The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-07 03:06:48

วารสารวิทยาจารย์ ปีที่ 117 ฉบับที่ 2 เดือนธันวาคม 2560

2 วิทยาจารย์ ธันวาคม 2560

บทบรรณาธิการ

สวัสดีท่านสมาชิกทุกท่านครับ เข้าสู่เดือนสุดท้ายของปี 2560
ท่านที่ตั้งเปา้ หมายทำ� ส่งิ ใดในปี 2561 ทีจ่ ะถงึ น้ี ขอเป็นกำ� ลงั ใจให้ทกุ ทา่ น
ท�ำส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ต้ังไว้นะครับ วารสารวิทยาจารย์ก็เช่นกัน
เรามีเป้าหมายท่ีจะเพิ่มความเข้มข้นของเน้ือหาสาระในแวดวงวิชาชีพ
ทางการศึกษา อันจะเป็นองค์ความรู้ทางวิชาชีพให้สมาชิกน�ำไปปรับใช้
ในการประกอบวิชาชีพ เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อศิษย์ซ่ึงเป็นก�ำลังส�ำคัญ
ในการพฒั นาประเทศต่อไป

วันที่ 5 ธันวาคม ท่ีเราทราบกันดีว่าเป็นวันพ่อแห่งชาติ นั้น
นับตงั้ แต่ปี 2560 เปน็ ตน้ ไป วันที่ 5 ธันวาคม เปน็ วันสำ� คัญของชาติ
โดยทปี่ ระชมุ คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตริ บั ทราบการลงนามรบั สนองพระราชโองการ
ในประกาศสำ� นักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกำ� หนดวันส�ำคัญของชาติไทย
ตามทที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหก้ ำ� หนด วนั ที่ 5 ธนั วาคม
ของทกุ ปี เปน็ วนั สำ� คญั ของชาติ คอื เปน็ วนั คลา้ ยวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
เป็นวันชาติ และเป็นวันพอ่ แหง่ ชาติ และใหเ้ ป็นวันหยดุ ราชการ

สกปู๊ พเิ ศษฉบบั น้ี เสนอ “รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั รี ตอนท่ี 3” (ดร.สมศักดิ์ ดลประสทิ ธ)์ิ
ซงึ่ เปน็ ตอนสดุ ทา้ ย โดยนำ� เสนอประวตั แิ ละรปู แบบการสอนของครทู ไี่ ดร้ บั บรรณาธิการ
รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั รี ประจำ� ปี 2560 อกี 5 ประเทศ คอื เมยี นมา
ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ติมอร์-เลสเต และเวียดนาม เพื่อให้เพ่ือนครูและ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้ศึกษาเป็นแบบอย่าง และเป็น
แรงบนั ดาลใจในการปฏิบตั ิหน้าทีต่ ่อไปครับ

หากท่านใดมีข้อเสนอแนะติชมเก่ียวกับวารสารวิทยาจารย์ หรือหากเป็นประเด็นอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการท�ำงาน
ของคุรุสภา ก็สามารถแลกเปล่ียนซักถามเข้ามาได้ เพราะเป็นหน้าท่ีหลักของวิทยาจารย์ที่จะอยู่เคียงข้างครูและ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาครับ และท้ายสุดนี้ ขอรว่ มส่งความสุข ส่งทา้ ยปเี กา่ ต้อนรับปีใหม่ ทุกท่านครับ

ขอเชิญรว่ มสง่

บทความ เรือ่ งสั้น บทกวี
เกย่ี วกับการประกอบวิชาชพี ครูและบุคลากรทางการศึกษา

เพือ่ เผยแพร่ในวารสารวิทยาจารย์ โดยสามารถสง่ ผลงาน ได้ดงั นี้

1. e-mail : [email protected]
2. ไปรษณีย์ : กองบรรณาธกิ ารวารสารวิทยาจารย์ สำ�นักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา

128/1 ถนนนครราชสีมา แขวงดสุ ติ เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300
3. โทร. / โทรสาร : 0 2282 1308

ผลงานที่สง่ มาน้นั ต้องมไิ ดล้ อกเลยี น ดดั แปลงงานของผ้อู นื่
ผลงานทไี่ ดร้ บั คดั เลอื กเผยแพร่ จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนตามทก่ี องบรรณาธิการก�ำ หนด

วิทยาจารย์ 1

วารสารเพ่อื การพัฒนาวชิ าชพี ครู ปีท่ี 117 ฉบบั ท่ี 2 เดือนธนั วาคม 2560

01 บทบรรณาธกิ าร... 33
04 สกู๊ปพเิ ศษ...

รางวัลสมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจกั รี ครง้ั ท่ี 2 ปี 2560
ตอนที่ 3

10 นิเทศการศกึ ษา
ยอ้ นรอยอดตี ศึกษานเิ ทศก์ เม่ือคราแรกเร่ิม

อาจารย์สเุ ทพ โชคสกุล

15 โรงเรียนดี โครงการเดน่ ... 33 บรหิ ารการศึกษา...

นวตั กรรม “บา้ นแสนสขุ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ข้อสอบแบบอตั นยั
พัฒนาตนเองไปสู่ความส�ำเร็จ” ของโรงเรียน
มัธยมศรสี าํ เภาลูน 38 วิชาการอา่ นงา่ ย...

20 การปฏริ ูปการศึกษา : พัฒนาวชิ าชพี ครู

43 เรือ่ งสั้น

จากวังตาเพชร ถงึ บ้านจระเขใ้ หญ่

20 เรยี นรอบตัว... 46 วชิ าการบันเทงิ ...

กระบวนทัศน์การจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เขาวา่ เดก็ ชาวยวิ เกง่ ...เขาเกง่ เพราะใคร
“STARs 5H Model” ของโรงเรียนอนุบาล
พระสมทุ รเจดีย์ จงั หวัดสมุทรปราการ ตอนที่ 2 49 วิจัยนา่ รู้
56 หน่งึ โรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม
25 พุทธศาสนา... 65 ประสบการณ.์ ..

วาทะพระบรมครู เรือ่ ง บนั ทกึ ถงึ ดวงดาว 87
การลา้ งวาทะเร่อื งตบะ ตอนที่ 1
69 บทความพเิ ศษ...
29 ประโยคสญั ลักษณ.์ ..
ผเู้ รยี น : เปา้ หมายสาํ คญั ในการพฒั นาคณุ ภาพคน
ประโยคสัญลกั ษณท์ ่ี 67 เพ่อื การขบั เคล่ือนประเทศไทย ยคุ 4.0
หมีขัว้ โลกตัวสดุ ท้าย!

2 วิทยาจารย์

72 หอ้ งเรยี นวิชาการ กองบรรณาธิการ

ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา เพอื่ เตรยี มนักเรียน (กทม.) ทีป่ รึกษา :
รองรบั Thailand 4.0 ตอนท่ี 1
คณะกรรมการคุรสุ ภา
77 เรือ่ งส้ัน ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์
ดร.ทนิ สริ ิ ศริ ิโพธ์ิ
คําสญั ญาของลูกชายคนท่ี 2 นายไพบูลย์ เสยี งกอ้ ง
นางสาวจไุ รรัตน์ แสงบุญนำ�
82 รักษ์ไทย นายธรี วฒุ ิ ทองโอษฐ์
นายดำ�รง พลโภชน์
ตี่จบั นายยุทธชยั อตุ มา

85 IT Hero... ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ/นักวชิ าการประจำ� :

ออกแบบ Infographic อย่างไรใหป้ ัง!!! ศ.กิตตคิ ณุ สมุน อมรวิวัฒน์
รศ.ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่
89 ดรรชนกี ีฬา... รศ.ดร.สนานจิตร สคุ นธทรัพย์
รศ.ดร.สมศักดิ์ คงเที่ยง
8 ท่าโยคะลดพุง สาํ หรับสาววัย 30 ขนึ้ ไป รศ.ดร.พรพิพัฒน์ เพิ่มผล
พุงหาย แถมช่วยคลายปวดหลงั ! รศ.ดร.กล้า ทองขาว
รศ.ดร.สุขมุ เฉลยทรัพย์
93 พชิ ิตการออม... รศ.ดร.มนสชิ สิทธสิ มบูรณ์
ดร.ประพฒั น์พงศ์ เสนาฤทธิ์
ออมในกองทนุ ใหง้ อกเงย ฉบบั มนษุ ยเ์ งนิ เดอื น ลงทนุ RMF ภาค 1 ดร.ปฐมพงศ์ ศภุ เลิศ
ดร.จักรพรรดิ วะทา
97 เรอื่ งสั้น ดร.พลสัณห์ โพธ์ศิ รีทอง
บรรณาธกิ าร : ดร.สมศกั ด์ิ ดลประสทิ ธิ์
ขอทานในอนุสาวรยี ช์ ยั สมรภูมิ หวั หนา้ กองบรรณาธกิ าร :
นางราณี จีนสทุ ธิ์
102 รองหัวหน้ากองบรรณาธิการ :
นายจนั ทรย์ งยุทธ บญุ ทอง
102 ตระเวณเทย่ี ว ประจำ�กองบรรณาธกิ าร :
นางภัทราวรรณ ประกอบใน
“รอยไทยในพระตะบอง” นางจริ ภฎา ทองขาว
นางสาววินีตา รังสิวรารกั ษ์
110 ยำ� สามกรอบ... นางสาวธญั รัตน์ ศริ ิเมฆา
นางสาววรวรรณ พรพพิ ฒั น์
โลกต้องเปลี่ยนผา่ น แต่... ตาํ นาน - จิตวญิ ญาณ ยังคงอยู่ นายวชั รพล เหมืองจา
นายทรงชยั ช่ืนล้วน
วารสารวิทยาจารย์
กองบรรณาธิการ/ฝ่ายสมาชิก โทร./โทรสาร 0 2282 1308 ประสานงานฝ่ายผลติ :
ทอี่ ยู่ 128/1 ถนนนครราชสมี า แขวงดสุ ติ เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300
e-mail : [email protected] นางภทั ราวรรณ ประกอบใน
นางจริ ภฎา ทองขาว

ศลิ ปกรรม/รูปเลม่ /จัดพมิ พ์ :

บริษทั ออนป้า จำ�กัด
111/1 อาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3
แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม
กรุงเทพมหานคร 10120
โทร. 0 2689 1056
โทรสาร 0 2689 1081
www.onpa.co.th

วิทยาจารย์ 3

รางวัลสมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหาจักรี

ครั้งที่ 2 ปี 2560
เพราะครคู ณุ ภาพ สร้างคนคณุ ภาพ

สกู๊ปพเิ ศษ

ตอนท่ี 3

4 วทิ ยาจารย์

สหภาพเมยี นมา

นายทนั ทุม

ครูสอนดเี ย่ียม
ผดู้ ึงผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง
ควบคู่กบั การปลกู ฝัง
ทกั ษะชีวิตและคณุ ธรรม

ครอู ู วยั 58 ปี โรงเรยี น Basic Education High School เมอื ง Ywarthargyi
แคว้น Sagaing จบการศึกษาอนุปริญญาด้านปศุสัตว์ ศึกษาต่อระดับปริญญา
ด้านพฤกษศาสตรแ์ ละชีววทิ ยา จากมหาวทิ ยาลัยท่ี Mandalay และ Sagaing
ครูอู ครูสอนภาษาอังกฤษและหลักสูตรร่วมระดับมัธยม ได้รับรางวัลการ
สอนดเี ยย่ี มในการส่งเสริมเด็กระดบั 9 สอบผ่านภาษาอังกฤษทัง้ ระดับรฐั และภูมภิ าค
ที่มเี ป็นประจ�ำทกุ ปี ดว้ ยวิธกี ารสอนที่ใช้ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง
นอกจากการสอนแลว้ ครอู ู ยงั มสี ว่ นรว่ มอยา่ งแขง็ ขนั ในการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม
ในโรงเรียน สง่ เสริมการเล้ยี งสัตว์ กิจกรรมเพ่อื สขุ ภาพอนามยั และการสง่ เสริมสุขภาพ
เชน่ จดั กฬี าระหวา่ งโรงเรยี น การปอ้ งกนั สารเสพตดิ แอลกอฮอล์ การตดิ เชอื้ HIV/AIDS
และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในโรงเรียนเพื่อฝึกทักษะชีวิต การจริยธรรมและวินัย
ทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน รวมท้ังถ่ายทอดประสบการณ์สอน จรรยาบรรณของครูและ
ทักษะการเปน็ ผนู้ �ำแก่ครูรุ่นใหม่
ครูอู มคี วามเช่อื และความรักให้แกเ่ พ่อื นร่วมงานและนกั เรียน นบั เปน็ บุคคล
ที่น่ายกยอ่ งชมเชยจากพฤติกรรมสว่ นตัวและความเป็นครูที่มีคุณธรรม

วทิ ยาจารย์ 5

สาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์

ดร. เฮซุส อนิ สิลาดา

ครผู ้สู รา้ งการเรียนรแู้ บบองคร์ วม
บนวถิ ที างวัฒนธรรม และนกั ประพนั ธ์
ผปู้ ลกุ ความภมู ใิ จในอตั ลกั ษณท์ อ้ งถนิ่

ดร.เฮซสุ วยั 39 ปี เกดิ ทีเ่ มือง Calinog จังหวดั Iloilo จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรีจาก Calinog
Agricultural and Industrial College และ ระดับปริญญาโท/เอกจาก West Visayas State University
หลังจบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ไดท้ ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ครทู ่ี Alcarde Gustilo Memorial National High School
ระหว่างปี 2545 - 2548 ต่อมาได้มาเป็นครูใหญ่ท่ีโรงเรียน Wenceslao S. Grio National High School
ช่วงปี 2558 - 2559 หลังจากนั้นมาปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบด้านการศึกษาที่โรงเรียน Alcarde
Gustilo Memorial National High School จนถึงปจั จบุ ัน

ดร.เฮซุส เร่ิมสอนหนังสือเมื่อปี 2548 ใช้การศึกษาแบบองค์รวมและอิงวิถีทางวัฒนธรรม
(Cultural-Based Education) มุ่งเน้นท่ีนักเรียนด้อยโอกาสและนักเรียนโปรแกรมบูรณาการท่ีเรียนได้ดี
เพื่อให้พวกเขาได้เรียนรู้รากเหง้าและตัวตนของตัวเองผ่านกิจกรรมในชั้นเรียนและการค้นคว้าในชุมชน
ดว้ ยตนเอง บางครงั้ จะเชญิ ผรู้ ู้ ปราชญท์ อ้ งถนิ่ องคก์ รทอ้ งถนิ่ และเอน็ จโี อดา้ นสทิ ธแิ ละสวสั ดกิ ารใหก้ บั คนพนื้ เมอื ง
มาร่วมให้ความรู้ เพื่อให้นักเรียนภูมิใจในรากเหง้าและตัวตนของตัวเอง เรียนรู้ท่ีจะน�ำอัตลักษณ์มาสร้าง
ความเป็นเจ้าของของชุมชนร่วมกัน

ดร.เฮซุส ยังเป็นท่ีรู้จักในฐานะนักเขียนเร่ืองสั้น นักประพันธ์บทกวี บทความที่ใช้ภาษาถ่ินคินารายา
ของฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละภาษาองั กฤษ เพราะเชอื่ วา่ การเขยี นเปน็ วธิ ที ส่ี ามารถใหค้ วามรกู้ บั ผคู้ นไดใ้ นวงกวา้ ง ไมจ่ ำ� กดั
อายุ ไม่จำ� กดั สถานท่ี และตอ้ งการให้ผอู้ ่านได้รับรูถ้ งึ ความภมู ใิ จในความเป็นคนฟลิ ปิ ปินสท์ อ้ งถิ่น



อาชีพครูเป็นอาชีพที่ดีเหมือนได้รางวัลจากการท�ำงานทุกวัน แม้บางครั้งอาจเผชิญ
กบั ความทา้ ทายแตไ่ มใ่ ชป่ ญั หา ตอ้ งมองโลกในแงด่ แี ละมคี วามหวงั วา่ ทกุ สงิ่ จะดำ� เนนิ
ไปดว้ ยดกี ต็ อ่ เมอ่ื ทกุ ฝา่ ยทงั้ ภายในและภายนอกชว่ ยกนั การท่เี ด็กคนหนงึ่ จะมคี วามรู้
มีการศึกษาไดเ้ ปน็ เรอื่ งทท่ี ้งั หมูบ่ า้ นต้องช่วยกัน



6 วทิ ยาจารย์

ประเทศสิงคโปร์

มาดามสะรบั จติ คอร์
บุตรีฮารด์ ปิ ซงิ ห์

ครผู ปู้ ลดปลอ่ ยศกั ยภาพเดก็ หลงั หอ้ ง
สกู่ ารมที ัศนคตกิ ารเรียนรเู้ ชงิ บวก

มาดามสะรบั จติ วยั 47 ปี ครสู อนวทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นประถมแอนเดอสนั จบการศกึ ษาระดบั
ประกาศนยี บัตรดา้ นภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ จาก National Institute on Education
และระดบั ปริญญาตรีสาขาเดียวกนั จาก Nanyang Technological University มปี ระสบการณ์เป็นครู
16 ปี การสอนนักเรียนหลากหลายระดับช้ันท�ำให้พบว่า เด็กท่ีไม่ประสบผลส�ำเร็จในการเรียนมักจะ
ไม่เชื่อม่ันในตัวเอง การมองแง่บวกของครูจะช่วยเปล่ียนทัศนคติต่อการเรียนของเด็กได้ ส่งผลให้เด็ก
ทกุ คนแสดงศกั ยภาพทจี่ ะเรียนรู้และไปถึงจดุ สูงสดุ ได้
รปู แบบการสอนเพอื่ ยกระดับการเรยี นรขู้ องเดก็ ทม่ี ีผลการเรียนต�ำ่ มาดามสะรบั จติ ให้เน้นที่
การป้อนค�ำถามเชิงบวกเพ่ือกระตุ้นผู้เรียน หาจุดแข็งและศักยภาพ ซึ่งวิสัยทัศน์เชิงบวกจะส่งเสริม
ใหเ้ กดิ ทศั นคตกิ ารเรยี นรเู้ ชงิ บวกในกลมุ่ เดก็ นอกจากนใี้ นฐานะครพู เี่ ลยี้ งจงึ ไดท้ ำ� งานกบั ครพู เ่ี ลยี้ งคนอนื่ ๆ
ในโรงเรียนเพื่อจัดโปรแกรมการให้คำ� ปรึกษา ช้แี นะแก่ครูรุน่ ใหมท่ ่เี พ่ิงเร่มิ งานสอน
ความเปน็ ครผู อู้ ทุ ศิ ตน เอาใจใสก่ ารสอน สนใจความตอ้ งการของเดก็ ทงั้ การเรยี นและพฤตกิ รรม
จงึ เปน็ ครทู เ่ี ขา้ ถงึ จติ ใจเดก็ ผปู้ กครอง และเพอื่ นรว่ มงาน จงึ ไดร้ บั รางวลั มากมาย อาทิ รางวลั Teacher
Training Award ปี 2541- 2545 รางวลั The Efficiency Medal ปี 2554 รางวัล Long Service Award
ปี 2555 และรางวัล Excellent Service Award ปี 2557



นักเรียนรักครูเพราะครูสอนเด็กด้วยรอยย้ิมทุกคร้ัง ไม่เคยลังเลท่ีจะอธิบาย
เพิ่มเติมในทุกสิ่งท่ีนักเรียนสงสัย ไม่เข้าใจ หรือตั้งค�ำถาม นักเรียนไม่เคยลืม
สิ่งที่ครูสอนเช่นกนั



