต่อไปน้ี

38 วิทยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 39

กาลคร้ังหน่ึง พระเจ้าปเสนทิโกศลทูลวงศ์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า
เมื่อหม่อมฉันอยู่ในท่ีสวดได้คิดว่าพระธรรมเป็นของท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดง
ไวด้ แี ลว้ กพ็ ระธรรมทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงแสดงไวด้ แี ลว้ นนั้ ยอ่ มมแี กผ่ มู้ กี ลั ยาณมติ ร
ผมู้ กี ลั ยาณสหาย ผนู้ อ้ มใจไปในกลั ยาณะ ไมม่ แี กผ่ มู้ บี าปมติ ร ผมู้ บี าปสหาย ผนู้ อ้ มใจ
ไปในปาปะ พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธองค์ทรงตอบว่าอย่างนั้นมหาราชๆๆ ธรรม
ที่เราแสดงไว้ดีแล้วนี้ ย่อมมีแก่ผู้มีกัลยาณมิตร ผู้มีกัลยาณสหาย ผู้น้อมใจไปใน
กลั ยาณะ ไม่มแี กผ่ ู้มบี าปมิตร ผมู้ บี าปสหาย ผูน้ อ้ มใจไปในปาปะ ดงั น้ี

ค�ำทรงโต้ตอบน้ี เป็นค�ำทรงโต้ตอบด้วยทรงเห็นชอบด้วยค�ำท่ีว่าธรรม
ซง่ึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงแสดงไวด้ แี ลว้ นนั้ ในอรรถกถาอธบิ ายไวว้ า่ ไดแ้ ก่ เทศนาธรรม
คือ การแสดงฯ ก็ธรรมเป็นอันช่ือว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ดีแล้ว
แกบ่ คุ คลทง้ั ปวงกจ็ รงิ แตถ่ งึ อยา่ งนน้ั ธรรมนน้ั กย็ อ่ มสำ� เรจ็ ประโยชนแ์ กผ่ มู้ กี ลั ยาณมติ ร
ผู้ฟังดี ผู้เชื่อถือ เปรียบเหมือนยาซึ่งส�ำเร็จประโยชน์แก่ผู้ใช้ ไม่ส�ำเร็จประโยชน์
แก่ผอู้ ่ืน ฉันนน้ั

เมอื่ องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงตอบอยา่ งนนั้ แลว้ กไ็ ดท้ รงเลา่ เรอื่ ง
พระอานนท์กราบทูลใหฟ้ งั ว่า มหาราช ครัง้ หนง่ึ เราอยทู่ ีน่ ครกะนิคมของพวกศากยะ
ในสักกชนบท คราวนั้นพระอานนท์ทูลเราว่า ความมีกัลยาณมิตร มีกัลยาณสหาย
ความนอ้ มใจไปในกลั ยาณะนเ้ี ปน็ พรหมจรรยท์ ง้ั สนิ้ ภกิ ษผุ มู้ กี ลั ยาณมติ รกลั ยาณสหาย
ผู้น้อมใจไปในกัลยาณะ จะอบรมอริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ 8 ได้ จักกระท�ำ
ใหม้ าก ซึง่ อริยมรรคอันประกอบดว้ ยองค์ 8 ได้

ข้อนี้คืออย่างไร คือ ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร กัลยาณสหาย ผู้น้อมใจไปใน
กัลยาณะ ย่อมอบรมอริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ 8 ได้ ย่อมกระท�ำให้มาก
ซง่ึ อรยิ มรรคอนั ประกอบดว้ ยองค์ 8 ได้ เพราะฉะนนั้ ความมกี ลั ยาณมติ ร มกี ลั ยาณสหาย
ความนอ้ มใจไปในกลั ยาณะนี้ จงึ เปน็ พรหมจรรยท์ ง้ั สน้ิ สตั วโ์ ลกทง้ั หลายผมู้ คี วามเกดิ
ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความเศร้าใจ ความบ่นเพ้อ ความทุกข์ ความโทมนัส
ความคบั แคน้ เปน็ ธรรมดา กพ็ น้ จากความเกดิ แก่ เจบ็ ตาย ไดพ้ น้ จากความเศรา้ ใจ
ความบน่ เพอ้ ความทกุ ขโ์ ทมนสั ความคบั แคน้ ทงั้ สนิ้ ได้ เพราะอาศยั เราผเู้ ปน็ กลั ยาณมติ ร

40 วทิ ยาจารย์

เพราะเหตนุ แี้ หละมหาบพติ ร พระองคค์ วรศกึ ษาวา่ เราจกั เปน็ ผมู้ กี ลั ยาณมติ ร
กลั ยาณสหาย นอ้ มใจไปในกลั ยาณะ เมอื่ พระองคม์ กี ลั ยาณมติ ร กลั ยาณสหาย นอ้ มใจ
ไปในกลั ยาณะ กจ็ กั มธี รรมเอก คอื ความไมป่ ระมาทในกศุ ลธรรมทง้ั หลาย ซง่ึ จกั เปน็
ตวั อยา่ งอนั ดแี กพ่ วกสนมหารี ราชบรวิ าร พลนกิ าย ชาวนคิ มเปน็ ลำ� ดบั ไป เมอ่ื พระองค์
ไมป่ ระมาทกเ็ ปน็ อันชื่อวา่ ค้มุ ครองรักษาพระองค์และสนมนารี ยังถึงสงิ่ ทกุ ประการ
คร้นั ตรัสดังน้แี ลว้ จึงตรัสเปน็ พระคาถาต่อไปวา่

