The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมทางสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panpilai_suth, 2022-01-27 03:12:31

นวัตกรรมทางสุขภาพ

นวัตกรรมทางสุขภาพ

ผลงานสงิ่ ประดิษฐ์
นวัตกรรมทางสุขภาพ

(Innovation for Health )

นักศกึ ษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาสาธารณสขุ ชมุ ชน
มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี

คํานาํ

หนังสือเล่มน้ีจัดทําขึ้นเพ่ือให้นักศึกษาสาขาสาธารณสุขชุมชน ช้ันปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่
2/2558 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการสร้าง
และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ ในบริบทสุขภาพแบบพอเพียง ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจแบบ
พอเพียง การนําผลงานนวัตกรรมทางสุขภาพไปใช้แก้ไขปัญหาในชุมชน ตลอดจนนักศึกษา
สามารถเขียนผลงานวิชาการด้านนวัตกรรมเพือ่ เผยแพร่ผลงานนวัตกรรมทางสขุ ภาพได้

จัดทําโดย
อาจารยร์ ชั นี จูมจี
อาจารยท์ ปี่ รึกษาวิชานวตั กรรมทางสขุ ภาพ

สารบญั หน้า
1
เร่อื ง 2
1. นวตั กรรมประเภท สง่ เสรมิ และป้องกันสขุ ภาพ 7
13
1.1 มหศั จรรยเ์ ทยี นเจลไลย่ ุง 18
1.2 ดึง ดัน ดี ชีวี มสี ขุ 22
1.3 เก้าอ้ไี มไ้ ผ่นวดเทา้ ผอ่ นคลายสบายตวั ด้วยวิถีธรรมชาติ
1.4 มือบบี ไมจ้ บั ปูดาํ 26
1.5 ขยบั แขนขากบั ถุงทรายมหสั จรรย์ 27
32
2. นวัตกรรมประเภท รกั ษาสุขภาพ 38
2.1 หมอนสมุนไพรเพ่อื สขุ ภาพ 43
2.2 ลูกยางสะกิดจุด หมอนขดิ สะกิดใจ 48
2.3 สเปรยห์ อมบรรเทาอาการปวด 53
2.4 ลกู ประคบนอ้ ยคลายปวด
2.5 มหัศจรรยถ์ ว่ั เขยี วพาเดนิ & ถวั่ เขยี วน้อยอโรมา 59
2.6 Amazing Bag คลายปวดเมือ่ ย 60
64
3. นวัตกรรมประเภท ฟน้ื ฟสู ุขภาพ 71
3.1 เกา้ อ้ีลดชา 74
3.2 มหศั จรรยแ์ ทน่ ไม้ใช้ยืดเอ็น 78
3.3 Biking for us “มหัศจรรยป์ ่ันเพือ่ เรา 84
3.4 Orthorapy เก้าอ้ีมหศั จรรย์ 91
3.5 มหศั จรรย์อุปกรณส์ วมใส่ถงุ เทา้ 101
3.6 ท่ีนอนหลอด อโรม่าลดแผลกดทับ 108
3.7 เกา้ อม้ี หัศจรรยเ์ พอ่ื สขุ ภาพ 117
3.8 ชีวิตดี๊ดี เม่อื มีถงุ ยาง
3.9 วงลอ้ บริหารหวั ไหล่ติด
3.10 พรมหนิ นวดเท้า

 

นวตั กรรมประเภท

นวตั กรรมประเภท ส่งเสริมและปอ้ งกันสุขภาพ

สง่ เสรมิ และป้องกันสขุ ภาพ

1. มหศั จรรย์เทยี นเจลไล่ยุง
2. ดึง ดนั ดี ชีวี มสี ุข
3. เกา้ อี้ไมไ้ ผน่ วดเท้าผอ่ นคลายสบายตัวดว้ ยวถิ ีธรรมชาติ
4. มอื บบี ไมจ้ บั ปดู า
5. ขยบั แขนขากับถงุ ทรายมหศั จรรย์

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 1

นวัตกรรมเร่อื ง

มหัศจรรย์เทียนเจลไล่ยุง

หลักการและเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันยุงลายเป็นพาหะนาโรคร้ายแรงอย่างไข้เลือดออกและไข้เลือดออกทวีความรุนแรง

มากขึ้น จากที่ได้ลงพ้ืนที่ศึกษาภายในหอพักปัทมา ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี พบวา่ ผู้พักอาศัยภายใน

หอพักประสบปัญหาจากการรบกวนของยุง ซึ่งมีความเสี่ยงอาจทาให้เกิดโรคไข้เลือดออกที่กาลังระบาดเป็น
จานวนมากในช่วงน้ี (ข้อมูลปี2558 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกท่ัวประเทศจานวน 102,762 ราย จากสานักงาน

ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค) ดังน้ันเราคิดค้นนวัตกรรมมหัศจรรย์เทียนเจลไล่ยุง เพ่ือไล่ยุงจากที่พักอาศัย

ส่วนวตั ถดุ บิ นัน้ หาไดใ้ นทอ้ งถ่ินไดแ้ ก่ สะระแหน่ มะกรูด ตะไครห้ อม

ดังน้ันนักศึกษาจึงเล็งเห็นความสาคัญ และมีความสนใจท่ีจะจัดทานวตั กรรม “มหัศจรรย์เทยี นเจลไล่
ยงุ ” ที่ทาจากสมุนไพรพ้ืนบ้าน เพื่อทดลองศึกษากับประชาชนที่อาศัยอยู่ในหอพักปัทมา ทั้งน้ีเป็นการส่งเสริม
สุขภาพและปอ้ งกนั โรคทเ่ี กิดจากยุง
วตั ถุประสงค์

1. เพือ่ ไลย่ งุ ในทพ่ี กั อาศัย
2. เพือ่ สง่ เสริมการใช้พชื สมนุ ไพรในท้องถิน่ ให้เกดิ ประโยชน์
ข้นั ตอนการทานวตั กรรม
1. ศกึ ษารปู แบบ วธิ กี ารทา “เทยี นเจลหอมไล่ยงุ ”

2. ทดลองทาและใชเ้ พือ่ ทดสอบประสทิ ธิภาพ
3. ลงพน้ื ท่ีสารวจและเก็บข้อมูลแบบสอบถามประชาชนท่ีอาศัยภายในหอพกั ปัทมาก่อนใช้ “เทียนเจลหอม

ไล่ยงุ ” ท่ีหอพกั ปัทมา ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี

4. ลงพื้นท่ีทดลองการใช้ “เทียนเจลหอมไล่ยุง” กับประชาชนที่อาศัยภายในหอพักปัทมา ตาบลในเมือง

อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 2

5. ลงพ้ืนท่ีติดตามผลหลังการใช้ “เทียนเจลหอมไล่ยุง” และเก็บข้อมูลเพื่อนามาเปรียบเทียบก่อนใช้และ

หลงั ใช้ ท่ีหอพักปทั มา ตาบลในเมือง อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี

ข้ันตอนการจดั เก็บ

1. “เทียนเจลไล่ยงุ ” ท่ยี ังมิได้มกี ารใช้งาน สามารถจัดเกบ็ ไดน้ าน 1 ปีโดยยังคงคณุ ภาพ

2. ควรเก็บในท่ีแหง้ และพ้นแสงและความรอ้ น

3. ควรเกบ็ ใหพ้ ้นจากมือเดก็

ขั้นตอนการใช้งาน

นา “เทียนเจลหอมไล่ยุง” จุดและนาไปวางไว้ตามจุดท่ีเราต้องการ และพ้ืนท่ีท่ีมีอากาศถ่ายเท
สะดวก ในจุดที่มีพื้นท่ีปิด เช่น ห้องที่ติดเคร่ืองปรับอากาศควรจุดในปริมาณน้อยๆและจุดไม่เกิน 30-60 นาที
ที่สาคัญไม่ควรวางเทียนไว้ใต้เคร่ืองปรับอากาศ เพราะจะทาให้กล่ินของเทียนเจลหอมไม่ได้ประสิทธิภาพ ใน
กรณีท่ีไมใ่ ช่ห้องปรับอากาศ สามารถวางเทียนไว้ที่ต้นลม เพื่อให้กลิ่นหอมของเทียนพัดไปหาผู้ใช้ได้อย่างเต็มท่ี
ปรมิ าณเทียนเจลหอมทเ่ี หมาะสมกับพ้ืนท่ี เทียน 1 แก้ว สามารถใชไ้ ดไ้ ม่เกนิ 20 -25 ตารางเมตร ระยะเวลาใน
การใช้งานในแต่ละครั้ง ประมาณ 30-60 นาที
การทานวัตกรรมเทยี นเจลหอมไล่ยงุ

อปุ กรณ์ในการทาเทียนเจลหอมไลย่ งุ

1.แป้นเทยี น 2.หม้อ 3.แกว้ 4.สารสกัดมะกรูด 5.สารสกดั สาระแหน่

6.สารสกัดตะไครห้ อม 7.ช้อนตวง 8.แป้นเทียนและด้าย 9. ผงสี 10.เจลเทยี น

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 3

ข้ันตอนและวธิ กี ารทาเทียนเจลหอมไลย่ ุง
1.ต้มเจล 200 กรัม ให้ละลายโดยใช้ไฟออ่ นๆ (รอใหก้ อ้ นเจลละลาย)

ภาพที่ 1 การตม้ เจล
2.ใสส่ ารสกดั จากสะระแหน่ (5 ml) มะกรดู (5 ml) ,ตะไคร้หอม(16 ml)

ภาพท่ี 1 สารสกัดจากตะไคร้หอม ภาพที่ 3 สารสกดั จากสะระแหน่

ภาพท่ี 4 สารสกัดจากมะกรดู 4
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

3.คนใหส้ ว่ นผสมเป็นเนอื้ เดียวกนั และตักฟองออก (เพอ่ื ไม่ให้เจลมีฟองอากาศ)

ภาพท่ี 6 การผสมสว่ นผสม
4.เทลงภาชนะท่เี ตรยี มใว้

ภาพท่ี 7 เทลงภาชนะ ภาพที่ 8 รูปแบบเทียนเจลไล่ย

ผลการทดลอง
จากการทดลองใช้มหัศจรรย์เทียนเจลไล่ยุงกับกลุ่มผู้ทดลองพบว่า ผู้ทดลองมีความพึงพอใจในกลิ่น

ของเทียนเจลไล่ยุง อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 มคี วามพงึ พอใจในประสทิ ธิภาพในการไลย่ ุง อยใู่ น
ระดับมากร้อยละ 100 พึงพอใจต่อสีสันของเทียนเจลหอมไล่ยุง อยู่นะดับปานกลางร้อยละ 60 ในส่วนความ
เหมาะสมของผลิตภัณฑ์ อยู่ที่ระดับมากคิดเป็นร้อยละ80 และความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก
ร้อยละ 80 หลังจากจบโครงการกลุ่มผู้สารวจจะยังให้คาแนะนาและตดิ ตามผลอยู่เรื่อยๆ เพ่ือพัฒนานวัตกรรม
ต่อไปให้มีประสทิ ธภิ าพดียง่ิ ขึ้น

