The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมทางสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panpilai_suth, 2022-01-27 03:12:31

นวัตกรรมทางสุขภาพ

นวัตกรรมทางสุขภาพ

15.ทาไม้ไผ่ท่อนเลก็ ๆ ท่หี นา 2 นว้ิ 2 อนั มารองแขนเก้าอี้ท่ีทาขนึ้ ใหมท่ ง้ั 2 ขา้ ง เพื่อให้หมนุ ไปมาด้านข้างได้

16.นาไม้หนา้ สาม (แขนเกา้ อี้ท่ีทาขึ้นใหม่) ทีใ่ สส่ กรูไวม้ าสอดใส่ลงไปในรขู องแขนเก้าอ้ีสาเร็จรปู โดยมแี หวน
รองเพื่อใหห้ มุนไปมาด้านขา้ งได้ แลว้ ใช้น็อตขันด้านลา่ งเพื่อไม่ให้แขนของเก้าอี้หลดุ ออก

17.กจ็ ะไดแ้ ขนของเก้าอี้ทห่ี มุนไปมาดา้ นขา้ งได้ (ดงั ภาพ)

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 98

18.จากนน้ั ถักยางขนาด 6 ข้อ ขอ้ ละ 7 เสน้ มารัดแขนและขาของเกา้ อ้ดี ้านหน้า เพ่ือให้แขนมีแรงต้านเพิม่ มาก
ขึ้น

19.ก็จะได้ “เกา้ อี้มหศั จรรย์เพื่อสขุ ภาพ” ท่สี มบรู ณ์แบบ (ดังภาพ)

ผลการศึกษา
จากการทดลองใช้นวตั กรรมมหัศจรรยเ์ กา้ อี้เพ่ือสขุ ภาพ พบว่าสมรรถภาพในดา้ นของความแขง็ แรง

ทนทาน และความยืดหย่นุ ของกล้ามเน้ือของผูป้ ว่ ยเพิม่ ข้ึน จากสถติ กิ ารใช้ในนวตั กรรมในแต่ละวันพบวา่ ใน
ช่วงเวลาการออกกาลังกายดว้ ยนวตั กรรมของผูป้ ว่ ยในวนั แรกสามารถออกกาลังกายโดยใชน้ วตั กรรมไดเ้ พียง 5
นาที และต่อมาผปู้ ว่ ยใช้นวตั กรรมทกุ วันใน 3 สัปดาห์ทผ่ี ่านมาผ้ปู ว่ ยสามารถออกกาลงั กายได้นานขึ้นเป็นเวลา
30 นาที คิดเป็น 6 เทา่ ของการใช้นวตั กรรมในการออกกาลังกายจากวนั แรก

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 99

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
ผลจากการนานวัตกรรมไปใช้กบั ผู้ปว่ ย พบวา่ ผ้ปู ่วยสามารถบริหารกลา้ มเนื้อแขนได้เพมิ่ มากขน้ึ

กวา่ เดิมและสามารถลดปัญหาข้อแขนติด อาการปวดแขนและมือสั่นลงได้ ทาใหผ้ ้ปู ่วยมีการเคลื่อนไหวในส่วน
ของแขนได้อยา่ งเตม็ ทเ่ี มอ่ื เปรียบเทียบกับวันแรกท่เี ริ่มใช้นวัตกรรม

อ้างอิง
สานักโรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดลอ้ ม กรมควบคมุ โรค. โรคกระดูกและกลา้ มเนอื้

(อินเตอร์เน็ต). สืบค้นจาก : http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/4_5_situation.pdf
สืบค้นวนั ท่ี 22 เมษายน 2559

สมาชกิ ในกลุ่ม (Section 03)

1. นางสาวชลดิ า ลาภคลอ้ ยมา รหัสนกั ศึกษา 56125020410
2. นางสาวปยิ ะดาภรณ์ ธดิ ี รหสั นักศกึ ษา 56125020420
3. นางสาวเพยี งเพญ็ ดาผา รหัสนกั ศกึ ษา 56125020423
4. นางสาวรตั นา บญุ เจรญิ รหัสนักศกึ ษา 56125020427
5. นางสาววนั เพญ็ ชณิ ภา รหัสนกั ศึกษา 56125020430
6. นายรตั นบลั ลงั ก์ ธงไชย รหัสนกั ศกึ ษา 56125020451
7. นายเอกอาลนั สีสวุ งษ์ รหัสนักศกึ ษา 56125020454