“บัณฑิตท้ังหลายผู้ต้องการโภคทรัพย์ยิ่งๆ ต่อไป ย่อมสรรเสริญความ

ไม่ประมาทในการกระท�ำบุญทั้งหลาย บัณฑิตผู้ไม่ประมาทย่อมได้ประโยชน์
2 คือ ประโยชน์ทันตาเห็นและต่อไป ผู้ที่ได้ประโยชน์ทั้ง 2 เรียกว่า บัณฑิต

” ค�ำทรงโต้ตอบพระเจ้าปเสนทิโกศลนั้น เป็นค�ำทรงเห็นชอบด้วย ส่วน

คำ� โตต้ อบพระอานนท์ ทท่ี รงนำ� มาเลา่ ใหพ้ ระเจา้ ปเสนทโิ กศลฟงั นนั้ เปน็ คำ� ทรงโตต้ อบ
โดยไม่ทรงเห็นด้วย คือ พระอานนท์เถรเจ้าเห็นว่า พรหมจรรย์อันได้แก่ อริยมรรค
ซงึ่ ประกอบดว้ ยองค์8มสี มั มาทฏิ ฐิความเหน็ ชอบเปน็ ตน้ นนั้ เกดิ จากกลั ยาณมติ รกงึ่ หนงึ่
เกดิ มาจากการกระทำ� ของบคุ คลกงึ่ หนงึ่ ความเหน็ อนั นเี้ ปน็ ความเหน็ ทไ่ี มถ่ กู เหมอื น
เมอื่ มคี ณุ เปน็ อนั มาก ชว่ ยกนั ยกเสาศลิ าขน้ึ ยอ่ มแบง่ แยกไมไ่ ดว้ า่ คนโนน้ ยกขน้ึ เทา่ นี้
คนนยี้ กขนึ้ เท่านัน้ หรือเหมอื นกับเมอื่ บุตรเกดิ ข้ึนก็อาศยั มารดาบดิ าก็ยอ่ มแบ่งแยก
ไม่ไดว้ า่ เกดิ จากมารดาเทา่ นี้ เกิดจากบดิ าเทา่ น้ี ขอ้ นีฉ้ นั ใด อริยมรรคทงั้ 8 น้ี กเ็ ปน็
ของที่แยกกนั ไมไ่ ด้ฉันนัน้ ใครๆ ไม่อาจพูดได้ว่าเกิดจากกัลยาณมิตรเทา่ น้ี เกดิ จาก
กระทำ� ของบุคคลหน่งึ ๆ เท่านี้

เพราะฉะนั้น องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงห้ามเสียว่าอย่าพูด
อยา่ งนนั้ แลว้ ทรงแสดงวา่ ความมกี ลั ยาณมติ ร มกี ลั ยาณสหาย นอ้ มใจไปในกลั ยาณะน้ี
เปน็ พรหมจรรยท์ ง้ั สนิ้ คอื เปน็ มลู รากแหง่ พรหมจรรยท์ งั้ สน้ิ ยอ่ มเกดิ มาจากมลู ราก คอื
กัลยาณมติ รเท่าน้นั

