The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-07 03:04:51

วารสารวิทยาจารย์ ปีที่ 117 ฉบับที่ 1 เดือนพฤศจิกายน 2560

1 วิทยาจารย์ พฤศจิกายน 2560

ส�ำหรับเทรนด์อาชีพใหม่มาแรงท่ีเด็กไทยสนใจ เดก็ ไทยเกง่ มาก มหี วั ดา้ นครเี อทฟี มที กั ษะทางดา้ น
ได้แก่ เกมเมอร์ และนกั แคสเกม นกั กีฬา E-Sports เพราะ วางแผนไม่แพ้ต่างประเทศเลย ในทักษะของการคิด
อยากใชค้ วามชอบในการเล่นเกมมาประกอบอาชีพ สรา้ ง กระบวนการ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บในการวางแผน ถอื วา่ เปน็ ทกั ษะ
รายได้และสร้างช่ือเสียง เป็นอาชีพใหม่ท่ีเด็กไทยฝัน ที่ดีมากในด้านการเล่นเกม ซึ่งเด็กไทยจะเก่งมากๆ จริงๆ
อยากจะเปน็ เนอื่ งจากมเี กมเมอรแ์ ละนกั แคสเกมชอื่ ดงั ของไทย ในเกมประเภท MOBA เช่นเกม ROV เป็นการวางแผนชว่ ย
หลายคนที่มยี อดผ้ชู มติดตามเปน็ จ�ำนวนมาก และสามารถ กนั ตปี อ้ มฝา่ ยศตั รใู หห้ มดและชว่ ยกนั ในทมี หรอื เกมประเภท
สร้างรายได้จากการใช้เวลาว่างในการเล่นเกม รวมไปถึง FPS อย่างเกม Overwatch ท่ใี ช้ลกั ษณะและความสามารถ
เด็กบางกลุ่มท่ีอยากจะเป็นนักพัฒนาเกม อยากสร้างเกม ต่างๆ ของตัวละครภายในเกมเพื่อท�ำงานร่วมกันเป็นทีม
ในรูปแบบของตัวเองและเริ่มท่ีจะศึกษาการเขียนโปรแกรม เพอ่ื ทำ� ภารกจิ ใหส้ ำ� เรจ็ และสงิ่ สำ� คญั ทเ่ี ราจะชว่ ยพฒั นาเดก็
เบ้ืองต้นท่ีใช้ในการสร้างเกม ท�ำให้เด็กรุ่นใหม่ที่เล่นเกม ให้เป็นนักกฬี า E-Sports ทด่ี ีได้คือ การมีวินัย การฝึกซอ้ ม
มีความฝันที่อยากประสบความส�ำเร็จแบบเกมเมอร์ และ และการแบง่ เวลาใหเ้ ปน็ ซงึ่ จะทำ� ใหค้ วามเปน็ นกั กฬี าE-Sports
นกั แคสเกมเหลา่ นน้ั นน่ั เปน็ เปา้ หมายทจ่ี ะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นา แตกต่างจากเด็กติดเกมทั่วไป สิ่งที่อยากจะบอกผู้ใหญ่ใน
และฝกึ ฝนเพอ่ื นเปน็ นกั กฬี า E-Sports ไดใ้ นอนาคต แตเ่ สน้ ทาง สงั คมและรฐั บาลคอื อยากใหม้ องวา่ E-Sportsสำ� คญั ไมต่ า่ งจาก
ในการจะไปถึงนักกีฬา E-Sports นั้นไม่ใช่ว่าทุกคน กีฬาต่างๆ เลย เรื่องนี้อาจจะเป็นเร่ืองที่ใหม่ท่ีอาจจะเห็น
จะทำ� ได้ เพราะขนึ้ ชอื่ วา่ เปน็ นกั กฬี าแลว้ สงิ่ ทตี่ ามมาคอื การที่ ไมช่ ดั เพราะการเลน่ เกมจะตอ้ งมองใหล้ กึ ซงึ้ วา่ สามารถเปน็
เราต้องฝกึ ฝนตนเอง และมวี ินยั ในการฝึกซอ้ มอย่สู ม่ำ� เสมอ กฬี าได้ การที่ไปแข่งขันในรายการตา่ งๆ มาแลว้ หากได้รบั
E-Sports ไมใ่ ชก่ ารตดิ เกมอยา่ งทคี่ นสว่ นใหญค่ ดิ โดยเฉพาะ การสนบั สนนุ ทด่ี จี ากผใู้ หญเ่ ลย อาจจะทำ� ใหว้ งการ E-Sports
การแข่งขัน E-Sports ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็นเกมที่ใช้ ของไทยสามารถตอ่ ยอดไปไดไ้ กล ทำ� ใหม้ กี ำ� ลงั ใจและสามารถ
การท�ำงานเป็นทีมเพ่ือให้บรรลุจุดประสงค์ในแต่ละเกม ทำ� ชอื่ เสยี งใหก้ บั ประเทศไดอ้ กี ดว้ ย คำ� พดู ทง้ิ ทา้ ยทนี่ า่ สนใจ
ต้องมีการประชุมและวางแผนต่างๆ การเตรียมตัว และ จากเยาวชนที่ตอนนี้ก�ำลังพาประเทศมุ่งไปข้างหน้า เราจะ
การปรบั เปลยี่ นกลยทุ ธต์ ามสถานการณ์ โดยระหวา่ งการแขง่ ขนั เป็นผู้ใหญ่ที่ฉุดรั้งหรือจะช่วยเด็กกลุ่มนี้น�ำพาพวกเขาและ
ผเู้ ลน่ ในทมี จะไดส้ รา้ งความสมั พนั ธภ์ ายในทมี ทำ� ใหก้ ารทำ� งาน ประเทศใหไ้ ปถงึ เปา้ หมายหรอื ไม่ ขน้ึ อยทู่ พ่ี วกเราทกุ คนแลว้
ในทีมง่ายขึ้น และระหว่างการแข่งขันจะได้เรียนรู้ ว่าจะตัดสินให้เกม เป็นผีร้ายหรือกลไกใหม่ในการพัฒนา
ทักษะ กลยุทธ์ และแนวทางการเล่นของทีมอื่นๆ เพ่ือมา ประเทศกันแน่
ปรับใช้ในทีม เพ่ือหาทางเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ และยังได้สร้าง
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างทีมอ่ืนๆ ได้ด้วย ซึ่งจะน�ำไป วทิ ยาจารย์ 99
สู่ชยั ชนะ และเปน็ นกั กฬี า E-Sports ไดอ้ ย่างสมภาคภูมิ