สรปุ ผลการทดลอง
จากการทดลองใช้นวัตกรรมเทียนเจลไล่ยุงกับกลุ่มผู้ทดลองพบว่าสามารถป้องกันยุงได้จริงโดยไม่ใช้

สารเคมีและมกี ลน่ิ หอมจากสมุนไพร จากมะกรูด ตะไคร้หอม สะระแหน่ นอกจากมฤี ทธ์ไิ ลย่ งุ แลว้ ยังมกี ล่ินหอม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 5

เย็นช่วยให้ผ่อนคลายท้ังยังเป็นพืชสมุนไพรที่หาได้ในท้องถ่ิน ข้อจากัดในการใช้งานนวัตกรรมชิ้นนี้ คือ
ระยะเวลาในการใชง้ านในแตล่ ะครงั้ ไมเ่ กิน 30-60 นาที ซ่งึ เปน็ ระยะเวลาท่คี อ่ นขา้ งส้ัน

อา้ งอิง

สารานกุ รมเสรี. 2557. (ออนไลน)์ .แหล่งท่ีมา :https://th.wikipedia.org/wiki.18 เมษายน 2559
สานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ(สสส.)2557.(ออนไลน)์
แหล่งท่ีมา:http://medplant.mahidol.ac.th.18 เมษายน 2559
สานักงานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.).2557.(ออนไลน)์ .แหลง่ ทีม่ า:www.rspg.or.th,
www.learners.in.th .18 เมษายน 25

สมาชิกในกลุ่ม Section 01

1.นางสาวศศธิ ร สาระรตั น์ รหัสนกั ศกึ ษา 56125020233
2.นางสาวสกุ ญั ญา ทพิ โอสถ รหสั นักศึกษา 56125020237
3.นางสาวสุภาภรณ์ บญุ จาเนียร รหัสนักศึกษา 56125020240

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 6

นวัตกรรมเรื่อง

ดงึ ดัน ดี ชวี ี มสี ุข

หลักการและเหตผุ ล
จากการลงพื้นที่สารวจกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสอบถามปัญหาสุขภาพชุมชน ที่บ้านดุมใหญ่ ตาบลดุมใหญ่

อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าประชาชนร้อยละ 80 มีปัญหาการปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ ซึ่งมี
สาเหตุมาจากการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น เกษตรกรรม ค้าขาย จักรสาน กิจการโรงสีข้าว หรือแม้กระท่ัง
กจิ กรรมการดาเนินชีวติ ต่างๆ ของชาวบ้านด้วย สิ่งต่างๆเหล่าน้ีทาใหเ้ กิดปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนอ้ื บริเวณ
แขน ขา หัวไหล่ หลงั ฝ่าเท้า รวมถึงหน้าท้อง ซึง่ สง่ ผลกระทบตอ่ การดารงชีวติ ประจาวันของกล่มุ ตัวอย่างทที่ า
การสารวจ

ดังน้ัน นักศึกษาช้ันปีท่ี 3 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จึงได้คิดค้น
นวตั กรรมสุขภาพ “ดึงดันดี ชีวี มสี ขุ ” ข้ึน เพื่อลดปญั หาอาการปวดเม่อื ยกลา้ มเนือ้ ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง
วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือลดอาการปวดเม่อื ยกลา้ มเน้อื สว่ นตา่ งๆและลดการบาดเจ็บจากการทางาน
2. เพอ่ื เพิ่มสมรรถภาพ ความยืดหยนุ่ และความทนทานของกล้ามเน้ือ
วธิ ดี าเนินการ : สารวจปญั หาในหมู่บ้านดมุ ใหญ่ ตาบลดุมใหญ่ อาเภอมว่ งสามสิบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี จากนัน้
จดั ทานวตั กรรมแลว้ ทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอยา่ งและทาการประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม
ผลการดาเนนิ งาน

จากการดาเนินการทดลองใช้นวัตกรรม ซ่ึงนวัตกรรม “ดึง ดัน ดี ชีวีมีสุข”เป็นนวัตกรรมที่มีวัสดุ
อุปกรณ์ในการช่วยลดอาการปวดเมื่อยต่างๆ เช่น เครื่องบริหารเท้า ท่ีช่วยผ่อนคลายอาการปวดเม่ือยบริเวณ
ฝา่ เทา้ หรือ ยางยืดเพ่มิ แรงต้านในการดงึ ที่สามารถปรบั ระดับการยดื เหยียดของกล้ามเนอื้ ได้ 3 ระดับ เป็นต้น
และพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอาการปวดเม่ือกล้ามเน้ือจากการประกอบอาชีพลดลง การบาดเจ็บหรือการฉีกขาด
ของกล้ามเน้ือจากการทางานลดลง มีสมรรถภาพทางกาย เช่น ความยืดหยุ่นของร่างกาย ความทนทานของ

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 7

กล้ามเน้ือเพมิ่ มากข้นึ เนื่องจากมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ บริหารร่างกายในตอนเช้า ในเวลาว่าง หรือก่อนการ
ทางาน ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีวิถีการดารงชีวิตประจาวันท่ีดีข้ึน สามารถเคล่ือนไหวร่างกายได้อย่างคล่องตัว
วอ่ งไว และกระฉบั กระเฉง ทางานตา่ งๆได้นานข้นึ ไม่เหน่อื ยงา่ ย มีประสทิ ธิภาพในการทางานเพ่มิ มากขนึ้

ดึง ดนั ดี ชวี ี มีสขุ

หลกั การและเหตุผล
จากการลงพ้ืนท่ีสารวจกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสอบถามปัญหาสุขภาพชุมชน ท่ีบ้านดุมใหญ่ ตาบลดุมใหญ่

อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าประชาชนร้อยละ 80 มีปัญหาการปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ ซึ่งมี
สาเหตุมาจากการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น เกษตรกรรม ค้าขาย จักรสาน กิจการโรงสีข้าว หรือแม้กระท่ัง
กิจกรรมการดาเนินชีวิตต่างๆ ของชาวบา้ นด้วย สงิ่ ตา่ งๆเหล่านี้ทาใหเ้ กิดปัญหาการปวดเมอ่ื ยกล้ามเนือ้ บริเวณ
แขน ขา หัวไหล่ หลัง ฝ่าเทา้ รวมถึงหนา้ ท้อง ซึ่งสง่ ผลกระทบต่อการดารงชีวิตประจาวันของกลมุ่ ตัวอย่างทท่ี า
การสารวจ

ดังน้ัน นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จึงได้คิดค้น
นวัตกรรมสุขภาพ “ดงึ ดันดี ชีวี มีสุข” ขน้ึ เพอ่ื ลดปญั หาอาการปวดเมอ่ื ยกล้ามเนือ้ ของกลุม่ ตวั อยา่ ง
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ลดอาการปวดเม่อื ยกลา้ มเนอื้ สว่ นต่างๆและลดการบาดเจ็บจากการทางาน
2. เพอ่ื เพ่ิมสมรรถภาพ ความยดื หยนุ่ และความทนทานของกล้ามเนือ้
ข้ันตอนการสร้างนวัตกรรม
1.หาซ้ือและจัดหาวัสด/ุ อปุ กรณ์ ในการทาใหค้ รบถ้วน
2.วัดขนาดไมแ้ ละตัดให้ไดต้ ามต้องการ

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 8

2.1 ไม้เบญจพรรณ 30 เซนติเมตร จานวน 12 ทอ่ น
2.2 ไม้อัดขนาด 60x30 เซนตเิ มตร จานวน 1 แผ่น
2.3 ไมอ้ ัดขนาด 30x30 เซนติเมตร จานวน 5 แผ่น
2.4 ไมเ้ บญจพรรณ 10 เซนติเมตร จานวน 3 ทอ่ น
2.5 ไมเ้ บญจพรรณ 60 เซนตเิ มตร จานวน 2 ทอ่ น
หมายเหตุ : ขนาดของอุปกรณ์ ยึดตามมาตรฐานเครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า (สานักงานกองทุน

สนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.))
3.นาไม้ท่ีตัดเป็นท่อนและไม้อัดที่ตัดเป็นแผ่นประกอบเข้าด้วยกันโดยยึดมาตรฐานตามเครื่องวัดความอ่อนตัว
ดา้ นหน้า (สานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.))

4.เมื่อประกอบเป็นเครือ่ งท่ีรูปร่างตามแบบมาตรฐานแล้ว นาเคร่ืองบริหารเท้าสาเร็จรูปมาประกอบเข้าโดยยึด
ด้วยตะปูเกลยี วใหแ้ น่น บรเิ วณทจ่ี ะใช้สาหรับวางเท้า

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 9

5.นาไม้เบญจพรรณที่ตัดไว้ ขนาด 30 เซนติเมตร ยึดไว้ด้านหลังเครื่อง เป็นเสาหลัก แล้วนาไม้ที่ตัดเป็นท่อน
ขนาด 10 เซนตเิ มตร 3 ทอ่ นมายดึ ตดิ กบั เสาหลัก เพอื่ ทาเปน็ ท่ีปรับระดับ 3 ระดบั
6.จากนั้นขดั ไม้ดว้ ยกระดาษทรายใหเ้ รยี บ และตดิ สเกลวัดความออ่ นตัวด้านซ้ายมือ เปน็ อันเสรจ็ สมบรู ณ์

ผลการศึกษา
จากผลการทดลองใช้นวตั กรรม ดึงดนั ดี ชีวีมีสุข พบว่า กลมุ่ ตวั อย่างท่ีได้ทดลองใช้มคี วามพงึ พอใจต่อ

การใชน้ วัตกรรม เนอื่ งจากนวัตกรรมมคี วามปลอดภัยต่อการใช้งาน คดิ เป็นร้อยละ 100 มขี ัน้ ตอนการใช้งานที่
สะดวก ไม่ซับซ้อน คิดเป็นร้อยละ 100 ช่วยผ่อนคลายความตึงของกล้ามเน้ือที่เกิดจากการทางานหนักหรือ
การทากิจกรรมต่างๆคิดเป็นร้อยละ 80 ลดอาการปวดเม่ือยตามหลังและเอวคิดเป็นร้อยละ 80 ลดแรงตึง
บริเวณกล้ามเน้ือหัวไหล่ แขน และขาคิดเป็นร้อยละ 80 ใช้ในชีวิตประจาวันได้คิดเป็นร้อยละ 80 เหมาะ
สาหรับทุกเพศทุกวัยคิดเป็นร้อยละ 80 เหมาะกับคนที่ไม่มีเวลาในการออกกาลังกายคิดเป็นร้อยละ 80 และมี
รูปแบบเหมาะสมต่อการใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 80 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวัดระดับความพึง
พอใจ

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 10

สรุปผลการดาเนินงาน
จากการดาเนินการทดลองใช้นวัตกรรม ซ่ึงนวัตกรรม “ดึง ดัน ดี ชีวีมีสุข”เป็นนวัตกรรมที่มีวัสดุ