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 100

นวัตกรรมเรอื่ ง

ชีวิตดด๊ี ี เม่ือมถี ุงยาง

หลกั การและเหตุผล

จากการศึกษาพบว่าประชาชนในชุมชนบ้านเหล่าเสือโก้ก มีปัญหาเก่ียวกับการการเกิดแผลกดทับ
ซ่ึงสาเหตุมาจากการเจ็บป่วย เช่น ผู้ป่วยอัมพาต คนพิการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ต้องนอนอยู่นานๆเป็นต้น ซึ่ง
สาเหตุดงั กลา่ วล้วนแตส่ ่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพประชาชนในชมุ ชนบ้านเหล่าเสือโก้ก และเป็นปัจจัยซ่ึงจะทาให้
เกิดความเครียด ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหาและความสาคัญในการแก้ไขเพ่ือลดปัญหาการเกิดแผล
กดทับตามร่างกายโดยการออกแบบนวัตกรรมชีวติ ดี๊ดี เมื่อมีถุงยาง นวัตกรรมดังกล่าวสามารถลดการเกิดแผล
กดทับตามร่างกายได้ เพราะถุงยางอนามัยทาจากสารPolyurethane มีคุณสมบัติยืดหยุ่นสูง มีประโยชน์ช่วย
ลดการเสยี ดสีของร่างกายกับพื้นได้

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อลดปญั หาการเกิดแผลกดทบั ตามร่างกาย
2. เพ่อื บรรเทาอาการปวดจากแผลกดทบั

วิธีดาเนินการ
สารวจปัญหาในชมุ ชนบ้านเหล่าเสอื โกก้ จากนั้นจดั ทานวัตกรรมแล้วทดลองใช้กบั ประชาชนใน

ชุมชนบ้านเหล่าเสือโกก้ และทาการประเมินผลการใชน้ วัตกรรม

ผลการดาเนนิ งาน

จากการทดลองใชน้ วตั กรรม พบว่านวัตกรรมสามารถบรรเทาอาการปวดบรเิ วณแผลกดทบั และไดร้ บั
ความพ่งึ พอใจจากกลุ่มตวั อย่าง นวัตกรรมมคี วามง่ายและความสะดวกในการใช้งาน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 101

ชีวติ ด๊ดี ี เมอ่ื มีถุงยาง

หลกั การและเหตุผล

จากการศึกษาพบว่าประชาชนในชุมชนบา้ นเหล่าเสอื โกก้ มีปัญหาเกยี่ วกบั การการเกิดแผลกดทบั
ซงึ่ สาเหตมุ าจากการเจ็บป่วย เช่น ผปู้ ว่ ยอมั พาต คนพกิ าร ผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรังที่ต้องนอนอยู่นานๆเป็นต้น ซ่ึง
สาเหตุดังกล่าวล้วนแต่สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนในชมุ ชนบ้านเหล่าเสอื โก้ก และเปน็ ปจั จัยซึ่งจะทาให้
เกดิ ความเครียด ดงั นน้ั สมาชิกในกลุ่มจงึ เลง็ เห็นปญั หาและความสาคญั ในการแก้ไขเพ่ือลดปัญหาการเกิดแผล
กดทับตามรา่ งกายโดยการออกแบบนวตั กรรมชีวิตดดี๊ ี เม่ือมถี ุงยาง นวัตกรรมดงั กลา่ วสามารถลดการเกิดแผล
กดทับตามร่างกายได้ เพราะถุงยางอนามัยทาจากสารPolyurethane มีคุณสมบัตยิ ืดหยุ่นสูง มปี ระโยชนช์ ่วย
ลดการเสียดสขี องรา่ งกายกับพ้นื ได้

วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ ลดปัญหาการเกิดแผลกดทบั ตามร่างกาย
2. เพ่อื บรรเทาอาการปวดจากแผลกดทบั