วิชาการบันเทิง

มรกต กรนี

เสริมแรง
ใหก้ ับคณุ ครู

กวา่ สบิ ปมี าแลว้ ผเู้ ขยี นไดพ้ บกบั ผใู้ หญข่ อง
ครุ สุ ภาทา่ นหนง่ึ ทา่ นใหห้ นงั สอื มาเลม่ หนง่ึ
ชอ่ื ... “ขอ้ คดิ เตมิ หวั ใจใหค้ ร”ู ซง่ึ Charles
McGuire และ Diana Abitz เปน็ ผูร้ วบรวม
มี พิศวาส ปทุมตุ ต์ รังษี แปล จัดพมิ พโ์ ดย
นานมบี ๊คุ ส์พบั ลเิ คช่ัน

100 วทิ ยาจารย์

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมค�ำแนะน�ำ ค�ำพูดกินใจ ค�ำคม คติ ปรัชญาการท�ำงาน
ท่ีให้แง่คิดมุมมองท่ีมีค่ายิ่งแก่ครูทุกคน โดยแยกหมวดหมู่ตามสารบัญไว้ 13 หัวข้อ คือ
จิตวิญญาณของครู ภารกิจส่งต่อประทีปส่องทาง ครูคนโปรดของฉัน ผู้เปิดสวิตช์ไฟท�ำลาย
ความมืด ความหลากหลายในโลกใบใหญ่ แง่คิดค�ำคมส�ำหรับครูและนักเรียน ข้อคิด
พึงใคร่ครวญส�ำหรับครูอาจารย์ เติมเชื้อไฟให้ลุกโชน ส่งเสริมความเป็นเลิศและการท�ำงาน
เป็นทีม เคล็ดลับประจ�ำวันในช้ันเรียน ยามเมื่อหนทางเต็มไปด้วยขวากหนาม จากใจครูถึง
เพ่ือนครู และสังคมจกั ขาดครเู สียมไิ ด้

เมือ่ อ่านแล้วก็ชอบใจ ชอบใจทง้ั ผู้รวบรวม ผ้แู ปล และผู้พิมพ์ ทมี่ คี วามพยายามเก็บ
เอาค�ำพูดของหลากหลายบุคคล ที่พูดให้ข้อคิดและก�ำลังใจแก่ครูไว้ต่างกรรมต่างวาระ
มีทั้งบุคคลส�ำคัญของโลก เช่น ขงจื้อ เพลโต จอห์น ดิวอ้ี ลงมาถึงนักธุรกิจ นักเรียน ครู
ผู้ปกครอง ผู้บริหารสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารการศกึ ษา และศกึ ษานิเทศก์

ตอนหนง่ึ จอห์น ดวิ อี้ พูดไว้เมือ่ ค.ศ. 1933 วา่



การสอนหนงั สอื เปรยี บไดก้ บั การขายสนิ คา้ ไมม่ ใี ครขายสนิ คา้ ได้ หากไมม่ ี
คนซอื้ ... ถงึ กระนนั้ กย็ งั มคี รบู างคนทคี่ ดิ วา่ พวกเขาประสบผลเปน็ อยา่ งดี
ในการสอน โดยไม่สนใจเลยว่านกั เรียนไดเ้ รยี นรู้อะไรบา้ ง

” ดร.สตฟี เบาเออร์ เจา้ ของและผกู้ อ่ ตงั้ บรษิ ทั ทปี่ รกึ ษาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม Pocketwater Inc.
กลา่ วถงึ ครขู องเขาวา่


ดร.ดิ๊ก เมเยอร์ ศาสตราจารย์ด้านธรณีวิทยาของผมที่คณะชีววิทยา

มหาวิทยาลัยมิสซูรี แคนซัสซิตี้ สอนธรรมชาติวิทยาด้วยการทำ�ให้

พวกเรารูส้ ึกว่าได้ค้นพบส่ิงตา่ งๆ จากประสบการณ์ตรง โดยการเขา้ ไป

จิ้มๆ เขยี่ ๆ แล้วก็ย่ำ�สำ�รวจปา่ กิจกรรมหลากหลาย มีท้ังการชิมลกู เบอร่ี

สารพัดชนิด การคลำ�ห่านเป็นๆ เพื่อสำ�รวจว่าเป็นตัวผู้หรือตัวเมีย

การเดินท่องป่าสนโอชาร์กกลางดึก การเงี่ยหูฟังฝูงไก่ส่งเสียงกะต๊าก

ตามท้องทุ่งยามใกล้รุ่ง ตลอดจนการซอกซอนไปตามซอกหลืบวกวน

ของถ้ำ� เพื่อเข้าไปติดแถบข้อมูลที่ขาค้างคาว ซึ่งส่งเสียงร้องแสบ

แก้วหู กิจกรรมเหล่านี้ คือความเพลิดเพลินเจริญใจยิ่งนัก สำ�หรับ

ชาวกรุงเช่นผม ”

วิทยาจารย์ 101

หรอื อยา่ งเชน่ อกี ตอนหนงึ่ เปน็ คำ� พดู ของ คณุ ครทู อมสั เพทรี ครสู อนวทิ ยาศาสตร์
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 กลา่ ววา่



เราต้องไม่ลืมความสำ�คัญในการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็ก
นักเรียนมักเรียนได้ดี หากรู้ว่าพ่อแม่เป็นห่วงเป็นใย และเอาใจใส่
ในเรื่องความประพฤติและคะแนนของพวกเขา ดังนั้น ผมจึงส่ง
รายงานความก้าวหน้าของเด็กไปให้ผู้ปกครองทราบตอนช่วง
กลางเทอม ซึ่งผู้ปกครองต้องเซ็นรับทราบกลับมาด้วย นักเรียน
มีหน้าที่นำ�รายงานที่เซ็นแล้วกลับมาให้ผม ผมเปิดโอกาสให้
ผู้ปกครองถามคำ�ถาม หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดๆ ก็ได้
นอกจากนั้นทุกวันศุกร์ ผมยังจัดส่งรายงานประจำ�สัปดาห์แจ้ง
ความประพฤติ การส่งการบ้านตรงเวลาหรือส่งช้า รวมทั้งสรุป
เนื้อหาสาระที่สอน ฯลฯ ไปให้ผู้ปกครองทราบด้วย



หรอื แมแ้ ตค่ ำ� พดู ของนกั เรยี น เชน่ ลอเรล เยฟ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
กลา่ วถึงครูของเขาสน้ั ๆ ว่า



ใจเย็นๆ ถ้านักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนที่สอน
ในครั้งแรกขอให้ครูใจเย็นๆ