อุปกรณ์ในการช่วยลดอาการปวดเม่ือยต่างๆ เช่น เคร่ืองบริหารเท้า ท่ีช่วยผ่อนคลายอาการปวดเม่ือยบริเวณ
ฝ่าเทา้ หรือ ยางยืดเพิ่มแรงต้านในการดึง ทส่ี ามารถปรบั ระดับการยดื เหยียดของกล้ามเนื้อได้ 3 ระดบั เป็นต้น
และพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอาการปวดเม่ือกล้ามเนื้อจากการประกอบอาชีพลดลง การบาดเจ็บหรือการฉีกขาด
ของกล้ามเนื้อจากการทางานลดลง มีสมรรถภาพทางกาย เช่น ความยืดหยุ่นของร่างกาย ความทนทานของ
กล้ามเน้ือเพ่ิมมากข้ึน เน่ืองจากมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ บริหารร่างกายในเวลาเช้า เวลาว่าง หรือก่อนการ
ทางาน ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีวิถีการดารงชีวิตประจาวันท่ีดีขึ้น สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องตัว
ว่องไว และกระฉบั กระเฉง ทางานตา่ งๆไดน้ านขึ้น ไมเ่ หนอื่ ยงา่ ย มีประสิทธิภาพในการทางานเพ่มิ มากขึ้น
ประโยชนแ์ ละการนาไปใช้

1.บริหารกล้ามเนื้อส่วนแขน ขา หลงั หนา้ ทอ้ ง และฝา่ เท้า
2.เพ่ือชว่ ยลดความตึงตัวของกลา้ มเนื้อ
3.ทาให้การเคลอ่ื นไหวร่างกายเปน็ ไปอย่างคล่องตัวมีความยดื หยุน่
4.ป้องกันและลดอนั ตรายท่อี าจเกิดขน้ึ ได้ จากการฉีกขาดของกลา้ มเนื้อในขณะ ออกกาลังกาย
5.ลดอาการเจ็บปวดของข้อตอ่ เอน็ และกลา้ มเนื้อ
6.ใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ สาหรับคนท่ไี ม่มเี วลาออกกาลงั กาย
เอกสารอ้างอิง
เคร่ืองวัดความอ่อนตวั . (ม.ป.ป.). เข้าถงึ ข้อมูลได้จาก
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/hp/procedure.php?id=15 (วนั ที่ค้นข้อมลู 10 กมุ ภาพันธ์
2559).

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 11

สมาชกิ ในกลุ่ม (Section.01)

1. นางสาวกวีณา วรรณภมู ิ 56125020102
2. นางสาวเตือนใจ แสงแดง 56125020113
3. นางสาวนงคเ์ ยาว์ ขันบุดศรี 56125020115
4. นางสาวณัฐณชิ า สมสนทิ 56125020118
5. นางสาวพชั รนิ ทร์ โทนผุย 56125020122
6. นางสาวรัชดาภรณ์ คู่แก้ว 56125020127
7. นางสาววาสนา โยธโิ น 56125020131
8. นางสาววิสดุ า สเี งิน 56125020132
9. นางสาวสลลิ ทิพย์ ชินภาชน์ 56125020136
10. นางสาวอนชุ ตรา รปู แก้ว 56125020143

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 12

นวัตกรรมเรอ่ื ง

เกา้ อีไ้ มไ้ ผน่ วดเทา้ ผ่อนคลายสบายตวั ด้วยวิถธี รรมชาติ

หลักการและเหตุผล
จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุในชุมชนร้อยละ 90 มีปัญหาเก่ียวกับการปวดเมื่อยตามร่างกาย เหน็บ

ชาตามมือตามเท้า เน่ืองจากโรคเรื้อรัง ซ่ึงสาเหตุมาจากท่าทางการทางาน ระยะเวลาในการทางาน
ความเครยี ด ขาดการออกกาลงั กาย เป็นต้น ซงึ่ สาเหตดุ งั กลา่ วล้วนแต่ส่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของผ้สู ูงอายแุ ละ
เป็นปัจจัยซึ่งจะทาให้เกิดอาการเจ็บปวดเรื้อรังดังน้ันสมาชิกในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหาและความสาคัญในการ
แก้ไขปัญหาเพอ่ื ลดอาการปวดเม่อื ยตามร่างกายของบุคลากรในโรงเรยี น โดยการออกแบบนวตั กรรมเกา้ อี้ไมไ้ ผ่
นวดเท้าผอ่ นคลายสบายตัวด้วยวิถีธรรมชาติ โดยใชไ้ ม้ไผ่มาเป็นบล็อกนวดเทา้ หมอนรองนวดใช้ในการรับแรง
กดบริเวณสะโพก ซ่งึ นวตั กรรมดังกล่าวสามารถลดอาการปวดเมอื่ ยตามร่างกายได้
วตั ถุประสงค์
1. บรรเทาอาการปวดเมอื่ ย หรือปวดตามข้อต่างๆ
2. นาของใชท้ ม่ี ีอยูม่ าใช้ให้เกดิ ประโยชน์
3. เปน็ ทางเลือกของสขุ ภาพสาหรบั ผูท้ มี่ ีอาการปวดเมื่อย
วิธีดาเนินการ : สารวจปัญหาในชุมชนสรรพสิทธิ 10 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีจากนั้น
จดั ทานวัตกรรมแล้วทดลองใชผ้ สู้ ูงอายแุ ละทาการประเมินผลการใช้นวัตกรรม
ผลการดาเนนิ งาน
จากการสารวจผู้ตอบแบบสอบถาม 20 คน ได้ผลการสารวจออกมา ดังน้ี ร้อยละ 85 มีความพึงพอใจใน
นวัตกรรมชิ้นน้ี โดยร้อยละ 60 ประชาชนท่ีมีอาการเม่ือยล้า บริเวณเท้า หลังทดลองใช้รู้สึกผ่อนคลาย อยู่ใน
ระดบั มาก และรอ้ ยละ 50 มีความสนใจต่อนวตั กรรม อย่ใู นระดับมาก

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 13

เก้าอไี้ มไ้ ผ่นวดเทา้ ผอ่ นคลายสบายตัวด้วยวิถีธรรมชาติ

หลกั การและเหตผุ ล

จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุในชุมชนร้อยละ 90 มีปัญหาเก่ียวกับการปวดเม่ือยตามร่างกาย เหน็บ

ชาตามมือตามเท้า เน่ืองจากโรคเร้ือรัง ซ่ึงสาเหตุมาจากท่าทางการทางาน ระยะเวลาในการทางาน

ความเครียด ขาดการออกกาลังกาย เป็นต้น ซ่ึงสาเหตุดังกล่าวล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ

และเป็นปัจจัยซ่ึงจะทาให้เกิดอาการเจ็บปวดเรื้อรัง ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหาและความสาคัญใน

การแก้ไขปญั หา เพือ่ ลดอาการปวดเม่อื ยตามรา่ งกายของบคุ ลากรในโรงเรยี น โดยการออกแบบนวตั กรรมเกา้ อ้ี

ไม้ไผ่นวดเท้าผ่อนคลายสบายตัวด้วยวิถีธรรมชาติ ซ่ึงนวัตกรรมดังกล่าวสามารถลดอาการปวดเม่ือยตาม

ร่างกายได้

วัตถุประสงค์

1. บรรเทาอาการปวดเมื่อย หรือปวดตามขอ้ ตา่ งๆ

2. นาของใชท้ ่มี ีอยู่มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์

3. เป็นทางเลอื กของสขุ ภาพสาหรบั ผทู้ ี่มอี าการปวดเม่ือย

ข้นั ตอนการทานวัตกรรม

1. ศึกษาปัญหา

2. ประชุมปรึกษาหารือหรือคิดคน้ นวตั กรรมมาแก้ไขปญั หาที่เกดิ ขึน้

3. ออกแบบนวัตกรรมให้เหมาะสมกบั ปญั หาทพ่ี บ

4. ประชุมและแบ่งหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ

5. เตรยี มอปุ กรณ์ในการทานวตั กรรม

1.นวัตกรรมไม้นวดเทา้

อปุ กรณ์

1. ไม้ไผ่ 2. เลกเกอร์

3. เหลก็ 4. แผน่ ไม้

5. กระดาษทราย 6. นอ็ ต

7. เลอ่ื ย 8. แปรงทาสี

9. ทินเนอร์

ภาพท่ี 1 อุปกรณน์ วัตกรรมไม้นวดเท้า

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 14

ขน้ั ตอนการทา
1. ตัดไม้ไผ่ที่แห้งแล้วเป็นท่อน ๆ ขนาด 40 ซม. 5 ท่อน แล้วนาไม้ไผ่ท่ีได้มาขัดด้วยกระดาษทรายให้ผิวเรียบ
จากนัน้ นาไมไ่ ผ่ทไี่ ด้มาเคลือบดว้ ยทเี่ ลกเกอร์ท่ีผสมแล้ว(เลกเกอร์กับทนิ เนอร์ ในอัตรา 4:1)
2. นาเหลก็ ขนาด 35 × 50 ซม. มาเช่อื มเขา้ กับนอ็ ตเบอร์ 17 เพ่อื มาทาเป็นแกนกลางของไม้ไผ่
3. ตดั ไมข้ นาดกวา้ ง 35 ซม. ยาว 50 ซม. ไปจารู 10 รูซงึ่ ห่าง ซม. เท่า ๆ กนั แลว้ นามาขดั ด้วยกระดาทรายให้
ผิวเรยี บ จากนนั้ นาไมท้ ่ีได้มาเคลอื บดว้ ยที่เลกเกอร์ที่ผสมแลว้ (เลกเกอร์กบั ทินเนอร์ ในอัตรา 4:1)
4. เอาเหลก็ สอดเขา้ ในไม้ไผ่ท่ีเตรียมไว้ แล้วนาไปประกอบกบั ไม้เจาะรทู ่เี ตรยี มไว้ แลว้ หมุนน็อตใหแ้ น่น

2. นวตั กรรมหมอนนวด
อปุ กรณ์
1. ดนิ เหนยี ว 2.ผา้ เหลอื ใช้
3.จกั รเยบ็ ผ้า 4.น่นุ
5.กรรไกร 6.ดินสอ
7. เข็ม ด้าย 8. ไมท้ ี่ใชย้ ดั นนุ่

ภาพที่ 2 อปุ กรณ์นวัตกรรมหมอน

ขัน้ ตอนการทา นวด

1. นาดินเหนยี วที่ได้มาป้นั เปน็ วงกลมตามขนาดทต่ี ้องการ ทิ้งไว้ใหแ้ ห้ง แล้วนาไปเผา 8 ชว่ั โมง

2. นาผ้าที่ใชไ้ ปวัดขนาด 35× 35 ซม.แลว้ นาไปเยบ็ ตามรูปแบบทีว่ างไว้

3. ยัดน่นุ และดินท่เี ผาแลว้ เขา้ ไปในผา้ ท่เี ยบ็ ไวจ้ นเต็ม แลว้ เยบ็ ปดิ ให้เรยี บรอ้ ย

ผลการดาเนินงาน

จากการทดลองใช้นวัตกรรม เก้าอ้ีนวดเท้าผ่อยคลายสบายตัว ดว้ ยวิถีธรรมชาติ พบว่าประชาชนรู้สึก

ผอ่ นคลายจากการใช้นวัตกรรม มีความพงึ พอใจ สนใจ ทจ่ี ะนานวัตกรรมไปใช้อย่างต่อเน่ือง จากแบบประเมิน

พบวา่ ร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในนวัตกรรมช้นิ นี้ ร้อยละ 60 ประชาชนท่ีมอี าการเม่ือยล้า บรเิ วณเท้า หลัง

