The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-07 03:06:48

วารสารวิทยาจารย์ ปีที่ 117 ฉบับที่ 2 เดือนธันวาคม 2560

2 วิทยาจารย์ ธันวาคม 2560

ความเปน มา/คําถามวจิ ยั /วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย/ปญหาวิจัย วทิ ยาจารย์ 49

(อานตอจากฉบับที่แลว)
3. ถาม : ครูหรือผูบริหารควรทําวิจัยเรื่องอะไรเพื่อพัฒนา
วทิ ยฐานะชาํ นาญการพิเศษและเช่ียวชาญ
ตอบ : ขอนี้ พอมองเห็นความกังวลของผูถาม ในยุค

การสงเสริมครูและผูบริหารซ่ึงมีหลักเกณฑที่เปนกรอบการปฏิบัติ
ในสวนท่ีเปนงานวิจัย ครู/ผูบริหารตองเลือกเรื่องที่เหมาะสมกับระดับ
วิทยฐานะ ตองเสนอผลการวิจัยอยางมีคุณภาพ และยังตองระบุ
การนาํ ผลงานทางวิชาการไปใช โดยตองช้ีแจงวานําไปใชอยางไร เม่ือใด
นอกจากน้ียังตองชี้แจงวาไดนําผลงานทางวิชาการไปเผยแพรท่ีใด
อยางไร เม่ือใด ดูเปนเงื่อนไขที่ตองปฏิบัติมากมาย แตถาเราพิจารณาถึง
ขนาดรางวัลท่ีตอบแทน มีท้ังเกียรติและเงินแลว ก็นาจะเปนเหตุผลท่ีรับได
แตเหนืออื่นใด มีครูและผูบริหารจํานวนหนึ่งภูมิใจในความสําเร็จ
ของการพัฒนาและขยายผลเปนแบบอยา งตอวงวชิ าชีพอยา งนาชนื่ ชม

เพ่ือใหการวิจัยไดสนองความต้ังใจในการพัฒนาความเปนมืออาชีพ
อยางนาภาคภูมิใจ การเริ่มตนที่ดีจะชวยใหงานดําเนินไปดวยความ
ราบรื่นได พูดกันวาการเริ่มตนท่ีดีเทากับงานสําเร็จไปกวาคร่ึง จึงขอ
แนะนําใหใชหลักการพื้นฐานที่ไดกลาวแลวในคําถามขอท่ี 2 ท้ังนี้
นักวิจัยตองใหเวลากับการเตรียมความพรอมกอนท่ีจะถึงวิทยฐานะขั้นสูง
เพราะวิจัยเปนทักษะที่ตองอาศัยปญญาเปนปจจัยขับเคลื่อนที่สําคัญ
ใหใชการทํางานท่ีรับผิดชอบเปนแบบฝกการทําวิจัยอยางจริงจัง
เนนกระบวนการพัฒนาผูเรียน ใชความรูท่ีไดมาเปนแนวทางเพิ่มพูน
ศักยภาพผูเรียน แลวต้ังคําถามวิจัยเพ่ือนําไปสูการพัฒนานวัตกรรม
และพัฒนาตนแบบอยางตอ เน่อื ง
10 การเรียนรูที่มีความตอเนื่อง เปนการใชผลการวิจัยในสภาพจริง
และหาโอกาสนําเสนอผลการวิจัยในวาระตางๆ เชน เวทีของคุรุสภา
ที่กําหนดใหสงผลงานวิจัยไดทุกป สภาการศึกษาแหงชาติมีวาระ
ทํานองเดียวกนั ปเวนป และเวทนี ําเสนอผลงานของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
มที กุ ปอ ยางตอเน่ือง เปนตน

ในวิชาชีพครู/ผูบริหารการศึกษา หรือบุคลากรสายสนับสนุน
ดานการศึกษา ความสําเร็จท่ีบุคคลไดดํารงวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
และเชี่ยวชาญ จะมีลักษณะเดน คือ มีบุคลิกภาพของผูใฝรู มีความเปน
นักวิชาการที่ไดทักษะทางปญญา และพรอมท่ีจะใชปญญาท่ีสรางสรรค
นับไดวาเปนผูควรยกยอง เปนผูที่ไดสรางผลงานแกสังคม โดยเฉพาะ
วชิ าชพี ทางการศกึ ษา

4. ถาม : เขียนความเปนมาหรือความสาํ คัญของปญ หาอยางไร

ตอบ : การทําวิจัยเปนวัฒนธรรมของชุมชนการเรียนรูในยุคการเรียนรู

50 วทิ ยาจารย์ และเชี่ยวชาญ จะมีลักษณะเดน คือ มีบุคลิกภาพของผูใฝรู มีความเปน
นักวิชาการที่ไดทักษะทางปญญา และพรอมท่ีจะใชปญญาท่ีสรางสรรค
นับไดวาเปนผูควรยกยอง เปนผูท่ีไดสรางผลงานแกสังคม โดยเฉพาะ
วิชาชีพทางการศกึ ษา

4. ถาม : เขียนความเปน มาหรอื ความสาํ คัญของปญหาอยางไร

ตอบ : การทําวิจัยเปนวัฒนธรรมของชุมชนการเรียนรูในยุคการเรียนรู
ที่ไรพรมแดน ดังจะเห็นกิจกรรมสรางสรรคมากมาย ตั้งแตการขอรับ
การสนับสนุนโครงการ แสดงถึงการยอมรับคุณภาพของขอเสนอ
การเผยแพรผ ลการวจิ ัยอยา งเปด เผยพรอ มรับการวิพากษวิจารณอยางสงา
ไมกลัวเสียหนา การประณามการละเมิดลิขสิทธ์ิทางปญญา เพ่ือสราง
ปญญาชนรุนตอๆ ไป การประกวดและประกาศเกียรติคุณแกผลงาน
ที่ดเี ดน เพื่อสง เสรมิ ชุมชนและสบื ทอดมรดกทางปญ ญา เปนตน

การเขียนความเปนมาหรือความสําคัญของปญหา เปนขอความท่ี
ผูวิจัยจะเปดตัวใหผูอานรูจัก เขาใจเราในดานความคิด ความตองการ
และความมีเหตุผลจากเรื่องท่ีเรานําเสนอ หัวขอแรกน้ี เปนประ1ต1ู
เชิญชวนผูอานใหเดินชมติดตามความตองการของเจาของงาน ถาผูอาน
มีหนาท่ีใหการสนับสนุนเงินทุน ก็จะพิจารณาสาระที่นําเสนอ
จากหัวขอแรกน้ีไปจนจบโครงการวิจัยที่นําเสนอ ในกรณีท่ีเปนนิสิต
นกั ศกึ ษา เปนหนาที่ของอาจารยท่ีปรึกษาตองใหคําช่ืนชม เมื่อนําเสนอดี
และใหคําแนะนําแกไขเม่ือมีขอบกพรอง สวนในกรณีที่เปนการเสนอ
เพือ่ ขอรับการสนับสนนุ ระดบั นกั วจิ ยั เตม็ ตวั หรอื ตวั จริง ผลการพิจารณา
อาจยุติท่ีการตัดสินใจของกรรมการวา “รับ” หรือ “ไมรับ” ถาเปน
การประกวดผลงานท่ีวิจัยเสร็จแลว อาจยุติท่ีคําตัดสิน “มีคุณภาพ สมควร
ใหรางวัล” หรอื “ไมม คี ณุ ภาพ หรือไมถงึ เกณฑทีจ่ ะใหร างวลั ” เปนตน

หลักการเขียนความเปนมา หรือความสําคัญของปญหาท่ีมีคุณภาพ
มสี องสว นท่เี ก่ยี วโยงกันคือ ตวั นกั วิจยั และการนาํ เสนอ

ครูหรือผูบริหารนักวิจัยเปนเจาของขอเขียนท่ีนําเสนอ คิดอะไร
คิดอยางไร สุดทายตัดสินใจกับงานช้ินนี้อยางไร จากน้ัน นําเสนอตาม
กระบวนการคิดที่สะทอนถึงความตั้งใจใชการวิจัยเพื่อใหไดความรู
ในการแกปญหาทต่ี องการ การนาํ เสนอควรมปี ระเดน็ โดยสงั เขปดังนี้

1. ระบุตัว “ปญหาวิจัย” ท่ีชัดเจน ปญหาในท่ีน้ีคือโจทยวิจัย
ที่ผูวิจัยกําหนดขึ้น และมีความคาดหวังที่จะไดคําตอบที่จะนําไปใช
ประโยชนอยางสรางสรรคท่ีชัดเจน ในตัวปญหาจะเห็นตัวแปรที่ตองใช
1ใก2นระทบางวกนากราศรึกวษิจัยาไหปรเกือ็บกขารอสมอูลนเพเ่ือปนนําปมญาวหิเคารทา่ีนะักหวหิจาัยคหําตวังอจบะปไดญคหําาตวอิจบัย
เพอ่ื นําไปแกไขสภาพความออนดอ ยท่ีพบ หรอื เสรมิ ความเขมแขง็ ทมี่ อี ยู
ใหมีความโดดเดน หรือพัฒนายิ่งๆ ขึ้น ผูวิจัยจึงจําเปนตองเขียนบรรยาย
สภาพหรือบริบทนั้นๆ ท่ีทําใหนักวิจัยตองหยิบปญหานั้นมาทําวิจัย
การบรรยายตรงนี้จะสรางความเช่ือมโยงกับเหตุผลที่นํามาสนับสนุน
และวิธกี ารทจ่ี ะเสนอในกระบวนการวิจัยตอ ไป

2. ความสมเหตุสมผลของการหาคําตอบของปญหาวิจัยนั้น
ขอความท่ีเขียนจะตองมีเหตุผลจากแหลงที่นาเชื่อถือมาสนับสนุนขอมูล
หรือความรูท่ีนํามาตองสอดคลองกับปญหาในแงมุมที่เกี่ยวของ เชน

ใหมีความโดดเดน หรือพัฒนายิ่งๆ ข้ึน ผูวิจัยจึงจําเปนตองเขียนบรรยาย
สภาพหรือบริบทนั้นๆ ที่ทําใหนักวิจัยตองหยิบปญหานั้นมาทําวิจัย
การบรรยายตรงนี้จะสรางความเชื่อมโยงกับเหตุผลที่นํามาสนับสนุน
และวธิ กี ารที่จะเสนอในกระบวนการวจิ ยั ตอไป

2. ความสมเหตุสมผลของการหาคําตอบของปญหาวิจัยน้ัน
ขอความท่ีเขียนจะตองมีเหตุผลจากแหลงที่นาเช่ือถือมาสนับสนุนขอมูล
หรือความรูท่ีนํามาตองสอดคลองกับปญหาในแงมุมท่ีเก่ียวของ เชน
นักวิจัยตองการแสดงความรุนแรงของความออนดอย เพ่ือสนับสนุน
เหตุผลที่ตองหาคําตอบของปญหาวิจัยนี้ หลักฐานท่ีนํามาอาจเปนขอมูล
ความเสียหายที่เกิดข้ึนอันเกิดจากสภาพดังกลาวไมไดรับการแกไข
หรือผูวิจัยตองการแสดงความจําเปนของการปฏิบัติการเพื่อสรางส่ือ
หรือนวัตกรรมที่มีวิธีการเฉพาะบางอยาง หลักฐานท่ีนํามาสนับสนุน
อาจเปนทฤษฎี หรือหลักการ หรือแนวทางที่มีการปฏิบัติท่ีเห็นผล
หรือผูวิจัยตองการสรางตนแบบเสนอรัฐใหการสนับสนุนโรงเรียน
เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคไดอยางยั่งยืน หลักฐาน
ที่นํามาสนับสนุนก็จะมีความซับซอน ครอบคลุมประเด็นท่ีจะสราง
ความนาเชื่อถือ ใหผูสนับสนุนใหงบประมาณท่ีเพียงพอที่จะใหไ1ด3
คาํ ตอบท่เี ปน ลักษณะตนแบบน้ันๆ

3. แสดงความคาดหวงั ท่จี ะนาํ ผลการวจิ ัยไปใชทีม่ ีความเปนไปได
สอดคลองกับสาระท่นี าํ เสนอในขอ 1 และ 2 ไมก วางแบบเลือ่ นลอย

5. ถาม : การตง้ั ชือ่ เรื่องท่วี จิ ยั ควรตงั้ อยางไร

ตอบ : โดยธรรมเนียมปฏิบัติ ผูเขียนเอกสารวิชาการจะเสนอนําดวย
ช่ือเรื่องเปนอันดับแรก เปนการแสดงใหผูอานเร่ิมรับรูสาระท่ีจะตามมา
แตโดยการทํางานของผูเขียนจะมีลําดับการคิดท่ีแตกตางกัน บางคน
เร่ิมตนดวยความมั่นใจ และดําเนินเร่ืองตอมาดวยความตอเนื่อง แตก็มี
ผูเขียนจํานวนมากท่ีมีการคิดไตรตรอง ทบทวน ช่ังใจ กวาจะไดช่ือเร่ือง
ก็ใชเวลาคิดย้ําซ้ําทวน การเขียนชื่อเรื่องจึงเปนงานที่เขียนภายหลัง
จากการตดั สินใจตอมา

งานวิจัยเปนงานวิชาการที่มีกระบวนการคิดอยางเปนระบบ
เร่ืองท่ีจะวิจัย จะมีคําถามวิจัยท่ีชัด และมองเห็นคุณคาของงานท่ีจะเกิดข้ึน
การวิจัยจะจบลงดวยการไดคําตอบตรงวัตถุประสงค ดังนั้น
การตั้งชื่อเร่ืองวิจัยจึงเปนงานที่ตองการความคิดที่ประณีต นักวิจัยมักจะต้ัง
ช่ือคร้งั แรกแลว ทบทวนแกไขจนม่นั ใจวาตรงกับวัตถุประสงคท ี่ตนตองการ

จากการวิเคราะหการต้ังชื่อเร่ืองในงานวิจัยที่เผยแพรทั่วไป
พบจุดออนหลายประเดน็ ไดแก

14

วทิ ยาจารย์ 51

52 วทิ ยาจารย์ † ไมสอดคลองกับวัตถุประสงคข องการวิจยั
นักวิจยั คงตอ งตรวจสอบวัตถปุ ระสงคของการวิจยั และคาํ ถาม

วิจยั วา ตองการศกึ ษาอะไร เกยี่ วของกบั ตัวแปรอะไร
† ไมส อื่ ถึงระเบียบวธิ ีวิจยั ทจ่ี ะไดความจริงท่ีตองการ
นักวิจัยควรจะตรวจสอบเปาหมายงานของตน วาตองการ

บรรยายปรากฏการณ หรือคนหาความสัมพันธของตัวแปร หรือตองการ
หาประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่พัฒนาข้ึน หรือตองการสรางรูปแบบ
ของระบบการเรยี นรู

† ไมระบุขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยท่ีตองการความจริงเฉพาะบริบท หรือพ้ืนที่ หรือ

กลุมเปาหมาย ผูวิจัยตองระบุชัดเจน เพ่ือไมใหเกิดผลการวิจัยที่เกิดความ
คลาดเคลื่อน ที่เรียกวา Overgeneralization ซึ่งเปนจุดออนกระทบตอ
คุณภาพการวจิ ัยในดา นความตรงภายนอก (external validity)

† เขยี นไมก ระชบั ใชคํามากเกินความจาํ เปน
โดยปกติ การตั้งชื่อเรื่องจะมีหลักของความกระชับ

ตรงประเด็น แตก็พบลักษณะของการใชภาษาท่ีมีคําขยายมากเกิน
ความจําเปน นักวิจัยจะแกไขเองไดไมยาก ดวยการอานทบทวน
ไมรบี รอนเกินไป

กลาวโดยสรปุ หลกั การต้ังชอ่ื เร่ือง มดี งั น้ี

# สน้ั กระชับ และใชคําถูกตองตามหลกั ภาษา
# เสรือ่่ือคงอวาะมไหร มเหา็นยวตา ัวกแรปะรบวนการน้ันตองการคนหาความจร1งิ 5
# เกี่ยวของกับใคร ในสถานการณหรือบริบทใด เวลาใด

เ ป น ข อ บ เ ข ต ที่ ต อ ง กํา ห น ด เ พื่ อ ค ว า ม ถู ก ต อ ง ข อ ง
การสรุปผลที่ได

# ทําอยางไร เปนการระบุการทําชื่อที่ตั้งไดถูกตอง

เหมาะสมจะสะทอนถึงระเบียบวิธีวิจัย และความรู
หรือผลการวิจยั

ขอสังเกตท่ีนาพิจารณา ความกระชับ กับความครอบคลุม บางครั้ง
ก็มีความขัดแยง นักวิจัยอาจละคําบางคําไปขยายในรายงาน เชน
รายละเอียดของขอบเขต บางอยางอาจนําไปเขียนขยายความไว
ในขอบเขตของการวิจัย หรือในหัวขอท่ีเก่ียวของ ถานักวิจัยไมแนใจ
กส็ ามารถนาํ เสนอใหผ ูท่อี ยใู นชุมชนนักวิจัยของตนไดใ หค วามเหน็ ได

# ทําอยางไร เปนการระบุการทําชื่อที่ต้ังไดถูกตอง

เหมาะสมจะสะทอนถึงระเบียบวิธีวิจัย และความรู
หรอื ผลการวิจัย
ขอสังเกตที่นาพิจารณา ความกระชับ กับความครอบคลุม บางคร้ัง
ก็มีความขัดแยง นักวิจัยอาจละคําบางคําไปขยายในรายงาน เชน
รายละเอียดของขอบเขต บางอยางอาจนําไปเขียนขยายความไว
ในขอบเขตของการวิจัย หรือในหัวขอที่เก่ียวของ ถานักวิจัยไมแนใจ
กส็ ามารถนําเสนอใหผูท่ีอยูในชมุ ชนนกั วจิ ัยของตนไดใหค วามเหน็ ได

แนวคดิ /ทฤษฎที เ่ี ก่ียวของ/กรอบแนวคิดท่ใี ชในการวจิ ยั

6. ถาม : การกําหนดกรอบแนวคิดการวิจัยมีหลักการหรือขอควร
16 พิจารณาท่ีสําคัญอะไรบาง และจุดออนหรือขอควรระวัง

ในการกําหนดกรอบแนวคิดการวจิ ยั คืออะไร

ตอบ : กรอบแนวคิดการวิจัยเปนสวนสําคัญในการออกแบบการวิจัย
ท่ีแสดงถึงความคิดหรือรูปแบบของสิ่งท่ีวางแผนจะศึกษา โดยผูวิจัย
เปนผูสรางขึ้น อาจอยูในรูปแบบการพรรณนาความ หรือภาพซึ่งแสดง
องคประกอบสําคัญ แนวคิด ตัวแปรที่จะศึกษาหรือตัวแปรและทิศทาง
ความสัมพนั ธ กรอบแนวคิดท่กี าํ หนดอยา งเหมาะสมจะสะทอ นความจําเปน
ที่สนับสนุนวาควรมีการวิจัยในเรื่องนั้น เปนกรอบในการออกแบบ
สว นอืน่ ๆของงานวิจยั และสะทอ นความเปน ไปไดใ นการดําเนินการวิจยั

กรอบแนวคดิ การวจิ ยั โดยทัว่ ไป ผูวจิ ัยมักกําหนดจากขอมลู หลกั คอื
ผลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ แตนักวิจัยอีกกลุมหน่ึง
ใหความเห็นวา ผูวิจัยควรใหความสนใจแหลงท่ีมาของความคิด
ท่ีหลากหลาย กรอบแนวคิดการวิจัยที่ดีจึงควรสรางข้ึนโดยผสมผสาน
หลายวิธีการ เชน ขอมูลจากเอกสารก็อาจศึกษาจากเอกสารที่ไมจํากัด
เฉพาะหนังสือ ตําราและงานวิจัยท่ีตีพิมพแลว แตอาจศึกษาจากบทความ
วิทยานิพนธที่กาํ ลังดําเนินการ ขอมูลจากบุคคล เชน ในตางประเทศ
จะใหความสําคัญกับความคิด การคาดการณ และประสบการณของท่ีปรึกษา
เนื่องจากการแตงตั้งที่ปรึกษางานวิจัยจะตองเปนผูที่เชี่ยวชาญจริง
ในเรื่องน้ันๆ รวมท้ังขอมูลจากแหลงอ่ืนซ่ึงอาจไดจากการศึกษานํารอง
ผลการสาํ รวจทเ่ี คยทาํ มาแลว

18

วทิ ยาจารย์ 53

54 วิทยาจารย์ ตัวอยา งจุดออ นที่มกั พบในการกําหนดกรอบแนวคดิ การวิจยั ไดแ ก
1. กรอบแนวคิดการวจิ ัยท่นี าํ เสนอไมมีฐานมาจากผลการศึกษาเอกสาร
และงานวิจยั ที่นาเชอื่ ถือ ซง่ึ มสี าเหตุมาจากเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีนาํ มาศกึ ษา
ใหขอมูลจาํ กัด ไมครอบคลุมประเด็นสําคัญในการวิจัย สวนที่นํามา
ไมเชื่อมโยงหรือเชื่อมโยงนอยกับเรื่องที่จะศึกษา หรือไมนําเสนอ
เฉพาะประเด็นทเ่ี กีย่ วขอ ง ขอ มูลจากหลายแหลงไมนา เชื่อถือหรือลาสมยั
2. กรอบแนวคิดการวิจัยที่กําหนดเปนการลอกเลียนแบบจาก
งานวิจัยอื่นหรือปรับโดยไมมีขอมูลรองรับ ไมใชกรอบแนวคิดใหม
ที่ผูวิจัยสรางข้ึนจากความคิดรวบยอดโดยมีลักษณะเฉพาะของงานวิจัย
ท่ีจะทาํ ทั้งน้ีเน่ืองจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
เปนการพรรณนาความ เขียนในรูปรายงาน หรือคัดลอกขอมูล
มานําเสนอตอๆกันวา เคยมีใครเขียนหรือวิจัยในแตละเร่ืองไวอยางไร
แตไมมีการวิเคราะหทั้งในแงความนาเช่ือถือ ความเหมือน ความขัดแยง
จดุ ออ นหรอื ความไมสมบูรณของทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ในปจจุบัน
ผลที่เกิดจากการกําหนดกรอบแนวคิดการวิจัยโดยขาดฐานขอมูล
ท่คี รอบคลุมและเชอ่ื ถือได ทาํ ใหไดก รอบแนวคดิ การวิจัยท่ีไมสอดคลอง
กับสภาพความเปนจริง ซ่ึงจะมีผลตอองคประกอบอื่นของการวิจัย
เชน การกาํ หนดขอ ตกลงเบอ้ื งตนและขอ จาํ กดั ของการวิจยั