” เราได้เห็นความเป็นไปในโลกกว้างของการจัดการเรียนการสอน ความรู้สึก

นึกคิดของผู้มีส่วนร่วมที่นับว่ามีความส�ำคัญในการสร้างคนให้กับสังคม ท่ีนับวันจะมี
ความสลบั ซับซ้อนและลึกซง้ึ ถึงข้นั บางครัง้ เราแทบจะไมเ่ ขา้ ใจเอาเสียเลยว่า

“อะไรกันนี่ เขาคิดกันได้ขนาดนี้เลยหรือ


เป็นต้น ขอขอบคุณผู้ใหญ่ท่านนั้นที่มอบหนังสือเล่มนี้ให้ ท่านคงจะเห็นว่า
ผู้เขียนเป็นคนชอบอ่านหนงั สอื และท่านก็คงจะทราบอีกว่า นอกจากชอบอา่ นแลว้ ยัง
ชอบเขยี นหนังสอื ดว้ ยอกี ตา่ งหาก

102 วทิ ยาจารย์

ตระเวนเทีย่ ว

วีระพงษ์ ปญั ญาธนคณุ

ค้นต�ำนานทาร์ตไข่

เมอื งมาเก๊า

ใครก็ตามทมี่ ีโอกาสเดินทางไปเยอื นมาเก๊า คงไมพ่ ลาดที่จะลมิ้ ลองทาร์ตไข่
(Egg Tart) ซง่ึ ถอื เปน็ สญั ลกั ษณ์ประจำ�ถ่ิน ที่มีชือ่ เสยี งไปทว่ั โลก

ทารต์ ไขข่ องมาเกา๊ แมไ้ ดร้ บั อทิ ธพิ ล

จากโปรตุเกส ซ่ึงถือเป็นต้นต�ำรับของขนม
ชนดิ น้ี แตก่ ใ็ ชว่ า่ ทารต์ ไขข่ องมาเกา๊ จะเหมอื น
กบั ของโปรตเุ กสโดยสน้ิ เชงิ เพราะคนทคี่ ดิ ทำ�
ทาร์ตไข่ออกจ�ำหน่ายเป็นเจ้าแรก ได้ผสม
ผสานตำ� รบั ของโปรตเุ กสกบั องั กฤษเขา้ ดว้ ยกนั
จนได้สูตรทาร์ตไข่ที่มีลักษณะเฉพาะตัว
พดู งา่ ยๆ กค็ อื ทารต์ ไขข่ องมาเกา๊ เปน็ ลกู ผสม
ระหวา่ งโปรตเุ กสกับองั กฤษ

วทิ ยาจารย์ 103

ลกั ษณะสำ� คญั ของทารต์ ไขม่ าเกา๊ นน่ั กค็ อื เปลอื กกระทงทซ่ี อ้ นตวั
กนั เป็นช้นั บางๆ แบบแปง้ พฟั ฟ์ (Puff Pastry) กับมรี อยไหม้สีน้�ำตาลเข้ม
ฉาบอยบู่ นสงั ขยา (Custard) ซง่ึ สว่ นทว่ี า่ นจี้ ะมลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั ทารต์
ของโปรตเุ กส สว่ นสงั ขยาซง่ึ อยดู่ า้ นในกระทง จะใกลเ้ คยี งกบั ทางองั กฤษ
คอื มีเนือ้ ครมี เขม้ ข้น แต่ไม่เหนียวหนดื แบบของโปรตเุ กสท่แี ตกต่างจาก
ของโปรตเุ กสตน้ ตำ� รบั อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื ทารต์ ไขข่ องโปรตเุ กสจะมอี บเชย
เป็นสว่ นประกอบ รวมทง้ั โรยหน้าดว้ ยอบเชยบดผงและน้�ำตาล
เชอ่ื กนั วา่ ทารต์ ไขค่ ดิ คน้ ขน้ึ ครง้ั แรกในชว่ งกอ่ นครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18
โดยแม่ชีแห่งอารามเจโรนิมอส (Jeronimos Monastery) ในเขตเบเล็ม
(Belem) ชานกรงุ ลสิ บอน ประเทศโปรตเุ กส ตอ่ มาสตู รทารต์ ไข่ หรอื ทช่ี าว
โปรตุเกสเรยี ก “ปาสเตส เดอ นาตา” (Pasteis de Nata) ได้ตกทอดสู่
รา้ นขนมอบขา้ งๆ อารามนน้ั เอง คอื รา้ น “ปาสเตส เดอ เบเลม็ ” (Pasteis
de Belem) ซ่ึงเปิดขายมาตั้งแต่ ค.ศ. 1837 นับจนถึงทุกวันนี้ทางร้าน
ไดส้ บื ทอดตำ� รบั ปาสเตสเดอนาตาสตู รดงั้ เดมิ ขนานแท้ซง่ึ เกบ็ เปน็ ความลบั
จากรุ่นสรู่ นุ่ มาเกือบ 200 ปีแลว้