วิทยาจารย์ 7

ประเทศติมอร-์ เลสเต

ครูลโี อโปลดนี า
โจอานา กูเตเรส

นักบริหารจดั การทรพั ยากรเป็นเลศิ
ทำ�ให้ความห่างไกล ไม่ใช่อปุ สรรค
ของการพฒั นาโรงเรยี น

ครลู โี อโปลดนี า วยั 49 ปี เกดิ ทเ่ี มอื งบาเกยี (Bagnia) จงั หวดั เบาเกา (Baucau) หลงั จบการศึกษา
ระดบั มธั ยมไดฝ้ กึ อบรมครแู ละเปน็ ครสู อนระดบั ประถมศกึ ษากอ่ นมาเปน็ ครทู ่ี Bagnia Catholic St.zzJoseph
School ต้ังแต่ปี 2538 - 2542 ขณะเดียวกันได้ศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีด้านการสอนและภาษาโปรตุเกส
จากมหาวิทยาลัยที่กรุง Dili ปัจจุบันเป็นผู้อ�ำนวยการ S.Jose Basic Education Central School ซึ่งมี
โรงเรยี นสาขาอกี 7 แหง่ มีนกั เรียนทั้งหมด 822 คน ครจู �ำนวน 55 คน
ครูลีโอโปลดีนา เป็นนักบริหารจัดการช้ันยอด เพราะต้องท�ำหน้าที่บริหารจัดการและประสานการ
ทำ� งานกบั โรงเรยี นสาขาทง้ั 7 แหง่ จดั อบรมใหแ้ กค่ รู สง่ เสรมิ กจิ กรรมในโรงเรยี นและโรงเรยี นสาขา จดั กจิ กรรม
นอกหลักสูตร รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์กับโรงเรียนอื่นๆ โดยใช้กีฬา ดนตรี ภาพวาด การแสดงละคร
การเต้นร�ำทางวัฒนธรรมของติมอร์-เลสเต และหาเงินสนับสนุนแก่ครูอาสาของโรงเรียน นอกเหนือจาก
การทำ� หนา้ ทผี่ อู้ ำ� นวยการโรงเรยี น ยงั เปน็ ครสู อนภาษาโปรตเุ กสแกน่ กั เรยี นระดบั 8 และ 9 (15 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห)์
เป็นครปู ระจำ� ชน้ั ทกุ ปจี นถึงปี 2555
นอกจากนี้ ยังเป็นนักเชื่อมประสานการสนับสนุนจากภายนอก ท�ำให้ความห่างไกลไม่ใช่อุปสรรค
ของโรงเรียน โดยเปน็ ผู้นำ� จดั กิจกรรมเพือ่ จัดหาทุนใหน้ ักเรียนระดับประถม มธั ยม และอุดมศกึ ษา ซ่อมแซม
อาคารเรยี นใหแ้ กโ่ รงเรยี นประถมศกึ ษาสาขา พรอ้ มตดิ ตง้ั ระบบไฟฟา้ แทง้ กน์ ำ้� อปุ กรณก์ ารเรยี น คอมพวิ เตอร์
และรว่ มกอ่ สรา้ งโรงเรยี นแหง่ ใหมใ่ นเมอื งบาเกยี สรา้ งสนามบาสเกตบอล วอลเลย่ บ์ อล ฟตุ บอล จดั หาอปุ กรณ์
ดนตรีให้แกน่ กั เรยี น รวมท้งั จดั หลกั สูตรสอนภาษาอังกฤษและคอมพวิ เตอรใ์ หค้ นในชุมชน
นางลีโอโปลดีนา มีทักษะภาษาระดับดีมากถึง 5 ภาษา คือ มากาไซ เตตุม อินโดนีเซีย โปรตุเกส
และอังกฤษ ได้เข้าร่วมประชุมท้ังระดับชาติและนานาชาติ อาทิ ท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำเสนอผลงานโครงการ
“ดว้ ยเมลด็ เดยี ว” แกท่ ป่ี ระชมุ คณะรฐั มนตรขี องตมิ อร-์ เลสเต บทบาทสตรดี า้ นการศกึ ษาของครอบครวั โรงเรยี น
และชุมชน ที่ประเทศออสเตรเลีย การพัฒนาพ้ืนท่ีในชนบทผ่านมิตรภาพระหว่างประเทศ ในการประชุม
นานาชาตทิ ่ีกรงุ Dili เปน็ ตน้

8 วทิ ยาจารย์

ประเทศเวยี ดนาม

ครฟู าน ถิ หนือ

ครภู าษาองั กฤษและนกั เชอ่ื มความสมั พนั ธ์
ต่างประเทศ ผู้เปิดพรมแดนการเรียนรู้
ของลูกศษิ ย์ในตา่ งแดน

ครฟู านวยั 54ปีจบปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโทดา้ นภาษาองั กฤษเรม่ิ เปน็ ครสู อนภาษาองั กฤษท่ีNguyen
Trai High School ในช่วงปี 2530 - 2536 ตอ่ มาปี 2537 ยา้ ยมาสอนที่ Le Quy Don Gifted High School
ทด่ี านัง ปี 2548 ยังคงเปน็ ครสู อนภาษาองั กฤษ และทำ�หน้าที่หัวหน้าหมวดประชาสมั พนั ธ์และความสมั พันธ์
ต่างประเทศของโรงเรียน
นับเป็นครูผู้ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแก่นักเรียน โดยส่งเสริมให้นักเรียนท่ีเป็นตัวแทน
กลา่ วสนุ ทรพจน์ แขง่ ขนั ตอบคำ�ถามภาษาองั กฤษ แขง่ ขนั ASEAN Quiz ในระดบั ภมู ภิ าค และชนะเลศิ เปน็ แชมป์
ระดับภมู ภิ าค ปี 2557 และโรงเรียนได้คะแนนภาษาองั กฤษในระดับสูง



ดิฉันอยากเห็นเด็กมีพืน้ ฐานความรภู้ าษาอังกฤษท่ีดี และสอนในหลายๆ สงิ่ ท่ีถกู ตอ้ ง
เพราะครูก็คือแม่อีกคนของเด็ก เวลาท่ีพวกเขาอยู่โรงเรียน ดิฉันพร้อมที่จะรับฟัง
ปญั หาและเรอ่ื งราวตา่ งๆ พรอ้ มใหค้ ำ� แนะนำ� กบั ลกู ศษิ ยด์ ว้ ยความรกั และจะยนื อยเู่ คยี งขา้ ง
พวกเขา เด็กนกั เรยี นคือผู้อยใู่ นใจของดฉิ ันเสมอ



นอกจากนค้ี รฟู าน ยงั ไดส้ ง่ ตอ่ ลกู ศษิ ยใ์ หไ้ ปถงึ ฝง่ั ดว้ ยการประสานขอทนุ การศกึ ษาตอ่ ในหลายประเทศ
และในฐานะทด่ี แู ลงานระหวา่ งประเทศของโรงเรยี น จงึ มโี อกาสทำ�งานรว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษาและมหาวทิ ยาลยั
ในตา่ งประเทศ ทำ�ใหเ้ ขา้ ใจจดุ แขง็ ของแตล่ ะสถาบนั วา่ มคี วามเชย่ี วชาญดา้ นใดและเหมาะสมกบั เดก็ คนไหน
เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มที างเลือกและเตรยี มความพร้อมของลกู ศษิ ย์เพือ่ ศึกษาตอ่ ในวฒั นธรรมตา่ งแดน

วิทยาจารย์ 9

นเิ ทศการศึกษา

ธเนศ ข�ำเกิด

ยอ้ นรอยอดีตศึกษานิเทศก์ เมื่อคราแรกเริม่

อาจารยส์ ุเทพ โชคสกลุ

ผู้รเิ ร่มิ การสอนหนงั สอื ด้วยเพลงเป็นคนแรกของเมอื งไทย

พระยาศรสี ุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกูร) เคยเขยี นบทกลอนไวว้ า่
“อนั ความรรู้ ู้กระจ่างแตอ่ ย่างเดยี ว แต่ใหเ้ ชี่ยวชาญเถดิ คงเกดิ ผล
อาจจะชกั เชิดชฟู สู กนธ์ ถงึ คนจนพงศไ์ พรค่ งได้ดี...”

10 วทิ ยาจารย์

ผมได้อ่านประวัติของอดีตศึกษานิเทศก์ท่านหน่ึง ในระบบทโี่ รงเรยี นวดั สารภีจบชนั้ ประถมศกึ ษาเมอื่ พ.ศ.2478
จากหนงั สอื ประวตั คิ รู พ.ศ. 2539 ซงึ่ ทา่ นมวี ถิ ชี วี ติ เชน่ เดยี วกบั อาจารยส์ เุ ทพเรยี นหนงั สอื เกง่ มนี สิ ยั ชอบรอ้ งเพลงมาตง้ั แต่
บทกลอนข้างต้น ท่านเรียนจบการศึกษาในระดับแค่ ยังเด็กและร้องได้ดีด้วย จึงได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้น�ำ
ชั้นประถมศึกษา แต่ท่านใฝ่ใจเรียนรู้ด้านเพลง ด้านดนตรี ในการร้องเพลงชาติเวลาเคารพธงชาติตอนเช้าทุกวัน และ
ด้วยตนเองอย่างจริงจังและลุ่มลึก จนทางการเห็นแวว น�ำร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีในวันสุดสัปดาห์ทุกครั้ง
ความสามารถจึงบรรจุให้เป็นครู ระหว่างเป็นครูก็ได้ศึกษา ผลการเรยี นสอบไดเ้ ปน็ ท่ี1ตลอดมาระหวา่ งเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา
ดว้ ยตนเองและสอบเพมิ่ วฒุ ทิ างครมู าโดยลำ� ดบั จนสามารถ เม่ือวงแตรวงของพี่ชายมีงานก็จะมารับไปเป็นหางเคร่ือง
สอบได้ประโยคครูมธั ยม (พ.ม.) ทา่ นเป็นครมู า 15 ปี แล้ว ตฉี าบใหญ่ ฉาบเลก็ ฉ่ิง กลองแทรก็ ได้รบั ค่าแรงมากบ้าง
ได้รับคัดเลือกให้เป็นศึกษานิเทศก์และอยู่ในต�ำแหน่งน้ี นอ้ ยบา้ งกน็ ำ� มาซอื้ สมดุ ดนิ สอเสอ้ื ผา้ โดยไมไ่ ดร้ บกวนทางบา้ น
ถงึ 25 ปี เมอื่ ออกจากโรงเรยี น พชี่ ายใหห้ ดั เปา่ แตร ตอ่ นวิ้ ให้ 2 - 3 เพลง
ก็เป่าได้ จึงไปเป่าแตรหน้าโรงภาพยนตร์ได้ค่าแรงคืนละ
อดตี ศกึ ษานเิ ทศกท์ า่ นน้ี ทา่ นไมม่ ปี รญิ ญา แตท่ า่ น สบิ สตางค์ ตงั้ แตส่ มยั ภาพยนตรเ์ งียบจนถึงภาพยนตร์เสียง
ไดส้ รา้ งผลงานอนั ยงิ่ ใหญใ่ หแ้ กว่ งการศกึ ษาจนไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ จบชน้ั ประถมก็ไมม่ โี อกาสได้เรียนต่อ
เป็นราชาเพลงประกอบบทเรียน เป็นผู้ริเร่ิมการสอน
หนงั สอื ดว้ ยเพลงเปน็ คนแรกของเมอื งไทยใครทเ่ี คยไดร้ อ้ ง พ.ศ. 2488 ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา
และเคยไดย้ นิ เพลง“ตรงตอ่ เวลาพวกเราตอ้ งมาใหต้ รงเวลา...” อาจารยส์ เุ ทพไดร้ บั คดั เลอื กจากกองทพั ญป่ี นุ่ ใหเ้ ปน็ กลาสเี รอื
“ความเกรงใจ เปน็ สมบตั ขิ องผดู้ .ี ..”รวมทง้ั เพลง“ความซอ่ื สตั ย”์ เดนิ ทะเล ท�ำการฝึกอยู่ที่ท่าเรือคลองเตย จังหวัดพระนคร
“อย่าเกียจคร้าน” ฯลฯ ล้วนเป็นผลงาน การประพันธ์ เม่ือเสร็จจากการฝึกในตอนเช้าก็ต้องเรียนภาษาญี่ปุ่น
ส่วนหน่ึงของท่าน ...รวมถึงเพลง “แม่พิมพ์ของชาติ” การเรียนภาษาญี่ปุ่นใช้สอนด้วยเพลงมีเปียโนคลอ
ท่ีท่านแต่งและขึ้นต้นว่า “แสงเรืองๆ ท่ีส่องประเทืองไปท่ัว ขณะรอ้ งเพลง ทำ� ใหเ้ รยี นภาษาญปี่ นุ่ สนกุ สนานเพลดิ เพลนิ
เมอื งไทย” คงไมม่ ใี ครไมร่ จู้ กั เพลงน้ี ... ทา่ นผนู้ กี้ ค็ อื อาจารย์ และไดร้ บั ความรใู้ นเรอ่ื งโนต้ ดนตรไี ปดว้ ย ในระยะนน้ั ไดเ้ กดิ
สุเทพ โชคสกุล ท่ีผมจะน�ำประวัติและผลงานทา่ นมาเลา่ ขบวนการเสรไี ทยขนึ้ อาจารยส์ เุ ทพจงึ หนจี ากเรอื ญป่ี นุ่ ไปอยู่
ให้ฟังต่อไปนี้ครบั โรงงานเครอื่ งปน้ั ดินเผาทีอ่ �ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
กลางคนื ลอ่ งเรอื รอ้ งเพลงไปกบั ครโู รงเรยี นวดั งวิ้ รายคนหนง่ึ
อาจารย์สุเทพ โชคสกุล เดิมช่ือสงัด เกิดเมื่อ ตามล�ำน้�ำจนถึงตลาดนครชัยศรี ได้รับความนิยมจาก
วนั ที่ 7 มนี าคม พ.ศ. 2470 ทบ่ี ้านตัง้ ใหม่ รมิ แมน่ ำ้� ทา่ จนี ชาวบา้ นนครชยั ศรีเปน็ อนั มาก
ตำ� บลทา่ พเ่ี ลย้ี ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เปน็ บตุ รของ
นายเวชและนางเมา้ โชคสกลุ ตอนอายุ5-6ขวบไดเ้ รยี นหนงั สอื
กบั พระทว่ี ดั ไชนาวาส จนอา่ นออกเขยี นได้ ตอ่ มาไดเ้ ขา้ เรยี น

วทิ ยาจารย์ 11

ปลาย พ.ศ. 2488 สงครามสงบ อาจารย์สุเทพกลับไปอยู่จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมา
ทางอำ� เภอประกาศรบั ผทู้ มี่ คี วามรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษาและเปา่ แตรเปน็ ใหบ้ รรจเุ ปน็ ครโู รงเรยี น
ประถมศึกษาเพื่อเป่าแตรวงของอ�ำเภอ อาจารย์สุเทพจึงไปสมัครและได้รับบรรจุเป็นครู
ที่โรงเรียนวัดพิหารแดง เม่ือ พ.ศ. 2489 ได้รับเงินเดือนเดือนละ 8 บาท เวลาน้ันเป็นระยะ
หลังสงคราม ข้าวของเคร่ืองใช้ขาดแคลนและราคาแพง ความเป็นอยู่ของอาจารย์สุเทพ
จึงค่อนข้างขัดสน กลางคืนต้องออกเร่เรือขายอ้อยควั่น ข้าวโพดคั่วตามล�ำน�้ำท่าจีนได้ก�ำไร
คนื ละ 2 - 2.50 บาท

อาจารย์สุเทพเป็นคนมีสติปัญญาดีและขยันขันแข็ง เม่ือมีครูบางคนในโรงเรียน
ปรามาสวา่ อาจารยส์ เุ ทพไมม่ คี วามรู้ ทไ่ี ดเ้ ปน็ ครเู พราะเปา่ แตรเปน็ จงึ มมุ านะศกึ ษาหาความรู้
และสมัครสอบวิชาชุดครูจนได้รับประกาศนียบัตรประโยคครูพิเศษมูล (พ.) ใน พ.ศ. 2493
ได้ประโยคครูพิเศษประถม (พ.ป.) ใน พ.ศ. 2498 และได้ประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.)
ใน พ.ศ. 2500

12 วทิ ยาจารย์

อาจารยส์ เุ ทพมคี วามกา้ วหนา้ ในหนา้ ทก่ี ารงานตามลำ� ดบั เนื่องจากอาจารย์สุเทพมีความรู้ทางด้านดนตรี
คือ พ.ศ. 2489 - 2491 เป็นครจู ตั วาโรงเรยี นวดั พหิ ารแดง ขับร้อง และประพันธ์บทเพลง จึงได้แต่งเพลงสั้นๆ ง่ายๆ
พ.ศ. 2492 - 2496 เปน็ ครูจัตวาโรงเรยี นวัดลาวทอง พ.ศ. ประกอบบทเรยี นสะสมไวเ้ รอ่ื ยๆเมอ่ื มโี อกาสกแ็ นะนำ� ครผู สู้ อน
2497 - 2499 เปน็ ครจู ตั วาโรงเรยี นวดั สวุ รรณภมู ิ พ.ศ. 2500 ครง้ั ละเพลงสองเพลงเรอ่ื ยมา พอรวบรวมเนอ้ื เพลงทป่ี ระพนั ธ์
เปน็ ครตู รโี รงเรยี นวดั สวุ รรณภมู ิ พ.ศ. 2501 - 2503 เปน็ ครตู รี ไวไ้ ดก้ วา่ ร้อยเพลง ในกลมุ่ วิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชวี ิต
โรงเรียนลำ� ปะซิว พ.ศ. 2504 - 2508 ทำ� หนา้ ทีศ่ ึกษานเิ ทศก์ จงึ ไดส้ ง่ ใหว้ ารสารวทิ ยาสารและวารสารมติ รครูซงึ่ ขณะนน้ั
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2509 - 2517 เป็นศึกษานิเทศก์โท เป็นวารสารการศึกษาที่แพร่หลายไปยังสถานศึกษา
พ.ศ. 2518-2519 เป็นศึกษานิเทศก์ 1 พ.ศ. 2520 เป็น ทุกระดับ น�ำไปลงตีพิมพ์ประกอบโน้ตสากลเพ่ือเผยแพร่
ศกึ ษานเิ ทศก์ 2 พ.ศ. 2521-2527 เปน็ ศกึ ษานเิ ทศก์ ระดบั 5 ตอ่ มาได้แต่งเพลงในวิชาอื่นๆ อีกหลายวิชา และลงทุนท�ำ
พ.ศ. 2528 เป็นศึกษานิเทศก์ ระดับ 6 ท�ำหน้าที่หัวหน้า แผน่ เสยี งเพอ่ื ใหก้ ระจายความคดิ ไปทวั่ ประเทศ แมจ้ ะประสบ
ฝา่ ยนเิ ทศการศกึ ษา และ พ.ศ. 2529 ลาออกจากราชการ ปัญหาอุปสรรคมากมาย แตอ่ าจารย์สเุ ทพก็สามารถฝา่ ฟนั
จนประสบผลสำ� เรจ็ เปน็ ทร่ี จู้ กั ไปจนถงึ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
แมอ้ าจารยส์ เุ ทพจะมโี อกาสศกึ ษาเลา่ เรยี นในโรงเรยี น
เปน็ เวลาอนั เลก็ นอ้ ยตอ้ งศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเปน็ สว่ นใหญ่ เพลงที่นิยมกันมากไม่แต่เฉพาะวงการศึกษาเทา่ นัน้
จนไดเ้ ปน็ หวั หนา้ ฝา่ ยนเิ ทศการศกึ ษาของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ยังแพร่หลายไปทั่วทุกวงการ เช่น วงการลูกเสือชาวบ้าน
อาจารย์สุเทพก็ได้สร้างผลงานท่ีส�ำคัญให้แก่วงการศกึ ษา เป็นต้น เช่น เพลงตรงต่อเวลา เพลงความเกรงใจ
อย่างมาก คือ เป็นผู้ริเร่ิมการสอนหนังสือด้วยเพลง เพลงความซอื่ สตั ย์ เพลงอยา่ เกยี จครา้ น ฯลฯ จากผลงาน
เป็นคนแรกของเมืองไทย การเรียนการสอนแต่เดิมนั้น ดา้ นงานเพลงเหลา่ นี้ ทำ� ใหอ้ าจารยส์ เุ ทพไดร้ บั การยกยอ่ งวา่
จะมีการร้องเพลงกันเพียงสัปดาห์ละคร้ัง ครั้งละชั่วโมง เป็นราชาเพลงประกอบบทเรียน และ ใน พ.ศ. 2517
ในวันสุดสัปดาห์ ถ้าร้องเพลงผิดเวลา เพ่ือนครูก็จะแสดง กระทรวงศึกษาธิการได้มีหนังสือชมเชยอาจารย์สุเทพว่า
ความไม่พอใจ บางคนก็ต่อต้าน บางคนก็เห็นด้วย ท�ำให้ “เพลงภาษาไทยและศลี ธรรมท่ีจัดทำ� ขน้ึ นน้ั เหมาะสมและ
อาจารย์สุเทพต้องใช้ความพยายายามสร้างความเข้าใจ มีประโยชนต์ ่อการศกึ ษามาก”
ใหแ้ กเ่ พอ่ื นครมู าโดยตลอด จนเปน็ ทย่ี อมรบั กนั ในปจั จบุ นั วา่
เพลงประกอบการเรยี นสามารถใชใ้ นกระบวนการจดั การเรยี น
การสอนไดใ้ นทกุ ข้นั ตอน