จากกันฉบับน้ี จากกันด้วยพทุ ธศาสนสภุ าษิตทีว่ า่

“ หากแสวงหาไม่พบเพื่อนที่ดีกว่าตน / อ่านตอ่ ฉบบั หนา้ /

หรือเพ่ือนท่ีเสมอกับตนก็ถึงเที่ยวไปคนเดียว
เนื่องจากมิตรภาพ ไม่มีในหมู่คนพาล



วทิ ยาจารย์ 41

บทความวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.กลา้ ทองขาว

การเมือง

42 วทิ ยาจารย์

ในสถานศกึ ษา

วทิ ยาจารย์ 43

ความน�ำ

สถานศึกษาเป็นองค์การทางสังคม ที่ได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินภารกิจด้านการจัดการศึกษา มีอ�ำนาจ
หนา้ ทแี่ ละมวี ฒั นธรรมในการประกอบกจิ การเฉพาะเจาะจงทตี่ า่ งไปจากองคก์ ารทางสงั คมประเภทอนื่ แตก่ ม็ กั จะมี
ปรากฏการณ์ทางสังคมอย่างหน่ึงและด�ำรงอยู่คล้ายๆ กับองค์การทางสังคมอื่น คือมี “การเมืองในองค์การ”
(Organizational Politics) หรอื “การเมืองในสถานศกึ ษา” ซงึ่ พฤตกิ รรมการเมืองในสถานศกึ ษา คือ กจิ กรรมที่
สมาชิกกระท�ำใดๆ เพื่อให้ได้มาซง่ึ การสนบั สนนุ ใหไ้ ดม้ าซึ่งอำ� นาจ การใช้อ�ำนาจ และทรัพยากรหรอื ผลประโยชน์
อ่ืนใดเพื่อตนหรือกลุ่มตนภายใต้สถานการณ์ท่ีมีความขัดแย้งและมีความไม่แน่นอนสูง พฤติกรรมทางการเมือง
ในสถานศึกษาอาจดำ� เนินไปเปน็ ปกตวิ ิสยั หรอื อาจมสี ภาพรุนแรงถงึ ขั้นมกี ารปฏบิ ตั ิต่อกนั อย่างไม่เป็นธรรม
หากสถานศึกษาใดมีเหตุการณ์ลักษณะนี้ด�ำรงอยู่ในวิถีชีวิตการงานท่ียาวนาน ก็อาจจะส่งผลเสีย
ตอ่ บรรยากาศการทำ� งาน บคุ ลากรอาจมคี วามรสู้ กึ ไมด่ ี เพราะมองวา่ พฤตกิ รรมการเมอื งในสถานศกึ ษา มผี ลกระทบ
ต่อประสิทธิภาพของงานและความสัมพันธ์ระหว่างกัน ความขัดแย้งจะบั่นทอนความรู้สึกของคน ท�ำให้คุณภาพ
การจดั การเรยี นการสอนและคณุ ภาพการศกึ ษาตกตำ�่ ลง อยา่ งไรกต็ าม ถา้ หากผเู้ กย่ี วขอ้ งมคี วามเขา้ ใจและรเู้ ทา่ ทนั
ก็อาจจะไม่มองการเมอื งในสถานศึกษาแต่เพียงดา้ นลบ คอื แทนท่ีผบู้ ริหารจะปฏเิ สธ หรอื พยายามขจดั พฤตกิ รรม
การเมืองให้หมดสิ้นไป หากแต่ได้ท�ำความเข้าใจ และศึกษาหาวิธีที่เหมาะสม ท่ีจะใช้พฤติกรรมดังกล่าว
ไปในทิศทางสรา้ งสรรค์ การเมอื งในสถานศึกษาก็อาจมีคุณค่า เกิดประโยชนแ์ ละเปน็ ผลดตี อ่ องค์การ

ความส�ำคัญ

การเมืองเป็นกิจกรรมที่จะท�ำให้ได้มาซ่ึงอ�ำนาจโดยตรง อ�ำนาจคือความสามารถที่จะท�ำให้บุคคลอ่ืน
กระท�ำในสง่ิ ท่ีตนเองต้องการ แมว้ า่ อ�ำนาจจะเป็นสิง่ ทีม่ คี วามสำ� คญั บางครง้ั อำ� นาจ (เชงิ นิเสธ) อาจเปน็ เหตใุ ห้
บางคนกระทำ� บางอยา่ งทไ่ี มพ่ งึ ปรารถนา นำ� ไปสปู่ ญั หาทางสงั คมและปญั หาลกั ษณะอนื่ ๆ ในหนว่ ยงาน แตอ่ ำ� นาจ
(เชงิ สรา้ งสรรค)์ จะเปน็ พลงั ทท่ี ำ� ใหก้ ลไกตา่ งๆ ขององคก์ ารมกี ารขบั เคลอ่ื น เมอื่ บคุ คลตอ้ งกา้ วเขา้ สงู่ านในสถานศกึ ษา
ไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษาระดับใด ก็ควรเข้าใจว่าการบริหารสถานศึกษาในปัจจุบันเป็นระบบของความร่วมมือ
ลกั ษณะธรรมชาตขิ ององคก์ ารสมยั ใหมต่ ามนยั แหง่ ทฤษฎพี ฤตกิ รรมองคก์ าร (Organization BeHavioral Theory)
ได้อธบิ ายไว้ชดั เจนในเรื่องอำ� นาจและการเมืองเพือ่ ควบคุมพฤตกิ รรมของระบบความร่วมมอื ในองคก์ าร
ดว้ ยเหตทุ ร่ี ะบบความรว่ มมอื ในสถานศกึ ษาเปน็ กจิ กรรมทางการเมอื ง เปน็ เรอ่ื งของการตอ่ รองเพอ่ื อำ� นาจ
ของกันและกัน ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ขบวนการของกิจกรรมในสถานศึกษาก็เปรียบเสมือนขบวนการ
ทางการเมืองโดยโครงสร้างองค์การของสถานศึกษาก็เปรียบเสมือนผลของการแข่งขันอ�ำนาจระหว่าผู้ท่ีเข้าร่วม
อยู่ในสถานศกึ ษา ความรเู้ ร่ือง “การเมอื งในสถานศึกษา” จงึ เป็นเร่อื งท่คี วรได้รับความสนใจ