7. ถาม : อะไรคือหลักการหรือแนวทางที่ควรจะเปนในการนําเสนอ
เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วของ

ตอบ : การทบทวนวรรณกรรมหรือเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
(Review of related literature) มีหลักคิดที่ปรากฏในคําสําคัญ 2 คํา ค1ือ9
“การทบทวน” ซ่ึงหมายถึง การอานแบบพินิจพิเคราะห และคําวา
“ที่เกี่ยวของ” ซึ่งหมายถึงวา วรรณกรรมที่นํามาศึกษาจะตองมีสาระ
ท่ีเกยี่ วของกับเรอื่ งที่จะวิจัยเทาน้ัน การทบทวนวรรณกรรมจะตองทําต้งั แต
ขน้ั ตอนแรกของการวิจัย เพราะผลจากการทบทวนวรรณกรรมจะเปนขอมูล
สนับสนุนเหตุผลในการทําวิจัย ชวยใหเกิดความชัดเจนในประเด็นปญหา
ไมเกิดการวิจัยซํ้าโดยไมมีเหตุผลความจําเปนรองรับ และเช่ือมโยงไปสู
องคประกอบสําคัญอ่ืนของการวิจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งกรอบแนวคิด
การวิจัย สมมติฐาน ตัวแปรและรูปแบบการวิจัย โดยปกติผลการศึกษา
เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ งจะปรากฏอยูในบทที่ 2 ของรายงานการวิจัย
ยกเวนในบางกรณีซึ่งมีเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของไมมากนัก
ผลการศกึ ษาก็อาจรวมอยใู นบทที่ 1 หรอื บทนํากไ็ ด

ในการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของมีหลักการ
และขนั้ ตอนทสี่ าํ คัญ กลา วคือ

การวิจัย สมมติฐาน ตัวแปรและรูปแบบการวิจัย โดยปกติผลการศึกษา วิทยาจารย์ 55
เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ งจะปรากฏอยูในบทท่ี 2 ของรายงานการวิจัย
ยกเวนในบางกรณีซึ่งมีเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของไมมากนัก
ผลการศกึ ษากอ็ าจรวมอยูในบทท่ี 1 หรือบทนํากไ็ ด

ในการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของมีหลักการ
และขัน้ ตอนท่สี าํ คญั กลาวคอื

1. จะตองเลือกศึกษาเฉพาะเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
เปนประโยชนตอการวิจัยท่ีจะดําเนินการ อาจจะเปนในขั้นการวางแผน
การวจิ ยั การดาํ เนินการวจิ ัย หรือการเขยี นรายงานการวจิ ัย

2. จะตองจัดระบบในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยกําหนดกรอบ
2แป0ลระะเบดัน็นททึี่กจะขศอึกมษูลาโใดหยคอราบจถใวชนบชัตัดรเจบนันวทิเึกคขราอะมหูลเอรกะสบาุสรทารี่เกะี่ยสวําขคอัญง
ตามประเด็นที่จะศึกษา และจะตองระบุแหลงที่มาของเอกสาร
และงานวจิ ัยใหถูกตอ ง ครบถวนตามรปู แบบทจ่ี ะใชอา งองิ ได

3. เอกสารที่อางอิงควรใชจากแหลงปฐมภูมิ มีความทันสมัย
และในกรณีท่ีทําได ควรใชเอกสารที่เชื่อถือไดโดยมีขอสรุปจากการ
ศึกษาวิจัยที่เปนระบบรองรับ เชน บทความจากวารสารตางประเทศ
มากกวาเอกสารที่เขียนขึ้นจากประสบการณที่จํากัด หรือเปนความเห็น
สว นบุคคลท่ไี มมขี อมูลรองรบั

การนําเสนอผลการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวของประกอบดวย
สาระสาํ คัญ 2 สว น คือ สว นแรกเกีย่ วกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎที ี่เก่ียวของ
กับเรอ่ื งทจ่ี ะวิจัย และสวนท่ี 2 คอื งานวิจัยท่เี ก่ียวขอ งท้งั ในและตางประเทศ
โดยการนําเสนอในสวนนี้จะตองครอบคลุมองคประกอบสําคัญต้ังแต
เร่ืองท่ีทําวิจัย ความเปนมา วัตถุประสงค วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย
ขอคนพบและขอสังเกตของผูวิจัยที่จะนําไปวิเคราะห สังเคราะห
เชอื่ มโยงกับส่งิ ทค่ี นพบในงานวจิ ัยที่จะดาํ เนินการ

แนวทางในการนาํ เสนอผลการวิเคราะหเอกสารและงานวิจัย
ทเี่ ก่ยี วของ โดยสรปุ มดี ังน้ี

1. ทําเคาโครงเนื้อหาที่จะนําเสนอซึ่งตองครอบคลุมคําสําคัญ
และตัวแปรที่จะศึกษา โดยแบงประเด็นที่จะนําเสนอเปนหัวขอหลัก
หัวขอรอง หวั ขอยอ ยใหส อดคลอ งสมั พนั ธกัน

2. นาํ เสนอเนอื้ หาในแตละหัวขอโดยวิเคราะหใหเห็นความเหมือ2น1
หรือตางของขอมูลจากแหลงตางๆ ประเด็นท่ีงานวิจัยใหคําตอบชัดเจน
สมบูรณแลว หรือยังไมชัดเจน ไมสมบูรณโดยเขียนใหเปนภาษาของผูวิจัย
ไมเปนการคัดลอกขอ มลู จากแหลง ตางๆ มาตอ กัน แลวสงั เคราะหเ ปนสรุป
ของแตล ะประเดน็ ยอยและสรปุ รวม ซงึ่ จะเชอ่ื มโยงสัมพันธก บั การกาํ หนด
องคประกอบสําคัญของงานวิจัย เชน นิยามตัวแปรและกรอบแนวคิด
การวิจัย

8. ถาม : ขอบกพรองที่มักพบในการนําเสนอเอกสารและงานวิจัย
ทเ่ี กี่ยวขอ งคอื อะไร

หนงึ่ โรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม

หน่ึงโรงเรียน หนง่ึ นวตั กรรม

ของคุรุสภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐

เครอ่ื งช่วยผูกไมก้ วาดดอกออ้ ก่ึงอัตโนมตั ิ
เพ่อื การประกอบอาชพี ผู้สูงอายุและคนพิการ

วทิ ยาลยั เทคนคิ ระนอง ๑๕๕ หมู่ ๓ ถนนเพชรเกษม ตาำ บลบางนอน
อาำ เภอเมือง จงั หวดั ระนอง รหสั ไปรษณีย์ ๘๕๐๐๐

ปฐมบท ปรากฏการณ์

ประเทศไทยจะเปน็ สังคมผู้สูงอายอุ ย่างสมบรู ณ์ในปี ๒๕๖๘ ขณะท่ีสัดสว่ นประชากรวยั เดก็ และ
วัยแรงงานลดลงอย่างต่อเน่ือง ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ อาจกระทบต่อความต้องการแรงงาน
ในระบบเศรษฐกิจในอนาคต การแข่งขันเพื่อแย่งชิงแรงงานจะมีมากขึ้น โดยเฉพาะแรงงานคุณภาพ
ภาครัฐและครัวเรือนจะมีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
สง่ ผลตอ่ ภาระงบประมาณของภาครฐั และมคี า่ ใชจ้ า่ ยของครวั เรอื นในการดแู ลสขุ ภาพอนามยั และการ
จดั สวัสดิการทางสังคม ซ่งึ รายได้ของผ้สู ูงอายุส่วนใหญ่มาจากบุตร ภาครัฐจึงต้องสนับสนุนการสร้าง
รายได้ให้กับผู้สูงอายุ เพ่ือให้เกิดการมีงานทำาและสร้างคุณค่าให้กับผู้สูงอายุ รวมถึงการสร้างโอกาส
ทางอาชพี ให้กบั คนพิการด้วย จากการสาำ รวจชมุ ชนหว้ ยนายรอ้ ย เปน็ ชุมชนทีม่ ีทรัพยากรทางธรรมชาติ
ท่ีสมบูรณ์ มีต้นอ้อท่ีใช้สำาหรับการทำาไม้กวาดอยู่จำานวนมากขึ้นตามธรรมชาติ ชุมชนส่วนใหญ่เป็น
ผู้สูงอายุท่ีมีภูมิปัญญาในการประดิษฐ์ไม้กวาดดอกอ้อ จึงรวมตัวต้ังกลุ่มชุมชนเพื่อผลิตไม้กวาดดอกอ้อ
เพื่อใชแ้ ละจำาหน่ายเปน็ สนิ ค้า OTOP ของชมุ ชน

การผกู ไมก้ วาดออกออ้ ผทู้ าำ ตอ้ งนง่ั บนแผน่ ไมร้ องนงั่ และใชเ้ ทา้ กดแกนพนั ลวดเพอื่ ควบคมุ การปลอ่ ย
ลวดหรือเชือก และมือต้องออกแรงดึงลวดขณะมัดไม้กวาดให้แน่น การทำาไม้กวาดดอกอ้อในลักษณะน้ี
กลา้ มเนอื้ แขน กลา้ มเนอ้ื ขา และกลา้ มเนอ้ื หลงั ตอ้ งออกแรงเกรง็ ตลอดเวลา การนง่ั ทาำ ไมก้ วาดจาำ นวนมาก
วันละหลายชั่วโมงจะส่งผลต่อสุขภาพ กล้ามเนื้อเมื่อยล้า และเกิดอาการเจ็บปวดเรื้อรัง รักษาไม่หาย
การทำางานต้องหยุดพักเป็นช่วง ๆ ส่งผลให้การผลิตไม่ต่อเน่ือง ไม่ทันต่อความต้องการของตลาด
และความตอ้ งการของผู้ใช้ นอกจากน้ี อาจเกิดอุบตั เิ หตุขณะดงึ ลวดทำาใหล้ วดบาดมอื บ่อยครัง้

สร้างสรรค์งานวทิ ยาลัยนกั คดิ

จากปัญหาดังกล่าวได้วิเคราะห์ตามหลักปรัชญ�เศรษฐกิจพอเพียง ของเครื่องช่วยผูกไม้กวาด
ดอกออ้ กึ่งอตั โนมตั เิ พ่อื การประกอบอาชีพสำาหรบั ผสู้ ูงอายุและคนพิการ ดังนี้

๑) คว�มพอประม�ณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่นอ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกนิ ไป โดยไม่เบยี ดเบียน
ตนเองและผู้อื่น โดยครู นักเรียน นักศึกษา ได้บูรณาการความรใู้ นรายวชิ าต่าง ๆ เพ่อื สรา้ งนวัตกรรม
เครอื่ งชว่ ยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กง่ึ อตั โนมตั ิ เพอื่ การประกอบอาชพี สาำ หรบั ผสู้ งู อายแุ ละคนพกิ าร สนบั สนนุ
วสิ าหกจิ ชมุ ชน ผลติ ไมก้ วาดดอกออ้ ท่สี นองความต้องการของผูบ้ ริโภคเป็นสินคา้ OTOP เปน็ รายได้หลัก
ของครอบครวั ใหม้ รี ายไดท้ มี่ น่ั คง ใชว้ ตั ถดุ บิ ทหี่ าไดจ้ ากทอ้ งถนิ่ ผลติ เพอ่ื จาำ หนา่ ยไดท้ งั้ ปี ครอบครวั อบอนุ่
เพราะไม่ต้องท้ิงถ่ินฐานเพื่อหางานทำาที่อ่ืน และลดปัญหาการว่างงานของสมาชิกในชุมชน รวมถึง
ผู้สูงอายุ คนพิการ

One School One Innovation 17

2017

56 วทิ ยาจารย์

หนง่ึ โรงเรยี น หนึง่ นวัตกรรม หน่งึ โรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม

ของคุรุสภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐ ของคุรสุ ภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐

๒)ขคน้ั วต�อมนมกีเ�หรตดุผำ�เลนนิ หกม�ารยพถฒั ึง นก�ารตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผล โ๑ด.ยศพึกิจษาร�ณเอากจาสก�ปรัจแจลัยะทง่ีเ�กนี่ยววิจขัย้อทงตี่เกลี่อยดวจขน้อคงำาถจึงาผกลกทา่ีคราศดึกวษ่าาจเะอเกสิดาจราแกกลาะรงการนะวทิจำาัยนทั้น่ีเก่ียวข้อง
อย่างรอบคคณอะบผ ู้จเัดปท็นำากไาดร้ศสึก่งษเสารขิม้อสมุขูลภตา่าพง พๆลาทนี่เาปม็นัยปรผะู้สโูงยอชานย์ใุนคกนารพจิกัดาทรำาสชิ่งวปยรละดดอิษาฐก์ าเรชเ่นจ็บวปงวจดรเอริเื้อลร็กังทรอนิกส์
จากวิธีเดมิ อแเลตะอรกั์ วษัสาดภโุ มูคิปรงัญสญรา้ งกแาลรผะกูงาไนม้กวจิวยัาดทดีเ่ ก้วย่ี วมขืออ้ ไวง้เป็นมรดกใหล้ ูกหลานได้ภมู ิใจในความเป็นไทย
ให้เป็นแหล่งเรีย๒น.รู้แกลำ�ะหฝนึกดอหาลชีพักเกกาณรทฑำา์ใไนม้กว�ารดออเกพแื่อบกาบรปจราะกกหอลบักอกาาชรีพแสลำาะหเหรับตผุ ู้สลูงทอ่ีไาดย้ศุแึกลษะาคจนาพกิกเอารกสารและ
พฒั นาตอ่ งยาอนดวจิผยัลทิตเ่ีภกัณย่ี วฑขไ์ อ้ปงสคอู่ ณตุ ะสผาจู้หดั กทราำรไมดไน้ดาำ้ มากาำ หนดหลกั เกณฑใ์ นการเครอื่ งชว่ ยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กง่ึ อตั โนมตั ิ

๓)โดรยะบกาบรภอมู อคิ กมุ้ แกบนั บใรนะตบวั บทกด่ี าี รหทมาำ างยาถนงึดกังนารี้ เตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ตอ่ ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลง
ในดา้ นต่าง ๆ ไม๓่ว.า่ จอะอเกปแน็ บดบ้านแลเศะรสษรฐ้�กงิจเค สรื่อังคงมช ่วสยิ่งผแูกวไดมลก้ ้อวม� ดแลดะอวกฒั อ้อนกธร่งึ รอมัต โเนพมื่อัตใหิ ้สามารถปรบั ตัวและ
รับมือได้อย่างทันท่ว๓ง.๑ที ขกา้นั รตมอีนนวกัต�กรรทร�ำ มวเงคจรร่ือองเิชล่ว็กยทผรูกอไนมกิ้ สวา์ ด สนับสนุนให้มีการผลิตได้เป็น ๒ เท่า
สนบั สนนั ภมู ปิ ญั ญาชาวบ๑า้ น).เปนน็ ำาคแวผาน่ มวรงคู้ จวรามมาสอาอมกาแรบถตบดิลตาวัยวนงวจตั รกทรกุ รวมงสจารมโาดรยถในช้โาำ ปไปรแจดกสรมทิ ธPบิ rตoั รteคuมุ้ sครอง
ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาเปน็ ผ้ผู ลติ และจัดจาำ หน่ายผลติ ภัณฑแ์ ต่เพยี งผู้เดียว

๔) เงอื่ นไขคณุ ธรรม จะตอ้ งสรา้ งเสรมิ ใหเ้ ปน็ พนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาต ิ ประกอบดว้ ย ดา้ นจติ ใจ
คือ การตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ในการดาำ เนนิ ชวี ติ และดา้ นการกระทาำ คอื มคี วามขยนั หมน่ั เพยี ร อดทน ไมโ่ ลภ ไมต่ ระหน ่ี รจู้ กั แบง่ ปนั และ
รับผิดชอบในการอยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่นื ในสังคม โดยสร้างความตระหนักใหน้ กั เรยี น นกั ศึกษา สาำ นึกรกั บ้านเกดิ
นักเรียน นักศึกษาอภาช�ีวพะกศ�ึกรษใชา้งป�รนะโดปิษรฐแ์นกวรัตมกPรrรoมtเeพu่ือsสอนอับกสแนบุนบชวุมงชจนรเแพห่ือลก่งาจร�่ผยลไิตฟเชฟิง�้ พ๑าณ๒ิชโยว์ลแตล์ ะ
นแกลาักรกศแเึกปบษล่งาปี่ยนแนันลำาเคแะรผวเียปาน่ น็นมใรสรมู้ ู้รมติกะาร่อหวตใาว่อหง่า๒ส้เทงกิง่)า.แิดบควคนรบดวูำานลานลแอ้มักาผมสยศน่าวึกมงPษัคจCาครBที แ โ้ังเลดตหะยามชรคดดีุมรทมชูผ่ีไานู้สดรอ้พดี ทนอิมำาปอพใลกห์ลูกแ้เงกฝรบิดังงนกเสจแดังตผเคคล่นม็กตกในิทสลอ้ี่ดใุ่มชยีใข้เนรคอีดกรงไาื่อชปรงุมมปเชาลรในะเหซกเปอท้ อร็น่วั บ์ปแอรหา้ินลชเ่งีพตพอใบหร้ปก์ในับะการพิมพ์

๕) เงื่อนไขคว�มรู้ ประกอบดว้ ย การฝึกตนใหม้ ีความรอบรเู้ กี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
อย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวังท่ีจะนำาความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณา
ให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และในข้ันปฏิบัติ โดยครู นักเรียน นักศึกษา ได้วางแผน
การปฏิบัติงานบูรณาการความรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ด้วยกระบวนการของ STEM Education รวมทั้ง
ถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ ุมชนเพือ่ เพิม่ ผลผลติ
กสาำ�หรอรบัอกกผาแสู้อรงูบีกออบหาอนนยกึ่งวแุ แรตัลอบะกบบครแรนแลมพล้วเกิะ๓พใหภาส)อื่ .รน้�รกพม้าำาเ�มแงรีแรเาผ่ือสพคยน่ไดฒัรดลปง่ือะ้ลนรขเงาน้ิ�อั้นชยทยีต่วเดส่ีไอยดด้นนผ้ลงัวกูกงนง�ไไี้จปรรมระทแ้กทบช�ำ วั้งบ่นลาห้ำาท�ดมยย่ี ด๑ดาเสอกแกน้ัดกล�วลอ้วรงาใ้เอชกจยก้ปบ็ปร่ึงอาร-อปิเกน้ิ ลัตลกท็กโอ่าี่เนทตเยคมรรลมอยีัตวีแนมิเดพบไกิ วสสบ่ือ้ า์ลลกมงบาาแรไรผมปถ่น่ไทรดาำะP้เไขกดCียอโ้Bนดบยทอใับชาบชเ้ ทีพนา้ ลายวงจร
เหยยี บควบคมุ สวติ ซไ์ ฟฟา้ ทาำ การเกบ็ ลวดปลอ่ ยลวดไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ระบบที่ ๒ ระบบนวดไฟฟ�้ เมอื่ เรมิ่ กด
จะทำางานอัตโนมัติตามเวลาที่หน่วงเวลาไว้ และมีปุ่มปรับความแรงของการนวดให้ทำางานได้เหมาะ
กับการใช้งาน ระบบท่ี ๓ เบ�ะนั่ง สามารถเคลื่อนท่ีไปด้านหน้าและด้านหลังได้ด้วยระบบไฟฟ้าได้
ระบบท่ี ๔ แผงกนั้ ก�รลดแรงดงึ ลวดหรอื เชอื ก โครงสรา้ งทาำ ดว้ ยวสั ดแุ ขง็ แรงทช่ี ว่ ยลดแรงตา้ นจากกาำ ลงั
แขนออกแรงดึงลวดผูกมัดไม้กวาดดอกอ้อ เพ่ือต้านแรงดึงลวดจากมอเตอร์ ส่งผลให้ลดอาการเจ็บ
กแลละ้ามคเนนพื้อกิ ทา่ีทรำาคใหวบ้บคาดมุ เชจุด็บเกปบ็วดลเวภรด�้ือพรปังแลสอ่รดยะงบลขวบน้ัดทตดี่ อ๕้วนยกแช�ปุดรน้อใชสุป่งัน้ กก้ำ�รายณร�เ์เกพสดัือ่ รทริมอ�ำองลำ�ร�นับยวกเยสาค้นรทวบำา�นงมแาสนผะใ่นดหวส้PกะCใดBหว้กกับมผากู้สขูงอน้ึ ายุ

18 One School One Innovation One School One Innovation 19

2017 2017 วิทยาจารย์ 57

หนึ่งโรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม

ของครุ สุ ภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐

ขัน้ ตอนก�รดำ�เนนิ ก�รพัฒน�
๑. ศึกษ�เอกส�รและง�นวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

คณะผู้จัดทำาได้ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการจัดทำาส่ิงประดิษฐ์ เช่น วงจรอิเล็กทรอนิกส์
มอเตอร์ วัสดโุ ครงสร้าง และงานวิจัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง

๒. กำ�หนดหลักเกณฑ์ในก�รออกแบบ จากหลักการและเหตุผลท่ีได้ศึกษาจากเอกสารและ
งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งคณะผจู้ ดั ทาำ ไดน้ าำ มากาำ หนดหลกั เกณฑใ์ นการเครอ่ื งชว่ ยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กงึ่ อตั โนมตั ิ
โดยการออกแบบระบบการทำางานดังน้ี

๓. ออกแบบและสร�้ งเครอื่ งชว่ ยผูกไม้กว�ดดอกอ้อกึง่ อัตโนมัติ
๓.๑ ข้นั ตอนก�รท�ำ วงจรอิเลก็ ทรอนิกส์
๑). นาำ แผ่นวงจรมาออกแบบลายวงจรทุกวงจรโดยใชโ้ ปรแกรม Proteus