วทิ ยาจารย์ 13

เพลงท่ีอาจารย์สุเทพแต่งเพื่อประกอบบทเรียนนน้ั นอกจากน้อี าจารยส์ เุ ทพยังเขยี นตำ� รา “โน้ตสากล
เปน็ เพลงสน้ั ๆ ใชค้ ำ� งา่ ยๆ ใสท่ ำ� นองสนกุ สนานนา่ ฟงั เดก็ ๆ เบ้ืองต้น” ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน
ชอบและจดจ�ำได้ง่าย ท�ำให้เรียนรู้บทเรียนได้เร็ว เช่น ทกุ ระดบั และอาจารยส์ เุ ทพยงั ไดป้ ฏบิ ตั งิ านตา่ งๆ อกี มากมาย
เพลง “อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก” เด็กๆ ท่จี �ำ ก ไก่ ถงึ ฮ นกฮกู งานทส่ี ำ� คญั ทอ่ี าจารยส์ เุ ทพเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ ทำ� ขนึ้ เปน็ ครง้ั แรกของ
ไม่ได้ เมื่อรอ้ ง เพลง “ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก” แล้วกไ็ ม่มวี นั ลมื จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เชน่ นำ� วธิ สี อบวดั จติ พสิ ยั มาใชใ้ นการสอบ
พยัญชนะทงั้ 44 ตวั เปน็ ตน้ คร้ังแรกกับเด็กนักเรียนชั้น ป.6 การน�ำวิธีพัฒนาจิตใจ
อาจารย์สุเทพได้ประพันธ์เพลงเก่ียวกับชีวิตครู ดว้ ยการ“จดุ เทยี นแหง่ ปญั ญา”มาใชเ้ ปน็ ครง้ั แรกในการอบรมครู
ไวเ้ ปน็ อันมาก เช่น เพลงครโู รงเรียนราษฎร์ ครแู ถลงการณ์ ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี การ ฟน้ื ฟกู ารสอนโนต้ สากลเบอ้ื งตน้
แม่พิมพใ์ จพระ มาร์ชครู แม่พมิ พข์ องชาติ ฯลฯ ซึ่งเปน็ ขน้ึ เปน็ คร้งั แรกในโรงเรยี นประถมศึกษา การน�ำวธิ กี ารเดนิ
เพลงที่ท�ำให้ผู้ฟังรู้ถึงชีวิตอันล�ำเค็ญของครูประชาบาล หนา้ ขบวนวงดนตรี (Drum Major) และนำ� วธิ กี ารเดนิ พาเหรด
ในสมัยน้ัน โดยเฉพาะเพลง “แม่พิมพ์ของชาติ” ที่ขับร้อง (Parade) มาใชเ้ ปน็ คนแรก เป็นต้น
โดยวงจนั ทร์ ไพโรจน์ เปน็ เพลงทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มตงั้ แตอ่ ดตี
จนถงึ ปจั จบุ นั ทำ� ใหอ้ าจารยส์ เุ ทพไดร้ บั รางวลั เพลงเกยี รตยิ ศ อาจารย์สเุ ทพมบี ตุ ร 5 คน คือ นางจริยา นายชนะ
ในงานกง่ึ ศตวรรษเพลงลกู ทงุ่ ไทย จากคณะกรรมการวฒั นธรรม นายชนินทร์ นายสมโชค และนางสาวสุนันท์ โชคสกุล
แหง่ ชาติกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในพ.ศ.2512ซงึ่ เปน็ เพลงอมตะ เมอื่ อาจารยส์ เุ ทพลาออกจากราชการแลว้ ไดช้ ว่ ยงานการศกึ ษา
ตราบเทา่ ทกุ วันน้ี และมีนกั ร้องน�ำไปรอ้ งกันหลายคน และงานสังคมอยู่มิได้ขาด โดยเฉพาะบรรดาครูโรงเรียน
ประถมศกึ ษาในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จะมาขอคำ� ปรกึ ษาแนะนำ�
ช่อื เสยี งของอาจารยส์ เุ ทพดา้ นการประพันธ์ค�ำรอ้ ง ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนและดา้ นการปฏบิ ตั งิ านอยเู่ สมอ
และทำ� นองเพลงเปน็ ทเี่ ลอ่ื งลอื ไปในวงการศกึ ษา โดยเฉพาะ
บรรดาครูระดับประถมศึกษาได้ใช้เพลงประกอบการเรียน อาจารย์สเุ ทพเป็นคนสูบบุหรจี่ ดั เมอ่ื อายมุ ากข้ึน
การสอนระดบั ประถมศกึ ษาทกุ กลมุ่ ประสบการณท์ ว่ั ประเทศ รา่ งกายจงึ ทรดุ โทรมลงอยา่ งรวดเรว็ ในวนั ที่ 6 สงิ หาคม 2530
นอกจากจะมีความสามารถด้านการประพันธ์ค�ำร้องและ เกดิ อาการแนน่ หนา้ อกจงึ ไปตรวจพบวา่ เปน็ โรคถงุ ลมโปง่ พอง
ท�ำนองเพลงแล้ว อาจารย์สุเทพยังร้องเพลงได้ไพเราะ และต้องรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลอย่างต่อเน่ือง จนกระท่ัง
น้�ำเสียงนุ่มนวลชวนฟังเป็นท่ีย่ิง ในการอบรมครูทุกคร้ังท่ี ถึงแก่กรรม ในวันท่ี 24 สิงหาคม 2530 สิริอายุได้ 59 ปี
อาจารย์สุเทพได้เป็นวิทยากร บรรดาผู้เข้ารับการอบรม 5 เดอื น 17 วัน
จะขอใหอ้ าจารยส์ เุ ทพรอ้ งเพลงทเ่ี ขาเปน็ ผปู้ ระพนั ธใ์ หฟ้ งั ดว้ ย
ความพออกพอใจยง่ิ ชีวิตของอาจารยส์ ุเทพนับเป็นตัวอยา่ งของครูและ
ศกึ ษานเิ ทศกค์ นหนงึ่ ทม่ี พี น้ื ความรนู้ อ้ ย แตด่ ว้ ยความมานะ
พยายาม สู้บากบ่ันศึกษาเรียนรู้ฝึกฝนตนเอง และพัฒนา
พรสวรรคด์ า้ นเพลงและดนตรที ตี่ ดิ ตวั มาแตก่ ำ� เนดิ จนประสบ
ความสำ� เรจ็ ในชวี ติ ตลอดมา

14 วิทยาจารย์

โรงเรยี นดี โครงการเดน่

ดร.วิทยา ศรีชมภู

นวัตกรรม “บ้านแสนสขุ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจ พัฒนาตนเองไปสคู่ วามส�ำเรจ็ ”

ของ โรงเรียนมัธยมศรีส�ำเภาลูน

สวสั ดคี รบั ท่านผ้อู ่านทร่ี กั โรงเรียนดีโครงการเด่นฉบบั นี้ เสนอ นวตั กรรม “บ้านแสนสขุ การสร้าง
แรงบันดาลใจ พัฒนาตนเองไปสู่ความสำ�เร็จ” ของโรงเรียนมัธยมศรีสำ�เภาลูน โดยโรงเรียนได้
มงุ่ สรา้ งบรรยากาศของโรงเรยี นใหเ้ ปน็ โรงเรยี นทม่ี คี วามรกั ความอบอนุ่ เปรยี บโรงเรยี นเปน็ ดง่ั บา้ นหลงั ท่ี 2
ของนกั เรยี น และเตมิ เตม็ ความรกั ทขี่ าดหายไปของนกั เรยี นทขี่ าดความรกั ความอบอนุ่ จากบา้ นหลงั ที่ 1
(บ้านของนักเรียนเอง) โดยโรงเรียนได้ใช้ทฤษฎีของวงจรเดมมิ่ง (PDCA) มาใช้ในการสร้างนวัตกรรม
โดยกระตุ้นให้ครูทุกคนมีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน จนเกิดเป็นนวัตกรรม “บ้านแสนสุข การสร้าง
แรงบันดาลใจ พฒั นาตนเองไปสคู่ วามสำ�เร็จ” โดยเริม่ ดำ�เนินการในปีการศึกษา 2557 มีการประเมิน
ผลการดำ�เนนิ การและปรบั ปรงุ พฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนมาถงึ ปจั จบุ นั การดำ�เนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ จะดำ�เนนิ
การไปพรอ้ มๆ กนั ทั้ง 3 มิติ คอื มิตทิ ี่ 1 มติ โิ รงเรยี น มิตทิ ่ี 2 มติ ิของบา้ น และมติ ิท่ี 3 มติ ิของชุมชน
ทกุ มิติให้มีความสมั พันธส์ อดคล้องกัน

วทิ ยาจารย์ 15

การด�ำเนนิ กจิ กรรม โรงเรียนจะจัดกจิ กรรมในชว่ งเปดิ ภาคเรยี นท่ี 1 ของทุกๆ ปกี ารศกึ ษา เปน็ การปรบั พ้ืนฐาน
การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น โดยเฉพาะนกั เรยี นในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ทตี่ อ้ งเปลย่ี นแปลงตนเองในทกุ ๆ ดา้ น จะดำ� เนนิ การ
ไปพรอ้ มๆ กนั ทัง้ 3 มติ ิ ดงั น้ี

มิตทิ ่ี 1

โรงเรยี น โรงเรยี นจะจำ�ลองบา้ นหรอื ครอบครวั ใหม้ จี ำ�นวนเทา่ กบั จำ�นวนหอ้ งเรยี น คอื จำ�นวน 10
หอ้ ง โดยให้ครูที่ปรึกษาเปรยี บดั่งคุณพอ่ และคุณแม่ และนักเรยี นในแตล่ ะห้อง คือ ลูกๆ เป็นสมาชกิ
ของครอบครวั โดยแตล่ ะครอบครวั มกี ารกำ�หนดบทบาทหนา้ ทภี่ ายในครอบครวั และใหแ้ ตล่ ะครอบครวั
ไดเ้ ข้าศกึ ษาฐานการเรียนร้แู ต่ละฐาน ฐานต่างๆ ได้แก่

ฐานที่ 1 ฐานท่ี 3
ฐานการเรยี นรรู้ ะเบยี บ เปน็ การเรยี นรู้ ระเบยี บ ฐานบันเทิงเริงใจ ฐานน้ีนักเรียนจะได้ฝึกการร้องเพลง
ของโรงเรียนมัธยมศรีส�ำเภาลูน ว่าด้วย การร้องเพลงมาร์ชโรงเรียน การฝึกท�ำกจิ กรรมหน้าเสาธง
การปกครองนักเรียน พ.ศ. 2552 (ฉบับแก้ไข การฝึกร้องเพลงเก่ง และ ดี (TO BE NUMBER ONE)
เพม่ิ เตมิ 2552) แนวปฏบิ ตั ใิ นการเปน็ นกั เรยี นทดี่ ี พรอ้ มทั้งเต้นประกอบเพลง

ฐานอาชีพในฝัน เป็นฐานการเรียนรู้ท่ีให้นักเรียนได้ทราบเป้าหมาย
ชวี ติ ของตน นกั เรยี นไดท้ ดสอบความถนดั ทางวชิ าชพี และสามารถวางแผน
การเรียนของตนเองได้

ฐานที่ 2

16 วิทยาจารย์

ฐานที่ 5 ฐานท่ี 7
ฐานเสรมิ ทกั ษะชวี ติ เปน็ ฐานทใ่ี หค้ วามรเู้ กย่ี วกบั
โทษของสารเสพตดิ ทกุ ชนดิ การปฏบิ ตั ติ นใหห้ า่ งไกล ฐ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
จากสง่ิ เสพตดิ และการหา่ งไกลจากอบายมขุ การให้
ความรเู้ กยี่ วกบั เพศวถิ ี เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมคี วามรเู้ กยี่ ว เป็นฐานท่ีให้ความรูเ้ ก่ยี วกบั หลัก
กบั การมีความรักในวัยเรยี น การปอ้ งกันตนเองจาก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ
การตั้งครรภ์ในวัยเรียน ซึ่งจะมีวิทยากรท่ีมีความรู้ การน้อมน�ำหลักปรัชญาของ
แต่ละด้านมาใหค้ วามรู้กบั นักเรยี นโดยตรง เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิต
ประจำ� วนั ใหน้ กั เรยี นมคี วามพอเพยี ง
พอประมาณ มีเหตุผล และมี
ภูมคิ มุ้ กนั การรู้จักการออม

ฐานความรู้ ซ่งึ ฐานน้ีจะมีฐานยอ่ ยๆ ตามกล่มุ สาระ ฐานพัฒนาจิต เป็นฐานที่ให้ความรู้และส่งเสริมให้
การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระคือ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนมีคุณธรรม มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตาม
วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาตา่ งประเทศ หลักสูตร และมคี ณุ ลักษณะตามอตั ลกั ษณ์ของโรงเรียน
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษาการงานอาชพี และศลิ ปะเปน็ ฐาน และปฏิบัตติ นตามหลักความดพี ้นื ฐานสากล 5 ประการ
ทส่ี รา้ งทศั นคติเชงิ บวกทางดา้ นการเรยี น
ฐานท่ี 6
ฐานท่ี 4

วิทยาจารย์ 17

มิตทิ ่ี 2

บ้าน มีข้อตกลง (MOU) ระหว่างบ้านกับโรงเรียน ในการดูแลนักเรียน
ในความปกครอง โดยข้อตกลง (MOU) จะต้องมีการลงนามทุกฝ่ายคือ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และตัวนักเรียนเอง
มีการกำ�หนดให้มีหน้าที่ปฏิบัติที่ชัดเจน เช่น การจัดตารางอ่านหนังสือ
การจัดระเบียบบ้านใน 5 ห้องชีวิต และครูที่ปรึกษาจะต้องออกเยี่ยม
บ้านนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง โดยออกเยี่ยมบ้านในเดือนของแม่
(เดอื นสงิ หาคม) และเดอื นของพอ่ (เดอื นธนั วาคม) การเยย่ี มบา้ นแตล่ ะครง้ั
จะให้นักเรียนได้ทำ�กิจกรรม ก.ก.ซ. (กราบ กอด ซบ)

การกราบ การกอด การซบ
คือ การให้นักเรียนได้แสดงออกต่อ คอื การแสดงความรกั ความอบอนุ่ ที่ คือ การให้นักเรียนได้ผ่อนคลาย
พ่อแม่ นักเรียนกล้าท่ีจะกราบพ่อแม่ ให้คุณค่าทางจิตใจ ภาษากายมีค่า ความรสู้ กึ ทเ่ี หนอื่ ยลา้ ความรสู้ กึ ทท่ี อ้ แท้
และนกั เรยี นไดข้ อขมาพอ่ แมโ่ ดยการยก มากกว่าค�ำพูด เป็นสิ่งท่ีนักเรียนและ เปน็ การสรา้ งพลงั ทดี่ ใี หก้ บั ตนเองและ
ขันธ์ 5 ขันธ์ 8 เป็นการให้นักเรียน พ่อแม่ ผู้ปกครองสามารถสัมผัสได้ถึง พอ่ แม่
ได้ส�ำนึกผิดในส่ิงท่ีเคยปฏิบัติไม่ดีต่อ ขา้ งในจติ ใจ เปน็ ความรสู้ กึ ทป่ี ลาบปลมื้
พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ไมว่ า่ ดว้ ยกาย วาจา
หรอื ใจ เปน็ การชะลา้ งสงิ่ ไมด่ กี อ่ นทจี่ ะ
รบั สงิ่ ดๆี เขา้ มา

ซ่ึงนักเรียนบางคนไม่เคยได้ท�ำสิ่งเหล่าน้ี
ในขณะที่อยู่ที่บ้าน กิจกรรม ก.ก.ซ. จึงถือว่าเป็น
การใหน้ กั เรยี นไดแ้ สดงออก และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี ี
กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นจุดเริ่มต้นท่ีส่งเสริมให้
นกั เรยี นกล้าแสดงออก และกลา้ ท�ำส่งิ ดีๆ ภายใน
ครอบครัว

18 วทิ ยาจารย์

มิตทิ ี่ 3 การทำ� MOU รา้ นคา้ สะดวกยม้ิ
ซึ่งเปน็ รา้ นค้าทจ่ี ะไม่ขายเหล้า ขายบหุ ร่ี
ชุมชน มีข้อกำ�หนด ให้กบั นกั เรียนทีม่ อี ายตุ ำ่� กว่า 18 ปี
ในการร่วมมือ
ร่วมพัฒนาชุมชน ครวั เรอื นสขี าว
เช่น มกี จิ กรรมกบั ชุมชน เช่น กิจกรรมทางประเทศวัฒนธรรม
การรณรงค์การลดละเลกิ อบายมขุ การยับยั้งนักดมื่ หน้าใหม่

การจดั แสดงผลติ ภณั ฑ์ของโรงเรยี นร่วมกับชมุ ชน
ซึง่ ส่งเสริมให้นกั เรยี นได้เปดิ โลกทศั น์ทางอาชีพ มองเหน็ แนวทางในการสรา้ ง
อาชีพใหก้ ับตนเองในอนาคต มีความคิดสร้างสรรคแ์ ละสามารถสรา้ งผลิตภัณฑ์
ใหม่ๆ ทเี่ ปน็ ความต้องการของตลาดได้