ทดลองใช้รสู้ กึ ผ่อนคลาย อยูใ่ นระดับมาก และรอ้ ยละ 50 มีความสนใจต่อนวัตกรรม อยใู่ นระดับมาก

สรปุ ผลการดาเนินงาน

ประชาชนทีท่ ดลองใชง้ าน นวตั กรรม เก้าอ้ีนวดเทา้ ผ่อนคลายสบายตวั ดว้ ยวถิ ีธรรมชาติ ต่างมี

ความรสู้ กึ วา่ อาการปวดเมื่อยลดน้อยลง และเป็นการผ่อนคลายความตึงเครยี ดของกล้ามเนอ้ื จงึ อยากใช้

นวัตกรรมชิ้นนีต้ ่อ เนื่องดว้ ยวัสดุท่ีนามาใชห้ าไดใ้ นชมุ ชน และสามารถซ่อมบารุงได้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 15

ภาพที่ 3 การทดลองใชน้ วัตกรรมของประชาชนในชุมชนสรรพสทิ ธิ 10 ไดใ้ ช้นวัตกรรม โดยทาตามวธิ ีการ คือ
ใหน้ ่งั ทเ่ี กา้ อี้ ใช้เท้าถูสลับไปมา และยนื ย่า บนไม้นวดเทา้ อยู่กับท่ี
เอกสารอา้ งอิง
สืบค้นเมือ่ 10 มีนาคม 2558, จาก http://civil.eng.cmu.ac.th/research/in/2554/1018
สืบคน้ เมือ่ 10 มนี าคม 2558, จาก http://civil.eng.cmu.ac.th/research/in/2552/380
สืบค้นเมอ่ื 10 มนี าคม 2558, จาก http://archmis.arch.nu.ac.th/arch_ajnu/journal/ article_file/

article_2015_96.pdf
สืบคน้ เมอื่ 10 มนี าคม 2558, จาก http://www.lib.buu.ac.th/buuir/research/node/278
สืบคน้ เมอ่ื 10 มีนาคม 2558, จาก http://203.158.6.11:8080/sutir/bitstream/123456789/3602/2/

Fulltext.pdf
สบื ค้นเม่ือ 10 มนี าคม 2558, จาก http://anamaitakook.igetweb.com/ index.php?mo=10&art=

41982147
สืบค้นเมอื่ 10 มีนาคม 2558, จาก http://dpc9.info/upload/pdf55/researchs/research160355.pdf

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 16

1. นางสาวกาญจนา สมาชกิ ในกลุ่ม รหัส 56125020402
2. นางสาวจนิ ตนา จนั ทร์สะอาด รหัส 56125020405
3. นางสาวเจนจริ า ภิญโญ รหัส 56125020408
4. นาวสาวดารารตั น์ อโรคา รหสั 56125020412
5. นางสาวปวณี า สงิ หส์ าย รหสั 56125020419
6. นางสาววนิษฐา คายา รหสั 56125020429
7. นางสาวสายพิน แกน่ จันทร์ รหสั 56125020436
8. นางสาวสวุ มิ ล โคตรสุโพธิ์ รหสั 56125020441
9. นางสาวเหมือนฝนั รปู สอาด รหัส 56125020442
10. นายกฤตภาส พรรณา รหัส 56125020446
11. นางสาวดารารตั น์ ราหลุ ะ รหสั 56125020457
สายสงิ ห์

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 17

นวตั กรรมเรือ่ ง

มอื บีบไมจ้ บั ปดู า

หลกั การและเหตผุ ล
จากที่ได้ลงชุมชน บ้านหว้าน ตาบลน้าคา อาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ พบปัญหาในกลุ่มแม่บ้าน

ที่ประกอบอาชีพเย็บถุงมือหนัง เนื่องจากถุงมือหนังนั้นมีความหนา แข็ง จึงยากที่ต้องออกแรงมาก ทาให้มี
อาการ ปวดมือ ชา บรเิ วณน้ิวมือ จึงได้คิดนวัตกรรมนขี้ ึ้นมา เพ่อื ช่วยในการออกกาลังกายบริหารข้อมือและ
มือด้วย ช่วยพัฒนากล้ามเนื้อ กระดูกข้อต่อ และระบบโครงสร้างของมือและข้อมือให้แข็งแรง ช่วยกระตุ้น
และพฒั นาการรับรู้สั่งงานของเซลล์ประสาทท่ีทาหน้าที่เกย่ี วข้องกบั การเคลื่อนไหวร่างกายกระตุ้นใหเ้ กดิ การ
ไหลเวียนเลือดไปเลยี้ งเซลลก์ ล้ามเนื้อ และเซลล์ประสาทมากขึน้
วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ บริหารขอ้ มอื และมือ
2. เพ่ือชว่ ยลดอาการปวดกลา้ มเนือ้ บริเวณขอ้ มอื และมือ
3. เพือ่ เพิ่มประสทิ ธิภาพในการใช้งานของมือได้มากยงิ่ ขน้ึ และสามารถผลิตถงุ มือได้จานวนเพ่มิ มากขึน้
วิธีการดาเนินงาน สารวจปัญหาชุมชนบ้านหว้าน ตาบลน้าคา อาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ จึงจัดทา
นวัตกรรมแล้วทดลองใชก้ ับผปู้ ระกอบอาชพี เย็บถุงมือและทาการประเมนิ ผลการใช้
การทานวตั กรรม

1.อุปกรณ์

- แลค็ เกอร์ - ไม้ - สวา่ น

- ไขควง - คีม - ตะปู

- สกรเู กลียว - กระดาษทราย - เลอ่ื ย

- ไม้บรรทดั - ไมท้ ่อนกลม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 18

2.ข้ันตอนการทานวัตกรรม

1. ศกึ ษาปญั หา

2. ประชมุ ปรกึ ษาหารือหรอื คดิ คน้ นวัตกรรมมาแกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ข้นึ

3. ออกแบบนวัตกรรมใหเ้ หมาะสมกับปัญหาทีพ่ บ

4. ประชมุ และแบ่งหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบ

5.ลงมือทานวตั กรรม

- นาไม้หน้ากว้าง 4 น้ิว มาแบ่งครึ่ง วัดความยาว จานวน 2 ท่อน และกว้าง 12 cm
จานวน 1 ทอ่ น

- ใช้สว่านเจาะรูท้ัง 2ด้านข้างของไม้ที่ยาว 15 cm เจาะข้างละ 2 รู ระยะห่างแต่ละรู 1.5
cm

- แล้วนาสกรูเกลียว มาขันยึดไม้ที่กว้าง 12 cm เข้ากับไม้ที่ยาว 15 cm ให้อยู่ในลักษณะ
รปู สเ่ี หล่ยี ม

- แล้วใช้กระดาษทราย ขดั ใหเ้ รียบ แลว้ พ่นแล็คเกอร์ เพื่อความสวยงาม
- จากนั้นใช้สปริงยึดกับไม้ด้านบนและยึดกับไม้ท่อนกลมที่ใช้ดึง อยู่ระดับก่ึงกลางเป็นอัน

เสรจ็ สิ้น
3.การออกแบบขนาดของนวัตกรรม ใช้เกณฑ์ขนาดของมือมาตรฐานคนทั่วไป

ขนาดความยาวของมือมาตรฐานคนทว่ั ไป ขนาดความกวา้ งของมือมาตรฐานคนทว่ั ไป

ขนาดความกว้างและความยาว ในเกณฑ์มาตรฐานของมือคนทั่วไป มาเปรียบเทียบในการทานวัต
กรรม เครื่องบริหารมือ กค็ อื มอื บีบไมจ้ ับปดู า

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 19

4.วิธกี ารใช้เคร่ืองมือนวัตกรรม
1. จับอุปกรณ์มือบีบไม้จับปูดา โดยให้น้ิวหัวแม่มือ เกี่ยวอยู่ตรงฐานด้านล่าง และให้น้ิวท่ีเหลือเก่ียวอยู่
กับท่อนไม้ที่ตดิ อยูก่ บั สปรงิ
2. ออกแรงกาอุปกรณ์มือบีบไม้จับปูดาแล้วปล่อยช้าๆทาตามวิธีใช้ ทา 3 เซต เซตละ 20 ครั้ง ทาเช้า -
เย็น

ผลการศกึ ษา

แผนภมู ิ กอ่ นและหลังทดลองใช้นวัตกรรม
ระหวา่ งวันที่ 9 - 15 มนี าคม 2559

40 30 36
24 31
35
กาลังมือ (kg) 30 29 27 ผ้ทู ดลองคนท่ี 3 กอ่ นทดลอง
23 หลงั ทดลอง
26
25 ผ้ทู ดลองคนที่ 2 จานวนผู้ทดลอง

20 ผ้ทู ดลองคนที่ 4

15

10

5

0
ผ้ทู ดลองคนที่ 1

จากการทดลองใช้นวัตกรรม มือบีบไม้จับปูดา พบว่า กลุ่มแม่บ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการใช้
นวตั กรรม มือบีบไม้จับปดู า ในการชว่ ยบริหารมือ ถ้าใช้อุปกรณ์นี้ติดต่อกันเป็นประจา ส่งผลใหอ้ าการเกร็ง ชา

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 20

ลดลง และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานของมือได้มากย่ิงข้ึน และกลุ่มแม่บ้านสามารถผลิตถุงมือได้จานวน
เพ่ิมมากขึ้น ผู้ท่ีทดลองใช้นวัตกรรมช้ินนี้แล้วสามารถนาผลดีจากการทดลองใช้ไปบอกต่อให้ผู้ที่ประสบปัญหา
เดียวกนั ได้ นวัตกรรมช้ินนี้เป็นอปุ กรณท์ ี่สามารถทาข้ึนมาเองได้ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีใช้หาได้ในท้องถนิ่ และผลลัพธ์
ที่ได้ก็เปน็ ไปตามที่คาดหวงั
สรุปผลการดาเนนิ งาน

ผู้ทดลองใช้มีความพึงพอใจในนวัตกรรมเป็นอย่างมากในการช่วยลดอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณข้อมือมือ
และช่วยเพ่มิ ประสิทธิภาพในการใช้งานของมือ แต่นวัตกรรมมีข้อกาจัดในเร่ืองขนาดความกว้างและความยาว
จงึ เหมาะกับเฉพาะผ้ทู ดลองใชเ้ ทา่ น้ัน
เอกสารอ้างอิง
เว็บไซต์ : http://sptech.igetweb.com
พื้นทที่ ีศ่ ึกษา : บา้ นหว้าน ตาบลน้าคา อาเภอเมือง จังหวัดศรสี ะเกษ
เกณฑ์การวดั : เกณฑ์ขนาดมือของมาตรฐานคนทวั่ ไป