104 วทิ ยาจารย์

แอนดรู สโตว ว่ากันว่าแม่ชีของโปรตุเกส เป็นผู้อยู่เบ้ืองหลังการ
ผู้ก่อตง้ั รา้ นลอร์ด สโตว รงั สรรคข์ นมอบหลายอยา่ งทม่ี ไี ขแ่ ดงเปน็ สว่ นผสม เนอ่ื งจาก
ในสมยั โบราณไขแ่ ดงจะถกู ทง้ิ เปน็ จำ� นวนมาก จากการแยก
ท่มี า: http://www.smartshanghai.com/articles/dining/ เอาเฉพาะไขข่ าวมาใชใ้ นการทำ� เสอื้ ผา้ ใหแ้ ขง็ อยทู่ รงดว้ ยเหตนุ ้ี
eat-it-kfcs-egg-tarts แมช่ ีจึงคดิ หาทางนำ� ไข่แดงท่เี หลอื มาใชใ้ นเกิดประโยชน์
ส�ำหรับคนท่ีคิดสูตรทาร์ตไข่ของมาเก๊าข้ึนมาเป็น
ไอลนี น้องสาวของแอนดรู สโตว คนแรก ไดแ้ ก่ นายแอนดรู สโตว (Andrew Stow) เปน็ คน
ผสู้ บื ทอดกิจการรา้ นลอรด์ สโตว สญั ชาตอิ งั กฤษ ทม่ี พี นื้ เพอยทู่ แี่ ถบมณฑลเอสเซก็ ซ์ (Essex)
แอนดรจู บการศกึ ษาดา้ นเภสชั และทำ� งานดา้ นยาระยะหนงึ่
http://says.com/my/lifestyle/macao-s-portuguese-egg- กอ่ นจะยา้ ยไปทำ� งานในบรษิ ทั ยาขา้ มชาตแิ หง่ หนงึ่ ทม่ี าเกา๊
tarts-are-to-die-for ในปี 1979 แต่แลว้ บริษทั ยาทีเ่ ขาทำ� งานดว้ ยกไ็ ด้ปดิ ตัวลง
แตแ่ ทนท่ีแอนดรจู ะตดั สินใจเดินทางกลับบา้ นเกิด เขากลบั
เลอื กท่ีจะทำ� งานในมาเก๊าตอ่ ไป
หลงั จากนนั้ แอนดรไู ดต้ งั้ บรษิ ทั ของตวั เองขน้ึ รว่ มกบั
แฟนสาว เป็นกิจการเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ แต่ก็ไม่
ประสบความสำ� เร็จนัก ไอลนี (Eileen) น้องสาวของแอนดรู
เลา่ วา่ “ดเู หมอื นแนวคดิ ของแอนดรจู ะมากอ่ นเวลาไป 20 ป”ี
และในระหวา่ งทเี่ ปดิ บรษิ ทั อาหารเพอ่ื สขุ ภาพนน้ั แอนดรยู งั
ท�ำงานเป็นผู้จัดการร้านอาหารโปรตุเกสควบคู่ไปด้วย
เขาบรหิ ารงานร้านอาหารแหง่ นีจ้ นโด่งดัง และทีน่ ีเ่ อง เป็นที่
ทเ่ี ขาไดร้ บั ฉายาจากเพอื่ นรว่ มงานวา่ “ลอรด์ สโตว”(LordStow)
เน่ืองจากเขาเป็นคนอังกฤษเพียงไม่ก่ีคนในมาเก๊า แถมยัง
มอี ำ� นาจในการสง่ั การภายในรา้ น
ดูเหมือนว่าเขาจะชอบฉายาท่ีเพื่อนร่วมงานตั้งให้
ไม่นอ้ ย เพราะเม่ือเขาเปดิ ร้านเบเกอรีใ่ นปี 1989 เขาก็ได้น�ำ
ฉายาน้ีมาต้ังเป็นชื่อร้าน ซึ่งยังใช้อยู่จนถึงทุกวันน้ี การเปิด
ร้านเบเกอร่ีของเขานับเป็นเวลาท่ีพอเหมาะพอเจาะ เพราะ
ในช่วงทศวรรษท่ี 1980 เป็นช่วงที่ชาวโปรตุเกสเข้ามาเร่ิม
ธุรกิจในมาเก๊าขนาดใหญ่ เนื่องจากเศรษฐกิจก�ำลังบูม
เขามุ่งเป้าไปยังลูกค้าที่เป็นชาวตะวันตก แต่ผิดคาดลูกค้า
กลมุ่ ใหญท่ ่ตี อบรบั สนิ คา้ เขาเปน็ อยา่ งดีกลับ ได้แก่ ชาวจนี
โดยมีทารต์ ไข่เปน็ ตัวชโู รง

วทิ ยาจารย์ 105

ก่อนหน้าที่ทาร์ตไข่ของแอนดรูจะเปิดตัวในมาเก๊า รา้ นเบเกอร่ีแหง่ แรกของลอรด์ สโตว เปน็ เพยี งตกึ
ชาวมาเกา๊ รจู้ กั แตท่ ารต์ ไขแ่ บบจนี (Chinese Egg Tart) หรอื สองชนั้ เลก็ ๆสเี หลอื งครมี ขนาด3คหู าตงั้ อยบู่ นเกาะโคโลอาน
ตา้ นถาต (Dan Tat) ซ่ึงนำ� เข้าจากฮอ่ งกง และมักวางขาย (Coloane) ซงึ่ หา่ งจากคาบสมทุ รร่วม 20 กิโลเมตร ปัจจุบนั
ในร้านขนมจันอับหรือร้านติ่มซ�ำ ทาร์ตไข่แบบท่ีว่าน้ีจะมี ก็ยังเปิดขายอยู่ แตต่ อนที่ผมไปเยอื นน้นั ร้านอยู่ในระหว่าง
เปลือกกระทงเปน็ แบบพายรว่ น (Short Crust) แบบทาร์ต ปิดปรับปรุง ยังดีที่ร้านมีสาขาท่ีตั้งอยู่ในละแวกเดียวกัน
ของอังกฤษ ในขณะที่ตัวสังขยาจะมีสีเหลืองอ่อนๆ มันเงา ซ่ึงเดินไม่ก่ีก้าวก็ถึงร้านหน่ึงขายขนมแบบซ้ือกลับ อีกร้าน
และไมม่ รี อยนำ�้ ตาลไหมฉ้ าบอยดู่ า้ นบน อนั เปน็ ผลจากการอบ ท�ำเป็นร้านอาหาร ซ่ึงมีทั้งอาหารคาวหวานและเครื่องดื่ม
ด้วยไฟอ่อน อีกทั้งเนื้อสังขยาก็เหลวกว่า ทว่า ทาร์ตไข่ที่ ให้บริการ ไหนๆ ผมก็ไปถึงท่ีแล้ว จะไม่ซ้ือทาร์ตไข่มาชิม
แอนดรทู ำ� ขน้ึ เปน็ แบบโปรตเุ กส ทม่ี เี ปลอื กเปน็ แบบพายชน้ั กจ็ ะกระไรอยู่ เลยจัดไปเบาะๆ 3 ชนิ้
หรอื พัฟฟ์ ทัง้ ยังมีรอยน้�ำตาลไหม้อยู่บนหน้าสังขยา
มผี ูก้ ลา่ วว่า ทารต์ ไข่แบบจีนหรอื ต้านถาต เข้ากัน
ได้ดีกับชาจีน ส่วนทาร์ตไข่โปรตุเกสเขา้ กันได้ดกี บั กาแฟด�ำ

