The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-07 03:04:51

วารสารวิทยาจารย์ ปีที่ 117 ฉบับที่ 1 เดือนพฤศจิกายน 2560

1 วิทยาจารย์ พฤศจิกายน 2560

องคประกอบการบริหารจัดการงานฝก อบรมแบบมสี ว นรว มทม่ี ปี ระสทิ ธิผล
ของโครงการเขา วดั ปฏบิ ัติธรรมวนั อาทติ ยเ พ่ือสง เสริมคณุ ภาพชีวติ พทุ ธศาสนิกชน

พระมหาเฉลมิ ปย ทสสฺ ี (สงเอยี ด)

บทคดั ยอ ปฏบิ ตั ิ กา� กบั และตรวจประเมนิ ในภาพรวมมคี วามถกู ตอ้ ง ความเปน็ ไปได ้
การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาสภาพปัญหา และความเปน็ ประโยชนอ์ ยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ และขอ้ มลู มกี ารกระจายตวั นอ้ ย
การบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นรว่ ม ทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการ
เข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพุทธศาสนิกชน ค�าส�าคัญ : การบริหารจัดการงานฝึกอบรม, การมีส่วนร่วม,
2) กา� หนดองค์ประกอบการบริหารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมีส่วนร่วมที่มี ประสิทธิผล
ประสิทธิผลของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริม
คณุ ภาพชวี ติ ของพทุ ธศาสนกิ ชนและ 3) ประเมนิ การนา� องคป์ ระกอบการบรหิ าร Abstract
จัดการงานฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วมท่ีมีประสิทธิผลของโครงการเข้าวัด The purposes of this research were: (1) to study the current
ปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพุทธศาสนิกชน problem state of effective participatory training management through
มาปฏบิ ตั ิ ประชากรทใี่ ช ้ ไดแ้ ก ่ ผบู้ รหิ ารจดั การโครงการฯ จา� นวนวดั ละ 4 คน Sunday Temple - Attendance and Dharma Practicing Project for
ประธานศนู ยป์ ระสานงานการเรยี นรวู้ ดั วถิ พี ทุ ธเฉลมิ พระเกยี รตวิ ดั วนั อาทติ ย์ Buddhist’s Quality of Life (ST – ADPP - PBQL) (2) to construct the
ประจ�าภูมภิ าค (ศปอ.ภ.) จ�านวนวัดละ 4 คน วิทยากรจ�านวนวดั ละ 2 คน factors affecting the effective participatory training management
และตัวแทนภาคประชาชนในชุมชนจ�านวนวัดละ 7 คน จ�านวน 60 วัด through ST – ADPP – PBQL and (3) to assess and verify the usable
รวมจา� นวน 1,020 คน โดยมีเคร่ืองมือทีใ่ ช ้ ไดแ้ ก ่ แบบสา� รวจความคดิ เห็น factors affecting the effective participatory training management
เกย่ี วกบั สภาพปญั หาการบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นรว่ มทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล through ST – ADPP – PBQL
ของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ The research was divided into 3 steps : the 1st step was to
พุทธศาสนิกชน แบบสัมภาษณ์เชิงลึกการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ study the current problem state of the effective training management
งานฝึกอบรมที่มีประสิทธิผลของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ through ST - ADPP – PBQL ; the 2nd step was to construct the factors
เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพุทธศาสนิกชน และแบบประเมินการน�า affecting the effective participatory training management through
องคป์ ระกอบ การบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นรว่ มทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ล ST – ADPP – PBQL, the 3rd step was to assess the factors affecting
ของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต the effective participatory training management through ST – ADPP
ของพุทธศาสนิกชน มาปฏิบตั ิ – PBQL.
ผลการวจิ ยั พบว่า Population of the study were Project Directors of ST – ADPP
1. การบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วมท่ีมีประสิทธิผล – PBQL, project’s resource persons and regional presidents of ST
ของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรม วันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ – ADPP – PBQL coordinating units. The research instruments used
พุทธศาสนิกชน ในภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็น were opinionnaire, in - dept interview, and questionnaire. The data
รายดา้ น พบวา่ ดา้ นการตดั สนิ ใจ ดา้ นการปฏบิ ตั ิ ดา้ นการรบั ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ และ were analyzed by using statistical methods including mean, standard
ด้านการประเมินผล ทุกด้านมีปัญหาอยู่ในระดับมาก และข้อมูลมีการ deviation, factor analysis, and content analysis.
กระจายตัวน้อย The findings were as follows :
2. สามารถก�าหนดองค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรม 1. Overall, there were problems of effective participatory
แบบมีส่วนร่วมท่ีมีประสิทธิผลของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ training management through Sunday Temple - Attendance and
เพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ของพทุ ธศาสนกิ ชน ไดท้ งั้ หมด 4 องคป์ ระกอบหลกั Dharma Practicing Project (ST – ADPP – PBQL) at high level. The
32 องคป์ ระกอบยอ่ ย ซง่ึ นา� มาก�าหนดเป็นการบรหิ ารจัดการงานฝึกอบรม research results also revealed that the problems in each aspect
แบบมีส่วนรว่ มทมี่ ปี ระสิทธผิ ลไดต้ อ่ ไป were found at high level with small standard deviation.
3. การน�าองค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมี 2. It was found that essential factors affecting the effective
สว่ นรว่ มทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมวนั อาทติ ยเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ participatory training management through ST – ADPP – PBQL
คุณภาพชีวิตของพุทธศาสนิกชน มาปฏิบัติ โดยการก�าหนดเป็นเน้ือหา consisted of 4 main factors and 32 minor factors in which all could
วัตถุประสงค์ กระบวนการ วิธีการ และการประเมินผล เพื่อวางแผน be used to specify the curriculum essences of effective participatory
training management.

วทิ ยาจารย์ 49

3. The implications derived from the specified research เคร่ืองมือที่ใชใ นการวิจยั
results as shown at all of the above were verified by the connoisseurs 1. แบบสา� รวจความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั สภาพปญั หาการบรหิ ารจดั การ
and found that all affecting usable factors were correct, practical งานฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นรว่ มทมี่ ีประสิทธิผล
and useful at very high level. 2. แบบสัมภาษณ์เชิงลึกการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
งานฝกึ อบรมทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล
Key words : training management, effective participatory 3. แบบประเมินการน�าองค์ประกอบการบริหารจัดการงาน
วตั ถปุ ระสงคการวจิ ัย ฝึกอบรมแบบมสี ว่ นร่วมท่มี ปี ระสิทธิผลมาปฏบิ ัติ
1. เพ่ือศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมี การเก็บรวบรวมขอมลู
ส่วนร่วมที่มีประสิทธิผลของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ 1. จัดส่งแบบสํารวจความคิดเห็น พร้อมซองเปล่าติดแสตมป
เพื่อสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ของพทุ ธศาสนกิ ชน เพอื่ สง่ กลบั มายงั ผวู้ จิ ยั ไปยงั วดั วนั อาทติ ย ์ ซง่ึ มลู นธิ วิ ดั ปญั ญานนั ทารามได้
2. เพื่อก�าหนดองค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรม พจิ ารณาคัดเลอื ก
แบบมีส่วนร่วมท่ีมีประสิทธิผลของโครงการ เข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ 2. สัมภาษณ์เชิงลึกการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการงาน
เพือ่ ส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ของพทุ ธศาสนกิ ชน ฝึกอบรมทม่ี ปี ระสิทธผิ ล
3. เพอื่ ประเมนิ การนา� องคป์ ระกอบการบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรม 3. สัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ (Connoisseurs) เพื่อก�าหนด
แบบมีส่วนร่วมท่ีมีประสิทธิผลของโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ องค์ประกอบ
เพ่ือส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตของพุทธศาสนิกชน มาปฏิบัติ 4. จัดสมั มนาองิ ผทู้ รงคณุ วุฒิ (Connoisseurs) เพ่ือประเมินการ
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั น�าองค์ประกอบมาปฏบิ ตั ิ
องค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วมที่มี การวิเคราะหขอมลู
ประสทิ ธผิ ลของโครงการเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมวนั อาทติ ยเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ 1. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงส�ารวจ ดวยสถิติ ค่าเฉล่ีย (Mean) และ
ของพทุ ธศาสนกิ ชน ประกอบดว้ ยเนอื้ หาของการบรหิ ารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ล ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากน้ันน�าเสนอ
ในลกั ษณะของการมสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ การมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั ิ ในรปู ของตารางประกอบความเรยี ง
การมสี ว่ นรว่ มในการรบั ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ และการมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผล 2. วิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) ด้วยวิธี Principal
(ธรี ะ รญุ เจรญิ , 2550) (จนั ทราน ีสงวนนาม, 2553) (เมตต ์เมตตก์ ารณุ จ์ ติ , 2553) Component Analysis (PC) และใชว้ ธิ หี มนุ แกนออโธกอนอลแบบวารแิ มกซ์
(Pearse and Stiefel, 1979) (Shaded Prins and Nas, 1982) (Davis and (Varimax Orthogonal) ด้วยเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกตัวแปรท่ีส�าคัญ
Newstrom, 1985) (Putti, 1987) (Cohen and Uphoff, 1997) จากองค์ประกอบ ต่างๆ ท่ีมีค่าสัมประสิทธ์ิคะแนนองค์ประกอบ
ระเบียบวิธีวจิ ยั (Factor Score Coefficients) ตงั้ แต ่ 0.30 ขน้ึ ไป จากนนั้ นา� เสนอในรปู ของ
การวจิ ยั นใี้ ชร้ ะเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ ศกึ ษาสภาพปญั หา ตารางประกอบความเรยี ง
การบริหารจัดการและก�าหนดองค์ประกอบในเชิงปริมาณ (Quantitative 3. วิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ มู ล เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ จ า ก ก า ร สั ม ภ า ษ ณ ์ เ ชิ ง ลึ ก
Research) ตลอดจนใชส้ มั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สนบุ สนนุ องค์ประกอบ โดยใช้การวเิ คราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) จากนน้ั น�าเสนอในรปู ของ
การมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การในเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) ความเรยี ง
ภายใตก้ ารตรวจ ความตรงโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ (Connoisseurs) 4. สงั เคราะหเ์ ปน็ องคป์ ระกอบการบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรมแบบ
ขอบเขตในการวจิ ัย มสี ว่ นร่วมทม่ี ปี ระสทิ ธิผลของโครงการฯ
5. วิเคราะห์ข้อมูลความถูกต้อง ความเป็นไปได้ และความเป็น
การวจิ ยั ครง้ั นเ้ี ปน็ การวจิ ยั เชงิ ประสม (Mixed Method Research) ประโยชน์ขององค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วม
ประกอบดว้ ยการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Research) และการวิจยั ท่ีมีประสิทธิผลของโครงการฯ มาปฏิบัติ โดยการก�าหนดเป็นเน้ือหา
เชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) วัตถุประสงค์ กระบวนการ วิธีการ และการประเมินผล เพื่อวางแผน
ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ปฏบิ ตั ิกา� กบั และตรวจประเมนิ ดว ยสถติ ิคา่ เฉลย่ี (Mean) และคา่ สว่ นเบย่ี งเบน
1. ตวั แปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ สภาพปัญหา มาตรฐาน (Standard Deviation) จากนนั้ นา� เสนอในรปู ของตารางประกอบ
การบริหารจดั การงานฝึกอบรมแบบมีสว่ นรว่ มที่มีประสิทธผิ ล ความเรยี ง
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ องค์ประกอบ ผลการวิจัย
การบริหารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นร่วมท่ีมปี ระสทิ ธผิ ล 1. สภาพปัญหาการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วม
ประชากร ทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมวนั อาทติ ยเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ภาพ
ประชากรทใี่ ช ้ ไดแ้ ก ่ ผบู้ รหิ ารจดั การโครงการฯ จา� นวนวดั ละ 4 คน ชวี ติ ของพทุ ธศาสนกิ ชน ในภาพรวมมปี ญั หาอยใู่ นระดบั มาก เมอื่ พจิ ารณา
ประธานศนู ยป์ ระสานงาน การเรยี นรวู้ ดั วถิ พี ทุ ธเฉลมิ พระเกยี รตวิ ดั วนั อาทติ ย์ เปน็ รายดา้ น พบวา่ ทกุ ดา้ นมปี ญั หาอยใู่ นระดบั มาก โดยสามารถเรยี งลา� ดบั
ประจ�าภูมิภาค (ศปอ.ภ.) จ�านวนวัดละ 4 คน วทิ ยากร จา� นวนวัดละ 2 คน ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ คือ ด้านการตัดสินใจ ด้านการปฏิบัต ิ
และตัวแทนภาคประชาชนในชุมชนจ�านวนวัดละ 7 คน จ�านวน 60 วัด ด้านการรบั ผลที่เกิดขนึ้ และด้านการประเมินผล
รวมจ�านวน 1,020 คน

50 วิทยาจารย์

2. องค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วมท่ี 2.2.4 วธิ กี าร ไดแ้ ก่ การฝกึ อบรม การใชพ้ เ่ี ลยี้ ง และการเรยี นร้ ู
มปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมวนั อาทติ ยเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ภาพ ดว้ ยตนเอง
ชีวิตของพุทธศาสนิกชน มี 4 องค์ประกอบหลัก 32 องค์ประกอบย่อย 2.2.5 การประเมนิ ผลไดแ้ กป่ ระเมนิ ผลระหวา่ งการฝกึ อบรม
โดยสามารถน�ำไปใช้ในการบริหารจดั การงานฝกึ อบรมทีม่ ปี ระสทิ ธผิ ลของ ในแต่ละกิจกรรม ประเมินความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับผลลัพธ ์
โครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ ท่เี กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะกิจกรรมการฝกึ อบรม
พทุ ธศาสนกิ ชนดังน้ี 2.3 การกำ� กบั
2.1 การวางแผน 2.3.1 เนอื้ หา ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการสวดมนตไ์ หวพ้ ระ กจิ กรรม
2.1.1 เนอื้ หา ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการสวดมนตไ์ หวพ้ ระ กจิ กรรม การอา่ นพระไตรปฎิ ก กจิ กรรมการสงั วธั ยายพระไตรปฎิ ก กจิ กรรมเพม่ิ โอกาส
การอา่ นพระไตรปฎิ ก กจิ กรรมการสงั วธั ยายพระไตรปฎิ ก กจิ กรรมเพม่ิ โอกาส บวชเนกขัมมะบารมี และกิจกรรมพุทธอาสาท�ำบุญโดยไม่ผ่านเงิน
บวชเนกขัมมะบารมี และกิจกรรมพุทธอาสาท�ำบุญโดยไม่ผ่านเงิน ใหท้ ันกบั สถานการณ์ปจั จบุ นั
ให้ทนั กับสถานการณ์ปัจจบุ ัน 2.3.2 วัตถุประสงค์ ไดแ้ ก่ ก�ำกับ ติดตาม การปฏิบัตใิ ห้ได้
2.1.2 วตั ถปุ ระสงค์ ไดแ้ ก่ กำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพ ตามเนอ้ื หาวตั ถปุ ระสงค์กระบวนการและวธิ กี ารในแตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรม
เพ่ือก�ำหนดมาตรฐานและตัวบ่งช้ีของการถ่ายโยงความรู้การฝึกอบรมสู่ วางแผนปรับปรุงพัฒนาความก้าวหน้าของผู้เข้ารับการฝึกอบรมในแต่ละ
การปฏิบัติ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพของการคัดเลือก อภิปราย กจิ กรรมการฝกึ อบรม
เพื่อเสนอแนะปรับปรุง และน�ำเสนอเน้ือหา วัตถุประสงค์ กระบวนการ 2.3.3 กระบวนการ ไดแ้ ก่ ก�ำกับ ตดิ ตาม การปฏบิ ตั ิใหไ้ ด้
วธิ ีการ และการประเมินผลกจิ กรรมการฝกึ อบรม อย่างสอดคล้องกันตามเนื้อหา วัตถุประสงค์ กระบวนการ และวิธีการใน
2.1.3 กระบวนการ ไดแ้ ก่ กระบวนการประชมุ กลมุ่ (Focus แตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรม กระบวนการประชมุ กลมุ่ เพอ่ื วางแผนปรบั ปรงุ
Group Discussion) เพอื่ กำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ ขา้ รบั การฝกึ พฒั นาความกา้ วหนา้ ของผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมในแตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรม
อบรม กระบวนการประชุมกลุ่ม เพื่อก�ำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของ 2.3.4 วิธีการ ได้แก่ การก�ำกับ ติดตามการปฏิบัติให้ได ้
การถ่ายโยงความรู้การฝึกอบรมสู่การปฏิบัติ กระบวนการประชุมกลุ่ม ตามเนอื้ หาวตั ถปุ ระสงค์กระบวนการและวธิ กี ารในแตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรม
เพอ่ื กำ� หนดการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพของการคดั เลอื กการอภปิ ราย โดยการสังเกต และการสมั ภาษณ์
เพื่อเสนอแนะปรับปรงุ และการน�ำเสนอเนอื้ หา วตั ถุประสงค์ กระบวนการ 2.3.5 การประเมินผล ได้แก่ สังเกต การปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดต้ าม
วิธกี าร และการประเมนิ ผลกจิ กรรม การฝกึ อบรม เนื้อหาในแต่ละกิจกรรมการฝึกอบรมในระหว่างการฝึกอบรม โดยใช้แบบ
2.1.4 วธิ กี าร ไดแ้ ก่ คดั เลอื ก อภปิ รายเพอื่ เสนอแนะปรบั ปรงุ สงั เกต สมั ภาษณเ์ พอ่ื ศกึ ษาความกา้ วหนา้ ของผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมในแตล่ ะ
และน�ำเสนอทิศทางการพัฒนาคุณภาพผู้เข้ารับการฝึกอบรม คัดเลือก กจิ กรรม การฝกึ อบรม ในระหวา่ งการฝกึ อบรม โดยใชแ้ บบสมั ภาษณอ์ ยา่ ง
อภิปรายเพื่อเสนอแนะปรับปรุง และน�ำเสนอมาตรฐานและตัวบ่งช้ีของ มโี ครงสร้าง
การถา่ ยโยงความรกู้ ารฝกึ อบรมสกู่ ารปฏบิ ตั ิคดั เลอื ก อภปิ รายเพอื่ เสนอแนะ 2.4 การตรวจประเมนิ
ปรับปรุง และน�ำเสนอการตรวจสอบและประเมินคุณภาพของเน้ือหา 2.4.1 เนอื้ หา ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการสวดมนตไ์ หวพ้ ระ กจิ กรรม
วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ วธิ กี าร และการประเมนิ ผลกจิ กรรมการฝกึ อบรม การอา่ นพระไตรปฎิ ก กจิ กรรมการสงั วธั ยายพระไตรปฎิ ก กจิ กรรมเพม่ิ โอกาส
2.1.5 การประเมินผล ได้แก่ ประเมินความถูกต้อง และ บวชเนกขัมมะบารมี และกิจกรรมพุทธอาสาท�ำบุญโดยไม่ผ่านเงิน
ความเชอ่ื มน่ั ของทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ประเมนิ ให้ทันกับสถานการณป์ จั จบุ ัน
ความถกู ตอ้ ง และความเชอ่ื มนั่ ของมาตรฐานและตัวบง่ ชี้ของการถา่ ยโยง 2.4.2 วัตถุประสงค์ ได้แก่ วางแผนในการนิเทศติดตาม
ความรู้การฝึกอบรมสู่การปฏิบัติ ประเมินความถูกต้อง และความเช่ือมั่น และประเมนิ ผลหลงั การฝกึ อบรมตามตวั บง่ ชใ้ี นแตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรม
ของเนอ้ื หา วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ วิธกี ารและการประเมินผลกจิ กรรม ปฏิบัติการนิเทศติดตามและประเมินผลหลังการฝึกอบรมตามตัวบ่งช ี้
การฝกึ อบรม ในแตล่ ะกจิ กรรม การฝึกอบรม
2.2 การปฏบิ ตั ิ 2.4.3 กระบวนการ ไดแ้ ก่ การนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล
2.2.1 เนอ้ื หา ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการสวดมนตไ์ หวพ้ ระ กจิ กรรม หลงั การฝึกอบรมตามตัวบง่ ช้ใี นแต่ละกจิ กรรมการฝกึ อบรม
การอ่านพระไตรปิฎก กิจกรรมการสังวัธยายพระไตรปิฎก กิจกรรมเพิ่ม 2.4.4 วิธกี าร ได้แก่ การนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลหลงั
โอกาสบวชเนกขัมมะบารมี และกิจกรรมพุทธอาสาท�ำบุญโดยไม่ผ่านเงิน การฝกึ อบรมตามตวั บง่ ชใี้ นแตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรมในระหวา่ งการฝกึ อบรม
ให้ทนั กับสถานการณป์ ัจจบุ ัน และหลงั การฝึกอบรม โดยการสมั ภาษณ์
2.2.2 วัตถุประสงค์ ได้แก่ ก�ำหนดเนื้อหา วัตถุประสงค์ 2.4.5 การประเมนิ ผล ไดแ้ ก่ สมั ภาษณผ์ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม
กระบวนการ วิธีการ และการประเมินผลในแต่ละกิจกรรมการฝึกอบรม หลังการฝึกอบรมในแต่ละกิจกรรมการฝึกอบรม โดยใช้แบบสัมภาษณ์
ก�ำหนดมาตรฐานและตัวบ่งช้ีของการถ่ายโยงความรู้การฝึกอบรมสู่การ อย่างมีโครงสร้าง
ปฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะกจิ กรรมการฝกึ อบรม ระบแุ นวทางการแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้
ในระหว่างการฝกึ อบรมในแตล่ ะกิจกรรม 3. การน�ำองค์ประกอบการบริหารจัดการงานฝึกอบรมแบบม ี
2.2.3 กระบวนการไดแ้ ก่กระบวนการประชมุ กลมุ่ เพอื่ กำ� หนด สว่ นรว่ มทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการเขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมวนั อาทติ ยเ์ พอื่ สง่ เสรมิ
เนื้อหา วัตถุประสงค์ กระบวนการ วิธีการ และการประเมินผลในแต่ละ คุณภาพชีวิตของพุทธศาสนิกชน มาปฏิบัติ โดยการก�ำหนดเป็นเนื้อหา
กิจกรรมการฝกึ อบรม กระบวนการประชมุ กลมุ่ เพือ่ กำ� หนดมาตรฐานและ วัตถปุ ระสงค์ กระบวนการ วธิ ีการ และการประเมินผล เพื่อวางแผน ปฏิบตั ิ
ตัวบง่ ชขี้ อง การถา่ ยโยงความรู้การฝึกอบรมส่กู ารปฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะกจิ กรรม กำ� กบั และตรวจประเมนิ ในภาพรวมมคี วามถกู ต้อง ความเปน็ ไปได้ และ
การฝึกอบรม กระบวนการประชุมกลุ่ม เพ่ือระบุแนวทาง การแก้ปัญหา ความเป็นประโยชนอ์ ยู่ในระดบั มากท่สี ุด และขอ้ มลู มี การกระจายตวั น้อย
เฉพาะหนา้ ในระหว่างการฝึกอบรมในแตล่ ะกจิ กรรม