สมาชิกในกลุม่

Section 02

นางสาววชริ าพรรณ โสภาสาย

นางสาวชฎาภรณ์ เขยี วสกุ

นางสาวชมพนู ุถ สบื หาแก้ว

นางสาวรพพี ร ทองเต็ม

นางสาวศริ ิลักษณ์ ธงยศ

นางสาวอรศิ รา สุทธิธรรม

นายณฐั พล ราชรินทร์

นายศิริศักด์ิ คาภเิ ดช

นายเสกสรร พทุ ธปอง

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 21

นวัตกรรมเรื่อง

ขยับแขนขากบั ถุงทรายมหศั จรรย์

หลกั การและเหตผุ ล

เนื่องจากปัจจบุ ันชาวบ้านหนองบ่อ มีผ้ปู ่วยเป็นโรคกลา้ มเน้ืออ่อนแรงและปวดเม่ือยตามร่างกาย เช่น
แขน และขา อันเนื่องจากสาเหตุของโรคเกิดจากหลายปัจจัย รวมทั้งการไม่ออกกาลังกาย ซึ่งจะก่อให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนของโรคท่ีเป็นอยู่ตามมา และส่งผลต่อภาวะสุขภาพของชาวบ้านด้วยจากการสารวจและ
ออกเยี่ยมบ้าน พบว่าในหมู่บ้านหนองบ่อ ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บ้านตามลาพังในช่วงกลางวัน เน่ืองจาก
ลกู หลานต้องออกไปทางาน ซง่ึ ผู้สูงอายุเหล่านี้ จะมีการสานตะกร้า ท้อผ้า เป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว ซ่ึง
กิจกรรมเหล่าน้ี จาเป็นต้องน่ังเป็นเวลานานๆร่วมกับการที่มีอายุเพ่ิมมากข้ึนส่งผลให้เกิดอาการปวดเมื่อยและ
ปวดข้อต่างๆตามมา

ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงได้ตระหนักถึงความสาคัญของการออกกาลังกายง่ายๆที่ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติ
ได้เองจึงได้คิดค้นนวัตกรรม “ขยับแขนขากับถุงทรายมหัศจรรย์” ขึ้นเพื่อใช้ในการออกกาลังกายเพื่อส่งเสริม
สขุ ภาพ ป้องกัน ฟ้ืนฟู และหาแนวทางการแก้ไขภาวะสุขภาพของชาวบ้านหนองบ่อให้มีแนวโน้มของสุขภาพที่
ดีขนึ้

วัตถุประสงค์

1. เพอ่ื สร้างเสรมิ สขุ ภาพของคนในชุมชนบ้านหนองบอ่
2. เพื่อลดอาการปวดเมอ่ื ยตามรา่ งกายและสรา้ งมวลกล้ามเนอ้ื เน้ือความแขง็ แรงของแขนและขา
3. เพอ่ื ใหผ้ ูส้ งู อายตุ ระหนักถึงความสาคัญของการออกกาลงั กาย

วิธีดาเนินการ : สารวจปัญหาในชุมชนบ้านหนองบ่อ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
จากน้ันจัดทานวตั กรรมแล้วทดลองใช้กบั กลุ่มที่มปี ัญหาด้านสขุ ภาพ คือ ผู้ปวดตามกล้ามเน้ือ แขน-ขาอ่อนแรง
และทาการประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 22

ผลการดาเนินงาน

จากการทดลองใช้นวตั กรรม พบว่านวัตกรรมสามารถบรรเทาอาการปวดเม่ือยกลา้ มเนื้อและสามารถ

ออกกาลังกายได้มากขน้ึ ได้รับความพึง่ พอใจจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 3 คน คือพึงพอใจระดับมาก (เกณฑ์การ

ประเมนิ 3 ระดับ คือระดับ มาก ปานกลาง น้อย) มีความสะดวกในการใช้งานรวมท้ังการใช้งานง่าย

วัสดอุ ุปกรณ์

1. ผา้ ร่มหรือผา้ ทีร่ ะบายไดด้ ี
2. ถงุ ซปิ ล็อก
3. เข็มขนาดเลก็
4. ด้ายสีตามใจชอบ
5. กรรไกร/มดี คดั เตอร์
6. ทราย

ข้นั ตอนการทา

1. เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
2. ตัดผา้ ยางหรือถุง และผา้ ใหข้ นาดเทา่ กนั ความกวา้ งยาวตามขนาดทตี่ ้องการ
3. เย็บผ้าและผ้ายางด้านในให้ติดกันสองด้าน เหลือหนึ่งด้านไว้เพ่ือใส่ทราย และกลับด้านเอาด้าน
ผา้ ยางเข้าข้างใน
4. ใส่ทรายลงในถุงผ้าตามความต้องการความหนักเบา
5. เยบ็ เป็นแนวตรงเพ่ือกนั้ ทรายให้เป็นขอ้ ปอ้ ง 4-5 ปอ้ ง
6. เยบ็ ปดิ ปอ้ งสดุ ท้ายใหเ้ รยี บรอ้ ยสวยงาม
7. เยบ็ เศษผ้าเป็นเสน้ เพื่อทาเป็นสายรัด ตามจานวนท่ตี อ้ งการ
8. ทดสอบความทนทานและช่ังนา้ หนักนวัตกรรม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 23

ผลการศึกษา

จากการทดลองใช้นวัตกรรม “ขยับแขนและขากับถุงทรายมหัศจรรย์” กับ คุณยายปราณี ส่งเสริม
พบว่ากอ่ นการใช้ผปู้ ่วยมอี าการปวดแขน-ขา สาเหตุมาจากการน่ังทางานนานๆรวมถงึ การไม่ออกกาลงั กายเป็น
เวลานาน และหลงั การใชผ้ ู้ป่วยสามารถยกแขนและขาได้มากขน้ึ ดังกราฟแสดงผลการยกแขนและขา 1.1

จานวนครง้ั ที่ยกได้
30

20

10
0 วันทท่ี าการทดสอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
กราฟแสดงผลการยกแขนและขา 1.1

สรุปผลการศึกษา

จากการทดลองใช้อุปกรณ์ขยับแขนขากับถุงทรายมหัศจรรย์ปรากฏว่าในระยะเวลา 1 เดือน ผลการ
สารวจจากการทดสอบในการใส่นวัตกรรม “ขยับแขนขากับถุงทรายมหัศจรรย์” คือก่อนการทดลองนวัตกรรม
ผู้ปว่ ยยกแขน-ขาได้ 4-10 ครัง้ / วัน หลังการใชผ้ ู้ปว่ ยยกแขน-ขาได้มากเปน็ 10-30 คร้ัง/วัน พบวา่ สามารถลด
อาการปวดเมื่อยตามร่างกายที่มีสาเหตุมาจากการประกอบอาชีพรวมท้ังสร้างเสริมมวลกล้ามเน้ือให้แข็งแรง
ยิ่งข้ึนรวมทั้งป้องกันอาการข้อติดและข้อเส่ือม การยกแขนและขาเป็นการออกกาลังกายที่ดีอีกวิธีหนึ่งในกลุ่ม
ผู้สูงอายุทป่ี ฏิบัติเองได้ง่ายและมีผลทาใหร้ ่างกายแข็งแรง

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 24

รายช่ือสมาชิก Section 02

1.นางสาวจิตรสดุ า สง่ เสริม รหัสนักศกึ ษา 56125020205
2.นางสาวเจนจิรา ทองเติม รหัสนกั ศึกษา 56125020208
3.นางสาวเบ็ญจวรรณ กอ้ นแกว้ รหสั นักศึกษา 56125020218
4.นางสาวประภาพรรณ โทวาท รหสั นกั ศึกษา 56125020219
5.นางสาวพนชิ ตา วังสุการ รหัสนักศกึ ษา 56125020221
6.นางสาวเพชริดา คะมาปะเต รหสั นักศึกษา 56125020223
7.นางสาววิฬารี ศรีสรรค์ รหัสนกั ศกึ ษา 56125020232
8.นางสาวสุวนนั ท์ ภูมชิ ยั รหัสนกั ศึกษา 56125020241
9.นางสาวอนุธิดา ดวงประภา รหัสนกั ศึกษา 56125020243
20.นางสาวนิตยา ศรพี ลาย รหัสนักศกึ ษา 56125020255
11.นางสาวรสสุคนธ์ สทุ ธิสุวรรณ รหสั นกั ศึกษา 56125020256

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 25

สนขุวตั ภการรพม

ประเภท การรกั ษา

1. หมอนสมุนไพรเพอ่ื สุขภาพ
2. ลูกยางสะกิดจุด หมอนขดิ สะกดิ ใจ
3. สเปรย์หอมบรรเทาอาการปวด
4. ลกู ประคบน้อยคลายปวด
5. มหัศจรรย์ถ่ัวเขียวพาเดนิ & ถ่ัวเขยี วน้อยอโรมา
6. Amazing Bag คลายปวดเมอ่ื ย

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 26

นวัตกรรมเรอ่ื ง

หมอนสมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ

หลักการและเหตผุ ล
จากการลงพ้นื ที่บา้ นโนนสาราญ ต.โนนสาราญ อ.กนั ทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ พบว่าผสู้ ูงอายใุ นชุมชนมี

โรคประจาตัวคือโรคเบาหวาน และโรคความดนั โลหิตสูง และยังพบวา่ ผสู้ งู อายุมักมอี าการปวดเม่อื ย บริเวณบ่า
หัวไหล่ และต้นคอ ส่งผลให้เป็นอุปสรรคต่อการดาเนินชีวิตในแต่ละวัน จากปัญหาดังกล่าวทาให้ผู้ศึกษา
คิดคน้ นวัตกรรมเพือ่ ช่วยบรรเทาอาการปวดเม่ือย บรเิ วณบ่า หวั ไหล่ และต้นคอ โดยการทาหมอนสมุนไพรเพื่อ
สุขภาพ ซ่ึงมสี ่วนผสมของมะกรดู ขมน้ิ ไพล การบรู
วตั ถุประสงค์

1. เพื่อใชก้ ลนิ่ จากสมุนไพรในการบาบดั อาการปวดเมื่อย
2. เพอ่ื ลดการภมู แิ พ้จากไรฝนุ่
3. เพอ่ื ชว่ ยใหร้ ้สู กึ ผ่อนคลาย คลายความเครยี ด
วิธีดาเนินการ : สารวจปัญหาในบ้านโนนสาราญ ต.โนนสาราญ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ จากน้ันจัดทา
นวตั กรรมแลว้ ทดลองใชก้ บั ประชาชนในหมู่บ้านและทาการประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม
ผลการดาเนินงาน
จากการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามผู้ทดลองใช้จานวน 5 คน คิดเป็น 100 % ก่อนใช้ผู้ทดลองมี
อาการปวดเมื่อยตามร่างกายจานวน 5 คน คิดเป็น 100 % หลังใช้ผู้ทดลองรู้สึกผ่อนคลายจานวน 4 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 80 และรสู้ กึ ครน่ั เนอื้ ครั่นตัวจานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 20

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 27

หมอนสมุนไพรเพอ่ื สุขภาพ

หลักการและเหตุผล
จากการลงพืน้ ท่ีบา้ นโนนสาราญ ต.โนนสาราญ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ พบว่าผู้สูงอายใุ นชุมชนมี

โรคประจาตวั คือโรคเบาหวาน และโรคความดนั โลหิตสงู และยังพบวา่ ผสู้ ูงอายุมักมอี าการปวดเมอ่ื ย บรเิ วณบ่า
หัวไหล่ และต้นคอ ส่งผลให้เป็นอุปสรรคต่อการดาเนินชีวิตในแต่ละวัน จากปัญหาดังกล่าวทาให้ผู้ศึกษา
คิดค้นนวัตกรรมเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย บริเวณบ่า หวั ไหล่ และต้นคอ โดยการทาหมอนสมุนไพรเพ่ือ
สขุ ภาพ ซึ่งมีสว่ นผสมของมะกรดู ขมิ้น ไพล การบรู
วตั ถุประสงค์