106 วิทยาจารย์

ส�ำหรับแรงบันดาลใจในการผลิตทาร์ตไข่ออก
จำ� หนา่ ยนนั้ เกดิ ขน้ึ ในชว่ งปลายทศวรรษท่ี 1980 เมอื่ แอนดรู
ได้เดินทางไปเยือนเขตเบเล็ม (Belem) ชานกรุงลิสบอน
ของโปรตุเกส ซ่ึงถือเป็นจุดต้นก�ำเนิดทาร์ตไข่ของโปรตุเกส
เม่ือได้ลิ้มลองทาร์ตไข่ต้นต�ำรับแล้วก็เกิดติดใจในรสชาติ
จงึ ปง๊ิ ไอเดยี ทจ่ี ะทำ� ทารต์ ไขข่ ายในมาเกา๊ บา้ งเพราะมชี าวโปรตเุ กส
โพน้ ทะเลอาศัยอยูจ่ �ำนวนไม่นอ้ ย
แต่แอนดรูติดปัญหาตรงที่ไม่รู้สูตรการท�ำทาร์ตไข่
โปรตเุ กสแบบต้นต�ำรับ ซ่งึ กไ็ มเ่ กนิ ความสามารถในการแก้
ปัญหา เขาได้ขอให้เพ่ือนคนหนึ่งช่วยสอนการท�ำกระทง
ขนมปังให้ ส่วนการท�ำสังขยาเขาได้คิดค้นสูตรขึ้นมาเอง
โดยอาศัยทักษะเกี่ยวกับการผสมยาท่ีติดตัวมา จนได้สูตร
ทาร์ตไข่ซง่ึ เปน็ แบบฉบบั ของเขาเอง
ไอลีน น้องสาวของแอนดรูเล่าว่า “ทาร์ตไข่ของ
แอนดรผู สมผสานระหวา่ งวฒั นธรรมกบั จนิ ตนาการ” ซง่ึ เปน็
คณุ ลกั ษณะเดน่ อยา่ งหนงึ่ ของเขา ทง้ั ยงั เลา่ วา่ พช่ี ายของเธอ
เป็นคนชอบผจญภัยต้ังแต่วัยหนุ่ม แอนดรูเคยข่ีจักรยาน
ขา้ มประเทศไปถงึ เยอรมนั เขาเปน็ คนชอบทอ่ งเทย่ี ว และรกั
การเรียนรู้วัฒนธรรมของชาติอื่นๆ ไอลีนเล่าเสริมเก่ียวกับ
พี่ชายอีกว่า “แอนดรูเหมือนเด็ก 6 ขวบที่อยู่ในร่างผู้ใหญ่
นน่ั เปน็ เหตผุ ลวา่ ทำ� ไมเขาจงึ ไมก่ ลวั ทจี่ ะเปลย่ี นตำ� รบั อาหาร
ทรี่ ู้จักกันดใี หก้ ลายเปน็ ต�ำรบั ของเขาเอง”
แรกเรม่ิ เดมิ ทแี อนดรตู ง้ั ใจจะผลติ ขนมปงั และขนมอบ
ส่งตามซุปเปอร์มาร์เก็ต โดยมีทาร์ตไข่เป็นตัวเสริมเท่านั้น
ตอนทแ่ี อนดรยู น่ื เรอื่ งขอกเู้ งนิ ธนาคารเพอ่ื นำ� เงนิ มาทำ� ทนุ นน้ั
ขนมปงั อยใู่ นรายชอ่ื อนั ดบั หนงึ่ สว่ นทารต์ ไขอ่ ยใู่ นลำ� ดบั ทห่ี า้
ตอนนั้นเขากะว่าจะขายทาร์ตไข่ได้แค่วันละ 200 ช้ิน
แต่ทกุ วันนที้ ารต์ ไข่ขายได้มากถึงวนั ละ 14,000 ช้นิ
ในระยะแรกท่ี ลอร์ด สโตว น�ำทาร์ตไข่ออกสู่
ท้องตลาดนั้น พบว่า ไม่ได้รับการตอบรับจากกลุ่มลูกค้าดี
เท่าที่ควร แม้กระท่ังชาวโปรตุเกส เน่ืองจากรู้สึกว่าสูตร
ทค่ี ดิ ขน้ึ ใหมน่ นั้ ไมเ่ หมอื นกบั ตำ� รบั ทตี่ นคนุ้ เคย สว่ นคนมาเกา๊
เองก็ไมค่ อ่ ยกล้าซอื้ กิน เพราะเกรงวา่ รอยไหมบ้ นสังขยานน้ั
อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพได้ แตส่ ำ� หรบั ลอรด์ สโตว รอยไหม้
บนสังขยาคอื ลายเซ็นของรา้ น

วิทยาจารย์ 107

จุดเปล่ียนส�ำคัญที่ท�ำให้ทาร์ตไข่ของมาเก๊าเป็นท่ี สำ� หรบั อดตี ภรรยาของแอนดรู คอื มารก์ าเรต็ หวอ่ ง
รู้จักอย่างกว้างขวาง เร่ิมต้นขึ้นเมื่อมีชาวมาเก๊าซื้อทาร์ตไข่ (Margaret Wong) หลงั จากทไ่ี ดเ้ ลกิ รากนั ไป กไ็ ดแ้ ยกตวั ไป
จากร้านลอร์ด สโตว ไปฝากญาตทิ ี่ฮ่องกง หลังจากนั้นเมือ่ เปดิ รา้ นเบเกอรขี่ องตวั เอง ใชช้ อ่ื วา่ “Margaret’s Café e Nata”
นกั ทอ่ งเทย่ี วฮอ่ งกงเดนิ ทางมาเทย่ี วมาเกา๊ กม็ กั หอบหวิ้ ทารต์ ไข่ ซ่งึ เป็นร้านทารต์ ไขย่ อดนิยมอีกรา้ นหนึง่
กลบั บา้ นไปดว้ ยเสมอๆ ทารต์ ไขข่ องมาเกา๊ ยงิ่ เปน็ ทรี่ จู้ กั ของ ทารต์ ไขใ่ นมาเกา๊ มใี หเ้ ลอื กซอ้ื หาแทบจะทกุ หวั ถนน
ชาวฮ่องกงมากข้ึนไปอีก เม่ือส่ือมวลชนของฮ่องกง ยง่ิ ตามแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วไมต่ อ้ งพดู ถงึ โดยเฉพาะยา่ นซากโบสถ์
หลายสำ� นกั ไดล้ งขา่ วเกย่ี วกบั ขนมของรา้ นหลงั จากนนั้ ไมน่ าน เซน็ ตพ์ อล และหมบู่ า้ นไทปา หากถามวา่ รา้ นไหนอรอ่ ยทส่ี ดุ
ลอรด์ สโตว กไ็ ดเ้ ขา้ ไปอยใู่ นทำ� เนยี บรายชอื่ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว คงเปน็ เรอ่ื งทตี่ อบไดย้ าก เพราะของแบบนเี้ ขา้ ตำ� ราลางเนอ้ื
ของรัฐบาลมาเกา๊ ชอบลางยา ฉะน้นั คงต้องให้ท่านเป็นผตู้ ัดสินเองจะดีท่ีสุด
ความนยิ มทารต์ ไขท่ ข่ี ยายตวั ตอ่ เนอ่ื ง ทำ� ใหเ้ กดิ รา้ น แตท่ แ่ี นๆ่ ถา้ อยากจะกนิ ทารต์ ไขใ่ หอ้ รอ่ ย ขอแนะนำ�
ทารต์ ไขผ่ ดุ ขน้ึ เปน็ จำ� นวนมากทวั่ ทงั้ มาเกา๊ แตร่ า้ นลอรด์ สโตว ใหก้ นิ ตอนกำ� ลงั อนุ่ ๆ แบบเพง่ิ นำ� ออกจากเตาอบใหมๆ่ เพราะ
ก็ยังเป็นหนึ่งในร้านที่ได้รับนิยมสูงสุด ท้ังน้ี ลอร์ด สโตว เปลอื กจะกรอบ สงั ขยาจะนมุ่ ละมนุ ลน้ิ ถา้ เจอแบบน้ี รบั รอง
ได้ขยายแฟรนไชส์ไปยังประเทศใกล้เคียงต้ังแต่ปี 1997 มีกี่ช้นิ กห็ มด!!
ไมว่ า่ จะเปน็ ฮอ่ งกงไตห้ วนั ฟลิ ปิ ปนิ ส์หรอื ญปี่ นุ่ และในปี2006
แอนดรูก็ได้รับรางวัลผู้ท�ำคุณประโยชน์ด้านการท่องเท่ียว
(Special Medal for Services to Tourism) จากรฐั บาลมาเกา๊
เป็นเรื่องน่าเศร้าท่ีในปีเดียวกัน แอนดรูได้จากไป
อยา่ งกระทนั หนั ดว้ ยโรคหอบหดื ดว้ ยวยั เพยี ง 51 ปี แตต่ ำ� นาน
ความอร่อยของทาร์ตไข่ท่ีเขาคิดค้นขึ้น ก็ได้รับการสืบทอด
โดยน้องสาวและบุตรสาวของเขา คือ ไอลีน และ ออเดรย์
สโตว (Audrey Stow) จนกระทง่ั สามารถขยายกจิ การเพมิ่ ขน้ึ
อกี หลายสาขา