วิทยาจารย์ 51

อภิปรายผล ขอ เสนอแนะ
จากผลการวจิ ยั ทพ่ี บวา่ สภาพปญั หาการบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรม ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
แบบมสี ว่ นรว่ มทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการฯในภาพรวมมปี ญั หาอยใู่ นระดบั มาก 1. ควรก�าหนดนโยบายในการคัดเลือกฆราวาส และพระสงฆ์
เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการโครงการต่างๆ โดยควรก�าหนด
คือ ด้านการตัดสินใจ ด้านการปฏิบัติ ด้านการรับผลที่เกิดข้ึน และ เป็นบทบาท และหนา้ ที่ใหส้ ามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างมีประสทิ ธผิ ล
ดา้ นการประเมนิ ผล ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ เปน็ เรอื่ งทตี่ อ้ งอาศยั ความร ู้ความเขา้ ใจ 2. ควรมนี โยบายในการคดั กรองระดบั ความรทู้ างพทุ ธศาสนาของ
ในเร่อื งของหลกั ธรรมทางพุทธศาสนาค่อนข้างมาก สง่ ผลให้ในทางปฏบิ ัติ ผู้เข้าร่วมโครงการต่างๆ ให้ชัดเจน เพ่ือให้สามารถออกแบบหลักสูตร
จรงิ เมอื่ ทางวดั วางแผนงานเรยี บรอ้ ย จงึ จะนา� เสนอเพอ่ื ใหผ้ มู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง การฝกึ อบรมใหส้ ามารถปฏิบตั ิไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธผิ ล
ไดร้ บั ทราบเทา่ นน้ั ทงั้ ทใ่ี นความเปน็ จรงิ ยงั มปี ระชาชนจา� นวนมากทมี่ คี วามรู้ ขอ้ เสนอแนะในการปฏบิ ตั ิ
เรื่องหลักธรรมและหลักปฏิบัติทางพุทธศาสนาเป็นจ�านวนมาก ดังเช่น 1. ควรเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้อง และผู้ที่เคยผ่านเข้ารับ
จากผลการศึกษาวิจัยของวัดปัญญานันทาราม (2558) ท่ีได้น�าเสนอ การฝึกอบรมได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการด�าเนินงานองค์ประกอบ
ผลการด�าเนินงานโครงการเปิดวัดวันอาทิตย์ ใกล้ชิดพระศาสนา ที่ให้ การบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นรว่ มทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ลของโครงการฯ
ขอ้ เสนอแนะไวว้ า่ ควรใหค้ วามสา� คญั กบั ศกั ยภาพและขดี ความสามารถทางดา้ น อย่างเตม็ ที่ เพือ่ ให้การบริหารจัดการโครงการเกิดประสิทธผิ ลมากท่ีสุด
วชิ าการของบคุ คลหรอื หนว่ ยงานทเี่ ขา้ รว่ มในคณะทา� งาน และใหค้ วามสา� คญั 2. สามารถนา� องคป์ ระกอบการบรหิ ารจดั การงานฝกึ อบรมแบบมี
กับการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของวัดในการบริหารจัดการ สว่ นรว่ มท่มี ปี ระสิทธิผลของโครงการฯ ไปเขียนหลกั สตู รในการฝกึ อบรมให้
ผ่านกระบวนการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้รวมถึง ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ตอ่ เนอ่ื ง และมรี ปู แบบการดา� เนนิ กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย
ระบบการบริหารจัดการสมัยใหม่ การสร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ตามความตอ้ งการของประชาชนผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมวา่ มคี วามตอ้ งการไป
และภารกจิ ของวัด พระสงฆแ์ ละพุทธบรษิ ัทในการเผยแผ่พทุ ธศาสนา ในทศิ ทางใด

บรรณานุกรม
จนั ทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎแี ละแนวปฏบิ ัติในการบริหารสถานศึกษา. พมิ พค์ รงั้ ที ่ 3. กรุงเทพฯ : บคุ พอยท.์
ธีระ รญุ เจริญ. (2550). ความเปน มืออาชพี ในการจดั และบรหิ ารการศกึ ษาในยุคปฏริ ปู การศึกษา. พิมพ์ครง้ั ที ่ 4. กรุงเทพฯ : ข้าวฟา ง.
เมตต ์เมตตก์ ารณุ จ์ ติ . (2553). การบรหิ ารจดั การศกึ ษาแบบมสี ว นรว ม:ประชาชน องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ และราชการ. พมิ พค์ รง้ั ท ่ี3. นนทบรุ :ี บคุ พอยท.์
วัดปัญญานนั ทาราม. (2558). มลู นธิ วิ ดั ปญญานนั ทาราม. จากhttps://watpanya.wordpress.com.
Cohen, J.M. and Uphoff, N.T. (1997). Rural Development Participation : Concepts and Measures for Project Design, Implementation and

Evaluation. New York : The rural development committee Center for International Studies, Cornell University.
Davis, H. and Newstrom, J.W. (1989). Human behavior at work : Organizational Behavior. (7th ed.). New York : McGraw-Hill.
Pearse, A.C. and Stiefel, M. (1979). Inquiry into participation: A research approach. Geneva : United Nations Research Institute for Social

Development.
Putti, J.M. (1987). Management : A Functional Approach. Singapore: McGraw-Hill.

ความคาดหวงั และการมสี ว นรว มของผปู กครองในการจดั กิจกรรมการออกกาํ ลงั กาย
ของนักเรียนโรงเรียนบา นบุยาว สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

Parents Expectation and Participation toward Students Exercise Activities Management
at Ban buyao School under Sisaket Primary Educational Service Area Office 2

กองกิตติ ดวงตา

บทคัดยอ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ปกครองของนักเรียนท่ีก�าลังศึกษาอยู่
การวิจัยในคร้ังนมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ (1) ศึกษาความคาดหวงั และ ในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 - 6 และมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 - 3 จา� นวน 192 คน
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ จัดกิจกรรมการออกก�าลังกายของ การเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งดงั กลา่ วนนั้ จะองิ ตามหลกั ความสะดวก (Convenient
นักเรียนโรงเรียนบ้านบุยาว ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา Sampling) เนอ่ื งจากเขา้ ถงึ กลมุ่ เปา หมายไดต้ รงจดุ และสะดวกตอ่ การเกบ็
ศรสี ะเกษ เขต 2 และ (2) เปรยี บเทยี บความความคาดหวงั และ การมสี ว่ นรว่ ม รวบรวมขอ้ มลู เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั เปน็ แบบสอบถาม มคี า่ ความเชอื่ มน่ั
ของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมการออกก�าลังกายของนักเรียนโรงเรียน เท่ากับ 0.849 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย
บ้านบุยาว ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
จ�าแนกตามเพศ อาย ุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของผปู้ กครอง โดยกา� หนดนยั สา� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05 และการเปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง
รายคตู่ ามวิธกี ารของเชฟเฟ (Scheffe’)

52 วทิ ยาจารย์

ผลการวจิ ยั พบวา่ (1) ความคาดหวงั ของผปู้ กครองในการจดั กจิ กรรม Educational Service Area Office 2 were different in accordance with
การออกก�าลังกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านบุยาว ส�านักงานเขตพื้นที่ age and income of parents at a 0.05 level of statistical significance,
การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 โดยรวมอยใู่ นระดบั มากทกุ ดา้ น และ whereas gender, occupation did not significantly lead to different
การมสี ว่ นรวมของผปู้ กครองในการจดั กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น parents expectation levels. Summary, expectations and participations
โรงเรียนบ้านบุยาว ส�านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ of parents toward exercise activities management for students at
เขต 2 มีสว่ นร่วมอยู่ในระดับมาก และ (2) การเปรียบเทียบความคาดหวัง Banbuyao School under Sisaket Primary Educational Service Area
ของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมการออกก�าลังกายของนักเรียนโรงเรียน Office 2 were high in type of activity and facility. There were significance
บ้านบุยาว ส�านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 in expectations and participations of parents toward exercise activities
พบวา่ แตกต่างกนั ตามเพศ อายุ ระดบั การศึกษา และรายได้ของผู้ปกครอง management for students at Banbuyao School under Sisaket Primary
อยา่ งมนี ยั สา� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05 อาชพี ของผปู้ กครองนกั เรยี นตา่ งกนั Educational Service Area Office 2.
มีความคาดหวังไม่แตกต่างกัน และการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของ
ผปู้ กครองในการจดั กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นบยุ าว บทนํา
สา� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 พบวา่ แตกตา่ ง โรงเรียนบ้านบุยาว ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
กันตามอายุและรายได้ของผู้ปกครอง อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ ศรีสะเกษ เขต 2 ต้ังอยหู่ มู่ท ่ี 2 ตา� บล กลว้ ยกว้าง อ�าเภอหว้ ยทบั ทนั จงั หวัด
0.05 เพศและอาชีพของผู้ปกครองนักเรียนต่างกันแต่การมีส่วนร่วมของ ศรสี ะเกษ เปดิ สอนในชนั้ อนบุ าลปท ่ี 1 ถงึ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 จา� นวนนกั เรยี น
ผูป้ กครองไม่แตกตา่ งกัน ทงั้ หมด 368 คน จากผลรายงานการตรวจสขุ ภาพประจา� ป  ของนกั เรยี นจาก
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา� บลกลว้ ยกวา้ ง ตรวจพบปญั หาสขุ ภาพและ
สรุปได้ว่า ความคาดหวังและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาเร่ืองสุขภาวะโภชนาการ พบว่าปัจจุบันนักเรียนโรงเรียนบ้านบุยาว
ในการจดั กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นบยุ าว สา� นกั งาน มีปัญหาสุขภาพ คือ โรคอ้วน โรคภูมิแพ้อาหารทะเล ฟันผุ ไข้หวัด
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 มีความคาดหวังมาก โรคขาดสารอาหาร ทา� ใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตไมเ่ ปน็ ไปตามวยั (หลกั สตู รสถานศกึ ษา
ไดแ้ ก ่ดา้ นชนดิ ของกจิ กรรม ดา้ นสง่ิ อา� นวยความสะดวก และการเปรยี บเทยี บ โรงเรียนบ้านบยุ าว พ.ศ. 2553 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2556)
ความคาดหวังและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรม การทคี่ นเราจะมสี ขุ ภาพรา่ งกายและจติ ใจทสี่ มบรู ณแ์ ขง็ แรงไดน้ นั้
การออกกา� ลงั กายของนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นบยุ าว สา� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา จา� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การดแู ลเอาใจใสท่ ะนบุ า� รงุ อยา่ งสมา่� เสมอ การออกกา� ลงั กาย
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 ของกลมุ่ ตวั อยา่ งตามเพศ อาย ุ ระดบั การศกึ ษา ด้วยการร่วมกิจกรรมพลศึกษาก็เปลี่ยนแปลงและพัฒนาในทางที่ดีขึ้น
อาชีพ รายได้ของผู้ปกครอง และการจัดกิจกรรมการออกก�าลังกาย (อวย เกตสุ งิ ห.์ 2518 : 5) การเคลอื่ นไหวและออกกา� ลงั กายจา� เปน็ อยา่ งยงิ่
มีความคาดหวังและมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรม ส�าหรับคนทุกเพศทุกวัย การเคลื่อนไหวร่างกายจึงมีความจ�าเป็น
การออกกา� ลงั กายของนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นบยุ าว สา� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา และพัฒนาให้มีการเก็บไขมันเป็นพลังงานส�ารองไว้ใช้ในช่วงขาดแคลน
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 แตกต่างกนั การใช้เทคโนโลยีชีวิตประจ�าวันท�าให้ลดการเคลื่อนไหว จึงไม่มีเวลา
ออกกา� ลงั กาย ดงั นนั้ การสรา้ งนสิ ยั ใหร้ กั การออกกา� ลงั กายจงึ เปน็ สง่ิ จา� เปน็
Abstract ที่ต้องให้เกิดขึ้นตั้งแต่วัยเด็กเป็นหน้าที่ของพ่อแม่และคนในครอบครัว
The purposes of this research were to: (1) study expectations ทต่ี อ้ งดแู ลในการสรา้ งนสิ ยั เมอ่ื เดก็ เขา้ โรงเรยี นจงึ เปน็ โอกาสดที คี่ รไู ดส้ ง่ เสรมิ
and participations of parents toward exercise activities management การออกกา� ลงั กายในโรงเรยี น ซงึ่ ไดผ้ ลในวยั เดก็ ขณะทเ่ี ดก็ เชอื่ ฟงั และทา� ตาม
for students at Banbuyao School under Sisaket Primary Educational ในการเรียนรูส้ ิ่งตา่ งๆ (กัลยา กิจบญุ ชู. 2546 : 1 - 2) การออกกา� ลงั กาย
Service Area Office 2 and (2) compare expectations and participations และการเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะต่างๆ เป็นส่ิงท่ีส�าคัญอย่างยิ่งใน
of parents toward exercise activities management for students at การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา เป็นสิ่งให้ครูผู้สอนวิชา
Banbuyao School under Sisaket Primary Educational Service Area พลศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้องคาดหวังถึงพัฒนาการทางด้านร่างกายของ
Office 2 according to gender, age, education level, occupation and นกั เรยี นวา่ มภี าวะทางดา้ นรา่ งกายเปลย่ี นแปลงไปในทศิ ทางใด และสามารถ
income of parents. นา� ขอ้ มลู ของนกั เรียนมาปรบั ปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
The samples of this research were 192 parents of students แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2559) ได้ด�าเนินการ
who were studying in elementary and junior high school levels. โดยคา� นงึ ถงึ การเปลยี่ นแปลงในสงั คมไทย การกา้ วเขา้ สยู่ คุ สมยั “โลกาภวิ ตั น”์
Random sampling method was convenient sampling. The research ท่ีท�าให้ขอบข่ายของการสืบเสาะ ค้นคว้า แสวงหาถ่ายทอดความรู้และ
tool was questionnaire with 0.849 reliability coefficient. Statistics for การเรยี นรเู้ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง รวดเรว็ พรอ้ มกบั การขยายอยา่ งกวา้ งขวาง
analyzing data were percentages, means, standard deviations and ของความรู้และการเรียนรู้แห่งศาสตร์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
one way analysis of variance at 0.05 significance level. Then do ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านการศึกษาเป็นแนวทางในการ
paired comparisons by Scheffe when there was significance. ดา� เนินชวี ติ ของคนไทย เพอ่ื มงุ่ ใหเ้ กิด “การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื และความอยดู่ มี ี
The results of the research were: (1) parents expectations สขุ ของคนไทย” (สา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ 2545 : 2 - 3)
toward students exercise activities management of Banbuyao school เดก็ ทมี่ สี ขุ ภาพแขง็ แรงในปจั จบุ นั คอื ผใู้ หญท่ ส่ี ขุ ภาพดใี นอนาคต
under Sisaket Primary Educational Service Area Office 2, were in การส่งเสริมให้เด็กเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีสุขภาพแข็งแรงจะต้องค�านึง
high level in every area. Participations of parents toward exercise ถงึ การสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เจรญิ เตบิ โตอยา่ งสมวยั มพี ลานามยั ทส่ี มบรู ณแ์ ขง็ แรง
activities management for students at Banbuyao School under ผเู้ กย่ี วขอ้ ง ควรตอ้ งดแู ลเอาใจใสใ่ นดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ ์ เพอื่ ใหเ้ ดก็
Sisaket Educational Service Area Office 2 were in high level. (2) The สามารถดา� รงชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ (ดรณุ ี อน้ ขวญั เมอื ง. 2548 : 3)
comparisons of parents expectations toward students exercise
activities for students at Banbuyao School under Sisaket Primary

วทิ ยาจารย์ 53

จากทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั จงึ สนใจทจ่ี ะศกึ ษาถงึ ความความคาดหวงั การมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครองในการจดั กจิ กรรมการออกกา� ลงั กาย
และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมการออกก�าลังกาย พบวา่ ผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มตอ่ กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น มคี า่
เพอื่ ใหท้ ราบถงึ ความคาดหวงั การมสี ว่ นรว่ ม และขอ้ เสนอแนะของผปู้ กครอง เฉลยี่ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก
ในการจัดกิจกรรมการออกก�าลงั กายของนกั เรยี น
จากการเปรียบเทียบความความคาดหวังของผู้ปกครอง เกี่ยว
วตั ถุประสงค กับการจัดกิจกรรมการออกก�าลังกายระหว่างกลุ่ม สรุปได้ว่า ข้อมูลท่ัวไป
1. เพ่ือศึกษาความคาดหวังและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ของผู้ตอบแบบสอบถามทแ่ี ตกตา่ งกัน มคี วามคาดหวงั แตกต่างกนั
ในการจดั กจิ กรรมการออกก�าลังกาย
2. เพอื่ เปรยี บเทยี บความคาดหวงั และการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครอง จากการเปรียบเทยี บการมสี ว่ นรว่ มของผู้ปกครอง เก่ยี วกับการ
ในการจดั กจิ กรรมการออกกา� ลงั กาย จา� แนกตามเพศ อาย ุ ระดบั การศกึ ษา จัดกิจกรรมการออกก�าลังกายของนักเรียนระหว่างกลุ่ม สรุปได้ว่า ข้อมูล
อาชพี และรายได้ของผปู้ กครอง ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ทแ่ี ตกต่างกนั มสี ่วนร่วมแตกต่างกนั
ขอบเขตการวิจยั
ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง อภปิ รายผล
ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น ้ี ไดแ้ ก ่ ผปู้ กครองของนกั เรยี น ผปู้ กครองนกั เรยี นมรี ะดบั ความคาดหวงั และมสี ว่ นรว่ มตอ่ กจิ กรรม
ทก่ี า� ลงั เรยี นอยใู่ นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 - 6 และมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 - 3 การออกก�าลังกายของนักเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับ
โรงเรียนบ้านบุยาว ส�านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ การศกึ ษาของเสมา มง่ิ ขวญั (2550) ศกึ ษาเรอ่ื งองคป์ ระกอบทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั
เขต 2 จ�านวน 368 คน (ฝา ยทะเบยี นโรงเรยี น บา้ นบยุ าว. 2556) ความต้องการการออกก�าลังกายของนักเรียน โรงเรียนสูงเม่นชนูปถัมภ์
กล่มุ ตวั อยา่ ง ได้แก่ ผู้ปกครองของนักเรียนทก่ี �าลงั ศึกษาเรยี นอยู่ จงั หวดั แพร ่ ผลการศกึ ษา พบวา่ ความตอ้ งการการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น
ในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี ่ 1 - 6 และมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 - 3 การเลือก โดยรวมอยู่ในระดับมาก และพบว่ามีความต้องการอยู่ในระดับมาก
กลมุ่ ตวั อยา่ งดงั กลา่ วนน้ั จะองิ ตามหลกั ความสะดวก (Convenient Sampling) ดา้ นบคุ ลากรผใู้ หบ้ ริการด้านวชิ าการ ด้านสถานท่ี อุปกรณ์และสง่ิ อ�านวย
โดยใช้สูตรของ Taro Yamane ท่ีระดับความเชื่อมั่น 95% (บุญธรรม ความสะดวก ด้านการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ด้านงบประมาณและ
กิจปรดี าบริสทุ ธิ์. 2542 : 14) ดงั นนั้ กลุ่มตวั อย่างส�าหรบั งานวจิ ยั ในครง้ั น้ี ดา้ นการจดั กิจกรรม
คอื กลมุ่ ตวั อยา่ งทงั้ หมด 192 คน โดยนา� วธิ กี ารเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งดงั กลา่ วนน้ั ความคาดหวงั ของผปู้ กครองทม่ี ตี อ่ กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของ
จะองิ ตามหลักความสะดวก (นงลักษณ ์ วริ ัชชัย. 2543 : 139) นกั เรียน แตกต่างกันตามอายุเปน็ ไปตามสมมุตฐิ านที่ตง้ั ไว้ เน่อื งจากอายุ
เครื่องมือที่ใชใ นการวจิ ยั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความคาดหวงั ในการทา� กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น
ได้จากการเก็บข้อมูลโดยการแจกแบบสอบถามจะแบ่งออกเป็น ผลวิจัยพบว่า ผู้ปกครองท่ีมีอายุ 41 ขึ้นไป มีความคาดหวังต่อกิจกรรม
4 ตอน ได้แก่ การออกก�าลงั กาย มากกวา่ ผู้ปกครองที่มอี ายุ 20 ป  - 30 ป  และมากกว่า
ตอนที่ 1 แบบสอบถาม ขอ้ มูลท่ัวไปของผ้ปู กครอง ประกอบด้วย ผปู้ กครองทม่ี อี าย ุ 31 ป  - 40 ปท ง้ั นเ้ี พราะความคาดหวงั ของผปู้ กครองมอี ายุ
เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ของผู้ปกครอง เป็นแบบสอบถาม 41 ขนึ้ ไป จะพบกบั การเปลย่ี นแปลงในชว่ งอายคุ อ่ นขา้ งมากกวา่ ผปู้ กครอง
แบบตรวจสอบรายการ (Check List) ทมี่ อี ายุ 20 ป  - 30 ป  และมากกว่าผปู้ กครองท่ีมีอายุ 31 ป - 40 ป ทั้งดา้ น
ตอนท่ี 2 แบบสอบถาม เกี่ยวกับความคาดหวังของผู้ปกครอง การทา� งานและการใชช้ วี ติ ทผี่ า่ นมา รวมถงึ ประสบการณใ์ นอดตี พาราสมุ าน,
6 ด้าน คือ ด้านวัตถุประสงค์ในการ จัดกิจกรรม ด้านชนิดของกิจกรรม ไซแธมอล (1990) กลา่ ววา่ ความคาดหวังคือความรูส้ ึกความต้องการทมี่ ี
ดา้ นครผู สู้ อน (ครพู ลศกึ ษา) ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ดา้ นสง่ิ อา� นวยความสะดวก ตอ่ สงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ ทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั ไปจนถงึ อนาคตขา้ งหนา้ เปน็ การคาดคะเน
และดา้ นความปลอดภยั แตล่ ะดา้ นประกอบดว้ ย 5 - 6 ขอ้ คา� ถาม เปน็ แบบ ถึงสิ่งที่จะมากระทบต่อ การรับรู้ของคนเราโดยใช้ประสบการณ์การเรียนรู้
มาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั (Rating Scale) เป็นตัวบ่งบอก สอดคล้องกับแนวความคิด Vroom (1964) ท่ีช้ีให้เห็นว่า
ตอนท่ี 3 แบบสอบถาม เก่ียวกับการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ความคาดหวังเป็นปัจจัยท่ีส�าคัญประการหนึ่งอันเป็นผลมาจากการได้รับ
ในการจดั กจิ กรรมการออกกา� ลงั กาย ประกอบดว้ ย 11 ขอ้ คา� ถาม เปน็ แบบ การตอบสนองตอ่ แรงจงู ใจหรือความต้องการที่มีผลตอ่ ความสา� เร็จ
มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามแนวคดิ ของ ลิเคอร์ท ระดบั การศกึ ษาพบวา่ ความคาดหวงั ของผปู้ กครองทมี่ ตี อ่ กจิ กรรม
(Likert, อ้างถึงใน พวงรตั น์ ทวรี ัตน์. 2540 : 107 - 108) การออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น แตกตา่ งกนั ตามระดบั การศกึ ษา เปน็ ไปตาม
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะส่วนบทสัมภาษณจ์ ะเน้นความคิดเหน็ ทม่ี ี สมมุติฐานท่ีตั้งไว้แสดงว่าการศึกษา มีอิทธิพลต่อความคาดหวัง
ต่อปจั จยั ตวั แปรตน้ และตัวแปรตาม ในกจิ กรรมการออกกก�าลงั กายของนกั เรียน ผู้ปกครองทมี่ รี ะดับการศกึ ษา
ผลการวจิ ยั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาจะมคี วามคาดหวงั ตอ่ กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น
จากการวิเคราะห์ความคาดหวังของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรม มากกวา่ ผปู้ กครองกลมุ่ อน่ื ๆ ทง้ั นอ้ี ธบิ ายไดว้ า่ การศกึ ษาทา� ใหค้ นมคี วามร ู้
การออกกา� ลงั กาย พบวา่ ผปู้ กครองมรี ะดบั ความคาดหวงั ในการจดั กจิ กรรม ทักษะ มีความคิดก้าวหน้า มีเหตุผล ทราบถึงความส�าคัญของกิจกรรม
การออกกา� ลงั กายของนกั เรยี น ดา้ นตา่ งๆ มคี า่ เฉลย่ี ในภาพรวมอยใู่ นระดบั การออกกา� ลงั กาย สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ เทเวศร ์ พริ ยิ ะพฤนท ์ และคณะ
มากทกุ ด้าน (2543) กลา่ ววา่ ทางการแพทยก์ ารออกกา� ลงั กายอาจเปรยี บไดก้ บั ยาสารพดั
ประโยชน ์ เพราะใชเ้ ปน็ ยาบา� รงุ ยาปอ งกนั และเปน็ ยาบา� บดั รกั ษาหรอื ฟน ฟู
สภาพรา่ งกายกไ็ ดแ้ ตข่ นึ้ กบั ความสนใจ ความถนดั และทกั ษะของแตล่ ะคน
โดยคา� นึงถงึ ระยะเวลาและความเหมาะสม
รายไดข้ องผู้ปกครองนกั เรยี นพบวา่ ความคาดหวังของผู้ปกครอง
ท่ีมีตอ่ กิจกรรมการออกก�าลังกายของนกั เรยี น แตกต่างกนั ตามรายได้ของ
ผู้ปกครองนักเรียนเป็นไปตามสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ซึ่งผู้ปกครองนักเรียนกลุ่ม
ที่มรี ายไดม้ ากกวา่ 20,001 บาทขึ้นไป มคี วามคาดหวังมากกว่ากลมุ่ อืน่ ๆ
ทง้ั นเ้ี พราะแสดงวา่ รายไดข้ องผปู้ กครองนกั เรยี นมสี ว่ นสา� คญั ตอ่ ความคาดหวงั