ขนั้ ตอนการทานวัตกรรม

1. วางแผนการดาเนินงาน
2. ลงชมุ ชนเพอ่ื สารวจผ้ปู ่วยตดิ เตยี ง
3. เกบ็ รวบรวมข้อมลู เกี่ยวกับผปู้ ่วยติดเตยี ง
4. ลงมือจัดทานวตั กรรม
5. นาไปใหผ้ ปู้ ว่ ยทดลองใช้
6. ประเมินผลก่อนและหลงั ใชน้ วัตกรรม
7. สรุปผลกอ่ นและหลงั ใชน้ วัตกรรม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 102

ข้ันตอนการดาเนนิ งาน
1.ขัน้ เตรียม
1.1 ประชมุ ปรกึ ษาภายในกลุ่ม กาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย และแบง่ หน้าท่ี
1.2 เตรยี มอุปกรณ์
- ผ้าสาหรับเยบ็ ทาทีน่ อน (เลือกใชต้ ามความเหมาะสม)
- Syringe สาหรบั ฉดี นา้
- เข็มเยบ็ ผ้าพร้อมดา้ ย
- ถุงยางอนามยั

2. ขัน้ ตอนการทานวัตกรรม
2.1 ทาการเย็บผ้าสาหรบั ทาเปน็ ทนี่ อน เยบ็ ให้เหลือช่องสาหรบั ใสถ่ งุ ยางเข้าไป

ขนาดผา้ กว้าง30 ซ.ม ยาว กว้างช่องละ 7 เซน ยาว 17 เซน ขา้ งละ 8 ช่อง 103

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

2.2 เตรียมน้าใส่กะละมัง เพื่อใช้ในการฉีดเข้าไปในถุงยาง
2.3 นา Syringe ขนาด 50 ml ดูดน้าแลว้ ใสเ่ ขา้ ไปในถงุ ยาง (นา้ ขนาด 150 มลิ ลิลิตร)
2.4 มว้ นหวั ถงุ ยางแลว้ มัดให้แนน่ เพ่อื ป้องกันการไหลออกของน้า

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 104

2.5 .สอดถงุ ยางทบ่ี รรจุดว้ ยน้าเข้าไปในแตล่ ะช่องของผา้ ท่ีเตรียมไว้
2.6 สารวจดคู วามเรยี บรอ้ ยของผลงานและเป็นอันเสรจ็ สนิ้ การทาที่นอนจากถุงยาง
2.7 นาไปใหผ้ ู้ป่วยทดลองใช้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 105

ผลการทดลอง ตารางแสดงผลการทดลองกอ่ นใช้และหลังใช้นวตั กรรม
สรปุ ผลการทดลอง

หลงั จากทผี่ ู้ปว่ ยทดลองใช้นวตั กรรมพบวา่ รอยแดงทเี่ กิดจากแผลกดทบั ช่วยลดแรงกดทบั และไม่เกิด
แผลกดทับเพิ่ม อีกท้งั ผู้ป่วยยังรสู้ กึ สบายตัวเมอ่ื เคลอื่ นไหวระหว่างการนอนพลิกตวั หรอื ตะแคง รวมทง้ั ลด
อาการปวดหลังได้เป็นอยา่ งดี ผู้ป่วยและญาตสิ ามารถนาเอานวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ได้เองท่ีบา้ น ทั้งน้ีเพอื่ ให้
เกิดประโยชน์แก่ผปู้ ว่ ยในหลายๆดา้ น และยงั เป็นการประยุกต์ใช้ส่งิ ของทม่ี ีอยใู่ หเ้ ข้ากับตัวผปู้ ว่ ยเอง

คาแนะนาในการใชง้ าน
สาหรบั อายกุ ารใชง้ านทนี่ อนมอี ายุการใช้งาน 3 เดอื นนบั ตัง้ แตก่ ารใช้งานครงั้ แรก สามารถถอด

ถงุ ยางออกแล้วนาผา้ ไปซักใช้คร้ังต่อไปได้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 106