108 วทิ ยาจารย์

สำหรับเจา หนา ท่ี
ตออายุสมาชิก เลขท่ี .............................................
สมัครสมาชกิ ใหม เลขท่ี .........................................
ใบเสรจ็ รบั เงนิ เลขท่ี ..............................................

ใบสมคั รสมาชิกวารสารวทิ ยาจารย เขยี นที่ ..........................................................
วนั ที่ ........ เดอื น ..................... พ.ศ. ...............

ช่อื หนว ยงาน .............................................................................................................................................................................................................................
เพื่อเชื่อมโยงกับฐานขอมูล
เลขที่บตั รประชาชน ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ

ตำแหนง ผบู ริหารการศกึ ษา ศกึ ษานเิ ทศก
นิสิต/นักศกึ ษา อ่ืน ๆ .................................
ครู ผบู รหิ ารสถานศึกษา
คณาจารยใ นสถาบนั อดุ มศึกษา

สังกดั

สพฐ. สพป. สพม. สอศ. สช. กศน. สกอ.

พละ พัฒนศลิ ป สพศ. อปท. กทม. อน่ื ๆ ..............................

ทอี่ ยูท ี่สามารถติดตอ ได

เลขท่ี ...................หมูท ี่ ..................... ซอย ........................... ถนน .....................................ตำบล/แขวง .........................
อำเภอ/เขต .................................................... จังหวดั ...................................... รหสั ไปรษณยี 
โทรศพั ท/ โทรศัพทเ คลอ่ื นที่ .................................................................................

การสมคั รเปนสมาชิกวารสารวทิ ยาจารย

ดังน้ี ตอ อายุสมาชกิ เลขที่ ...................................... สมัครสมาชิกใหม
ราย 1 ป (ราคา 500 บาท) โดยรบั ฉบับเดือน ........................ถงึ ..............................
ราย 2 ป (ราคา 1,000 บาท)

ชื่อผแู นะนำ (ถาม)ี ..........................................................

การชำระคาสมาชกิ

เงินสด ........................................................... บาท

ธนาณตั ิ สง่ั จา ย ปณ.ศกึ ษาธกิ าร ในนาม ผอู ำนวยการสำนกั อำนวยการ สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา (ใชธ นาณตั ติ วั จรงิ เทา นน้ั )

สถานทจี่ ดั สงวารสารและใบเสร็จรบั เงิน

ตามท่ีอยูสมัครขา งตน
อ่ืนๆ (โปรดระบุ)

เลขท่ี ...................หมูท่ี ..................... ซอย ........................... ถนน .....................................ตำบล/แขวง .........................
อำเภอ/เขต .................................................... จังหวดั ...................................... รหัสไปรษณีย
โทรศัพท/โทรศพั ทเ คลอื่ นท่ี .................................................................................

กองบรรณาธกิ ารวารสารวทิ ยาจารย ขอขอบพระคณุ ทกุ ทา นทใี่ หก ารสนบั สนนุ วารสารวทิ ยาจารย
วารสารเพ่ือการพฒั นาวิชาชีพทางการศึกษาใหคงอยคู ูกบั วิชาชีพทางการศึกษาสบื ไป

สถานท่ีตดิ ตอ สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา 128/1 ถนนนครราชสมี า แขวงดุสติ เขตดุสติ กทม. 10300 โทร. 0 2282 1308
e-mail : [email protected]
วิทยาจารย์ 109

ย�ำสามกรอบ

“ฅุรุชน” พฤศ ’60
เขยี นที่ริมคลองเมง่ เสง็ !

117 ปี

วทิ ยาจารย์ !