54 วทิ ยาจารย์

ในกจิ กรรมการออกกกา� ลงั กายของนกั เรียนรายได้ของผ้ปู กครองมีอิทธิพล ขอ เสนอแนะ
จะสังเกตเห็นได้ว่าเด็กท่ีมาจากผู้ปกครองทมี่ รี ายไดส้ ูง มีการอบรมเล้ียงดู 1. โรงเรยี นบา้ นบยุ าว ควรเปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ กครองเขา้ มามสี ว่ นรวม
ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการทงั้ 4 ดา้ น ดกี วา่ กลมุ่ เดก็ ทม่ี าจากผปู้ กครองทม่ี รี ายไดน้ อ้ ย ในกจิ กรรมการออกก�าลงั กายกบั นกั เรียนมากข้ึน ตามโอกาสตา่ งๆ
และผ้ปู กครองทม่ี รี ายไดร้ ะดับ ปานกลาง มีการจัดสภาพการอบรมเลย้ี งดู 2. โรงเรียนบ้านบุยาว ควรศึกษาความต้องการด้านกิจกรรมของ
ท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายแก่นักเรียน แตกต่างจากผู้ปกครอง ของนักเรยี น
ทมี่ รี ายไดน้ อ้ ย ซงึ่ ผปู้ กครองทอี่ ยใู่ นสงั คมระดบั สงู คอื มรี ายไดส้ งู จะใหโ้ อกาส ขอเสนอแนะในการทําวจิ ยั ครัง้ ตอ ไป
และสนบั สนนุ ใหแ้ กน่ กั เรยี นในการทา� กจิ กรรมการออกกา� ลงั กายมากกว่า 1. ควรศกึ ษาความตอ้ งการดา้ นกจิ กรรมของผปู้ กครองของนกั เรยี น
ผปู้ กครองทม่ี รี ายไดน้ อ้ ยดงั นน้ั อาชพี ของผปู้ กครอง จงึ มผี ลตอ่ เดก็ ทผี่ ปู้ กครอง โรงเรียนบ้านบุยาว
ไมไ่ ดท้ า� งานนอกบา้ น นกั เรยี น จะมพี ฒั นาการเรว็ กวา่ นกั เรยี นทผ่ี ปู้ กครองทา� งาน 2. ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้ปกครอง
นอกบา้ น และพบวา่ นกั เรยี นทพ่ี อ่ แมม่ อี าชพี รบั ราชการและคา้ ขาย มพี ฒั นาการ ของนักเรียนโรงเรียนบา้ น บยุ าว
ดา้ นรา่ งกายดกี วา่ เดก็ ทม่ี ผี ปู้ กครองมอี าชพี อน่ื 3. ควรศึกษาวิจัยเก่ียวกับความคาดหวังของผู้ปกครองท่ีมี
ตอ่ คณุ ภาพผสู้ �าเร็จการศึกษาจากโรงเรยี นบ้านบยุ าว
เอกสารอางอิง

กลั ยา กิจบุญชู. (2546). แนวทางการสงเสรมิ การออกกําลงั กายในโรงเรียน. นนทบุร ี : กองออกก�าลงั กาย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
ดรุณี อน้ ขวัญเมอื ง. (2548). การออกกาํ ลงั กายสาํ หรับเดก็ . นนทบุร ี : กองออกก�าลังกาย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
นงลกั ษณ ์ วิรชั ชยั . (2543). การวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการเรยี นการสอน : การวิจัยปฏิบตั กิ ารของครู. จดั พมิ พเ์ นอื้ หาในโอกาสเกษยี ณอายุราชการ.
บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธ์ิ. (2542). เทคนิคการสรา งเครือ่ งมอื รวบรวมขอมลู สําหรับการวจิ ยั .(พมิ พครง้ั ท่ี 5). กรงุ เทพมหานคร : เจรญิ ดกี าร พมิ พ.์
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลยั .
โรงเรียนบา้ นบุยาว. (2556). แผนปฏบิ ัติการจดั การศึกษา โรงเรียนบา นบยุ าว อาํ เภอหวยทับทนั กลุมเครอื ขา ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาที่ 13.
ศิริชยั กาญจนวาสแี ละคณะ. (2540). การเลอื กใชสถติ ทิ ่ีเหมาะสมสาํ หรับการวจิ ยั . พิมพค ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ :พชรกานตพ์ ับลิเคชนั่ .
สมพล สงวนรังศิริกุล. (2546). ขอแนะนาํ การออกกําลังกายสาํ หรับเดก็ . นนทบุร ี : กองออกก�าลงั กายเพ่ือสุขภาพ.
เสมา มงิ่ ขวญั . (2550). องคป ระกอบทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ความตอ งการการออกกาํ ลงั กายของนกั เรยี น โรงเรยี นสงู เมน ชนปู ถมั ภ จงั หวดั แพร. วทิ ยานพิ นธ์

ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์
ส�านกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2. หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบานบุยาว พ.ศ. 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ 2556) . สา� นกั งาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สา� นกั นายกรฐั มนตร.ี สา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ (2545). การประเมนิ การเรยี นรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั : แนวคดิ และวธิ กี าร. พมิ พค์ รง้ั ท ่ี 2.

กรเุ ทพฯ : วฒั นาพานชิ . (2545). พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาต ิ พ.ศ. 2552 และแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท ี่ 2) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ : พรกิ หวาน กราฟฟคิ .
อวย เกตุสงิ ห์. (2518). วทิ ยาศาสตรก ารกีฬา. การประชุมสมั มนาทางวชิ าการพลศกึ ษา 8 ธันวาคม 2518. สา� เนาเอกสารประกอบค�าบรรยาย.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., and Berry, L. L. (1990). “Refinement and Reassessment of the SERVQUAL Scale.” Journal of Retailing. 67: 420 - 450.
Vroom, H Victor. (1964). Work and Motivation. Now York : Wiley and Sons Inc.
Yamane, T. (1983). Statistic;An Introduction Analysis.(3rded.). New York : Harper & Row.

การวิจยั และพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอน การจดั การเรยี นรแู บบสะเต็มศึกษา
รว มกบั แบบโฟรแ มทซีสเต็ม เพ่ือสงเสรมิ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 6
โรงเรียนนครนนทว ิทยา 4 วดั บางแพรกเหนือ

นางสุมาลี เจรญิ รอย กบั แบบโฟรแ์ มทซสี ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ 2) เพอ่ื สรา้ งและพฒั นารปู แบบการ
เรียนการสอน การจัดการเรียนรู้แบบสะเตม็ ศกึ ษาร่วมกบั แบบโฟรแ์ มทซีส
บทคดั ยอ เตม็ ใหม้ ีประสทิ ธิผล 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่าง
การวิจัยและพัฒน ารูปแบบการเรียนการสอนการจัดการเรียนรู้ ก่อนเรียนและหลังเรียน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับ
แบบสะเตม็ ศกึ ษาร่วมกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ 4) เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจทม่ี ตี อ่ รปู แบบการเรยี นการสอน
แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ เพอื่ สง่ เสรมิ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห ์ การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟร์แมทซีสเต็ม และ 5)
กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 โรงเรียนนครนนท์ เพื่อวัดเจตคติของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยา 4 วดั บางแพรกเหนอื มวี ตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั คอื 1) เพอื่ สรา้ งและ วทิ ยาศาสตร ์ ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก ่ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6
พัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วม

วทิ ยาจารย์ 55

โรงเรียนนครนนท์วิทยา 4 วัดบางแพรกเหนือ ส�านักการศึกษาเทศบาล การสอนวทิ ยาศาสตร ์ โดยเนน้ ใหน้ กั เรยี นมกี ารคดิ วเิ คราะห ์ ไดฝ้ กึ ฝนเรยี นรู้
นครนนทบรุ ี ปก ารศกึ ษา 2558 – 2559 รวมทง้ั สนิ้ จา� นวน 128 คน เครอื่ งมอื ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจและมที กั ษะการเรยี นรใู้ น
ทใ่ี ช้ในการวิจยั คือ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสมั ภาษณ ์ แบบสอบถาม การพัฒนาและส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จึงจ�าเป็นต้องอาศัยการ
ความคดิ เห็น คูม่ อื สา� หรบั คร ู ประกอบแผนการจัดการเรียนรเู้ ร่อื ง แสงนา่ รู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยที ชี่ ว่ ยพฒั นาการคดิ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบแบบ เข้ามาช่วย ด้วยเหตุผลดังกลา่ วผวู้ จิ ัยจึงมีความสนใจที่จะวิจยั และพฒั นา
4 ตัวเลอื ก คอื ก. ข. ค. และ ง. จา� นวน 30 ข้อ มีคา่ ความยาก (P) อยู่ระหวา่ ง รูปแบบการเรียนการสอนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับแบบ
0.46 – 0.75 คา่ อา� นาจจา� แนก (B) อยรู่ ะหวา่ ง 0.50 – 0.98 และมคี า่ ความเชอ่ื มนั่ โฟรแ์ มทซีสเต็ม เพอื่ ส่งเสรมิ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ เปน็ รปู แบบ
(KR -20) ทง้ั ฉบบั เทา่ กบั 0.647 แบบสอบถามความพงึ พอใจ มคี า่ ความเทย่ี ง ( ) ทผ่ี วู้ จิ ยั สงั เคราะหข์ นึ้ ระหวา่ งรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสะเตม็
เทา่ กบั 0.74 และแบบวดั เจตคต ิมคี า่ ความเทยี่ ง ( ) เทา่ กบั 0.74 ซง่ึ เครอ่ื งมอื ศึกษาและรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโฟร์แมทซีสเต็มรวมเข้าด้วยกัน
ในการวิจัยทั้งหมดน้ี ได้ผ่านการตรวจสอบหาคุณภาพ จากผู้เช่ียวชาญ โดยทผ่ี เู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรผู้ า่ นวทิ ยาการการจดั การเรยี นรทู้ อี่ อกแบบกจิ กรรม
เรยี บรอ้ ยแล้ว และมสี ถิติที่ใชใ้ นการวจิ ยั ในคร้งั นี ้ ได้แก่ ค่าเฉลีย่ ( X ) ส่วน การเรียนการสอนเน้นการแก้ปัญหา เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดองค์ความรู้ใน
เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) คา่ t-test ผลการวิจยั พบว่า รปู แบบการเรยี น การน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน โดยครูผู้สอนท�าหน้าที่ในการเตรียมแหล่ง
การสอนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟแมทซีสเต็ม ข้อมูลและคอยให้ความช่วยเหลือ เป็นผู้อ�านวยความสะดวกหรือผู้ให้ค�า
มปี ระสทิ ธภิ าพ (E1/E2) เทา่ กบั 80.63/81.46 ดชั นปี ระสทิ ธผิ ล (E.I.) เทา่ กบั แนะนา� ทา� หนา้ ทอ่ี อกแบบกระบวนการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นทา� งานเปน็ ทมี กระตนุ้
0.6942 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 69.42 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลงั เรยี นสงู กวา่ แนะน�าและใหค้ า� ปรกึ ษา ใหผ้ ู้เรียนบรรลุเปา หมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจที่มีต่อ เกิดการคดิ วเิ คราะห์และส่งผลให้ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้นึ
รูปแบบการเรียนการสอนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย ( X )
เท่ากับ 4.48และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) เทา่ กบั 0.59 เจตคติของ วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ัย
นักเรียนท่ีมีต่อการเรียนการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 1. เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การจัดการ
มีค่าเฉล่ีย ( X ) เท่ากับ 4.50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เรียนรู้แบบ สะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟร์แมทซีสเต็ม เพื่อส่งเสริมความ
เทา่ กับ 0.59 สามารถในการคิดวเิ คราะห ์ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือสร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การจัดการ
บทนาํ เรียนรู้แบบ สะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟร์แมทซีสเต็ม เพื่อส่งเสริม
สงั คมไทยในปจั จบุ นั เปน็ ยคุ แหง่ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการ ความสามารถในการคิด ใหม้ ีประสทิ ธิผล
และเทคโนโลยีต่างๆ ข้อมูลข่าวสารมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว 3. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างก่อนเรียน
ทั้งทางด้านสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาการและเทคโนโลยี และหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับ
การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันจึงมีความจ�าเป็นอย่างย่ิงที่ต้องพัฒนาคน แบบโฟร์แมทซีสเตม็ เพือ่ ส่งเสรมิ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
ให้มีความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละการเชงิ วเิ คราะห ์ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อรูปแบบการเรียนการสอน
นโยบายการปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552 - 2561) ท่เี นน้ การจดั การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษารว่ มกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ เพอื่ สง่ เสรมิ
การปฏริ ปู ระบบการศกึ ษาและการเรยี นรอู้ ยา่ งเรง่ ดว่ น เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห ์
ของสงั คมไทยยคุ ใหม ่ ใหส้ ามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ 5. เพอ่ื วดั เจตคตขิ องนกั เรยี นทมี่ ตี อ่ การเรยี นการสอน กลมุ่ สาระ
มีนสิ ยั ใฝเ รยี นร ู้ มคี วามสามารถในการสอื่ สาร คดิ วเิ คราะห ์ แกป้ ญั หา มที กั ษะ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปท่ ี 6
ความรพู้ น้ื ฐานทจ่ี า� เปน็ โดยจดั หลกั สตู รการเรยี นการสอน การวดั การประเมนิ ผล ขอบเขตการวิจยั
อย่างมีคุณภาพ เพื่อเอ้ือต่อการพัฒนาผู้เรียนท้ังร่างกาย อารมณ์ สังคม 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
สตปิ ัญญา (ส�านักการเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. 2552 : 10 - 15) จากการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6
สงั เกตการเรยี นการสอนในชน้ั เรยี นและผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน โรงเรยี นนครนนทว์ ทิ ยา 4 วัดบางแพรกเหนอื
(O-NET)ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนนครนนท์วิทยา 4 1.1 โรงเรยี นนนทว์ ทิ ยา 4 วดั บางแพรกเหนอื สา� นกั การศกึ ษา
วดั บางแพรกเหนอื ปก ารศกึ ษา 2557 พบวา่ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทศบาลนครนนทบรุ ี ปการศึกษา 2559 จา� นวน 65 คน
มคี ะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 47.03 (สถาบนั การทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ. 1.2 กลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก ่นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา
2558) การประเมินคุณภาพนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ของ ปท ี่ 6/2
ส�านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเขต 1 จังหวัดนนทบุรี นักเรียนมีคะแนน 1.3 โรงเรยี นนครนนทว์ ทิ ยา 4 วดั บางแพรกเหนอื สา� นกั การศกึ ษา
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ ฉลยี่ 47.35 และจากการประเมนิ เทศบาลนครนนทบรุ ี ปก ารศกึ ษา 2559 จา� นวน 32 คน โดยการสมุ่ คดั เลอื ก
ตนเอง(Self Assessment Report) ของปก ารศกึ ษา 2557 ผลการเรียนวชิ า แบบกลมุ่ (Clustur Random Sampling) ดว้ ยการจบั ฉลากเปน็ หนว่ ยวเิ คราะห ์
วทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 55 ซึ่ง (Unit of Analysis)
ต่�ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ ร้อยละ 60 สาเหตุอาจเป็นเพราะ 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา คือ เรื่องแสงน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
การจดั การเรยี นการสอนภายในชน้ั เรยี น มงุ่ เนน้ การถา่ ยทอดเนอ้ื หาวชิ ามากกวา่ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6
การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง อีกท้ังยังไม่ได้น�าเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
มาใช้ประกอบการเรียนการสอน (ส�านักการศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี.
2558 : 25) สง่ ผลใหน้ กั เรยี นขาดความร ู้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
การคดิ วเิ คราะห ์ทา� ใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตา่� กวา่ เกณฑ ์จากสภาพปญั หา
ดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามจา� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทต่ี อ้ งมกี ารพฒั นาการเรยี น

56 วิทยาจารย์

3. ตัวแปรท่ใี ช้ในการวจิ ยั นักเรียนท่ีเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน มีความสามารถ
3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอน การจัด ในการคิดวิเคราะห์เพิ่มข้ึน ท้ังนี้อาจเน่ืองมาจากการจัดกิจกรรมการเรียน
การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศึกษาร่วมกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ การสอน เพือ่ พฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห ์ โดยใช้แผนการจัด
3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิด การเรยี นรทู้ ผี่ วู้ จิ ยั สรา้ งขนึ้ มกี ารบรู ณาการมาจากรปู แบบ 2 รปู แบบ คอื รปู แบบ
วเิ คราะห ์ 2) ความพงึ พอใจทมี่ ตี อ่ รปู แบบการเรยี นการสอนการจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา และแบบโฟร์แมทซีสเต็ม มีการสร้าง
แบบสะเต็มศกึ ษารว่ มกับแบบโฟรแ์ มทซีสเตม็ และ 3) เจตคติของนักเรียน แผนการจดั การเรยี นรทู้ มี่ ลี า� ดบั ขนั้ ตอนการสอน ไวอ้ ยา่ งชดั เจนและเปน็ ระบบ
ทมี่ ตี ่อการเรยี นการสอน กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โดยจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมที่ผสมผสาน ดังเช่นที่สถาบันพัฒนา
ผลการวจิ ัย ความกา้ วหนา้ (2545 : 70) ไดส้ รปุ วา่ แผนการจดั การเรยี นรเู้ ปน็ เครอื่ งมอื
1. ผลการศึกษาประสิทธิภาพ (E1/E2) ของรูปแบบการเรียน ทช่ี ว่ ยใหผ้ สู้ อนเลอื กเทคนคิ วธิ สี อนทด่ี ีสอ่ื การวดั ผลประเมนิ ผลตรงจดุ ประสงค ์
การสอน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟร์แมทซีสเต็ม การเรียนรู้ท่ีได้ก�าหนดไว้และสอดคล้องกับจุดหมายของหลักสูตร
มปี ระสทิ ธิภาพ(E1/E2) เทา่ กับ 80.63/81.46 มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ นักเรียนได้น�าความรู้มาเสนอ
2. ผลการศึกษาดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของรูปแบบการเรียน แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ นั ในกลมุ่ ยอ่ ยและกลมุ่ ใหญ ่ เพอ่ื รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของ
การสอน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟร์แมทซีสเต็ม ผอู้ นื่ เพือ่ รว่ มตรวจสอบท�าให้ทุกคนมคี วามกระตือรือรน้ ในการท�ากิจกรรม
มีดัชนปี ระสทิ ธิผล (E.I.) เท่ากับ 0.6942 หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 69.42 การเรยี นรรู้ ว่ มต่อไป
3. ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระหวา่ งกอ่ นเรยี น
และหลงั เรยี น การจดั การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษารว่ มกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ 2. การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระหวา่ งกอ่ นเรยี นและ
หลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมนี ยั สา� คญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั 0.05 หลังเรียน พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
4. ผลการศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อรูปแบบการเรียนการสอน นยั สา� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ 0.05 เปน็ ไปตามสมมติฐานทตี่ ัง้ ไว้ เนอื่ งมาจาก
การจัดการเรยี นรู้แบบสะเตม็ ศกึ ษารว่ มกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ โดยภาพรวม กิจกรรมการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาและแบบโฟแมทซีสเต็มที่ผู้วิจัยได้
อยใู่ นระดบั มาก มีคา่ เฉลี่ย ( X ) เทา่ กบั 4.48และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ออกแบบ มีลักษณะเป็นการเรียนรู้ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเรียนรู้
(S.D) เท่ากับ 0.59 แบบสบื เสาะหาความร ู้และการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน แลว้ ใชก้ ระบวนการ
5. ผลการศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอน ทางวศิ วกรรมและเทคโนโลยมี าบรู ณาการใชแ้ กป้ ญั หาภายใตส้ ถานการณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โดยภาพรวม และเงอื่ นไขทีก่ า� หนดให ้ ซึง่ สอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ พลศกั ด ิ์ แสงพวงศรี
อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย ( X ) เท่ากับ 4.50 และส่วนเบ่ียงเบน และคณะ (2558 : 411) ได้เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะ
มาตรฐาน (S.D) เท่ากบั 0.59 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ นั้ สงู และเจตคตติ อ่ การเรยี นเคม ี ของนกั เรยี น
อภิปราย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษากับแบบปกติ
การศึกษาประสิทธิภาพ (E1/E2) ของรูปแบบการเรียนการสอน ผลการวิจัยนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา มีคะแนน
การจดั การเรยี นรแู้ บบ สะเตม็ ศกึ ษารว่ มกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ มปี ระสทิ ธภิ าพ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันสูง และ
(E1/E2) เท่ากับ 80.63/81.46 หมายความว่ารูปแบบการเรียนการสอนท่ี เจตคติต่อการเรียนเคมี หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัยพัฒนาข้ึน ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพน�าไปใช้กับนักเรียนท�าให้ แบบปกติ อย่างมนี ยั สา� คญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น เน่ืองจากกระบวนการและ
ขั้นตอนในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องแสงน่ารู้ ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน
มีกระบวนการสร้างโดยใช้หลักการและพ้ืนฐานทางด้านจิตวิทยา และ การจดั การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษารว่ มกบั แบบโฟรแ์ มทซสี เตม็ เพอ่ื สง่ เสรมิ
หลักการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ไดด้ �าเนนิ การ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ์
อยา่ งมขี นั้ ตอนดว้ ยวธิ กี ารทเี่ หมาะสม จงึ สง่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นความสามารถ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก มคี า่ เฉลย่ี ( ) เทา่ กบั
ในการคดิ วเิ คราะห์ของนักเรยี นสูงขึ้น สอดคล้องกบั งานวิจัยของ ศภุ วัฒน ์ 4.48 และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) เทา่ กบั 0.59 เนอ่ื งมาจาก รปู แบบ
ทรพั ยเ์ กดิ (2559 : 81 - 82) ทไี่ ดท้ า� การวจิ ยั และคน้ พบวา่ การจดั การเรยี นรู้ การเรยี นการสอน การจดั การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษารว่ มกบั แบบโฟรแ์ มท
แบบสะเต็มศึกษา ช่วยเสริมสร้างการคิดประมวลผลของนักเรียน เพราะ ซสี เตม็ เพือ่ สง่ เสรมิ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ กล่มุ สาระการเรียนรู้
เปน็ การจดั การเรียนรทู้ ่ีบนพ้ืนฐาน การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน วทิ ยาศาสตร ์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี6 มสี ภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นร ู้กจิ กรรม
รว่ มกบั การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน โดยการจดั การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ทหี่ ลากหลายได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ท�าให้นักเรียนไม่เกิด
ศกึ ษาจะก�าหนดสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเพื่อท้าทายการคิดของนักเรียน ความเบ่ือหน่าย เม่ือสมองมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ นักเรียนจึงจดจ�าสิ่งท่ี
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสนใจและคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นทา� งานรว่ มกนั เรยี นรู้ไดด้ ีและมีความหมายโดยตรงกับนกั เรียน
เป็นกลุ่ม มีการแลกเปล่ียนการเรียนรู้และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
เพื่อน�าความรู้ท่ีได้มาหาแนวทางในการสร้างชิ้นงาน ผ่านกระบวนการ 4. ผลการศกึ ษาเจตคตขิ องนกั เรยี นทม่ี ตี อ่ รปู แบบการเรยี นการสอน
ทางวิศวกรรมสา� หรบั นา� ไปใชแ้ กป้ ญั หา กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปท่ ี 6 โรงเรียนนครนนท์
1. ผลการศกึ ษาดชั นปี ระสทิ ธผิ ล (E.I.) รปู แบบการเรยี นการสอน วทิ ยา 4 วดั บางแพรกเหนือ ส�านักการศึกษาเทศบาลนครนนทบรุ ี โดยภาพ
การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับแบบโฟร์แมทซีสเต็ม มีดัชนี รวมอย่ใู นระดบั มากทสี่ ุด มีคา่ เฉลยี่ ( ) เท่ากับ 4.50 และส่วนเบ่ยี งเบน
ประสทิ ธผิ ล (E.I.) เทา่ กบั 0.6942 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 69.42 หมายความวา่ มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.59 เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอน
การจดั การเรียนรูแ้ บบ สะเตม็ ศกึ ษา ร่วมกบั แบบโฟรแ์ มทซีสเตม็ ช่วยฝึก
ใหน้ กั เรยี นเปน็ คนกลา้ แสดงออก และพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางความคดิ
ใหก้ ับนักเรียน จนสามารถนา� ความร ู้ ความสามารถท่ไี ดจ้ ากการเรียนร้วู ชิ า
วิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการด�ารงชีวิต เพื่อการศึกษาและพัฒนา
การประกอบอาชีพในอนาคตได้ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ พลศักดิ ์
แสงพวงศรแี ละคณะ (2558 : 411) ไดเ้ ปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงและเจตคติต่อการเรียนเคมี

วทิ ยาจารย์ 57

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ขอ เสนอแนะการวจิ ัย
กับแบบปกติ ผลการวิจัยนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา 1. ควรมีการศึกษาและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
มคี ะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ น้ั สงู ในระดบั ชน้ั อน่ื ๆ ดว้ ย โดยใหม้ เี นอ้ื หาสาระทหี่ ลากหลายตรงกบั ความสนใจ
และเจตคตติ อ่ การเรยี นเคม ี หลงั เรยี นสงู กวา่ นกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั การจดั การเรยี น และความตอ้ งการของนกั เรียน
รู้แบบปกติ 2. ควรมีการศึกษาและพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์ และการคิดแก้ไขปัญหา ตลอดจนการคิดสร้างสรรค์
เอกสารอา งอิง เพ่ือเป็นการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีทักษะที่หลากหลายและ
เปน็ ระบบในเร่ืองอ่ืนๆ ตอ่ ไป

พลศักด์ิ แสงพวงศรีและคณะ. (2558). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันสูง และเจตคติตอการ
เรยี นเคมี ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ทไี่ ดร บั การเรยี นรแู บบสะเตม็ ศกึ ษากบั แบบปกต.ิ ” วารสารศกึ ษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
ปท ี่ 9 ฉบับพเิ ศษ เมษายน 2558 : 401-418.