เอกสารอ้างองิ :
http://www.momypedia.com/article-7-26-367/ สบื คน้ วนั ท่ี 27/02/2016
http://petmaya.com/12- สืบคน้ วนั ท่ี 2727/02/2016

สมาชกิ ในกลุ่ม (Section.01)
1.นางสาวกรรณิการ์ อินทะพันธ์ 56125020401

2.นางสาวจนิตตา จติ จกั ร 56125020404

3.นางสาวจุฑามาศ เรทะนู 56125020407

4.นางสาวทิพวรรณ ชมุ ชัย 56125020413

5.นางสาวมธุรส คณุ ลือชา 56125020424

6.นางสาวสพุ รรณี บญุ ศรี 56125020439

7.นายปฐมพร มที อง 56125020449

8.นายสันติ พินจิ ชยั 56125020452

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 107

นวัตกรรมเรื่อง

วงลอ้ บริหารหวั ไหลต่ ดิ

หลกั การและเหตุผล

จากที่ได้สารวจปัญหาของประชาชนบ้านป่าตาว ตาบลไทยเจริญ อาเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร
พบว่า ประชาชนบา้ นป่าตาวบางรายมีปัญหาเกี่ยวกับภาวะหัวไหลต่ ิด โดยจะพบปัญหาภาวะหัวไหล่ติดในเพศ
ชายมากกว่าเพศหญิง เนื่องจากเพศชายมีการทางานหนักงานกว่าเพศหญิง และส่วนใหญ่มีอาชีพทา
เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป จึงมีการใช้งานบริเวณหัวไหล่อย่างหนักเกือบตลอดเวลา ทาให้หัวไหล่ทางานหนัก
เกินไป และเกิดการอักเสบจนทาให้ใช้งานหัวไหลไ่ ม่ได้ อาการตอนแรกจะรู้สกึ ปวด แตเ่ มอ่ื ผ่านไปหลายสัปดาห์
อาการปวดก็ลดลงแต่จะพบว่าหลังอาการปวดดีข้ึนน้ัน การเคลื่อนไหวของแขนและข้อไหล่ทางานได้ไม่เต็มที่
ยกแขนไม่สุด ทาให้การดาเนินชีวิตประจาวันลาบาก เพราะคนเราใช้งานบริเวณข้อไหล่มากท่ีสุดข้อหนึ่งใน
รา่ งกาย หากเกิดปัญหาภาวะข้อไหล่ติดจะทาให้การดาเนินชวี ิตเปลี่ยนไปและมีความลาบากมากยิ่งข้ึนกว่าเดิม
ดงั น้ัน นักศกึ ษาสาขาสาธารณสุขชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี จงึ ได้จัดทา
นวตั กรรม “วงลอ้ บรหิ ารหัวไหล่ติด” ข้ึนเพ่ือใช้ในการทากายภาพบาบัด ลดปัญหาการเกิดภาวะหวั ไหล่ติดของ
ประชาชนในหมู่บ้านป่าตาว จะชว่ ยใหผ้ มู้ ปี ัญหาภาวะหวั ไหลต่ ดิ สามารถใชง้ านหวั ไหล่ในการดาเนินชวี ิตได้ดขี ้ึน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 108

วัตถปุ ระสงค์

1.เพื่อลด/ป้องกันหัวไหลต่ ิดแขง็
2.เพอ่ื เพิ่มมุมการเคลอ่ื นไหวของหัวไหล่และแขน
3.เพอ่ื เพม่ิ ความแข็งแรงของกล้ามเน้อื หวั ไหลแ่ ละแขน

ขั้นตอนการสรา้ งนวตั กรรม
วัสดอุ ุปกรณท์ ่ใี ช้

1. หนิ เจีย

2. ไฟเบอร์

3. สว่าน

4. คอ้ น

5. เล่อื ยตดั เหลก็ ใบเลือ่ ย

6. เหล็กเชอื่ ม

7. ตู้เชื่อม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 109

8. คีมลอ๊ ค 110

9. สสี เปรย์

10. ลกู ปืนเผาหลงั (6301)