44 วทิ ยาจารย์

ความหมาย

การเมืองในองค์การ หรือ การเมืองในสถานศึกษา คือ แนวคิด (Concept) ท่ีคนในสังคมองค์การและ
นักวิชาการสร้าง (Construct) ข้ึน เพ่ือให้เป็นค�ำท่ีเรียกแทนการอธิบาย (Explain) ปรากฏการณ์หรือพฤติกรรม
ทางสงั คมอยา่ งหน่งึ ของบคุ คลหรือกลมุ่ บคุ คลในสถานศกึ ษา
การเมอื งในสถานศกึ ษาหมายถงึ พฤตกิ รรมทางสงั คมของบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลทด่ี ำ� เนนิ กจิ กรรมเพอื่ ใหไ้ ดม้ า
ซ่ึงอ�ำนาจและใช้อ�ำนาจในการจัดทรัพยากรและผลประโยชน์เพ่ือตนหรือกลุ่มตน เป็นกิจกรรมท่ีอยู่นอกเหนือ
ระบบอำ� นาจทย่ี อมรับกันตามปกติของกระบวนการดำ� เนินงานในสถานศึกษา ลักษณะปรากฏการณ์ของกจิ กรรม
อาจด�ำเนินไปภายใต้ความขัดแย้งและอาจสะท้อนให้เห็นชัดเจนหรืออ�ำพราง แต่จะส่งผลกระทบต่อบรรยากาศ
หรอื แบบแผนการปฏิบตั งิ านและความรสู้ ึกของบุคลากรในสถานศึกษาทั้งทางบวกและลบ

แนวคิดพ้นื ฐานท่ีเกย่ี วข้อง

ตามการรบั ร้หู รอื ความคิดเหน็ ของคนทวั่ ๆ ไป มองวา่ การเมืองในสถานศกึ ษาเป็นเรอื่ งของการชงิ ดีชิงเดน่
การช่วงชิงความได้เปรียบซ่ึงกันและกันของบุคคลซ่ึงน�ำมาซึ่งอ�ำนาจและผลประโยชน์ การท�ำงานเอาหน้า
การตงั้ ขอ้ กลา่ วหาเพอ่ื ทำ� ลายชอื่ เสยี งและความเชอ่ื ถอื กนั การใชเ้ ลห่ เ์ หลย่ี มชน้ั เชงิ เพอ่ื เอาชนะคแู่ ขง่ การแบง่ ฝกั แบง่ ฝา่ ย
การแสวงหาความนยิ มชมชอบใหค้ นอนื่ เหน็ ดเี หน็ งามในสง่ิ ทต่ี นเองทำ� การชกั จงู หวา่ นลอ้ มหรอื แสวงหาพรรคพวก
ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เพราะการมพี วกมากทำ� ใหม้ คี วามหมายและมคี ณุ คา่ การมพี วกมากทำ� ใหม้ นี ำ�้ หนกั ในการตอ่ รอง
มีคนเกรงใจ เกรงบารมี
ยิ่งไปกว่าน้ัน ในบรรยากาศของการเล่นเกมทางการเมือง ผู้เล่นอาจแสดงท่าทีบริสุทธ์ิและจริงใจ
แบบมิตรแท้ต่อกัน แต่ถ้าเม่ือใดอีกฝ่ายเพลี่ยงพล้�ำหรือมีจังหวะก็สามารถขจัดคู่แข่งให้ออกไปนอกเส้นทาง
เพือ่ ช่วงชิงอำ� นาจและผลประโยชนท์ ตี่ นต้องการได้ทนั ที
แตก่ ารมองการเมอื งในสถานศกึ ษาตามแนวทางทว่ั ๆ ไปแบบน้ี ผเู้ กยี่ วขอ้ งกบั เหตกุ ารณม์ กั ไดร้ บั ขอ้ แนะนำ�
ให้เข้าใจว่า พฤติกรรมทางการเมืองที่เห็นและเป็นไปน้ันเป็นเร่ืองปกติธรรมดา เม่ือจะต้องอยู่ร่วมงานและ
เปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี ององคก์ าร กต็ อ้ งเรยี นรแู้ ละศกึ ษาสภาพวฒั นธรรมและสงั คมของสถานศกึ ษาใหถ้ อ่ งแท้ เรยี นรทู้ จี่ ะ
ปรับตัวและวางตนเองให้เหมาะสมกลมกลืน ใช้ความสุภาพอ่อนน้อม ท�ำตนให้เข้ากับคนง่าย แต่ตลอดเวลา
ในการทำ� งานจะตอ้ งรจู้ รงิ รลู้ กึ และยงั ตอ้ งรจู้ กั พฒั นาและปรบั ปรงุ ตนเองอยเู่ สมอ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายตอ้ งทำ� ให้
เตม็ ที่ ขยนั อดทน มงุ่ มน่ั ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และรกั ษาผลประโยชนข์ องสถานศกึ ษา เมอ่ื ทำ� เชน่ น้ี การเมอื งในสถานศกึ ษา
ก็ไมใ่ ชเ่ ร่อื งนา่ กลัว