ศภุ วฒั น ์ ทรพั ยเ์ กดิ . (2559). การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู เพอื่ เสรมิ สรา งการคดิ เชงิ ประมวลผล ดว ยการจดั การเรยี นรแู บบสะเตม็ ศกึ ษา วชิ าโปรแกรม
และการประยกุ ต ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 โรงเรยี นอนกุ ลุ นาร.ี วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาคอมพวิ เตอร ์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั มหาสารคาม.

สถาบนั พฒั นาความกา้ วหนา้ . (2545). ยทุ ธศาสตรก ารปรบั วิธีเรียน การเปล่ียนวธิ สี อน เพอ่ื เตรยี มสูค วามกา วหนาในอนาคต. กรุงเทพฯ : สถาบัน
พัฒนาความกา้ วหน้า

ส�านกั การศกึ ษาเทศบาลนครนนทบุร.ี (2558). รายงานผลการประเมินตนเอง(SAR) ประจําปการศึกษา 2557. เทศบาลนครนนทบรุ ีฯ : ผแู้ ต่ง.
สา� นกั งานวชิ าการและมาตรฐานทางการศกึ ษา. (2549).แนวทางการจดั การเรยี นรเู พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห. กรงุ เทพ : ชมุ ชนสหกรณก์ ารเกษตร

แหง่ ประเทศไทย.

โมเดลความสมั พนั ธเชิงสาเหตปุ จจัยท่ีสงผลตอความคิดสรา งสรรคท างศลิ ปะ
ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 3 จังหวัดระยอง

(THE CAUSAL MODEL OF ART’S CREATIVE THINKING OF MATTAYOMSUEKSA THREE STUDENTS IN RAYONG)

ฉตั รตยิ า ลงั การัตน ประหยดั มคี วามสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ ์ ผลการทดสอบ X2 เทา่ กบั
35.50 คา่ P-value เทา่ กับ 0.49 ทีอ่ งศาอิสระ เทา่ กับ 36 คา่ X2/df เท่ากบั
บทคดั ยอ
การวจิ ัยครง้ั นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ (1) วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบปจั จยั 0.99 ค่า GFI เทา่ กับ 0.99 คา่ AGFI เทา่ กบั 0.98 ค่า CFI เทา่ กบั 1.00
ทมี่ ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ (2) วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบความคดิ ค่า RMSEA เทา่ กบั 0.000 ปัจจยั ท่ีอทิ ธพิ ลทางตรงตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์
สรา้ งสรรค์ทางศลิ ปะ และ (3) พัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตปุ ัจจยั ทางศลิ ปะ คอื ปจั จัยคุณลักษณะภายใน และปจั จัยท่ีอทิ ธิพลทางออ้ มต่อ
ที่มีผลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ คอื ปจั จยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก ผา่ นปจั จยั
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2559 จ�านวน 500 คน คุณลกั ษณะภายใน
ซ่ึงได้มาโดยการสมุ่ แบบหลายขนั้ ตอน (Multi-Stage Random Sampling)
เครอ่ื งมอื ทใี่ ช ้ ประกอบดว้ ย แบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ และ Abstract
แบบสอบถามการวจิ ยั ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ วเิ คราะห์ This study aimed to; (1) analyze the factors those affected
คา่ สถติ พิ นื้ ฐาน คา่ สมั ประสทิ ธส์ิ หสมั พนั ธ ์ และวเิ คราะหโ์ มเดลความสมั พนั ธ์ art-creative thinking of Matthayomsueksa three in Rayong province,
เชงิ สาเหตดุ ว้ ยโปรแกรม LISREL 8.72 ผลการวจิ ยั พบวา่ (1) ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ (2) analyze the factors of art-creative thinking of those students, and
ความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ ประกอบด้วย ปัจจัยคุณลักษณะภายใน (3) develop a causal relationship model that effects on art-creative
และปจั จยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก โดยตวั แปรทม่ี นี า้� หนกั องคป์ ระกอบสงู thinking of those students. Participants were 500 students selected
ที่สุดของปัจจัยคุณลักษณะภายในคือ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ มีค่าน�้าหนัก by multi-stage random sampling from Matthayomsueksa three
องคป์ ระกอบเทา่ กบั 0.80 สว่ นตวั แปรทม่ี นี า้� หนกั องคป์ ระกอบสงู ทสี่ ดุ ของปจั จยั students in 2016. Two types of instruments were used to collect data
สภาพแวดลอ้ มภายนอกคอื การสอนของคร ู มคี า่ นา้� หนกั องคป์ ระกอบเทา่ กบั they were Art-creative thinking test and the questionnaires on factors
0.83 (2) ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ ประกอบดว้ ย ดา้ นความคิดคล่อง affecting art-creative thinking. Data were analyzed for descriptive
ด้านความคิดริเร่ิม ด้านความคิดยืดหยุ่น และด้านความคิดละเอียดลออ statistics, correlation coefficients between observed variables and
ด้านที่มีน้�าหนักองค์ประกอบสูงท่ีสุดคือ ด้านความคิดคล่อง มีค่าน�้าหนัก the analysis of the causal relationship model was done through
องคป์ ระกอบอยรู่ ะหวา่ ง 0.26-0.98 และ (3) โมเดลความสมั พนั ธเ์ ชงิ สาเหตุ
ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะของนกั เรยี น ทปี่ รบั เปน็ โมเดล

58 วิทยาจารย์

LISREL 8.72. Results revealed that; (1) the factors affecting art- มีลักษณะทางสังคมเปล่ียนแปลงไปจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคม
creative thinking consisted of intrinsic variables and environmental อุตสาหกรรมมากขึ้น [5] จึงเหน็ ไดว้ ่าความคดิ สรา้ งสรรคม์ คี วามสา� คญั ตอ่
factors. The highest factor loading of intrinsic factors was achievement การพฒั นาระบบการศกึ ษา ประเทศชาต ิ และสังคมโลก ดังนน้ั การศึกษา
at motivation (0.80) and the highest factor loading of environmental ปัจจัยต่างๆ ท่ีส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นการวางรากฐานเพ่ือใช้
factors was teacher’s pedagogy (0.83), (2) Art-creative thinking ในการพฒั นาความคิดสร้างสรรค์สงู ขึ้นตอ่ ไป
consisted of fluency of thinking, originality of thinking, flexibility of
thinking, and elaboration of thinking. The highest factor loading value วัตถุประสงคข องการวิจยั
was fluency of thinking (0.26 - 0.98), and (3) the adjusted model was 1. เพอื่ วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์
consistent with empirical data (c 2 = 35.50, p-value = 0.49, df = 36, ทางศลิ ปะ
c 2/df = 0.99, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, CFI = 1.00, RMSEA = 0.00). 2. เพื่อวิเคราะห์องคป์ ระกอบความคิดสร้างสรรคท์ างศิลปะ
The direct factor affecting art-creative thinking was intrinsic factor 3. เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยที่มีผลต่อ
and the indirect factor was environmental factor which was affected ความคดิ สรา้ งสรรค์ทางศลิ ปะ
through the intrinsic factor.

บทนํา ขอบเขตการวิจัย

การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 1. ประชากรและกลุมตัวอยา ง
ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) มีหลักการส�าคัญที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลาง ประชากร คือ นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ที่ศึกษาอย่ใู นจังหวัด
การพฒั นา” มงุ่ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ และสขุ ภาวะทดี่ สี า� หรบั คนไทย พฒั นาคน ระยอง ภาคเรยี นท ี่ 2 ปก ารศกึ ษา 2559 จา� นวน 7,748 คน แบง่ เปน็ หอ้ งเรยี น
ใหม้ คี วามเปน็ คนทสี่ มบรู ณม์ วี นิ ยั ใฝร ู้ มคี วามร ู้ มที กั ษะ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ได ้ 217 หอ้ งเรียน จากท้ังหมด 66 โรงเรียน
มที ัศนคตทิ ่ดี ี รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม มจี รยิ ธรรมและคุณธรรม [1] สอดคลอ้ ง กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ทศ่ี กึ ษาอยใู่ นจงั หวดั
กบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ซง่ึ มงุ่ พฒั นา ระยอง ภาคเรยี นท ี่ 2 ปก ารศึกษา 2559 จา� นวน 500 คน โดยวธิ กี ารสุม่
ผ้เู รียนใหเ้ ปน็ คนดี มปี ัญญา มคี วามสุข มีศักยภาพในการศกึ ษาตอ่ และ แบบหลายขน้ั ตอน (Multi - Stage Random Sampling)
ประกอบอาชพี เกดิ สมรรถนะสา� คญั ดา้ นการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค ์ และสามารถ 2. เครื่องมือท่ใี ชใ นการวิจัย
อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ [2] จากสภาพปญั หาการเรยี นรู้ 2.1 แบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะทผี่ วู้ จิ ยั สรา้ งขนึ้
ของไทยในปจั จุบนั พบวา่ การเรียนการสอนเป็นลักษณะการบรรยายและ ประกอบด้วย การวาดภาพต่อเติมจากภาพพิมพ์มือให้เป็นรูปสัตว ์
การทอ่ งจา� ทา� ใหข้ าดความสามารถในการคดิ เชงิ สรา้ งสรรค ์ ไมส่ ามารถหา การวาดภาพต่อเติมจากรูปสามเหลี่ยม และการวาดภาพต่อเติมภาพ
แนวทางแก้ไขปญั หา หรือนา� องค์ความรู้ไปใช้อย่างเหมาะสม [3] ส่งผลให้ ใหส้ มบรู ณ ์ ซง่ึ มคี า่ ความตรงเชงิ เนอื้ หา ระหวา่ ง 0.80 - 1.00 คา่ ความเชอื่ มน่ั
นกั เรยี นมคี วามสามารถดา้ นการคดิ สรา้ งสรรคค์ อ่ นขา้ งตา�่ [4] ผวู้ จิ ยั จงึ เหน็ ระหวา่ ง 0.67 - 0.80 คา่ อา� นาจจา� แนก ระหวา่ ง 0.25 - 0.65 และคา่ ความยาก
ถงึ ความสา� คญั ของสภาพปญั หาดงั กลา่ วและสนใจศกึ ษาปจั จยั ตา่ งๆ ทส่ี ง่ ผล งา่ ย ระหวา่ ง 0.21 - 0.61
ตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะในบรบิ ทของนกั เรยี นทศ่ี กึ ษาอยใู่ นจงั หวดั 2.2 แบบสอบถามการวจิ ยั ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์
ระยอง เนื่องจากเป็นจังหวัดท่ีมีแรงงานหลั่งไหลเข้ามาเป็นจ�านวนมาก ทางศลิ ปะ ทผี่ วู้ จิ ยั พฒั นาขน้ึ ซง่ึ มคี า่ ความเชอ่ื มนั่ ระหวา่ ง 0.84 - 0.91 และ
คา่ อา� นาจจา� แนก ระหวา่ ง 0.20 - 0.77

ผลการวิจัย

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ
ตารางที่ 1 ผลการวเิ คราะห์โมเดลองคป์ ระกอบเชงิ ยืนยันของคณุ ลักษณะภายใน

องคประกอบเชงิ ยนื ยันของ สญั ลักษณ น้ําหนักองค SE t R2
คณุ ลักษณะภายใน ประกอบ

ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน GPA 0.35 0.03 6.47* 0.12
ความฉลาดทางอารมณ์ EMQ 0.55 0.69 11.20* 0.30
เจตคติตอ่ การเรยี น ATT 0.57 0.48 10.98* 0.33
แรงจงู ใจใฝส ัมฤทธ์ิ MOT 0.80 0.51 14.95* 0.64

X2= 0.17, df = 1, P-value = 0.68, X2/df = 0.25, GFI = 1.00 AGFI = 1.00, CFI = 1.00, RMSEA = 0.00

*P<.05

จากตารางท ี่ 1 พบวา่ โมเดลมคี วามสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ ์ พจิ ารณาจากคา่ X2 เทา่ กบั 0.17 คา่ P-value เทา่ กบั 0.68 ทอี่ งศาอสิ ระ เทา่ กบั 1
คา่ X2/df เทา่ กบั 0.25 คา่ GFI เทา่ กบั 1.00 คา่ AGF เทา่ กบั 1.00 คา่ CFI เทา่ กบั 1.00 และคา่ RMSEA เทา่ กบั 0.00 เมอื่ พจิ ารณานา�้ หนกั องคป์ ระกอบ พบวา่

คณุ ลกั ษณะภายใน ประกอบดว้ ย ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ความฉลาดทางอารมณ ์ เจตคตติ อ่ การเรยี น และแรงจงู ใจใฝส มั ฤทธ ์ิ โดยมคี า่ นา�้ หนกั องคป์ ระกอบ
ระหว่าง 0.35-0.80 X

วิทยาจารย์ 59

ตารางที่ 2 ผลการวเิ คราะหโ์ มเดลองค์ประกอบเชิงยนื ยันของสภาพแวดลอ้ มภายนอก

องคประกอบเชงิ ยืนยันของสภาพแวดลอ มภายนอก สัญลักษณ น้ําหนกั องคป ระกอบ SE t R2

การสอนของครู TEACH 0.83 0.48 17.98* 0.69
บรรยากาศในการเรียน CLASS 0.79 0.32 17.07* 0.62
การสนับสนนุ การเรียนจากผูป้ กครอง SUP 0.57 0.42 12.62* 0.33

X2 = 0.00, df = 0, P-value = 1.00, X2/df = 0, RMSEA = 0.00

*P<.05

จากตารางท ่ี 2 พบวา่ โมเดลมีความสอดคลอ้ งกับขอ้ มูลเชงิ ประจักษ ์ พจิ ารณาจากคา่ X2 เทา่ กบั 0.00 คา่ P-value เทา่ กับ 1.00 ที่องศาอิสระ
เทา่ กบั 0 คา่ X2/df เทา่ กบั 0 และค่า RMSEAเทา่ กบั 0.00 เมื่อพจิ ารณาน้า� หนักองค์ประกอบ พบวา่ สภาพแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วย การสอนของคร ู

บรรยากาศในการเรยี น และการสนบั สนุนการเรียนจากผ้ปู กครอง โดยมคี า่ น้า� หนักองคป์ ระกอบระหวา่ ง 0.57-0.83
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบความคิดสรา้ งสรรค์ทางศลิ ปะ

ตารางที่ 3 ผลการวเิ คราะห์โมเดลองคป์ ระกอบเชิงยนื ยันของความคดิ สรา้ งสรรค ์

องคประกอบเชิงยืนยันของความคิดสรา งสรรค สัญลักษณ นํ้าหนกั องคประกอบ SE t R2
ความคดิ คล่อง FLUE 0.98 0.17 30.47* 0.96
ความคดิ รเิ ริม่ ORIG 0.31 0.22 5.26* 0.10
ความคิดยืดหยนุ่ FLEX 0.70 0.09 17.77* 0.49
ความคิดละเอียดลออ ELAB 0.26 0.30 5.78* 0.07

X2 = 1.24, df = 2, P-value = 0.54, X2/df = 0.62, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, CFI = 1.00, RMSEA = 0.00
*P<.05

จากตารางที่ 3 พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ พิจารณาจากคา่ X2 เทา่ กบั 1.24 คา่ P-value เท่ากับ 0.54 ทอี่ งศาอิสระ
เทา่ กบั 2 คา่ X2/df เทา่ กบั 0.62 คา่ GFI เทา่ กบั 1.00 คา่ AGFI เทา่ กบั 0.99 คา่ CFI เทา่ กบั 1.00 คา่ RMSEA เทา่ กบั 0.00 เมอ่ื พจิ ารณานา้� หนกั องคป์ ระกอบ พบวา่
ความคดิ สรา้ งสรรค ์ ประกอบดว้ ย ความคดิ คลอ่ ง ความคดิ รเิ รม่ิ ความคดิ ยดื หยนุ่ และความคดิ ละเอยี ดลออ โดยมคี า่ นา�้ หนกั องคป์ ระกอบระหวา่ ง 0.26-0.98

ตอนที่ 3 ผลการพฒั นาโมเดลความสมั พนั ธเ์ ชิงสาเหตุปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อความคิดสรา้ งสรรคท์ างศิลปะทป่ี รับเป็นโมเดลประหยัด
ตารางท่ี 4 ผลการวเิ คราะหโ์ มเดลความสัมพันธเ์ ชิงสาเหตุที่ปรับเปน็ โมเดลประหยัด

ตวั แปรสาเหตุ คุณลักษณะภายใน (CRT) สภาพแวดลอมภายนอก (ENV)

ตัวแปรผล TE IE DE TE IE DE
ความคิดสรา้ งสรรค์ (CREATE) 0.17* - 0.17* 0.12* 0.12* -
คณุ ลกั ษณะภายใน (CRT) - - - 0.68* - 0.68*

X2 = 35.50; df = 36; P-value = 0.49; X2/df = 0.99; GFI = 0.99; AGFI = 0.98; CFI = 1.00; RMSEA = 0.00
*P<.05

จากตารางท่ี 4 และภาพท่ี 1 พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกบั ข้อมลู เชงิ ประจักษ์อยใู่ นเกณฑด์ ี มคี ่า X2 เทา่ กบั 35.50 ค่า P-value เทา่ กับ 0.49
ทเสีอ่ ้นงทศาางออสิ ิทรธะพิเทล่า พกบับ ว3่า6 คคว่าา Xม2ค/dดิ fส เรทา้ ่างกสับร ร0ค.9ไ์ ด9้ร คับ่าอ GิทธFิพI เลทท่าากงับต 0รง.9จ9า กคค่าุณ AลGกั FษI เณทา่ะกภับาย 0ใ.น98 ม คีขา่น าCดFอI ทิเทธา่ิพกลับเท 1า่ .0ก0บั แ0ล.1ะ7ค อ่า ยR่าMงมSีนEัยAส เ�าทค่าญักบั ท 0าง.0ส0ถ เิตมทิ อ่ื ี่รพะจิดาับร ณ.05า
แสดงว่า กลุ่มตวั อยา่ งทมี่ ปี จั จัยคณุ ลกั ษณะภายในสูงจะมคี วามคิดสรา้ งสรรค์สงู ดว้ ย เมอ่ื พิจารณาเสน้ ทางอทิ ธพิ ลทางอ้อม พบว่า ความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ด้
รับอิทธิพลทางอ้อมจากสภาพแวดล้อมภายนอกผ่านคุณลักษณะภายใน มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.68 อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 แสดงว่า
กลุ่มตัวอยา่ งท่ีมปี ัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกสูงมปี ัจจยั คุณลักษณะภายในและความคิดสรา้ งสรรคส์ งู ด้วย

ภาพท่ี 1 โมเดลความสัมพันธเ์ ชิงสาเหตปุ ัจจยั ทีม่ ผี ลต่อความคดิ สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะท่ปี รบั เปน็ โมเดลประหยัด

60 วทิ ยาจารย์

อภิปรายผล ขอเสนอแนะ
1. นักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความฉลาดทางอารมณ ์ 1. ขอ เสนอแนะในการนาํ ผลการวิจัยไปใช
เจคตติ อ่ การเรยี น และแรงจงู ใจใฝส มั ฤทธสิ์ งู ตอ้ งผา่ นการเรยี นรจู้ ากกจิ กรรม 1.1 ครูผู้สอนควรจัดการเรียนการสอนและสร้างบรรยากาศ
การสอนของครทู ม่ี คี วามนา่ สนใจ ตอบสนองตามความตอ้ งการ เปดิ โอกาส ทีส่ ่งเสริมการพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค ์
ให้นักเรียนสร้างสรรค์งานตามแนวคิด จินตนาการ และแรงบันดาลใจ 1.2 ผปู้ กครองควรสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์
อยา่ งอสิ ระ ภายใตส้ ภาพแวดล้อมในการเรยี นท่ีด ี และไดร้ บั การสนบั สนุน ทางการเรียน ความฉลาดทางอารมณ์ เจตคติต่อการเรียน และแรงจูงใจ
การเรียนจากผปู้ กครองในทกุ ด้าน สอดคล้องกับ ปิติภรณ ์ ตุลาพทิ กั ษ ์ ใฝส มั ฤทธิส์ งู เพอ่ื ให้นกั เรยี นมคี วามคดิ สรา้ งสรรคส์ งู ดว้ ย
2. ความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะเป็นความคิดท่ีเกิดจากการรับรู ้ 1.3 โรงเรยี นควรสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ในการจดั สภาพแวดลอ้ ม
(Perception) จนิ ตนาการ (Imagination) และประสบการณ ์ (Experience) ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรอู้ ยา่ งอสิ ระ นเพอ่ื นา� ไปสกู่ ารพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์
ซ่ึงนักเรียนพบเห็นและการสัมผัสจนเกิดความคิดจินตนาการเป็น ของนกั เรยี นในระดับทสี่ งู ขึ้นตอ่ ไป
ประสบการณ์ใหม่ ๆ ด้วยตนเอง ประกอบด้วยความคิดสร้างสรรค์ด้าน 2. ขอเสนอแนะในการทําการวจิ ัยครั้งตอไป
ความคิดคลอ่ ง ความคดิ ริเร่ิม ความคดิ ยดื หยนุ่ และความคดิ ละเอยี ดลออ 2.1แบบทดสอบเนน้ การวาดภาพ อาจมนี กั เรยี นบางสว่ นไมถ่ นดั
สอดคล้องกบั Guilford และพชั ราวลยั มีทรพั ย ์ ในการถ่ายทอดความคดิ ดว้ ยการวาดภาพ จึงควรมกี ารสรา้ งแบบทดสอบ
3. นักเรียนท่ีมีความคิดสร้างสรรค์สูงเป็นนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ ทีม่ ีความหลากหลาย
ทางการเรียน ความฉลาดทางอารมณ์ เจตคติต่อการเรียน และแรงจูงใจ 2.2 ควรมกี ารขยายขอบเขตของการศกึ ษาในจงั หวดั หรอื ภมู ภิ าค
ใฝส มั ฤทธส์ิ งู ประกอบกบั การไดร้ บั การสอนจากครทู ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ภายใต้ อ่นื ๆ ในประเทศไทย
บรรยากาศในการเรยี นและการสนบั สนนุ การเรยี นจากผปู้ กครองทดี่ ี เนอื่ งจาก 2.3 ควรมีการท�าวิจัยเชิงปริมาณควบคู่ไปกับวิจัยเชิงคุณภาพ
ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ ความสามารถท่ีมาพรอ้ มกับการรับรปู้ ระสบการณ์ เพื่อศึกษาขอ้ มูลเชิงลกึ
ต่างๆ ในชีวิตประจ�าวัน ดังน้ันปัจจัยดังกล่าวจึงเป็นส่ิงส�าคัญท่ีส่งผลต่อ
ความคิดสร้างสรรค์ สอดคลอ้ งกับ Hossein Sanchez-Ruiz Leaila วษิ า
ส�าราญใจ ปยิ ะนุช สงิ ห์สถิตย์ ณฐั พงศ ์ วงศส์ ุย่ ปิติภรณ ์ ตุลาพทิ กั ษ ์ มนสั วี
ธนะปดั และชาต ิ วรภ ู
4. เพศไม่ได้เป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ
อาจเนอื่ งมาจากในปจั จบุ นั นกั เรยี นชายและนกั เรยี นหญงิ ไดร้ บั การสง่ เสรมิ
ให้แสดงออกทางด้านการเรียนศิลปะอย่างอิสระผ่านการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนในโรงเรียนอยา่ งต่อเนอ่ื งและเทา่ เทียมกัน สอดคล้องกบั
Hossein และธิตยา คาควร