ข้นั ตอนการทา
1. ตัดเหลก็ ให้มขี นาดตามที่ต้องการ
- ตัดเสาความยาว
- ตดั ทาฐาน
- ตดั เหล็กทาคาน
- ตัดเหลก็
2. เชอ่ื มฐานเขา้ ทั้งส่ีมมุ

ประโยชนแ์ ละการนาไปใช้
1.ลด/ป้องกนั หัวไหลต่ ิดแข็ง
2.เพ่มิ มุมการเคล่ือนไหวของหัวไหลแ่ ละแขน
3.เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ หัวไหลแ่ ละแขน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

3. เช่ือมเสา 2 ตันเข้ากับฐานและคานบน 111

4. พ่นสีฐานกับเสาสองตน้
5. ทาตวั สไลดเ์ พ่ือปรบั ระดบั ความสูงตา่
6. เจาะรูตรงกลางเพื่อใส่น็อต
7. ดดั เหลก็ ใหเ้ ปน็ วงกลมรัศมี 88 ซม.

8. พน่ สีวงล้อ
9. เช่อื มเหล็กเข้ากลับแกนกลางวงล้อเหล็ก
ทัง้ สามดา้ น
10. ใส่เพาเพ่ือใหห้ มุนได้

11. ประกอบเสากบั วงล้อเข้าด้วยกัน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

12. ขันตัวนอ็ ตทุกสว่ นให้แนน่

13. ทดสอบความแขง็ แรงก่อนนาไปใช้

ผลการศึกษา
จากการทดลองใชน้ วัตกรรม ผู้ปว่ ยจานวน 2 คน ในชว่ งเวลา 2 สปั ดาห์ เริม่ ทดลองใช้เมือ่ วนั ท่ี

19 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2559 ถงึ 2 เมษายน พ.ศ. 2559 โดยใหท้ าวนั ละ 20 ครง้ั /วนั พบว่า หลงั จากทผี่ ูป้ ว่ ย
ไดม้ ีการใช้นวตั กรรมวงล้อบริหารหัวไหลต่ ิด ทาให้ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวข้อไหล่ไดด้ ขี ึ้น วดั จากค่าการ
เคลือ่ นไหวของหวั ไหล่ก่อนใช้และหลังการใช้นวตั กรรมวงล้อบริหารหวั ไหลต่ ดิ โดยวดั ได้จากการเพมิ่ องศา

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 112

การเคลอื่ นไหวในแตล่ ะราย ดงั นี้
ผ้ปู ว่ ยรายท่ี 1

Range of motion of Shoulder girdle

Term of movement ค่าปกติ ผลการทดลอง ผลการทดลอง หมายเหตุ
Acromion of
วันที่ 18/03/59 วันที่ 2/04/59
scapula
Shoulder flexion 180 C° ซ้าย 150 C° ซา้ ย 170 C°
Olecranon
(ยกแขนไปข้างหนา้ ) ขวา 170 C° ขวา 170 C° process