วทิ ยาจารย์ 45

สว่ นแนวคดิ ทางวชิ าการเกยี่ วกบั พลงั ทางการเมอื งในองคก์ าร มขี อ้ สนั นษิ ฐาน (Assumption) เปน็ ทำ� นองวา่
องค์การเป็นการรวมตัวของบุคคลหลายฝักหลายฝ่าย ซึ่งจะแข่งขันช่วงชิงอ�ำนาจและอิทธิพลกันและกัน
กลมุ่ ฝกั ฝา่ ยหลากหลาย เหลา่ นน้ั จะแสวงหา ปกปอ้ งผลประโยชน์ และรกั ษาสถานภาพทางการเมอื งของตนไว้ หากมี
การจดั สรรแบง่ ปนั อำ� นาจในองคก์ ารไมเ่ ทา่ เทยี มกนั กจ็ ะมผี ลตอ่ การปฏบิ ตั ทิ ไี่ รม้ นษุ ยธรรมตอ่ กนั การใชพ้ ลงั ทางการเมอื ง
เพ่ือท�ำลายฝ่ายตรงข้ามอาจมีความรุนแรงไม่ย่ิงหย่อนไปกว่าการเมืองในสังคมใหญ่ ข้อสันนิษฐานดังกล่าวจะ
สะท้อนความเป็นจริงเกี่ยวกับการเมืองในองค์การสถานศึกษาได้หรือไม่ อย่างไร เป็นเรื่องท่ีน่ารับรู้ไว้ไว้เพื่อเป็น
หวั ข้อการศกึ ษากนั ต่อไป แต่การเมืองในสถานศกึ ษา มีประเด็นควรพิจารณาอยู่ 4 ประการ
ประการท่ีหนึ่ง ที่ว่าการเมืองเป็นเรื่องของการแสวงหาอ�ำนาจ ฐานอ�ำนาจในสถานศึกษา
น่าจะมีที่มาจาก 2 แหล่ง คอื
(1) อำ� นาจหนา้ ที่ (Authority) เปน็ อำ� นาจทเ่ี กดิ จากสทิ ธขิ องตำ� แหนง่ เชน่ อำ� นาจของผอู้ ำ� นวยการ คณบดี
อธกิ ารบดี คณะกรรมการ อนุกรรมการ ซึ่งเปน็ อ�ำนาจทางกฎหมาย เปน็ อำ� นาจทม่ี งุ่ ผลประโยชนร์ ่วมของสว่ นรวม
วิธีพ้นื ฐานของการใชอ้ ำ� นาจ คอื การยนิ ยอม การยอมให้ หรอื การเชอื่ ฟงั ผ้ใู ชอ้ �ำนาจน้ี คือ ผบู้ ริหาร คณะกรรมการ
หรือองค์กรคณะบุคคลท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนตามท่ีกฎ กติกา หรือข้อบังคับของสถานศึกษาก�ำหนด ผู้มีอ�ำนาจและ
หน้าที่ดังกล่าวจะใช้เป็นฐานเพื่อให้มีอ�ำนาจอ่ืนๆ ตามมา เช่น อ�ำนาจการให้รางวัลความดีความชอบ (Reward
Power) อ�ำนาจการบังคับให้มีการปฏิบัติตามโดยมีกฎหมายรองรับ (Legitimate Power) หรือใช้เพ่ือการตัดสิน
หรือการส่ังการทีเ่ ปน็ คุณหอื เปน็ โทษแกบ่ ุคคลหรือหนว่ ยงานในสถานศึกษา เป็นต้น
(2) อำ� นาจทเ่ี ปน็ ความสามารถเฉพาะของบคุ คล (Power หรอื Charismatic Power) เปน็ คณุ ลกั ษณะทม่ี อี ยู่
ในตัวผู้น�ำ โดยจุดหมายของการใช้อ�ำนาจการน�ำในสถานศึกษา อาจเป็นไปเพ่ือประโยชน์ส่วนบุคคล หรือ
เพื่อส่วนรวม ซง่ึ เป็นพนื้ ฐานพฤตกิ รรมแบบการพ่ึงพา คอื ท�ำให้มีผตู้ าม หรอื มีพรรคพวก หรือมีบรวิ าร พฤติกรรม
การเมอื งในสถานศกึ ษาเปน็ การมงุ่ แสวงหาและใหไ้ ดม้ าซงึ่ อำ� นาจดงั กลา่ วดว้ ย ทง้ั นกี้ เ็ พอื่ ใหต้ นเองหรอื พรรคพวก
ใหม้ ีโอกาส หรือมบี ทบาทในการตัดสินเก่ยี วกับเป้าหมาย หรือทศิ ทางการดำ� เนนิ ภารกจิ หรอื การจัดการทรัพยากร
ของสถานศกึ ษา
อยา่ งไรกต็ าม อำ� นาจทง้ั สองลกั ษณะนห้ี ากมกี ารใชไ้ ปตามธรรมนองคลองธรรมและเพอื่ ประโยชนส์ ว่ นรวม
ก็จัดว่าเป็นระบบอ�ำนาจที่ยอมรับกันตามปกติ ส่วนอ�ำนาจลักษณะอื่น เช่น อ�ำนาจความเช่ียวชาญ (Expert
Power) และอ�ำนาจที่ท�ำให้ผู้อื่นน�ำไปอ้างอิง (Reference Power) ของบุคลากรในสถานศึกษา ไม่น่าเกี่ยวข้อง
โดยตรงกับการเมอื งในสถานศกึ ษา
ประการท่ีสอง ความต้องการทรัพยากรในทางเศรษฐกิจ ผลักดันให้บุคคลมีการแข่งขันเพ่ือการมี
อำ� นาจโครงสร้างองค์การแบบปริ ะมดิ ของสถานศกึ ษา ทำ� ใหต้ �ำแหน่งทมี่ ีอำ� นาจเหนือสดุ อยูใ่ นรปู แบบของบุคคล
คนเดยี ว หรอื ในรปู องคค์ ณะบคุ คล การไตบ่ นั ไดไปจนถงึ ระดบั สงู ยอ่ มเปน็ ไปไดย้ ากหากปราศจากอำ� นาจ ในทำ� นอง
เดียวกัน ผู้บริหารหรือองค์คณะบุคคลระดับสูงที่ไร้อ�ำนาจ ย่อมไม่อาจได้มาซึ่งทรัพยากรที่จ�ำเป็น ด้วยเหตุนี้
ระบบความร่วมมือทางการเมืองในกระบวนการใชอ้ ำ� นาจ มักเปน็ ขอ้ ผดิ พลาดทีเ่ กิดขึน้ ได้ง่ายในสถานศึกษา