จะไปต่อ หรอื

รอเขา้ พพิ ธิ ภัณฑ์

ก่อนเดอื นพฤศจกิ ายน….. นน้ี ะครบั เมอ่ื ปี 2543 ผมเปน็ คนกระตุ้นเตอื น “ครุ สุ ภา” ว่า..... “วิทยาจารย”์
จะมอี ายคุ รบ 100 ปแี ล้วนะครบั ... ในฐานะวารสารส่อื ทางวชิ าชพี เราน่าจะทำ� อะไรให้เพอ่ื นครผู ู้ประกอบวิชาชพี
ที่กระจายกนั อยู่ท่วั ไทยร่วมลา้ นคน ไดร้ บั ทราบบ้างดไี หม ? .....
ในฐานะวารสารท่ีมีอายุยืนยาวมากท่ีสุด ผมคาดหวังว่า เราจะน�ำเอาต�ำนานวิทยาจารย์มาวิเคราะห์
ให้เห็นการก่อเกิด ให้เห็นการด�ำรงอยู่แตล่ ะยุคสมยั ให้เหน็ การวิวัฒน์ปรับตัวผา่ นกาลเวลา
และให้เห็น การผงาดยืนเทยี บช้นั กบั สือ่ ยคุ DIGITAL ไดเ้ ชน่ ไร
คดิ ถงึ การจดั Event เฉลมิ ฉลอง 100th Anniversary มขี องแจกแถมสมาชกิ เกา่ และสมาชกิ ใหม่ อยา่ งยง่ิ ใหญ่
คิดถึงการขยายฐานสมาชิก ไม่ต้องมาก จากล้านคุณครู ผมขอแค่ “หน่ึงแสน” เท่ากับยอดค่าพิมพ์
กวา่ แสน โดยมกี ลไกหนว่ ยงานครทู กุ จงั หวดั ,อำ� เภอ และมสี งั กดั ครปู ระถม มธั ยม เอกชน เทศบาล กศน. อาชวี ะ
วทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั ทมี่ คี ณะครศุ าสตร์ - ศกึ ษาศาสตร์ เปน็ ฝา่ ยประสาน - สนบั สนนุ อกี เพยี บ.... ฮา่ าาาา
.... ผมฝนั เฟ่อื ง
ช่วงนั้น ผมจ�ำบรรยากาศในท่ีประชุมคุรุสภาได้ทุกคน ต้ังแต่รัฐมนตรี อธิบดีท้ังหลาย พร้อมผู้แทน
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพท้ังมวล ท้งั ระดบั ชาติ และระดับท้องถ่ิน
ท่งึ ในข้อมลู ทผี่ มนำ� เสนอ เห็นดว้ ยกับแนวคดิ .....!!!
แต่… ไม่มีงบลงทุน ไมม่ ีทีมงานการจดั การ.....
สรุป.... จงึ ไดเ้ พียงทำ� ฉบับพเิ ศษวาระพเิ ศษ 100 ปีวิทยาจารย์
เออ่ อออ.!!!!! ยอดพิมพ์ไมถ่ ึงหมื่น… ฮ่าาาาา !!!
ซึ่งผมเขา้ ใจ…และทำ� ใจได้ว่า….. การจะเปน็ วารสารเกา่ แก่ มอี ายคุ รบ 100 ปี... อยูไ่ ด้ ไม่ตายกบ็ ุญมาก
พอแล้ว..... ละกระมงั ?

110 วทิ ยาจารย์

เมอ่ื มาถึงเดอื นน้ี ปี 2560... ผา่ นไปถงึ สบิ เจ็ดปี หากเป็นคนก็
นบั ว่าแก่เพมิ่ ขึน้ อักโขล่ะครบั
แตส่ ำ� หรบั วทิ ยาจารย์ ทา่ นเพมิ่ อายเุ ปน็ 117 ปี ตามภาษาวยั รนุ่
ยุคนกี้ เ็ รียกวา่ ชิล ชิล แหละครับ
ร้อยปีที่ผ่านมา อาการเป็นอย่างไร วัยร้อยสิบเจ็ดปี ก็ทรง
สภาพเดมิ ... คอื ออกชา้ พมิ พน์ อ้ ย เนอื้ หาไมโ่ ลดโผนมากแตก่ ย็ งั ทนั ยคุ
ทนั สมยั อยู่นกั เขยี นในวทิ ยาจารย์ผมแอบเมยี งมองอายนุ า่ จะเกนิ กง่ึ ศตวรรษ
กันแทบทุกคนล่ะม้งั ?
ทวา่ ... ในความเป็นจรงิ แลว้ เราทงั้ หลาย คงเทียบกนั ไมไ่ ดเ้ ลย
กับการผ่านร้อน - หนาว กว่าร้อยปีของวิทยาจารย์ เพราะ วิทยาจารย์
คือ.....
• สอื่ สงิ่ พมิ พ์ 5 แผน่ ดนิ ที่ยังมชี ีวติ
• เป็นวารสารที่ผ่านสงครามโลกทง้ั คร้งั ทห่ี นึ่ง และครง้ั ท่ีสอง
• เปน็ หนังสอื ทีม่ ีรอ่ งรอยการเปลยี่ นแปลงทางสังคมมากทีส่ ุด
• เป็นนิตยสารท่ีมีท้ังความเป็นวิชาชีพครู และสารคดีสังคม
ทกุ ยุคทกุ สมัย
• สนองตอบทางการศกึ ษาแกป่ ระเทศสยามตงั้ แตเ่ รม่ิ มคี รไู มถ่ งึ
รอ้ ยคน กระท่ังปจั จุบันมคี รรู ว่ มลา้ นคน ฯลฯ
วิทยาจารย์ ไม่ได้ย่งิ ใหญ่อยา่ ง แมก็ กาซีน ดงั เพยี งแต่ยังผลติ
อยูอ่ ย่างสม�่ำเสมอในบรรณพภิ พ ไม่ใชส่ ถติ อยา่ งสงา่ ในพิพธิ ภณั ฑ์ !!!
ฉบบั แรกของหนงั สอื พมิ พว์ ทิ ยาจารยน์ นั้ มนี ายชมุ่ - นายเจรญิ
เปน็ Editor ซ่ึงหมายถึง ผู้รวบรวมจดั การเพอื่ การพมิ พ์ เพราะสมัยนน้ั
ไม่มีศัพท์ ค�ำวา่ บรรณาธิการ

ท่านได้เขียนค�ำกล่าวน�ำไว้ตอนหน่ึงว่า… “อนึ่ง ความหวัง
การข้างหนา้ ของหนังสือวิทยาจารยน์ ี้ จะมีอายสุ ้ัน หรอื ยืด ยนื ยาว
ก็ดังน้ันเหมือนกัน ผู้รวบรวมและเรียบเรียงทั้งหลาย ยังพยากรณ์
ไม่ไดว้ ่า จะมอี ายดุ �ำรงคงอยยู่ นื ยาวนาน สักเพียงไร”......
อมื !.... ทา่ นคงคาดไมถ่ งึ กระมงั วา่ วทิ ยาจารย์ จะมอี ายยุ าวนาน
ถงึ ป่านน้ี....
และโดยตวั ผมเองนน้ั กโ็ ดนเคย่ี วกรำ� และตรากตรำ� กบั วทิ ยาจารย์
มาก็กว่าย่ีสบิ ปแี ล้ว
โดยกวา่ สบิ ปีแรก ผมเขียนในนาม “ครูรมิ ทะเลสาบ”... ออิ ิ!
และสิบปกี ว่าตอ่ มา ผมเร่มิ “ย�ำ” ในนาม “ฅรุ ชุ น”.... ฮ่าาาาา !