Shoulder extension 45 C° ซ้าย 40 C° ซ้าย 40 C°

(ดนั แขนไปข้างหลงั ) ขวา 30 C° ขวา 30 C°

Shoulder abduction 180 C° ซา้ ย 100 C° ซ้าย 110 C°

(กางแขนไปด้านขา้ ง) ขวา 80 C° ขวา 110 C°

Shoulder adduction 45 C° ซา้ ย 30 C° ซ้าย 40 C°

(หบุ แขน) ขวา 30 C° ขวา 40 C°

Shoulder internal rotation ซ้าย 20 C° ซ้าย 30 C°

(การหมุนแขนเขา้ ข้างใน) ขวา 40 C° ขวา 70 C°

Shoulder external rotation 80 - 90 C° ซ้าย 45 C° ซา้ ย 50 C°

(การหมุนแขนออกข้างนอก) ขวา 20 C° ขวา 30 C°

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 113

ผปู้ ่วยรายท่ี 2 ผลการทดลอง ผลการทดลอง หมายเหตุ
Range of motion of Shoulder girdle วันที่18/03/59 วันท่ี2/04/59 Acromion
ซา้ ย 160 C° ซา้ ย 170 C° of scapula
Term of movement ค่าปกติ ขวา 150 C° ขวา 150 C°
ซา้ ย 30 C° ซา้ ย 40 C° Olecranon
Shoulder flexion 180 C° ขวา 30 C° ขวา 35 C° process
(ยกแขนไปข้างหน้า) 45 C° ซา้ ย 90 C° ซ้าย 130 C°
Shoulder extension 180 C° ขวา 100 C° ขวา 120 C°
(ดันแขนไปข้างหลงั ) 45 C° ซ้าย 40 C° ซ้าย 45 C°
Shoulder abduction ขวา 40 C° ขวา 40 C°
(กางแขนไปดา้ นข้าง) 80 – 90 C° ซา้ ย 80 C° ซ้าย 80 C°
Shoulder adduction ขวา 45 C° ขวา 50 C°
(หบุ แขน) ซา้ ย 65 C° ซ้าย 65 C°
Shoulder internal rotation ขวา 30 C° ขวา 65 C°
(การหมนุ แขนเข้าขา้ งใน)
Shoulder external rotation
(การหมนุ แขนออกข้างนอก)

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 114

สรุปผลการดาเนนิ งาน
นวัตกรรมวงลอ้ บริหารหัวไหล่ตดิ น้ี ชว่ ยลดการเกดิ หวั ไหลต่ ิดในผู้ปว่ ย ให้เคล่ือนไหวหวั ไหล่และแขน

ไดด้ ี สามารถเอ้ือมมือหยบิ จับสิง่ ของหรือยกแขนสูงได้ดีกว่าก่อนการทดลองใชน้ วัตกรรม นอกจากน้ถี า้ ผู้ป่วยที่
มีอาการหัวไหลต่ ดิ ได้ใช้นวตั กรรมอย่างต่อเน่ืองจะทาใหผ้ ู้ป่วยมีกล้ามเน้อื บริเวณหวั ไหล่ แขน มีความแขง็ แรง
และยงั ช่วยปอ้ งกันการเกิดภาวะหวั ไหลต่ ิดได้อีก

ปัญหาและอปุ สรรคที่พบ คือ การลงติดตามแตล่ ะคร้ังต้องใช้ระยะเวลาในการเดินทางนานเนื่องจาก
ชมุ ชนทผ่ี ู้ป่วยอาศัยอยู่คนละจงั หวดั ในวนั ทตี่ ิดตามผลไดม้ ีงานมงคลทาใหผ้ ้ปู ่วยไมส่ ะดวกในการใหค้ วาม
รว่ มมอื และในการทานวตั กรรมวงล้อบรหิ ารหัวไหล่ติดนคี้ ่อนขา้ งยากจงึ ต้องใหผ้ ู้เชียวชาญเป็นผปู้ ระกอบวัสดุ
อุปกรณ์ชว่ ยใหเ้ สร็จสมบรู ณ์

ข้อเสนอแนะเพ่ือเพิ่งประสิทธิภาพในการใชน้ วัตกรรม
- นวตั กรรมน้ีจะมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ กต็ ่อเมื่อผู้ปว่ ยมกี ารใชน้ วตั กรรมวงลอ้ บรหิ ารหวั ไหล่ตดิ อย่าง
ตอ่ เนื่อง และผู้ปว่ ยต้องมวี ินยั ในการใชน้ วตั กรรมอยา่ งสมา่ เสมอ
- ชน้ิ งานนวัตกรรมควรมีการใสอ่ ปุ กรณเ์ พมิ่ ความหนืด เพ่ือเพ่มิ แรงต้านใหผ้ ู้ปว่ ยได้มีการออกแรงเพิม่
มากขึน้

เอกสารอ้างองิ

กองกีฬาและนันทนาการ มหาวทิ ยาลยั บรู พา . (ไม่ปรากฏปพี ิมพ์). สถานีวงลอ้ บดิ ตัว. ค้นเมือ่ 9
เมษายน 2559, จาก กองกีฬาและนันทนาการ มหาวิทยาลัยบรู พา เว็บไซต์ :
http://sports.buu.ac.th/index.php/ourservices/fitness_detail/14