46 วทิ ยาจารย์

ประการทส่ี าม มลู เหตุหลกั ของพฤติกรรมการเมอื ง นอกจากความตอ้ งการมีอำ� นาจของบคุ คล ยงั มี
เหตปุ จั จัยอ่นื ๆ อีกมาก เชน่ หากเกณฑ์การประเมนิ ผลงานทมี่ ีความเป็นอตั นยั สูง ย่อมจะเปิดชอ่ งใหม้ ีการวิง่ เตน้
เข้าหากลไกของอ�ำนาจ หรือกรณีบุคลากรในสถานศึกษามีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน แล้วน�ำไปสู่ความขัดแย้ง
เพราะมงุ่ เอาชนะอกี ฝา่ ยดว้ ยการเขา้ ถงึ เพอ่ื โนม้ นา้ วผมู้ อี ำ� นาจใหส้ นบั สนนุ แนวคดิ และตดั สนิ ใจตามทตี่ นตอ้ งการ
หรือในกรณีท่ีสถานศึกษาตกอยู่ในภาวะผันผวน เพราะมีแรงกดดันจากอ�ำนาจภายนอกท่ีจ�ำเป็นต้องปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงเพื่อความอยู่รอด ก็อาจส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการเมืองขึ้นได้ เนื่องจากบุคลากรเห็นว่า
ผลการเปล่ียนแปลงอาจกระทบความม่ันคงของงาน ท�ำให้ขาดความมั่นใจในงาน จึงหันมาแสดงพฤติกรรม
เอาอกเอาใจผู้มีอ�ำนาจ แต่พฤติกรรมการเมืองในสถานศกึ ษาบางกรณอี าจเกดิ ขน้ึ เพราะบคุ ลากรเพยี งตอ้ งการ
แสดงอำ� นาจเหนอื คนอนื่ ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เพอ่ื บบี บงั คบั (Coercive Power) ให้คนท�ำตามความตอ้ งการ หรอื เพื่อ
รกั ษาผลประโยชนข์ องตน โดยไมค่ �ำนึงในสงิ่ ท่ีถกู ตอ้ ง
นอกจากน้ี ยังมีปัจจัยส่งเสริมให้มีการใช้อ�ำนาจทางการเมืองในสถานศึกษาอยู่อีกหลายประการ เช่น
การเกดิ วกิ ฤตการขาดแคลนทรพั ยากร เมอ่ื สถานศกึ ษาไดร้ บั การจดั สรรมา แตไ่ มช่ ดั เจนวา่ หนว่ ยงานใดคอื ผมู้ สี ทิ ธิ
ในทรัพยากรนั้นอาจส่งเสริมให้มีการใช้อ�ำนาจทางการเมืองเพ่ือช่วงชิงกันเองระหว่างหน่วยงาน หรือในกรณี
สถานศึกษาตอ้ งตัดสนิ เกย่ี วกบั กลยทุ ธใ์ นการพฒั นาระยะยาวภายใตส้ ถานการณท์ มี่ ีความไมแ่ นน่ อนสงู ผ้บู รหิ าร
อาจใช้อ�ำนาจทางการเมืองเพื่อให้การตัดสินใจลุล่วงไปให้ได้ ในท�ำนองเดียวกัน ภายใต้ความคลุมเครือซับซ้อน
ของเทคโนโลยที างการบรหิ ารสถานศกึ ษากบั สภาพทมี่ คี วามสบั สนวนุ่ วายของปจั จยั แวดลอ้ มภายนอก อาจสง่ เสรมิ
ใหพ้ ฤติกรรมการเมืองเกิดขนึ้ ไดห้ ลายลกั ษณะภายในสถานศึกษา
ประการทส่ี ี่ กิจกรรมการเพ่มิ พลงั อ�ำนาจในการแข่งขนั เพอื่ ให้ได้อำ� นาจในบางลกั ษณะ ไมจ่ ัดวา่ เป็น
เรอ่ื งของการเมอื ง เชน่ ผบู้ รหิ ารสง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะการสอนของครู การจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพลงั
อำ� นาจการทำ� งานของบคุ ลากร (Empowerment) การเพมิ่ พนู ทกั ษะการวจิ ยั ชน้ั เรยี นเพอื่ ใหบ้ คุ ลากรมคี วามเชย่ี วชาญ
ทางการวิจัย (Expert power) แต่เง่ือนไขทางการเมืองอาจก่อตัวข้ึน เม่ือมีกรณีผู้บริหารมอบรางวัลแก่
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทจ่ี งรกั ภกั ดตี อ่ ตน เชน่ ใหท้ นุ เรยี นตอ่ โดยมไิ ดพ้ จิ ารณาถงึ ผลการปฏบิ ตั งิ าน เพราะเหน็ วา่ สถานศกึ ษา
มิไดก้ �ำหนดโครงสรา้ ง หรอื แนวปฏิบตั ิทเ่ี ป็นขอ้ ตกลงในเรือ่ งนี้ไว้ เป็นตน้