ภ�พก�รใช้ง�นโปรแกรม Proteus ออกแบบวงจรแหลง่ จ�่ ยไฟฟ�้ ๑๒ โวลต์
๒). นำาลายวงจรทั้งหมดที่ได้พิมพ์ลงบนแผ่นใสใช้เคร่ืองเลเซอร์ปร้ินเตอร์ในการพิมพ์

นำาแผน่ ใสมาวางทาบบนแผ่น PCB เตารดี มารีดออกแรงกดเลก็ นอ้ ยรดี ไปมาใหท้ ัว่

ภ�พแสดงข้นั ตอนก�รทำ�ล�ยเส้นวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ลงแผน่ PCB
๓). เม่ือได้ลายเส้นวงจรทั้งหมดแล้วใช้ปากกาเคมีแบบลบไม่ได้เขียนทับบนลายวงจร
อกี หนึ่งรอบแล้วใหน้ าำ แผน่ ปริน้ ที่ไดล้ งไปแชน่ ้ำายากดั ลายปริ้นท่เี ตรยี มไว้

ภ�พแสดงขั้นตอนก�รใชน้ �ำ้ ย�กดั ทำ�ล�ยเสน้ บนแผน่ PCB

One School One Innovation 19

58 วทิ ยาจารย์ 2017

หนงึ่ โรงเรียน หนึ่งนวตั กรรม หน่ึงโรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม

ของครุ สุ ภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐ ของคุรสุ ภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐

ข้ันตอน๔ก).�รนดาำ ำ�ลเนายนิ วกง�จรพไปัฒเจนา�ะแผน่ ปรน้ิ ตามตาำ แหนง่ ของอปุ กรณเ์ สรจ็ แลว้ นาำ วงจรทไี่ ดท้ งั้ หมด
มาลงอปุ กรณโ์ ด๑ยบ. ดัศกึกรษอี �ุปเกอรกณสท์ �ีอ่รยแู่รละะดงับ�ตนำ่าวกิจอ่ ัยนทที่เก้งั ห่ียมวดข้อ๕งวจงจารกการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

คณะผู้จัดทำาได้ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการจัดทำาสิ่งประดิษฐ์ เช่น วงจรอิเล็กทรอนิกส์
มอเตอร์ วสั ดโุ ครงสรา้ ง และงานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ ง

๒. กำ�หนดหลักเกณฑ์ในก�รออกแบบ จากหลักการและเหตุผลท่ีได้ศึกษาจากเอกสารและ
งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งคณะผจู้ ดั ทาำ ไดน้ าำ มากาำ หนดหลกั เกณฑใ์ นการเครอ่ื งชว่ ยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กง่ึ อตั โนมตั ิ
โดยการออกแบบระบบการทำางานดงั นี้

๓. ออกแบบและสร�้ งเครอื่ งช่วยผูกไมก้ ว�ดดอกอ้อก่ึงอัตโนมตั ิ
ภ๓�.๑พแขสนั้ ดตงอขนั้ กต�อรนทกำ��วรงทจ�ำ รลอ�เิ ลย็กวงทจรรออนเิ กิลสก็ ์ทรอนกิ สล์ งแผ่น PCB

๓.๒ ขนั้ ตอนก๑�)ร.ออนกาำ แแผบ่นบวแงลจะรสมรา�้องอเกคแรบ่อื งบลายวงจรทุกวงจรโดยใชโ้ ปรแกรม Proteus
๑). ออกแบบโครงสรา้ งแบบภาพจำาลองด้วยโปรแกรม SketchUp ตามขนาดยาว ๑๔๐

เซนตเิ มตร กวา้ ง ๖๐ เซนตเิ มตร สงู ๙๕ เซนตเิ มตร

ภ�พก�รใช้ง�นโปรแกรม Proteus ออกแบบวงจรแหล่งจ�่ ยไฟฟ�้ ๑๒ โวลต์
นำาแผ่น๒ใส).ภม�านพวาำ าแเงห๒สทลด)า.ก็ งบกแนบลบำานอ่ บลแงาจอผยำ�ล่นวลมู งPอเิ จนCงรเยีBทคม รั้งเทตื่อหเี่างมตรชรดดี ่วยีทมยม่ีไาผไดรวูก้พีดม้ ไอิมามอตพก้ กดั ์ลวแตง�ราบดงมนดกคแดอวผเกาล่นอม็ก้อใยนสกาอ้ใว่งึ ชยขอ้เรอคัตีดงรโไแนื่อปตมงมล่เัตาละิใเชหซดุ อท้ รเัว่ ช์ปอ่ื รม้ินปเตระอกรอ์ในบการพิมพ์
ตามทไ่ี ด้ออกแบบไว้แล้ว นาำ เบาะนวดไฟฟา้ มายึดติดกบั โครงยึดใหแ้ น่น

ภ�พ๓แภส).�ดพเงมแข่ือส้ันไดตดงอ้ลขนา้ันกยตเ�สอร้นทนว�ำกงช�จรดุ รทคทำ�วั้งลบห�คมยุมดเสกแ้น�ลรว้วเงใกชจบ็ ้ปรลอาวเิกลดก็ก-าปทเลคร่อมอยีแนลบิกวสบดล์ลงบแไผมน่่ไดP้เขCียBนทับบนลายวงจร
อีกหนง่ึ ๓ร)อ.บขแนั้ลตว้ ใอหน้นตาำ อ่ แไผป่นใหปน้ร้ินาำ มทอี่ไดเต้ลองรไปไ์ ฟแฟชา้น่ กาำ้ รยะาแกสัดตลรางย๑ป๒ร้ินโทวล่ีเตตร์ มยี ามเไชวอ่ื ้ มตดิ กบั แกนหมนุ ลวด
ทม่ี ีลักษณะเปน็ เกลียว แล้วนาำ ไปยึดกับเบาะนวดไฟฟา้

ภ�พแสดงก�รเดินส�ยไฟฟ้�กบั วงจรอิเล็กทรอนิกส์
๔). เดินสายไฟภใ�หพ้เรแียสบดรง้อขยนั้ แตลอะนนกำา�กรลใชอ่ น้งวำ้�งยจ�รกทดั ่ไี ทดำ�ม้ ลาต�ยอ่ เเสข้าน้ กบับนตแัวผเค่นรื่อPงCBติดต้งั เบาะน่งั
ซ่งึ สามารถเคล่ือนท่ีไปดา้ นหน้าและดา้ นหลังได้ดว้ ยระบบไฟฟา้ และมีปุ่มปรบั ความเร็วใหท้ าำ งานได้

20 One School One Innovation One School One Innovation 19

2017 2017 วทิ ยาจารย์ 59

หนงึ่ โรงเรียน หน่ึงนวตั กรรม

ของคุรสุ ภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐

๔. ศกึ ษ�อตั ร�เรว็ ในก�รปลอ่ ยเสน้ ลวดทใ่ี ชใ้ นก�รผกู ไมก้ ว�ดดอกออ้ เมอ่ื ตง้ั ระดบั สเกลวอลมุ่ ต�่ งกนั
๑. นาำ ลวดหรอื เชอื กทจ่ี ะใชใ้ นการผกู มดั ไมก้ วาดดอกออ้ ประกอบไวใ้ นชอ่ งสาำ หรบั เกบ็ ลวด
๒. ต้ังระดับสเกลวอลุ่มของเคร่ืองท่ีระดับ ๑ ใช้เท้ากดสวิตช์ ๑ ครั้งแล้วยกเท้าออก

ใหเ้ ครื่องปลอ่ ยลวดออกจากขด ทาำ การทดลองซำ้าอีก ๓ ครง้ั บันทกึ ผล
๓. ทาำ การทดลองเชน่ เดยี วกับข้อ ๑ – ๒ ดว้ ยการตั้งระดบั สเกลวอลุม่ ท่รี ะดับ ๒, ๓, ๔

และ ๕

ภ�พก�รทดลองอัตร�เร็วในก�รปลอ่ ยเส้นลวดท่ีใชใ้ นก�รผูกไมก้ ว�ดดอกอ้อ
๕. ศึกษ�แรงดึงลวดที่เหม�ะสมต่อก�รผูกไม้กว�ดดอกอ้อด้วยเครื่องช่วยผูกไม้กว�ดดอกอ้อ
กงึ่ อตั โนมัติ เพอ่ื ก�รประกอบอ�ชพี ส�ำ หรับผสู้ ูงอ�ยแุ ละคนพกิ �ร เม่อื ตง้ั ระดับสเกลวอล่มุ ต�่ งกัน

๑. ดงึ ลวดออกจากทเ่ี กบ็ ลวดของเครอื่ งชว่ ย
ผกู ไมก้ วาดดอกออ้ แลว้ นาำ ลวดผกู ไวท้ เ่ี ครอื่ งวดั แรงดงึ สว่ นปลาย
อีกขา้ งหนงึ่ ของเคร่ืองช่ังผูกตรงึ ตดิ ไวก้ บั ท่ี

๒. ต้ังระดับสเกลวอลุ่มที่ระดับ ๑ เปิดให้ ภ�พก�รทดสอบวดั แรงดงึ
เครอื่ งทาำ งาน มอเตอรจ์ ะหมนุ พรอ้ มกบั ดงึ ลวดทผ่ี กู ไวก้ บั เครอ่ื ง กบั ก�รมดั ด้�มไม้กว�ด
วัดแรงดึงทำาให้สเกลของเคร่ืองวัดแรงดึงเลื่อนออกไปจนหยุด
น่ิงเมอื่ เกิดการสมดลุ ของแรงท้งั สองด้าน ทาำ การทดลองซ้ำาจน
ครบ ๓ ครงั้ บันทกึ ผลและหาค่าเฉลย่ี ของแรงดึง

๓. ทดลองเช่นเดียวกับข้อ ๑-๒ แต่เปล่ียน
ระดับสเกลวอล่มุ เป็นระดับ ๒,๓,๔ และ ๕

๔. ทดลองผูกไม้กวาดดอกออ้ โดยการต้งั ระดับสเกลวอลมุ่ ๑ ในการผกู ไม้กวาดดอกออ้
จะเรม่ิ ตั้งแตก่ ารมัดช่อ ผกู ชอ่ และมดั ด้าม จนกระท้งั เสร็จทำาการทดลองซำา้ อีก ๒ คร้งั

๕. สงั เกตผลการผูกชอ่ มดั ช่อ และมดั ด้าม วา่ สามารถมดั กา้ นไม้กวาดดอกอ้อเข้าด้วย
กันได้แน่นโดยไม่ทาำ ให้กา้ นไม้กวาดดอกออ้ หักหรอื ขาดบันทึกผล

๖. ทดลองตง้ั ระดับเปน็ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดบั ๔ และระดับ ๕ ตามลาำ ดับ

One School One Innovation 21

60 วทิ ยาจารย์ 2017

หนึ่งโรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม หน่งึ โรงเรยี น หนึง่ นวตั กรรม

ของครุ สุ ภ� ประจำ�ปี ๒๕๖๐ ของคุรุสภ� ประจำ�ปี ๒๕๖๐

๖.ขเนั้ พตอื่ อศนกึ กษ��รเปดรำ�ยีเนบินเทกยี�บรพปรัฒะนส�ทิ ธภิ �พในก�รลดแรงต�้ นจ�กก�ำ ลงั แขนในก�รผกู ไมก้ ว�ดดอกออ้
ระหว�่ งก�รใช้แ๑ผ.งศก้ันึกดษงึ�ลเอวดกกสับ�รไมแ่ใลชะ้แงผ�งนกวั้นิจัยท่ีเก่ียวข้อง จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
คณะผู้จ๑ัด.ทำาตไ้ังดส้ศเึกษลวาอขล้อุ่มเูลคตร่าืองงชๆ่วยทผ่ีเูกปไ็นมป้กรวะาโดยดชอนก์ใอน้อกกาึ่งรอจัตดโทนำามสัต่ิงิปทรีไะมด่ติษิดฐแ์ ผเชงก่น้ันวดงึ จลรวอดิเไลว็ก้ทท่ี รอนิกส์
ระดบั ๓ มอเตอร์ วสั ดุโครงสร้าง และงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
๒. กนำ�หำาชน่อดไหม้ลกวักาเกดณดอฑก์ใอน้อกท�ี่ผรูกอเอตกรียแมบไบว้แจลา้วกเปห็นลชัก่อกเาลร็กแลๆะเมหัดตรุผวลมทก่ีไันดจ้ศำาึกนษวานจา๘กเชอ่อกสารและ
ตอ่ ไมก้ วางดาน๑วจิดยัา้ มทเี่ กาย่ี รวทขดอ้ ลงคอณงผะกู ผมจู้ ัดไทมาำ ก้ ไดวาน้ ดาำ ดมอากาำอหอ้ นจดะหเรล่ิมกั ตเง้ักแณตฑ่กใ์านรกมาัดรชเค่อรไมอื่ ้กงชวว่ายดผดกูอไกมอก้ ้อวราวดมดกอนักอแอ้ ลกะง่ึ อตั โนมตั ิ
ข้ันตอนกโาดรยมกดั าดร้าอมอไกมแ้กบวาบดรดะอบกบอก้อารทำางานดังนี้
๓. อนอบักจแาำบนบวแนลคะรสงั้ ทร้�ต่ี ง้ั เอคอรกอ่ื แงรชงว่ดยงึ จผากู กไกมาำ ้กลวงั �แดขดนอเขกา้ อห้อากตึง่วั อเอตั งโเนพมอื่ ัตติา้ นแรงดงึ จากมอเตอร์
ซง่ึ มแี รงดึง ๑๐๐ นิว๓ต.๑นั ตขอ่ นั้กตารอดนงึ ก๑�รคทร�ำ ง้ั วจงนจกรรอะเิ ทล็ก่งั ทาำรไอมน้กกิ วสาด์ ดอกอ้อเสร็จ ๑ ด้าม แลว้ บันทกึ ผล
๔. ทาำ ก๑าร).ทดนลาำ อแงผซน่ ำา้ วเชงจน่ รเดมยีาอวกอบักแขบ้อบ๑ล-า๓ยวองจีกร๒ทกุ ควรงั้งจรบโนั ดทยกึใชผโ้ ไปวร้ แกรม Proteus
๕. หาคา่ เฉลย่ี ในการใชแ้ รงตา้ นจากกาำ ลงั แขนในการผกู มดั ไมก้ วาดดอกออ้ บนั ทกึ ผลไว้
๖. หาคา่ เฉลยี่ ในการใชแ้ รงตา้ นจากกาำ ลงั แขนในการผกู มดั ไมก้ วาดดอกออ้ บนั ทกึ ผลไว้
๗. เปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพในการลดแรงต้านจากกำาลงั แขนระหวา่ งการใช้แผงก้นั ดึง
ลวดและไมใ่ ชแ้ ผงก้นั โดยใช้สตู รดังน้ี
สูตร η= x ๑๐๐ %
ภ�พก�รใชง้ �นโปรแกรม Proteus ออกแบบวงจรแหลง่ จ�่ ยไฟฟ้� ๑๒ โวลต์
ดอกออ้ แนบ๓าำบแ.เ๗ผดน่มิ ก๑ใกส�.บั รมใศาคชวึกดัเ้ าษคเงล๒ร�ทอือื่เ)า.ปกงบชผรนบียทู้ว่ ำานบยีม่ ลแผีปเาทผกูรย่นียะไวมบสงPก้จบเCววรกBลท�า ด�ั้รงเตใหดณนาอมใ์รกนกดีด�อกทมร้อาี่ไาผรดกรูกท้พีด่งึ ไำาออิมมไัตอพม้กโกก้์วลนแว�งมราบดงัตดนดกิดแอดอผเกกล่นออก็ ้ใอ้อนสโอ้ใด๑ชยย๐้เรคใดีชครไ้เ่ือนปคงมรเเปาื่ลอใน็เงหซชกอ้ท่วลร่วั ยมุ่ ์ปผทรูกด้ินไลเมตอ้กองวร์ใ�นดการพิมพ์
๒. การทดลองจะใหท้ ง้ั สองกลมุ่ ผกู ไมก้ วาดดอกออ้ คนละ ๑ ดา้ ม ซงึ่ ประกอบดว้ ยการผกู ชอ่
มดั ช่อและมดั ด้าม ทดลองจบั เวลาในแต่ละตอน พร้อมกบั บนั ทึกผล หาค่าเฉลีย่ ของเวลา
๓.๘ ศึกษ�คว�มพึงพอใจของผใู้ ชเ้ ครอ่ื งช่วยผูกไมก้ ว�ดดอกอ้อกงึ่ อัตโนมัติ
การศกึ ษาความพงึ พอใจของผใู้ ชท้ มี่ ตี อ่ เครอ่ื งชว่ ยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กง่ึ อตั โนมตั ิ ดาำ เนนิ การดงั นี้
๑). กลุม่ ตวั อย่างที่เป็นผูท้ าำ ไม้กวาดดอกอ้อ จำานวน ๓๐ คน
ไมก้ วาดดอกอ้อก๒ง่ึ )อ. ัตอโธนบิม๓าตั ภย)ิ .�ขใหพนั้ เก้มตแล่ืออสมุ่ไนดดตกง้ลัวขาอารนั้ ยยใตชเา่ สง้องา้นทนนวดกใงล�หจรอก้ รทงลทใ�ำมุ่ช้ังลต้หเ�วักมยอ็บดเยสรแา่วน้ ลงบวเ้วขรงใา้ชวจใม้ปรจขอาข้อิเกน้ั ลมกตก็ ลูาอทเเนพครกมออ่ื าีแวนรเิบิกทคสบราำ ล์างลาะงบนหแไขผผ์มอลน่่ไงดเP้เคขCรียอื่Bนงทชัว่บยบผนกู ลายวงจร
อีกหน่ึงรอบแลว้ ใหน้ ำาแผ่นปริ้นทไ่ี ด้ลงไปแช่นำ้ายากดั ลายปรนิ้ ท่ีเตรียมไว้

ภ�พก�รเผยแพรส่ �ธภิต�เคพรแื่อสงดชง่วขยน้ั ผตูกอไนมก้ก�วร�ใดชด้นอ�้ำ กยอ�อ้กกัด่งึ ทอำ�ัตลโ�นยมเสตั น้กิ ับบวนสิแ�ผห่นกPจิ CชุมBชน

22 One School One Innovation One School One Innovation 19

2017 2017
วิทยาจารย์ 61

หน่งึ โรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม

ของคุรสุ ภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐

ผลติ ภาพ หนงึ่ โรงเรยี นหน่งึ นวตั กรรม

ผลที่เกิดข้นึ ด�้ นประสทิ ธิภ�พและประสิทธิผล
๑. ผลก�รออกแบบและสร้�งเครือ่ งชว่ ยผกู ไมก้ ว�ดดอกอ้อกึ่งอตั โนมัติ
การออกแบบและสรา้ งเคร่ืองช่วยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กงึ่ อัตโนมัติ มรี ายละเอียดดังนี้
แผงกัน้ การดงึ ลวด
เบาะนัง่ ระบบนวดไฟฟ้า
แผงควบคุมการทาำ งาน
สวติ ช์ควบคมุ การเกบ็ ปลอ่ ยลวด
ภ�พเครือ่ งช่วยผกู ไมก้ ว�ดดอกอ้อกง่ึ อัตโนมตั ิ
๒. ผลก�รศกึ ษ�อตั ร�เรว็ ในก�รปลอ่ ยเสน้ ลวดทใ่ี ชใ้ นก�รผกู ไมก้ ว�ดดอกออ้ เมอ่ื ตง้ั ระดบั สเกล

วอลุ่มต�่ งกนั
จากผลการทดลอง พบวา่ เม่ือตง้ั ระดบั สเกลวอลุ่มต่างกนั อตั ราเร็วในการปล่อยลวดออกจากขด

จะแตกตา่ งกันโดยทร่ี ะดับเสกลวอล่มุ ๕ มีอัตราเรว็ เฉล่ียในการปลอ่ ยลวดสงู สดุ ๙.๖๑ cm/s และการ
ต้ังระดับเสกลวอล่มุ ๑ มอี ัตราเร็วเฉล่ยี ในการปล่อยลวดตาำ่ สดุ ๙.๐๙ cm/s

๓. ผลก�รศึกษ�แรงดึงลวดที่เหม�ะสมต่อผูกไม้กว�ดดอกอ้อด้วยเครื่องช่วยผูกไม้กว�ดดอก
อ้อกงึ่ อตั โนมัติเมอ่ื ต้งั ระดบั เสกลวอลุม่ ต�่ งกนั

จากผลการทดลอง พบว่าแรงดึงลวดสำาหรับผูกมัดไม้กวาดดอกอ้อจะเพ่ิมขึ้นตามการตั้งระดับ
สเกลวอลมุ่ โดยการตั้งสเกลวอลมุ่ ระดบั ๑ และระดบั ๒ จะให้แรงดงึ ลวดนอ้ ยเกนิ ไปไมเ่ หมาะตอ่ การผกู
ไม้กวาดดอกอ้อ สว่ นการตัง้ สเกลวอลุ่มระดับ ๓ และระดับ ๔ จะใหแ้ รงดึงมากเกนิ ไปไม่เหมาะต่อการผูก
ไม้กวาดดอกอ้อ แต่การตั้งสเกลวอลุ่มระดับ ๓ จะทำาให้เกิดแรงดึงเฉล่ีย ๑๐๐ นิวตัน ซึ่งเป็นแรงดึงที่
เหมาะสมทส่ี ุดสำาหรบั การผกู มดั ไมก้ วาดดอกออ้ สามารถผูกมดั ไมก้ วาดดอกออ้ ได้แน่น กา้ นไมก้ วาดถูก
รวบตึงโดยกา้ นไม้กวาดไมห่ ักและขาด

๔. ผลก�รศึกษ�เปรียบเทียบประสิทธิภ�พก�รลดแรงต้�นจ�กกำ�ลังแขนในก�รผูกไม้กว�ด
ระหว�่ งก�รใช้แผงก้ันดงึ ลวดกับไม่ใชแ้ ผงก้นั ดึงลวด