ความสำ� เรจ็ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการใชน้ วตั กรรม“บา้ นแสนสขุ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจพฒั นาตนเองไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ”
โรงเรยี นไดข้ ยายผล โดยการขบั เคลอ่ื นผลงาน นำ� เสนอเผยแพรผ่ า่ นชมรม TO BE NUMBER ONE มกี ารแลกเปลย่ี น
เรียนรู้กับโรงเรียนต่างๆ ทั้งโรงเรียนในจังหวัดสุรินทร์ และนอกจังหวัด และมีการเผยแพร่ในสถานประกอบการ
ชมุ ชน ณ ชาแลนจเ์ จอรฯ์ อมิ แพค็ เมอื งทองธานี จงั หวดั นนทบรุ ี โดยการจดั นทิ รรศการ เอกสาร แผน่ พบั ทางสอื่ ICT
ต่างๆ เพอ่ื เผยแพร่นวตั กรรมทเี่ ราภาคภมู ิใจ นอกจากน้ีมีโรงเรียน ชุมขน หน่วยงาน / องคก์ ารต่างๆ มาศกึ ษาดูงาน
และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
ในการพัฒนาตนเองไปสู่ความส�ำเร็จนั้น นอกจากการสร้างแรงบันดาลใจจากครอบครัว โรงเรียน และ
ชุมชน แล้วน้ัน สิ่งส�ำคัญท่ีสุด คือ “ความเพียร” จากข้างในตัวตนของตัวเอง ท่ีจะน�ำพาไปสู่ความส�ำเร็จท่ียั่งยืน
ไมว่ ่าจะอยู่ทไี่ หน ท�ำการงานใด กจ็ ะนำ� มาซึง่ ความเจรญิ รุง่ เรอื ง // สวสั ดคี รบั //

วทิ ยาจารย์ 19

เรียนรอบตัว

ธนินท์รฐั กฤษฎฉ์ิ นั ทัชท์ ศิริวิศาลสวุ รรณ

กระบวนทัศน์การจดั กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้

“STARs 5H Model”

ของโรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์
จงั หวดั สมทุ รปราการ

(ตอนท่ี 2)

(ตอ่ จากฉบบั ท่ีแลว้ )

สรุปรูปแบบของภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2559

โรงเรียนมีจำ� นวน 63 กจิ กรรม รวมบรู ณาการ 186 H

หมวดท่ี 1 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (บงั คบั ตามหลักสตู ร)
หมวดที่ 2 สร้างเสรมิ สมรรถนะและการเรียนรู้
หมวดท่ี 3 สรา้ งเสรมิ คุณลักษณะและค่านิยม
หมวดที่ 4 สรา้ งเสริมทักษะการทำ� งาน การด�ำรงชีพ และทกั ษะชวี ิต

การไดม้ าซงึ่ กจิ กรรมโดยเนน้ กระบวนการ

1. + 2.
โรงเรียน โรงเรยี น
จดั กิจกรรมท่ี เปดิ โอกาสให้
หลากหลาย ผูเ้ รียนเสนอกิจกรรม

โครงสรา้ งเวลาเรียนทง้ั หมดตามระบบของ สพฐ. (รวม 30 ชม./สัปดาห)์
• คาบเรยี นรายวิชาพื้นฐานและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำ� นวน 24 ชม./สัปดาห์
• คาบเรียนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู”้ จ�ำนวน 6 ชม./สัปดาห ์
(บรู ณาการกับรายวิชาหน้าทพี่ ลเมอื ง)

20 วทิ ยาจารย์

โครงสรา้ งการจดั กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลาร”ู้

• กิจกรรมบคุ คล (ครู) จ�ำนวน 40 ชม./ภาคการศกึ ษา 2 คาบ/สัปดาห์ (องั คาร, พุธ)
(ครเู ปน็ ผ้กู ำ� หนดหมวด 2, 3, 4 ด้วยตนเองและเปน็ ผู้ก�ำหนด 4 H ด้วยตนเอง)
• กจิ กรรมภาษาอังกฤษ จ�ำนวน 40 ชม./ภาคการศึกษา 2 คาบ/สัปดาห์ (จัดในตาราง)

(หมวด 2 และก�ำหนด Head, Heart, Hand)
• กจิ กรรมวิชาชพี ธ�ำรงไทย จำ� นวน 20 ชม./ภาคการศึกษา 1 คาบ/สัปดาห์ (พฤหสั บดี)
(หมวด 4 และกำ� หนด Head, Heart, Health, Hand)
• กิจกรรมวิถพี ุทธ บริสุทธิ์ธรรม น้อมน�ำพลเมืองโลก จ�ำนวน 20 ชม./ภาคการศกึ ษา
1 คาบ/สปั ดาห์ (ศกุ ร์) (หมวด 3 และกำ� หนด Head, Heart, Health, Hand)
สรุปความพงึ พอใจของนกั เรียนต่อกจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู”้ (63 กิจกรรม)
• มากทสี่ ุด 90.47% มาก 9.53% ปานกลาง 0% นอ้ ย 0% น้อยที่สดุ 0%
• มากท่ีสุดทั้งหมด 57 กิจกรรม และมากทัง้ หมด 6 กิจกรรม
สรปุ การประเมนิ การพัฒนา 4 H ของนักเรยี น (63 กจิ กรรม)
• ดี 90.47% พอใช้ 9.53% ควรปรบั ปรงุ 0%
• ดีท้ังหมด 57 กจิ กรรม และพอใช้ทั้งหมด 6 กิจกรรม

วทิ ยาจารย์ 21

สรุปรปู แบบของ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559

โรงเรยี นมีจำ� นวน 43 กิจกรรม รวมบรู ณาการ 172 H

10 จดุ เน้นของโรงเรียน 6. เนน้ การคดิ ขัน้ สูง และพัฒนาผลสัมฤทธิ์
7. เน้นค�ำถาม R - C - A
1. เน้นการเรยี นอย่างมีความสขุ 8. เน้นการสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียน
2. เน้นการบูรณาการหมวด 2 - 4 9. ลดการประเมนิ ในสง่ิ ทีไ่ ม่จำ� เปน็
3. เน้นการพัฒนา 4 H ทั้งระบบ 10. ถอดบทเรียนเพ่อื การพัฒนางาน
4. เน้นการเรียนแบบมีส่วนร่วม
5. เนน้ Active Learning

22 วทิ ยาจารย์

โครงสร้างการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลาร”ู้ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3

• กิจกรรมบุคคล (ครู) จำ� นวน 40 ชม./ภาคการศึกษา 2 คาบ/สปั ดาห์ (อังคาร, พธุ )
• กิจกรรมประวัตศิ าสตร์ จ�ำนวน 20 ชม./ภาคการศึกษา 1 คาบ/สัปดาห์ (พฤหสั บด)ี
• กจิ กรรมซ่อมเสรมิ จ�ำนวน 40 ชม./ภาคการศกึ ษา 2 คาบ/สปั ดาห์ (จนั ทร)์
• กิจกรรม 4 พร้อม : “พร้อมพอเพยี ง พร้อมธ�ำรงวิถพี ทุ ธ พร้อมวชิ าชพี
และพร้อมสูพ่ ลเมอื งโลก” จำ� นวน 20 ชม./ภาคการศึกษา 1 คาบ/สปั ดาห์ (ศกุ ร์)

โครงสรา้ งการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาร”ู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 – 6

• กจิ กรรมบุคคล (ครู) จ�ำนวน 40 ชม./ภาคการศึกษา 2 คาบ/สปั ดาห์ (องั คาร, พุธ)
• กจิ กรรมภาษาอังกฤษ จ�ำนวน 40 ชม./ภาคการศกึ ษา 2 คาบ/สัปดาห์ (จดั ในตาราง)
• กิจกรรมซอ่ มเสริม จำ� นวน 20 ชม./ภาคการศึกษา 1 คาบ/สัปดาห์ (พฤหสั บดี)
• กจิ กรรม 4 พร้อม : “พร้อมพอเพียง พรอ้ มธ�ำรงวถิ ีพทุ ธ พรอ้ มวชิ าชพี
และพรอ้ มสพู่ ลเมืองโลก” จำ� นวน 20 ชม./ภาคการศึกษา 1 คาบ/สปั ดาห์ (ศุกร)์

สรุปความพึงพอใจของนกั เรียนต่อกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” (43 กิจกรรม)
• มากท่ีสดุ 100% มาก 0% ปานกลาง 0% นอ้ ย 0% นอ้ ยทสี่ ดุ 0%
• มากท่ีสดุ ทัง้ หมด 43 กิจกรรม

วิทยาจารย์ 23

ตวั อยา่ งรายชื่อกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้” ของโรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดีย์

ท่ี ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2

1 ลีลามอื หนอนน้อย ผีเสื้อน้อยเรียงร้อยคำ�
2 เกมมหาสนกุ สดุ หรรษา มอื นอ้ ยสร้างงาน
3 ดูเพลนิ ทวี ี ไอที สือ่ สรา้ งสรรค์ รวมมติ ร สะกิดใจ ตามวัย ป.1
4 ศลิ ป์อิสระ ศิลป์อสิ ระ
5 น้�ำพรกิ ครัวไทย ดนตรีไทย
6 เสน้ สวย ลายสวย แขง่ ขันทนั เวลา (คณิตศาสตร์)
7 แขง่ ขันทันเวลา (คณิตศาสตร)์ วาดภาพด้วยคอม (Design by Paint)
8 การละเลน่ พนื้ บา้ น สนุกสนานตามวยั รวมศิลปส์ ร้างสรรค์
9 รกั เมอื งไทย การละเลน่ พ้ืนบา้ น
10 รวมศิลปส์ รา้ งสรรค์ ภาษาองั กฤษแสนสนุก (English is Fun)
11 แขง่ ขันทนั เวลา (ภาษาไทย) ดนตรคี ือชีวติ
12 Fun with English ล�้ำค่าเพลงพระราชนิพนธ์
13 นกั คิดน้อย สร้างสรรคง์ านประดษิ ฐ์
14 เรียงรอ้ ยภาษาคาราโอเกะ สุภาษิตไทยแสนสนกุ
15 สรา้ งสรรคง์ านสวยด้วยมอื เรา สร้างสรรค์งานกระดาษ
16 น�้ำสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ ปงิ ปอง
17 กระดาษหรรษา เวทยค์ ณติ มหัศจรรย์
18 นกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย เกมลับสมอง
19 มหัศจรรย์ใบตอง สนุกคิดกบั ลกู คดิ ญปี่ ุน่
20 ค�ำศพั ท์ลับสมอง ขับขานเสยี งสวรรค์
21 คณติ หรรษา พิมพด์ ีดภาษาไทย
22 เกมลบั สมอง คณติ คดิ สนุก
23 นักประดษิ ฐน์ ้อย ปริศนาอกั ษรไขว้ ภาค 2
24 สขุ ภาพวยั ใส รายไดจ้ ากมาลัยสกู่ ารออม
25 ใบจากสสู่ ุคติ มัคคุเทศกน์ อ้ ย เรยี งร้อยถ่ินไทย
26 ปรศิ นาอกั ษรไขว้ ซาลอนตะลอนทวั ร์
27 การต์ ูนสขุ สนั ต์ สวยดว้ ยมอื เรา
28 หนนู ้อย เจ้าเวหา หมากรกุ มือทอง
29 Fun with English game ขยับกาย ขยายสขุ
30 กีฬาสขุ ใจ ร่างกายแขง็ แรง ตบเพ่ืออาชีพ
31 เยบ็ ด้วยมอื ถือหลักความพอเพยี ง หนนู อ้ ยเจา้ เวหา
32 สร้างสรรคง์ านศิลป์ Fun with English game
33 ไหมพรมบม่ รัก กฬี าสขุ ใจรา่ งกายแขง็ แรง
34 สีเ่ หลยี่ มสรา้ งสรรค์ รอ้ ยเรยี งส�ำเนียงไทย

24 วทิ ยาจารย์

พทุ ธศาสนา

สนุ ทร การบรรจง

วาทะพระบรมครู เรอื่ ง

การล้างวาทะเร่ืองตบะ

(ตอนท่ี 1)

จติ ด้นิ รน การกลบั กลอก ป้องกนั ยาก หา้ มยาก บคุ คลทมี่ ี
ปญั ญาสามารถดัดจติ ใหต้ รงได้ เหมอื นช่างศรดัดลกู ศร

พบกนั ฉบบั นี้ ขนึ้ ตน้ หรอื อารมั ภบทดว้ ยพทุ ธภาษติ เรอื่ งจติ ซง่ึ เปน็ พทุ ธศาสนสภุ าษติ หลกั สตู ร
นกั ธรรมชน้ั โททผ่ี เู้ รยี นสามารถสอบนกั ธรรมชนั้ โทได้ ดว้ ยการเรยี งความแกก้ ระทธู้ รรมดว้ ยพทุ ธภาษติ
บทน้ี และยังมาในหนังสอื ธรรมบท ซ่ึงศาสตราจารยพ์ เิ ศษ เสฐยี รพงษ์ วรรณปก ราชบณั ฑติ แปลและ
เรยี บเรียงใหม่ เพ่ือนำ� ไปสเู่ รอื่ งการล้างวาระเร่อื งตบะ
การล้างวาทะเรื่องตบะนี้ เป็นเร่ืองที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงล้างวาทะของ
นคิ รนถ์นาฏบตุ ร ซ่ึงมมี าในอปุ าลวิ าทสูตร คัมภีรม์ ชั ฌมิ นิกาย มชั ฌิมปัณณาสก์ ดังตอ่ ไปนี้

แด่คณุ ครู

ตอนที่ 44

วทิ ยาจารย์ 25

กาลครงั้ หนงึ่ ขณะทพี่ ระพทุ ธองคป์ ระทบั อยทู่ ปี่ า่ วารกิ อมั พวนั วหิ าร ใกลเ้ มอื งนาลนั ทา
ในคราวนั้นนิครนถ์นาฏบุตรกับบริวารเป็นอันมาก อาศัยอยู่ท่ีเมืองนาลันทานั้นด้วย ครั้งน้ัน
ฑฆี ตปสั สนี คิ รนถก์ ลบั จากเทย่ี วบณิ ฑบาต แลว้ ไปเฝา้ องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระพทุ ธองค์
ตรสั ถามว่า นคิ รนถน์ าฏบตุ ร บญั ญัตกิ รรมในการท�ำบาปกรรม ในการประพฤตบิ าปกรรมไวก้ ่ี
ประการ
ฑีฆตปัสสีนิครนถ์กราบทูลว่า ข้าแต่พระพุทธองค์นิครนถ์นาฏบุตรไม่ได้สะสม
การบญั ญตั กิ รรมวา่ เปน็ กรรม เพยี งบญั ญตั ทิ ณั ฑะวา่ เปน็ ทณั ฑะพระพทุ ธเจา้ ขา้ จงึ ตรสั ถามวา่
เขาบัญญัติทัณฑะในการท�ำบาปกรรมในการประพฤติบาปกรรมไว้กี่ประการ 3 ประการ คือ
กายทณั ฑะ วจที ัณฑะ มโนทัณฑะ พระพทุ ธเจ้าข้า ทณั ฑะ 3 ประการนนั้ อย่างเดียวกนั หรอื
ตา่ งกนั ตา่ งกนั พระพทุ ธเจา้ ขา้ นคิ รนถน์ าฏบตุ รบญั ญตั ทิ ณั ฑะ ทณั ฑะไหนวา่ มโี ทษมากกวา่ กนั
นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติกายทัณฑะว่ามีโทษมากว่าวจีทัณฑะและมโนทัณฑะพระพุทธเจ้า
นีแ่ น่ะฑฆี ตปัสสี นคิ รนถน์ าฏบุตร บญั ญตั ิวา่ กายทัณฑะมโี ทษมากวา่ อยา่ งนน้ั หรอื อย่างนัน้
พระพุทธเจ้าข้า แล้วทรงซกั ใหต้ อบอย่างนี้เปน็ คร้ังที่ 2 และคร้ังที่ 3
เมื่อพระพุทธองค์ทรงซักให้ตอบอย่างน้ีอีกถึง 3 คร้ังแล้ว ฑีฆตปัสสีนิครนถ์ก็ถูกถาม
ขึ้นว่า ข้าแต่พระพุทธองค์ พระพุทธองค์ทรงบัญญัติทัณฑะในการกระท�ำบาปกรรม ในการ
ประพฤติบาปกรรมไวก้ ป่ี ระการ พระพุทธเจ้าข้า ตรัสตอบว่า ฑีฆตปสั สเี ราไมไ่ ดส้ ะสมมาเพอ่ื
บญั ญตั ทิ ณั ฑะวา่ เปน็ ทณั ฑะ สะสมแตก่ ารบญั ญตั กิ รรมวา่ เปน็ กรรมเทา่ นนั้ ถา้ อยา่ งนน้ั พระพทุ ธองค์
ทรงบญั ญตั กิ รรมในการทำ� บาปกรรม ในการประพฤตบิ าปกรรมไว้ก่ปี ระการพระพุทธเจ้าข้า
ตรสั ตอบวา่ เราบญั ญตั กิ รรมไว้ 3 ประการ ในการกระทำ� บาปกรรม คอื กายกรรม วจกี รรม และ
มโนกรรม
ขา้ แตพ่ ระพทุ ธองคก์ รรม 3 อยา่ งน้ี ตา่ งกนั หรอื เหมอื นกนั ตา่ งกนั ขา้ แตพ่ ระพทุ ธองค์
กรรม 3 อยา่ งคอื กายกรรม วจกี รรม และมโนกรรม อยา่ งไหนมโี ทษมากวา่ กนั ดกู อ่ นฑฆี ตปสั สี
มโนกรรมมีโทษมากกว่ากายกรรมและวจีกรรม พระพุทธองคต์ รสั วา่ มโนกรรมมโี ทษมากกว่า
กายกรรมและวจกี รรมแนห่ รอื พระพทุ ธเจา้ ขา้ แนๆ่ จรงิ หรอื พระพทุ ธเจา้ ขา้ จรงิ ครงั้ ทฑี่ ฆี ตปสั สนี คิ รนถ์
ทลู ใหพ้ ระพุทธองคย์ นื ค�ำอยู่ถึง 3 ครัง้ แลว้ ก็ทูลลาไปหานิครนถน์ าฏบตุ ร ผู้เป็นอาจารยใ์ หญ่
ของตน