เอกสารอางองิ
ส�านกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564).
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ.
ชาญณรงค ์ พรรงุ่ โรจน์. (2546). ความคิดสรา งสรรค. กรุงเทพฯ: สา� นักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2558). แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559). ส�านกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
สา� นกั งานจงั หวดั ระยอง. (2558). บทสรปุ สาํ หรบั ผบู รหิ าร.เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://123.242.173.8/v2/index.php?option=com_content&view=article&id=597&Itemid=180.
ปติ ภิ รณ ์ ตลุ าพทิ กั ษ.์ (2552). ปจ จยั บางประการทสี่ มั พนั ธก บั ความคดิ สรา งสรรคท างวทิ ยาศาสตร ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 สงั กดั สาํ นกั งาน

เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาขอนแกน เขต 5. วทิ ยานพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑติ , สาขาวชิ าการวจิ ยั การศกึ ษา, บณั ฑติ วทิ ยาลยั ,มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
อาร ี พนั ธม์ ณี. (2557). ฝกใหคดิ เปน คดิ ใหส รา งสรรค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
พชั ราวลยั มที รพั ย.์ (2554). โครงสรา งการคดิ ของนกั เรยี นประถมศกึ ษา. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ , สาขาวชิ าการวดั ประเมนิ ผลการศกึ ษา, คณะ

ครุศาสตร์, จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
Hossein, J., & Razieh, S., &Abdolhamid, E., &Hamideh, K. (2015). Examine the Relationship of Emotional Intelligence and Creativity with

Academic Achievement of Second Period High School Students. World Journal of Neuroscience. 5(275-281). Retrieved August 12,
2017, from http://dx.doi.org/10.4236/wjns.2015.54025
Sanchez-Ruiz, M. J., & Hernandez-Torrano, D., & Perez-Gonzalez, J. C., & Batey, M., & Petrides, K. V. (2011). The relationship between trait
emotional intelligence and creativity across subject domains. Motivation and Emotion. 35(4): 461-473.
Leaila, N., & Bahram, J. (2013). The effect of emotional intelligence and its components on creativity. Social and behavioral sciences, 84(1),
791-795. Retrieved from http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042813017229

วทิ ยาจารย์ 61

ผลกระทบของการปฏบิ ัตงิ านตามจรรยาบรรณวชิ าชพี บัญชที ีม่ ีตอ การปฏบิ ัติงานท่ดี ี
ของผูปฏบิ ตั ิงานทางการเงนิ และบญั ชใี นสถาบันการอาชวี ศึกษาเกษตรในประเทศไทย

The Impact of Operating under the Code of Ethics to the Best Practice for Financial
and Accounting Practitioner in Vocational Institute of Agriculture in Thailand

นางสุกานดา อาจหาญ The research’s tool was questionnaires. The samples
consisted of 149 finances and
บทคัดยอ
การวจิ ยั นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ 1) ศกึ ษาการปฏบิ ตั งิ านตามจรรยาบรรณ accounting practitioners in Vocational Institutes of Agriculture
วชิ าชพี บญั ชขี องผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และบญั ชใี นสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา in Thailand. The sampling was used stratified random sampling
เกษตรในประเทศไทย 2) ศกึ ษาผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ขี องผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ method. The statistics used to analyze the data were percentages,
และบญั ชใี นสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย 3) ศกึ ษาผลกระ means, standard deviation and multiple regression analysis.
ทบของการปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวชิ าชพี บญั ชที มี่ ตี อ่ ผลการปฏบิ ตั งิ านที่ดี
ของผ้ปู ฏบิ ัตงิ านทางการเงนิ และบัญชใี นสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรใน The research results found:
ประเทศไทย 1) The operating code of financial ethics and accounting
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม practitioners in Vocational Institutes of Agriculture in Thailand overall
กลุม่ ตัวอยา่ งทใี่ ช้ในการศึกษา คือผ้ปู ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และบญั ชีของ are in the highest level. There are transparency, independence,
สถานศกึ ษาสงั กดั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทยจา� นวน 149 คน equity, honesty, capability, performance standard, confidentiality
ใช้วิธีการแบ่งขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนแบบช้ันภูมิ และใช้การสุ่ม and responsibility.
ตัวอยา่ งอยา่ งง่ายโดยการจับสลาก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ได้แก่ 2) The best practice for finances and accounting
รอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะหถ์ ดถอยเชงิ พหคุ ณู practitioners in Vocational Institutes of Agriculture in Thailand overall
ผลการวจิ ยั พบวา่ 1) ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และบญั ช ี ในสถาบนั are in high level. There are achievement motivation, service mind,
การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย มรี ะดบั การปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณ expertise, integrity, and teamwork.
วชิ าชพี บญั ชโี ดยรวมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ทกุ ดา้ น ไดแ้ ก ่ ดา้ นความโปรง่ ใส 3) The impact of operating under the code of ethics to best
ด้านความเป็นอิสระ ด้านความเที่ยงธรรม ด้านความซื่อสัตย์สุจริต practice for finances and accounting practitioners in Vocational
ดา้ นความรคู้ วามสามารถ ดา้ นมาตรฐานในการปฏบิ ตั งิ าน ดา้ นการรกั ษา Institutes of Agriculture in Thailand found that:
ความลบั และดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร 2) ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ 1. The responsibility impacted on the best practice in
และบญั ชใี นสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย มผี ลการปฏบิ ตั งิ าน achievement motivation significantly at 0.01 levels.
ทด่ี โี ดยรวมอยใู่ นระดบั มากทกุ ดา้ น ไดแ้ ก ่ ดา้ นการมงุ่ ผลสมั ฤทธ ิ์ดา้ นการบรกิ าร 2. An honesty impacted on the best practice in integrity
ทด่ี ี ดา้ นการสงั่ สมความเชย่ี วชาญในงานอาชดี า้ นการยดึ มนั่ ในความถกู ตอ้ ง significantly at 0.05 levels.
ชอบธรรม และด้านการทา� งานเปน็ ทมี 3. The transparency is impacted on the best practice
จากการวเิ คราะหผ์ ลกระทบพบวา่ 1) การปฏบิ ตั งิ านตามจรรยาบรรณ in teamwork significantly at 0.05 levels.
วชิ าชพี บญั ช ีดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร มผี ลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน บทนํา
ทด่ี ดี า้ นการมงุ่ ผลสมั ฤทธ ์ิ อยา่ งมนี ยั สา� คญั ทรี่ ะดบั 0.01 2) การปฏบิ ตั งิ าน การด�าเนินธุรกิจหรือการประกอบอาชีพใดก็ตามปัจจัยส�าคัญ
ตามจรรยาบรรณวชิ าชพี บญั ชดี า้ นความซอ่ื สตั ย ์ มผี ลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน ที่ทุกวิชาชีพต้องตระหนักยึดม่ันและถือปฏิบัติเพ่ือให้การด�าเนินงานเป็น
ทดี่ ดี า้ นการยดึ มนั่ ในความถกู ตอ้ งชอบธรรมและจรยิ ธรรม อยา่ งมนี ยั สา� คญั ไปในทศิ ทางทถี่ กู ตอ้ งและมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ในการประกอบอาชพี และ
ที่ระดับ 0.05 และ 3) การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ส่งผลให้เป็นองค์กรท่ีน่าเช่ือถือไว้วางใจได้ คือการค�านึงถึงจรรยาบรรณ
ดา้ นความโปรง่ ใสมผี ลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ านทดี่ ดี า้ นการทา� งานเปน็ ทมี ของวิชาชีพ สภาวิชาชีพบัญชีได้จัดท�าจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพ
อยา่ งมีนัยส�าคญั ท่ีระดบั 0.05 บญั ชขี น้ึ ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี บญั ชใี ชเ้ ปน็ แนวทางปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ ง ประกอบดว้ ย
Abstract 1) ความโปร่งใส 2) ความเป็นอสิ ระ 3) ความเทย่ี งธรรม 4) ความซือ่ สัตย์
This research’s aims were firstly, to study the operating สจุ รติ 5) ความรคู้ วามสามารถ 6) มาตรฐานในการปฏบิ ตั งิ าน 7) การรกั ษา
code of financial ethics and accounting practitioners in Vocational ความลับ และ 8) ความรบั ผิดชอบตอ่ ผู้รับบริการ
Institutes of Agriculture in Thailand. Secondly, to study the best สา� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (2552, น.5-7) กลา่ วถงึ
practice for finances and accounting practitioners in Vocational กระบวนการปฏบิ ตั งิ านทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในระบบราชการซง่ึ จะทา� ใหบ้ คุ คล
Institute of Agriculture in Thailand. Thirdly, to study the impact of แสดงผลงานได้ดี ตามองค์ประกอบของสมรรถนะหลัก 5 ด้าน คือ
operating under the code of ethics to the best practice for finances 1) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ 2) การบริการท่ีดี 3) การสั่งสมความเช่ียวชาญ
and accounting practitioners in Vocational Institute of Agriculture in Thailand. ในงานอาชีพ 4) การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม และ
5) การทา� งานเปน็ ทมี หากผปู้ ฏบิ ตั งิ านสามารถปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

62 วิทยาจารย์

ประสิทธิผลและเกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง จะน�าไปสู่ประโยชน์สูงสุด 3. ผลกระทบของการปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี
ตอ่ หนว่ ยงานและประชาชนผรู้ บั บรกิ าร สามารถใชเ้ ปน็ ตวั ชวี้ ดั ในการประเมนิ ผล ต่อการปฏิบัติงานที่ดีของผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชี ในสถาบัน
การปฏบิ ตั ริ าชการและการเลอ่ื นเงนิ เดอื นของผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และ การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทยดงั น้ี
บัญชีได ้ ผวู้ จิ ัยจงึ ศกึ ษาผลกระทบของการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี
บัญชีท่ีมีต่อการปฏิบัติงานที่ดีของผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชีใน 3.1 การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี
สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรในประเทศไทย ผลลัพธ์ท่ีได้จากการวิจัย ด้านความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการ มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานที่ดี
สามารถน�าไปใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน ด้านการมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ อยา่ งมีนัยส�าคญั ทร่ี ะดบั 0.01
ทางการเงินและบญั ชใี ห้มปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น
3.2 การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี
วัตถปุ ระสงค ด้านความซ่ือสัตย์ มีผลกระทบต่อ การปฏิบัติงานที่ดีด้านการยึดมั่น
1. เพอื่ ศกึ ษาการปฏบิ ตั งิ านตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ในความถกู ต้องชอบธรรมและจรยิ ธรรม อย่างมนี ยั สา� คัญท่ีระดบั 0.05
ทางการเงนิ และบญั ชใี นสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย
2. เพอื่ ศกึ ษาผลการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ขี องผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และ 3.3 การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี
บญั ชใี นสถาบนั การ อาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย ดา้ นความโปรง่ ใสมผี ลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ านทด่ี ดี า้ นการทา� งานเปน็ ทมี
3. เพอ่ื ศกึ ษาผลกระทบของการปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวชิ าชพี บญั ชี อยา่ งมีนัยส�าคญั ที่ระดบั 0.05
ทม่ี ตี อ่ การปฏบิ ตั งิ านทด่ี ขี องผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และบญั ชใี นสถาบนั การ
อาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย อภปิ รายผล
ขอบเขตการวิจยั 1. ผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชีในสถาบันการอาชีวศึกษา
1. ประชากร ประกอบด้วยผู้ปฏบิ ัติงานทางการเงนิ และบัญชขี อง เกษตรในประเทศไทย มีระดับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญช ี
สถานศกึ ษา สงั กัดสถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตรในประเทศไทยใน 4 ภาค โดยรวมและเปน็ รายดา้ น ทกุ ดา้ นอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ แสดงวา่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
จ�านวน 44 แห่ง รวม 176 คน ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีเป็นอย่างดี มีการด�าเนินงานตาม
2. กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และบญั ชสี ถานศกึ ษา ระเบียบส�านกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซ่งึ จะให้ความสา� คัญกบั
ในสงั กัดสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทยใน 4 ภาค ผวู้ จิ ยั ได้ การรักษากฎระเบียบในการปฏิบัติงาน มีกระบวนการในการตรวจสอบ
ทา� การเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง ตามขน้ั ตอนตอ่ ไปน ี้ ความถูกต้องในทุกขั้นตอน ครอบคลุมทุกภารกิจส�าคัญของสถานศึกษา
2.1 ใชว้ ธิ กี ารสุ่มกล่มุ ตวั อย่าง โดยวิธีสุ่มตวั อย่างแบบช้ันภูมิ เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการเงนิ และบญั ช ี สอดคลอ้ ง
โดยใช้ภาคเปน็ เกณฑ์ในการส่มุ กับการศึกษาของ ชนิดาภา ดีสุข และคณะ (2555, น.1-29) พบว่า
2.2 กา� หนดขนาดกล่มุ ตวั อยา่ ง โดยใชต้ าราง Krejcie และ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี บญั ชตี อ้ งปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความโปรง่ ใส ยตุ ธิ รรมซอื่ ตรงตอ่
Morgan แล้วสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เพื่อให้ได้สถานศึกษาตามสัดส่วน วชิ าชพี ใชด้ ลุ ยพนิ จิ บนหลกั ฐานทเ่ี ชอ่ื ถอื ไดโ้ ดยปราศจากความมอี คต ิ และ
จ�าแนกตามภาค จ�านวน 40 แหง่ แต่ละแห่งก�าหนดผู้ตอบแบบสอบถาม ความล�าเอยี ง ปฏบิ ัติงานด้วยความตรงไปตรงมา จริงใจ ซือ่ ตรงตอ่ วชิ าชีพ
แห่งละ 4 คน คือ หัวหน้างานการเงิน หัวหน้างานบัญชี ผู้ปฏิบัติหน้าท่ี ใช้ความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีความ
งานการเงินและผู้ปฏิบัติหน้าที่งานบัญชี ยกเว้นภาคใต้จัดเก็บแห่งละ ชา� นาญและประกอบวชิ าชพี ดว้ ยความมสี ต ิ เอาใจใสอ่ ยา่ งเตม็ ความสามารถ
3 คน ไดก้ ลมุ่ ตัวอย่าง 149 คน และระมดั ระวงั รอบคอบ
3. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม จัดท�าโดยอาศัย 2. ผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชีในสถาบันการอาชีวศึกษา
แนวคดิ หลกั สา� หรบั การวจิ ยั แลว้ นา� ไปทดลองกบั ประชากรทไี่ มใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ ง เกษตรในประเทศไทยมผี ลการปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี โดยรวมและเปน็ รายดา้ น ทกุ ดา้ น
เพ่ือวิเคราะห์หาค่าเช่ือถือได้ ของแบบสอบถามแต่ละข้อ วิเคราะห์ อยใู่ นระดบั มาก แสดงวา่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านมผี ลการปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี โดยพจิ ารณาจาก
ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา เพ่ือหาค่าดัชนีความสอดคล้องในการหา ความสามารถในการพฒั นางานใหม้ มี าตรฐานการทา� งานทส่ี งู ขน้ึ สามารถ
ความเช่ือถือได้โดยใช้เกณฑ์สัมประสิทธ์ิแอลฟา ตามวิธีของครอนบาค ให้ค�าปรึกษาและค�าแนะน�ากับบุคคลอ่ืน การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของ
แลว้ นา� ไปจดั เกบ็ ขอ้ มลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง เพอื่ นา� ขอ้ มลู มาวเิ คราะหท์ างสถติ ิ สถานศกึ ษา มกี ารใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมต่ ลอดจนการใชค้ วามร ู้ทกั ษะประสบการณ์
ผลการวจิ ยั ในการทา� งานทมี่ วี สิ ยั ทศั น ์ ยดึ มนั่ ในความถกู ตอ้ งชอบธรรม ตามกฎระเบยี บ
1. ผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชีในสถาบันการอาชีวศึกษา วนิ ยั ของทางราชการ และ จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี ทา� ใหก้ ารทา� งาน
เกษตรในประเทศไทย มีระดับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ร่วมกันมีความราบรื่น สร้างบรรยากาศท่ีดีในการท�างาน ผู้บริหาร
โดยรวม และเป็นรายด้านทุกดา้ นอย่ใู นระดับมากที่สุด สามารถสอดส่องดูแล การปฏิบัติงานได้ท่ัวถึง สนับสนุน ส่งเสริม และ
2. ผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชีในสถาบันการอาชีวศึกษา พิจารณาความดีความชอบจากผลการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรม
เกษตรในประเทศไทย มีผลการปฏิบัติที่ดี โดยรวมและเป็นรายด้าน ส่งผลต่อการปฏิบัติงานท่ีดี สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
ทุกดา้ นอยใู่ นระดับมาก ทา� ใหอ้ งคก์ ารประสบความสา� เรจ็ จากความสามารถในการใชจ้ รรยาบรรณ
ทางวิชาชีพ มาส่งเสริมคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน (วิลาสินี นามศรี,
2550, น.1-18) และ (Masoud Bakhtiari and Mahbube Azimifar, 2013,
p.2862-2866)
3. ผลการศึกษาผลกระทบระหว่างการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
วิชาชีพบัญชีกับการปฏิบัติงานท่ีดีของผู้ปฏิบัติงานทางการเงินและบัญชี
ในสถาบันการอาชวี ศึกษาเกษตรในประเทศไทย รายด้านพบว่า
3.1 การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี
ด้านความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานที่ดี
ด้านการมุ่งผลสัมฤทธ์ิ เน่ืองจากผู้รับบริการรวมถึงหน่วยงานตรวจสอบ

วทิ ยาจารย์ 63

มกี ารควบคุมก�ากับดูแล ตลอดจนมีระบบตรวจสอบและตัวช้ีวัดที่ชัดเจน ขอเสนอแนะ
ให้ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตามท่ีก�าหนดไว้ และเมื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่ ข้อเสนอแนะส�าหรบั การนา� ผลวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์
ทางการเงินและบัญชีมีการปฏิบัติตามข้อก�าหนดข้างต้น จึงถือว่า 1. สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรในประเทศไทย ควรใหค้ วามสา� คญั
เปน็ การปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี มผี ลสมั ฤทธสิ์ งู สอดคลอ้ งกบั ประวติ ร นลิ สวุ รรณากลู กับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีในด้านความเป็นอิสระ
(2557, น.60-63) ว่า ความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการจะท�าให้เกิด และการรักษาความลับ โดยการให้ความไว้เน้ือเช่ือใจในการใช้ดุลยพินิจ
ความนา่ เช่อื ถอื และเป็นประโยชน์แกผ่ ูร้ บั บรกิ าร ของผ้ปู ฏิบัติงาน สนับสนุนสง่ เสรมิ การปฏิบัตงิ านภายใต้มาตรฐานวชิ าชีพ
บัญช ี
3.2 การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีบัญชี 2. ผู้บริหารควรหามาตรการเร่งรัดการปฏิบัติงานให้ทันเวลาท่ี
ด้านความซื่อสัตย์สุจริตมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานที่ดีด้านการยึดมั่น ก�าหนด การปองกันการน�าทรัพย์สินของหน่วยงานมาใช้ประโยชน์ส่วนตัว
ในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม เน่ืองจาก มีการปฏิบัติงาน เพิม่ พนู ความร้คู วามเข้าใจของผปู้ ฏบิ ัติงาน ในด้านการควบคมุ ก�ากบั ดแู ล
อยา่ งตรงไปตรงมา ตามแนวทางปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษา ผา่ นการตรวจสอบ ระบบตรวจสอบ ตลอดจนสรา้ งเกณฑ ์ หรอื ตวั ชวี้ ดั ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิ
ตามลา� ดบั ชนั้ โดยตวั ชวี้ ดั ทช่ี ดั เจน เขา้ ใจไดจ้ นสามารถเชอ่ื มนั่ ในความซอื่ สตั ย์ งานที่ชดั เจน มกี ารปลกู ฝังเจตคติดา้ นความซอ่ื สัตย์ สุจรติ การปฏบิ ตั งิ าน
สุจริตของผู้ปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างแทจ้ ริง สอดคล้องกับอมรรัตน ์ เทพกา� ปนาถ อยา่ งตรงไปตรงมา การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเชงิ ประจกั ษ ์ ทใ่ี หน้ า้� หนกั
(2556, น.1) วา่ ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ จะทา� ใหไ้ ดร้ บั ความเชอ่ื ถอื มคี วามสงา่ งาม กบั ผลการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี ในการยดึ มนั่ ในความถกู ตอ้ งชอบธรรมและจรยิ ธรรม
มีเกียรติ และการยึดม่ันในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรมจ�าเป็น ของผู้ปฏบิ ัติงาน
อยา่ งย่งิ สา� หรบั ขา้ ราชการ (วนิดา เขียวงามดี, 2555, น.7-22) ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครงั้ ตอ่ ไป
1. ควรศกึ ษาถึงปจั จยั แทรกอ่นื ทอ่ี าจมีผลตอ่ จรรยาบรรณวิชาชพี
3.3 การปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบญั ชีดา้ นความ บัญชี เช่น เจตคติของผู้ปฏิบัติงานที่มีต่อวิชาชีพของตน สภาพแวดล้อม
โปรง่ ใส มผี ลกระทบตอ่ ผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ดี า้ นการทา� งานเปน็ ทมี เนอื่ งจาก ในการทา� งาน และความรเู้ รอื่ งจรรยาบรรณวชิ าชพี บญั ชใี นการปฏบิ ตั งิ าน
ผู้ร่วมงานมีการปฏิบัติต่อกันอย่างบริสุทธิ์ใจ เปิดใจคุยกันได้ในทุกเร่ือง 2. ควรศกึ ษาถงึ ปจั จยั อน่ื ๆ ทอี่ าจสง่ ผลตอ่ การปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี นอกจาก
ทกุ ปญั หา ไมก่ ลา้ ทจ่ี ะปฏบิ ตั ผิ ดิ ไปจากระเบยี บแบบแผนหรอื จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ วชิ าชีพบัญชี เชน่ ความม่นั คงในการท�างาน ความกา้ วหน้า
วชิ าชพี ทา� ใหเ้ กดิ ความโปรง่ ใสในทกุ ขนั้ ตอน สามารถรบั การตรวจสอบจาก ในการท�างาน หรือ ความสมั พันธก์ บั เพอ่ื นร่วมงาน และ
ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ระดบั เพราะการทา� งานในทมี งานทม่ี คี วามโปรง่ ใส จะทา� งาน 3. ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตาม
ได้ง่าย เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจกัน สอดคล้องกับส�านักงานคณะกรรมการ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี โดยการสัมภาษณ์รายบุคคล การสัมภาษณ์
มาตรฐานการบรหิ ารบคุ คลส่วนท้องถนิ่ (2558, น.1) วา่ การท�างานเปน็ ทมี กลุ่มจากผู้ปฏิบัติงานจริง เพื่อจะได้ข้อมูลเชิงลึกใช้เป็นแนวทางในการ
เปน็ สง่ิ ทม่ี คี วามสา� คญั ในทกุ องคก์ รเพอื่ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล ปรับปรงุ และพัฒนาผลการปฏิบตั ิงานท่ีดตี อ่ ไป
ของการบริหารงาน