จากผลการทดลอง พบว่า การทำาไม้กวาดดอกอ้อ ๑ ด้าม จะใช้แรงต้านเฉลี่ยจากกำาลังแขน
เพอ่ื ตา้ นแรงดงึ จากมอเตอร์ ๑๐๐ นวิ ตนั แตเ่ มอื่ ใชแ้ ผงกนั้ ดงึ ลวดจะไมต่ อ้ งใชแ้ รงตา้ นจากกาำ ลงั แขน (แรงตา้ น
๐ นวิ ตนั ) ซง่ึ การใชแ้ ผงกน้ั ดงึ ลวดจะมปี ระสทิ ธภิ าพในการลดแรงตา้ นจากกำาลงั แขนไดม้ ากกวา่ แบบไมใ่ ช้
แผงกนั้ ๑๐๐ %

One School One Innovation 23

62 วทิ ยาจารย์ 2017

หนึ่งโรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม หนง่ึ โรงเรียน หน่งึ นวัตกรรม

ของคุรุสภ� ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐ ของครุ ุสภ� ประจำ�ปี ๒๕๖๐

๕.ขผน้ั ลตกอ�นรกศ�ึกรษด�ำ เปนรนิ ียกบ�เรทพยี ัฒบนเว�ล�ในก�รผกู ไม้กว�ดดอกออ้ โดยใชเ้ ครื่องช่วยผกู ไมก้ ว�ดแบบ
เดมิ กับใช้เครื่อง๑ช.ว่ ยศผึกูกษไ�มเก้อวก�สด�ดรอแกลอะอ้ งก�ึง่ นอวตั ิจโนัยมทตั่ีเกิ ี่ยวข้อง จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง

จาคกณผะลผกู้จาัดรทดำาไลดอ้ศงึกษพาบขว้อ่ามกูลตาร่าผงูกๆไมท้ก่ีเวปา็นดปดอระกโอย้อชดน้ว์ใยนเกคารร่ือจงัดชท่วำายสผ่ิงูกปไรมะ้กดวิษาฐด์กเ่ึงชอ่นัตโวนงมจรัตอิจิเะลใ็กชท้ รอนิกส์
เวลาเฉล่ียมใอนเกตาอรรผ์ วกู สั ๑ดโุ๒ค.ร๒ง๔สรนา้ งาทแีตล่อะดงา้ นมวิจซัย่ึงใทชเ่ี ้เกวยี่ลวาขนอ้ งยกว่าการผกู ไมก้ วาดด้วยเครอ่ื งช่วยผกู ไม้กวาด
แบบดัง้ เดิมซ่ึงใช๒เ้ ว.ลกาำ�เฉหลน่ียด๒ห๗ล.ัก๒เ๘กณนฑาท์ในตี อ่กด�รา้ มออเกมแอ่ื บพจิบารจณากาแหลล้วักพกบาวร่าแกลาะรเผหูกตไุมผ้กลวทา่ีไดด้ศ้วึกยษเคารจื่อางกชเอ่วยกสารและ
ผกู ไม้กวางดาดนอวกจิ ยัอทอ้ กเี่ กึ่งย่ี อวัตขโอ้นงมคตั ณิจะผปจู้ รดัะทหาำยไดั เน้วาำลมาาถกงึ าำ ๑ห๕น.ด๐ห๔ลกันเากทณตี ฑอ่ ใ์ ดน้ากมารเครอ่ื งชว่ ยผกู ไมก้ วาดดอกออ้ กง่ึ อตั โนมตั ิ
๖.โดผยลกกา�รรอศอึกกษแ�บคบวร�ะมบพบงึ กพาอรทใจาำ ขงาอนงผดังู้ใชน้เี คร่อื งชว่ ยผกู ไม้กว�ดดอกออ้ กึง่ อัตโนมตั ิ
๓. ๓ออ.๑กแข๑รบ�ั้น)บ.ยตกแนอ�ลรนำาปะแกสรผะ�ร่นเร�้มทวงินงเ�ำ คจวรรงม่ือจางรอชออ่วเิ ลกย็กแผทบกู บรไมอล้กนาวยกิ �วสดง์ จดรอทกกุ อว้อXงกจึ่งรรอโะดตั ดยโบั ในคชมว้โS�ปัต.มDริ พ.แงึ กพรอมใจPกr�oรแteปuลผsล

๑. ด้านโครงสรา้ งท่วั ไป
๑.๑ ขนาดของเคร่อื งมคี วามเหมาะสม ๔.๗๕ ๐.๔๕ มากทีส่ ดุ
๑.๒ รปู ทรงของเครอื่ งมีความเหมาะสม ๔.๕๕ ๐.๔๕ มากทส่ี ุด
๑.๓ วัสดุที่ใช้ทาำ เครือ่ งมคี วามเหมาะสม ๔.๖๕ ๐.๓๕ มากทีส่ ดุ

ค่�เฉล่ีย ๔.๖๕ ๐.๔๒ ม�กท่ีสุด

๒. ๒ดา้.๑นกากรลอไอกกกแาบรบทำาภงา�นพขกอง�เรคใรชือ่ งง้ ม�คี นวโาปมเรหแมกาะรสมม Proteus ออกแบบ๔ว.๗ง๗จรแหล่ง๐จ.๓�่ ๐ยไฟฟ�้ ๑ม๒ากทโวี่สดุลต์
๒.๒ การวางตาำ แหนง่ ช๒ดุ )ค.วบนคำามุ ลมคีาวยาวมงเหจมราทะั้งสหมมดที่ได้พิมพ์ลงบนแ๔ผ.๕่น๒ใสใช้เค๐รื่อ.๔ง๕เลเซอร์ปมราิ้นกทเตสี่ อดุ ร์ในการพิมพ์
๒.๓นำากแารผว่นางใตสำามแาหวนา่งงเกท้าาอบ้เี พบอื่ นสุขแภผาน่พมPคี CวาBม เเหตมาาระีดสมมารีดออกแรงกด๔เ.ล๕็ก๕น้อยรดี ๐ไ.ป๕ม๕าใหท้ ่ัว มากท่สี ุด
๒.๔ การวางตำาแหน่งชดุ มดั ไมก้ วาดมคี วามเหมาะสม ๔.๕๕ ๐.๕๐ มากท่สี ดุ

ค�่ เฉล่ยี ๔.๔๙ ๐.๔๕ ม�กที่สดุ

๓. ด้านการใช้งาน ๔.๗๕ ๐.๓๕ มากที่สุด
๓.๑ ใชง้ านได้งา่ ย
๓.๒ ใชง้ านได้ตามวัตถปุ ระสงคใ์ นการสรา้ ง ๔.๗๗ ๐.๓๐ มากทสี่ ดุ
๓.๓ มคี วามปลอดภัยในการใช้งาน ๔.๕๕ ๐.๕๕ มากทีส่ ุด

๔. ดด้า้านนอสคขุวีกาภหมาคนพุ้มึ่งคร่าอในบกแาลรล้ว๓งใทหภ)ุน.้น�คคพ๔าำ�่่�เมเเแ.แ๘ฉฉผื่อสลล๕น่ไ่ียยี่ดดปง้ลรขา้ินน้ั ยทตเสี่ไอด้นนล้ วกงง�ไจปรรทแทช�ำ ้ังน่ลห้ำา�มยยดาเสกแ้นดัลวล้วงาใชจย้ปปรอ๔๔๐ารเิก...้ิน๓๖๘ลกท๐๕๙็กาเ่ี ทตเครรมอยี ีแนมมบไ๐๐ิกาวก..สบ๔๓้ทล์ล๐๕สี่ งบุดแไผมน่่ไดP้เขมมC��ียBกกนทททีส่่สี ดุุดับบนลายวงจร
๕. ๕.๑ มคี วามรสู้ กึ ผ่อนคลายในขณะทำางาน ๔.๔๐ ๐.๓๕ มาก

๕.๒ เม่อื ตอ้ งการนวด ระบบนวดสามารถเรยี กใชง้ านได้ทนั ที ๔.๖๗ ๐.๓๘ มากทสี่ ุด
๕.๓ เบาะนวดมีความเหมาะสมกบั ตัวเครือ่ ง ๔.๕๒ ๐.๕๐ มากทสี่ ดุ

ค่�เฉลยี่ ๔.๕๓ ๐.๔๑ ม�กท่สี ุด

รวม ๔.๖๓ ๐.๔๒ ม�กที่สุด

มีคณุ ภาจพากอผยลูใ่ กนารระศดกึ บั ษมาาพกบทวีส่ า่ดุ คภ(วX�าพ=มแพ๔สงึ .ดพ๖งอ๓ขใ)จน้ั ขตอองนผใู้กช�เ้ ครใรชอื่ ้นงชำ้�ว่ยย�ผกกู ดั ไทมก้ำ�ลวา�ดยดเสอ้นกอบอ้นกแงึ่ ผอน่ตั โนPมCตัBิ โดยภาพรวม

24 One School One Innovation One School One Innovation 19

2017 2017
วิทยาจารย์ 63

หนงึ่ โรงเรียน หนง่ึ นวตั กรรม

ของครุ ุสภ� ประจำ�ปี ๒๕๖๐

รูปธรรมท่ีภาคภมู ิ

๑. ผู้บริหารสามารถบรหิ ารงาน ตอบสนองนโยบายของสาำ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ในเร่ืองการสอนเปน็ ชิน้ งาน หรอื การสอนเปน็ โครงการ

๒. ผบู้ รหิ ารมคี วามใกลช้ ดิ กบั ชมุ ชนและหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชนมากขนึ้ ซง่ึ จะมปี ระโยชน์
อยา่ งย่งิ ต่อการบรหิ ารในด้านความรว่ มมือกบั ทอ้ งถิ่นเพอ่ื การพฒั นาสถานศึกษา

๓. ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากองคก์ รภายนอกเพอ่ื การประดษิ ฐน์ วตั กรรมสชู่ มุ ชน เชน่ บรษิ ทั
โอสถสภา จำากดั หน่วยงานสำานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดระนอง SME bank (พวธ.) เป็นตน้

๔. สถานศกึ ษามชี อื่ เสยี งในดา้ นนวตั กรรมสง่ิ ประดษิ ฐท์ ส่ี รา้ งขนึ้ ชนะการประกวดแขง่ ขนั ในโอกาสตา่ ง ๆ
เชน่ เครอ่ื งช่วยผูกไม้กวาดดอกออ้ ก่งึ อตั โนมัติ ได้รบั รางวลั ตา่ ง ๆ เชน่

ผลง�นระดับน�น�ช�ติ
ศึกษาดูงานที่ประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ และนำาเสนอแผนธุรกิจดีเด่นด้านนวัตกรรม
ภาคภาษาองั กฤษ “เคร่อื งชว่ ยผกู ไม้กวาด” ท่สี ถาบนั ITE Collage ประเทศสงิ คโปร์ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘
ผลง�นระดบั ช�ติ
๑. รางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ การประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นในโครงการ “รางวัลนักคิด
สง่ิ ประดษิ ฐ์ร่นุ ใหม่ ประจาำ ปี ๒๕๖๐ ประเภทอาชวี ศึกษา ดา้ นอุตสาหกรรมการเกษตร
๒. ผ่านการประเมิน ระดับชาติ ระดับ ๕ ดาว ผลการดำาเนินงานศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ
ในสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ ๒๕๕๘ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ จากโครงการศนู ยบ์ ม่ เพาะวสิ าหกจิ เพอื่ การศกึ ษา
โครงการหารายไดร้ ะหว่างเรียน แผนธรุ กจิ “ผลิตเคร่ืองชว่ ยผูกไม้กวาดและจาำ หนา่ ยไมก้ วาดดอกอ้อ”

One School One Innovation 25

64 วทิ ยาจารย์ 2017

ประสบการณ์

ปณิธิ ภูศรีเทศ

บนั ทกึ ถงึ ดวงดาว 87

ความสงสยั สรรคส์ รา้ งสรรพสงิ่ สงสยั จรงิ - ใชแ่ สรง้ แกลง้ สงสยั
สอื่ สารไรซ้ บั ซอ้ นซอ่ นเนอ้ื นยั กป่ี จุ ฉายม้ิ ไดเ้ ปดิ ใจรบั
ผสู้ นั ทดั วสิ ชั นากลา้ เปดิ โลก มไิ หวโยกโยข้ ยายหมายโตก้ ลบั
สงสยั เถดิ หากสงสยั ไรซ้ อ้ นซบั นอ้ มคำ� นบั การถาม-ตอบอนั ชอบธรรม

“คำ� ถาม” เกดิ ขน้ึ ไดก้ บั ทกุ คน มคี ำ� ตอบหรอื ไมม่ ขี นึ้ อยกู่ บั ปจั จยั หลากหลาย และสำ� หรบั
หน่ึงคำ� ถามก็ไม่จำ� เปน็ จะตอ้ งมเี พียงหนึ่งคำ� ตอบท่ี “ถกู ต้อง” หรอื “ถูกใจ” เทา่ นั้น
นอ้ งดาวคงเคยใชค้ ำ� ถามเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนมาบา้ งแลว้
ถา้ สังเกตใหด้ ีขณะดำ� เนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอน ครมู กั จะใช้ “คำ� ถาม” ตลอดเวลา หากให้
นกั เรยี นถามบา้ ง บางคนถามไดแ้ ตถ่ ามไมเ่ ปน็ บางคำ� ถามไมต่ รงตามคำ� สง่ั หรอื ไมต่ รงประเดน็
ทกี่ ำ� หนดไว้ พเี่ คยใหน้ กั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ตง้ั คำ� ถามในกรอบทกี่ ำ� หนดวา่ “ถามเกยี่ วกบั
เน้อื หาวิชาภาษาไทย ทไี่ ม่ใชค่ ำ� ถามเรื่องความจำ� ” ปรากฏว่านักเรยี นต้งั คำ� ถามได้ทุกคน
แบ่งง่ายๆ ได้ 3 กล่มุ ดังน้ี

วิทยาจารย์ 65

กลมุ่ ที่ 1

ถามตรงประเดน็ เช่น
1. ท�ำไมต้องเขียนภาษาไทยให้ถกู ต้อง
2. ภาษาไทยมีความสำ� คญั อย่างไร
3. เหตใุ ดค�ำวา่ “คน” จงึ ไมใ่ ช้ “ฅ”
4. ทำ� อยา่ งไรจะแต่งกลอนสภุ าพได้ไพเราะทสี่ ุด
5. ท�ำไมคนไทยจึงต้องเรียนภาษาไทยทง้ั ท่พี ดู ภาษาไทยได้
6. ท�ำไมเราไม่ยืมภาษาตา่ งประเทศมาใช้ทง้ั หมด
7. แตล่ ะปคี นไทยไดร้ บั ความรูเ้ รอื่ งภาษาไทยมากนอ้ ยแค่ไหน
8. ทำ� ไมเราตอ้ งเรียนวรรณคดีและสามารถน�ำไปใช้ในชีวติ จริงไดห้ รอื ไม่

กลมุ่ ที่ 2

ถามเน้ือหาภาษาไทยแต่เป็นความจำ� เชน่
1. สระมีก่รี ปู กเี่ สยี ง
2. อักษรไทยมีกต่ี ัว
3. สระประสมมอี ะไรบ้าง
4. ใครเปน็ ผแู้ ต่งนทิ านยายกบั ตา

กลุ่มท่ี 3 จากตัวอย่างค�ำถามน้องดาวพอจะ
วเิ คราะหไ์ ดห้ รอื ไมว่ า่ นกั เรยี น “ถามเปน็ หรอื ไม”่
ถามไม่ตรงประเด็น เชน่ หากถามไมเ่ ปน็ ครจู ะมวี ธิ แี กไ้ ขอยา่ งไรแตพ่ เี่ ชอ่ื
1. ท�ำไม ก.ไก่ จึงไมม่ ีหวั อยู่เร่ืองหนึ่งว่าการต้ังค�ำถามของนักเรียนจะ
2. ท�ำไมครเู ขียนหนงั สอื กลับหัวได้ แสดงถงึ ความสามารถในการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นได้
3. ท�ำไมครูมาสอนวิชาภาษาไทย สงั เกตจากบางคำ� ถามเราจะพบแนวคดิ หรอื วิธี
4. ทำ� ไมครูภาษาไทยใจดีมาก การจัดการเรียนรู้ท้ังในห้องเรียนและนอก
5. ชีวติ ประจ�ำวันของครูคอื อะไร หอ้ งเรยี นได้อย่างหลากหลายทีเดียว
6. น�ำตวั อักษรมาเขยี นบนอากาศได้หรอื เปล่า

66 วิทยาจารย์

โลกน้ี เกิดมาพร้อมค�ำถาม และค�ำถามน่ีเอง
จะมคี �ำตอบแหง่ การสรา้ งหรือการท�ำลายล้างตามมา...
นอ้ งดาวคดิ เชน่ เดียวกบั พ่หี รือไม่
พี่เคยต้ังค�ำถามเก่ียวกับอินเทอร์เน็ตท่ีนักเรียน
สัมผสั และใชใ้ นชวี ิต ซึ่งบางคนอาจเกง่ หรือชำ� นาญกว่า
ครูหลายๆ คนเสียอกี เชน่ เฟซบุ๊กหรือไลน์ บางคน “เล่น”
จนดวงตาแดงก่�ำหรือน่ังง่วงเหงาหาวนอนในห้องเรียน
เพราะเลน่ ดึกๆ ด่นื ๆ แทบจะไม่ได้ทำ� กจิ กรรมอ่ืนๆ เลย
ค�ำถามของพ่ีก็คือ “จะใหน้ ักเรยี นเรียนรแู้ ละ
สร้างประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีนี้ไดอ้ ย่างไร”
พี่จึงคิดกิจกรรมฝึกทักษะทางภาษาไทยให้
นักเรียนปฏบิ ัติ 2 กจิ กรรม คือ
1. ประกวดอ่านท�ำนองเสนาะบันทึกเสียงส่ง
ในเฟซบกุ๊ หรอื อเี มล
2. ประกวดกิจกรรม “พระอภัยมณีก็มีไลน์”
กำ� หนดให้นกั เรียนวาดภาพระบายสีพรอ้ มเขียน
ขอ้ ความสนทนาระหวา่ งนกั เรยี นกบั พระอภยั มณี
ผ่านแอปพลิเคช่ันไลน์ ดังตัวอย่างผลงาน น.ส.ณัฐธิดา
หมื่นจนั ทร์ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

พี่คิดว่าครูไม่สามารถปิดกั้นหรือห้ามการใช้โซเชียลมีเดียหรือเทคโนโลยีต่างๆ ท่ีอยู่ใกล้ตัวนักเรียนได้ตลอดเวลา
แตส่ ามารถสรา้ งหรอื ปลกู ฝงั ใหเ้ ขาใชอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคไ์ ด้ มใิ ชป่ ลอ่ ยปละละเลยใหใ้ ชช้ วี ติ กบั จอหลากแสงสเี สยี งไปตามยถากรรม
ชีวิตคนไม่เหมือนภาพวาดต้นไม้ท่ีจัดองค์ประกอบตัวเองได้อย่างงดงามลงตัวโดยไม่ต้องอาศัยมือมนุษย์ปั้นแต่ง
แต่ชีวิตนักเรียนต้องเรียนรู้จากประสบการณ์ของตัวเองและจากคนอื่น โดยเฉพาะครูซ่ึงเป็นบุคคลส�ำคัญที่สุด ที่จะหยิบย่ืน
ใหเ้ ขาไดเ้ รยี นรู้ คดิ เปน็ ทำ� เปน็ แกป้ ญั หาเปน็ เพอ่ื หยดั ยนื อยบู่ นโลกนอี้ ยา่ งเขม้ แขง็ และทกุ ขน์ อ้ ยทสี่ ดุ พเ่ี ชอ่ื มนั่ เหมอื นดง่ั กลอน
ท่ีพเี่ ขยี น

วิทยาจารย์ 67

มนษุ ยม์ แี บบทดสอบอยู่รอบด้าน
บางข้อง่ายเปรียบปานปอกเปลือกกลว้ ย
บางค�ำถามลวงหลงจนงงงวย
รคู้ �ำตอบก็แทบมว้ ยมรณา


มนุษย์มแี บบทดสอบอยู่รอบทศิ
ทุกชีวติ ย่อมประสบพบปญั หา
ใหเ้ รยี นรู้ ให้แกไ้ ข ให้เยยี วยา
เพือ่ เข้มแขง็ แกร่งกล้าเต็มค่า “คน”


รกั และคดิ ถงึ
พดี่ นิ

68 วทิ ยาจารย์

บทความพิเศษ

รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ คงเที่ยง

ผ้เู รียน : เป้าหมายส�ำคญั

ในการพฒั นาคณุ ภาพคน เพ่อื การขบั เคลอ่ื นประเทศไทย ยุค 4.0

การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มีสมรรถนะ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์เหมาะสมสอดคล้องกับการขับเคล่ือนประเทศไทยยุค 4.0 นั้น ถือว่าเป็นภารกิจหน้าที่
ส�ำคัญของการศึกษาและสถานศึกษา ดังนั้นการด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งเป้าหมาย
และให้ความส�ำคัญกับผู้เรียนเพ่ือเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาคุณภาพของคน

วิทยาจารย์ 69

ลกั ษณะของผูเ้ รียนเพื่อประเทศไทยยคุ 4.0

1. มวี ถิ ีทางของการคิด คือ สรา้ งสรรค์ คดิ วจิ ารณญาณ การแกป้ ัญหา การเรยี นรู้ และตดั สินใจ
2. มวี ิถที างของการทำ� งาน คือ การตดิ ตอ่ สอื่ สาร และการร่วมมือ
3. มเี คร่อื งมอื สำ� หรบั การทำ� งาน คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการรูด้ า้ นขอ้ มลู
4. มที กั ษะสำ� หรบั ดำ� รงชวี ติ ในโลกยคุ ปจั จบุ นั คอื ความเปน็ พลเมอื ง ชวี ติ และอาชพี และความรบั ผดิ ชอบ
ต่อตนเอง
5. มคี วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ สามารถสอื่ สารไดห้ ลากภาษา ลำ�้ หนา้ ทางความคดิ ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์
และร่วมกันรับผิดชอบ