งานการพยาบาลผู้ปว่ ยอายรุ ศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่ คณะแพทย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2553). วงลอ้ เสริมแรง. ค้นเม่ือ 9 เมษายน 2559, จากโรงพยาบาลมหาราชนคร
เชียงใหม่ คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ :
http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nintmed/2012/k-wheel.html

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 115

สมาชิกในกล่มุ (Section.01)

1. นายอาทิตย์ รงุ่ ราศี รหสั นกั ศกึ ษา 56125020254
2. นางสาวชชั ฎาภรณ์ เนียมพนั ธ์ รหัสนกั ศึกษา 56125020510
3. นางสาวนนั ทกิ านต์ อาจหาญ รหัสนักศกึ ษา 56125020516
4. นางสาวภชั ดา สาธพุ ันธ์ รหสั นกั ศกึ ษา 56125020523
5. นางสาวเมรี ชื่นจติ ร รหัสนกั ศึกษา 56125020525
6. นางสาววสิ ดุ า ปคู ะภาค รหสั นกั ศึกษา 56125020531
7. นาวสาวศิรประภา บุญรอง รหัสนักศกึ ษา 56125020533
8. นางสาวศริ ิพร พงษ์แสง รหัสนักศึกษา 56125020534
9. นางสาวสุทธป์ิ รารถนา สมิ มา รหสั นกั ศกึ ษา 56125020538
10. นายธนภมู ิ จตรุ ภัทรวงศ์ รหัสนกั ศกึ ษา 56125020548
11. นายวีรพล เยาวนชุ รหสั นักศึกษา 56125020551

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 116

นวัตกรรมเร่ือง

พรมหินนวดเท้า

หลกั การและเหตุผล
จากการสารวจปัญหาของชาวบ้านบ้านนาโนน ตาบลจานลาน อาเภอพนา จงั หวดั อานาจเจริญ พบว่า

มปี ัญหาเกี่ยวกบั โรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูงเป็นจานวนมากปัญหาหน่ึงของผูป้ ่วยโรคเบาหวานที่พบคือ
การสญู เสียความรู้สึกที่ปลายประสาทของเท้า กลุ่มเสีย่ งเหล่าน้ีหากปล่อยไว้ไม่ได้รับการดูแล อาจจะทาให้เกิด
บาดแผลท่ีเท้าโดยไม่รู้ตัว นาไปสู่การติดเชื้อของบาดแผลจนทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆนาไปสกู่ ารสูญเสีย
อวัยวะ นักศึกษาสาขาสาธารณสุขชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีจึงได้
เล็งเห็นถึงความสาคัญของปัญหาภาวะแทรกซ้อนด้านระบบประสาทในผู้ป่วยโรคเบาหวานจึงคิดค้นนวัตกรรม
พรมหนิ นวดเท้าข้ึน

วัตถุประสงค์

1.เพ่ือช่วยกระตุ้นการทางานของระบบประสาทส่วนปลาย

2.เพอ่ื การบรหิ ารเท้าเพิ่มการไหลเวียนของเลอื ด

3.เพอ่ื ผปู้ ่วยสามารถออกกาลังกายได้ทุกเวลา สะดวกในการออกกาลงั กาย

ขนั้ ตอนสร้างนวตั กรรม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 117

ขน้ั ตอนที่ 1 เตรียมอปุ กรณ์ ดงั นี้ กาวร้อน กรรไกร คัตเตอร์ สีเมจิก กอ้ นหิน พรมเช็ดเทา้ กระดานไมอ้ ดั

ขั้นตอนที่ 2 นาพรมมาตดั ใหเ้ ป็นรูปเท้า โดยการวดั ขนาดของเท้าทวี่ ัดจาก ผชู้ ายหนง่ึ คนในกลุ่มและผู้หญงิ หน่งึ
คนในกล่มุ จากน้นั นากอ้ นหินท่ีเตรียมไว้ มาทากาวแลว้ แปะลงบนพรมทีต่ ัดไว้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 118

ข้นั ตอนท่ี3 นาพรมหนิ รูปเท้าทีแ่ ปะก้อนหินเรียบร้อยแลว้ นามาติดกาวกับพรมอีกผืนที่เตรียมไว้ นาก้อนหินทา
กาวแล้วแปะลงบนพ้นื ท่ที เี่ หลือด้านบนของพรม