1. เพอ่ื ใชก้ ลน่ิ จากสมนุ ไพรในการบาบดั อาการปวดเมือ่ ย
2. เพอ่ื ลดการภูมิแพ้จากไรฝนุ่
3. เพื่อชว่ ยใหร้ สู้ ึกผอ่ นคลาย คลายความเครียด
ข้นั ตอนการทานวัตกรรม
1. ศึกษาปัญหา
2. ประชมุ ปรกึ ษาหารอื หรอื คดิ คน้ นวัตกรรมมาแกไ้ ขปญั หาที่เกิดข้นึ
3. ออกแบบนวัตกรรมใหเ้ หมาะสมกับปญั หาท่พี บ
4. ประชุมและแบ่งหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบ
5. เตรยี มอุปกรณใ์ นการทานวัตกรรม
5.1 วัสดุและอปุ กรณ์
1) วัสดุ

1.1. ไพล
1.2. ขมน้ิ ชัน
1.3. การบูร
1.4. ผวิ มะกรูด
1.5. หลอดกาแฟ
1.6. ปลอกหมอนสาเร็จรูป

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 28

1.7. ผา้ ใยสงั เคราะห(์ ใชท้ าหมอน)
1.8. ผ้าขาวบาง(ใชส้ าหรับหอ่ สมุนไพร)
2) อุปกรณ์
2.1. มีด
2.2. เขยี ง
2.3. กรรไกร
2.4. กระจาด
2.5. ครกและสาก
2.6. เขม็ และดา้ ยเย็บผ้า
5.2 ขั้นตอนการทา
1) เตรียมตดั เย็บผา้ ห่อไส้หมอน และปลอกหมอนใหเ้ รยี บรอ้ ยตามขนาดท่ีท่านต้องการ

ภาพท่ี 1 การเตรยี มปลอกหมอน
2) กรอกหลอดพลาสตกิ ที่ตัดเตรียมไว้ใส่ลงในผา้ ห่อไส้หมอนจนเต็มและรูดซิปปิดไวใ้ ห้เรยี บรอ้ ย

ภาพที่ 2 การเตรยี มไส้หมอน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 29

3) นาสมุนไพรทุกอย่างที่เตรียมไว้ไปตากแห้ง และนามาบดให้ละเอียด เพ่ิมความหอมด้วยการบูร
กรอกใสถ่ ุงผา้ เยบ็ ปิดให้เรียบรอ้ ย

ภาพท่ี 3 การเตรียมสมนุ ไพร
4) นาไส้หมอนที่เตรียมไว้ทั้งสองอย่างมาหุ้มด้วยปลอกหมอนอีกช้ัน เพ่ือความสวยงาม
และพรอ้ มใชง้ าน

ภาพท่ี 4 การใสป่ ลอกหมอน
การใช้ประโยชน์

หมอนสมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพสามารถนาไปใช้งานในชวี ติ ประจาวนั ได้จริง ซ่ึงหมอนยงั ช่วยลดอาการปวด
บริเวณต้นคอได้ เนอ่ื งจากการนาหลอดกาแฟมาทาเปน็ ไสข้ องหมอน เพราะหลอดกาแฟเมอื่ นามารวมกันจะทา
ให้เกิดช่องอากาศ เม่ือหนุนหมอนจะทาให้หมอนยุบตัวตามสรีระของศีรษะและคอของเรา แต่จะไม่คืนตัว
ในทนั ที และยงั ช่วยในลดอาการภูมิแพ้ เพราะไม่มไี รฝุ่น
ผลการศึกษา

จากการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามผู้ทดลองใช้จานวน 5 คน คิดเป็น 100 % ก่อนใช้ผู้ทดลองมี
อาการปวดเมื่อยตามร่างกายจานวน 5 คน คิดเป็น 100 % หลังใช้ผู้ทดลองรู้สึกผ่อนคลายจานวน 4 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 80 และรู้สกึ ครัน่ เน้อื ครน่ั ตัวจานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 20

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 30

สรปุ ผลการศกึ ษา
1.น้ามันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยทาให้สดชื่น ผ่อนคลาย บรรเทาอาการปวดเม่ือย ไส้

หมอนท่ที าจากหลอดกย็ ังสามารถช่วยลดแรงกดทบั บรเิ วณตน้ คอได้
2.ไสห้ มอนทาจากหลอดจึงเหมาะสาหรบั คนทมี่ ปี ญั หาภมู ิแพจ้ ากไรฝนุ่ ได้
3.น้ามันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล น้ามันระเหย

จากขม้ินมีสรรพคณุ แก้อาการวิงเวยี น แก้หวัด น้ามันระเหยจากไพล ช่วยให้ทางเดนิ หายใจโลง่ ทาให้รู้สึกผ่อน
คลายและแกอ้ าการภูมแิ พไ้ ด้
เอกสารอ้างอิง :

www.samunpri.com สืบค้นวันที่ 15 กุมภาพนั ธ์ 2559
health.mthai.com/howto/thai-medicine/9818.html สืบค้นวันท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2559

สมาชิกในกลุม่ (Section.03)

1.นางสาวเกยี รติสดุ า ตียาพันธ์ 56125020103
56125020106
2.นางสาวจิรภา เพรดิ พราว 56125020109
56125020120
3.นางสาวฉตั รฑริกา สาระ 56125020121
56125020124
4.นางสาวปาริฉัตร นามวงษา 56125020129
56125020133
5.นางสาวปยิ ะภรณ์ โพธิ์คา 56125020135
56125020144
6.นางสาวภัทรวดี ชงิ ชยั

7.นางสาววชริ ญาณ์ ชอบเสยี ง

8.นางสาวศศฉิ าย กุลเกษ

9.นางสาวศิริรตั น์ อรรถวัน

10.นางสาวอรนุช มังคละ

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 31

นวัตกรรมเร่ือง
ลกู ยางสะกิดจุด หมอนขิดสะกิดใจ

หลักการและเหตุผล
จากการลงพื้นที่ชาวบ้านเหล่าหนองผือ ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี

สอบถามปัญหาพบว่าประชาชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ มีปัญหาเก่ียวกับการปวดหลัง โดยเฉพาะกลุ่มท่ีทางาน

เกษตรกรรมใช้กาลังเป็นเวลานานตลอดเวลา ทาให้เกิดอาการปวดหลังได้บ่อยโดยเฉพาะอาการปวดหลัง

ส่วนลา่ งท่ีเกิดบรเิ วณบ้ันเอวสว่ นล่างจากภาวะดงั กลา่ วส่งผลกระทบต่อท้ังทางร่างกายและจติ ใจ ในด้านการดา

เนินชีวิตประจาวันก่อให้เกิดภาวะเครียด หงุดหงิดจากอาการปวด และอาจก่อให้เกิดโรคเร้ือรังท่ีจะตามมา

และไม่สามารถทางานหนักต่อไปได้อีก ดังนั้นจึงได้มีการจัดทานวัตกรรมข้ึนมา คือ ลูกยางสะกิดจุด หมอนขิด

สะกิดใจ ซง่ึ เป็นการนาหมอนขิดมายัดดว้ ยลกู ยางพารา มีลักษณะเป็นปุ่มสามารถนวดบริเวณทีป่ วดได้ เพื่อลด

ปัญหาท่ีชาวบ้านส่วนใหญ่พบเจอ นวัตกรรมชิ้นนี้จะช่วยในการบรรเทา ลดอาการปวดหลังส่วนล่างที่เกิด

บริเวณบ้นั เอว ส่งผลให้ใชช้ วี ติ ในการทางานดขี ึน้ ตามลาดับ

วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื จดั ทานวตั กรรมที่ราคาไม่แพง อปุ กรณ์หาได้ในพ้ืนท่ี ชว่ ยบรรเทาอาการปวดเมอ่ื ยใหก้ บั ชาวบ้าน
2. เพอ่ื นาเม็ดยางพาราทมี่ มี ากมายในพ้นื ที่มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
3. เพ่อื สง่ เสรมิ และฟนื้ ฟสู ขุ ภาพของชาวบา้ นท่มี ีอาการปวดเม่ือย
4. เพอ่ื ตอ่ ยอดหมอนขดิ ภูมิปัญญาชาวบา้ นให้มมี ูลค่ามากยิง่ ขึน้

วิธดี าเนินการ :
สารวจปัญหาในชุมชนบ้านเหล่าหนองผือ ตาบลหนองบก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี

จากนั้นจัดทานวตั กรรมแล้วทดลองใช้กบั คนในชุมชนและทาการประเมินผลการใช้นวตั กรรม
ผลการดาเนนิ งาน

จากการติดตามการใชผ้ ลงานนวัตกรรม ลูกยางสะกิดจุด หมอนขิดสะกิดใจ ในชุมชน บ้านเหล่าหนอง

ผือ ตาบลหนองบก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ได้ผลการศึกษาว่า ชาวบ้านมีความพึงพอใจใน

ผลงานนวัตกรรม เพราะช่วยลดอาการปวดเมื่อยได้จริง และวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้จัดทายังเป็นวัสดุท่ีหาได้ง่าย ไม่

แพง และไม่ค่อยได้ใช้ประโยชน์ในชุมชน อีกทั้งยังเป็นการต่อยอดหมอนขิดที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านให้มี

มลู คา่ เพ่ิมยิง่ ขนึ้ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ทตี่ ้งั ไว้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 32

ลกู ยางสะกดิ จดุ หมอนขดิ สะกิดใจ

หลักการและเหตุผล
จากการลงพ้ืนท่ีชาวบ้านเหล่าหนองผือ ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี

สอบถามปัญหาพบว่าประชาชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ มีปัญหาเก่ียวกับการปวดหลัง โดยเฉพาะกลุ่มที่ทางาน
เกษตรกรรมใช้กาลังเป็นเวลานานตลอดเวลา ทาให้เกิดอาการปวดหลังได้บ่อยโดยเฉพาะอาการปวดหลัง
สว่ นลา่ งท่ีเกิดบริเวณบ้ันเอวสว่ นล่างจากภาวะดังกลา่ วส่งผลกระทบต่อท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจ ในด้านการดา
เนินชีวิตประจาวันก่อให้เกิดภาวะเครียด หงุดหงิดจากอาการปวด และอาจก่อให้เกิดโรคเรื้อรังท่ีจะตามมา
และไม่สามารถทางานหนักต่อไปได้อีก ดังนั้นจึงได้มีการจัดทานวัตกรรมขึ้นมา คือ ลูกยางสะกิดจุด หมอนขิด
สะกิดใจ ซง่ึ เปน็ การนาหมอนขิดมายัดดว้ ยลูกยางพารา มีลกั ษณะเป็นปุ่มสามารถนวดบรเิ วณท่ีปวดได้ เพื่อลด
ปัญหาที่ชาวบ้านส่วนใหญ่พบเจอ นวัตกรรมชิ้นนี้จะช่วยในการบรรเทา ลดอาการปวดหลังส่วนล่างที่เกิด
บริเวณบ้ันเอว สง่ ผลใหใ้ ชช้ วี ติ ในการทางานดขี ึ้นตามลาดบั
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อจดั ทานวตั กรรมทีร่ าคาไม่แพง อปุ กรณห์ าได้ในพน้ื ที่ ชว่ ยบรรเทาอาการปวดเมอ่ื ยให้กบั ชาวบา้ น
2. เพอ่ื นาเม็ดยางพาราท่มี มี ากมายในพ้นื ท่ีมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์
3. เพือ่ ส่งเสรมิ และฟน้ื ฟูสขุ ภาพของชาวบ้านทีม่ ีอาการปวดเมือ่ ย
4. เพื่อตอ่ ยอดหมอนขิดภูมปิ ญั ญาชาวบา้ นใหม้ ีมลู คา่ มากย่งิ ขึน้
ขั้นตอนการทานวัตกรรม