ปจั จยั ความส�ำเรจ็ ในการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น

1. ความเอาใจใส่และความรักของครทู ม่ี ตี อ่ ศิษย์
2. ความสามารถในการสอนของครู
3. ความรู้ในเนอื้ หาสาระวิชาทค่ี รูสอนของครู

กระบวนทศั นก์ ารเรยี นรู้ 5 ขน้ั ตอน เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นไปสคู่ ณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์

1. การเรียนร้เู พื่อตอบแทนสงั คม
2. การเรยี นรู้เพอื่ การสอื่ สาร
3. การเรียนรเู้ พ่ือสร้างองคค์ วามรู้
4. การเรยี นร้เู พอ่ื แสวงหาสารสนเทศ
5. การเรียนรเู้ พื่อต้ังคำ� ถาม

70 วทิ ยาจารย์

การท่ีการศึกษาจะสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะด้านความคิดได้นั้น ครูจะต้อง
ปรับเปลีย่ นกรอบแนวคิด กลา่ วคือ ถา้ ตอ้ งการใหผ้ ู้เรียนคิดอยา่ งวิเคราะห์จะต้องให้ผู้เรยี นมองสงั คม
ให้รอบดา้ น รทู้ ม่ี าท่ไี ปของปญั หาในสังคม และเข้าใจเหตุท่ไี ปน้นั อย่างชัดเจน ส่วนการคิดสรา้ งสรรค์
ต้องค�ำนึงถึงความคิดใหม่ และต่อยอดจากสิ่งท่ีมีอยู่ มองเห็น มองหาประโยชน์และการใช้สอบได้
รวมถงึ การมองของใหมเ่ พม่ิ เตมิ ในขณะทก่ี ารคดิ ผลติ ภาพ คอื การคำ� นงึ ถงึ ผลผลติ มวี ธิ กี ารในการสรา้ ง
ผลผลติ สรา้ งคา่ ของงานอยเู่ สมอและมสี ำ� นกึ ทจี่ ะสรา้ งผลงานขนึ้ มาใหมๆ่ และการคดิ รบั ผดิ ชอบ กค็ อื
การมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีความรบั ผิดชอบตอ่ วิชาชีพ ต่อผเู้ รยี น ตอ่ สังคมด้วยพร้อมกันไป
ลกั ษณะการเรยี นรทู้ จี่ ะสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ คนทม่ี คี ณุ ภาพ เปน็ ทนุ มนษุ ย์
ทม่ี ีคุณภาพ เพ่ือการขับเคล่อื นประเทศไทยยุค 4.0 ควรมลี ักษณะส�ำคัญ คือ ให้เด็กเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
รู้วิธีก�ำหนดเป้าหมาย วิเคราะห์ แยกแยะได้ รู้จักแก้ปัญหา รู้จักประยุกต์ใช้ ฝึกการท�ำงานร่วมกัน
ฝึกความรับผิดชอบ และฝึกทักษะใหม่ๆ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนคิดเป็น รู้จักคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์
ตอ้ งสรา้ งผลงานมคี วามเปน็ ผนู้ ำ� ฝกึ เสยี สละอดทนอนั เปน็ คณุ ลกั ษณะของคนทมี่ คี ณุ ภาพตามความตอ้ งการ
ของประเทศไทยยคุ 4.0
การรู้ถึงลักษณะของผู้เรียนในบริบทต่างๆ ตลอดจนแนวคิดของนักการศึกษาจะช่วยให้
ผเู้ กยี่ วขอ้ งสามารถบรหิ ารจดั การการเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพความจรงิ อนั จะสง่ ผล
ใหเ้ กดิ การพฒั นาคนให้มคี ุณภาพได้

บรรณานกุ รม
ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน.์ (2557). ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตอ้ งกา้ วให้พ้นกบั ดกั ของ ตะวันตก. กรุงเทพมหานคร:
วทิ ยาลัยครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย.์

. (2558). ปฏริ ปู การศกึ ษากลบั ทางจากล่างขน้ึ บน. กรุงเทพมหานคร:
สำ� นักงานเลขาธิการครุ สุ ภา.
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. (2557). การจดั การศกึ ษาสู่กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21.
เอกสารสมั มนาทางวิชาการ. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยนอรท์ กรุงเทพ.
สุมน อมรวิวฒั น.์ (2541). ท�ำไมตอ้ งปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร:
สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ
. (2554). ครศุ ึกษากบั ความเปลี่ยนแปลงที่ทา้ ทาย. กรงุ เทพมหานคร:
คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวทิ ย์ เมชินทรีย์. (2559). “ประเทศไทย 4.0” สร้างเศรษฐกิจใหม่. ค้นเม่อื 2 พฤษภาคม 2559. จาก
http://www.Thainath.co.th/content/613903.



วทิ ยาจารย์ 71

หอ้ งเรียนวิชาการ

ดร.พลสัณห์ โพธิศ์ รที อง

ยกระดับคุณภาพการศึกษา
เพอื่ เตรยี มนกั เรียน (กทม.)

รองรบั Thailand 4.0

ตอนท่ี 1

ด้วย พล.ต.อ. อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีนโยบายผลักดันทันใจ
แก้ไขทันที (now) ให้โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ท้ัง 437 โรงเรียน (ใน 50 เขต)
ไปยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มใหน้ กั เรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร
ทุกคนในทกุ ระดบั ตงั้ แตช่ นั้ อนบุ าล ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษาใหส้ ามารถรองรบั นโยบาย
Thailand 4.0 ซึ่งเน้นความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
รวมถึงความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยมอบหมายให้ท่ีปรึกษาของ
ผู้ว่ากรุงเทพมหานคร (ดร.พลสัณห์ โพธ์ิศรีทอง) รับไปประสานด�ำเนินการ
ดว้ ยการรวมพลงั และบรู ณาการ
ส่วนต่างๆ ขอกรุงเทพมหานคร
ส�ำนักการศึกษา เขตพ้ืนท่ี โรงเรียน
(ผู้บริหาร ครู นักเรียน ) ผู้ปกครอง
ชมุ ชน และเครอื ขา่ ยตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง
ใ ห ้ มี ส ่ ว น ร ่ ว ม ตั้ ง แ ต ่ ก า ร ว า ง แ ผ น
ด�ำเนินการ ตรวจสอบ ผลลัพธ์
และร่วมช่ืนชมผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น และ
ให้ทดลองท�ำ โดยเลือกโรงเรียน
ในเขตใดเขตหน่ึงของกรุงเทพมหานคร
เป็นเขตน�ำร่อง หรือ Model เพื่อให้
เ ข ต ที่ เ ห ลื อ น� ำ ไ ป เ ป ็ น M o d e l
ห รื อ ก ร ณี ตั ว อ ย ่ า ง ในการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาต่อไป

72 วิทยาจารย์

ดร.พลสัณห์ โพธิศ์ รีทอง รว่ มกับคณะที่ปรึกษาของผู้วา่ ราชการกรุงเทพมหานคร คณะผ้บู ริหาร
และข้าราชการของกรุงเทพมหานคร ร่วมกับส�ำนักงานเขต และตัวแทนประชาชนในเขตคลองเตย
เปน็ เขตคลองเตยเสนอใหผ้ วู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานครใชโ้ รงเรยี น4โรงเรยี นในเขตคลองเตยเปน็ เขตทดลอง
โดยเสนอใหผ้ วู้ า่ ราชการ กำ� หนดใหเ้ ปน็ “โครงการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาคลองเตยโมเดล” ซง่ึ ตอ่ มา
ได้จัดตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการ ประกอบด้วยผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร
นกั วชิ าการจากมหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ากภาครฐั และเอกชน และผมู้ ปี ระสบการณใ์ นภาคสว่ นตา่ งๆ
คณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการ ประกอบด้วยผู้เกี่ยวข้องจากกรุงเทพมหานคร ส�ำนักการศึกษาและ
สำ� นกั งานตา่ งๆ ในกรงุ เทพมหานคร เขตคลองเตย โรงเรยี น 4 โรงเรยี นในเขตคลองเตย ตวั แทนผปู้ กครอง
ตัวแทนกรรมการสถานศึกษา ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และองค์กรตา่ งๆ ทเี่ ปน็ เครอื ขา่ ยในเขตคลองเตย ซ่งึ ทงั้ หมด
เห็นชอบให้ด�ำเนินการโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาคลองเตยโมเดล ตั้งแต่ปลายปี 2559
โดยมีสาระสำ� คญั คือ

1. วัตถปุ ระสงค์หลักของโครงการคลองเตยโมเดล

“การยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียน 4 โรงเรียนในเขตคลองเตย เพื่อเตรียมนักเรียน
รองรับนโยบาย Thailand 4.0

2.รูปแบบและวธิ กี ารด�ำเนนิ การของโครงการโดยใชร้ ปู แบบและวิธีการ

“วจิ ยั ปฏิบตั ิการและพัฒนาอย่างมีสว่ นรว่ ม ใชภ้ าษอังกฤษว่า “Parcipatory Action Research
and Development” ย่อวา่ “PAR - D” คอื เป็นรูปแบบวิธกี ารทที่ กุ คน ทกุ ฝ่ายท่ีเกี่ยวขอ้ ง มาร่วมกันคดิ
ตั้งแต่ศึกษาข้อมูลที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เข้าใจประเด็นการแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างถ่องแท้ ร่วมกัน
กำ� หนดเปา้ หมายทจี่ ะแกป้ ญั หา และพฒั นาวางแผนการดำ� เนนิ การรว่ มกนั ลงมอื แบง่ หนา้ ทจ่ี ะแกป้ ญั หา
และพฒั นา วางแผนการดำ� เนินการรว่ มกัน ลงมือท�ำโดยแบ่งหนา้ ที่ปฏบิ ัติ รว่ มกนั ตรวจสอบ ประเมินผล
รว่ มกันปรบั ปรงุ ร่วมกันตรวจสอบผลลัพธ์สดุ ท้าย และรว่ มกันชืน่ ชมยนิ ดีผลลัพธ์ท่เี กดิ ขน้ึ

วทิ ยาจารย์ 73

3.เนอื้ หาสาระ (Contents)

สง่ิ ทต่ี อ้ งกระทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง
หรือพัฒนา ได้แก่ องค์ประกอบ (ปัจจัย)
ที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นซงึ่ จากการวจิ ยั
โดยเปน็ ทยี่ อมรบั กนั ทว่ั ไปมอี ยู่7 องคป์ ระกอบ
ดังนี้
3.1 ตวั ผเู้ รยี น (Learner) หรอื นกั เรยี นตอ้ งรว่ มกนั กำ� หนดเปา้ หมาย หรอื เปา้ ประสงค์
ท่ีต้องการให้มีหรือเกิดขึ้นในตัวผู้เรียน หลังจัดการเรียนรู้ การสอนมาครบรอบ 1 ปี (1 ภาคเรียน)
ในแตล่ ะชนั้ ปี ชว่ งอายุ เชน่ จบอนบุ าล 1 (4 ขวบ) อนบุ าล 2 (5 ขวบ) อนบุ าล 3 (6 ขวบ) ป.1 (7 ขวบ)
ป.6 (12 ขวบ) ม.1 (13ปี) และม.6 (18 ปี) โดยก�ำหนดส่ิงท่ีต้องการให้มีให้เกิดข้ึนของแต่ละช้ัน
เป็นสมรรถนะผู้เรียน 3 ด้าน คือ (1) ด้านความรู้ (Knowledge) (2) ด้านทักษะ (Skills) และ
(3) ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (Attributes) ซงึ่ ในอดตี แตล่ ะดา้ นกถ็ กู กำ� หนดไวบ้ า้ งแลว้ ในหลกั สตู ร แตไ่ มช่ ดั เจน
โดยครเู นน้ แตก่ ารเรยี นการสอนดา้ นความรู้ สว่ นดา้ นทกั ษะและดา้ นคณุ ลกั ษณะสอนนอ้ ย ไมฝ่ กึ อบรบ
พฒั นาเทา่ ทคี่ วร สมรรถนะดา้ นทักษะและคณุ ลกั ษณะ จงึ มีหรือเกิดนอ้ ย หรอื ไม่มี เพราะต้องบังคับ
อนั หน่ึงคือข้อสอบ แบบทดสอบ เขา้ เรยี นตอ่ มหาวิทยาลัยทเ่ี นน้ แตด่ า้ นความรู้

74 วทิ ยาจารย์

3.2 กระบวนการ/วิธีการ/กิจกรรมหรือหลักสูตร (Curriculum) คือ
เน้ือหาและวิธีการท่ีจะท�ำให้ตัวผู้เรียน บรรลุหรือส�ำเร็จตามเป้าประสงค์ที่ก�ำหนดไว้
ในองคป์ ระกอบทหี่ นง่ึ ซง่ึ การนำ� เนอื้ หาและวธิ กี ารทจ่ี ะทำ� ใหต้ วั ผเู้ รยี นสำ� เรจ็ ตามเปา้ ประสงค์
เรียกวา่ กระบวนการเรยี นรู้ (กระบวนการเรยี นการสอน) นนั่ เอง หรอื การเรยี นรู้ (Learning)
ทีผ่ า่ นมาเราใชก้ ารเรียนรู้ 6 การเรยี นรู้ คือ (1) การเรียนเพอ่ื รู้ (2) การเรยี นรเู้ พอื่ ใหค้ ดิ เป็น
(3) การเรียนร้เู พ่อื ใหท้ �ำเป็น (4) การเรียนรูเ้ พือ่ ให้แก้ปญั หาได้ (5) การเรียนรเู้ พื่อให้ด�ำรง
อยูไ่ ด้ และ (6) การเรยี นรู้เพ่อื ใหอ้ ยรู่ ว่ มกับผอู้ ่ืนได้ แต่ในศตวรรษท่ี 21 หรอื การเรียนรใู้ น
Thailand 4.0 ต้องการให้ตัวผู้เรียน ประชาชนทั่วไปมีการเรียนรู้ตามระบบนิเวศน์
การเรียนรู้ใหม่ 4 ด้าน ได้แก่ (1) การเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจ มีความมุ่งม่ัน
เพอ่ื ใหม้ ชี วี ติ อยอู่ ยา่ งมพี ลงั และมคี วามหมาย (Purposeful Learning) โดยเนน้ การเรยี นรู้
ดว้ ยความกระตอื รอื ร้น (Active Learning) เป็นการเรยี นร้ทู ่ีเกดิ จากความอยากรูอ้ ยากทำ�
เปน็ ของผเู้ รยี น (Passion Driver) เปน็ การเรยี นรเู้ พอื่ ตอบโจทยเ์ ฉพาะบคุ คล (Personalized)
โดยพฒั นาจากศกั ยภาพ โอกาส และขอ้ จำ� กดั ของแตล่ ะบคุ คล (2) การเรยี นรเู้ พอื่ บม่ เพาะ
ความคดิ สรา้ งสรา้ งและความสามารถในการรงั สรรคน์ วตั กรรมใหมๆ่ (GenerativeLearning)
โดยเน้นการเรียนรู้นอกห้องเรียน นอกโรงเรียน นอกระบบที่เคยปฏิบัติ ซึ่งปรับเปล่ียน
จากการคดิ ในกรอบทเ่ี นน้ “ทอ่ งจำ� ” “เชอ่ื ฟงั ” และ “ทำ� ตาม” ไปเปน็ การคดิ นอกรอบทเี่ นน้
“กลา้ คดิ ตา่ ง” “ท�ำตาม” “แตเ่ คารพความคดิ เห็นของผูอ้ นื่ ” ปรบั เปลยี่ นจากการเรียน
แบบถ่ายทอดข้อเท็จจริง เป็นการเรียนรู้แบบช้ีแนะให้ใช้ความคิด และหาข้อมูลพิสูจน์
(3) การเรียนรู้เพ่ือบ่มเพาะปลูกฝัง จิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ต้ัง
สรา้ งคณุ ลกั ษณะความเปน็ คนดี พลเมอื งดที มี่ คี วามเกอื้ กลู และแบง่ ปนั (Mindful Learning)
โดยการส่งเสริมการเลี้ยงดูครอบครัว เน้นฝึกเด็ก (ผู้เรียน) ให้รู้จักพึ่งตนเอง มีวินัย
มคี วามซอื่ สตั ย์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรบั ผดิ ชอบ ในรปู แบบของกจิ กรรมในชวี ติ ประจำ� วนั
ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน ที่สอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย จิตสาธารณะ การท�ำงานเป็นทีม โดยปรับเปล่ียนจาก

วิทยาจารย์ 75

การใหร้ างวลั จากการเนน้ ประโยชนร์ ว่ ม (Common Interest) เปน็ เนน้ คณุ คา่ รว่ ม (Sharing
Value) ปรับเปลย่ี นจากการให้รางวัลจากการแขง่ ขนั (Competing Incentive) เป็นการให้
รางวลั จากการทำ� งานรว่ มกัน (Sharing Incentive) การเตรียมการเพอื่ สรา้ งพลเมืองต่นื รู้
(Active Citizen) ซึง่ เป็นรากฐานสำ� คญั ท่ีสุดของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยนน้ั
คอื วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื ง (Civic Education) และกจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี จะต้องถกู ฟืน้ ฟู
อย่างเราด่วน จริงจังเพื่อบ่มเพาะเยาวชนเป็นพลเมืองที่ต่ืนรู้และมีคุณภาพในท่ีสุด
โดยการระดมพลังจากทุกภาคส่วนเขา้ มาร่วมดว้ ยช่วยกนั (4) การเรียนรูเ้ พอื่ มุ่งการทำ� งาน
ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ (Result Based Learning) โดยการปรบั เปลยี่ นจากการเรยี นโดยเนน้ ทฤษฎี
ไปเปน็ การเรียนทเี่ น้นการวิเคราะห์ แกไ้ ขปญั หา และนำ� ส่กู ารปฏิบตั จิ รงิ ปรับเปลยี่ นจาก
การเรยี นแบบฟงั บรรยาย ไปเปน็ การเรยี นแบบการทำ� โครงงาน และการแกไ้ ขปญั หาโจทย์
ในรูปแบบต่างๆ ปรับเปล่ียนจากการวัดความส�ำเร็จโดยระบบการนับหน่วยกิจ
ไปเปน็ การวดั ความสำ� เรจ็ จากการบรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิปรบั เปลย่ี นจากการเรยี นเพอื่ วฒุ กิ ารศกึ ษา
ไปเป็นการเรียนเพ่ือประกอบอาชพี ผลกั ดนั ให้มกี ารน�ำวัฒนธรรมการทำ� งานทพี่ งึ ประสงค์
ไปปฏบิ ัตจิ นใหเ้ ปน็ คุณลกั ษณะที่สำ� คัญของคนในสังคมไทย
สำ� หรบั หลักสูตรการศกึ ษาที่เน้น “เนือ้ หาสาระ” (Contents) และ “กระบวนการ/
วธิ กี าร/กจิ กรรม (Process/Method/Activities) ตอ้ งสามารถทำ� ใหเ้ ปา้ ประสงคข์ องผเู้ รยี นนน้ั
บรรลุเป้าหมายทุกประเด็นท้ังด้านความรู้ ทักษะ และคุณะลักษณะ โดยครูผู้สอนแต่ละ
รายวิชาต้องน�ำทั้งสาระและกระบวนการเรียนรู้ท่ีระบุไว้ในแต่ละชั้นปี คือ อนุบาล 1 - 3
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 6 และมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 6 มาเขยี นไว้ (กำ� หนดไวแ้ ลว้ ) ในแผนการสอน
ของครเู องทงั้ เปน็ รายปี รายภาค หรอื รายเดอื น รายสปั ดาห์ ซง่ึ ตอ้ งมผี รู้ บั รองแผนการเรยี น
การสอนโดยท่ัวไปก็จะเป็นผู้บริหารโรงเรียน ซึ่งครูแต่ละคนจะใช้แผนการสอนของตนน้ี
เป็นหลักฐานในการเลอื่ นข้นั เงนิ เดอื น ตำ� แหน่ง และวิทยฐานะต่อไป

(อ่านตอ่ ฉบบั หนา้ )

76 วทิ ยาจารย์

เร่อื งสัน้

ส.สันติ ทิพนา

ค�ำสญั ญาของลูกชายคนที่ 2


ครอบครัวของผมเป็นครอบครัวที่อบอุ่น ประกอบด้วยพ่อแม่ พ่ี ผม และน้อง เมื่อถึงช่วงเดือน 6
ฟ้าฝนตกลงมาพ่อแม่ก็ท�ำนา ผมพ่ีและน้องก็ช่วยพ่อแม่ท�ำนา ปีไหนฝนดีก็พอได้ข้าว ปีไหนแล้ง
ข้าวก็ไม่พอกิน ครอบครัวของผมเป็นครอบครัวท่ียากจน บางวันแทบไม่มีเงินติดบ้านแม้แต่บาทเดียว
ท�ำให้พ่อผมต้องท�ำงานหนัก และล้มป่วยในสุด พ่อจากพวกเราไปในเวลาท่ียังไม่สมควร แพทย์
ลงความเห็นเกี่ยวกับโรคที่พ่อประสบอยู่คือ มะเร็ง ตอนนั้นแม่ พี่ ผม และน้องต้องอยู่อย่างล�ำบาก
เพราะขาดเสาหลักไป