เอกสารอางองิ
คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น, สา� นกั งาน. (2552). คมู อื สมรรถนะหลกั : คาํ อธบิ ายและตวั บง ช.้ี กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั พ.ี เอ. ลฟิ วงิ่ จา� กดั .
คณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารบคุ คลสว่ นทอ้ งถ่นิ , ส�านกั งาน.(2558). การทาํ งานเปนทมี . กรงุ เทพฯ: สา� นกั งานคณะกรรมการ

มาตรฐานการบรหิ ารบุคคลส่วนท้องถ่ิน.
ชนดิ าภา ดีสุข นงลักษณ ์ ศริ ิพิศ และชลกนก โฆษติ คณนิ . (2555). ทศั นคติของผปู ระกอบวิชาชพี บัญชใี นเขตกรุงเทพมหานคร

ตอการประกาศใชขอบังคับสภาวิชาชีพบัญชีเรื่องจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบุรี.
ประวิตร นลิ สุวรรณากูล. ( 2553). จรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญช.ี กรงุ เทพฯ: สภาวิชาชพี . บัญชี.
วนิดา เขียวงามดี. (2555). การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐโดยใชแนวคิดเรื่องสมรรถนะ.
วารสารมหาวิทยาลยั ศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศลิ ปะ. 32 (1).
วิลาสินี นามศรี. (2553). ประสิทธิภาพและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองคการบริหารสวนตําบลในเขต
อาํ เภอกดุ ขา วปนุ จงั หวดั อบุ ลราชธาน.ี (การศกึ ษาอสิ ระ ปรญิ ญารฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ). อบุ ลราชธาน:ี มหาวทิ ยาลยั
อุบลราชธานี.(pp.2862-2866).
อมรรัตน ์ เทพกา� ปนาถ. (2556). ความซื่อสัตยน นั้ สาํ คญั ไฉน. กรงุ เทพฯ: ส�านกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวง
วฒั นธรรม.กระทรวงมหาดไทย.
Masoud Bakhtiari and MahbubeAzimifar. (2013). Impact Of Professional Ethics On Financial Reporting Quality. Advances
in Environmental Biology, 7(10),

64 วทิ ยาจารย์

ประสบการณ์

ปณธิ ิ ภูศรเี ทศ

บนั ทกึ ถงึ ดวงดาว 86

พบกันฉบับนี้พ่ีมีพลังความคิดของนักเรียนมาให้น้องดาวอ่าน เกิดจากค�ำถามหน่ึง
ของพี่ท่ีมีมานานแล้วว่า “ค�ำขวัญ” ที่เราได้เห็นได้ยินตามสื่อต่างๆ ทั้งภาพและเสียง
จ�ำกัดวงให้แคบลงก็โรงเรียนทุกโรงเรียนน่ันเองจะมีค�ำขวัญหรือคติพจน์หรือเนื้อหา
สาระใกล้เคียงกับ 2 ค�ำนี้ ประกาศให้บุคลากรในโรงเรียนและสาธารณชนรับรู้
แสดงให้เห็นทั้งท่ีเป็นเอกสารหรือป้ายประกาศใหญ่โตติดต้ังภายในและภายนอก
โรงเรียน แท้จริงแล้วเราประกาศไว้ “โก้ๆ” หรือเราท�ำได้มากกว่าการประกาศเท่าน้ัน

จ�ำกัดบริบทให้แคบลงอีกนิดก็ “ค�ำขวัญเกี่ยวกับยาเสพติด” ที่รณรงค์กันแทบทุกวัน โรงเรียน
หรือในหอ้ งเรียนครูได้นำ� ไปต่อยอดใหน้ กั เรียนซึง่ มคี วามเส่ยี งมากที่สดุ อย่างไร เพียงไร
พี่คิดว่าเราไม่ควรประกาศเฉยๆ หรือท่องจ�ำกันติดปากว่าจะป้องกันจะต่อต้านยาเสพติด
ทุกรูปแบบ เพราะเรื่องนี้จะประมาทไม่ได้เลย เผลอแว้บเดียว อาจเลี้ยวเข้าโรงเรียนจนกลายเป็นปัญหา
ลกุ ลามใหญ่โตได้ ในปีการศึกษานี้พ่ีจึงแทรกกิจกรรมตามค�ำขวัญ “ท�ำดีเพื่อพ่อ สานต่อแก้ปัญหายา
เสพติด” (Do Good Deeds for DAD Against Drugs) พตี่ คี วามคำ� ขวญั “เราจะสานต่ออย่างไร” โดย
ใหน้ กั เรยี นรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ซงึ่ แทจ้ รงิ แลว้ จดุ ประสงคก์ ค็ อื “จะไดม้ โี อกาสสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั เรอ่ื งภยั
และการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ” แลว้ ไดป้ ระเดน็ ความคดิ ของนกั เรยี นอยา่ งหลากหลายจากขน้ั ตอนทส่ี รปุ ดงั น้ี
1. ครูเตรียมบทรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองเก่ยี วกบั โทษของยาเสพติดแตล่ ะประเภท
2. แบ่งกลุ่มนักเรียน ครบตามจำ� นวนประเภทยาเสพตดิ
3. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รบั บทรอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรองตามประเภทยาเสพตดิ แลว้ อา่ นพรอ้ มกนั ทลี ะกลมุ่
4. นกั เรยี นรับใบกิจกรรมระดมความคดิ เห็น
5. จับฉลากให้ตัวแทนกลุ่ม 1 - 2 คน อ่านบทประพันธ์ที่ได้รับและผลงานของกลุ่มพร้อมแสดง
ความคิดเห็นเพิม่ เติม
6. มอบรางวัลกลุ่มท่ีมผี ลงานดเี ดน่
7. ครูและนกั เรยี นรว่ มสรุปกจิ กรรม

วิทยาจารย์ 65

ใบกิจกรรม “วนั ตอ่ ตา้ นยาเสพติดโลก”
ประเภทยาเสพติด...................................กลุ่มที.่ .....................

ช่อื - นามสกลุ - หอ้ ง ชื่อ - นามสกลุ - ห้อง

1. 2.

3. 4.

5. 6.

ค�ำ ชแ้ี จง แต่ละกลุ่มระดมความคิดแล้วนำ�เสนอ

1. วธิ ีหรอื แนวทางสานต่อตามคำ�ขวญั “ทำ�ดีเพ่ือพ่อ สานตอ่ แก้ปัญหายาเสพตดิ
(Do Good Deeds for DAD Against Drugs)” จำ�นวน 4 ข้อ หรอื มากกว่า
1.1...........................................................................................................................................................
1.2...........................................................................................................................................................
1.3...........................................................................................................................................................
1.4...........................................................................................................................................................

2. เขียนคำ�ขวัญหรือข้อความสั้นๆ รณรงคถ์ ึงโทษหรือเตือนใจเพือ่ นๆ
ไมใ่ หเ้ ข้าไปเกย่ี วข้องกับยาเสพติดตามประเภทยาเสพติดของกล่มุ
....................................................................................................................................................................

3. แนวการนำ�เสนอ
3.1 ผู้นำ�เสนอแนะนำ�ตนเองและประเภทยาเสพติดประจำ�กลุ่ม
3.2 อ่านบทประพนั ธ์โทษของยาเสพติด
3.3 อ่านผลการระดมความคดิ วิธหี รือแนวทางสานต่อตามคำ�ขวญั ฯ และคำ�ขวัญของกลุม่
3.4 เปิดโอกาสให้กลมุ่ อน่ื ๆ แสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เตมิ
3.5 ครูสรุป

66 วทิ ยาจารย์

จากกิจกรรมพี่ไดพ้ ลังความคดิ ของนกั เรียน ดังตวั อย่าง
1. วิธีหรือแนวทางสานต่อค�ำขวัญ
1.1 ไม่ยุ่งเก่ียวกับสารเสพติดทุกชนิด เพราะมีโทษต่อร่างกาย ครอบครัว และสังคม
หลกี เลย่ี งการอยู่ในท่ีเสี่ยงต่อการตดิ ยาเสพติด
1.2 ไมส่ นับสนนุ ใหม้ กี ารคา้ สารเสพตดิ ทุกชนิด
1.3 ไม่ริไม่ลองส่ิงเสพติดทุกประเภท แม้กระท่ังเหล้าหรือบุหร่ี เพราะเป็นจุดเริ่มต้นของ
การติดสง่ิ เสพตดิ ทัง้ หลาย
1.4 รณรงค์หรอื จดั กจิ กรรมเก่ียวกับการตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ และการบ�ำบดั ผู้ติดสารเสพติด
2. ค�ำขวัญ (กลมุ่ ยาอ)ี

“ยาอีทำ� ลายชวี ติ สังคมมดื มิด ถา้ ตดิ ยาอ”ี
น่ีเป็นตัวอย่างเล็กๆ แต่พี่คิดว่าย่ิงใหญ่นัก เพราะพี่เช่ือม่ันว่านักเรียนได้รับ “ภูมิคุ้มกัน
ยาเสพติดเพ่ิมข้ึน” และจะมากย่ิงขึ้นถ้าพี่มีโอกาสน�ำความคิดเหล่านี้ไปสร้างให้เป็นรูปธรรม เช่น
นำ� วธิ กี ารหรอื คำ� ขวญั ของแตล่ ะกลมุ่ ไปประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กบั การเรยี นการสอนหรอื สรา้ งกจิ กรรมใหมๆ่
อาจได้ช้ินงานหรือนวัตกรรมเกี่ยวกับการต่อต้านยาเสพติดอีกก็เป็นได้ และท่ีส�ำคัญพี่คิดว่า
ได้มีโอกาส “สานต่อค�ำขวัญ” ที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
ท้ายบันทึกน้ี ขอถามน้องดาวว่า “นักเรียนของพ่ีได้รับภูมิคุ้มกันมากย่ิงข้ึนหรือไม่ และ
ถา้ นกั เรยี นไมม่ ภี มู คิ มุ้ กนั เลยจะมสี ภาพเหมอื นภาพกลว้ ยไมท้ ก่ี ำ� ลงั พลรี า่ งลาโลกเพราะทพี่ ง่ึ พาอาศยั
หล่อเลย้ี งชวี ติ จากลาไปก่อนหน้าแล้ว....จรงิ หรอื ไม่ ?”

วทิ ยาจารย์ 67

อยูบ่ นโลกใบเกา่ เศร้าหรือสุข
ล้มแล้วลุกกคี่ รง้ั พงั หรอื ผ่าน
เร่ืองอดตี หรอื ปจั จบุ นั กาล
เราสร้างภมู ติ ้านทานประมาณใด

มองโลกด้านเดยี วหรือรอบด้าน
ทา่ มทกุ ขเ์ ราสะทา้ นสะเทือนไหม
เสพสขุ เรากำ� เริบอ่มิ เอบิ ใจ
ฤๅเรานง่ิ เฉยไว้...ไมห่ นาวร้อน

รักและคิดถึง
พ่ีดนิ

68 วทิ ยาจารย์

บทความพเิ ศษ

รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ คงเทยี่ ง

จากโรงเรียนประชาบาลถงึ
การศึกษาไทย 4.0

(ตอนที่ 2)

การปรับร้ือเปล่ียนแปลงระบบการศึกษาประชาบาลคร้ังใหญ่ เกิดขึ้นอีกคร้ัง เมื่อมีพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มีการจัดโครงสร้างของ
กระทรวงศึกษาธิการแบบใหม่ มีการจัดระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษา จึงก่อให้เกิดการจัดตั้ง
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : สพฐ. มีเลขาธิการ เป็นผู้ดูแลแบ่งระบบบริหารเป็น
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีผู้อ�ำนวยการเขตพ้ืนที่การศึกษา : ผอ.เขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นผู้ดูแลซึ่ง
ผอ.เขตพื้นท่ีการศึกษาส่วนใหญ่มาจาก ผอ. ปจ. และ ผอ. ปอ. ต่อมามีการแยกเป็นเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

วทิ ยาจารย์ 69

ในส่วนของการบริหารงานบุคคล มีสภาวิชาชีพครูและบุคคลทางการศึกษา
ทเี่ รียกว่า คุรุสภา ก�ำกับดูแลการพัฒนาวิชาชีพครู ยกฐานะวิชาชีพทางการศึกษา
เป็นวิชาชีพช้ันสูงกำ� หนดมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชีพ มใี บประกอบวิชาชีพ มสี กสค.
ดูแลเร่ืองสวัสดิการและสวัสดิภาพบุคลากรวิชาชีพทางการศึกษา มีคณะกรรมการ
ขา้ ราชการครแู ละบคุ คลทางการศึกษา : กคศ. ดแู ลขา้ ราชการครูในเรอื่ งต�ำแหนง่ และ
วิทยฐานะ เป็นตน้
ลลุ ว่ งมาถึงปี พ.ศ. 2560 การศึกษาไทยก้าวส่ยู คุ 4.0 ซ่งึ บทบาทหน้าท่ีสำ� คญั
ของการศกึ ษาในยุคน้ี คอื การพัฒนาคนให้เปน็ ทรพั ยากรมนุษยข์ องการศกึ ษาในยคุ น้ี
คอื การพฒั นาคนใหเ้ ปน็ ทรพั ยากรมนษุ ย์ และเปน็ ทนุ มนษุ ยท์ ม่ี คี ณุ ภาพ เพอื่ เปน็ ปจั จยั
สำ� คญั ในการขบั เคลอื่ นประเทศไทย 4.0 แนวคดิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ ารจดั การศกึ ษา
ทสี่ ำ� คญั จงึ เกดิ ขน้ึ คอื การเกดิ ของคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั :กศจ.ซงึ่ มผี วู้ า่ ราชการ
จงั หวดั เปน็ ประธาน คณะกรรมการมาจากองคก์ รตา่ งๆ เปน็ สว่ นใหญ่ มี อ.กศจ. ไมน่ อ้ ยกวา่
3 อนุ คอื อ.กศจ. บคุ คล อ.กศจ. บรหิ ารยทุ ธศาสตร์ และ อ.กศจ. คณุ ภาพการศกึ ษา
มสี ำ� นกั งานระดบั ภาคการศกึ ษาทมี่ ศี กึ ษาธกิ ารภาค : ศธ.ภ. ซง่ึ สว่ นใหญม่ าจากขา้ ราชการ
สามัญระดับสงู จากสำ� นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นผู้ดแู ล ศธ.ภ. จะทำ� หน้าที่
รองประธานใน กศจ. ดว้ ย การบริหารจัดการของ กศจ. และ ศธ.ภ. ข้นึ กับปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร
สว่ นการบรหิ ารจดั การดแู ลการศกึ ษาในระดบั จงั หวดั จะมสี ำ� นกั งานศกึ ษาธกิ าร
จังหวัด มีต�ำแหน่งศึกษาธิการจังหวัด : ศจ. เป็นผู้รับผิดชอบ ศจ. จะสรรหามาจาก
ข้าราชการหลายฝ่ายท้ังข้าราชการครูและข้าราชการสามัญ ด�ำรงต�ำแหน่งสายบริหาร

70 วิทยาจารย์

รับค่าตอบแทนประเภทเงินเดือนไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ไม่ต้องมีวิทยฐานะ
ศจ. สว่ นใหญม่ าจากบทบาทหนา้ ทสี่ ำ� คญั ของ ศจ. คอื สง่ เสรมิ แนะนำ� พฒั นาการศกึ ษา
ของจังหวัด ส่วนในระดับอ�ำเภอ จะมีผู้ตรวจการศึกษาอ�ำเภอ ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก
ศึกษานิเทศกเ์ ดิม และยงั คงไวซ้ ่ึงเขตพื้นทีก่ ารศึกษาท้งั หมด
สำ� หรบั ในระดบั สถานศกึ ษา การเขา้ สตู่ ำ� แหนง่ ผบู้ รหิ ารจะเปน็ การคดั เลอื กและ
สรรหาบุคลากรท่ีหลากหลาย ด�ำรงต�ำแหน่งสายบริหาร รับเงินเดือนผู้บริหาร มีวาระ
ในการดำ� รงตำ� แหนง่ ลดความสำ� คญั ของใบประกอบวชิ าชพี สำ� หรบั สายผสู้ อน มนี โยบาย
เปิดกว้าง ลดความส�ำคัญของใบประกอบวิชาชีพ ปรับเปลี่ยนวิธีการขอมีวิทยาฐานะ
เป็นตน้
แนวคิดส�ำคัญท่ีก�ำลังจะเกิดขึ้นในระบบการบริหารจัดการการศึกษาไทย
ยคุ 4.0 คอื การมสี ภาการศกึ ษาสงั กดั สำ� นกั นายกรฐั มนตรีและการมาถงึ ของสภาการศกึ ษา
จังหวดั ที่มีผวู้ า่ ราชการจงั หวัดเปน็ ประธาน มีศึกษาธิการจังหวดั เปน็ หัวหนา้ สำ� นกั งาน
เพอ่ื ทำ� หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ แนะนำ� พฒั นาการศกึ ษาของจงั หวดั บทบาทของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จะเนน้ งานด้านวิชาการ
การปรบั เปลย่ี นระบบบรหิ ารจดั การการศกึ ษาดงั กลา่ วกเ็ พอื่ ทจี่ ะพฒั นาการศกึ ษา
ของไทยใหม้ คี ณุ ภาพ โดยหวงั วา่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาทง้ั ดา้ นบคุ ลากรทางการศกึ ษา
การจัดการเรียนการสอน การบริหารการจัดการศึกษา และที่ส�ำคัญ คือ การยกระดับ
คุณภาพของผู้เรียน เพื่อให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า เป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ
อันจะเปน็ ปัจจัยสำ� คญั ในการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ต่อไป

วทิ ยาจารย์ 71

ห้องเรียนวิชาการ

ดร.พลสณั ห์ โพธิ์ศรีทอง

Thailand

4โ ม.เ ด0ล

พมิ พ์เขียวขบั เคล่อื นประเทศไทย
สู่ความมง่ั คั่ง ม่นั คง และยงั่ ยืน

(ตอนที่ 2)

72 วทิ ยาจารย์

จากประเดน็ ทา้ ทายดงั กล่าวในฉบบั ทแ่ี ลว้
“การปรบั เปล่ียนระบบนเิ วศนก์ ารเรียนร”ู้ ของไทยทงั้ ระบบ

1. ปรับเปลี่ยนระบบนิเวศน์การเรียนรู้เพ่ือ • ก�ำหนดมาตรการดูแลครอบครัวที่เปราะบาง
เสรมิ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ มคี วามมงุ่ มน่ั เพอื่ ใหม้ ชี วี ติ อยอู่ ยา่ ง ให้สามารถดูแลสมาชกิ ได้อย่างเข้มแข็ง
มพี ลังและมีความหมาย (Purposeful Learning) • ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนท้ังใน
• ปรบั เปลยี่ นจาการเรยี นแบบเฉอ่ื ยชา (Passive และนอกหอ้ งเรยี นทส่ี อดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
Learning) เปน็ การเรยี นดว้ ยความกระตอื รอื รน้ ความมีระเบียบวินยั จิตสาธารณะการทำ� งาน
(Active Learning) เปน็ ทมี
• ปรับเปลี่ยนจากการเรียนตามภาคบังคับ • ปรับเปลี่ยนจากการเน้นผลประโยชน์ร่วม
(Duty - Driven) เปน็ การเรยี นทเ่ี กดิ จากความรู้ (CommonInterest)เปน็ การเนน้ สรา้ งคณุ คา่ รว่ ม
อยากทำ� และอยากเป็น (Passion - Driven) (Sharing Value)
• ปรับเปลี่ยนจากการเรียนตามมาตรฐาน • ปรบั เปลย่ี นจากการมงุ่ เนน้ ความคดิ สรา้ งสรรค์
(Standardized) เปน็ การเรยี นเพ่ือตอบโจทย ์ ในรายบคุ คล (Individual Creating) เป็นการ
เฉพาะบุคคล (Personalized) โดยพัฒนา มงุ่ เนน้ การระดมความคดิ สรา้ งสรรคแ์ บบกลมุ่
จากศักยภาพ โอกาสและข้อจ�ำกัดของ (Common Creating)
แต่ละบคุ คล • ปรับเปลี่ยนจากการให้รางวัลจากการแข่งขัน
2. ปรบั เปลย่ี นระบบนเิ วศนก์ ารเรยี นรเู้ พอื่ บม่ เพาะ (Competing Incentive) เปน็ การใหร้ างวลั จาก
ความคดิ สรา้ งสรรค์ และความสามารถในการรงั สรรคน์ วตั กรรม การท�ำงานรว่ มกนั (Sharing Incentive)
ใหมๆ่ (Generative Learning) เตรียมการเพ่ือสร้างพลเมืองท่ีตื่นรู้ (Active
• ปรับเปลี่ยนจากการเรียนรู้ในห้องเรียน Citizen) เปน็ ฐานรากทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ของการปกครองในระบอบ
ในโรงเรียน และในระบบเป็นการเรียนรู้ ประชาธิปไตย
นอกห้องเรียน นอกโรงเรยี น และนอกระบบ ดังน้ัน วิชาหน้าท่ีพลเมือง (Civic Education)
• ปรบั เปลยี่ นจากการคดิ ในกรอบ ทเี่ นน้ “ทอ่ งจำ� ” และกิจกรรมลูกเสือจะต้องถูกฟื้นฟูเพ่ือบ่มเพาะให้เยาวชน
“เชอื่ ฟงั ” และ “ทำ� ตาม” เปน็ การคดิ นอกกรอบ เป็นพลเมอื งที่ตืน่ ร้ใู นทสี่ ดุ
ท่ีเน้น “กล้าคิดต่าง” “ท�ำต่าง” แต่ “เคารพ • ปรับวิธีการเผยศาสนาที่มุ่งช้ีแนะแนวทาง
ความคิดเห็นของผอู้ ื่น” การดำ� รงชวี ติ ตามหลกั ธรรมคำ� สอนทเี่ ขา้ ใจงา่ ย
• ปรบั เปลยี่ นจากการเรยี นแบบถา่ ยทอดขอ้ เทจ็ จรงิ สามารถน�ำไปปฏบิ ัติไดจ้ รงิ
เปน็ การเรยี นแบบชีแ้ นะให้ใช้ความคดิ > เร่งฟื้นฟูศรัทธาให้สถาบันศาสนา
3. ปรับเปล่ียนระบบนิเวศน์การเรียนรู้เพ่ือ กลบั มาเปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจและทยี่ ดึ เหนย่ี ว
ปลกู ฝงั จติ สาธารณะยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ทตี่ ง้ั มคี วามเกอื้ กลู ของคนในสงั คม
และแบง่ ปัน (Mindful Learning) > ฟน้ื ฟโู ครงการ “ บวร” บา้ น วดั โรงเรยี น
• ส่งเสริมการเล้ียงดูในครอบครัว เน้นฝึกเด็ก
ให้รู้จักการพึ่งตนเองมีความซ่ือสัตย์ มีวินัย
มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ
ในรปู แบบของกิจกรรมในชีวติ ประจ�ำวนั