1. คดั เลือกผ้าท่ีจะทาเปน็ ตัวหมอน ตัดผา้ ตามชนิด หรอื ขนาดของหมอนขิด

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 33

2. ตดั ผ้าอีกส่วนทีจ่ ะเยบ็ เป็นไส้หมอน สาหรบั หมอนสามเหล่ยี ม ไสห้ มอนจะมี 6ชอ่ ง หรอื 10 ช่อง หรือ
15 ช่อง แลว้ แตช่ นดิ ของหมอน

3. เยบ็ เปน็ รปู หมอน คอื นาตัวหมอนกับไสห้ มอนมาเย็บเข้าลกู กนั
4. นาหมอนท่เี ยบ็ เปน็ ลูกหมอนแลว้ มาสอยปดิ หน้าด้านหน่ึง

5.แล้วมายดั นนุ่ ใสฟ่ างเพ่ือเป็นแกนไสห้ มอน เพมิ่ ความม่ันคง และคงรูป

6.นาลูกยางพารามากรอกช่องเว้นช่องให้เตม็ 34
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

7. ข้นั ตอนสดุ ท้ายก็มาสอยปิดหน้าหมอนอีกดา้ นหนึ่ง

8.เมอ่ื ได้ตวั หมอนเรยี บร้อยแล้ว กเ็ ปา่ น่นุ แลว้ ห่อพลาสติกให้เรียบร้อย

การใชป้ ระโยชน์
สามารถนานวตั กรรมที่คดิ ค้นมาไปใช้ลดอาการปวดหลังจากการทางาน การทากิจกรรมตา่ งๆ รวมถงึ

สามารถนาไปพฒั นาเป็นสิ่งใหมไ่ ด้ และนามาใช้กับบคุ คลทั่วไปได้ทุกชว่ งวยั โดยการนา “ลกู ยางสกดิ จุด
หมอนขดิ สะกิดใจ” มาวางในตาแหนง่ หลงั สว่ นลา่ ง แล้วนอนทบั เพ่ือใหเ้ กิดแรงกดตรงบริเวณหลังส่วนล่าง
ผลการศึกษา

การทดลองใชน้ วตั กรรม “ลูกยางสะกดิ จุด หมอนขดิ สะกิดใจ” พบว่าก่อนใช้นวัตกรรมกลุ่มตัวอย่างมี
อาการปวดหลังส่วนลา่ งทเี่ กิดบริเวณบ้ันเอว ส่งผลกระทบใหท้ างานไมเ่ ต็มที่เกดิ ความกงั วลทัง้ ทางร่างกายและ
จิตใจ หลงั ใช้นวตั กรรมโดยการนอนหรือนั่งทบั บริเวณแผน่ หลงั ส่วนลา่ ง ปมุ่ ของผลลกู ยาง จะไปกดบรเิ วณ
กลา้ มเนอื้ ส่วนหลัง ทาใหไ้ ปกระตุ้นเส้นใยประสาทใหญ่ เกิดการยบั ยงั้ การส่งกระแสประสาทนาขน้ึ จะชว่ ยลด
ความเจบ็ ปวดได้ ชว่ ยให้การไหลเวยี นเลือดและน้าเหลอื งบรเิ วณน้นั ดีข้นึ ขณะเดียวกนั ก็ทาให้กล้ามเนื้อสว่ นท่ี
หดเกรง็ เกิดการคลายตวั สง่ ผลใหอ้ าการปวดลดลง จงึ เป็นทีพ่ ึง่ พอใจแก่ผู้ใชน้ วตั กรรมและจากการประเมิน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 35

ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมดา้ นความสามารถในการลดอาการเจบ็ ปวด อยใู่ นระดับมาก คือปวดน้อย ไม่

มคี วามทุกข์ ทรมาน ไม่รูส้ ึกกังวลใดๆ ต่ออาการปวดในขณะน้ี

สรุปผลการดาเนินงาน
จากการติดตาม การใชผ้ ลงานนวตั กรรม ลกู ยางสะกิดจดุ หมอนขดิ สะกดิ ใจ ในชมุ ชนบา้ นเหลา่ หนอง

ผอื ต.หนองบก อ.เหล่าเสอื โก้ก จ.อบุ ลราชธานี ได้ผลการศึกษาวา่ ชาวบ้านมคี วามพงึ พอใจในผลงาน

นวตั กรรม เพราะชว่ ยลดอาการปวดเมอ่ื ยไดจ้ รงิ และวสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใชจ้ ัดทายงั เป็นวัสดุท่ีหาได้ง่าย ไม่แพง และ

ไมค่ ่อยได้ใชป้ ระโยชนใ์ นชุมชน อกี ทัง้ ยังเปน็ การต่อยอดหมอนขดิ ท่ีเปน็ ภูมิปัญญาชาวบ้านใหม้ ีมูลค่าเพ่มิ ย่งิ ข้ึน

ซึง่ เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี ั้งไว้

เอกสารอา้ งองิ :
http://saowpaone.blogspot.com/2013/09/31-1.html [เขา้ ถงึ วันที่ 20 มนี าคม 2559]
http://mykansinee.blogspot.com/2015/06/500.html [เขา้ ถงึ วันที่ 20 มีนาคม 2559]
http://203.172.184.5/bc/web/2555/532kt3/5322014097/ [เข้าถึงวนั ที่ 20 มนี าคม 2559]

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 36

สมาชกิ ในกลุ่ม (Section.02)

1.นางสาวแคทรญี า แสนทวีสุข รหสั นักศกึ ษา 56125020204
2.นางสาวจริ าวรรณ เหลา่ โกก้ รหัสนักศึกษา 56125020207
3.นางสาวญาณศิ า สทิ ธจิ ินดา รหัสนักศกึ ษา 56125020211
4.นางสาวณฐั รยิ า ศรีชนะ รหัสนกั ศกึ ษา 56125020212
5.นางสาวทานตะวัน แกว้ ทองคา รหัสนักศกึ ษา 56125020213
6.นางสาวนิตยา สมอินทร์ รหัสนักศึกษา 56125020217
7.นางสาววรากรณ์ สลักทอง รหสั นกั ศึกษา 56125020230
8.นางสาวสายขมิ ติ่งทอง รหัสนักศึกษา 56125020236
9.นางสาวสนุ สิ า ปรอื ปรงั รหัสนกั ศกึ ษา 56125020239
10.นางสาวอรพรรณ สืบแสน รหสั นกั ศึกษา 56125020244

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 37

สเปรย์หอมบรรเทาอาการปวด

หลกั การและเหตุผล
จากการศึกษา สังเกตพฤติกรรมการทางานของประชาชนท่ีเสี่ยงต่อการเป็นโรคเก๊าต์ โรครูมาตอยด์

และโรคระบบขอ้ ต่างๆ รวมถึงจานวนผู้ป่วยทเี่ ปน็ โรคเก๊าต์ โรครูมาตอยด์ และโรคระบบข้อต่างๆในชุมชนบ้าน
ทา่ บ่อ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานพี บว่าประชาชนส่วนใหญจ่ ะป่วยดว้ ยโรคในระบบข้อ คิด
เปน็ รอ้ ยละ 75 ซงึ่ พบมากในเพศชายร้อยละ 40 เพศหญิงรอ้ ยละ 35 รองลงมาคือโรคเก๊าต์ พบในเพศชาย คิด
เป็นร้อยละ 10 และโรครูมาตอยด์ พบในเพศหญิง ร้อยละ 10 และโรคอื่น คิดเป็นร้อยละ 5 จะเห็นว่า
ประชาชนส่วนมากจะทาอาชีพเกษตรกรรม และจักรสาน รวมท้งั รับจ้างทัว่ ไป ซึง่ จะมกี ารทางานเป็นเวลานาน

บางคนมีการออกแรงมากกับการทางาน ทาให้มีอาการปวดเม่ือยตามกล้ามเน้ือและข้อ และมีบางราย
เป็นโรคปวดตามข้อและกระดูก ปัจจัยหลักอาจเกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงในการปฏิบัติงานของประชาชนโดย
ส่วนมากมักจะหันไปพ่ึงยาที่ทาให้หายปวด เช่น ยาหม่อง ยาเขียว น้ามันมวย พิมเสน ยาเหลือง และยา
ประเภทยาลูกกอนหรือยาชุด สรรพคุณของยาลูกกอนและยาชุด คือช่วยบรรเทาอาการปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ
การบวมและอักเสบของกล้ามเน้ือ ซึ่งเป็นความเชื่อและความเคยชินของประชาชนเอง ท่ีรับประทานแล้วพอ
ทุเลาหรือหายปวดชว่ั คราว แตย่ าชนดิ น้ีมคี วามรุนแรงและอาจส่งผลกระทบท่ีไม่ดตี ่อร่างกายตามมาในภายหลัง

ดังนั้น นักศึกษาจึงเล็งเห็นความสาคัญตรงนี้ และมีความสนใจท่ีจะจัดทานวัตกรรม “สเปรย์หอม
บรรเทาอาการปวด” ที่ทาจากสมุนไพรพ้ืนบ้าน3 อย่างได้แก่ หว่านไพล มะกรูด และเหล้าขาวเพ่ือทดลอง
ศึกษากับประชาชนท่ีเสี่ยงต่อการเป็นโรคเก๊าต์ โรครูมาตอยด์ และโรคระบบข้อต่างๆ รวมถึงจานวนผู้ป่วยที่
เป็นโรคเก๊าต์ โรครูมาตอยด์ และโรคระบบข้อต่างๆ เพ่ือช่วยบรรเทาความเจ็บปวดของประชาชนในชุมชน
ตอ่ ไป
วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ บรรเทาอาการปวดท่ีเกดิ จากระบบข้อต่างๆ
2. เพ่อื สง่ เสรมิ การใชส้ มนุ ไพรและเพม่ิ ทางเลอื กในการบาบดั อาการเจ็บป่วย
3. เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ มีความตระหนัก และสามารถดูแลตนเองได้ใน เร่ือง การใช้
ยานวดสมนุ ไพรพน้ื บ้านแทนการใช้ยาบรรเทาอาการปวดอ่นื ๆ

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 38

ข้นั ตอนการทานวัตกรรม
1. นามะกรูดมาล้างให้สะอาด แลว้ ผ่าคร่ึง หรือผ่าแวน่ จานวน 10 ลูกนาไปใสใ่ นขวดโหลทีเ่ ตรยี มไว้