วิทยาจารย์ 77

พีช่ ายคนโตต้องเข้ากรุงเพือ่ หางานท�ำ นอ้ งชายผมก็ยังเล็ก เพราะพึง่ อยู่ ม.1
สว่ นผมกำ� ลงั เรยี นอยชู่ น้ั ม.5 เทอมทสี่ อง พอ่ ลม้ ปว่ ยดว้ ยโรคทร่ี กั ษาไมห่ าย ถา้ เปน็ โรคน้ี
มแี ตต่ ายกบั ตายและแลว้ พอ่ กจ็ ากพวกเราไปดว้ ยวยั ทย่ี งั ไมไ่ ดเ้ หน็ ลกู ประสบความสำ� เรจ็
ส่วนแม่ก็ไม่ค่อยแข็งแรง ท�ำงานหนักไมค่อยได้ แต่แม่จะไม่บ่นว่าเหน่ือยให้ผมกับ
น้องฟงั แมเ่ ปน็ คนที่มีความอดทนสงู ในทส่ี ุดผมก็เรียนจบช้นั ม.6 ในช่วงน้นั ผมได้มี
โอกาสไปสอบเรยี นตอ่ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั แหง่ หนงึ่ ในวนั เสารอ์ าทติ ย์ ผมกลบั บา้ น
เพื่อไปเย่ียมแม่ ในยามที่ไม่มีเรียนหรือกลับบ้านเสาร์อาทิตย์ สมัยก่อนโน้นเพราะ
ผมตอ้ งไปเรยี นหนังสอื อยู่ตา่ งจังหวัด วนั ไหนที่แม่ไม่ได้ไปนา แม่จะอยู่บ้านเวลาวา่ ง
แม่จะทอเสื่อ (สาด) หรือถ้าไม่อยู่บ้านแม่จะไปอยู่ท่ีทุ่งนาที่พ่อใหญ่เฒ่ามอบให้เป็น
มรดก
ในช่วงฤดูท�ำนาแล้วหรือฤดูเกี่ยวข้าว แม่จะไปหารับจ้างเกี่ยวข้าวได้วันละ
150 บาท เพราะแม่ไม่มีงานทำ� ประจ�ำเหมอื นแมข่ องคนอ่ืน แม่เปน็ คนท่ปี ระหยดั เงนิ
แมจ่ ะเกบ็ เงนิ ไวใ้ หล้ กู ชายทง้ั สามคน ผมมกั จะกลบั บา้ นโดยทจี่ ะไมบ่ อกแมก่ อ่ น เพราะวา่
ในสมัยนั้นไมม่ ีโทรศพั ท์ ไมม่ เี ครอ่ื งส่ือสารทีท่ ันสมัยเหมือนปัจจบุ นั

78 วทิ ยาจารย์

ท้องทุ่งนาอันกว้างใหญ่ไฟศาล มองไปยังทุ่งนา มีคนเดินอยู่ที่ปลายนา
บา่ ยของอกี วนั แสงแดดแรงกลา้ แมย่ งั อยทู่ งุ่ นา ในมอื มเี สยี มและขอ้ ง เพอื่ หาขดุ ปนู า
ปลาในหนองน�้ำอย่างไปพูดถึง แล้งขนาดนี้จะเอามาจากไหน น�้ำในห้วยแห้งขอด
แต่ยังเหลือปูท่ีรอดพ้นจากความแห้ง ปูยังขุดรูเพื่อหลบความร้อนลงไปในดิน วันนี้
โชคไมด่ ลี กู แมห่ าปลาไมไ่ ดส้ กั ตวั ไดแ้ ตป่ นู า 4 - 5 ตวั แมพ่ ดู พลางเดนิ ไปหารปู ู กม้ ๆ เงยๆ
อยสู่ กั พกั เหลอื บไปเจอรปู ทู มี่ ฟี างอดุ รปู ู แมจ่ งึ ลองขดุ ดเู ผอื่ ไดป้ ู เพม่ิ สองสามตวั ตะวนั
เรม่ิ จะลบั ขอบฟา้ แสงสีแดงตรงปลายขอบฟ้ามีผตี ากผา้ หอม แม่บอกผม พลางเดิน
น�ำหน้า ถงึ บา้ นมดื ค่�ำพอดี
แมจ่ ดั แจงเอาปนู าไปลา้ งดนิ ออกจากตวั ปู แมจ่ ะทำ� กบั ขา้ ว คอื ควั่ ปนู า กนิ กบั
แจ่วบอง แม่เป็นคนท่ีท�ำอาหารได้เร็วมาก พลางสอนลูกว่า “ค่ัวปูนากะแซบดอกลูก
เฮามันคนจนหน่าก�ำ เงนิ คำ� กะบ่มีพอดี้ มีหยงั กะกนิ ส�่ำน้ี เลีย้ งลกู ซายสามคน แมบ่จม่
พอด้ี กนิ มาตง้ั แตน่ อ้ ยเทา่ ใหญ”่ สมยั กอ่ นแมเ่ คยปอ้ นขา้ วลกู ดว้ ยคำ� ขา้ วจำ�้ กระดองปู
ใส่น้�ำปลาตราหน่อไม้ วางไว้บนฝากระติบข้าวเป็นค�ำ ลูกก็แย่งกันจับเข้าปากอย่าง
รวดเร็ว ร้องบอกแม่วา่ “แซบหลายๆๆ เดอ้ ” เสียงลกู ชายบอกแมด่ ังแว่วมา

วทิ ยาจารย์ 79

วนั นเี้ ปน็ วนั เสาร์ บรรยากาศรอบบา้ นเงยี บ หมาอแี ดงปนี แ้ี กล่ งมาก นอนหมอบอยขู่ า้ งๆ แคร่
บรรยากาศอบอา้ ว ไมม่ ีลม แม้กระทั่งใบไมแ้ ทบไม่กระดิก แมไ่ มไ่ ดไ้ ปทีท่ ่งุ นา ผมเหน็ น่ังทอเสื่อกก
อยู่ใต้ถุนบ้าน ผมพอลงจากรถมอเตอร์ไซค์ ผมเลยเข้าไปหาแม่ ก้มกราบไปที่ตักแม่ บรรยากาศ
เหมือนผมกลบั ไปเปน็ เด็กอกี ครงั้
“สวสั ดีครับแม่ แมเ่ ป็นไงบ้างสบายดีไหมครับ เหนอื่ ยไหมครับแม่” เสยี งแมต่ อบซึง่ ท�ำให้
ผมฟงั แลว้ แทบนำ้� ตาไหล แมบ่ อกวา่ ไมเ่ หนอ่ื ยหรอกถา้ ไดเ้ หน็ หนา้ ลกู ความเหนอื่ ยลา้ จากการทำ� งาน
มลายหายไปส้ิน ผมกม้ ลงกราบบนตักแม่ แมพ่ ลางเอามอื ทีผ่ ่านการใชง้ านมากกวา่ 50 ปี ลบู เบา
ทหี่ วั ผม บรรยากาศอบอุน่ นำ�้ ตาแมไ่ หลอาบแก้ม บรรยากาศในชว่ งนนั้ เงียบสนทิ ความรกั ท่ีแมใ่ ห้
เปน็ ความรักความผกู พันมากมายย่งิ นกั
หลงั จากทพ่ี อ่ จากไปแมก่ อ็ ยคู่ นเดยี ว ผมพงึ่ เขา้ ใจแมว่ า่ แมต่ อ้ งเหงาและคดิ ถงึ พอ่ ขนาดไหน
ลูกก็ต้องไปท�ำงานไปเรียน แม่อยู่คนเดียวย่อมอ้างว้างเป็นธรรมดา สักพักแม่ก็เอ่ยถามผมว่า
ลูกอยากกินอะไร แมจ่ ะไปหามาให้ ผมตอบออกไปด้วยน้ำ� เสยี งทีน่ กึ สงสารแมท่ ีต่ อ้ งไปทำ� อาหาร
ใหล้ กู อกี ใจหนง่ึ กอ็ ยากกนิ สม้ ตำ� ฝมี อื แมท่ แี่ สนอรอ่ ยในสามโลกฝมี อื ของแมใ่ นการตำ� สม้ ตำ� ประกอบกบั
ปลาร้าท่ีแม่ได้จากทุ่งนา ในยามท่ีก่อนจะเก่ียวข้าว ส่งกลิ่นย่ัวน้�ำลาย ผมกลัวแม่เหน่ือยผมก็เลย
บอกว่าไมเ่ ป็นไรครบั แม่ จากนั้นแมก่ ล็ งมอื ทอเสือ่ ตอ่ ไป โดยมผี มเปน็ สอดต้นกกใส่ในกท่ี อเสือ่ จน
เสร็จหนึง่ ผืนในวันน้ี แต่กวา่ จะสิ้นหน่งึ ผืนแม่ใช้เวลาหลายวนั และต้องทอให้ได้หลายๆ ผนื เพ่ือแม่
จะได้นำ� ไปขายเพอื่ สง่ ผมเรียน
สักพกั หนึ่งแม่มานัง่ คยุ กับผมที่เปลหนา้ บ้าน เป็นไงลูกเรยี นหนงั สอื เหนือ่ ยไหม ผมก็ตอบ
ออกไปว่าไม่เหนื่อยครับแม่ ผมกับแม่น่ังคุยกันไปประสาแม่ลูก กับบรรยากาศท่ีอบอุ่นระหว่าง
แม่กับลกู แต่ครอบครัวเรานนั้ อยไู่ มค่ รบพ่ชี ายผมและนอ้ งชายผมไมไ่ ด้อยูก่ ับแม่ เขาตอ้ งไปหาเงนิ
เลยี้ งครอบครวั เขา ผมกม้ ลงตกั แม่ และนอนตกั แม่ สลบั กบั บางทผี มกห็ าผมหงอกใหแ้ ม่ ปนี เี้ สน้ ผม
ของแม่มีเส้นผมสีขาวจ�ำนวนมาก แม่บอกว่าคันมากต้องถอนออก สีผมของแม่เร่ิมเป็นสีดอกเลา
ใบหน้าของแมเ่ รมิ่ มรี อ่ งรอยเหย่ี วยน่ แตแ่ มย่ งั สวยเสมอในใจผม ชว่ งนแ้ี มร่ า่ งกายไมค่ อ่ ยแขง็ แรงนกั
บางวันแมบ่ อกวา่ นอนไมห่ ลบั วธิ กี ารผอ่ นคลายคอื แมจ่ ะมสี มดุ กบั ปากกาเขยี นความรสู้ กึ ทคี่ ดิ ถงึ
ลกู แตล่ ะคนสมดุ ทแ่ี มเ่ ขยี นบนั ทกึ นนั้ เปน็ ทที่ างโรงเรยี นแจกใหส้ ำ� หรบั เดก็ ทย่ี ากจน ครอบครวั ยากจน
สมดุ เลม่ นนั้ มพี ระบรมฉายาลกั ษณข์ องในหลวงรชั กาลท่ี9ครอบครวั ของเรากเ็ ปน็ หนงึ่ ในนนั้ ทไี่ ดร้ บั แจก
ทกุ วนั นผ้ี มกลบั ไปอา่ นบนั ทกึ ของแมท่ ไี ร นำ�้ ตาไมร่ มู้ นั ไหลมาจากไหน สะอกึ สะอน้ื เตม็ ที จกุ อยใู่ นอก
คดิ ถึงแมค่ ดิ ถึงพอ่ คดิ ขนึ้ มาคร้งั ใด ผมแทบขาดใจ อยากจะร้องออกไปในสามโลก เพื่อบอกท่านวา่
ลกู ยงั รกั ทา่ นทั้งสองหมดหัวใจ

80 วทิ ยาจารย์

เช้าวันต่อมา บรรยากาศขมกุ ขมัว หนาวแสบไปท่ัวรา่ งกาย แมต่ นื่ แตเ่ ชา้ ไก่อีลายกบั ลกู ๆ ยังคงหมอบและ
ใชป้ ีกปกครอบลูกๆ ของมนั อย่ใู นทปี่ ลอดภยั อยภู่ ายใต้โพรงกอฟางข้างบ้านเรา เพอื่ ไม่ไดล้ กู หนาวตาย
ควายอแี ตน๋ กบั ลกู ของมนั ในคอกยงั คงเคย้ี วเออื้ งฟางแหง้ อยา่ งสบายใจ หมาอแี ดงยงั คงหมอบอยขู่ า้ งๆ เตา
เพอ่ื คลายหนาวไดบ้ า้ ง “แมแ่ มผ่ มเรยี กแม่ เสยี งแมต่ อบดงั มาวา่ ไงลกู แมอ่ ยใู่ นครวั ” เสยี งครกสากกระทบกนั
กลิ่นของชอบผมหอมโชยมาแต่ไกล ผมเดินลงมาตามกลิ่นที่หอมฟุ้งไปทั้งบ้าน ผมลงมาจากบ้าน
หลงั จากทีเ่ ก็บทีน่ อนหมอนเสื่อเรยี บร้อย แม่รวู้ ่าวนั นีต้ อนบา่ ยผมจะกลบั ไปเรียนหนังสือ แมเ่ ขา้ ไปในครัว
ไปลว้ งปลารา้ มาแจว่ บองใหล้ กู เปน็ อาหารของครอบครวั เราทช่ี อบมาก ผมนงั่ ลงดแู มต่ ำ� แจว่ บองอยา่ งชำ� นาญ
ถ้าเปรียบเป็นครู คงอยู่ในระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ผมถามแม่ว่าได้สูตรมาจากไหน แม่ก็ตอบด้วยรอยยิ้ม
เรยี นรลู้ องผดิ ลองถกู มา ปรงุ มาเรอ่ื ยๆ จงึ ไดส้ ตู รทล่ี งตวั และแลว้ แจว่ บองปลารา้ ฝมี อื แมก่ เ็ สรจ็ แมก่ จ็ ดั แจง
กระปุกมาใสใ่ หเ้ รยี บร้อย แล้วก็ก�ำชบั ลกู เปน็ ภาษาอีสานวา่ “กนิ แจ่วกะแซบอย่ดู อกลูก ประหยดั เด้อลูก
เงนิ คำ� กำ� แกว้ มนั หายาก มนั อยฟู่ ากปา่ เยาว”์ ตอนนนั้ ผมกย็ งั ไมเ่ ขา้ ใจ แตส่ ดุ ทา้ ยผมกเ็ ขา้ ใจวา่ กวา่ จะไดเ้ งนิ
มาทกุ บาททุกสตางค์ คนหาหาจนเมื่อยล้า
บา่ ยวนั นน้ั ผมแทบไม่อยากกลับไปเรียน ผมก้มกราบเทา้ แม่ ลาแม่กลับไปทำ� หน้าท่ี น�ำแจว่ บอง
ครกเกา่ ของแม่ ถอื กระปกุ ใสแ่ จว่ บองใสก่ ระเปา๋ ไปกนิ ทมี่ หาวทิ ยาลยั เสยี งสง่ ทา้ ยปลวิ มาตามลม บอกลกู วา่
เปน็ ครูใหไ้ ด้นะลกู ลกู ต้องเป็นครู แม่อยากเหน็ ก่อนตาย เสียงนั้นยังคงก้องอยู่ในหูผม จนกระทัง่ ถงึ บัดนี้
หลายวนั ตอ่ มาในชว่ งนน้ั เงนิ ทแี่ มใ่ หม้ าหมดแลว้ จากการทต่ี อ้ งออกเงนิ ไปทำ� รายงานเพอ่ื สง่ อาจารย์
ทส่ี ง่ งานแบบเอาเปน็ เอาตาย หวิ กห็ วิ เงนิ หลายไมถ่ งึ สบิ บาท ผมเดนิ ไปหลงั หอ้ ง พลางนกึ ขนึ้ ไดว้ า่ ยงั เหลอื
แจ่วบองของแม่ ผมใชโ้ อกาสนั้นจัดการตัวเองด้วยการจ้�ำแจ่วบองของแซบหลายที่แมฝ่ ากไว้เมือ่ ครงั้ กอ่ น
ผมจ้ำ� จนหนอนทอ่ี ยใู่ นปลาร้าตอ้ งหลบหลกี วถิ ีค�ำขา้ วของผม ชว่ ยต่อลมหายใจไปอีกหลายวัน หลายเดือน
หลายปี จนผมจบการศึกษา และสอบเป็นครูตามความหวังของแม่ ผมท�ำได้แล้วแม่ ผมท�ำได้แล้วแม่
แต่บัดนี้แม่ไมม่ ลี มหลายใจอยใู่ นโลกนแ้ี ล้ว
ผมหวนคิดถึงหนอนตัวนั้น ตอนน้ีไม่ได้อยู่ในไหแล้ว ไหท่ีแม่เคยทะนุถนอมน้ันไม่อยู่ที่เดิม
ไหปลาแดกปลารา้ ของแมถ่ ูกท้งิ รา้ ง หนอนปลาร้า เชอื กรัดไห วา่ งเปล่า หยุดนิ่งไม่ไหวตงิ
วันนี้ผมกลับมาเย่ียมบ้านไม่มีแม้เงาของพ่อแม่ มีแต่บ้านท่ีว่างเปล่ารกครึ้มด้วยต้นเครือตดหมา
โยงระยางบนเสาอากาศโทรทศั น์ โตล้ มหนาวอยา่ งโดดเดย่ี วเดยี วดาย ไรเ้ งาพอ่ แม่ พแี่ ละนอ้ งชาย บรรยากาศ
เงียบสงบ ผมพลางเดินไปหลงั บา้ น มองไปทีเ่ สาอากาศโทรทศั น์ แหงนมองสทู่ ้องฟ้า และพลางพดู ในใจว่า
ลกู ชายคนท่ี 2 กลบั มาแลว้ พลางพดู ในใจบอกพอ่ แม่ พ่ี และนอ้ งวา่ ........ผมทำ� ตามสญั ญาไดแ้ ลว้ ครบั ........

วทิ ยาจารย์ 81

รักษ์ไทย

>> ต่ีจบั <<

ความเปน็ มา
ตจ่ี ับเปน็ การละเลน่ ไทยที่เล่นกนั ในจงั หวัดแถบภาคเหนอื เชน่ จงั หวดั ล�ำพูนและเชียงราย เป็นตน้

มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการออกก�ำลังกาย และเพ่ือความสนุกสนานในหมู่เด็กๆ ไม่ปรากฏหลักฐานว่า
เร่ิมเล่นต้ังแต่สมัยใด แต่พบว่ามีการเล่นกันมาต้ังแต่ พ.ศ. 2480 ดังปรากฏในหนังสือกีฬาพ้ืนเมือง
ของกรมพลศกึ ษา กระทรวงธรรมการ (2480 : 259)

การเลน่ ตจี่ บั สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ การเลน่ เลยี นแบบวถิ ชี วี ติ ประจำ� วนั ของชาวเหนอื ทต่ี อ้ งดแู ลสตั วเ์ ลยี้ ง
เช่น เป็ด ไก่ หมา แมว โดยเฉพาะสัตว์ใช้งาน เช่น วัว ควาย ซ่ึงต้องมีการจับอุ้มแยกกรง แยกคอก
อยู่บ่อยๆ ชาวบ้านน�ำเอาลักษณะการออกแรงจับปล้�ำกับสัตว์เล้ียงเพื่อแยกกรง เข้าคอก ออกจากคอก
มาดดั แปลงเปน็ เกมกฬี าเลน่ กนั บางทอ้ งถน่ิ เรยี กชอื่ เปน็ อยา่ งอน่ื กม็ ี เชน่ ในจงั หวดั แพรแ่ ละจงั หวดั นา่ น
เรยี กวา่ จบั ควายออกวง เปน็ ต้น

82 วทิ ยาจารย์

ผู้เล่น
นยิ มเลน่ กนั ในหมเู่ ดก็ โดยแบง่ ผเู้ ลน่ เปน็ สองฝา่ ย ฝา่ ยหนงึ่ เปน็ เดก็ เลก็ อายปุ ระมาณ 10 - 12 ขวบ

อีกฝ่ายหน่ึงเป็นเด็กโตกว่าอายุประมาณ 14 - 15 ปี ให้ผู้เล่นฝ่ายท่ีเป็นเด็กเล็กมีจ�ำนวนมากกว่า
เด็กโต จ�ำนวนผเู้ ล่นทั้ง 2 ฝา่ ย ขึ้นอยู่กับการตกลงกัน
สถานท่ีเลน่

บริเวณท่ีว่างเป็นลานกว้างท่ีใดก็ได้ เช่น สนามเล่นในโรงเรียน บริเวณท่ีว่างใต้ต้นไม้
ลานบ้าน ลานวัด เป็นต้น

วิทยาจารย์ 83

วธิ ีเลน่
1. ให้ผู้เล่นท่ีเป็นเด็กเล็กและมีจ�ำนวนมากกว่า อยู่ในเขตที่ก�ำหนดเรียกว่าเป็นฝ่ายต่ี ส่วนผู้เล่น
ท่เี ปน็ เด็กใหญแ่ ละมีจ�ำนวนนอ้ ยกว่าให้กระจายอยรู่ อบนอกเขตทีก่ ำ� หนดเรยี กว่าเป็นฝา่ ยจับ
2. เริ่มเล่นโดยผู้ตัดสินให้สัญญาณการเล่น เมื่อได้รับสัญญาณให้เร่ิมเล่นได้ ผู้เล่นฝ่ายจับจะ
ตอ้ งเขา้ ไปชว่ ยกนั จบั หรอื ปลกุ ปลำ�้ และดึงเอาผูเ้ ล่นฝา่ ยตอี่ อกมานอกเขตท่ีก�ำหนดให้ได้
3. ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตที อ่ี ยใู่ นเขตจะตอ้ งรว่ มมอื กนั ชว่ ยกนั ปอ้ งกนั การจบั จากฝา่ ยจบั โดยสามารถใชฝ้ า่ มอื
ตี ตบ ปัด เพ่อื ป้องกนั ตวั จากการจับได้
4. ผเู้ ลน่ ฝา่ ยจับจะตผี เู้ ล่นฝา่ ยตีไ่ มไ่ ด้ จะตอ้ งใช้วธิ ีการจบั อย่างเดยี ว
5. ถ้าฝา่ ยจบั สามารถจบั ฝา่ ยตี่ที่อยู่ในเขตออกนอกเขตได้หมดจะเปน็ ฝ่ายชนะ แต่ถา้ ไมส่ ามารถ
จับฝ่ายตีออกนอกเขตได้หมดจะต้องเป็นฝ่ายแพ้ ตามปกติไม่มีการก�ำหนดเวลาการเล่น เล่นกันจนกว่า
ฝา่ ยใดฝา่ ยหนง่ึ จะแพห้ รอื ยอมแพ้ ในบางทอ้ งทอ่ี าจกำ� หนดเวลาการเลน่ หรอื จำ� นวนคนทถ่ี กู จบั ออกนอกวง
เพ่ือให้การเล่นสนุกสนานข้นึ

กตกิ า
1. กอ่ นเรมิ่ เลน่ ผเู้ ลน่ ทง้ั สองฝา่ ยตกลงกนั เกย่ี วกบั จำ� นวนผเู้ ลน่ ของแตล่ ะฝา่ ย ขนาดของสนามเลน่
และอื่นๆ เสียกอ่ น
2. อนญุ าตใหผ้ เู้ ลน่ ทเ่ี ปน็ ฝา่ ยตี่ ใชฝ้ า่ มอื ตบ ตี และปอ้ งกนั ตวั จากการจบั ของฝา่ ยจบั ไดท้ กุ ประการ
เฉพาะภายในเขตสนามเล่นเท่านัน้
3. ห้ามผู้เล่นท่ีเป็นฝ่ายจับตอบโต้ผู้เล่นที่เป็นฝ่ายตี่ไม่ว่าประการใดๆ ท้ังสิ้น เว้นแต่การจับหรือ
ปลุกปล้�ำกนั ดว้ ยมือเทา่ นนั้
4. ผเู้ ลน่ ฝ่ายตีท่ ถ่ี กู จบั ออกนอกเขต จะถือวา่ ตายและหมดสทิ ธิก์ ารเล่น
5. ใหม้ ีกรรมการผตู้ ัดสิน 1 คน ท�ำหนา้ ท่ีควบคุมการเล่น และตดั สินผลการเลน่
6. การตัดสนิ ต่ีจบั ถา้ ข้างใดตายหมดก่อน ฝ่ายนั้นคือฝ่ายแพ้

เทศกาลท่เี ลน่ ต่ีจับ
มกี ารเลน่ ในเดือน 4 - 5 (เดอื น

มีนาคม – เมษายน) ในเทศกาลตรุษไทย
และตรษุ สงกรานต์

คณุ ค่า/แนวคดิ /สาระ
การเล่นต่จี บั เปน็ การฝึกการใช้

ก�ำลัง ความวอ่ งไว และความอดทน อีก
ทง้ั เปน็ การออกกำ� ลงั กายในทางสนกุ สนาน
รนื่ เรงิ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คใี นหมคู่ ณะ

ทีม่ า : http://การละเล่นพนื้ บา้ น.blogspot.com/2014/12/Tee-Jub.html
http://www.patongbeachthailand.com/thai/21_13/679.shtml

http://thaifolksport.wordpress.com/tag/ตี่จบั /

84 วทิ ยาจารย์

IT Hero

Teacher COMP

ออกแบบ

Infographic

อย่างไรให้

ปงั !!!