26 วทิ ยาจารย์

คราวนน้ั นคิ รนถน์ าฏบตุ ร กำ� ลงั นงั่ อยใู่ นทป่ี ระชมุ คฤหสั ถ์ ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั ของตน ครน้ั เหน็
ฑีฆตปัสสีนิครนถ์มาแต่ไกลก็รีบถามว่าฑีฆตปัสสีมาแต่ไหนในเวลากลางวันเช่นนี้ ฑีฆตปัสสี
ตอบวา่ ขา้ พเจา้ มาจากสำ� นกั พระพทุ ธองค์ เธอไดส้ นทนากบั พระพทุ ธองคอ์ ยา่ งไรบา้ ง ฑฆี ตปสั สี
ก็เล่าใหฟ้ ังตามท่ไี ดส้ นทนากับพระพุทธองค์
นิครนถ์นาฏบตุ ร จึงวา่ ดลี ะ ฑฆี ตปสั สสี าวกผ้ไู ด้สดบั ค�ำสอนผู้รคู้ ำ� สอนขององค์ศาสดา
ได้ดี ฉันใดฑีฆตปัสสีนิครนถ์ก็กล่าวแก้ต่อพระพุทธองค์ ฉันนั้น เพราะว่ามโนทัณฑะอันต�่ำช้าน้ี
เมื่อเทียบกับกายทัณฑะอันใหญ่แล้ว จะดีงามได้อย่างไร ในการกระท�ำบาปกรรม กายทัณฑะ
อยา่ งเดียวมีโทษมาก วจที ัณฑะ มโนทณั ฑะ ไมม่ ีโทษมากเหมือนกายทัณฑะเลย
เมอ่ื เขากลา่ วอยา่ งนแี้ ลว้ อบุ าลคี ฤหบดี ผเู้ ปน็ สาวกของเขากไ็ ดก้ ลา่ วตอ่ นคิ รนถน์ าฏบตุ รวา่
ดีละๆ ฑีฆตปสั สีสาวกผู้ได้สดับผูเ้ ข้าใจค�ำสอนของศาสดาได้ดีเปน็ ฉันใดฑฆี ตปสั สีกไ็ ด้กลา่ วแก่
พระพทุ ธองค์ ฉันนัน้ มโนทณั ฑะอนั ลามกนี้ เม่อื เทียบกบั กายทัณฑะอย่างใหญ่นี้แลว้ จะงามได้
อย่างไร ในการท�ำบาปกรรม ในการประพฤติบาปกรรม กายทัณฑะอย่างเดียวเท่าน้ันมีโทษ
มากกว่าวจีทัณฑะ มโนทัณฑะ ไม่มีโทษมากเหมือนกายทัณฑะเลยเอาหละ เราจะไปคิดผิด
พระพุทธองค์ในขอ้ นีใ้ ห้ได้

วทิ ยาจารย์ 27

ตวั พระพทุ ธองคจ์ ะยนื ตามทฑี่ ฆี ตปสั สพี ดู นี้ เราจกั กระชากพระพทุ ธองคม์ าดว้ ยวาทะ
ของเราใหเ้ หมอื นกบั บรุ ษุ ผมู้ กี ำ� ลงั จบั แกะทมี่ ขี นยาวกระชากมาฉนั นน้ั เราจกั ฉดุ ครา่ พระพทุ ธองค์
ด้วยวาทะของเรา ให้เหมือนกับคนซักกระด้งแป้งเหล้า น�ำกระด้งท่ีตากแป้งเหล้าไปท้ิงไว้
ในหว้ ยนำ้� ทลี่ กึ แลว้ จบั มมุ ฉดุ กระฉากมาฉนั นน้ั เราจกั จบั พระพทุ ธองคพ์ ลกิ ควำ่� พลกิ หงายจบั เคาะ
พระพทุ ธองคด์ ว้ ยวาทะของเรา เหมอื นกบั นกั เลงสรุ าจบั เครอ่ื งกรองสรุ าควำ�่ หงาย เคาะใหก้ ากสรุ า
ออกฉะนนั้ เราจกั หมนุ พระพทุ ธองคเ์ ลน่ ดว้ ยวาทะของเขาใหส้ นกุ สนาน เหมอื นกบั ชา้ งลงเลน่ นำ�้
แลว้ พน่ นำ้� เลน่ ตามสบายฉนั นนั้ นคิ รนถน์ าฏบตุ ร ผเู้ ปน็ อาจารยจ์ งึ กลา่ ววา่ ดลี ะ อบุ าลคี ฤหบดี
เธอจงไปจบั ผิดพระพทุ ธองค์ในขอ้ นใ้ี หจ้ งได้ ถา้ เธอไม่ไป เราหรือที่ฑีฆตปัสสีก็จะไป
เมื่อนิครนถ์นาฏบุตรผู้เป็นอาจารย์ใหญ่กล่าวอย่างน้ีแล้ว ฑีฆตปัสสีนิครนถ์
กก็ ลา่ วขนึ้ วา่ ในการทจ่ี ะใหอ้ บุ าลคี ฤหบดี ไปโตว้ าทะกบั พระพทุ ธองคน์ น้ั ขา้ พเจา้ ไมช่ อบใจเลย
เพราะว่าพระพุทธองค์เป็นผู้มีมารยา รู้จักมารยาส�ำหรับกลับใจพวกสาวกของพวกนิครนถ์
ไดเ้ ปน็ อยา่ งดีนคิ รนถน์ าฏบตุ รจงึ วา่ เปน็ ไปไมไ่ ดอ้ บุ าลคี ฤหบดจี ะไมย่ อมเปน็ สาวกของพระพทุ ธองค์
เป็นแน่ ไปเถิดคฤหบดี จงไปจับผิดวาทะของพระพุทธองค์ในเรื่องนี้ให้ได้ถ้าคฤหบดีไม่ไป
เราหรือฑีฆตปัสสีก็จะไป ฑีฆตปัสสีนิครนถ์ก็ได้ห้ามอย่างนี้อีกเป็นครั้งท่ี 2 และคร้ังท่ี 3
นิครนถ์นาฏบตุ รกย็ ังยืนคำ� อย่อู ย่างนนั้
ท่านผู้อ่านหรือท่านผู้ฟังคงต้องการจะทราบว่ากายทัณฑะ การประพฤติบาปกรรม
ทางกาย วจีทัณฑะ การประพฤติบาปกรรมทางวาจา และมโนทัณฑะ การประพฤติบาปกรรม
ทางใจ อย่างไหนจะมโี ทษรุนแรงหรือมากกว่ากนั การที่อบุ าลีคฤหบดี สาวกผูอ้ ปุ ถัมภน์ คิ รนถ์
คนส�ำคัญ เมื่อไปโต้วาทะกับองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ใครจะเป็นผู้ชนะ และ
ผลทต่ี ดิ ตามมาจะเปน็ อยา่ งไร ต้องอา่ นตอนท่ี 2 ซงึ่ เป็นตอนส�ำคญั ตอ่ ไป จากกนั ฉบับน้จี าก
กนั ด้วยพุทธภาษติ เรอ่ื ง จติ ท่ีนำ� คงามสขุ มาใหท้ วี่ า่
“จิตนั้นข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติเขา (คือเกิดข้ึนเร็วและดับไปเร็ว) มีปกติตกไปตาม
ความใคร่ คือตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ การฝึกจิตเช่นน้ันเป็นการดี เนื่องจากจิตท่ีฝึกดีแล้ว
น�ำความสขุ มาให้”
(อา่ นตอ่ ฉบับหนา้ )

28 วทิ ยาจารย์

ประโยคสญั ลักษณ์

โรงนำ้� ชา

ประโยคสญั ลกั ษณท์ ี่ 67

หมขี ั้วโลกตัวสุดทา้ ย!

ดทู า่ วา่ โลกของเราใบนี้คงด�ำรงอยู่มานานเกินไปในความคดิ ของมนษุ ยผ์ ปู้ ระเสริฐ
มนุษยผ์ ปู้ ระเสริฐท้งั หลายจึงรว่ มดว้ ยชว่ ยกนั พาโลกใบนี้ ไปสูจ่ ุดสน้ิ สดุ ในอัตราเรง่ อนั รวดเรว็
พยานส�ำคัญคอื ดนิ แดนน้�ำแขง็ ขั้วโลกผนื สุดท้ายที่ก�ำลงั ละลายดว้ ยสภาวะโลกรอ้ น...
ทกี่ ลายเปน็ ปัญหา คอื หมีขัว้ โลกตัวสุดท้ายอาศัยอยู่บนแผ่นดนิ นำ�้ แข็งผนื น้นั !




วทิ ยาจารย์ 29

หลังทีมส�ำรวจดินแดนข้ัวโลกค้นพบว่า โลกใบน้ีเหลือหมีขั้วโลกอยู่เพียงตัวเดียว
เป็นตัวสุดท้าย สื่อมวลชนทั้งโลกโหมกระพือข่าวการค้นพบคร้ังน้ี จนสร้างแรงกระเพ่ือมและ
ความตระหนกอกส่ันไปทัว่ ทกุ หวั ระแหง ทุกคนล้วนรู้ได้ทันทีว่าน่คี ือ วิกฤตครง้ั ใหญ่ท่ีไมส่ ามารถ
น่ิงนอนใจได้อกี ต่อไป!

นั่นกเ็ พราะหมีข้วั โลกคอื สัญลักษณข์ องความมีอย่ขู องแผน่ ดนิ น้ำ� แข็ง สัญลกั ษณ์ของโลก
ที่ยังไม่ร้อนจนน�้ำจะล้นท่วมโลก สัญลักษณ์ว่าเราจะสามารถสบายใจไปได้อีกสักพักตราบใดที่
หมขี ้วั โลกยงั คงดำ� รงชีพอยู่

หลงั จากขา่ วหมีขั้วโลกตวั สุดทา้ ยเกิดเปน็ กระแสอนั รอ้ นแรง มาตรการแก้ปัญหาโลกร้อน
หลากหลายวธิ จี ากทกุ ประเทศผดุ โผลพ่ รวดพราดออกมาราวคนทอ้ งเสยี เผลอกนิ ยาถา่ ย ผนู้ ำ� ทกุ คน
ตื่นตัวและยกปัญหาโลกร้อนข้ึนเป็นวาระแห่งชาติท่ีต้องร่วมกันแก้ไข ประเทศไหนที่นักการเมือง
กำ� ลงั หาเสยี งเพอื่ การเลอื กตง้ั ตา่ งดนั เอาปญั หาโลกรอ้ นขนึ้ เปน็ นโยบายหลกั ของพรรคหวงั คะแนนเสยี ง
ท่ที ่วมทน้ สมชั ชา สมาคม สมาพนั ธ์ สหพันธ์ NGO หรอื องค์กรใดๆ กต็ ามที่เกย่ี วกบั สิ่งแวดล้อม
ทว่ั โลกนดั ประชมุ พร้อมกนั อย่างท่ีไมเ่ คยเกิดขึน้ มากอ่ น
ทกุ คนมมี ตเิ หน็ พ้องตอ้ งกัน...

“มนุษยต์ ้องอนุรกั ษห์ มขี ้ัวโลกตัวสุดท้ายน้ไี วใ้ หน้ านทสี่ ดุ !”
ปฏิบัติการพิทักษ์ชีวิตหมีข้ัวโลกตัวสุดท้ายจึงเริ่มขึ้นจากความร่วมมือของทุกหน่วยงาน
จากท่ัวทุกมุมโลก
เรม่ิ จากการวจิ ยั ศกึ ษาชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องมนั โดยละเอยี ดแบบทไ่ี มเ่ คยมใี ครคดิ จะศกึ ษามากอ่ น
ในระหวา่ งน้ันกจ็ ดั ตั้งทีมพิเศษเฉพาะกิจทจี่ ะมารบั ผิดชอบปฏบิ ัตกิ ารนี้
ทมี พเิ ศษเฉพาะกจิ ทแ่ี บกความหวงั ของคนทง้ั โลกไวด้ ว้ ยการชว่ ยชวี ติ หมขี ว้ั โลกตวั สดุ ทา้ ย!



ไอเย็นฟ้าวฟงุ้ คลุง้ ครนื ม้วนกระจายออกเปน็ วงกว้างตามแรงเปา่ ของใบพดั เฮลิคอปเตอร์
2 ลำ� ท่กี �ำลงั ลดระดับลงจอดบนลานน้ำ� แขง็ ขาวโพลนกว้างใหญส่ ดุ ลกู หลู กู ตา
ทง้ั 2 ลำ� แตะสมั ผสั พน้ื นำ้� แขง็ แทบจะพรอ้ มกนั และแทบจะทนั ทที ล่ี งจอด ประตเู ฮลคิ อปเตอร์
ทงั้ 2 ลำ� เปดิ ผลัวะออกพร้อมกัน
มนษุ ยใ์ นชุดกันหนาวเตม็ พิกัดกระโดดลงมาจากเฮลิคอปเตอรท์ ีละคนจนครบ
ทมี พเิ ศษเฉพาะกจิ ทกุ คนซงึ่ ลว้ นเปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญในศาสตรแ์ ขนงตา่ งๆทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปฏบิ ตั กิ าร
ระดับโลกครั้งน้ี และถูกคัดเลือกมาจากหลายประเทศทั่วโลก อยู่ในชุดพร้อมอุปกรณ์กันหนาว
สขี าวสะอาดดูเป็นทีมเดียวกนั นับไลเ่ รียงกันไปได้ 20 คน พอดบิ พอดี
ชีวติ ของหมีขว้ั โลกตัวสุดทา้ ยฝากไว้กับมนษุ ย์ 20 คนน้ี
ความหวังของมวลมนษุ ยชาตฝิ ากไวก้ ับทมี พเิ ศษเฉพาะกิจ 20 คนน!ี้




30 วทิ ยาจารย์

“นนี่ ำ้� แขง็ ขวั้ โลกมนั กำ� ลงั จะละลายหมดจรงิ เหรอวะ นม่ี นั ยงั ดกู วา้ งใหญอ่ ยเู่ ลยนะ เดนิ มา
ทง้ั วนั แลว้ ยงั ไมเ่ หน็ ขอบนำ้� แขง็ ตรงไหนเลย” ชายคนหนงึ่ ในทมี พเิ ศษเฉพาะกจิ บน่ ขนึ้ กลางวงอาหารคำ่�
ในเตน็ ท์ขนาดใหญ่ทท่ี กุ คนตอ้ งพกั อาศยั รว่ มกันตลอดการปฏิบตั ภิ ารกิจนี้

มนั เปน็ เตน็ ทท์ เ่ี พยี บพรอ้ มไปดว้ ยสงิ่ อำ� นวยความสะดวกครบครนั ทงั้ ฮที เตอรใ์ หค้ วามอบอนุ่
ตเู้ ยน็ (เพราะในเตน็ ทม์ ฮี ที เตอรท์ ปี่ รบั อากาศใหอ้ บอนุ่ อยตู่ ลอดเวลาจงึ ตอ้ งมตี เู้ ยน็ เพอ่ื เกบ็ รกั ษาอาหาร)
เครอ่ื งซกั ผ้า เครือ่ งอบผา้ หอ้ งน้ำ� ท่ตี ิดตงั้ เครอื่ งท�ำน�้ำร้อน อ่างอาบน้ำ� อ่างลา้ งหน้า ครวั ขนาดย่อม
และเคร่อื งลา้ งจาน...

และแนน่ อน ทกุ อยา่ งอาศยั ไฟฟา้ ทกี่ ำ� เนดิ มาจากเครอ่ื งปน่ั ไฟทใี่ ชพ้ ลงั งานจากทง้ั แบตเตอร่ี
และนำ�้ มนั
ทง้ั หมดนเี้ พอ่ื ใหท้ มี พเิ ศษเฉพาะกจิ สามารถชว่ ยเหลอื หมขี ว้ั โลกตวั สดุ ทา้ ยอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
สูงสุด
ทกุ คนเรียกเตน็ ท์ใหญ่หลงั นีว้ า่ “แคมป”์
“เราเพิ่งสำ� รวจไดว้ ันเดียวเองนะ อย่าเพง่ิ คดิ ตนื้ ๆ วา่ ปัญหานีม้ ันยังไมว่ กิ ฤต เพียงเพราะ
เราได้มาเห็นลานน�้ำแข็งกว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา” หญิงวัยประมาณ 45 ปี บุคลิกเคร่งเครียด
เอ่ยบอกเสียงเรียบโดยไมเ่ งยหนา้ ข้นึ สบตาพลางกัดขนมปังกอ้ นแล้วเคยี้ วช้าๆ

“เมอ่ื ไมก่ ส่ี ิบปกี อ่ น...” เธอพดู ต่อ
“มนั มดี นิ แดนนำ้� แขง็ แบบนน้ี บั พนั นบั หมนื่ แหง่ ทว่ั ขว้ั โลก แตต่ อนน้ี ตรงนี้ นค่ี อื ผนื สดุ ทา้ ย
และมันก�ำลงั ละลายสลายไปทุกวินาที!”
เธอจุม่ ขนมปังก้อนชดื ๆ ลงไปในถว้ ยซุปรอ้ นๆ ตรงหนา้ ก่อนยกมนั ข้ึนมากัดอกี ค�ำ พูดตอ่
ด้วยน้ำ� เสียงกรา้ วข้นึ ท้ังๆ ทีป่ ากยงั เคย้ี วอยู่
“แลว้ ไอเ้ ตน็ ทพ์ กั แรม หรอื แคมปท์ ท่ี ำ� ตวั ยงั กบั บา้ นตากอากาศเนย่ี นะ กไ็ มร่ วู้ า่ เปน็ ความคดิ
ของใครท่ตี ้องการให้เราตอ้ งพกั ในทแี่ บบนี้ ไอ้ของอ�ำนวยความสะดวกพวกน้ีแม่งท�ำให้โลกรอ้ นขนึ้
ทัง้ น้ัน...”
ทั้ง 19 คนทเ่ี หลือในทีมมองเธอเปน็ ตาเดียว ดว้ ยความรูส้ กึ ทีย่ ากจะบรรยาย



10 วันแหง่ การสำ� รวจแผน่ ดินน้�ำแขง็ ผืนสุดทา้ ยผ่านไป ทีมพเิ ศษเฉพาะกจิ ยังไม่พบ
แมร้ อ่ งรอยของหมีขัว้ โลกตัวสดุ ท้าย ความหวังของทุกคนเรมิ่ หร่โี รย
อกี ท้งั สมาชิกในทมี ยงั ป่วยซมอยู่ 6 คน ไม่สามารถออกนอกแคมปไ์ ด้

วันที่ 16 ของภารกจิ ก้ชู ีวิตหมขี วั้ โลกตัวสุดทา้ ย
ทีมพิเศษเฉพาะกิจท่ีร่างกายยังพออยู่ในสภาพที่ท�ำงานได้ 3 คน เดินส�ำรวจไปจนพบ
รอยเทา้ อันเลือนรางของหมขี ้วั โลก!

วิทยาจารย์ 31

แมเ้ วลาตอนนน้ั จะลว่ งไปคอ่ นขา้ งเยน็ แลว้ แตท่ งั้ 3 ตดั สนิ ใจไมก่ ลบั แคมป์ ยงั คงเดนิ หนา้
ส�ำรวจตอ่ ไป

ไม่เจอไมก่ ลบั !
ไมต่ ายไมห่ ยดุ !
เพราะพร่งุ นี้ รอยเท้าท่พี บวันนี้อาจหายไป
หญงิ วยั ประมาณ 45 ปี บคุ ลกิ เครง่ เครยี ดคนนน้ั คอื 1 ใน 3 คน ทอี่ อกมาสำ� รวจในวนั นด้ี ว้ ย
และเธอโนม้ นา้ วใหท้ กุ คนเดนิ หนา้ ตอ่ ไป คำ่� ไหนนอนนนั่ ดว้ ยอปุ กรณย์ งั ชพี เทา่ ทม่ี ตี ดิ ตวั มา!
ทัง้ 3 วิทยบุ อกทมี ทเ่ี หลือ ซง่ึ รออย่ทู แ่ี คมป์แล้วออกตามรอยหมีขว้ั โลกทา่ มกลางอากาศท่ี
ดงิ่ เย็นลงอย่างรวดเรว็ !