วิทยาจารย์ 111

ทกุ ปีท่ผี า่ นมา วัตถุดิบในการปรุง “ยาํ สามกรอบ” ของ
ผมคอื เรอ่ื งของครูของเดก็ ของแงค่ ดิ ตามสถานการณท์ างการศกึ ษา
ทงั้ ในและตา่ งประเทศ ณ ช่วงเวลานั้นๆ
ด้วยลีลา สไตล์ ส่วนตัวท่ีสนุกแต่จริงจัง ง่ายๆ แต่มี
หลกั วชิ าการ ดว้ ยเหตนุ ี้ “ย�ำสามกรอบ” จงึ มรี สชาติ เผด็ เปรยี้ ว
หวาน มนั เคม็ กลมกลอ่ ม ครบรส และคณุ คา่ ประมาณ “สม้ ต�ำ”
ทจี่ ัดจา้ น คงทนผ่านกาลเวลามามากกวา่ ใคร
ในห้วงทศวรรษหลงั เมอ่ื ผมวิวฒั น์ตนเองสภู่ าวะ “ฅรุ ุชน” เตม็ ตวั ก็ไดก้ า้ วสโู่ ลก DIGITAL ปรับตวั สูส่ ังคม Social
Network โลกของ “Yumsamgrob” กย็ ิง่ สวิงไปสูภ่ าวะสากลมากข้นึ มลี ลี าเป็น International ไม่ปอนปอนอกี ต่อไป.....
แต่รสชาตยิ ังคงเดมิ ..... ฮ่าาาาา !
วิทยาจารย์ ฉบบั น้ี นานๆ ที ผมจงึ ขอเขียนถงึ เขา วารสารผูเ้ กา๋ กก๊ึ เพ่อื คารวะและร�ำลกึ ถึง ซึ่งก็ไมร่ ู้วา่ จะอย่อู กี
ยาวนานสกั ปานใด
เพราะคลน่ื แห่ง DIGITAL ท่ีซดั สาดอย่ทู ุกวันน้นี ั้นรุนแรงนัก ได้กวาดเอาบรรดา นิตยสาร ส่ิงพมิ พ์
แม็กกาซนี เขา้ พพิ ธิ ภณั ฑ์ กนั เป็นทิวแถว ที่คนรนุ่ ผมคนุ้ ชิน กม็ ี ขวัญเรอื น สกลุ ไทย บ้านเมือง ฯลฯ.
ขณะที่ “โลก” ก�ำลงั เคล่ือนเปลย่ี นในอัตราเรง่ ทวคี ณู
ผมกลับมองเหน็ สภาวะการศึกษาไทย ขยับตวั อยา่ งอุ้ยอา้ ย
กวา่ ร้อยปีที่ผา่ นมา เราจงึ พบการขยายตัวเชิงปริมาณ แต่กลับหดตวั ในคุณภาพ
เฮ้อ!....ในฐานะคนรุ่นเกา่ กไ็ ดแ้ ตเ่ พียงบน่ ดว้ ยข้อเขียนแบบโบราณในหนังสอื ครงั้ บรรพกาล
อยา่ งนอ้ ยกไ็ ดจ้ ารกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน วา่ การศกึ ษาไทยเปน็ เชน่ ไร ในมมุ มอง ของ “ฅรุ ชุ น” เทา่ นนั้ นะครบั จะผดิ จะถกู
อย่างไร ผมก็รับผิดชอบกนั ในชาตินีแ้ หละครับ
แล้ว... พบกันเดือนหนา้ ธันวาคม ส่งทา้ ยปดี ว้ ยความหวงั ใหม่ๆ ทจ่ี ะมมี านะครับ.

HOTLINE – สายตรง ศกึ ษา..สกิ ขา..Education...ใครจะใชค้ ำ� ไหนกต็ าม แตภ่ าพ
รวมๆ แล้ว ก็คือ..กระบวนการในการถ่ายทอด องค์ความรู้ ให้
“ม.44” “คน” ได้พัฒนา เพ่อื การสบื ทอดเผ่าพนั ธ์ุ จากรุ่น สู่ รุ่น..ต่อๆ ไป....
..อ�ำนาจอันสับสน..ในศธ.? แต่..ผมรู้สึก ศัพทข์ า้ งต้นใหค้ วามร้สู ึกมกี รอบจ�ำกัด โดยมี
คำ� วา่ “หลกั สตู ร” มาเปน็ เงอ่ื นไขวา่ ..นคี่ อื ลสู่ าระ... ทเ่ี ราตอ้ งเดนิ .....
112 วทิ ยาจารย์ ผมจงึ ชอบคำ� วา่ ..“การเรยี นร”ู้ มากกวา่ ..เพราะใหค้ วามรสู้ กึ
ที่มีเสรีภาพแห่งการเรียนรู้ รอบกาย ตามความจ�ำเป็นแห่งชีวิต
โดยแท.้ .....
การ “ตระเวนการศกึ ษาไทย” ของ ฅรุ ชุ น ผมพบการเรยี นรู้
เพ่ือชีวิต ที่หลากหลายท่ัวไทย ทั้งเหนือ กลาง อีสาน ใต้..กับ
องคค์ วามรู้อนั มเี สนห่ .์ .จาก ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และ วถิ ธี รรมชาต.ิ .
ทไ่ี มต่ ้องแขง่ ขัน วดั มาตรฐานกลาง....เพราะ...
ในบรรยากาศ “อัตตโนศึกษา” นี้...ปลา ไม่ต้องวัดผล
การขน้ึ ตน้ ไม.้ .ลงิ ไมต่ อ้ งประเมนิ มาตรฐานการวา่ ยนำ�้ กนั อกี ตอ่ ไป
ในวาระที่ คสช. ยังครองอ�ำนาจในฐานะ “รัฐาธิปัตย์”
เรากค็ าดวา่ การปฏริ ปู การศกึ ษา..จะขน้ึ ถงึ ฝง่ั ฝนั กนั สกั ครงั้ ไดม้ ยั้ ...
ยังพอมองเห็นหลงั Finland อย่ลู ิบ..พอกวดทันหรอกน่า.!!.
หาก “หมอ” ไม่เข้าใจผิด หลงทิศ ว่านี่คือ “กระทรวง
สาธารณสุขศึกษา”..๚๛
“ฅุรุชน”




Click to View FlipBook Version