วิทยาจารย์ 85

ในยุคปัจจุบันน้ี ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าสื่อประชาสัมพันธ์เป็นปัจจัยหลักในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือ
น�ำเสนอผลงาน ส่ิงท่ีเข้ามามีบทบาทส�ำคัญคือสื่อ Infographic (อินโฟกราฟิก) มาจากค�ำว่า
Information (ข้อมูล) + Graphic (รูป) เป็นการน�ำเอาเน้ือหาหรือข้อมูลต่างๆ ท่ีเยอะและเข้าใจยาก
มาท�ำให้เข้าใจง่ายขึ้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นการส่ือออกมาในรูปแบบของรูปภาพเพ่ือให้ดูน่าสนใจและเข้าใจ
งา่ ยมากกวา่ เดมิ สาเหตทุ เี่ ราไมน่ ำ� เสนอขอ้ มลู เปน็ ขอ้ ความยาวๆ และนำ� เสนอเปน็ รปู สวยงามแทน เพราะวา่
สมองคนเราสามารถประมวลผลภาพ และแยกแยะความต่างของสีได้เร็วกวา่ ตัวหนังสอื ถึง 60,000 เทา่
ฉะน้ัน การที่เราใช้เวลาอ่านข้อมูลที่เยอะเป็นต้ังๆ ใช้เวลาหลายชั่วโมงในการท�ำความเข้าใจ กับการอ่าน
ข้อมูลภาพที่ผ่านการกล่ันกรองมาแล้ว อาจะใช้เวลาเพียงไม่ถึง 10 นาที ในการท�ำความเข้าใจท้ังหมด
นอกจากน้ันการท�ำ Infographic ยังท�ำให้ข้อมูลที่ดูน่าเบื่อกลายเป็นน่าสนใจขึ้นมาได้ ท�ำให้นิยม
น�ำมาใช้ใน Social Network เช่น Facebook หรือ Twitter หรือแม้กระท่ัง Youtube โดยการน�ำสื่อ
Infographic มาทำ� ในรปู แบบสอื่ มลั ตมิ เิ ดยี เปน็ คลปิ วดี โี อสนั้ ๆ ซงึ่ ถอื ไดว้ า่ การใชส้ อื่ Infographic มาชว่ ย
ในการนำ� เสนอข้อมูลนั้น เป็นสิ่งที่ตอบสนองความต้องการในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี

INFOGRAPHIC ท�ำอย่างไร?

การออกแบบอินโฟกราฟกิ ขึ้นมาสักอันไม่ใช่เรือ่ งง่าย ต้องมขี ัน้ ตอนส�ำคญั ๆ ดงั น้ี

Research เตรียมขอ้ มลู

เราจะทำ� Infographic เลา่ เรอื่ งอะไรบา้ ง? เตรยี มหาขอ้ มลู จาก
หลายๆ ที่ เพื่อรวมแล้วมาสรุปให้ได้ใจความส�ำคัญ น�ำข้อมูล
จากหลายๆ แหง่ มาตรวจสอบวา่ เหมอื นกนั หรอื ไม่ ขนั้ ตอนนใ้ี ชเ้ วลา
เยอะพอสมควร เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ ความที่ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น กระชบั และ
ได้ใจความส�ำคญั

86 วิทยาจารย์

Plan วางแผนการน�ำเสนอขอ้ มูล

เราอยากให้ Infographic ของเราสื่อ “ข้อความ” อะไรออกไป? จะน�ำเสนอผ่าน Flow / Narrative แบบไหน?
ข้ันตอนน้ีส�ำคัญมาก เช่น เราจะขายสินค้าออนไลน์ แล้วต้องมีวิธีการเลือกซ้ือและช�ำระเงิน ต้องท�ำออกมา
ให้เข้าใจล�ำดบั ข้ันตอนในการท�ำงาน เพ่อื ลูกค้าจะได้เข้าใจได้อยา่ งรวดเร็ว ซงึ่ อาจจะต้องใช้ความช่วยเหลอื จาก
คนทำ� งานด้าน Creative เขา้ มาช่วยครบั

Story สร้างเร่ืองราว

ข้อความท่ีต้องการส่ือออกมา มีความกระชับแค่ไหน?
ขั้นตอนนเ้ี ปน็ เวลาของการสร้างเร่อื งราว ย่อยข้อมูลต่างๆ
ทไ่ี ดม้ าจากขอ้ มลู หลายหนา้ กระดาษ ใหเ้ หลอื ไมก่ บี่ รรทดั
ต้องสั้นและกระชับท่ีสุด นอกจากนี้ต้องเริ่มคิดถึง
การออกแบบดีไซน์ การจัดระเบียบ การจัดสรรพื้นที่
การแบ่งหมวดหมู่ข้อมูล การวางเลย์เอ้าท์ เพื่อให้
ข้อมูลไหลลื่นและดงู ่ายขนึ้

วทิ ยาจารย์ 87

Design ลงมือออกแบบ

ข้ันตอนนี้เปน็ ขั้นตอนทงี่ ่ายทีส่ ดุ นั่นกค็ อื การลงมอื ทำ� เลอื กภาพทนี่ ่าสนใจ สีทีโ่ ดดเดน่ ใช้ความคิดสรา้ งสรรค์
ให้เต็มที่ เป็นหนา้ ท่ขี อง Designer ในการท�ำใหไ้ อเดยี ออกมาเปน็ กราฟิกของจรงิ ปกตแิ ลว้ จะนิยมใช้โปรแกรม
Adobe Illustrator กัน เพราะสามารถท�ำงานออกมาเปน็ Vector น�ำไปใชใ้ นเวบ็ กไ็ ด้ และสามารถพมิ พ์ออกมา
ในขนาดใหญไ่ ด้ ไฟล์ภาพไม่ถกู ลดขนาด

Feedback ปรับปรุงให้ดขี ึ้น

การโปรโมท เพราะแตล่ ะขนั้ ตอนของการท�ำ
Infographicไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ยแถมยงั ใชเ้ วลานาน
จึงต้องโปรโมทให้คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไป
เพอ่ื สรา้ งการรบั รไู้ ปยงั กลมุ่ เปา้ หมาย หลงั จาก
ออกแบบ Infographic เสร็จแล้ว น�ำไปให้
กลุ่มเป้าหมายดู เพื่อให้สะท้อนกลับมาว่า
มสี ว่ นไหนทค่ี วรปรบั ปรงุ บา้ งเพอ่ื ใหก้ ารออกแบบ
Infographic ออกมาใหต้ รงใจกลมุ่ เปา้ หมาย
มากที่สุด
ดงั น้นั ส่ือ Infographic นิยมใช้กนั อยา่ งแพรห่ ลายในปัจจบุ ัน เช่น ข่าวเด่น ประเดน็ รอ้ น ให้ความรู้ บอกเลา่
ตำ� นานหรอื ววิ ฒั นาการ อธบิ ายผลสำ� รวจ งานวจิ ยั หรอื โปรโมทสนิ คา้ และบรกิ าร เปน็ ตน้ ดงั นนั้ การจะทำ� Infographic
ให้ปัง!!! และสามารถให้ผู้อ่านได้รับความรู้ให้ได้เร็วท่ีสุดในเน้ือหานั้นๆ ต้องผ่านกรบวนการมากพอสมควร แต่เมื่อ
ไดผ้ ลลพั ธ์ออกมาแล้วเชื่อว่าจะทำ� ใหส้ ือ่ Infographic ของทา่ น เป็นทน่ี า่ สนใจของผอู้ า่ น และน่าตดิ ตาม รอชมเน้อื หา
ของสอื่ ใหม่ๆ ทีจ่ ะผลติ ออกมาอย่างใจจดใจจ่อกนั เลยทเี ดยี ว

88 วิทยาจารย์

ดรรชนีกีฬา

เมฆา

8 ท่าโยคะลดพุง

สำ� หรบั สาววัย 30 ขน้ึ ไป
พุงหาย แถมช่วยคลายปวดหลัง!

ยา่ งเขา้ เลข 3 เมอ่ื ไหร่ เปน็ ใครกต็ อ้ งรสู้ กึ หวนั่ ใจ
ทุกทีใช่ไหมครับ ไหนจะพุงที่เริ่มย้อย จากที่
ไม่เคยมีมาก่อน ไหนจะอาการปวดหลัง
ทถ่ี ามหาแทบทกุ วนั เรยี กไดว้ า่ เขา้ เลขสามแลว้
อาการนู่นนี่ตามมาไม่มีหยุด ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ี
ก็เป็นเพราะวัยท่ีเปล่ียนไป ปัจจัยหลายๆ อย่าง
ของร่างกายเราก็เปลี่ยนตามไปด้วย ไม่ว่าจะ
เปน็ ระบบการทำ� งานของรา่ งกายทเี่ รมิ่ เสอ่ื มลง
หรือระบบเผาผลาญที่เร่ิมท�ำงานไม่เป็นปกติ
ซ่ึงเม่ือเป็นแบบน้ีแน่นอนว่า  เราต้องหาทาง
ฟื้นฟูร่างกายค่ะ และสิ่งหนึ่งที่ช่วยได้ดีเลยก็
คือ โยคะ นี่ล่ะ!

วิทยาจารย์ 89

ทา่ ที่ 1

บอกเลยว่า สาววัยเลข 3 ต้องหันมา นอนควำ�่ วางฝา่ มอื ไวด้ า้ นหนา้  ยกลำ� ตวั ชว่ งบน
โยคะใหม้ ากขน้ึ ครบั เพราะโยคะไมเ่ พยี ง ขนึ้ จากพนื้ หนา้ มองตรง เปดิ อก เปดิ ไหล่ ยดื หลงั
ช่วยแก้อาการปวดของเราได้เท่านั้น ค้างไว้ 30 วินาท ี ทำ� ซ�้ำ 3 คร้งั
แต่โยคะยังช่วยดีท็อกซ์ แถมยังช่วย
ลดพุงได้อีกด้วย! ซ่ึง 8 ท่าโยคะนี้ ทา่ ท่ี 3
เป็นท่าง่ายๆ ที่จะช่วยสลายพุงของ
สาววัยเลข 3 ให้หายไป นอนหงาย ยกเข่าขึ้นแนบอก
มอื ทงั้ สองขา้ งกอดเขา่ ไว้ คา้ งไว้
ท่าที่ 2 3ลมหายใจเขา้ ออกทำ� ซำ้� 5ครงั้

นั่งหลังตรง ขาทั้งสองข้างเหยียดไป
ดา้ นหน้า จากนั้นกม้ ตวั ลง มอื ทั้งสอง
ขา้ งจบั ทปี่ ลายเทา้ คา้ งไว้ 3 ลมหายใจ
เข้าออก ทำ� ซ้�ำ 5 ครัง้

90 วทิ ยาจารย์

ท่าที่ 4 ท่าท่ี 5

1. นอนคว่ำ� วางฝ่ามอื แนบข้างลำ� ตวั งอข้อศอก
2. เหยยี ดแขนขน้ึ ตรง ดนั ลำ� ตวั และขา แหงนหนา้ ขนึ้
เปิดอก เปิดไหล่ ยืดหลัง ค้างไว้ 3 ลมหายใจ
เข้าออก แลว้ จึงกลบั สทู่ ่าเรมิ่ ตน้ ท�ำซ�้ำ 5 ครัง้

ท่าท่ี 6 นัง่ หลังตรง ขาขวาพับเขา้ หาตวั
ข า ซ ้ า ย เ ห ยี ย ด ไ ป ด ้ า น ห ลั ง
นัง่ หลังตรง ขาขวาพบั เขา้ หาตัว ขาซา้ ยเหยยี ด ยกปลายเทา้ ซา้ ยขน้ึ มอื ทง้ั สองขา้ ง
ตรงไปดา้ นหลงั  ยกปลายเทา้ ซา้ ยขน้ึ มอื ทง้ั สอง วาดไปดา้ นหลงั จบั ปลายเทา้ ซา้ ยไว้
ขา้ งวางแนบพน้ื ไปดา้ นหลงั บรเิ วณตน้ ขา คา้ งไว้ ค้างไว้ 3 ลมหายใจเข้าออก
3 ลมหายใจเขา้ ออก ทำ� ซ�ำ้ 5 ครัง้ แล้วสลบั ข้าง ทำ� ซำ้� 5 ครง้ั แลว้ สลบั ข้าง

วิทยาจารย์ 91

ทา่ ที่ 7

นง่ั ขดั สมาธิ โดยใหป้ ลายเทา้ ทง้ั สองขา้ ง
ประกบกันไว้ที่ด้านหน้า จากนั้นโน้มตัว
มาดา้ นหนา้ ใชม้ อื จบั ปลายเทา้ ทงั้ สองขา้ งไว้
คา้ งไว้ 3 ลมหายใจเขา้ ออก ท�ำซ�้ำ 5 ครัง้
 

ท่าท่ี 8

ยืนตรง เหยียดแขนข้ึนด้านบน ประนมมือท้ังสองข้าง
จากนั้นค่อยๆ เอนล�ำตัวไปด้านหลัง เงยหน้า มองไป
ดา้ นบน คา้ งไว้ 3 ลมหายใจเข้าออก ท�ำซ�้ำ 5 ครัง้

92 วทิ ยาจารย์

พิชิตการออม

Money Man

ออมอยา่ งไรใหเ้ งินงอกเงย : ออมในกองทุนให้งอกเงย

ฉบับมนษุ ย์เงนิ เดอื น

ลงทนุ RMF
ภาค 1

เราได้ทราบกันไปแล้วนะครับว่าการลงทุนใน LTF ท�ำอย่างไรกันบ้าง ในวันนี้ เรามาทราบ
กองทุนลดหย่อนภาษีอีกประเภทหน่ึงที่นิยมลงทุนกันมาก และยังอาจเป็นกองทุนท่ีจะช่วย
ให้เรามีเงินใช้อย่างสุขสบายในชีวิตหลังเกษียณได้เลยทีเดียว น่ันคือ กองทุน RMF

วิทยาจารย์ 93

RMFยอ่ มาจากRetirement Mutural Fund
หรือท่ีเรียกกันว่า “กองทนุ รวมเพอ่ื การเลยี้ งชพี ”
เปน็ กองทนุ รวมประเภทหนง่ึ ทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การออมเงนิ
ระยะยาวไวส้ ำ� หรบั ใชจ้ า่ ยยามเกษยี ณอายุซง่ึ คลา้ ยๆกบั
กองทนุ สำ� รองเลย้ี งชพี ของเอกชน (Provident Fund)
หรอื กองทนุ บำ� เหนจ็ บำ� นาญของสว่ นราชการ(กบข.)
ถ้าสงสัยว่ากองทุนไหนเป็น กองทุน RMF บ้าง
สังเกตไม่ยากเลยครับ ดูช่ือย่อของกองทุน ก็จะมี
“RMF” อยู่ด้วย หรือถ้าดูชื่อที่เป็นภาษาไทย
ก็จะมีค�ำว่า “เพ่ือการเลี้ยงชีพ” อยู่ต่อท้ายด้วย
เช่น กองทุนเปิดกรุงศรียุโรปอิควิตี้เพ่ือการเลยี้ งชพี
(KFEURORMF) กองทนุ เปดิ ซไี อเอม็ บี - พรนิ ซิเพิล
พร็อพเพอร์ตี้ อินคัมเพื่อการเล้ียงชีพ (CIMB-
PRINCIPAL) กองทนุ เปดิ ภทั ร หนุ้ ทนุ เพอื่ การเลย้ี งชพี
(PHATRAEQRMF)กองทนุ เปดิ กรงุ ไทยหนุ้ ไฮดวิ เิ ดนด์
เพื่อการเลี้ยงชีพ (KT - HiDiv RMF) กองทุนเปิด
กรุงศรีหุ้นปันผลเพื่อการเลี้ยงชีพ (KFDIVRMF)
กองทุนเปิดธนชาตตราสารหน้ีเพื่อการเล้ียงชีพ

94 วิทยาจารย์

(T - NFRMF) กองทนุ เปดิ ทสิ โก้ ตราสารหนเ้ี พอื่ การเลยี้ งชพี โดยจะน�ำเงินลงทุนใหม่มาลงทุนเพิ่มในกองทุนเดิม และ/
ชนิดหน่วยลงทุน B (TFIRMF - B) กองทุนเปิดทหารไทย หรือ จะลงทุนในกองทนุ ใหมก่ ไ็ ด้ และ/หรือ จะลงทนุ เพ่ิมทัง้
ธนไพศาลเพ่ือการเล้ียงชีพ (TMBBFRMF) กองทุนเปิด ในกองทนุ เดมิ และกองทนุ ใหม่ กไ็ ด้ เพยี งแตต่ อ้ งเปน็ กองทนุ
ธนชาตพนั ธบัตรเพอ่ื การเล้ยี งชีพ (T - NGRMF) เปน็ ตน้ RMF