วิทยาจารย์ 73

• สง่ เสรมิ ชมุ ชนใหจ้ ดั กจิ กรรมสาธารณะประโยชน์ • ปรับเปลี่ยนจากการเรียนแบบฟังบรรยาย
จดั ระเบยี บทางสังคม และกำ� หนดบทลงโทษทางสังคม เป็นการทำ� โครงงานและแก้ปัญหาโจทย์ในรปู แบบต่างๆ
> สร้างความเข้มแข็งของชุมชน ผ่าน • ปรบั เปลีย่ นจากการวดั ความสำ� เรจ็ จากระบบ
กิจกรรมท่ีตอบโจทย์ความม่ังค่ังทางเศรษฐกิจ ความอยู่ดี การนับหน่วยกิตเป็นการวัดความส�ำเร็จจากการบรรลุ
มสี ขุ การรักษาส่ิงแวดล้อม และอัตลักษณ์และภูมิปัญญา ผลสมั ฤทธ์ิ
ท้องถน่ิ • ปรับเปล่ียนจากการเรียนรู้เพื่อวุฒิการศึกษา
• จัดสรรเวลาและพ้ืนท่ีออกอากาศให้กับ เปน็ การเรียนเพ่อื การประกอบอาชพี
สอื่ สรา้ งสรรคท์ สี่ ง่ เสรมิ การปลกู ฝงั คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทด่ี ี • ผลักดันให้มีการน�ำวัฒนธรรมการท�ำงาน
> ให้ส่ือมวลชนน�ำเสนอข้อมูลข่าวสาร ท่ีพึงประสงค์ไปปฏิบัติจนให้เป็นคุณลักษณ์ที่ส�ำคัญ
ทีเ่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และสรา้ งกระแสเชิงบวก ของคนในสังคมไทย
4. ปรับเปลี่ยนระบบนิเวศน์การเรียนรู้เพื่อ การพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
มุ่งการทำ� งานใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์ (Result - Based Learning) ในศตวรรษที่ 21 และการตระเตรยี มคนไทย 4.0 สโู่ ลกทห่ี นงึ่
• ปรับเปลี่ยนจากการเรียนโดยเน้นทฤษฎี ผ่านระบบนิเวศน์ การเรียนรู้ดังกล่าว จะเป็นหัวใจส�ำคัญ
เป็นการเรยี นที่เนน้ การวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปัญหา ในการเปล่ียนผ่านสังคมไทยไปสู่ “สังคมไทย 4.0” น่ันคือ
สงั คมทม่ี ีความสมานฉนั ท์ (Harmony) ในทสี่ ดุ

การปฏิรูปการศึกษาเพ่อื เตรียมคนไทยสูโ่ ลกท่ีหนง่ึ
เปา้ หมายการพัฒนาคนไทยให้เปน็ มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณใ์ นศตวรรษที่ 21 และการตระเตรียมคนไทย 4.0 ส่โู ลก

ที่หนง่ึ ผ่าน 4 ระบบนิเวศน์ การเรียนรู้ดังกลา่ วจะต้องนำ� ไปสูก่ ารปรบั เปล่ยี นใน 3 เรื่องสำ� คัญ ประกอบด้วย
1) การปรับเปล่ียนเปา้ หมายและระบบการบริหารจดั การการเรยี นรทู้ ั้งระบบ
2) การปรบั เปล่ยี นกระบวนทศั น์และทักษะครู
3) การปรับเปลี่ยนหลักสูตรและรปู แบบการเรยี นการสอน
หน่วยงานหลักที่ท�ำหน้าท่ีขับเคล่ือน : กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงวัฒนธรรม

74 วทิ ยาจารย์

การพัฒนาสู่ “แรงงาน 4.0” ที่มีความรแู้ ละทักษะสงู
พรอ้ มๆ กบั เร่ืองการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การปรบั เปล่ยี นและการพฒั นาทักษะและอาชีพ เป็นประเดน็ ทส่ี ำ� คญั เพอ่ื รองรับ

พลวตั ของโลกในศตวรรษที่ 21

ประเดน็ ปญั หาของแรงงานไทย
• แรงงานไทยมีผลิตภาพแรงงานตำ�่ โดยจัดอย่ใู นอนั ดบั ท่ี 56 จากทั้งหมด 61 ประเทศ
• ทักษะแรงงานอยู่ในระดับต�่ำกว่าความต้องการของผู้ประกอบการท้ังทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศ
การใชค้ อมพวิ เตอร์ คณติ ศาสตร์ / การคำ� นวณ ทกั ษะการสอ่ื สาร การบรหิ ารจดั การ ความสามารถเฉพาะในวชิ าชพี ฯลฯ
• มองทอดออกไปในอนาคตอันใกล้ ทักษะท่ีมีความส�ำคัญมากขึ้นในศตวรรษที่ 21 ประกอบไปด้วย
Cognitive Abilities, Systems Skill, Complex Problem Solving, Content Skills และ Process Skills ในขณะท่ี
ทกั ษะที่จะมีความสำ� คญั นอ้ ยลงในศตวรรษที่ 21 จะประกอบดว้ ย Social Skills, Resource Management Skills,
Technical Skill และ Physical Abilities ดังน้ัน หากไม่มีการปรับเปล่ียนและพัฒนาทักษะอาชีพ แรงงานไทยท่ีมี
ทักษะสูงและปานกลางที่มีอยใู่ นปัจจุบนั จะถกู ผลกระทบอยา่ งแน่นอน
• พร้อมๆ กนั นัน้ การปรบั เปล่ยี นไปสู่ Industry 4.0 จะทำ� ให้งานต่าง ๆ ทเี่ ป็น Routine / Repetitive Jobs
ซง่ึ สว่ นใหญ่จะท�ำโดยแรงท่ีมีทักษะต่ำ� ถึงปานกลางน้ัน จะคอ่ ยๆ ถูกแทนท่ดี ว้ ยหุน่ ยนต์ และ Automation

หนึ่งในยุทธศาสตร์ภายใต้ Thailand 4.0 คือ การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม และปรับเปลี่ยนแรงงาน
ให้สอดคล้องกับ Industry 4.0 ดังนั้นจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องด�ำเนินการ Reskilling Upskilling และ Multiskilling
ในแรงงานปจั จุบนั โดยเน้นการพัฒนาทกั ษะเพ่ือรองรับงานท่ี Non - Repetitive / Task Specific / Project – Based
Jobs มากขึน้

รฐั บาลจะวางระบบเพอ่ื บรู ณาการการศกึ ษา การฝกึ อบรม การพฒั นาอาชพี ใหค้ นไทยปรบั ตวั กบั การเปลยี่ นแปลง
และกำ� หนดเส้นทางชวี ติ สู่อนาคต โดยกำ� หนดเปา้ หมายไว้ 4 ประการ ดงั ต่อไปน้ี
1) ชว่ ยบุคคลให้รถู้ งึ ทางเลือกในการศึกษา ฝกึ อบรม และพัฒนาอาชีพ
2) พัฒนาระบบการศึกษา ฝกึ อบรม และพฒั นาทกั ษะให้ตอบสนองความตอ้ งการของภาคอุตสาหกรรม
3) สง่ เสริมการพัฒนาเสน้ ทางวิชาชีพบนพนื้ ฐานทักษะและความเชย่ี วชาญ
4) สร้างวัฒนธรรมการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต

โดยการสรา้ งโปรแกรมพัฒนาทักษะอาชีพใน 3 ระดบั

โปรแกรม “ในสถานศกึ ษา” โปรแกรม “ช่วงเริ่มตน้ การท�ำงาน” โปรแกรม “เสริมสร้างการเติบโตในอาชีพ”

อาทิ Education & Career Guidance, อาทิ Education & Career Guidance, อาทิ Education & Career Guidance,
Enhanced Internship, Individual Earn & Learning Program, Skill Sectoral Manpower Plan, Leadership
LearningPortfolioและYoungTalent Development Credit และ Individual Development Program, Skill Development
Program Learning Portfolio Credit และ Individual Learning Portfolio

หน่วยงานหลักท่ีท�ำหน้าท่ขี บั เคลอ่ื น : กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงอุตสาหกรรม

วทิ ยาจารย์ 75

กรอบยุทธศาสตร์ก�ำลังคนของประเทศ เพื่อยกระดับผลิตภาพของแรงงานท่ีมีความรู้และทักษะสูง
เพอ่ื ให้ Thailand 4.0 บรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ซงึ่ จะเปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ของการยกระดบั ผลติ ภาพของ
ประเทศ อันจะส่งผลต่อการยกระดับขีดความสามารถ
ที่จะต้องมีกรอบยุทธศาสตร์ก�ำลังคนของประเทศ ในการแขง่ ขนั ของประเทศในที่สดุ
(Manpower) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ “BrainPowerDevelopment”
เพ่ือพัฒนาและยกระดับแรงงานท่ีมีความรู้และทักษะสูง แรงงานคนไทยก�ำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน เพ่ือ
ทชี่ ดั เจนโดยเนน้ การบรหิ ารจดั การStock&Flowของแรงงาน ให้สอดรับกับนโยบาย Thailand 4.0 จ�ำเป็นท่ีจะต้องมี
ทมี่ คี วามรแู้ ละทกั ษะสงู ผา่ นกลไกของ Talent Development การทบทวนการใช้แรงงานทักษะต�่ำจากเพื่อนบ้าน เพ่ือ
และ Talent Mobility เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการกำ� ลังคน ผลักดันให้ผู้ประกอบการไทยปรับเปลี่ยนในทิศทางที่ใช้
ของประเทศในแต่ละช่วงขณะอาจจ�ำเป็นต้องใช้เครือข่าย เทคโนโลยีและแรงงานที่มีความรทู้ กั ษะสงู มากข้ึน
ตา่ งประเทศมาชว่ ยในเรอ่ื ง Talent Development พรอ้ มๆ กบั สรปุ การเตรียมคนไทย 4.0 จึงเปน็ การปรบั เปลีย่ น
เปดิ กวา้ งใหเ้ กดิ Free Flow ของ Talent Mobility ในทศิ ทาง กรอบความคิด (Mindset) ทักษะ (Skill-Set) และพฤตกิ รรม
ทีจ่ ะตอบโจทย์ความตอ้ งการของประเทศ (Behavior Set) ของคนไทยท้ังระบบ เพื่อให้คนไทย 4.0
มเิ พยี งเทา่ นนั้ จะตอ้ งทำ� ใหต้ ลาดแรงงานทมี่ คี วามรู้ มีความมัน่ ค่งั ม่ันคง และยงั่ ยนื อย่างแท้จริง
และทกั ษะสงู เปน็ ตลาดแรงงานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมคี วามยดื หยนุ่
เน้นการพัฒนาทักษะอาชพี อย่างต่อเนอ่ื ง พร้อมๆ กับการมี
ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ท่ีเหมาะสม เป้าหมาย

76 วิทยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 77

78 วทิ ยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 79

80 วทิ ยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 81

82 วทิ ยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 83

84 วทิ ยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 85

86 วทิ ยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 87

88 วทิ ยาจารย์

ดรรชนกี ีฬา

เมฆา

‘โปรเม’ มือ1โลก
สมศักด์ศิ รี ผงาดคว้าแชมป์

สร้างชื่อกระห่ึมโลกสมราคา โปรเม เอรียา จุฑานุกาล
สรา้ งประวตั ศิ าสตรว์ งการกฬี าและกอลฟ์ ของไทย ควา้ แชมป์
แมนไู ลฟ์ แอลพจี เี อ คลาสสกิ ทอ่ี อนตารโิ อประเทศแคนาดา
หลังเพลย์อ๊อฟชนะ 2 คู่แข่ง จากสหรัฐและเกาหลีใต้
ด้วยการพัดเบอร์รี่สุดสวยระยะ 25 ฟุต ก้าวข้ึนเป็น
นักกอล์ฟหญิงอันดับ 1 ของโลกอย่างสมศักด์ิศรี
รบั เงนิ รางวลั 8.9 ลา้ นบาท ดา้ นแมโ่ ปรโม และพสี่ าวรขู้ า่ ว
ร้องไห้กอดกันกลมดีใจท่ีโปรเมถึงฝั่งฝัน ขณะที่นายก
รัฐมนตรบี อกใหด้ ูเป็นตัวอย่างการตอ่ สฟู้ ันฝ่าอปุ สรรค
ฝากข้อคิดเชยี รไ์ ด้แตอ่ ย่าไปกดดัน

หลงั จากทตี่ อ้ งคาดหวงั การขน้ึ เปน็ นกั กอลฟ์ หญงิ มอื หนง่ึ ของโลก เนอ่ื งจากความผดิ พลาดในการคำ� นวณ
คะแนนของ แอลพีจีเอ ในท่ีสุดความพยายามก็ถึงฝั่งฝัน โดยเม่ือเช้าตรู่ ของวันที่ 12 มิถุนายนตามเวลา
ในประเทศไทย บรรดาสื่อไทยและต่างชาติพร้อมใจกันรายงานข่าว โปรเม เอรียา จุฑานุกาล นักกอล์ฟหญิง
ชาวไทยวยั 21 ปี อนั ดบั 2 ของโลก สรา้ งประวตั ศิ าสตรว์ งการกฬี าและกอลฟ์ ของไทยดว้ ยการกา้ วขน้ึ เปน็ มอื 1 ของโลก
ไดอ้ ยา่ งสมความภาคภมู ดิ ว้ ยการควา้ แชมปแ์ มนไู ลฟ์ แอลพจี เี อ คลาสสกิ ท ี่ Whistle Bay Golf Club เมอื งเคมบรดิ จ์
รัฐออนทารโี อ ประเทศแคนาดา ชงิ เงินรางวัลรวม 1.7 ล้านเหรียญสหรฐั หรอื ราว 60 ล้านบาท และใน 3 วนั แรก
ของการแขง่ ขนั เอรยี าทำ� ผลงานไมก่ ลา้ ใหแ้ ฟนคลบั ชาวไทยคาดหวงั วา่ จะควา้ แชมปไ์ ด้ ในรอบแรกจบระดบั 9 รว่ ม
ตามผู้น�ำอยู่ 3 Stroke ในวันท่ี 3 ก่อนจะมาอยู่อันดับ 20 ร่วม ตามผู้น�ำอยู่ 5 Stoke ในวันท่ี 2 อยู่อันดับ 4
ยงั ตามหลงั ผนู้ ำ� 3 Stoke กอ่ นทอี่ อฟวนั สดุ ทา้ ยเมอ่ื วนั อาทติ ยท์ ี่ 11 มถิ นุ ายน ตามเวลาในแคนาดา ตรงกบั วนั จนั ทรท์ ี่
12 มถิ ุนายน ตามเวลาในประเทศไทย โปรเม อยใู่ นกว๊ นรองสดุ ทา้ ย ท�ำได้ 4 เบอรด์ ี้ เสีย 1 โบกี้ จบด้วยสกอร์รวม
17 Under เทา่ กบั ศนู ย ์ ซนุ อนิ ก ี มอื อนั ดบั 5 ของโลกจากเกาหลใี ต้ ขณะทผ่ี นู้ ำ� คอื  Lexi Thompson มอื อนั ดบั 4 ของโลก
ทน่ี ง่ั อยดู่ ว้ ยสกอรร์ วม 17 Under ทำ� ได้ 3 Under ใน 9 หลมุ แรกจะมที ที า่ จะควา้ แชมปร์ ายการนไ้ี ปแลว้ ใน 9 หลมุ
หลัง Lexi Thompson เสีย 2 โบกี้ติดกัน ที่หลุม 12 และ 13 แต่ท�ำเบอร์ด้ีคืนได้สนุก 15 มีคะแนนน�ำโปรเม กับ
ซนุ อิน กี อยู่ 2 Stroke จนเขา้ สู่ 2 หลมุ สดุ ทา้ ย Lexi Thompson กับพัตต์พาร์ระยะใกลไ้ มล่ งทงั้ 2 หลมุ เสยี โบก้ี
จนท�ำให ้ Score เหลอื 17 Under เท่ากบั โรเมโอและ Uniquely ตอ้ ง Play Off หาผู้ชนะกนั 3 คน 

วทิ ยาจารย์ 89

มีการ Play Off ท่ีหลุม18 พาร์ 4 แม้โปรเมจะมีออฟไปตกในลาฟ
และท�ำให้ตกเป็นรองคู่แข่งขันทั้งสองแต่สามารถแก้ไขสวิงช้อต 2 ขึ้นไป
ออนกรีนในระยะที่ใกล้กว่า ในขณะที่ Lexi Thompson กับ ซุน อิน กี 
ตา่ งพตั ตเ์ บอรด์ พี้ ลาด โปรเมทพ่ี ตั ตเ์ ปน็ คนสดุ ทา้ ยจากระยะประมาณ 25 ฟตุ
สามารถพตั ตเ์ บอรด์ ลี้ งไปดว้ ยความตกตะลงึ แบบไมใ่ ชผ่ ลงานตวั เอง เหมอื นกบั
คนดทู ง้ั สนามทำ� ใหค้ วา้ แชมปแ์ รกในปนี สี้ ำ� เรจ็ จดั การลงแขง่ รายการท่ี13 LPGA
Tour 2017 จากการลงแขง่ รายการท่ี 13 LPGA Tour 2017 นับเปน็ แชมป์
แอลพีจีเอทัวร์และรายการท่ี 6 ของเจ้าตัวส่งให้ก้าวขึ้นเป็นมือ 1 ของโลก
อยา่ งสมศกั ดศ์ิ รอี กี ดว้ ย โปรเมเอรยี าจฑุ านกุ าลรบั เงนิ รางวลั จากการควา้ แชมป์
คร้ังนี้ 255,000 หรือราว 8.9 ล้านบาท ท�ำให้โปรเมกลับมาเป็นผู้ได้รางวัล
สะสมปี 2017 สูงสุดในขณะน้ีด้วยยอดเก้าแสนเจ็ดหม่ืนส่ีพันสองร้อย
เจด็ สบิ เกา้ เหรยี ญ หรอื ราว 34 ลา้ นบาท และมคี ะแนนเปน็ อนั ดบั 1 ใน Race
to CME Globe ซ่ึงเป็นการชิงอันดับ 1 ประจ�ำปีของแอลพีจีเอทัวร์ โดยมี
2,128 คะแนนตามมาด้วยอันดับ 2 Lexi Thompson 1,786 คะแนนและ
อันดับ 3 รวิ โซยอน จากเกาหลใี ต้ 1,695 คะแนน 
ดา้ นการประกาศผลการจดั อนั ดบั  Woman World Golf Ranking 
ประจ�ำวันที่ 12 มิถุนายน 2017 ปรากฏว่าอันดับ 1 ได้แก่ โปรเม เอรียา
จฑุ านุกาล มีคะแนนเฉล่ีย 8.78 คะแนน อันดับ 2 ลเิ ดียโค 8.34 คะแนน
อันดับ 3 ริว โซ ยอน เกาหลีใต้ 8.17 คะแนน อนั ดบั 4 Lexi Thompson
สหรฐั อเมรกิ า 7.47 คะแนน อนั ดบั 5 ซนุ อนิ กี เกาหลใี ต้ 7.13 คะแนน ทำ� ให้
โปรเม กา้ วขน้ึ สูก่ ารเป็นดับ 1 ของโลกอยา่ งเป็นทางการ กอ่ นหน้านี้ก็ไม่ขยบั
จากอันดับ 6 ข้ึนมาเป็นอันดับ 2 ตั้งแต่วันท่ี 1 สิงหาคม 2016 จากการ
ทไ่ี ดแ้ ชมปเ์ มเจอรว์ เิ คราะห ์ Woman BTS Open กอ่ นจะตกไปอยใู่ นอนั ดบั 3
เมอ่ื วนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2017 และกลบั ขึน้ เปน็ มืออันดับ 2 อีกครัง้ เม่ือวนั ท่ี
29 พฤษภาคม 2017 อีก 14 วนั ตอ่ มาก็ขึ้นเป็นอันดับ 1 ของโลกอย่างเปน็
ทางการหลงั เกดิ ความผดิ พลาดในการคำ� นวณคะแนนของ LPGA ทปี่ ระกาศวา่
เอรียาจะได้เป็นมือ 1 ของโลก จนส่ือมวลชนท่ัวโลกพากันประโคมขา่ วน้ี
ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ ลเิ ดยี โคยงั คงมคี ะแนนเฉลย่ี มากกวา่ เอรยี าอยู่ 0.01 คะแนน
ท�ำให้ LPG ต้องออกแถลงการณ์ช้ีแจงความผิดพลาด และในท่ีสุดโปรเม
ก็ก้าวข้ึนสู่ความเป็นอันดับหนึ่งของโลกด้วยการสร้างผลงานคว้าแชมป์แรก
ในปนี ไ้ี ดส้ ำ� เรจ็  