ครืด... ครืด... ครดื ๆๆ
เสยี งสญั ญาณขาดๆ หายๆ กระชากทกุ คนในแคมปใ์ หห้ นั มาสนใจเครอ่ื งวทิ ยสุ อื่ สาร เพราะ
พวกเขาไม่ได้รบั การตดิ ตอ่ จากทมี ส�ำรวจมา 5 วนั แล้ว!
“ส�ำรวจเรียกแคมป์! ส�ำรวจเรยี กแคมป์!”
ทกุ คนแทบจะโห่รอ้ งดใี จออกมาพรอ้ มกนั
“แคมปไ์ ดย้ นิ แล้ว ว่ามาได้เลย”
“เราพบหมีข้ัวโลก!”
ส้นิ เสียงน้ี ทุกคนในแคมป์โหร่ อ้ งดใี จออกมาพร้อมกันอย่างไม่สามารถสะกดกล้นั ได้อยู่
ก่อนทกุ เสียงจะเงยี บกรบิ เม่อื ได้ยนิ ค�ำต่อมาจากวทิ ยุ
“ผอมโซเหลอื แตห่ นงั หมุ้ กระดกู ออ่ นแรง สภาพใกลต้ าย เราตอ้ งทำ� การเคลอื่ นยา้ ยดว่ น!”



หญิงวยั ประมาณ 45 ปี บคุ ลกิ เครง่ เครยี ดคนนน้ั กำ� ลงั เครง่ เครยี ด
แต่มนุษย์ทั่วโลกก�ำลังรู้สึกโล่งอกและสบายใจ เม่ือส่ือทุกส�ำนักรายงานข่าวว่าหมีข้ัวโลก
ตัวสุดท้ายสามารถถูกช่วยเหลือให้รอดชีวิตมาได้ และตอนนี้อยู่ในสภาพท่ีแข็งแรงสมบูรณ์
เปน็ คนละตวั กับตอนทที่ มี พิเศษเฉพาะกจิ ไปเจอมนั ครั้งแรก
ทโี่ ลง่ อกและสบายใจนน่ั กเ็ พราะหมขี ว้ั โลกคอื สญั ลกั ษณข์ องความมอี ยขู่ องแผน่ ดนิ นำ้� แขง็
สัญลักษณ์ของโลกท่ียังไม่ร้อนจนน�้ำจะล้นท่วมโลก สัญลักษณ์ว่าเราจะสามารถสบายใจไปได้
อกี สักพักตราบใดทห่ี มขี วั้ โลกยังคงด�ำรงชีพอยู่
แมว้ า่ ทท่ี ม่ี นั ดำ� รงชพี อยคู่ อื สวนสตั วท์ ดี่ ที สี่ ดุ ทา่ มกลางเครอ่ื งปรบั อากาศทท่ี รงประสทิ ธภิ าพ
ทีส่ ุดเพ่ือสรา้ งสภาพแวดล้อมใหเ้ หมอื นข้ัวโลกมากท่สี ดุ
มนษุ ยก์ ็สบายใจแล้ว...
ความตระหนกอกสั่นปลาสนาการไปในเวลาไมน่ าน ทุกคนกลบั มาใชช้ วี ติ ได้ตามปกติ
ดนิ แดนนำ�้ แข็งผนื สุดท้ายกย็ ังคงละลายสลายไปทกุ วนิ าท.ี ..

32 วทิ ยาจารย์

บรหิ ารการศึกษา

วนั ชัย ต้งั ทรงจิตร

ขอ้ สอบแบบอตั นยั

ในปจั จบุ นั ผอู้ อกขอ้ ทดสอบสว่ นใหญม่ กั ไมน่ ยิ มใชข้ อ้ ทดสอบแบบอตั นยั กนั
เน่ืองด้วยเหตุผลต่างๆ กันไป จนเป็นเหตุให้เด็กนักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะ
ในการใชภ้ าษาไดไ้ มด่ เี ทา่ ทค่ี วร บางครง้ั ไดร้ บั คำ� ตอบวา่ “รแู้ ตอ่ ธบิ ายไมถ่ กู ”
น่ันก็หมายความว่าเล่าเรื่องไม่เป็น ล�ำดับเร่ืองไม่ถูก อธิบายไม่เข้าใจ
เป็นต้น จึงมีสถานศึกษาบางแห่งบังคับให้ออกข้อทดสอบแก่นักเรียน
โดยต้องมีข้อทดสอบแบบอัตนัยรวมอยู่ด้วยอย่างน้อย 20% ของ
ข้อทดสอบทั้งหมดเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต่อไปน้ีเรามาท�ำความเข้าใจ
เก่ียวกับข้อทดสอบแบบอัตนัยกัน

วิทยาจารย์ 33

1. ความหมายของขอ้ สอบแบบอตั นยั
ข้อสอบคอื อะไร?
ตามความหมายหมายถงึ แบบทใ่ี ชส้ อบเปน็ ขอ้ ในการประเมนิ ผลสามารถใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั
ในระบบการศึกษาทุกระดับ ไม่ว่ากิจกรรมน้ันๆ จะเกิดขึ้นในช้ันเรียน ในโรงเรียนหรือในชุมชน
กต็ าม
อตั นยั คอื อะไร?
ตามความหมายจากหนังสือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 ค�ำว่า
อัต, อัตตะ หมายถึง ตน, ตัวเอง ส่วนค�ำว่า นัย หมายถึง ข้อความส�ำคัญ, ข้อเค้า, เค้าความ,
เค้าเงอื่ น, รวมความแล้ว อัตนัย คอื ขอ้ ความสำ� คัญของตนเอง
จงึ พอสรปุ ไดง้ า่ ยๆ วา่ แบบทใี่ ชส้ อบโดยใชข้ อ้ ความสำ� คญั ของตนเอง ซงึ่ อาจจะหมายถงึ
การตอบอย่างอิสระเสรี หรืออาจจะหมายถึงการตรวจให้คะแนนของข้อสอบน้ี ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับ
ผู้ตรวจข้อสอบเองเปน็ ประการสำ� คญั เชน่ กนั
ข้อสอบแบบนี้ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัดผลได้คาดคะเนอย่างมีเหตุผลว่า แบบทดสอบ
อัตนัยน้ันได้เริ่มใช้กันมาอย่างแพร่หลายประมาณครึ่งศตวรรษแล้ว อย่างไรก็ตามแบบทดสอบ
อัตนยั น้ี ปจั จบุ นั ก็ยงั คงไดร้ บั ความนิยมในการใช้อยูต่ ามสถานศึกษาบางแหง่ เชน่ กนั
2. ลกั ษณะของคำ� ถามและคำ� ตอบ
ลกั ษณะของคำ� ถามจะเปน็ ประโยคคำ� ถามสนั้ ๆ เพยี งคำ� ถามเดยี วหรอื หลายคำ� ถามซอ้ นกนั
สามารถเขยี นถามไดห้ ลายแบบ ทงั้ ในดา้ นความรคู้ วามจำ� ความเขา้ ใจ หรอื การนำ� ไปใช้ ตลอดทง้ั
การตัดสนิ ใจ
ลักษณะของค�ำตอบ เป็นข้อสอบท่ีต้องการค�ำตอบประเภทความเรียงอย่างมีอิสระเสรี
โดยการใชค้ วามสามารถในดา้ นความรู้ความจำ� ความเขา้ ใจการนำ� ไปใช้การวเิ คราะห์การสงั เคราะห์
การประเมนิ คา่ ทศั นคติความสามารถในการรวบรวมและเรยี บเรยี งลำ� ดบั เรอ่ื งราวของประสบการณต์ า่ งๆ
ท่ผี า่ นมาเป็นขอ้ มูลในการตอบค�ำถามหรือในการแกป้ ัญหา เน้นในด้านความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์
เกณฑใ์ นการใหค้ ะแนนกข็ นึ้ อยกู่ บั ผตู้ รวจขอ้ สอบเอง (อตั นยั ) การใหอ้ สิ ระในการตอบคำ� ถามมาก
ทำ� ใหย้ ากลำ� บากในการตดั สนิ ในเมอ่ื นกั เรยี นทกุ ๆ คน ทำ� ความตามความคดิ ความสามารถของตน
การเปรียบเทยี บการตอบของนักเรียนจึงลำ� บากมากในการใหค้ ะแนน
3. ข้อปรบั ปรงุ ในการใชข้ ้อสอบแบบอัตนยั
3.1 ในการเขยี นข้อสอบแบบอตั นัยน้นั ประโยคทเี่ ร่มิ ด้วยค�ำวา่ ใคร อะไร เม่อื ไร และ
ที่ไหน ใช้ได้ดีเมื่อต้องการให้ผู้ตอบรวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลต่างๆ มาตอบให้เป็นหลักฐาน
อ้างอิงในการตอบค�ำถาม การอ้างเหตุผลหรือการตีความหมายของเหตุการณ์ในเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หน่งึ เปน็ การต้งั คำ� ถามที่เหมาะ

34 วทิ ยาจารย์

ดีขนึ้ : ใครเป็นผ้คู ดิ ประดิษฐ์ตัวพิมพไ์ ทย ซึง่ ใชพ้ มิ พ์ในโรงพมิ พ์ตา่ งๆ ขึ้นเปน็ คนแรก?
ดีขน้ึ : ผลทีไ่ ด้รบั จากการอ่านวรรณคดีคืออะไร?
ดีข้นึ : คิดว่าจุดมงุ่ หมายของบทละครพดู เรอื่ งหลวงจำ� เนียรเดนิ ทาง คอื อะไร?
สว่ นคำ� วา่ ทำ� ไม และ อยา่ งไรนน้ั เหมาะสำ� หรบั การถามถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ บางอยา่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ เชน่
ดขี ึ้น : ท�ำไม อกั ษรไทยจงึ เกิดขึ้น?
ดขี ้ึน : ผลท่สี �ำคัญของการวจิ ารณว์ รรณกรรมเปน็ อยา่ งไร?
สำ� หรบั คำ� ถามทเ่ี รมิ่ ดว้ ยคำ� วา่ จงอภปิ ราย จงอธบิ าย จงประเมนิ คา่ ควรใชก้ บั คำ� ถามทตี่ อ้ งการราย
ละเอยี ดของขอ้ มลู และความสามารถในการเลอื กรวบรวมความรขู้ องผตู้ อบเอง จงึ จะเหมาะและสามารถได้
คำ� ตอบตามความตอ้ งการของผูถ้ าม
ดขี ้นึ : จงบรรยายถึงการเล่นกุลาตีไม้ ซึ่งเป็นการเลน่ ของชาวอินเดยี
ดขี ึ้น : จงอธบิ ายลกั ษณะของชา้ งเอราวณั ซงึ่ เปน็ ช้างของพระอนิ ทรม์ าโดยละเอียด
3.2 เพ่ือให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชา เพราะข้อสอบแบบอัตนัยน้ีมักจะเจาะวัดเฉพาะจึงท�ำให้วัดผล
ไมค่ ลมุ เนอ้ื หา วธิ แี กก้ ด็ ว้ ยการเพม่ิ ขอ้ คำ� ถามใหม้ ากขน้ึ ดจู ากสดั สว่ นเนอื้ หากบั เวลาทใี่ ชส้ อน สอนเรอ่ื งใดมาก
ควรจะออกขอ้ สอบใหม้ ากตามไปด้วย โดยวดั ตามจุดประสงค์การเรยี นร้ตู ามโครงการสอนประจำ� ภาคเรยี น
ท่ีท�ำไว้
3.3 เนอื่ งจากขอ้ สอบแบบอตั นยั น้ี การใหเ้ ดก็ มอี สิ ระในการตอบอยา่ งเตม็ ทนี่ น้ั ทำ� ใหก้ ารใหค้ ะแนน
มีความล�ำบากมาก ซ่ึงให้ค่าความเที่ยงตรงลดลงเป็นอย่างมาก เพราะส่ิงที่เด็กตอบจะแปรเปล่ียนไปตาม
ความเขา้ ใจและประสบการณ์ ทางแก้กค็ อื ใชว้ ิธีจ�ำกัดความอสิ ระในการตอบ กำ� หนดขอบเขตของปญั หา
ที่จะถามและการตอบไว้แน่นอนและรัดกุม ไม่ควรใช้ค�ำถามกว้างๆ ที่ท�ำให้ผู้ตอบไม่ทราบขอบเขต
ทีค่ วรตอบมมี ากน้อยเพยี งไร แม้เราจะกำ� หนดด้วยเวลาแลว้ ก็ตาม
ไม่ดี : ท่านได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการเรยี นวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย?
ดขี น้ึ : จากการเรยี นวชิ าภาษาและวฒั นธรรมไทย ทา่ นสามารถนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั
อย่างไรบา้ ง?
3.4 ควรชแ้ี จงใหน้ กั เรยี นทราบอยา่ งชดั เจนวา่ การจะตอบใหไ้ ดค้ ะแนนดขี นึ้ ควรปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไรบา้ ง
เชน่ การเตรียมตัวดูหนงั สือ วธิ ีการตอบค�ำถามแบบต่างๆ เช่น ถ้าขึน้ ต้นค�ำถามว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมือ่ ไร
หรืออย่างไร หรือ จงอธิบาย จงอภิปราย จงเปรียบเทียบ เหล่านี้ นักเรียนควรจะตอบอย่างไร และเกณฑ์
ในการตรวจใหค้ ะแนนของครหู รอื คณะกรรมการตรวจขอ้ สอบมอี ะไรบา้ ง สามารถชแ้ี จงใหน้ กั เรยี นทราบลว่ งหนา้
จะเป็นการดี
3.5 พยายามออกขอ้ คำ� ถามใหว้ ดั ดา้ นการวเิ คราะหว์ จิ ารณห์ รอื ประเมนิ คา่ จรงิ ๆ เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นไดใ้ ช้
สมรรถภาพของสมองอย่างเต็มท่ีและควรพิจารณาดูว่า คำ� ถามน้ีไม่สามารถออกเป็นข้อสอบแบบปรนัยได้
จึงเหมาะในการออกขอ้ สอบแบบอตั นัย
ดขี ้นึ : การทง้ิ ขยะไม่ถกู ทีท่ ง้ิ นั้นสมควรหรอื ไมใ่ หน้ ักเรียนวิจารณ์
ดขี ึ้น : เมือ่ เราเสียดุลการคา้ กับต่างประเทศเช่นนเี้ ราจะมีทางแกไ้ ขอยา่ งไร?

วทิ ยาจารย์ 35

4. เกณฑ์การใหค้ ะแนนขอ้ สอบอัตนยั
ในการใหค้ ะแนนขอ้ สอบอตั นยั นนั้ มหี ลกั เกณฑท์ คี่ วรนำ� มาพจิ ารณาในการใหค้ ะแนนคอื
4.1 ด้านเนื้อหา โดยตรวจสอบค�ำตอบของนักเรียนแล้วทราบได้ว่านักเรียนมีความรู้
ทจ่ี ะเขียนไม่ใช่น้ำ� ท่วมทงุ่ ผกั บงุ้ โหรงเหรง หาสาระอะไรไม่ได้เลย
4.2 ดา้ นการจดั รวบรวมความคดิ ใหส้ มบรู ณ์ ทกั ษะในการเขยี นคำ� ตอบ เชน่ พจิ ารณา
จากการเตรียมหัวข้อที่จะตอบก่อนหรือเปล่า การล�ำดับเร่ือง การส่ือความหมายแสดงให้เห็นถึง
ความคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล นอกจากนก้ี ารเขยี นผดิ ถกู การใชไ้ วยากรณ์ กค็ วรนำ� มาประเมนิ ดว้ ย เพราะ
สิ่งเหลา่ น้ชี ว่ ยใหข้ บวนการของการสื่อความหมายช่วยใหม้ ีความเขา้ ใจไดด้ ยี ่งิ ขึน้
4.3 เขียนเฉลยข้อสอบเอาไว้ว่า คำ� ตอบทถ่ี กู ต้องคอื อะไร เกณฑก์ ารให้คะแนนเตม็
ควรคำ� นงึ ถงึ สงิ่ ใดบา้ ง เชน่ คำ� จำ� กดั ความ เหตุ - ผล ความคดิ หรอื ขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ ทกั ษะการนำ�
ไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินคา่ แต่ละตอนแต่ละข้อจะใหค้ ะแนนเทา่ ใด
4.4 การตรวจขอ้ สอบแบบอตั นยั ควรตรวจทลี ะขอ้ ของทกุ ๆ ฉบบั เชน่ ตรวจขอ้ 1 กเ็ รม่ิ
ตรวจข้อ 1 ของคนแรกจนถึงคนสุดท้าย แล้วจึงเริ่มตรวจข้อ 2 เป็นการประหยัดเวลาและ
ก�ำลังงานในการตรวจและการดูเฉลย เกิดความคล่องตัวและข้อเปรียบเทียบของข้อตอบช่วยให้
ยตุ ธิ รรมมากขนึ้ ในการใหค้ ะแนน ขอ้ เสนอแนะในการตรวจอกี แบบหนงึ่ กค็ อื การอา่ นคำ� ตอบของ
ทุกคนก่อน แล้วแยกออกมาเป็นกลุ่มๆ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ และอ่อน กับอ่อนมาก
จากนนั้ จึงตรวจรายละเอยี ดให้คะแนนในแตล่ ะกลุ่มอกี ครงั้ หน่ึง โดยแบ่งคะแนนในแต่ละกลุ่มไว้
เชน่ ออ่ นมาก 1 - 5 คะแนน อ่อน 6 - 10 คะแนน พอใช้ 11 - 15 คะแนน ปานกลาง 16 - 20 คะแนน
ดี 21 - 25 คะแนน ดมี าก 26 - 30 คะแนน เป็นตน้
5. ข้อดแี ละขอ้ เสยี ของข้อสอบอตั นัย
ข้อดีเป็นข้อสอบท่ีออกง่าย ครูสามารถออกข้อสอบได้ภายในระยะเวลาท่ีจ�ำกัด เช่น
ในชั่วโมงสอน หรือหลังจากจบบทเรียนหนึ่งๆ ป้องกันการเดาได้อย่างกว้างขวาง สามารถ
วดั จดุ ประสงคข์ องการเรยี นรู้ เชน่ การรวบรวมเรยี บเรยี งลำ� ดบั ความสำ� คญั หรอื ตำ� แหนง่ หนา้ ทข่ี อง
ข้อมูลท่ีได้มา การเน้นถึงความคิดรวบยอดของผู้ตอบ เป็นการฝึกทักษะและนิสัยในการท�ำงาน
ของนกั เรยี น ฝกึ ใหน้ กั เรยี นมปี รชั ญาหรอื ทศั นคตเิ ฉพาะตนในการแกป้ ญั หา เปน็ แรงจงู ใจอยา่ งหนงึ่
ใหผ้ ้ตู อบร้จู กั ปรับปรงุ การเขียนตอบของตนเอง สร้างโครงเรื่องในการตอบ การสรุปและมองเห็น
ความสมั พนั ธห์ รอื แนวโนม้ ของความรทู้ เี่ ขยี นมาทง้ั หมด เปน็ การกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามคดิ รเิ รมิ่
ในการตอบปญั หา ทช่ี ว่ ยใหผ้ ู้ตอบได้คะแนน วัดความสามารถในการจำ� ไปใชว้ ่านกั เรียนสามารถ
นำ� ไปใชใ้ นการตอบหรอื แกป้ ญั หาไดม้ าก - นอ้ ยเพยี งใด เปน็ การวดั ถงึ ความสนใจ ความถนดั และ