กองทุน RMF เป็นกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพที่ผู้ซื้อ เงอ่ื นไขทสี่ อง ตอ้ งลงทนุ และถอื หนว่ ยลงทนุ จนกวา่
สามารถน�ำมาลดหย่อนภาษีได้ เหมาะกับคนทุกกลุ่มท่ี ผู้ลงทุนจะอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และมีการลงทุนมาแล้ว
ต้องการออมเงินเพ่อื วัยเกษยี ณ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ คนที่ยัง ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปบี รบิ รู ณ์ นบั ตง้ั แตว่ นั ทซี่ อื้ หนว่ ยลงทนุ ครงั้ แรก
ไมม่ สี วสั ดกิ ารออมเงนิ เพอ่ื วยั เกษยี ณมารองรบั หรอื มสี วสั ดกิ าร (การนับ 5 ปีให้นับเฉพาะปีท่ีมีการซื้อหน่วยลงทุนเท่านั้น
ดังกล่าว แต่ยังมีก�ำลังออมมากกว่าน้ัน ถือเป็นเคร่ืองมือ กล่าวคือ ต้องมีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และลงทุนมาแล้ว
การลงทนุ ทม่ี งุ่ เนน้ สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารลงทนุ ในระยะยาว จงึ ไดม้ ี 5 ปบี รบิ รู ณ์ นบั แตว่ นั ทซ่ี อื้ หนว่ ยลงทนุ ครงั้ แรก กจ็ ะสามารถ
การกำ� หนดสทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษไี วเ้ พอ่ื เปน็ แรงจงู ใจพรอ้ มกบั ขายกองทนุ RMF ทซ่ี ือ้ ไวไ้ ด้ และสามารถขายได้ท้งั จ�ำนวน
ก�ำหนดเง่ือนไขไว้ด้วย ท้ังน้ี หากผู้ลงทุนไม่สามารถปฏิบัติ แต่ทั้งน้ีการนับระยะเวลาในการลงทุน จะนับเฉพาะปีที่มี
ตามเงื่อนไขได้ ก็จะต้องเสียสิทฺธิในการได้รับยกเว้นภาษี การลงทนุ เทา่ นน้ั ถา้ ไมล่ งทนุ จะไมน่ บั วา่ มอี ายกุ ารลงทนุ ในปี
ส�ำหรับเงินทนี่ ำ� ไปลงทนุ ยิง่ ไปกวา่ นนั้ ในสว่ นของเงินภาษี นั้นๆ ) เช่น นายดำ� อายุ 50 ปี ในปี 2561 ซ้อื กองทุนต่อเนอ่ื ง
ท่ไี ด้รับยกเวน้ ไปแลว้ ในระยะเวลา 5 ปียอ้ นหลงั ก็จะตอ้ งมี ทุกปีตง้ั แต่ ปี 2561 2562 2563 2564 2565 2566 กรณนี ี้
การชำ� ระคนื ใหก้ บั ทางการอกี ดว้ ยดงั นนั้ หากจะลงทนุ ในRMF นายด�ำจะถือกองทุนครบ 5 ปีในปี 2566 แต่ถ้านายด�ำซื้อ
ควรอ่านหนังสือชี้ชวน และศึกษาคู่มือภาษีอย่างรอบคอบ กองทนุ RMF แบบไมต่ อ่ เนอ่ื งทกุ ปี โดยซอื้ กองทนุ ในปี 2561
ซง่ึ เอกสารดงั กลา่ วสามารถขอไดจ้ ากบรษิ ทั จดั การทเี่ สนอขาย 2563 2564 2566 2568 2569 กรณีเช่นน้ี นายด�ำจะถือ
RMF กองทุนครบ 5 ปี ในปี 2569 ไม่ใช่ปี 2566 เพราะปีทไี่ ม่ได้ซอ้ื
ก่อนท่ีจะเร่ิมลงทุนในกองทุน RMF เราต้องทราบ จะไม่น�ำมานับรวมด้วย ซ่ึงตรงนี้จะขายบางส่วนก็ได้หรือ
เงอิื่ นไขท่ีสำ� คญั ของกองทนุ นกี้ ่อน ซึง่ เงอ่ื นไขในการลงทุน ขายทั้งจ�ำนวนก็ได้ (จะต่างจากกองทุน LTF ที่จะขายได้
RMF ทสี่ �ำคัญมี 4 ข้อ คือ เฉพาะสว่ นทีถ่ ือครองครบตามจ�ำนวนปเี ท่าน้นั )
เงอ่ื นไขแรกเมอ่ื เรม่ิ ลงทนุ แลว้ ตอ้ งลงทนุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เง่ือนไขที่สาม ต้องลงทุนข้ันต่�ำไม่น้อยกว่า 3%
ทุกปี โดยซ้ือหน่วยลงทุนกองทุน RMF ไม่น้อยกว่าปีละ ของเงินได้ในแต่ละปี หรือ 5,000 บาท แล้วแต่จ�ำนวนใด
1 ครงั้ และตอ้ งไมร่ ะงบั การซอ้ื หนว่ ยลงทนุ เปน็ เวลาเกนิ กวา่ จะตำ่� กวา่ กลา่ วคอื ถา้ เงนิ ลงทนุ 3% ของเงนิ ไดท้ งั้ ปนี อ้ ยกวา่
1 ปี ตดิ ตอ่ กนั โดยสามารถเวน้ ชว่ งการซอ้ื หนว่ ยลงทนุ RMF 5,000 บาท ก็จะต้องลงทุนข้ันต่�ำ 3% ของเงินได้ท้ังปี
ไดส้ งู สดุ ไมเ่ กนิ 1 ปี (ยกเวน้ ปใี ดทไ่ี มม่ รี ายไดก้ ไ็ มล่ งทนุ กไ็ ด)้ แต่ถ้าเงินลงทุน 3% ของเงินได้ท้ังปีมากกว่า 5,000 บาท
กล่าวคือ สามารถซื้อกองทุนปีเว้นปีได้ เช่น นายแดง เริ่ม ก็ต้องลงทุนขั้นต่�ำ 5,000 บาท เช่น นายแดงมีเงินได้ท้ังปี
ลงทนุ กอง RMF ในปี 2561 ในปี 2562 นายแดงไมซ่ อ้ื กองทนุ จำ� นวน 150,000 บาท เงนิ ลงทนุ ในกองทนุ ของนายแดง 3%
RMF ก็ได้ แตใ่ นปี 2563 นายแดงตอ้ งซอ้ื กองทนุ RMF ทั้งน้ี คือ 3% x 150,000 บาท เท่ากบั 4,500 บาท ซ่งึ น้อยกวา่
ผลู้ งทนุ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งลงทนุ ในกองทนุ เดมิ ทกุ ปี สามารถลงทนุ 5,000 บาท ดังน้ันจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่นายแดงจะเร่ิมลงทุน
ในกองทุน RMF คือ 4,500 บาท หรือนายด�ำมีเงินได้

วิทยาจารย์ 95

ทัง้ ปี 300,000 บาท เงินลงทนุ ในกองข้นั ตำ่� ไม่นอ้ ยกวา่ 3% ท่ไี ม่ถกู ตอ้ ง เพราะทีถ่ ูกตอ้ งคอื กฎหมายให้ค�ำนวณเพียงว่า
คือ 3% x 300,000 บาท เท่ากับ 9,000 บาท ซึ่งเกินกว่า กองทนุ ส�ำรองเลี้ยงชพี และ RMF แต่ละรายการตอ้ งไม่เกนิ
5,000 บาท ดังนน้ั นายด�ำ สามารถซื้อกองทุน RMF ขน้ั ต�่ำ 15% ของเงนิ ไดท้ ต่ี อ้ งเสยี ภาษี และทง้ั 2 รายการรวมกนั แลว้
เรม่ิ ที่ 5,000 บาท การลงทนุ ขน้ั ตำ่� ไมน่ อ้ ยกวา่ 5,000 บาท นี้ ตอ้ งไมเ่ กนิ 500,000 บาท ไมใ่ ชร่ วมกนั แลว้ ตอ้ งไมเ่ กนิ 15%
ไม่ได้หมายความว่าต้องซ้ือกองทุน RMF คร้ังเดียวทีละ ของเงนิ ได้ทต่ี ้องเสยี ภาษแี บบที่เขา้ ใจผิดกันแต่อย่างใด
5,000 บาท แตห่ มายถงึ ซอื้ รวมกนั ทงั้ ปไี มต่ ำ่� กวา่ 5,000 บาท เง่ือนไขท้ังส่ีข้อดังกล่าวผู้ลงทุนในกองทุน RMF
เง่ือนไขที่สี่ เงินลงทุนขั้นสูงสุดไม่เกิน 15% ของ ตอ้ งอยใู่ นเงอื่ นไขทง้ั สขี่ อ้ ไมใ่ ชข่ อ้ ใดขอ้ หนง่ึ ตอ้ งรกั ษาเงอื่ นไข
เงินได้ท้ังปีท่ีต้องเสียภาษี เม่ือรวมกับเงินสะสมหมวด ครบทกุ ขอ้ ซง่ึ หากผดิ เงอื่ นไขแลว้ ตอ้ งคนื เงนิ ภาษที ไี่ ดร้ บั ยกเวน้
ลดหยอ่ นภาษอี น่ื ๆ ทม่ี เี พอื่ เกษยี ณ เชน่ กองทนุ สำ� รองเลยี้ งชพี และนำ� กำ� ไรทไ่ี ดจ้ ากการขายคนื หนว่ ยลงทนุ ไปคำ� นวณรวม
ของเอกชน(ProvidentFund)หรอื กองทนุ บำ� เหนจ็ บำ� นาญของ เพื่อเสียภาษีด้วย ดังนั้นหากตั้งใจจะลงทุนใน RMF แล้ว
สว่ นราชการ(กบข.)หรอื ประกนั ชวี ติ แบบบำ� นาญแลว้ ตอ้ งไมเ่ กนิ ควรจะลงทุนอย่างต่อเน่ือง และครบเง่ือนไขการลงทุน
500,000 บาทต่อปี เช่น นายขาวเป็นข้าราชการ มีเงินได้ ทุกข้อนะครับ ซึ่งจะท�ำให้เราได้ประโยชน์ท้ังได้เงินคืนภาษี
ทงั้ ปี 600,000 บาท จา่ ยเงนิ สะสมเขา้ กองทนุ บำ� เหนจ็ บำ� นาญ และมเี งนิ ไวใ้ ชย้ ามทเ่ี ราเกษยี ณอายกุ ารทำ� งาน เงอื่ นไขสข่ี อ้
(กบข.) ปลี ะ 80,000 บาท ดงั นนั้ นายขาวจะซอื้ กองทนุ RMF ทกี่ ลา่ วมาบางคนอาจจะมองวา่ ยงุ่ ยากและซบั ซอ้ นจะลงทนุ
ไดไ้ มเ่ กนิ 15% X 600,000 บาท เทา่ กบั 90,000 บาท เนอื่ งจาก กก็ ลวั ผดิ เงอ่ื นไขการลงทนุ ผเู้ ขยี นแนะนำ� ลงทนุ แบบงา่ ยๆเลย
เงนิ ทนี่ ายขาวจา่ ยสะสมเขา้ กองทนุ กบข. รวมกบั เงนิ กองทนุ คอื ลงทนุ ในกองทนุ RMF ตอ่ เน่อื งไปทกุ ปี ปลี ะ 5,000 บาท
RMFรวมกนั แลว้ เทา่ กบั 170,000บาทซงึ่ ไมเ่ กนิ 500,000บาท เม่ือเราอยากขาย เราก็โทรไปสอบถามกับเจ้าหน้าที่ท่ีดูแล
ขณะเดียวกันนายเขียวท�ำงานบริษัทเอกชนมีเงินได้ทั้งปี กองทุนเราซื้อไว้ว่าเราสามารถขายกองทุนได้หรือไม่
จำ� นวน2,000,000บาทจา่ ยเงนิ สะสมเขา้ กองทนุ สำ� รองเลย้ี งชพี ขายแลว้ ผิดเง่อื นไขไหม เท่าน้กี ไ็ มย่ ากแลว้ ครบั แตเ่ บ้ืองต้น
ของเอกชนทั้งปี 280,000 บาท ฐานในการค�ำนวณเพ่อื ซอื้ เราก็ตรวจสอบไดด้ ว้ ยตัวเองตามเงือ่ นไขทั้งส่ขี ้อไดเ้ ลยครับ
กองทนุ RMF ของนายเขยี วคอื ไมเ่ กนิ 15% X 2,000,000 บาท ในคร้ังหน้าเราะจะมารู้จักกันให้มากข้ึนนะครับว่า
เท่ากบั 300,000 บาท ซึ่งเมื่อรวมกับกองทนุ สำ� รองเล้ียงชี้พ กองทุน RMF ลงทุนในสินทรัพย์อะไรบ้าง ซ่ึงจะท�ำให้เรา
ของเอกชนจะเทา่ กบั 580,000 บาท เกนิ จำ� นวน 500,000 บาท เขา้ ใจกองทนุ RMF มากข้ึนและเลือกประเภทกองทนุ RMF
ดงั นนั้ นายเขยี วจงึ ซอ้ื กองทนุ RMFไดอ้ กี ไมเ่ กนิ 220,000บาท ท่เี หมาะสมกับลกั ษณะของเราไดค้ รับ
ในเงื่อนไขท่ีสี่นี้ หลายคนเข้าใจผิดว่าการค�ำนวณ
เพดานสิทธิ์ลดหย่อนของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพและ RMF
เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 15% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี
เช่น ถา้ มเี งนิ ได้ 2,000,000 บาท และเพดานสทิ ธิ์ 15% ของ
เงนิ ไดแ้ ปลวา่ สทิ ธลิ ดหยอ่ นกองทนุ สำ� รองเลยี้ งชพี และ RMF
รวมกนั แลว้ จะตอ้ งไมเ่ กนิ 300,000 บาท ซง่ึ เปน็ ความเขา้ ใจ

96 วทิ ยาจารย์

เร่อื งส้ัน

สวุ ฒั น์ชัย ศรบี วั

ขอทานในอนุสาวรยี ช์ ัยสมรภูมิ

เสียงประกาศแว่วมาตามสายบอกว่าหมดเวลาสอบแล้ว ผมวางปากกา ดินสอ เก็บอุปกรณ์
ทุกอย่างยัดใส่กระเป๋าเส้ือ ยืนข้ึนเดินไปส่งกระดาษค�ำถามและกระดาษค�ำตอบแก่ท่านกรรมการ
ท่ีนั่งอยู่ตรงมุมหน้าห้องทันที แล้วเดินไปเก็บกระเป๋าเดินออกจากห้องไป

ผคู้ นพลงุ่ พลา่ นทเี ดยี ว เพราะมาจากทวั่ สารทศิ ของ จากเมอื งนนทบรุ ถี งึ อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู กิ ไ็ กลโขอยู่
ประเทศไทยเพ่ือมาประชันความรู้ท่ีมีอยู่เตรียมมาเพ่ือสอบ แถมชว่ งนร้ี ถกต็ ดิ อกี ตา่ งหาก ยนื รอรถเมลส์ าย 57 เพอื่ ไปยงั
เขา้ รบั ราชการในการสอบแขง่ ขนั เพอ่ื บรรจเุ ปน็ ครผู ชู้ ว่ ย และ จดุ หมาย คอื อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู ิ ขณะยนื รอรถกย็ งั ไมม่ วี แ่ี วว
ท่ีส�ำคัญเพ่ือจะได้สวมใส่ชุดสีกากี อันสง่างามในการเป็น มาสักที ผมเกิดอาการคอแห้ง หันรีหันขวาง แล้วตัดสินใจ
ขา้ ราชการแผ่นดนิ เดนิ ไปซอ้ื โอเลยี้ งราคายสี่ บิ บาทเดนิ กลบั มาหยดุ ทเ่ี ดมิ ยนื ดดู กนิ
ผมเดินออกมาทางประตูหน้า เดินฝ่าฝูงชน รถรา น้�ำโอเลี้ยงเพื่อดับกระหาย พลันรถสาย 57 ก็มา พร้อมกับ
บนทอ้ งถนนขวกั ไขว่กลมุ่ ควนั พษิ ลอยอบอวลอยใู่ นชนั้ บรรยากาศ โอเล้ียงหมดพอดี ผมรีบเดินไปโยนแก้วน้�ำโอเลี้ยงลงในถัง
เดินเลี้ยวซ้ายเดินขึ้นสะพานลอยเพ่ือข้ามไปอีกฝั่งหนึ่ง ขยะ รีบวงิ่ มาขน้ึ รถ ทว่าหาได้ขึน้ ดั่งใจไม่ผคู้ นยืนออแน่นอยู่
มาหยุดยนื อออยกู่ ับฝงู ชนเชน่ คนอื่นๆ อกี มากมาย ทต่ี า่ งรอ หน้าประตูทางข้ึน ผมจึงตัดสินใจถอยให้คนอ่ืนขึ้นไปก่อน
รถ ขสมก.เช่นเดียวกัน และมีอีกหลายคนที่อาศัยแท็กซ่ี แลว้ ผมจงึ ขนึ้ ทหี ลงั พอดกี บั รถคนั หลงั บบี แตรไ่ ล่แลว้ รถสาย57
เพอื่ ความรวดเร็วยอมเสยี เงินค่าแท็กซีท่ ่ีแพงกวา่ รถ ขสมก. กอ็ อกจากท่นี ่ันทันที
หลายเทา่ ตวั ผมไมน่ งั่ หรอก แทก็ ซแี่ พงและเพอ่ื ประหยดั เงนิ
ในกระเป๋าเงินจะไดอ้ ยู่ในกระเป๋าของผมนานข้ึน

วทิ ยาจารย์ 97

เป็นไปอย่างที่คาดหมายเอาไว้ ที่นั่งเต็ม คนแน่น กเ็ ขา้ มาในกรงุ เทพฯแลว้ ใหเ้ วลาตวั เองอยใู่ นรา้ นสกั หนง่ึ ชว่ั โมง
คนั รถ ผมยนื เกาะราวอยา่ งเหนียวแน่น พรอ้ มกบั กระเป๋ารถ แล้วค่อยออกมารอรถท่ีฝั่งตรงข้ามรอรถเมล์สาย 133
เป็นผู้หญิงเดินมาเก็บค่าโดยสาร ผมเอามือล้วงเงินเหรียญ เพ่อื กลับหอพักทจี่ ังหวดั สมุทรปราการ
จ�ำนวนแปดบาทในกระเป๋ากางเกงอย่างทุลักทุเล ฉับพลัน เลอื กหาหนงั สอื และยนื อา่ นนติ ยสารตา่ งๆคนในรา้ น
ตวั ผมและคนบนรถเซถลาไปดา้ นหนา้ เมอื่ รถเบรกกะทนั หนั มีไม่มากนักผมเดินไปยังหมวดหมู่ของหนังสือต่างๆ แล้ว
พรอ้ มเสยี งสบถดา่ ของสารถที ไี่ ดย้ นิ กนั ทว่ั ทงั้ รถ สารถสี บถดา่ มาหยดุ ทหี่ มวดหมเู่ รอื่ งสนั้ เปดิ อา่ นแตล่ ะเลม่ ดว้ ยความใคร่
มอเตอร์ไซด์ท่ีวิ่งปาดหน้าอย่างหัวเสีย ผมยิ้มให้กระเป๋ารถ สนใจ เพราะหนังสือพวกน้ีเป็นหนังสือ ที่ผมชอบอ่านมาก
แลว้ ยื่นเงินจ�ำนวนแปดบาทให้กับเขาไป เพราะมนั เปน็ เสนห่ ข์ องหนงั สอื พวกน้ี ถา้ อา่ นมนั จะไดค้ วามรู้
รถวง่ิ ไปตามถนนเรอื่ ยๆ พรอ้ มๆ กบั การผลดั เปลย่ี น เรื่องสังคม แต่ละเร่ืองมักจะสะท้อนสังคมในรูปแบบต่างๆ
มคี นขน้ึ ๆ ลงๆ อยตู่ ลอดเวลาตามเสยี งกดกรง่ิ พอทน่ี งั่ วา่ งลง ทีเ่ ราอาจจะพบเจอ หรือไม่ใครใ่ สใ่ จมนั นัก ทวา่ นักเขียนเขา
ก็มีการนั่งต่อกันเป็นลูกโซ่ ส่วนมากผู้ชาย จะเป็นฝ่ายยืน หยบิ ยกมนั ขนึ้ มาเขยี นสะทอ้ นใหเ้ หน็ ความเปน็ จรงิ ของสงั คม
เพราะกฎของสังคม เป็นเช่นน้ัน และเพื่อแสดงความเป็น ที่มันเป็นอยู่ ในหมวดของเร่ืองสั้นมีวัยรุ่นคนหนึ่งน่ังอ่าน
สภุ าพบุรุษ ทวา่ กม็ ีผู้ชายอกี จ�ำนวนหน่ึง ไม่ยอมเสียสละให้ หนงั สอื รวมเรอ่ื งสน้ั นา่ จะเปน็ ของ อศั ศริ ิ ธรรมโชติ ทไ่ี ดร้ างวลั
กับผู้หญิงสายตาของแต่ละคนจึงจ้องจับไปยังที่ผู้ชาย ซไี รต์ รวมเร่อื งส้ันชุดขนุ ทองเจ้าจะกลับเมอ่ื ฟ้าสาง และเขา
แล้งน�ำ้ ใจเหล่าน้ัน น่าจะน่ังอ่านเร่ืองนี้อยู่ด้วยใจจดจ่อท่ีผมรู้เพราะผมลอบ
รถว่ิงมาเรอ่ื ยๆ เข้าเขตกรุงเทพฯ แล้วคนทยอยลง ชำ� เลอื งสายตามองดอู ยู่เหมอื นเขาไมเ่ หน็ ผมเขายงั คงกม้ หนา้
จนเร่ิมบางตาแล้วทว่าท่ีน่ังก็ยังไม่ว่างลง ผมยืนด้วยความ อา่ นอย่างแนว่ นิ่ง
เมอ่ื ยลา้ พรอ้ มกบั รถจอดมหี ญงิ ชราเดนิ เงนิ่ ๆ ขน้ึ มา แลว้ ไมม่ ี “ขอโทษนะครบั ขอทางหนอ่ ย” เขาเบย่ี งตวั หลบให้
ที่นั่ง ไม่มีชายคนใดยอมสละให้ที่นั่งแก่หญิงชรา แต่แล้วมี ทางแกผ่ ม ในชน้ั วางหนงั สอื มหี นงั สอื ออกใหมเ่ ยอะเหมอื นกนั
ผู้หญิงวัยท�ำงานสวมใส่อาภรณ์สวยงามลุกยืนแล้วสะกิด ทงั้ ของนกั เขยี นรนุ่ เกา่ ไปจนถงึ ของนกั เขยี นรนุ่ ใหม่ผมเปดิ ดหู นงั สอื
หญงิ ชราลงนง่ั แทนทที่ นั ทีผมนกึ ชน่ื ชมในความมนี ำ้� ใจของเธอ ของแต่ละนกั เขียนดว้ ยความสนใจ
เปน็ ทสี่ ดุ รถวง่ิ มาถงึ สถานรี ถไฟแถวเตาปนู คนเรม่ิ ทยอยลง ผมงว่ นอยกู่ บั หนงั สอื บนชน้ั วางผมหยบิ อา่ นแตล่ ะเลม่
หลายคน ทีน้ที ่นี ั่งว่างลง ผมจงึ ทรุดนั่งลงบนเบาะท่ีว่างข้าง ไปเร่ือย และแล้วผมได้หนังสือรวมเร่ืองสั้น ของนักเขียน
ผู้หญิงคนหน่ึง หล่อนน่ังอ่านหนังสือ ผมลอบช�ำเลืองมอง ท่ีผมชื่นชอบ หยิบมันติดมือไปด้วย แล้วเดินไปยังชั้นวาง
หลอ่ น แลว้ หลอ่ นกม็ องผมเชน่ กนั ผคู้ นเรม่ิ บางตาทน่ี ง่ั วา่ งลง นิตยสารรายสัปดาห์ที่วางอยู่ หยิบแต่ละเล่มขึ้นมาอ่าน
เยอะพรอ้ มๆ กับคนขนึ้ อยู่เป็นระยะๆ นานระยะหนงึ่ จงึ ตดั สนิ ใจหยบิ นติ ยสารเลม่ หนง่ึ ตดิ มอื มาดว้ ย
แลว้ รถกว็ ง่ิ มาถงึ อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู เิ วลาประมาณ เดนิ มายงั เคานเ์ ตอรเ์ พอ่ื จา่ ยเงนิ แลว้ เดนิ ออกจากรา้ น ผมยมิ้
สโี่ มงยส่ี บิ นาที ผมยงั ไมอ่ ยากกลบั ถงึ ทพี่ กั เรว็ นกั พอลงจากรถ ทีไ่ ดห้ นงั สือรวมเร่อื งส้ันของนกั เขียนท่ีชน่ื ชอบและนติ ยสาร
ผมเดนิ ฝา่ ผคู้ นมากหนา้ หลายตา ไปยงั รา้ นหนงั สอื ดอกหญา้ รายสัปดาหท์ ี่ผมอ่านอยู่เปน็ ประจำ� ตลอดหลายปที ่ีผ่านมา
กะว่าจะหาหนังสือกลับไปอ่านในห้องสักหน่อยไหนๆ

98 วทิ ยาจารย์


Click to View FlipBook Version