ภาพท่ี 1 นามะกรดู มาผา่ แวน่ หรือผ่าครึง่
2. เทเหล้าขาวตามลงไป จากน้ันปดิ ฝาให้สนทิ และหมกั ดองทงิ้ ไว้ 15 วนั

ภาพท่ี 2 เทเหลา้ ขาวลงในขวด 39
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

3. เมอื่ หมักดองครบตามเวลาที่กาหนด นาผ้าขาวมากรองเอาแต่นาหมกั ใส่ลงไปในขวดทีเ่ ราเตรียมไว้

ภาพท่ี 3 นานา้ หมกั ที่ไดไ้ ปกรอง
4. นาสาระเหยมาเตมิ ลงไปในขวดเพ่อื เพิ่มความหอมและผอ่ นคลายแกผ่ ู้ใช้

ภาพท4่ี เติมสารระเหยลงในขวดสเปรย์ 40
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

ผลการศกึ ษา

จากการทดลองใชส้ เปรย์หอมบรรเทาอาการปวดกับประชาชนในพ้นื ที่บ้านท่าบ่อ ต. ในเมือง
อ. เมือง จ. อุบลราชธานี ในกล่มุ ตัวอย่างจานวน 20 คน พบว่าประชาชนสว่ นใหญ่ปว่ ยด้วยโรคในระบบข้อ คิด
เป็นร้อยละ 75 ซง่ึ พบมากในเพศชายรอ้ ยละ 40 เพศหญงิ รอ้ ยละ 35 รองลงมาคือโรคเก๊าต์ พบในเพศชาย คิด
เป็นร้อยละ 10 และโรครูมาตอยด์ พบในเพศหญิง ร้อยละ 10 และโรคอื่น คิดเป็นร้อยละ 5 ความพึงพอใจต่อ
สรรพคณุ สเปรยห์ อมบรรเทาอาการปวดเทา่ กบั ร้อยละ 94.7 และความสะดวกในการใชเ้ ทา่ กับร้อยละ 96.5
สรุปผลการดาเนนิ งาน

นวัตกรรมนี้เป็นที่พึงพอใจต่อผู้ทดลองใช้เป็นอย่างมาก ท้ังรูปลักษณ์ของขวดบรรจุภัณฑ์ท่ีดูน่าใช้
สวยงาม อีกทั้งกล่ินของมะกรูดท่ีหอมทาให้รู้สึกผ่อนคลายอย่างเป็นธรรมชาติ ซึมเข้าผิวหนังได้อย่างรวดเร็ว
และคุณสมบัติที่บรรเทาอาการปวดในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดระบบข้อตา่ งๆ โรคเกา๊ ท์ และโรครู
มาตอยด์ ทาให้กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในนวัตกรรมเป็นอย่างมาก แต่ยังไม่มีกลิ่นของสมุนไพรท่ี
หลากหลายซง่ึ จะได้นาไปพัฒนานวัตกรรมอีกในโอกาสต่อไป
เอกสารอา้ งอิง :
1.บ้านท่าบ่อ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี
2.file:///C:/Users/Administrator.21LI7EDRZ2TABYL/Desktop/m@m/50dbce4040da9.pdf
3.https://www.gotoknow.org/posts/565290

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 41

สมาชิกในกลมุ่ (Section.02)

นางสาวธัญลักษณ์ พรมกอง 56125020214
นางสาวนฤมล อานวย 56125020216
นางสาวรงุ่ ทิวา บุดดาวงค์ 56125020228
นางสาววรรณพร สุภผลา 56125020231
นางสาวสุดารัตน์ บุญเลี้ยง 56125020238
นางสาวทฆิ ัมพร ปัตถาวะโร 56125020313
นางสาววรลกั ษณ์ ทมุ ยา 56125020330
นางสาวศริ จิ ันทร์ ธนั วิมา 56125020334
นางสาวสุกญั ญา วรรณวงษ์ 56125020337
นางสาวฑิตยา นามเพราะ 56125020411
นางสาวมินตรา ครองยตุ ิ 56125020455

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 42

นวัตกรรมเรอ่ื ง

ลูกประคบนอ้ ยคลายปวด

หลกั การและเหตผุ ล
จากการลงพ้ืนที่ชุมชนบ้านปะอาว ตาบลปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าประชากรมี

ปญั หาร้อยละ 60 เก่ียวกับอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ซ่ึงสาเหตุเกิดจากการประกอบอาชีพเกษตรกร ทอผ้า
และอ่ืนๆ สง่ ผลใหป้ ระชากรในหมูบ่ ้านปะอาวไม่สามารถประกอบอาชีพได้อยา่ งเต็มความสามารถ นักศกึ ษาจึง
เห็นความสาคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทาลูกประคบน้อยคลายปวดขึ้นมา เพื่อใช้ในการประคบเพื่อ
บรรเทาอาการปวดเมื่อย โดยลักษณะของนวัตกรรมลูกประคบน้อยคลายปวดประกอบไปด้วยไพลซึ่งเป็น
สมุนไพรที่ช่วยลดอาการปวดเมื่อย ลดการอักเสบ ขม้ินชัน ช่วยลดอาการอกั เสบและแก้โรคผิวหนัง ผิวมะกรูด
ชว่ ยแก้วิงเวียน มีน้ามันหอมระเหย ตะไคร้และเตยหอมช่วยแต่งกล่ิน ใบบัวบกแก้ฟกซ้า การบูรช่วยแต่งกล่ิน
บารุงหัวใจ เกลือแกงช่วยดูดความร้อนและช่วยให้ตัวยาซึมเข้าผ่านผิวหนังได้สะดวกขึ้น และข้าวเหนียวช่วย
เกบ็ ความรอ้ นได้ดี

วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อลดปัญหาอาการปวดเมือ่ ยของประชากรกลุ่มตัวอยา่ ง
2. เพอ่ื นาสมนุ ไพรจากชมุ ชนมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 43

ข้ันตอนสรา้ งนวตั กรรม
1. ล้างสมุนไพรตา่ งๆใหส้ ะอาด ได้แก่ เหงา้ ไพร ขมน้ิ ชนั ตะไคร้ ผวิ มะกรูด หน่ั เป็นแว่นและชน้ิ บางๆนาไปตาก
แดดให้แหง้ จากน้นั นาไปตาพอแหลก

2. เม่อื แหง้ ดีแลว้ กน็ าเอามาผสมกบั เกลือ การบูร และพมิ เสน คลกุ เคลา้ ใหเ้ ข้ากนั

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 44

3.แบ่งตวั ยาออกเป็น 3 ส่วน เท่าๆกนั โดยใช้ผา้ ขาวห่อเป็นลกู ประคบรดั ดว้ ยเชือกให้แน่น
4. ลกู ประคบควรเกบ็ ไว้ในท่ีแหง้ จะเป็นการเกบ็ รักษาไว้ไดน้ าน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 45

5. เม่ือต้องการใช้ลูกประคบแห้ง ก็นาลูกประคบไปนึ่งในหม้อ คร้ังละ3 ลูก ประมาณ 15-20 นาที แล้ว
สบั เปลยี่ นประคบบริเวณทต่ี ้องการ

ผลการศกึ ษา
จากผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ลูกประคบน้อยคลายปวด จานวน 10 คน หมู่บ้านปะอ่าว ต.ปะอ่าว อ.

เมือง จ.อุบลราชธานี พบว่าผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ลูกประคบน้อยคลายปวด วัดความพึงพอใจในระดับมาก
ได้แก่ หลังจากใช้ลูกประคบแล้วสามารถทากิจวัตรประจาวันได้ดีขึ้น ร้อยละ 80 ในระดับปานกลาง ได้แก่
หลังจากใช้ลูกประคบแล้วอาการปวดของท่านลดลงจากเดิม ร้อยละ 60 หลังจากใช้ลูกประคบแล้วท่านไม่
จาเป็นต้องเดินทางไปพบแพทย์ ร้อยละ 60 หลังจากใช้ลูกประคบแลว้ รูส้ ึกผ่อยคลายกล้ามเนือ้ บรรเทาอาการ
ปวดเมื่อย ร้อยละ 60 ระยะเวลาท่ีใช้ในการประคบรักษา 30 นาทีมีความเหมาะสม ร้อยละ 70 ในระดับน้อย
ได้แก่ ลูกประคบสามารถบรรเทาอาการเหน็บชา อัมพฤกษ์และอัมพาตได้ ร้อยละ 50 หลังจากใช้ลูกประคบ
แล้วความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ 50 หลังจากใช้ลูกประคบแล้วทาให้ร่างกายพลิกฟื้นจากความอ่อนล้าแล้ว
สบายตัวข้ึน ร้อยละ 40 ลูกประคบมีประสิทธิภาพเทียบเท่าในท้องตลาด ร้อยละ 50 หลังจากใช้ลูกประคบ
แล้วมผี ลขา้ งเคียง เชน่ ปวดบวมแดง ระคายเคือง รอ้ ยละ 50

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 46

สรุปผล
จากการศึกษาพบว่านวัตกรรมลูกประคบน้อยคลายปวดสามารถบรรเทาอาการปวดเม่ือย ลดอาการ

อ่อนล้า ทาให้รู้สึกผ่อนคลาย ทาให้ร่างกายพลิกฟื้นจากความอ่อนล้าได้ดีและมีประสิทธิภาพเทียมเท่ากับลูก
ประคบตามท้องตลาด โดยมีสมุนไพรท่ีหาได้จากในท้องถิ่น ได้แก่ ไพล ผิวมะกรูด ตะไคร้หอม ขมิ้นชัน ใบ
บัวบก ใบเตย ซ่ึงสมุนไพรเหล่าน้ีมีสรรพคุณช่วยลดอาการปวดเม่ือยและอาการอักเสบของกล้ามเน้ือได้เป็น
อย่างดี และยังมีกลิ่นท่ีทาให้รู้สึกผ่อนคลาย นอกจากนี้ข้าวเหนียวซึ่งเป็นตัวท่ีเก็บความร้อนได้ดีทาให้ลูก
ประคบมีประสทิ ธิภาพในการเก็บความร้อนมากยง่ิ ขึ้น ซ่ึงส่วนประกอบท่กี ล่าวมาข้างต้นสามารถหาได้ง่ายตาม
ทอ้ งตลาดและในชนุ ชน

สมาชิกในกลุ่ม (Section.01)

1. นางสาวจริ าภรณ์ พามาดี 56125020406
56125020409
2. นางสาวชนกานต์ มายนต์ 56125020414
56125020416
3. นางสาวธดิ ารัตน์ วนั รโิ ก 56125020417
56125020422
4. นางสาวนนั ทรตั น์ กันจะนา 56125020433
56125020438
5. นางสาวนุจรินทร์ มหาชยั 56125020443
56125020448
6. นางสาวพัชรพี ร แพงไธสง 56125020449

7. นางสาวศศวิ รรณ ค่าคูณ

8. นางสาวสดุ าวรรณ สรสิทธ์ิ

9. นางสาวอนสุ รา นสิ า

10. นายจริ วัฒน์ มน่ั ใหญ่

11. นายทศพร พูนพนั ธ์

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 47


Click to View FlipBook Version