36 วทิ ยาจารย์

ทศั นคตขิ องผเู้ รยี นทมี่ ตี อ่ วชิ านน้ั ๆ คา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งขอ้ สอบแบบอตั นยั กป็ ระหยดั กวา่ แบบอนื่
และเปน็ การสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเกง่ ในดา้ นภาษาอกี ดว้ ย เชน่ การใชภ้ าษา การสะกดการนั ต์ ลายมอื
อันเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญในการเรยี นวชิ าอน่ื ๆ อีกด้วย
สำ� หรบั ขอ้ เสยี ของขอ้ สอบแบบน้ีคอื วดั เนอ้ื หาไดจ้ ำ� กดั ไมค่ รอบคลมุ เนอื้ หาขาดความเทย่ี งตรง
ในการใหค้ ะแนน เน่อื งจากมปี จั จยั อ่ืนๆ เข้ามาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย เช่น ความสามารถในการใช้ภาษา
ลายมอื การสะกดตวั หนงั สอื และการสมุ่ เอาบทใดบทหนง่ึ มาออกขอ้ สอบ ทำ� ใหป้ ระเมนิ ผลการเรยี น
วชิ าน้นั ๆ ไม่แนน่ อน การตรวจให้คะแนนไมแ่ นน่ อนขน้ึ อยู่กบั ผตู้ รวจ ถา้ ผู้ตรวจคนเดียว คะแนน
อาจจะคลาดเคลื่อนไปบ้างเน่ืองจากร่างกายและอารมณ์ สภาพแวดล้อมร้อนหนาวเย็น
เข้ามามีอิทธิพลต่อการตรวจให้คะแนน ถ้าผู้ตรวจหลายคน คะแนนก็ย่ิงแตกต่างกัน
ออกไปเพราะพ้ืนฐานความรู้ ทัศนคติและอารมณ์ของผู้ตรวจต่างกัน ผู้ตรวจมีความประทับใจ
ในความสามารถของนกั เรยี น โดยยดึ เอาผลงานและชอ่ื เสยี งของนกั เรยี นเปน็ หลกั ฐาน เชน่ ด.ช.ดนยั
เคยทำ� คะแนนสูงในครง้ั แรก กจ็ ะสอบไดค้ ะแนนสูงในคร้ังตอ่ ๆ ไป หรอื ด.ช.โอชา เรยี นอ่อนมาก
ก็ควรจะสอบได้คะแนนน้อยในคร้ังต่อๆ ไปด้วย แม้ว่าคร้ังหลังจะตอบได้ดีมากก็ตาม แต่ก็จะ
มีโอกาสได้คะแนนไม่ตรงตามเนื้อผ้า ข้อเสียอีกประการหน่ึงก็คือไม่มีค�ำตอบที่แน่นอนส�ำหรับ
การตรวจให้คะแนน การน�ำไปใช้ครั้งต่อไปได้น้อยเพราะเป็นข้อสอบที่ใช้แล้วจดจ�ำได้ง่าย
สิน้ เปลอื งเวลาและกำ� ลงั งานในการตรวจอย่างยง่ิ และสามารถตบตาผูต้ รวจไดด้ ้วยลายมอื และ
จำ� นวนเน้อื หาท่ีตอบได้
จะเหน็ ไดว้ า่ ขอ้ สอบแบบอตั นัยน้ันกม็ ีทัง้ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสีย ซึง่ เพอ่ื นครคู วรน�ำมาวเิ คราะห์
และเลือกใช้ข้อสอบแบบนี้ตามความเหมาะสม เพราะถึงอย่างไรข้อสอบแบบนี้ก็ยังไม่ล้าสมัย
ตามสถาบันบางแห่งนิยมใช้กันอยู่อย่างกว้างขวาง บางแห่งน�ำไปผสมกับข้อสอบแบบอื่น
แลว้ นำ� ไปใช้ บทความเรอื่ ง “ขอ้ สอบแบบอตั นยั ” คงจะเปน็ ประโยชนก์ บั เพอื่ นครแู ละผสู้ นใจบา้ ง
ไมม่ ากก็น้อย

เอกสารอ้างองิ
กมล สดุ ประเสรฐิ , หลักและวิธวี ดั ผลการศึกษา, พระนคร : โรงพิมพ์วฒั นาพานิช, 2510
โกวทิ ประวาลพฤกษ์ และสมศักดิ์ สินธระเวชญ์, การประเมินในช้ันเรียน, กรุงเทพฯ วฒั นาพานิช, 2527 374 น.
ชวาล แพรตั กุล, เทคนิคการวัดผล, พระนคร : โรงพมิ พ์วัฒนาพานิช, 2509
ฮแี นน, เดวดิ เค, การประเมนิ ผลการสอนในประเทศไทย, ส�ำนักงานวางแผนการศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2509

วทิ ยาจารย์ 37

วชิ าการอา่ นง่าย

ประทมุ เรืองฤทธ์ิ

ปฏริ ปู การศกึ ษา :

38 วทิ ยาจารย์

พัฒนาวชิ าชพี ครู

โดยปกติต้นเดือนสิบเอ็ดซึ่งเป็น
ช่วงออกพรรษา พื้นที่ราบลุ่ม
ท ะ เ ล ส า บ จ ะ ไ ด ้ ยิ น เ สี ย ง ต ะ โ พ น
ดังกึกก้องเริ่มตั้งแต่หัวค่�ำไป
จนดึกด่ืน เรียกกันว่า “คุมโพน”
ส่วนใหญ่จะเป็นเด็กวัดหรือวัยรุ่น
ไ ป จ น ถึ ง วั ย ผู ้ ใ ห ญ ่ ที่ รั ก ส นุ ก
แบกตะโพนตีในบริเวณใกล้วัดอีก
หมู่บ้าน หรือ บางคร้ังวัดท่ีใกล้ก็
พ า ต ะ โ พ น ม า ป ร ะ ชั น กั น อ ย ่ า ง
สนุกสนานพร้อมกับท่าตีลีลา
ทะมัดทะแมง ก่อนรับออกพรรษา
พร้อมกับการ “ชักพระ” ซ่ึงมีท้ัง
ชักพระน�้ำ และ ชักพระบก

วทิ ยาจารย์ 39

แต่เนื่องด้วยประเทศไทยก�ำลังอยู่ในช่วงเศร้าโศกของคนท้ังประเทศ การละเล่นร่ืนเริง
ไดถ้ กู งดเวน้ เสยี งตะโพนหา่ งหายไมไ่ ดย้ นิ เสยี งแมแ้ ตน่ อ้ ย เพอื่ เปน็ การถวายความอาลยั รว่ มกนั
แม้กระท่ังงานมุทิตาจิตเกษียณอายุราชการของบรรดาผู้ประกอบวิชาชีพครูท่ีจัดเป็น
เกียรติให้กับผู้เกษียณก็ถูกงดเว้นเช่นกัน จนกระท่ังเลยเวลาก�ำหนด หลังเดือนตุลาคมก็พากัน
จัดงานย้อนหลงั จนตอ้ งร่วมงานแทบไมเ่ วน้ แต่ละวัน
หน่ึงเดือนของชีวิตหลังเกษียณอายุราชการพักจากการท�ำงาน เม่ือเจอค�ำถามว่า
“เปน็ อยา่ งไรบา้ ง” ตา่ งตอบเปน็ เสยี งเดียวกันว่า “มนั โล่งเหมือนยกภเู ขาออกจากอก”
ชีวิตหลังเกษียณของวิชาชีพครูจึงเป็นวิถีชีวิตมีท้ังการเหน็ดเหน่ือยเพ่ิมขึ้น ส�ำหรับ
ผู้ออกแบบชวี ิตของตนเองท่ผี ิดพลาดในเชงิ บุคคล และสุขสบายตามอัตภาพส�ำหรับผูอ้ อกแบบ
ตนเองไดด้ ตี ามความคาดหวงั ตนเองและสงั คม แตท่ งั้ หมดไมว่ า่ จะเปน็ แบบใดตา่ งมคี วามรรู้ ว่ มกนั
ท่ีทางเดินชีวิตของพวกเขาเหล่าน้ันได้ย้ิมรับถึงความปลอดโล่งในชีวิตที่ก�ำลังเริ่มต้นขึ้น
และอีกต่อไป

40 วทิ ยาจารย์

“พวี่ า่ ..มนั เปน็ อะไรทไี่ มเ่ คยเปน็ มาของชวี ติ ความรสู้ กึ ทป่ี ลอดโปรง่ โลง่ ไมม่ อี ะไรทต่ี อ้ งคดิ หรอื ทำ� ทที่ บั
หนักอ้ึงเหมือนแบกอยู่ทั้งชีวิต” พี่ผู้บริหารโรงเรียนกล่าวบนเวทีให้ผู้มาร่วมงานมุทิตาจิต โดยนัยยะ
เป็นการบอกอะไรบางอยา่ งใหก้ บั รนุ่ นอ้ งๆ ทนี่ งั่ อยไู่ ดฟ้ งั รบั รู้ และเขา้ ใจ และนยั ยะดงั กลา่ วนอกจากจะแสดง
ความรสู้ กึ ของตนเองทมี่ ตี อ่ เสน้ ทางวชิ าชพี ยงั สรา้ งทศั นคติ กลอ่ มเกลา หรอื กระทงั่ เปน็ ตวั อยา่ งทมี่ รี ปู ลกั ษณ์
อยา่ งชัดเจน บง่ บอกถงึ ความพงึ พอใจในงานทางวชิ าชีพและเป็นทศั นะร่วมสมยั จากคนหลายต่อหลายคน
งานวชิ าชพี ครู “หนกั หนาสาหสั อยา่ งทกี่ ลา่ วถงึ จรงิ ๆ หรอื ” คอื คำ� ถามทส่ี งั คมรอบขา้ งอาจจะนกึ แยง้
ในใจ เพราะเทา่ ทเ่ี หน็ เปน็ ปรากฏการณ์ คอื “เงนิ เดอื นสงู มหี ยดุ เสาร์ - อาทติ ย์ ปดิ เทอม อกี ตา่ งหาก หนง่ึ ปมี ี
365 วนั ทม่ี าท�ำงานจรงิ ๆ 200 กว่าวัน แล้วจะหนกั อะไรอีก”
โรงเรียนกระจายอยู่ท่ัวไปทุกพ้ืนที่แม้กระทั่งชายขอบของประเทศ มีทั้งอยู่ในเมือง แต่ส่วนใหญ่
กระจายอยู่ไปตามชุมชนต่างๆ ขึ้นเขาลงห้วย ข้ามน้�ำข้ามทะเล มีครบหมด เช้าๆ ต้องเดินทางสวนทางกับ
ขา้ ราชการหนว่ ยงานอน่ื ๆ ทม่ี ักอยู่ในชมุ ชนเมอื ง หรือชุมชนใหญ่
โรงเรยี นมงี บประมาณในการพฒั นานอ้ ยมากเพราะส่วนใหญ่งบประมาณอยใู่ นหมวดของเงนิ เดือน
งบการพัฒนาด้านอาคารสถานที่ หรอื ความทนั สมัยทีค่ วรมีเหมาะสมกบั ยคุ สมยั มีน้อยมาก ขณะทโ่ี ลกก้าว
สศู่ ตวรรษท่ี 21 แตโ่ รงเรยี นสภาพอาคาร หอ้ งเรยี น อปุ กรณย์ งั ยนื หยดั อยใู่ น ศตวรรษท่ี 19 หรอื 20 และบางครงั้
อาจจะวิถีชวี ิต ความเชื่อ ของคนชายขอบยงั ร่วมสมัยกับศตวรรษท่ผี า่ นมา ดงั นัน้ การพฒั นาด้านโครงสรา้ ง
พ้ืนฐานให้ทันสมัยจึงตกเป็นภาระของครู กรรมการสถานศึกษา ชุมชน เป็นส่วนใหญ่ และใช้ความเช่ือ
บุญกุศลในศตวรรษที่ 19 - 20 มาใชใ้ นการพฒั นาใหเ้ กดิ ความทนั สมยั ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ตง้ั แตเ่ ลยี้ งนำ้� ชา
ทอดกฐนิ ทอดผา้ ปา่ ฯลฯ จงึ เกดิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง คลา้ ยดง่ั การเลน่ แชร์วงใหญ่ทางการศกึ ษาท่มี ีลกู แชร์ คอื
กล่มุ ครู เจ้ามือ คอื โรงเรียนแต่ละโรงเรยี น
ทุกวันน้ีการท�ำงานด้านวิชาชีพครู ด้วยปรัชญาการพัฒนาคน ต้องการให้เติมเต็มให้เป็นคนอย่าง
สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งด้านสังคม ร่างกาย จิตใจ เพ่ือให้เกิด ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ และทักษะทางสังคม
จงึ มหี นว่ ยงานทเี่ ขา้ มามบี ทบาทรว่ มกบั ครหู ลายหนว่ ยงานและหลายกระทรวงทมี่ ลี กั ษณะของการทำ� ขอ้ ตกลง
รว่ มกนั ตอ่ การพัฒนาคน (เยาวชน) แตจ่ ริงๆ แล้ว กลับมีผ้ปู ฏิบตั ิเพยี งฝ่ายเดยี วคือโรงเรยี นและครู
ในขณะภารกิจหลักของการจัดการศึกษาในระดับพ้ืนฐานคือ การสอนให้นักเรียนมีความรู้
ในดา้ นการอ่าน การเขียน คิดวิเคราะห์ มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงคค์ รบถว้ น และมีความรู้ ความสามารถ
ตามหลกั สตู ร แตง่ านดา้ นนโยบายตามวตั ถปุ ระสงคด์ า้ นการเมอื ง (ทงั้ รฐั บาล หรอื ตวั บคุ คล) สอดแทรกเขา้ มา
มีการประเมิน ตรวจสอบ (ท้ังเย่ียม ตรวจสอบ ตรวจเอกสาร) แย่งชิงเวลาในการท�ำงานตามภารกิจหลัก
จนสรา้ งปญั หาถงึ คณุ ภาพของผเู้ รยี นทม่ี ผี ลสมั ฤทธท์ิ างการศกึ ษาตกตำ่� กจิ กรรมตา่ งๆทค่ี ดิ ขนึ้ มาโดยฝา่ ยนโยบาย
กใ็ ชว่ า่ จะแปลกใหม่ แตก่ ลบั คดิ ขนึ้ มาบนความทบั ซอ้ นกบั องคป์ ระกอบของหลกั สตู รเปน็ สว่ นใหญ่ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ
ความซ�้ำซ้อนในการท�ำงาน ท้ังๆ ท่ีหลักสูตรได้ก�ำหนดไว้เป็นแนวทางให้เดินและเด่นชัดในทุกข้ันตอน
เหลือเพียงการก�ำกับดแู ลอย่างเป็นรปู ธรรมเท่านนั้

วิทยาจารย์ 41

กจิ กรรมตา่ งๆไมว่ า่ จะเปน็ ระดบั เขตพน้ื ท่ีหรอื หนว่ ยงานตา่ งๆนอกจากจะแยง่ เวลางานภารกจิ หลกั
ส่งผลใหเ้ กดิ ภาระการใชจ้ า่ ยของครูทตี่ ้องเพม่ิ ข้นึ เพราะสว่ นใหญแ่ ล้วกิจกรรมท่จี ดั ขน้ึ ไมม่ งี บประมาณ
รองรับสนับสนุนแม้กระท่ังค่าเดินทาง และรวมไปถึงหากเกิดภาวะเส่ียงภัยต่างๆ ต้องรับผิดชอบเอง
อยา่ งเชน่ กรณนี ำ� นกั เรยี นไปแขง่ งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นและประสบอบุ ตั เิ หตุ ! นนั่ หมายถงึ ความซวย
ของบคุ คลท่ตี อ้ งรบั ผิดชอบไปเต็มๆ
โครงสร้างทางการศึกษาท่ีแตกหน่อเป็นฝ่ายต่างๆ มากขึ้น ท้ังในกระทรวงศึกษาธิการ หรือ
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกภาคส่วนมุ่งท�ำงานในการสร้างงานให้กับฝ่ายตนเอง
โดยเรียกงานต่างๆ จากหน่วยปฏิบัติ (โรงเรียน,ครู) การรายงานของโรงเรียนซ้�ำซ้อนในเร่ืองเดียวกัน
รายงานแล้วรายงานอีกวนเวียนอยู่เป็นประจ�ำ จนก่อให้เกิดค�ำถามมากมาย เม่ือแต่ละฝ่ายหน่วยงาน
ในระดับขนึ้ ไปต้องการเน้ืองานเพือ่ ประสทิ ธภิ าพงานของฝา่ ยตนเอง หรอื เพ่อื ความก้าวหน้าทางวิชาชพี
โรงเรยี น ครู ตอ้ งสาระวนวุ่นแทบทง้ั วนั เพื่อใหท้ นั แมก้ ระท่ังตอ้ งงดการสอนกต็ าม
คือ...ปรากฏการณ์ที่บ่งบอกถึง “ความโล่งเหมือนยกภูเขาออกจากอก” เพราะการขับเคลื่อน
ทางนโยบายทมี่ ตี อ่ วชิ าชพี สง่ ผลใหก้ ารทำ� งานตอ้ งถดถอยในคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของงาน ในขณะที่
การศึกษาของรัฐชายขอบก�ำลังขับเค่ียวอยู่กับความเป็นไปในยุคศตวรรษที่ 19 - 20 และไทยแลนด์
1.0 - 2.0 เกินก�ำลังของคนปฏิบัติท่ีก้าวผ่านตามความคาดหวังของรฐั ได้ หากบอกวา่ การพฒั นา
ทางการศึกษาผ่านการยืนหยัดอยู่ได้มาจากความยืนหยัดในความเสียสละและการจัดการของ
ผู้ประกอบวิชาชีพครูคงไม่เกินเลยไปนัก ท่ามกลางความขาดแคลนและข้อจำ� กัด พลังครูเท่านั้น
ทำ� ให้เกิดเคลอ่ื นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ในทางวชิ าชพี ครูมองเหน็ ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ การพฒั นาทางวชิ าชพี เพอ่ื กา้ วสกู่ ารจดั การเรยี นการสอน
ท่ีมีคุณภาพมีความส�ำคัญก่อนอื่น การเมืองในระดับนโยบายต้องน่ิงและต่อเนื่อง ให้ความส�ำคัญกับ
ภารกิจหลักทางวิชาชีพ และในเชิงการบริหารจัดการ โรงเรียนต้องเป็นนิติบุคคลในทุกภาคส่วน
มกี ารกระจายงบประมาณเพอื่ พฒั นาตรงกบั ความตอ้ งการของโรงเรยี นทแี่ ทจ้ รงิ มีระบบการควบคุมที่ดี
และมกี รอบอตั รากำ� ลงั ของฝา่ ยสนบั สนนุ ในระดบั โรงเรยี น เพอื่ สนบั สนนุ ใหค้ รทู ำ� หนา้ ทก่ี ารจดั การเรยี น
การสอนอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย ขอเพียงการลดโครงสร้างในระดับข้างบนเพื่อเพิ่มในระดับปฏิบัติ
..การเรยี นการสอนและประสทิ ธภิ าพเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งแนน่ อนอยา่ งนอ้ ยในปถี ดั ไปเมอ่ื ถงึ วนั เกษยี ณอายรุ าชการ
จะไม่ไดเ้ สียงบ่น “โล่งอก” อกี ตอ่ ไป