ขั้นตอนท่ี 4 เพิม่ ความแข็งแรงของพรมและสะดวกในการเคล่อื นยา้ ย โดยการนาพรมทากาวติดกับแผน่ ไม้อัด
ที่เตรียมไว้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 119

ผลการศกึ ษา

จากการทอลองใช้นวัตกรรมพรมหินนวดเท้ากับผู้สูงอายุท่ีป่วยเป็นเป็นโรคเบาหวาน พบว่าผู้ป่วยมี
อาการปวดบริเวณปลายปลายเทา้ น้อยลง ผู้ป่วยสามารถเดินไดน้ านข้ึน และมีอาการปวดน้อยลงใช้ยาแกป้ วด
นอ้ ยลง

อาการ ก่อนใชน้ วัตกรรม หลังใชน้ วัตกรรม

ระดบั อาการชาบริเวณปลายเท้า อยู่ในระดับท่ี 3 คือชาระดับปาน อาการชาลดลงมาก

กลาง กลุม่ เปา้ หมายมีความพงึ พอใจใน

ระดบั ท่ี 4 คอื ระดบั มาก

ระดับอาการปวดบริเวณเทา้ อยู่ในระดับท่ี 4 คือปวดระดับมาก อาการปวดลดลงมาก

กลุ่มเป้าหมายมีความพงึ พอใจใน

ระดับที่ 4 คือระดับมาก

แผลบรเิ วณเทา้ มีแผลไม่มาก อยู่แผลอยู่ในระดับ 3 ไม่มีแผลบรเิ วณเทา้

คือระดบั ปานกลาง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน

จากการนาวัตกรรมพรมหินนวดเท้าไปทดลองใช้กับผู้ป่วยพบว่าการรับความรู้สึกของระบบประสาท
สว่ นปลายดขี ึ้น ผู้ป่วยสามารถใช้พรมหินนวดเท้าบริหารเท้าเพ่ิมการไหลเวียนของเลือด และจากการสอบถาม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 120

ความพึงพอใจของผู้ป่วยโดยใช้แบบสอบถาม ผู้ป่วยมีความพ่ึงพอใจมากสุดในเรื่องของการลดอาการปวดและ
อาการชาบรเิ วณปลายเทา้

ดงั นั้น การทาพรมหินนวดเท้าเพ่ือช่วยลดอาการปวดและชาบริเวณปลายเทา้ ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง ควรเพ่ิมพื้นที่และขนาดของพรมให้มีขนาดใหญ่และกว้าข้ึน เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการเดินของ
ผู้ปว่ ย

เอกสารอ้างอิง

มหัศจรรย์พรมนวดเท้า - วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแกน่ (ออนไลน์).

เข้าถึงไดจ้ าก http://www.bcnkk.ac.thสบื ค้นเม่อื วนั ที่ 24กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559

วิทยา บญุ ยศ (ออนไลน์)เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.gotoknow.org

สืบคน้ เม่อื วนั ท่ี 24กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2559

http://www.cosmenet.in.th สืบค้นเมอื่ วนั ที่ 24กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2559

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 121

รายช่ือสมาชิกในกลุ่ม

1.นางสาวดวงกมล โสภา รหสั นักศึกษา 56125020312

2.นางสาวปยิ วรรณ เสนคา รหสั นกั ศกึ ษา 56125020320

3.นางสาวมาริษา โพนทัน รหสั นกั ศกึ ษา 56125020325

4.นางสาวรกั ชนก ไกยะมา รหัสนักศกึ ษา 56125020326

5.นางสาวสภุ ามณี บัวเกษ รหัสนักศึกษา 56125020340

6.นายณตั พล มุกดา รหัสนักศกึ ษา 56125020348

7.นายเมทาวี ทานะมัย รหสั นักศกึ ษา 56125020351

8.นายธนวัฒน์ วิสาพล รหสั นักศึกษา 56125020357

Section 02

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 122


Click to View FlipBook Version