90 วทิ ยาจารย์

วทิ ยาจารย์ 91

นอกจากนี้โปรเม เอรียา จุฑานุกาล ยังเป็นมือ 1 ทที่ ำ� เนยี บรฐั บาล บา่ ยวนั เดยี วกนั พลเอก ประยทุ ธ์
ของโลก คนท่ี 10 นบั ต้ังแต่เรมิ่ มีการจัดอนั ดับโลกคร้งั แรก จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึง กรณีโปรเม เอรียา
เมื่อวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2006 โดย 9 คนก่อนหน้าน้ี คือ จฑุ านกุ าล นกั กอลฟ์ หญงิ ไทยควา้ แชมปก์ ารแขง่ ขนั ในรายการ
แอนนกิ า ซอเรนสแตม ชาวสวเี ดน ครองความเปน็ มอื 1 อยทู่ ่ี LPGA Classic ท่ีประเทศแคนาดา มีคะแนนสะสม
60สปั ดาห ์ Lorena Ochoa ชาวเมก็ ซกิ นั 158สปั ดาห์ชนิ จีแอ เป็นอนั ดับ 1 ของโลก ว่ามีความยนิ ดีกบั โปรเม ทีไ่ ดร้ ับการ
เกาหลีใต้ 25 สัปดาห์ ไอมิ ยา ซา โตะ ชาวญ่ีปุ่น 11 สัปดาห์ ประกาศเป็นมือ 1 ของโลก เรื่องกอล์ฟ ส่ิงส�ำคัญไม่ใช่แค่
ครสิ ต้ีเคอร์ชาวสหรฐั อเมรกิ า5สปั ดาห์เจง้ิ หยาวหนี่ชาวไตห้ วนั เรอ่ื งชนะอยากใหไ้ ปดวู า่ เขาสรา้ งตวั เองไดอ้ ยา่ งไรครอบครวั เขา
109 สัปดาห์ สเตซ้ี ลู อิส ชาวสหรัฐอเมริกา 25 สัปดาห์ ทมุ่ เทเสยี สละเทา่ ไหร่ พอ่ แมต่ อ้ งยากลำ� บากมากอ่ น ตอ้ งขอ
ปารค์ อนิ บ ี เกาหลใี ต้ 92 สปั ดาห์ และลเิ ดยี โค ชาวนวิ ซแี ลนด์ แสดงความยินดีกับโปรเม พ่อแม่และครอบครัวของเขา
104 สัปดาห์ นอกจากน้ียังท�ำให้ไทยเป็นชาติที่ 8 ที่มี ที่ประสบความส�ำเร็จในการทุ่มเทเสียสละยากล�ำบาก
นกั กอลฟ์ หญงิ ข้ึนเปน็ มือ 1 ของโลก และเปน็ นกั กอลฟ์ หญิง ตลอดระยะเวลาทผ่ี า่ นมาทราบมาวา่ ตอนแรกถงึ ขนาดเอาบา้ น
เอเชยี คนที่ 5 ทีข่ น้ึ สูอ่ ันดับสงู สุดน ้ี ไปจำ� นอง วนั นเ้ี ขากลบั มาแลว้ เรากเ็ ปน็ กำ� ลงั ใจให้ แตอ่ ยา่ ไป
โปรเม เอรียา จฑุ านุกาล ใหส้ มั ภาษณ์ส่อื มวลชน กดดัน เราดีใจเสมอ เพราะเป็นขวัญใจของไทยอยู่แล้ว
หลังจบการแข่งขันว่า ไม่ได้คาดหวังจะได้แชมป์รายการน้ี รวมถึงน้องเมย์ รัชนก อินทนนท์ นักแบดมินตันของไทย
แตบ่ อกตวั เองวา่ ใหอ้ อกไปเลน่ ใหส้ นกุ ทงั้ 4 วนั คดิ เพยี งตอ้ ง ตอ้ งใหก้ ำ� ลงั ใจเขาวา่ อยา่ งนอ้ ย เขากท็ ำ� ใหพ้ วกเรามคี วามสขุ  
ตง้ั ใจทง้ั ยงั กลา่ วถงึ ผลงานกอ่ นหนา้ นว้ี า่ ฤดกู าลนไ้ี ดร้ องแชมป์  
มาหลายรายการ ไม่ได้หมายความว่าตัวเองเล่นได้ไม่ดี ประวัติ โปรเม เกิดวันที่ 23 พฤศจิกายน 2538
แตม่ คี นอนื่ ทำ� ไดด้ กี วา่ สว่ นการขน้ึ เปน็ มอื 1 ของโลกคงตอ้ ง เปน็ คนกรงุ เทพมหานคร เปน็ ลกู สาวคนเลก็ ของนายสมบรู ณ์
รอประกาศอย่างเป็นทางการ ส่วนตัวไม่ได้ค�ำนึงถึงเรื่องน้ี และนางนฤมล จุฑานุกาล ส่วนพีส่ าวชื่อ โมรียา จุฑานุกาล
เทา่ ไหร่ ตงั้ ใจแคอ่ ยากออกไปตีกอลฟ์ ใหส้ นุก หรอื โปรโม จดุ เรมิ่ ตน้ ของการเลน่ กอลฟ์ ในวยั เดก็ ของ “โปรเม”
  ขณะอายุ 5 ขวบครงึ่ นายสมบรู ณผ์ เู้ ปน็ บดิ า เปดิ รา้ นโปรชอ็ ป
หลังมอบถ้วยรางวัลและให้สัมภาษณ์แล้ว โปรเม ขายอุปกรณ์กอล์ฟ กลัวลูกสาวจะกวนเลยยื่นไม้กอล์ฟให้
เดนิ ทางดว้ ยรถยนตข์ า้ มชายแดนประเทศแคนาดากบั สหรฐั อเมรกิ า หนึ่งอัน เพ่ือให้เด็กหญิงทั้งคู่ไปเข่ียลูกกอล์ฟเล่นที่สนาม
มีเลส ลูอารค์  แคนดคี้ ใู่ จเปน็ โชเฟอรข์ บั มงุ่ หนา้ ไปทร่ี ฐั มชิ แิ กน ท�ำให้มีโปรกอล์ฟที่เดินไปเดินมาเห็น เอ็นดูเลยช่วยสอน
ท่ีมีนางนฤมล ศรีวัฒนาสุข และโปรโม เอรียา จุฑานุกาล นบั เปน็ จดุ เร่ิมนกั กอล์ฟมอื 1 ของโลกคนปจั จบุ นั แต่กว่าจะ
พสี่ าวขน้ึ เครอ่ื งบนิ จากรฐั ฟลอรดิ าไปรออยเู่ พอื่ เตรยี มลงแขง่ ฟนั ฝา่ อปุ สรรคทงั้ หลายได้ ครอบครวั ตอ้ งทมุ่ เทเงนิ ขายบา้ น
ในรายการเมเจอรแ์ อลพจี เี อคลาสสคิ ฟอร์ ซมิ ไพ กฟิ  ทเ่ี มอื ง ขายรถรวมกวา่ 20ลา้ นบาทเพอื่ ทำ� ตามความฝนั ของผเู้ ปน็ บดิ า
แกรนด์แรฟิดส์ รัฐมิชิแกน ระหว่างวันที่ 15 ถึง 18 มิถุนายน ทตี่ อ้ งการเหน็ บตุ รสาวทงั้ คขู่ นึ้ เปน็ นกั กอลฟ์ มอื 1 ของโลก
โปรเมเดินทางมาถึงเม่ือเวลาประมาณ 10.00 น. เวลา หรอื อยา่ งนอ้ ยตอ้ งตดิ 1ใน10สรา้ งความภาคภมู ใิ จให้คนไทย
ในประเทศไทยพรอ้ มกบั รบั ทราบขา่ วการประกาศผลการจดั ท้ังประเทศ สุดท้ายความฝันดงั กลา่ วกก็ ลายเปน็ ความจรงิ
อันดับโลกอย่างเป็นทางการในอกี ไมก่ น่ี าทีต่อมา สรา้ งประวตั ศิ าสตรใ์ หค้ นไทยชมในความสำ� เรจ็ ของครอบครวั
  “จุฑานุกาล”
อา้ งองิ https://www.thairath.co.th/content/970900
92 วทิ ยาจารย์

พิชติ การออม

Money Man

ออมอย่างไรให้เงินงอกเงย :

ออมในกองทนุ ใหง้ อกเงย
ฉบับปัจฉมิ บทมนษุ ย์เงินเดือนลงทุน LTF

จากฉบับที่แล้ว เราได้รู้จักกับ LTF อย่างท่ีได้ทราบไปแล้วว่า กองทุน LTF เป็นกองทุนรวมหุ้น
ไปแลว้ นะครบั วา่ LTF คอื อะไร มเี งอ่ื นไข ระยะยาว ทเ่ี นน้ ลงทนุ ในหนุ้ สามญั ไมน่ อ้ ยกวา่ 65 % ของมลู คา่ ทรพั ยส์ นิ
ในการลงทุนเปน็ อย่างไรบา้ ง สำ�หรับ สุทธิของกองทุน นน่ั หมายความวา่ เงนิ ลงทนุ สว่ นใหญ่จะนำ� ไปลงทนุ
ในครั้งนี้เราจะมีรู้จักกองทุน LTF ในหุ้นสามญั เปน็ หลกั ดงั น้นั ความเสยี่ งจึงมมี ากกว่ากองทุนประเภทท่ี
ให้มากขึ้น และวิธีเลือกกองทุน LTF ลงทนุ ในหนุ้ สามญั เปน็ สว่ นนอ้ ย แตข่ อ้ ดกี ค็ อื เรามโี อกาสไดผ้ ลตอบแทน
และการกระจายความเสย่ี งในการลงทนุ ที่มากกว่าน่ันเอง แต่ความเสี่ยงนี้ก็สามารถจ�ำกัดความเส่ียงได้ด้วย
LTF นะครับ การศกึ ษาหาข้อมลู ของกองทุนทเ่ี ราจะลงทุนให้ละเอยี ดรอบคอบก่อน
การลงทนุ กจ็ ะชว่ ยให้เราลดความเส่ียงได้ในระดับหนงึ่

วทิ ยาจารย์ 93

ก่อนจะลงทุนใน LTF ต้องค�ำนึงถึงผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุน มากกว่าผลตอบแทนที่ได้จาก
การลดหยอ่ นภาษี เพราะเปา้ หมายทแ่ี ทจ้ รงิ ของการลงทนุ ในกองทนุ คอื การทเ่ี ราหวงั วา่ จะไดร้ บั ผลตอบแทน
ทมี่ ากกวา่ การฝากเงนิ ในธนาคาร และการลงทนุ ในกองทนุ LTF ทำ� ใหเ้ ราไดผ้ ลตอบแทนเพมิ่ ขน้ึ มาในรปู แบบ
ของเงินที่สามารถน�ำไปลดหย่อนภาษีเงินได้ หรือเงินท่ีได้จากการขอคืนภาษี ไม่ใช่ต้ังเป้าหมายจะลงทุน
ในกองทุน LTF เพียงเพราะอยากได้ผลตอบแทนจากเงินคืนภาษี เพราะถ้าต้ังเป้าหมายเพียงแค่อยากได้
เงนิ คนื ภาษีแล้ว เราได้เงินภาษีคืน แต่ขายขาดทุน ก็จะท�ำให้การลงทุนของเราไม่คุ้มค่ากับเงินท่ีลงทุนไป
ดงั นนั้ กอ่ นลงทุน เราควรเลือกกองทุน LTF โดยเบื้องต้นก่อนว่าลงทุนในกองทุนไหนแล้วได้ผลตอบแทน
คุ้มค่ากับการลงทนุ
ส�ำหรับวิธีการที่ง่ายท่ีสุดของผู้เขียน ในการไปดูผลตอบแทนย้อนหลังของกองทุนรวม ผู้เขียนจะ
เขา้ ไปในเวบ็ ไซต์ ของ www.morningstarthailand.com และ www.wealthmagik.com ซง่ึ ไดร้ วบรวมขอ้ มูล
ของกองทุนประเภทต่างไว้ๆ (ท้ังน้ีผู้เขียนไม่ได้มีส่วนได้เสียในการโฆษณาเว็บไซต์ดังกล่าว แต่อยากให้
เครดิตกับแหล่งข้อมูลท่ีเราศึกษามาเพียงเท่าน้ัน) ในครั้งน้ีผู้เขียนขอยกตัวอย่างข้อมูลจากเว็บไซต์ของ
www.morningstarthailand.com ซง่ึ เป็นตัวอยา่ งตารางผลตอบแทนย้อนหลังของกองทนุ รวม LTF

Name Morningstar 3 Yr YTD 1 Yr 3 Yr 5 Yr 10 Yr
Rating Overall Volatility Return % Anlsd % Anlsd % Anlsd % Anlsd %
กองทุนเปดิ ภทั ร ห้นุ ระยะยาวปนั ผล
10.49 2.47 20.47 13.11 11.29 15.09

กองทุนเปิด บรรษัทภบิ าล หนุ้ ระยะยาว 10.74 2.65 20.87 8.8 10.26 15.37

กองทุนเปิด ฟลิ ลปิ หนุ้ ระยะยาว 10.25 2.48 18.27 7.53 8.37 11.91

กองทุนเปิด แมนูไลฟ์ สเตรง็ ค์ คอร์ หุน้ ระยะยาว 9.38 3.10 18.45 8.97 10.21 12.99

กองทนุ เปดิ ยูโอบี หุ้นระยะยาว 9.31 2.79 23.37 10.33 8.52 12.24

กองทุนเปิด แวลพู ลสั ปันผล หุ้นระยะยาว 9.67 3.11 24.06 10.78 9.66 14.61

กองทุนเปดิ กรงุ ศรีหนุ้ ระยะยาวปนั ผล 8.88 2.68 23.02 6.09 5.60 12.99

กองทนุ เปดิ กรุงศรีหุ้นระยะยาวอคิ วิต้ี 10.55 1.25 30.86 12.57 10.13 11.17

กองทุนเปดิ กรงุ ศรีหุ้นระยะยาวแอค็ ทฟี SET50 ปันผล 10.57 3.83 25.94 12.21 9.08 10.54

กองทุนเปดิ บัวหลวงหุน้ ระยะยาว 8.32 1.69 13.08 9.08 7.00 12.59

กองทุนเปิดบวั หลวงหุ้นระยะยาว 75/25 6.84 1.15 10.89 8.08 5.77 10.99

กองทนุ เปดิ เอม็ เอฟซเี พมิ่ ค่าหุน้ ระยะยาว 8.56 2.31 21.46 8.07 9.43 12.9

หมายเหตุ : ขอ้ มลู จาก http://www.morningstarthailand.com

94 วิทยาจารย์

จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ เปน็ การนำ� ขอ้ มลู การจดั อนั ดบั กองทนุ LTFจากเวบ็ ไซต์
ของบรษิ ทั Morningstar ทรี่ วบรวมขอ้ มลู ของกองทนุ รวม LTF พรอ้ มกบั มกี ารจดั
อันดับกองทุน LTF ที่น่าสนใจไว้ ในท่ีนี้ผู้เขียนเลือกให้เรียงล�ำดับข้อมูล
ตาม Morningstar Rating Overall ซึง่ เปน็ การใหร้ ะดบั ดาว โดยระดับ 5 ดาว
และ 4 ดาว เป็นระดับท่ีน่าลงทุนมากท่ีสุด ส่วน 3 Yr Volatility เป็นค่า
ความผนั ผวนในชว่ ง3ปที ผ่ี า่ นมาสว่ นคอลมั นถ์ ดั ไปดา้ นขวามอื เปน็ ผลตอบแทน
ย้อนหลัง (1 ปี, 3 ปี, 5 ปี, 10 ปี) โดยจะเป็นผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปีทบต้น
จากตารางขา้ งตน้ กองทนุ เปดิ ภทั ร หนุ้ ระยะยาวปนั ผล เปน็ กองทนุ ทนี่ า่ ลงทนุ
มากท่ีสุด เม่ือได้ข้อมูลตรงน้ีแล้ว เราก็ไปศึกษาในรายละเอียดของกองทุน
อกี กไ็ ดว้ า่ กองไหนลงทนุ ขน้ั ตำ่� เทา่ ไร มปี นั ผลหรอื ไมม่ ปี นั ผล ซงึ่ กองทนุ ทม่ี ปี นั ผล
ส่วนใหญ่ก็จะมีค�ำว่า ปันผล อยู่ด้วย แล้วจะซ้ือแบบไหนหล่ะ ปันผลหรือ
ไมป่ นั ผลดี ในประเดน็ นก้ี ม็ หี ลายๆ คนใหม้ มุ มองขอ้ ดขี อ้ เสยี ไวต้ า่ งกนั สำ� หรบั
ผู้เขียนเองชอบกองทุนที่มีปันผลมากว่า เพราะมองว่าเราได้เงินสดกลับมา
ลงทนุ เพม่ิ หรือนำ� มาใช้ไดร้ ะหว่างท่ีรอครบกำ� หนดขาย

วทิ ยาจารย์ 95

สรปุ ขน้ั ตอนง่ายๆ ในการลงทนุ ในกองทนุ LTF กค็ ือ
ค้นหาขอ้ มลู กองทนุ LTF ที่ให้ผลตอบแทนในระยะยาว คมุ้ ค่ากบั การลงทนุ โดยเข้าไป
ค้นหาท่ี www.morningstarthailand.com หรือ www.wealthmagik.com ส�ำหรับ
ความเห็นส่วนตัวผมเองนะครับ ผมก็จะเลือกกองทุนท่ี Morningstar ให้ระดับดาวไว้
5 ดาว หรอื 4 ดาว แลว้ มาดูวา่ ของบรษิ ัทไหนสะดวกใกล้เรามากทสี่ ุด ก็จะเลือกของ
บรษิ ทั หลักทรพั ยน์ น้ั ๆ
เม่ือเราเลือกได้แล้วว่ากองทุนไหนที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่า และเหมาะสมกับเรา ก็ไป
เปิดบัญชีซื้อขายกองทุน หรือง่ายที่สุด เราค้นหาเบอร์โทรจาก google เลยครับว่า
เราต้องเตรยี มเอกสารอะไรไปบา้ ง หรอื เดนิ ทางไปทธี่ นาคารทเี่ ราตอ้ งการซอื้ ขายกองทนุ
ได้เลยครับ
วางแผนการลงทุนแบบเฉล่ียต้นทุน อย่าซื้อด้วยเงินก้อนครั้งเดียว เพ่ือกระจาย
ความเสยี่ งในการลงทนุ เชน่ ในปี2561เราคดิ วา่ จะลงทนุ ในกองทนุ LTFทงั้ หมด10,000บาท
เราก็แบ่งซ้ือเดือนละคร้ัง หรือสองเดือนคร้ัง เพื่อลดต้นทุนเฉล่ียของเราให้ต�่ำลง และ
กระจายความเสย่ี ง ทง้ั นต้ี อ้ งดเู งอ่ื นไขของกองทนุ นน้ั ๆ ดว้ ยวา่ กำ� หนดการซอื้ ขายขน้ั ตำ่�
ไว้ก่ีบาท ส่วนใหญก่ ำ� หนดไวท้ ี่ 500 – 2,000 บาท
ตอนต้นปีช่วงเดือนมกราคมของปีถัดไปจากท่ีเราซื้อกองทุน บริษัทหลักทรัพย์จัดการ
กองทุนที่เราซื้อ จะส่งหนังสือรับรองการซื้อหน่วยลงทุน LTF ของเรา ก็ให้เก็บไว้ให้ดี
เพ่อื นำ� ไปประกอบการย่ืนภาษี เพ่อื ขอเงินคืนภาษี
ช่วงเวลาในการขายกองทุน ก็เป็นช่วงเวลาที่ส�ำคัญไม่ต่างกับเวลาท่ีซ้ือกองทุนเช่นกัน
ถา้ ในปที เี่ ราขายกองทนุ เปน็ ปที เี่ ศรษฐกจิ ไมด่ ี ตลาดหนุ้ ตกตำ�่ แบบนน้ั กอ็ ยา่ เพง่ิ ขายครบั
ควรชะลอการขายออกไปกอ่ น เพอื่ ใหเ้ ราไดก้ ำ� ไรทม่ี ากขนึ้ ในตอนขายเรากค็ วรทยอยขาย
ถา้ เราไมแ่ นใ่ จวา่ เราขายไดเ้ ทา่ ไร จงึ จะไมผ่ ดิ เงอ่ื นไขทางภาษี กส็ ามารถโทรไปสอบถาม
ที่บริษทั หลกั ทรัพยจ์ ัดการกองทุนได้

เป็นอย่างไรบ้างครับ การลงทุนในกองทุน LTF ไม่ได้ยากอย่างที่เราคิดเลยนะครับ เพราะเราอยู่ในโลกยุคที่ข้อมูล
ขา่ วสารไรพ้ รมแดน สามารถคน้ หาไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายจากโทรศพั ทม์ อื ถอื ของเรา ดงั นน้ั การลงทนุ กไ็ มไ่ ดย้ ากเชน่ กนั ขอเพยี งแค่
เราสนใจและใส่ใจท่ีจะหาข้อมูล หาความรู้กับสิ่งท่ีเราจะลงทุน ผลตอบแทนหรือก�ำไรที่เราหวังไว้ ก็ไม่ยากเกินกว่าที่เราจะ
เออ้ื มถงึ สำ� หรบั ในฉบบั หนา้ เราจะมาพดู ถงึ การลงทนุ ในกองทนุ อกี ประเภทหนงึ่ ทน่ี ำ� มาลดหยอ่ นภาษไี ดน้ ะครบั ซง่ึ เราสามารถ
เลือกรูปแบบการลงทุนได้หลายอย่าง ไม่ได้เน้นเฉพาะลงทุนในหุ้นเหมือนอย่าง LTF แต่จะเป็นกองทุนลดหย่อนภาษีที่มี
รูปแบบการลงทุนที่หลากหลาย มีท้ังรูปแบบท่ีเน้นลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งคนท่ีต้องการความเสี่ยงน้อย
กส็ ามารถเลอื กลงทนุ ในกองทนุ เหลา่ นไ้ี ด้ หรอื คนทช่ี อบกองทนุ แบบผสมผสานทลี่ งทนุ ในพนั ธบตั รรฐั บาลครงึ่ หนงึ่ ลงทนุ ในหนุ้
อกี ครงึ่ หนง่ึ กม็ ใี หเ้ ลอื กเชน่ กนั แตถ่ า้ ใครยงั ชอบกองทนุ ลงทนุ ในหนุ้ เพอ่ื หวงั ผลตอบแทนทม่ี ากขนึ้ และสามารถนำ� มาลดหยอ่ น
ภาษไี ด้ กม็ ใี หเ้ ลอื กดว้ ยเชน่ กนั ครง้ั หนา้ เราจะไดม้ ารจู้ กั กองทนุ ทนี่ ำ� ไปลดหยอ่ นภาษไี ดอ้ กี ประเภทหนงึ่ นนั่ คอื กองทนุ RMF ครบั

96 วทิ ยาจารย์

IT Hero

Teacher COMP

E-Sports
อาชพี เทรนดใ์ หม่

ในฝนั เดก็ ไทย

เน่ืองจากกระแสของวงการเกมเข้ามามีบทบาทต่อเยาวชนไทยมาหลายยุคหลายสมัย
จากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั ทำ�ใหเ้ กดิ ปญั หาเดก็ ตดิ เกม ซง่ึ การเลน่ เกมมมี มุ มองหลายดา้ ยซง่ึ มที ง้ั
ดีและไม่ดีปะปนกันไป บางเกมอาจจะมีเน้ือหารุนแรงต่อเด็กและเยาวชน ทำ�ให้เกิดปัญหา
การเลยี นแบบตวั ละครในเกมทำ�ใหเ้ กดิ ปญั หาในสงั คมและเกดิ กระแสดา้ นลบตอ่ การเลน่ เกม
แตก่ ม็ เี กมบางชนดิ ทตี่ อ้ งใชก้ ารวางแผน การคดิ การทำ�งานเปน็ ทมี เพอื่ การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ
เพื่อให้ทีมชนะ ทำ�ให้ผู้เล่นได้ใช้ความคิดในการวางแผนและตัดสินใจให้ทันต่อสถานการณ์
และแก้ไขปัญหาได้ทัน และเนื่องจากเกมในปัจจุบันเป็นเกมที่สามารถเล่นได้ทั่วโลก ทำ�ให้
การสอ่ื สารภายในเกมตอ้ งใชภ้ าษาองั กฤษสอ่ื สารภายในเกม ทำ�ใหผ้ เู้ ลน่ สว่ นใหญไ่ ดฝ้ กึ ใช้
ภาษาอังกฤษในการส่ือสาร ทำ�ให้ผู้เล่นได้ใช้ภาษาในการสื่อสารและเป็นการฝึกใช้ภาษา
ไปดว้ ยในตวั ทำ�ใหผ้ เู้ ลน่ บางคนจากทไ่ี มเ่ คยสอ่ื สารภาษาองั กฤษสามารถเรยี นรแู้ ละใชภ้ าษา
ในการส่ือสารได้อยา่ งดี

วิทยาจารย์ 97

กระแสอสี ปอรต์ (E-Sports) ในเมอื งไทยเรยี กไดว้ า่
อยรู่ ะหวา่ งขาขน้ึ เพราะมหี ลายกลมุ่ เรม่ิ เดนิ หนา้ เขา้ สรู่ ะดบั โลก
แม้แต่การแข่งขันในประเทศก็ยังถือได้ว่าร้อนแรงไม่แพ้กัน
แต่ละเกมก็เริ่มด้วยการจัดการแข่งขันชิงเงินรางวัลกัน
หลายเกม ซง่ึ ผลดตี กมาอยกู่ บั บรรดาเกมเมอรท์ ง้ั หลาย และ
ได้รับมุมมองไปในเชิงบวกต่อวงการอีสปอร์ตด้วย เรียกว่า
การแขง่ ขนั มขี อ้ ดที คี่ าดไมถ่ งึ เลยทเี ดยี ว “E-Sports เกม กฬี า
ธรุ กจิ และเดก็ ไทย” เรากต็ อ้ งยอมรบั วา่ ในทกุ วงการมนั ยอ่ มมี
ทั้งที่ดีและไม่ดีปะปนกันไป แต่จะท�ำอย่างไรให้สิ่งท่ีดีๆ
มีความเข้มแข็ง และสามารถมองเห็นประโยชน์ที่ได้รับ
มากกวา่ โทษ การลบลา้ งอคตทิ ม่ี ตี อ่ เกมใหห้ มดไปมนั ทำ� ยาก
เพราะฉะนนั้ การทำ� ดเี พอ่ื ลบภาพไมด่ มี นั จะงา่ ยกวา่ แนน่ อนวา่
เราต้องหาอะไรบางอย่างเพื่อพัฒนาให้วงการเกมเดินไป
ในทางทถ่ี กู ตอ้ งซงึ่ ณตอนนส้ี งิ่ ทเี่ หน็ ภาพชดั ทสี่ ดุ นนั่ คอื คำ� วา่
E-Sports ซง่ึ เมอื่ ไมน่ านมานไ้ี ดม้ ผี ลการประชมุ คณะกรรมการ
การกีฬาแห่งประเทศไทย (บอร์ด กกท.) คร้ังท่ี 7/2560
ออกมาอยา่ งเปน็ ทางการแลว้ วา่ เหน็ ชอบประกาศ
ให้ อีสปอร์ต (E-Sports) เป็นชนิดกีฬาที่
สามารถจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬาได้
ตามพระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหง่ ประเทศไทย
พ.ศ.2558เรยี กไดว้ า่ เปน็ อกี หนง่ึ ความกา้ วหนา้
ของประเทศไทยก็ว่าได้ เพราะจากน้ีไป
เราจะสามารถจดั ตงั้ ทมี E-Sports เพอ่ื เขา้ ไป
แขง่ ขนั ในระดบั โลกไดอ้ ยา่ งเปน็ ทางการและ
ได้รับการสนับสนุนจากทางภาครัฐ
อย่างแนน่ อน

98 วทิ ยาจารย์


Click to View FlipBook Version