42 วทิ ยาจารย์

เร่ืองสัน้

สมบตั ิ ต้ังก่อเกียรติ

จาก

วงั ตาเพชร

ถึง

บ้านจระเขใ้ หญ่

ทุกปีของวันเข้าพรรษา ผม “งดเหล้า เข้าพรรษา” จะเดินทางมาเท่ียว
พักบ้านเพ่ือนท่ีช่ือ “ชูเกียรติ วรรณศูทร” เป็นเวลา 1 สัปดาห์ เพ่ือเขียน
หนงั สอื ทเ่ี กย่ี วกบั เกรด็ ประวตั ศิ าสตรเ์ มอื งสพุ รรณบรุ ี บา้ นเพอ่ื น - อยหู่ มบู่ า้ น
ในตำ� บลบางปลามา้ อำ� เภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี คนบา้ นเดยี วกนั กบั
“วาณชิ จรงุ กจิ อนนั ต”์ นกั เขยี นรางวลั ซไี รต์ ทนี่ เ่ี รยี กวา่ “หมบู่ า้ นวงั ตาเพชร”

วิทยาจารย์ 43

ตอนที่ “สุนทรภู่” อายุ 50 ปี เม่ือปี พ.ศ. 2379 เดินทางมาที่สุพรรณบุรีและได้แต่ง
นิราศสุพรรณ แต่งเป็นโคลงสี่สุภาพ ซึ่งมีสัมผัสสระและอักษรแพรวพราว เพื่อแสดงถึงว่าเป็น
คนมีฝมี ือท่เี หนือช้นั กวา่ กวบี างท่าน มคี วามยาว 463 บท ตรงบทที่ 117 กลา่ วถงึ “วงั ตาเพชร” ว่า

(117) ถงึ วังตาเพชรอ้าง ปางหลงั

ไผพ่ ุ่มซมุ้ เซงิ รัง รกเรือ้

ตาเพชรเหตุใดวัง มีเล่า เจา้ เอย

ฤาว่าตาเพชรเช้ือ ชาตทิ ้าวเจ้าเมืองฯ

ดกึ สงดั คนื นนั้ ผมตนื่ ตอนตี 3 หรอื 3 นาฬกิ าของวนั ใหม่ เดนิ มาสดู อากาศทน่ี อกชานเรอื นเหน็
“แขกที่ไม่ได้รับเชิญ” คือ จระเข้ตัวยาวประมาณ 5 เมตร โผล่จากคลองบางปลาม้าขึ้นมานอน
อาบแสงจนั ทรน์ วลผอ่ งอยหู่ นา้ บา้ น แตช่ น้ื ใจทอ่ี ยใู่ นทปี่ ลอดภยั โดยเหตกุ ารณส์ ยองกวา่ การเจอผนี ้ี
เคยเกดิ ขนึ้ กบั ชาวบา้ นหลายครง้ั แลว้ เดมิ ทเี มอ่ื จๆู่ เกดิ เสยี งแปลกๆ ปลกุ ขนึ้ เพราะความอยากรู้
อยากเหน็ สลดั คราบความงัวเงยี และสงสยั เจ้าตัวเจ้าตำ� นาน จึงรวบรวมความกลา้ ลกุ ข้ึนตื่นไปยงั
ต้นเสยี ง แล้วก็ต้องตกใจจนลมื ความงว่ งเหงาหาวนอนทนั ที เพง่ สายตาเหน็ จระเขต้ วั ยกั ษเ์ ขยี่ หาง
ไปมา ปากยังเคี้ยวปลาช่อนตัวใหญ่อยู่ แล้วนอนอาบแสงจันทร์นวลผ่องดังกล่าว พอต้ังสติได้
ผมกร็ บี ปลุกคนในเรือนพกั ตืน่ พรอ้ มกนั สกั พกั หนง่ึ คุณ “ชูเกียรติ วรรณศทู ร” เลา่ วา่

44 วทิ ยาจารย์

“มตี ำ� นานเลา่ กนั มาเปน็ วถิ ชี วี ติ วา่ สามี - ภรรยาคหู่ นงึ่ สามชี อื่ “ตาเพชร” ภรรยาไมท่ ราบชอื่
ตั้งบ้านเรือนอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น�้ำสุพรรณบุรี (ท่าจีน) ตาเพชรเป็นคนชอบเรียนวิชาอาคม
คาถา ปลุกเสกเคร่ืองรางของคลัง หวังส่ิงใดก็ได้สิ่งน้ันสมปรารถนา เช้าวันหน่ึงมีการท�ำบุญที่
“วดั สวนหงส”์ ฝง่ั ตรงขา้ มบา้ น สองสามี - ภรรยาเตรยี มขา้ วของ แตง่ ตวั ดว้ ยเสอ้ื ผา้ ใหมร่ ะหวา่ งนนั้
เป็นฤดูน�้ำหลากเต็มสองฟาก พอดีคนข้างบ้านยืมเรือพายข้ามไปท�ำบุญแล้ว ไม่มีเรือ ตาเพชร
จึงเสกน้�ำมนต์ขน้ึ มาขนั หนึ่งมอบให้ภรรยาถือไว้ ส่ังวา่ ตวั เองจะท่องคาถาแปลงเปน็ จระเข้ตวั ใหญ่
และยาว 5 เมตร ขวางแมน่ �ำ้ ใหภ้ รรยายืนบนลำ� ตัว จะวา่ ยข้ามใหถ้ งึ ฝงั่ เมอ่ื ถงึ ฝงั่ แล้วใหภ้ รรยา
เอานำ้� มนตใ์ นขนั รดทต่ี วั จระเข้ เพอื่ กลบั รา่ งเปน็ ตาเพชรตามเดมิ ภรรยารบั คำ� ตาเพชรจงึ แปลงรา่ ง
เปน็ จระเขต้ ามทก่ี ลา่ ว ภรรยาเอาขนั นำ�้ มนตว์ างลงในหาบ ครนั้ ใกลถ้ งึ ฝง่ั ภรรยายกหาบใสบ่ า่ เตรยี ม
ขนึ้ ฝง่ั ตาเพชรในรา่ งจระเขต้ อ้ งการหยอกภรรยาเลน่ จงึ อา้ ปากกวา้ วง ภรรยาตกใจสดุ ขดี กระโดดหนี
หาบหลุดจากบ่าขันน้�ำมนต์หกหมดตาเพชรกลายเป็นจระเข้ตลอดกาล ด้วยความเป็นห่วงภรรยา
จงึ ขดุ วงั อยรู่ มิ ตลง่ิ หนา้ บา้ นของตน และขดุ ทะเลออกมาทต่ี ลาดคอวงั เลา่ กนั ตอ่ วา่ เมอ่ื ใดทข่ี องใคร
หล่นเข้าวังตาเพชร สิ่งของนั้นจะไปโผล่ที่ตลาดคอวัง เป็นที่เล่ืองลือ ชาวบ้านจึงเรียก
“วงั ตาเพชร” กบั “ตลาดคอวงั ” “บา้ นคอวงั ” สว่ นจระเขต้ าเพชรนนั้ บางวนั วา่ ยเขา้ คลองบางปลามา้
ไปทางคลองชะโดเพ่อื หากิน ชาวบ้านไมเ่ คยเหน็ จระเขเ้ พศผใู้ หญ่และยาวมากอ่ น จงึ เรียกหมูบ่ า้ น
ทพี่ บจระเข้ตาเพชรวา่ “บ้านจระเข้ใหญ่” มาจนถงึ ทกุ วันน้”ี
ต่อมาตอนสายๆ ชาวบ้านวังตาเพชรรวมตัวกันจัดการแขกไม่ได้รับเชิญเสียอยู่หมัด
โดยมัดไว้กบั โคนตน้ กา้ มปู (ฉ�ำฉา) รอการพพิ ากษาว่าจะเอาอย่างไรกบั มันดี ตอนแรกชาวบ้าน
อยากจะฆ่ามันทิ้ง เพราะถ้าปล่อยไปมันอาจจะย้อนกลับมาอีก เคราะห์กรรมของจระเข้ตัวนี้ยังดี
ทผ่ี ้ใู หญเ่ กล้ยี กลอ่ มใหล้ กู บา้ นไว้ชวี ติ มนั สำ� เรจ็ นำ� ไปปล่อยที่ “บึงฉวาก” ทอ่ี �ำเภอด่านช้าง หา่ งกัน
80 กโิ ลเมตร คณุ “ณชั ศรีบุรรี กั ษ์” เปน็ กวแี ละหมอดไู พย่ ิปซผี ู้มีชอ่ื เสียงเสรมิ วา่ “ดฉิ ันได้ยินผ้เู ฒ่า
ผแู้ กบ่ อกวา่ นำ� มนั ไปปลอ่ ยแลว้ อกี 20 กวา่ ปมี นั กลบั มาอกี แตไ่ มท่ ำ� อะไรใคร เปน็ เชน่ นมี้ า 7 - 8 ครงั้
ไมท่ ราบวา่ เปน็ ลกู มันหรอื เปล่า แปลกมาก ตรงทนี่ �ำมนั ไปปลอ่ ยตา่ งท่ีตา่ งวาระ มนั กลับมาทเ่ี ดิม
ได้อย่างไร เหมอื นนกพริ าบเลย ไมเ่ ชือ่ ก็คอยดสู ิ ประวัตศิ าสตร์ยอ่ มซำ�้ รอยเสมอ”
สุดท้ายทุกคนลงมติว่า “ไม่เช่ือก็อย่าลบหลู่” เชื่อไปต่างๆ นานา คือจระเข้ตาเพชร
กลบั ชาตมิ าเกดิ ซำ้� แลว้ ซำ�้ เลา่ เพอื่ รอเวลา “คนดมี วี ชิ า เหมอื นตาเพชรทเี่ รยี นวชิ าอาคม คาถา ปลกุ เสก
เครอ่ื งรางของคลงั หวงั สง่ิ ใดก็ได้สิ่งนน้ั สมปรารถนา มาพบเพ่อื แกอ้ าถรรพ์ คอื แกส้ ิ่งท่เี ป็นอ�ำนาจ
ลึกลับ เชื่อกันว่าอาจบันดาลให้มีอันเป็นไป” ซึ่งจะว่าไปแล้ว เวลาก็ผ่านมาเนิ่นนานถึง 182 ปี
อาถรรพ์ยังคงเป็นอาถรรพ์ เคยมีปราชญ์ชาวบ้านเสนอให้เปลี่ยนช่ือบ้านนามเมืองเสียท้ังหมด
ท�ำให้ชาวบ้านร้านตลาดวิพากษ์กันกระห่ึมว่า “เอาสมองหยักไหนมาคิด เพราะชื่อบ้านนามเมือง
ในสพุ รรณมีตำ� นานทไ่ี ปทมี่ าทงั้ น้ัน หากลงมอื ทำ� จริงรับรองได้ ยงุ่ เหมือนฝอยขัดหม้อแน่นอน!

วทิ ยาจารย์ 45

วชิ าการบันเทงิ

มรกต กรีน

เขาวา่ เด็กชาวยวิ เก่ง ...เขาเก่งเพราะใคร

เราได้แต่รับฟังมาว่า “เด็กชาวยิวเก่ง” ไปเรียนที่ประเทศไหนๆ
คุณครูที่นั่นก็จะบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า เด็กท่ีมาจากอิสราเอล
เมอ่ื ไดม้ าเรยี นทน่ี แี่ ลว้ เขาจะปรบั ตวั ในชว่ งแรกๆ ทม่ี าเรยี นไมน่ านนกั
ต่อจากนั้นเขาก็จะกลายเป็นเด็กท็อปเทนของห้องไปในบัดดล

46 วิทยาจารย์

มคี �ำถามตามมามากมาย ...เขาเกง่ เพราะอะไร เพราะใคร ถ้าไมใ่ ช่พ่อแม่ ผู้ปกครอง
ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ มนี กั คน้ ควา้ ไปศกึ ษาวธิ กี ารเลย้ี งดเู ดก็ ของพอ่ แมช่ าวยวิ อยา่ งถงึ แกน่ มาเสนอในทสี่ าธารณะ
ในหลายมมุ มอง ทา้ ทายนกั จติ วทิ ยาเดก็ ทม่ี กั พดู เสมอวา่ “ไมม่ อี ะไรตายตวั ในการอบรมเลยี้ งดเู ดก็ เสมอไป”
เหมอื นกบั จะคา้ นวา่ ใครก็เลย้ี งดูลกู ของตนไดด้ ีทงั้ นัน้ ขอใหเ้ อาใจใส่อยา่ งจรงิ จงั และเข้าใจเด็กดกี ็พอ
แตเ่ มอ่ื อา่ นพบกฎการเลยี้ งเดก็ 10 ขอ้ ของผปู้ กครองชาวยวิ จนทำ� ใหเ้ ดก็ ของเขาเปน็ อจั ฉรยิ ะ มากกวา่
ชาตไิ หนๆ ทำ� ให้หายสงสัย ซ่ึงบัดนไ้ี ด้เปลยี่ นความสงสัยน้นั มาเปน็ “ความเล่ือมใส” ในการเอาใจใสเ่ ลีย้ งดู
บุตรหลานของผูป้ กครองชาวยิว และพร้อมทจี่ ะน�ำไปใช้กับบตุ รหลานของเรา (ถา้ พ่อแมร่ ุ่นใหม่เขาอนญุ าต)

วทิ ยาจารย์ 47

กฎ 10 ข้อท่ีวา่ น้ี เร่มิ จาก

ข้อท่ี 1 ข้อที่ 5 ขอ้ ที่ 8
รู้จักสังเกตว่าเด็กท�ำอะไรเองได้บ้าง เลน่ แปบ๊ เดยี ว เดย๋ี วกห็ มดแรง พอ่ แม่ พอ่ แมต่ อ้ งเชอ่ื ใจเดก็ เดก็ ปฐมวยั ทกุ คน
ถ้าเห็นว่าเขาท�ำเช่นน้ันได้ สิ่งท่ีพ่อแม่ ชาวยวิ ถอื วา่ เดก็ มพี ลงั ทจี่ ะเลน่ ซกุ ซนไป ปรารถนาให้ผู้ใหญ่ไว้ใจในตัวเขา และ
ไม่ควรมองข้ามก็คือ การให้รางวัลหรือ ตามประสาเดก็ ๆ ดงั นนั้ การปลอ่ ยใหเ้ ขา เม่ือใดผู้ใหญ่เชื่อใจเขา เขาจะถือว่า
คำ� ชมเชย ทุกครัง้ ได้เล่นเช่นนั้น ผลที่เกิดข้ึนตามมา นน่ั คอื รางวัลที่เขาไดร้ บั มากกว่ารางวัล
เมอ่ื ลกู หลานเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญใ่ นวนั ขา้ งหนา้ ที่เป็นสง่ิ ของอย่างอนื่
เขาจะเป็นผู้ใหญ่ที่มีความมั่นใจ และ
ข้อท่ี 2 ทำ� งานอยา่ งไม่มวี นั ยอ่ ทอ้
ขอ้ ที่ 9
เชื่อว่า เด็กของเราสามารถควบคุม
อารมณไ์ ด้ พอ่ แมช่ าวยวิ เมอ่ื พบวา่ เดก็
มพี ฤตกิ รรมทไี่ มพ่ งึ ประสงค์เชน่ ไปเอาของ ทุกอย่างจะยากก่อนที่จะง่ายเสมอ
พอ่ แมช่ าวยวิ สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ชว่ ยตวั เอง
ของคนอ่ืนมาเล่นโดยไม่ขออนุญาต ขอ้ ที่ 6 และพรอ้ มใหก้ ารสนบุ สนนุ เชน่ การสวม
เจา้ ของเชน่ น้ี พอ่ แมช่ าวยวิ จะไมล่ งโทษ ยอมรบั ในความไมเ่ รยี บรอ้ ยของเดก็ กางเกงของเด็ก เขาจะไม่พูดว่า “You
ด้วยวิธีการไปแย่งของนั้นมาจากเด็ก พอ่ แมช่ าวยวิ สว่ นใหญจ่ ะเหน็ คลา้ ยกนั วา่ are too young for this.” แต่จะพูดว่า
ในทนั ทที นั ใดดว้ ยอารมณไ์ มพ่ อใจแตเ่ ขา ลกู ของเขาทมี่ กั ทำ� เลอะเทอะเพราะเปน็ “Don’t worry, just take them off, and
จะต้ังกฎที่ให้รางวัลกับการกระท�ำ ธรรมชาตขิ องเดก็ ดงั นนั้ เขาจงึ ปลอ่ ยให้ try again.” ถา้ เหน็ วา่ เดก็ ยงั ทำ� ไดไ้ มด่ พี อ
ท่ีถูกต้อง ท้ังนี้ เพ่ือให้เด็กของเขาลืม เด็กเล่นตามประสาเด็ก แล้วค่อยหาวิธี เขาก็จะพูดว่า “การเร่ิมต้นมันยาก
การถูกลงโทษ แต่จะเรียนรู้ที่จะปรับ อธิบายว่า การท�ำให้เป็นระเบียบดีกว่า แบบนแี้ หละ”แลว้ เดก็ กจ็ ะพยายามตอ่ ไป
พฤตกิ รรมใหเ้ ป็นผลดแี กต่ ัวเองมากข้ึน อย่างไรภายหลงั อยา่ งมกี ำ� ลังใจ

ข้อที่ 3 ขอ้ ที่ 7 ขอ้ ที่ 10
พอ่ แมต่ า่ งกม็ บี ทบาทในการเปน็ หวั หนา้ เสอื้ ผา้ ไมใ่ ชส่ งิ่ สำ� คญั ทส่ี ดุ เดก็ ไมส่ นใจ ชนื่ ชมในการพงึ่ พาตวั เองได้ ครอบครวั
ครอบครัว การสอนให้เคารพพ่อแม่ หรอกวา่ เสอื้ ผา้ ตอ้ งสะอาดเนยี๊ บตลอดเวลา ท่ัวไปมกั พดู ว่า “I can do anything.”
จึงมีความจ�ำเป็น เพื่อให้เด็กเรียนรู้ เพราะเขายงั อยใู่ นวยั ทไ่ี มส่ นใจเรอื่ งเหลา่ นี้ แต่ครอบครัวยิวจะพูดว่า “I can do
การอยรู่ ่วมกันในวถิ ีทางที่สังคมยอมรบั ถา้ ไปหา้ มปรามเขากจ็ ะทำ� ใหเ้ ดก็ กลายเปน็ anything myself.” เพราะเขาถือว่า
คนไม่มคี วามเชือ่ มนั่ ในตัวเอง การที่เดก็ ๆ รู้สึกเชน่ นัน้ เปน็ การส่งเสริม
ความสามารถเบอื้ งตน้ จนเกดิ นสิ ยั เปน็ คนท่ี
ขอ้ ท่ี 4 จะพึ่งพาตนเองได้ในอนาคต เราจึงมัก
การให้อสิ ระอยา่ งมขี อบเขต พอ่ แม่ เหน็ เสมอในรา้ นอาหารทปี่ ระเทศอสิ ราเอล
ชาวยวิ จะไมใ่ ชอ้ ารมณด์ ดุ า่ วา่ เดก็ ถา้ พบวา่
เดก็ ก�ำลังท�ำในสิ่งที่เขาไม่ต้องการ เช่น วา่ เดก็ 1 ขวบของเขาสามารถกนิ อาหาร
เองไดแ้ ลว้
การไมเ่ คารพพอ่ แมห่ รอื ดา่ พอ่ แม่ แตจ่ ะ
ใชก้ ฎเหล็กสัง่ สอนอย่างเฉยี บพลัน เช่น ลองดู ...

สงั่ ใหไ้ ปยนื ตวั ตรงทม่ี มุ หอ้ งเปน็ การสง่ั สอน ถ้าอยากให้ลูกหลานเก่ง
และลงโทษในเบอ้ื งต้น
อย่างเด็กชาวยิว

48 วทิ ยาจารย์


Click to View FlipBook Version