การประยกุ ตใ์ ช้

การประยุกต์ใช้ จะเน้นไปที่การบริหารการเมืองในสถานศึกษา ซ่ึงมีแนวปฏิบัติกันอยู่ 2 แบบ คือ
แบบมีจริยธรรมกบั แบบไร้จรยิ ธรรม
ก. ยุทธวิธีแบบมีจริยธรรม เพื่อให้ได้มาและรักษาไว้ซ่ึงอ�ำนาจ โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อ่ืน
ประกอบด้วย
(1) แนวทางการแสวงหาอำ� นาจโดยตรง เชน่ การผกู มติ รกบั ผมู้ อี ำ� นาจ ดว้ ยการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
งานตา่ งๆ เพอื่ สรา้ งความคนุ้ เคยสนทิ สนม เชอ้ื เชญิ ผมู้ อี ำ� นาจเขา้ รว่ มกจิ กรรมทส่ี ำ� คญั ของสถานศกึ ษา เปน็ ผไู้ วตอ่
การรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารทางวชิ าการและวชิ าชพี รวมทงั้ ความเปลยี่ นแปลงเกย่ี วกบั กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั และระเบยี บ
ปฏิบัติต่างๆ ของหน่วยงานระดับนโยบายหรือต้นสังกัด เพราะการมีข้อมูลข่าวสารส�ำคัญท�ำให้มีอ�ำนาจ

วทิ ยาจารย์ 47

การสรา้ งสมั พนั ธเ์ ปน็ เครอื ขา่ ยและเชญิ ผเู้ ชย่ี วชาญทม่ี ปี ระวตั ทิ ด่ี เี ปน็ ทยี่ อมรบั ของฝา่ ยตา่ งๆ จากภายนอกมารว่ มงาน
ด้วยวิธีการที่แยบยล จะช่วยเสริมบารมีท�ำให้งานส�ำเร็จและทุกฝ่ายพอใจ การด�ำรงตนในการด�ำเนินชีวิต
ท่ีถกู ตอ้ ง เปน็ นกั สรา้ งอดุ มคติ สรา้ งบรรทดั ฐานทางสงั คม ดแู ลเรอื่ งบคุ ลกิ ภาพ มคี วามกระตอื รอื รน้ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
มีเมตตา มีคุณลักษณะที่ประทับใจของสมาชิก จะเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดการยอมรับ และเม่ือมีเหตุการณ์หรือ
ปัญหาส�ำคัญท่เี กิดข้นึ ในสถานศึกษา จะตอ้ งปรากฏตัวให้ผู้เกย่ี วขอ้ ง หรอื สาธารณชนเห็นได้ทนั ที เพอ่ื แสดงว่า
เป็นคนมีความรบั ผดิ ชอบสูงและเอาใจใสง่ าน
(2) แนวทางการสรา้ งสมั พนั ธภาพกบั บคุ ลและเครอื ขา่ ยเพอื่ หวงั ผลดา้ นความรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื
ในปัจจุบันและอนาคต เชื่อการแสดงความจงรักภักดีที่พอเหมาะพอควรต่อสถานศึกษา การน�ำเสนอแนวคิด
แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีน่าประทบั ใจเพื่อสง่ เสรมิ ภาพลกั ษณท์ ่ีดแี กต่ นเอง การใช้ความสภุ าพออ่ นนอ้ ม ความนา่ คบหาและ
คณุ ลกั ษณะทางบวกทมี่ ีอยใู่ นตน การขอคำ� แนะน�ำจากเพ่ือนรว่ มงาน การท�ำใหผ้ ู้ปกครองและผูเ้ รียนประทบั ใจ
ในผลงาน และการส่งบตั รถึงบคุ คลในโอกาสสำ� คัญ เป็นต้น
(3) แนวทางการหลีกเลี่ยงความผิดพลาดงา่ ยๆ ในการทำ� งาน เชน่ การวจิ ารณผ์ มู้ ีอำ� นาจหรือ
ผบู้ งั คบั บญั ชาตอ่ สาธารณะ การปฏบิ ตั งิ านขา้ มหนา้ ผบู้ งั คบั บญั ชาเบอ้ื งตน้ การปฏเิ สธขอ้ เสนอฝา่ ยบรหิ ารระดบั สงู
ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ ขอ้ ผดิ พลาดทางการเมอื งทส่ี ำ� คญั เพราะการปฏเิ สธจะเปน็ สาเหตใุ หไ้ มไ่ ดร้ บั ความไวว้ างใจอกี ตอ่ ไป
การตำ� หนผิ บู้ งั คบั บญั ชาคนเกา่ ทพี่ น้ ตำ� แหนง่ หรอื หมดอำ� นาจไปแลว้ โดยความจรงิ เขาอาจจะเปน็ สะพานเชอื่ มโยง
กบั ผบู้ งั คบั บญั ชาคนใหมท่ ยี่ งั มปี ระโยชนต์ อ่ ตน และการกระทำ� ดงั กลา่ วอาจมองวา่ เปน็ คนไมน่ า่ ไวว้ างใจอกี ดว้ ย
ข. ยทุ ธวธิ แี บบไรจ้ รยิ ธรรม เปน็ การกระทำ� ทไี่ ดม้ าและใชอ้ ำ� นาจไปในทางทไี่ มส่ จุ รติ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลประโยชน์
ส่วนตน เชน่ การสร้างอาณาจกั รโดยพยายามขยายอ�ำนาจและหน้าท่เี พ่ิมให้แก่ตนเองมากยงิ่ ข้นึ และพยายาม
ให้ตนมีอิทธิพลเหนือการตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ เหล่านั้น การโจมตีและใส่ร้ายผู้อื่น การหลีกหนีสถานการณ์
ท่ี ไม่ต้องการผลลัพธ์ท่ีเลวร้าย การขัดขวางมิให้คู่แข่งประสบผลส�ำเร็จ การแสดงออกต่อสาธารณะว่าตนเอง
มีความปรารถนาดีด้วยการปฏิบัติตนใหผ้ บู้ ังคบั บญั ชาตายใจจนยอมมอบความไวว้ างใจและอ�ำนาจให้ สุดทา้ ย
แอบบ่อนท�ำลายความน่าเชื่อถือของผู้บังคับบัญชา แล้วฉวยโอกาสเข้าไปมีอ�ำนาจแทน การกดดันข่มขู่ผู้อื่น
ใหอ้ ยใู่ นภาวะจำ� ยอม หากปฏเิ สธจะถกู กลน่ั แกลง้ การสนบั สนนุ ใหร้ บั งานหรอื รบั ตำ� แหนง่ ในระดบั สงู ขน้ึ ทบ่ี คุ คลผนู้ นั้
ไมถ่ นัดและไมม่ ีความสามารถ เพอ่ื ใหพ้ บกบั ความลม้ เหลวหลดุ จากวงจรอำ� นาจ การยใุ หแ้ ตกเปน็ กลมุ่ ไมไ่ วว้ างใจ
และระแวงตอ่ กนั คอยจอ้ งทะเลาะและท�ำลายกันเอง เพื่อให้ตนเองอยู่ในต�ำแหน่งได้ เปน็ ต้น
นอกจากนี้ ยทุ ธวธิ บี รหิ ารการเมอื งทไี่ มเ่ ปน็ คณุ ในสถานศกึ ษายงั มอี กี มาก เชน่ การรบั ขอ้ มลู หรอื ขอ้ เสนอ
เอาไวแ้ ละให้ความหวัง การยักย้ายถา่ ยเทข้อมลู หรือข้อเทจ็ จรงิ เพ่อื ให้มีความเข้าใจคลาดเคลือ่ น การเลอื กทจี่ ะ
ดึงเอาคู่กรณีเข้ามาเป็นพวกหรือควรจะท�ำลายเสีย เป็นต้น ยุทธวิธีบริหารการเมือง หรือพฤติกรรมเมือง
แบบไร้จริยธรรมเป็นสิง่ ท่ีไมส่ มควรส่งเสรมิ ให้มใี นสถานศึกษา

ทีม่ า : สารานุกรมวิชาชพี ครู เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เน่อื งในโอกาสพระราชพธิ ีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554. กรงุ เทพมหานคร : ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา 2555. 125 – 130

48 วทิ ยาจารย์


Click to View FlipBook Version